Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่่ ม3

ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่่ ม3

Published by Guset User, 2022-08-17 04:25:30

Description: ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่่ ม3

Search

Read the Text Version

(5) รวมกอง ผู้กํากับนําอภปิ รายสรปุ ขอ้ คดิ ท่ีได้ 4) ผู้กํากับลกู เสอื เล่าเรอ่ื งส้นั ท่ีเปน็ ประโยชน์ 5) พิธีปดิ ประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลิก) 4.2 กิจกรรมครั้งท่ี 2 1) พิธีเปิดประชุมกอง (ชกั ธงขนึ้ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก) 2) เพลง หรือเกม 3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) หมลู่ ูกเสือนั่งลอ้ มวง แจกใบงาน ให้ลกู เสือแต่คนคดิ ว่าสงิ่ สาํ คญั ทคี่ วรทําแตย่ งั ไมไ่ ด้ทํา ทั้งเรง่ ดว่ นและไม่เร่งดว่ น มีอะไรอกี บา้ ง เขียนลงตารางที่ 3 (2) นําสิ่งที่ตอ้ งการทาํ เพ่ิม (ตารางท่ี 3) มาพจิ ารณารว่ มกับตารางท่ี 2 เดิมท่เี ขียนไว้ และวางแผนจัดการเวลาใหม่วา่ ควรตัดกจิ กรรมใดออกและลดเวลากิจกรรม ใดบ้าง เขยี นลงในตารางที่ 4 (3) ลกู เสือแต่ละคนนาํ ตารางท่ี 4 มาเลา่ ใหเ้ พอ่ื นในหมฟู่ ังว่า ตนเองได้วางแผน จดั การเวลาอยา่ งไร พรอ้ มบอกเหตผุ ล (4) รวมหมู่ ผู้กํากบั นําอภปิ รายสรุปขอ้ คดิ ทไี่ ดจ้ ากกจิ กรรมทั้ง 2 ครั้ง (5) ลกู เสอื กําหนดเป็นพันธสัญญา ทจ่ี ะปรับปรงุ และพัฒนาตนเองตามคําขวัญของ ลกู เสือ “เสียชพี อยา่ เสยี สัตย์” กฎลูกเสอื “ลูกเสือมีเกยี รตเิ ชือ่ ถือได้” และ คติพจน์ “มองไกล” 4) ผ้กู าํ กบั ลกู เสือเล่าเรอื่ งส้ันที่เปน็ ประโยชน์ 5) พธิ ีปดิ ประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธงลง เลิก) 5. การประเมินผล สงั เกต การมสี ่วนร่วมในการทาํ กจิ กรรม การแสดงความคิดเห็น และการวางแผนใชเ้ วลาใน ชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ 6. องค์ประกอบทกั ษะชวี ิตสาคัญทเ่ี กิดจากกจิ กรรม คอื ความคิดวเิ คราะห์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของการใชเ้ วลาใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ 14ค2ู่มอื สง่ เสชคู่มรนั้ มิอืมสแธั ่งยลเมะสพศรกึฒัมิ ษแนลาาปะกพีทจิ ่ีัฒก3นรรามกจิลกูกรเรสมือลทกู ักเสษือะทชกัีวษิตะในชวีสิตถใานนสศถกึ าษนศาึกลษูกาเสปอื รสะเาภมทญั ลรูกุน่ เสใือหสญา่มัญชรน้ั ุ่นมใัธหยญม่ ศเคึกรษ่อื างหปมีทา่ี 3ยลกู เสือ1ห4ล9วง

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 25 เพลง นกพริ าบ พลบั พรึบพลับ พรบึ พลับขยบั บนิ (ซาํ้ ) ฝูงนกพิราบ ดําและเทานา่ รกั จรงิ นา บินวนเวียนอยบู่ นหลังคา บินไปเกาะตามก่งิ พฤกษา ไซ้ปีกหางกนั อยไู่ ปมา พอแสงแดดจ้าพากนั คืนรัง เวลานาที วนั เวลานาทมี ีราคา มากยงิ่ กว่าสิง่ ใดใด หากวา่ ใครไมเ่ สยี ดายเวลา ปลอ่ ยเวลาล่วงเลยไป วันเวลาเรียกคนื มาไมไ่ ด้ เวลาส้ินไปขอใครกนั 1คูม่5ือ0สง่ เสริมคแู่มลือะสพ่งัฒเสนราิมกแิจลกะรพรมัฒลนูกาเสกอืจิ ทกักรรษมะชลีวกู ิตเสในือสทถกั าษนะศชกึ ีวษิตาในปสระถเาภนทศลกึูกษเสาือสลาูกมเสญั ือรสนุ่ าใมหญัญร่ เนุ่คใรหอื่ ญงห่ มาชยัน้ ลมูกธั เสยอื มหศลึกวษงาปที ี่ 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 143

ใบงาน ใหล้ กู เสอื แตล่ ะคน เขียนกจิ กรรมของตนเองทที่ ําตลอด 24 ชั่วโมง ยกเวน้ ในเวลาเรียน พร้อมทั้งลงเวลาเฉลยี่ ของแตล่ ะกจิ กรรมเขยี นลงตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ช่วงเวลา กจิ กรรม เวลาทใี่ ช้ (นาที) 144คู่มือสง่คชเมู่ัน้ สอืมรสธัิม่งยแเมสลศระึกิมพษแฒั ลานปะพีทากี่ฒั 3ิจนการกรจิ มกลรกูรมเสลอื ูกทเสักือษทะกั ชษีวะติ ชใีวนิตสใถนาสนถศานกึ ศษึกาษลากู ปเสระือเสภาทมลัญกู เรสนุ่ ือใสหาญมัญ่ รชนุ่ ั้นใมหญธั ย่ เมคศรื่อึกงษหามปาที ย่ี ล3กู เสือห1ล5ว1ง

ตารางที่ 2 นากิจกรรมในตารางที่ 1 มาพจิ ารณาแยกประเภทจดั เข้าในตาราง 4 ช่อง เร่อื งสาคญั และเรง่ ด่วน ใชเ้ วลา เรอ่ื งสาคัญแตไ่ ม่เรง่ ดว่ น ใชเ้ วลา (นาที) (นาที) เรื่องไมส่ าคัญแต่เรง่ ด่วน ใช้เวลา เร่ืองไม่สาคัญและไม่เร่งด่วน ใชเ้ วลา (นาท)ี (นาที) 1คมู่5อื2ส่งเสรมิคแมู่ ลือะสพ่งฒัเสนราิมกแจิ ลกะรพรมฒั ลนูกาเสกือจิ ทกักรรษมะชลวีกู ิตเสในอื สทถกั าษนะศชกึ วี ษิตาในปสระถเาภนทศลกึกู ษเสาอื สลากู มเสญั ือรสุ่นาใมหัญญร่ เนุ่คใรห่อื ญงห่ มาชยั้นลมกู ธั เสยือมหศลกึ วษงาปีท่ี 3 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 145

ตารางที่ 3 ส่งิ สาคัญทีค่ วรทาแต่ยงั ไมไ่ ดท้ า เร่อื งสาคญั และเร่งด่วน ใช้เวลา เรือ่ งสาคัญแตไ่ ม่เร่งดว่ น ใช้เวลา (นาที) (นาท)ี 1ค4ู่ม6ือส่งเสรคชมิ มู่ั้นแือมลสธั ะง่ยพเมสัฒศรึกิมนษแาลากปะจิ พทีกี่ัฒร3รนมาลกูกิจเกสรอืรมทลกั ูกษเะสชอื ีวทติ ักใษนะสชถีวาติ นในศสกึ ถษาานศลกึกู ษเสาือปสราะมเภญั ทรลุน่ ูกใเหสญือส่ ามชัญ้ันมรุน่ธั ใยหมญศ่ึกเคษรา่อื ปงทีห่ีม3ายลกู เ1ส5ือห3ลวง

ตารางท่ี 4 วางแผนจัดการเวลาใหม่ โดยพิจารณาจากตารางท่ี 2 และ ตารางท่ี 3 เรอ่ื งสาคัญและเรง่ ด่วน ใชเ้ วลา เรอื่ งสาคญั แตไ่ มเ่ ร่งด่วน ใช้เวลา (นาท)ี (นาที) เรือ่ งไม่สาคัญแต่เรง่ ดว่ น ใช้เวลา เร่ืองไม่สาคัญและไมเ่ ร่งด่วน ใชเ้ วลา (นาที) (นาที) ค่มู 1ือ5ส4่งเสริมแคลู่มะือพสฒั ่งนเสารกิมจิ แกรลระมพลฒั ูกนเสาือกทิจกั กษระรชมีวลิตกู ใเนสสอื ถทาักนษศะกึ ชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษอื าสาลมกู ญั เสรนุ่อื ใสหาญมญั่ เครร่นุ ื่อชใงหนั้ หญมมัธ่ายยมชลศัน้ ูกึกมเสษัธอื ายหปมลีทศว่ี 3ึกงษาปีท1่ี 347

ใบความรู้ ข้อคิดในการใช้เวลาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 1. เรมิ่ ต้นดมี ีชยั ไปกว่าครึง่ จากผลสาํ รวจพฤติกรรมนักเรียน พบว่านกั เรยี นทีเ่ รยี นเกง่ มี ผลการเรยี นดี แตกต่างจากนักเรยี นทว่ั ๆ ไปตรงท่มี ีความสามารถในการเร่มิ ตน้ ลงมอื ทํางานท่คี วร ทาํ ไดเ้ รว็ กวา่ โดยไมม่ ัวแตค่ ดิ ฝนั ใจลอย หรือทาํ อะไรอย่างเรอ่ื ยเป่ือยไรจ้ ดุ หมาย 2. จดั ระเบยี บชวี ติ สร้างนิสยั ความเคยชินในการจดั ระเบยี บชวี ิต รู้จกั ใช้ตารางเวลาชว่ ย ปลดปลอ่ ยพลงั งานท่มี อี ยอู่ ยา่ งถูกทิศทาง เช่น ฝึกใหเ้ ป็นนสิ ยั วา่ หลังรบั ประทานอาหารเยน็ เดนิ เล่น ยอ่ ยอาหารสักยส่ี ิบนาที จากนัน้ นง่ั ลงอ่านหนังสอื หรอื ทาํ กจิ กรรมทม่ี คี วามสาํ คัญเป็นประจาํ 3. คิดก่อนทา อยา่ ลืมวา่ ทกุ ครัง้ ทเี่ รารบั ปากจะทาํ อะไรกับใครกต็ าม เรากาํ ลังเสียโอกาสใน การทําสง่ิ ที่มคี วามสาํ คัญในชวี ิตของเราไปดว้ ยเชน่ กนั การรบั ปากคนอื่นหมายถึงวา่ เราจะต้องตัด กิจกรรมบางอยา่ งท่เี ราอยากทําหรอื ใหค้ วามสาํ คัญออกไป ดงั นน้ั คดิ ชงั่ นาํ้ หนกั ใหด้ ี กอ่ นตดั สนิ ใจ 4. อย่าชะลา่ ใจ อยา่ รับปากทําสิ่งใดเพยี งเพราะเหน็ ว่ายังเป็นเรอื่ งในอนาคต ระยะเวลาที่ ไกลออกไป อาจทาํ ให้เรารู้สึกชะล่าใจ บางครงั้ เป็นงานช้ินใหญ่ แตเ่ นอ่ื งจากเห็นว่ามีเวลานาน จงึ รับปากไปกอ่ น ครน้ั พอใกลเ้ วลาจวนเจยี น กลบั เพ่งิ พบวา่ เปน็ งานทีต่ ้องใชเ้ วลามากกว่าทคี่ ดิ 5. วางแผนก่อนทา แบ่งงานทต่ี อ้ งทําออกเป็นช้นิ เลก็ ๆ ทส่ี ามารถทาํ ให้สาํ เรจ็ ไดท้ ลี ะขัน้ 6. ทาแตพ่ อดี อย่าเนน้ ความสมบรู ณ์แบบจนเกินไป งานส่วนใหญต่ ้องการความละเอียด ประณีตในระดบั หน่ึง หากเราใช้เวลาและพลังงานมากเกินไป ก็ไมไ่ ด้เพิม่ คณุ ค่าของงานช้นิ นน้ั หรอื แม้จะเพิ่มแต่กอ็ าจจะไมค่ ุม้ เมอ่ื เทียบกับการใชเ้ วลาไปทาํ งานอ่นื ทมี่ คี วามสําคัญเช่นกนั 7. ทาให้จบในครั้งเดียว ฝึกทําอะไรให้เสร็จในครั้งเดียว อย่าทําอะไรครึ่งๆ กลางๆ แล้ว กลับมาทําต่อ เพราะทุกครั้งท่ีกลับมาทําต่อ ต้องเสียเวลาในการคิดทบทวน ศึกษาและตัดสินใจ ทาํ ให้เสียเวลามากข้นึ อกี ควรฝึกนิสยั ลงมอื ทาํ ให้เสร็จในคร้ังเดียว 8.วางแผนการนัดให้ดี ในการนัดหมายกับใครก็ตาม นอกจากนัดเวลาท่ีจะพบกันหรือ เร่ิมต้นทาํ กิจกรรมแลว้ ยงั ควรนัดเวลาเลิกหรือจบการพบปะไว้ด้วย เพ่ือจะได้วางแผนใช้เวลาช่วง ต่อไปได้ ขณะเดยี วกัน การรูเ้ วลาส้นิ สุดจะทําให้การใช้เวลาเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น 9. มีเวลาสาหรบั การจดั เวลา เพอ่ื การวางแผนการใชเ้ วลา เช่นอาจใช้เวลาทกุ วนั ตอนเชา้ วางแผนการใช้เวลาในวันนัน้ และใช้เวลาสดุ สัปดาห์วางแผนการใชเ้ วลาทาํ กจิ กรรมสําคญั ในสปั ดาหต์ อ่ ไป 14ค8ู่มอื สง่ เสชค่มูรน้ั ิมือมสแัธ่งยลเมะสพศรึกฒัมิ ษแนลาาปะกพที จิ ี่ัฒก3นรรามกิจลกกู รเรสมอื ลทกู ักเสษอื ะทชกัีวษติ ะในชีวสิตถใานนสศถกึ าษนศากึ ลษูกาเสปอื รสะเาภมทัญลรูกนุ่ เสใือหสญา่มญั ชร้นั ่นุ มใธัหยญม่ ศเคกึ รษอ่ื างหปมที า่ี 3ยลูกเสอื1ห5ล5วง

เร่อื งสัน้ ที่เปน็ ประโยชน์ ทาไม.....จึงสาคญั ท่ีสดุ ปราชญผ์ หู้ นึ่งเคยต้งั คําถามเหลา่ นว้ี ่า \" ใครคอื คนสาํ คัญท่ีสดุ งานใดคอื งานทส่ี าํ คญั ที่สดุ และเวลาใดคือเวลาทด่ี ที สี่ ดุ \" คําเฉลยมดี ังน้ี \" คนสําคญั ท่ีสุด กค็ อื คนทอี่ ย่เู บ้ืองหนา้ เรา งานสาํ คัญที่สุด ก็คอื งานที่เรา กาํ ลังทาํ อยใู่ นขณะน้ี และเวลาทด่ี ที ส่ี ุด ก็คือ เวลาปัจจุบันขณะ\" ทําไม คนท่ีอยเู่ บอื้ งหนา้ เราจึงสาํ คัญทสี่ ุด คาํ ตอบก็คอื ในช่ัวชวี ิตอันแสนสนั้ นี้ เรากับเขาอาจ มีโอกาสพบกันไดเ้ พยี งครงั้ เดียว ดังนั้นเราจึงควรทําให้การพบกนั ทกุ ครงั้ เปน็ การสร้างความทรงจาํ แสนงามไว้ใหแ้ ก่กนั และมนษุ ย์น้นั รู้เกลยี ดยาวนานกว่ารู้รัก ถา้ การพบกันครงั้ แรกนํามาซ่ึงความรัก และเปน็ การพบกนั เพยี งครั้งเดียวของชีวติ กน็ ับวา่ คุ้มคา่ ทีส่ ุดแล้วสําหรบั การพบกนั ของคนสองคน ทาํ ไม งานทเี่ รากาํ ลงั ทําอยู่ขณะน้ี จงึ เป็นงานสาํ คญั ท่ีสดุ คาํ ตอบกค็ อื เพราะทันทีท่คี ุณปลอ่ ย ให้งานหลุดจากมอื คุณไป งานกจ็ ะกลายเป็นของสาธารณะ หากคุณทํางานดมี ันกค็ อื อนุสาวรียแ์ หง่ ชีวิต และหากคุณทํางานไม่ดีมนั กค็ อื ความอปั รยี ์แห่งชีวิตตอนแรกคณุ เป็นผสู้ ร้างงาน แตเ่ มื่อปล่อย งานหลุดจากมอื ไปแลว้ งานมันจะเปน็ ผยู้ อ้ นกลบั มาสร้างคุณ ทาํ ไม เวลาทดี่ ที ่ีสดุ จึงควรเปน็ ปจั จบุ นั ขณะ คาํ ตอบก็คือ เพราะเวลาทกุ วินาทจี ะไหลผ่าน ชีวติ เราเพยี งครัง้ เดยี ว ไม่ว่าคุณจะหวงแหนเวลาขนาดไหน มเี งินมากเพียงไร กไ็ ม่มีใครสามารถ รื้อฟน้ื เวลาทีล่ ว่ งไปแลว้ ให้คนื กลับมาได้ ทกุ ครั้งทเ่ี วลาไหลผ่านเราไป หากเราไม่ใชเ้ วลาให้เกิด ประโยชนส์ ูงสดุ ชีวิตของคณุ กพ็ ร่องไปแล้วจากประโยชน์มากมายท่ีคุณควรได้จากหว้ งเวลา คัดยอ่ จากเรือ่ ง มายาแห่งเส้นดา้ ย..... โดย ว. วชิรเมธี เรือ่ งนี้สอนให้รูว้ า่ ควรทาํ ปัจจบุ ันใหด้ ีที่สดุ ชา่ งไม้ ช่างไม้ฝมี อื ดตี อ้ งการเกษียณเพราะอายมุ ากแลว้ นายจ้างมีความเสยี ดายความสามารถของ เขามาก จงึ ขอรอ้ งใหช้ ่างไมส้ ร้างบ้านหลงั สุดทา้ ยกอ่ นเกษยี ณ เม่อื บา้ นหลังสดุ ท้ายสรา้ งเสร็จ ปรากฎวา่ บา้ นหลังนขี้ าดความปราณตี และใชว้ สั ดทุ ด่ี อ้ ย คณุ ภาพ เพราะช่างไม้รีบทําเพอ่ื ให้งานผ่านไปอยา่ งเรว็ เทา่ น้ันเองนายจ้างมาเหน็ บ้านดงั กลา่ วก็รสู้ ึก เศร้าใจเขาบอกกับช่างไมว้ า่ \"นี่คอื บ้านของคุณ ผมขอมอบใหเ้ ปน็ ของขวญั ตอนเกษียณอายุ\" ช่างไมไ้ ดย้ ินถงึ กับตกใจและอทุ านว่า “เสยี ดายจริง ๆถ้าร้วู า่ กาํ ลังสรา้ งบา้ นของตัวเอง เราคง จะทาํ ด้วยความต้ังใจมากกวา่ นี้” เรอ่ื งนี้สอนใหร้ วู้ า่ \"ชวี ติ คือสงิ่ ทเ่ี ราสรา้ งดว้ ยตวั เราเอง\"เราทุกคนกาํ ลงั สรา้ งชีวิตของเราอยแู่ ละ เรากไ็ มไ่ ดพ้ ยายามอย่างถึงทส่ี ุดในการสรา้ งสรรค์สงิ่ ตา่ ง ๆในชีวิตของเรา เมือ่ เวลาผ่านไปแล้วเราจึงมกั เสยี ดายและอยากยอ้ นเวลากลบั ซง่ึ เปน็ สิง่ ทเี่ ป็นไป ไม่ได้ จึงควรใชเ้ วลาแตล่ ะวนั ทําทกุ อยา่ งใหด้ ที สี่ ุด คู่ม1อื 5ส6่งเสริมแคลมู่ ะอืพสฒั ่งนเสารกิมจิ แกรลระมพลัฒกู นเสาือกทิจกั กษระรชมวี ลิตกู ใเนสสือถทาักนษศะึกชษีวาติ ปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษือาสาลมูกญั เสรุน่อื ใสหาญมัญ่ เครรุ่นอ่ื ชใงห้ันหญมมัธ่ายยมชลศัน้ กู ึกมเสษธั ือายหปมลที ศว่ี 3กึงษาปีท1ี่ 349

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ เคร่อื งหมายลูกเสอื หลวง ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยท่ี 8 เศรษฐกิจพอเพียง เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 26 วัยรุ่นไทยหัวใจเกาหลี 1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ลูกเสือสามารถเห็นคุณคา่ ของความเปน็ ไทยได้ 2. เนื้อหา คุณคา่ ของความเป็นไทย 3. สอ่ื การเรียนรู้ 3.1 แผนภูมเิ พลง 3.2 เรือ่ งสน้ั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง (ชกั ธงข้นึ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก) 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) ผู้กาํ กบั ลกู เสอื นาํ สนทนาถงึ คา่ นยิ มของวยั รนุ่ ในสังคมไทย ที่นยิ มไวท้ รงผมแบบ เกาหลี แฟช่ันเส้อื ผา้ แบบเกาหลี อาหารเกาหลีและหน้าตา สวย หลอ่ ตี๋ แบบเกาหลี ทีเ่ รียกว่า “เกาหลีฟีเวอร์” แลว้ ต้ังคาํ ถาม (1) คนเกาหลี ตา่ งจากคนไทยอยา่ งไร ในดา้ นวัฒนธรรม(ภาษา ความเปน็ อยู่ ศลิ ปวฒั นธรรม คุณลกั ษณะนสิ ัย ความอดทน ความมีวินัย) (2) เพราะเหตใุ ด วยั รนุ่ ไทยจงึ นยิ มชมชอบ “ความเป็นเกาหล”ี 2) มอบหมายให้กองลูกเสือจดั กิจกรรมโต้วาทใี นญตั ิ “วัยรุน่ ไทยหวั ใจเกาหลี เสียศักดศ์ิ รวี ัยร่นุ ไทย”ประเด็นสนับสนนุ หรือคัดคา้ นในเร่อื ง “การหมกมนุ่ เลียน แบบวฒั นธรรมเกาหลขี องวัยรุ่นไทย” โดยจดั ทมี โต้วาทีเป็น2ฝูายคอื ฝาู ยสนับสนนุ และฝาู ยค้าน (1) ฝูายเสนอและฝูายค้านต่างมหี วั หนา้ 1 คน และมีผู้สนบั สนนุ 3 คน (2) ลูกเสือเลอื กผู้ดําเนนิ รายการ 1 คน (3) หัวหน้าฝูายเสนอนาํ เสนอขอ้ มูล 3 นาที และหวั หนา้ ฝาู ยค้านนําเสนอข้อมูล 3 นาที (4) ผสู้ นับสนุนแตล่ ะฝูายคนละ 2 นาที (5) หวั หนา้ ฝาู ยเสนอและฝาู ยคา้ นสรุปคนละ 1 นาที 3) เมอ่ื โต้วาทีจบลกู เสอื ร่วมกนั วิเคราะหผ์ ลสรุปจากการโต้วาที 4) ผู้กาํ กับใหข้ ้อเสนอแนะและกลา่ วคําชมเชยลกู เสือ 5) ผู้กํากับมอบหมายใหจ้ ัดทาํ โปสเตอร์รณรงคส์ รา้ งจติ สาํ นกึ รักความเปน็ ไทย “เปน็ ไทยทั้งตัวและหัวใจ” ทําอยา่ งไรคอื ไทยแท้ 4.4 ผู้กํากบั ลกู เสอื เลา่ เร่อื งสนั้ ท่เี ป็นประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ) 1ค5ูม่ 0ือส่งเสรคชิมู่มั้นแือมลสธั ะ่งยพเมสฒั ศรึกิมนษแาลากปะจิ พีทก่ีฒัร3รนมาลกกูิจเกสรือรมทลกั ูกษเะสชอื ีวทติ ักใษนะสชถวี าิตนในศสกึ ถษาานศลกึูกษเสาือปสราะมเภัญทรล่นุ ูกใเหสญือส่ ามชัญั้นมรนุ่ัธใยหมญศ่ึกเคษราอ่ื ปงทีหี่ม3ายลูกเ1ส5อื ห7ลวง

5. การประเมินผล สงั เกตจากความสามารถในการโตว้ าที ดว้ ยเหตผุ ลคดั คา้ นโตแ้ ยง้ ทชี่ วนเชื่อให้เหน็ คุณค่า ความเป็นไทย 6. องคป์ ระกอบทักษะชีวติ สาคญั ทีเ่ กิดจากกิจกรรม คือ ความคดิ วเิ คราะห์ ความคดิ สร้างสรรค์ เขา้ ใจ เหน็ คณุ ค่า และภมู ใิ จในความเป็นไทยของ ตนเอง ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี26 เพลง เมดอนิ ไทยแลนด์ เมดอนิ ไทยแลนด์ แดนดินไทยเรา เกบ็ กนั จนเก่าเรามแี ต่ของดดี ี มาตั้งแต่ก่อนสุโขทยั มาลพบรุ ี อยธุ ยา ธนบรุ ี ยุคสมยั นี้ เป็น กทม. เมอื งทค่ี นตกทอ่ (ไมเ่ อาอย่าไปวา่ เขานา่ ) เมดอนิ ไทยแลนดแ์ ดนไทยทาํ เอง จะรอ้ งราํ ทาํ เพลงกล็ าํ้ ลกึ ลลี า ฝรั่งแอบชอบใจแตค่ นไทยไมเ่ หน็ คา่ กลวั นอ้ ยหน้าว่าคณุ ค่านยิ มไม่ทันสมัย เมดอนิ เมืองไทยแล้วใครจะรบั ประกันฮะ (ฉนั ว่ามนั นา่ จะมคี นรบั ผดิ ชอบบ้าง) เมดอนิ ไทยแลนดแ์ ฟนแฟนเขา้ ใจ ผลติ ผลคนไทยใช้เองทาํ เอง ตัดเย็บเสือ้ ผ้ากางโกงกางเกง กางเกงยีนส์ (ชะหนอยแน)่ แลว้ ขึ้นเคร่อื งบินไปสง่ เขา้ มา คนไทยได้หนา้ (ฝรง่ั มงั คา่ ได้เงนิ ) เมดอนิ ไทยแลนดพ์ อแขวนตามรา้ นค้า มาติดปฺายตดิ ตราว่าเมดอินเจแปน ก็ขายดบิ ขายดมี ีราคา คุยกนั ได้วา่ มันมาต่างแดน ทง้ั ทันสมัยมาจากแมก็ กาซีน เขาไม่ไดห้ ลอกเรากิน หลอกเรานน่ั หลอกตัวเอง...เอย 158 คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ค่มู ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ เคร่ืองหมายลูกเสือหลวง 151 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

เรอื่ งสน้ั ทีเ่ ป็นประโยชน์ โหรคนหนงึ่ โหรคนหนึ่งหมกมุ่นในเร่ืองการดูดวงดาวจนไม่เป็นอันทําอะไร วันๆเอาแต่ศึกษาความ เป็นไปของดวงดาวบนท้องฟฺา จนรู้ว่าดวงดาวดวงใดโคจรไปทางไหน ค่ําวันหน่ึงขณะที่โหรเดิน แหงนหน้ามองดูดวงดาวไปตามถนนนอกเมือง จนเผลอพลัดตกไปในบ่อข้างทาง เน่ืองจากได้รับ บาดเจ็บจึงไม่สามารถปีนขึ้นมาได้เอง ต้องนอนร้องครวญครางอยู่ตามลําพัง จนมีผู้มาพบและให้ ความชว่ ยเหลอื พรอ้ มสอบถามถงึ เรอื่ งราวความเป็นมา “เออหนอพ่อโหรผู้รอบร”ู้ ผใู้ หค้ วามช่วยเหลือราํ พึงออกมาดัง ๆ “ท่านศึกษาจนรวู้ า่ ดาวดวง ไหนบนทอ้ งฟาฺ โคจรไปทางใด แตต่ วั เองจะเดนิ ตกบ่อหารไู้ ม่” เรอื่ งนส้ี อนใหร้ ู้ว่าความรู้ทว่ มหัว แต่เอาตวั ไมร่ อด(เป็นผทู้ ม่ี สี ติปัญญาดี แตก่ ลับชว่ ยตนเองไม่ได)้ 15ค2ู่มือสง่ เสชคู่มรนั้ มิือมสแธั ง่ยลเมะสพศรึกฒัิมษแนลาาปะกพีทิจ่ีฒั ก3นรรามกจิลกกู รเรสมอื ลทูกักเสษือะทชักวี ษติ ะในชีวสติถใานนสศถกึ าษนศากึ ลษกู าเสปอื รสะเาภมทญั ลรกู ่นุ เสใือหสญา่มัญชรน้ั ุ่นมใธัหยญม่ ศเคกึ รษือ่ างหปมีทาี่ 3ยลูกเสือ1ห5ล9วง

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือสามญั รุ่นใหญ่ เครอ่ื งหมายลูกเสือหลวง ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยที่ 8 เศรษฐกิจพอเพยี ง แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 27 ชมุ ชนเรานดี้ จี งั เวลา 2 ชวั่ โมง 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.1 ลกู เสอื สามารถนําหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใช้ในการพัฒนาชมุ ชนได้ 1.2 ลกู เสอื สามารถจัดแสดงผลงานได้ 2. เน้ือหา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงมพี ระราชดํารัส ชแี้ นะแนวทาง การดําเนินชีวิตแกพ่ สกนกิ รชาวไทย เป็นปรัชญาชถ้ี ึงแนวการดํารงอยู่ และปฏบิ ตั ติ น ของประชาชนในทกุ ระดับตง้ั แตร่ ะดับครอบครวั ระดบั ชุมชนจนถึงระดบั รฐั ทัง้ ในการพฒั นา และ บริหารประเทศให้ดาํ เนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อใหก้ ้าวทนั ตอ่ โลก ยคุ โลกาภิวฒั น์ ชแ้ี นะแนวทางการดาํ รงอยู่และปฏบิ ัตติ นในทางที่ควรจะเป็นโดยมพี น้ื ฐานมาจากวถิ ี ชวี ติ ดง้ั เดิมของสงั คมไทย สามารถนํามาประยกุ ต์ใชไ้ ด้ตลอดเวลา 3. สอื่ การเรียนรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 ใบงาน 3.3 ใบความรู้ 3.4 กระดาษ 3.5 เรือ่ งสน้ั ท่ีเป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 กจิ กรรมครั้งท่ี 1 1) พิธีเปิดประชุมกอง(ชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบนง่ิ ตรวจ แยก) 2) เพลง หรือเกม 3) กิจกรรมตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) ผกู้ ํากบั ลูกเสือนาํ ลกู เสอื ในกองสนทนาถึงหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั (2) ลูกเสือแต่ละหมสู่ ง่ ตวั แทนมารบั ใบความรไู้ ปศกึ ษา และให้ลูกเสอื แต่ละหม่รู ะดม ความคดิ ในการจัดทาํ โครงการเพอื่ พฒั นา บ้าน / โรงเรียน / ชุมชน ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามใบงานท่ีได้รบั (3) ผู้กํากบั ลกู เสือใหล้ ูกเสอื ไปดาํ เนนิ การตามโครงการทล่ี กู เสอื ไดค้ ดิ ไว้ 4) ผกู้ าํ กบั ลูกเสอื เล่าเรื่องส้นั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 5) พิธปี ดิ ประชมุ กอง(นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชักธงลง เลิก) - ผ้กู าํ กับลกู เสอื นดั หมายใหล้ กู เสอื นําเสนอผลการปฏบิ ัติงานตามโครงการใน รปู แบบของการจัดบอรด์ ในอกี 1 เดอื นขา้ งหนา้ คมู่ 1ือ6ส0ง่ เสริมแคล่มู ะือพสัฒ่งนเสารกมิจิ แกรลระมพลัฒกู นเสาือกทจิ ักกษระรชมวี ลิตกู ใเนสสือถทากันษศะกึ ชษีวาติ ปใรนะสเภถทานลูกศเึกสษือาสาลมูกัญเสร่นุือใสหาญมญั่ เครรนุ่ อ่ื ชใงห้ันหญมมัธ่ายยมชลศ้ันูกกึ มเสษธั ือายหปมลีทศว่ี 3ึกงษาปีท1่ี 353

4.2 กจิ กรรมครง้ั ที่ 2 1) พธิ ีเปิดประชุมกอง(ชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก) 2) เพลงหรอื เกม 3) กิจกรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) ใหล้ ูกเสอื แตล่ ะหมนู่ าํ บอรด์ มาจดั แสดงผลการปฏิบัตติ ามโครงการพัฒนาบา้ น / โรงเรียน/ชมุ ชน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว (2) ใหล้ กู เสอื ทกุ คนไดเ้ ยยี่ มชม พดู คุยแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ 4) ผ้กู ํากับลูกเสอื เลา่ เร่อื งส้นั ที่เปน็ ประโยชน์ 5) พิธปี ดิ ประชมุ กอง(นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลิก) 5. การประเมินผล 5.1 วธิ กี าร 5.2 เคร่อื งมอื - สังเกตการมสี ่วนร่วมในการปฏิบตั กิ ิจกรรม - แบบสังเกตและประเมินผลงาน - ประเมินผลงาน 15ค4ู่มอื สง่ เสชคูม่รน้ั มิอืมสแธั ง่ยลเมะสพศรึกฒัิมษแนลาาปะกพีทิจี่ัฒก3นรรามกจิลกกู รเรสมือลทกู กั เสษือะทชักวี ษิตะในชวีสติถใานนสศถึกาษนศากึ ลษูกาเสปือรสะเาภมทัญลรกู นุ่ เสใือหสญา่มัญชรั้นุ่นมใธัหยญม่ ศเคึกรษื่อางหปมที าี่ 3ยลกู เสือ1ห6ล1วง

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมที่ 27 เพลง เกยี รตศิ กั ด์ลิ กู เสอื ลกู เสอื ลกู เสอื ไว้เกยี รติซลิ กู ผชู้ าย ลูกเสอื ลูกเสอื ไวล้ ายซลิ ูกเสอื ไทย รักเกียรติ รกั วินัย แขง็ แรง และอดทน เราจะบาํ เพญ็ ตน ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้อู ืน่ รว่ ม มาเถิดเรว็ ไว รว่ มใจสนกุ เฮฮา อย่ามวั เศร้าเลยหนา รีบมาเริงรา่ ร่วมกนั ร่วมกนิ รว่ มนอน ร่วมพกั ผ่อน รว่ มทาํ พักผ่อนสขุ สนั ต์ ร่วมคิดจงช่วยกัน ร่วมเรียนสร้างสรรค์ รว่ มกนั เฮฮา เกม ขี่ม้าโยนบอล วธิ เี ล่น 1. แบ่งผูเ้ ล่นออกเปน็ 2 พวก จดั ให้เปน็ ค่มู ขี นาดไล่เลยี่ กนั พวกหน่ึงเปน็ มา้ อกี พวกหนงึ่ เปน็ คนข่ี ใหย้ นื เป็นรูปวงกลม สว่ นใครจะเป็นคนขกี่ ่อนนน้ั จะทาํ ไดโ้ ดยการเสยี่ งหัว-กอ้ ย 2. เริม่ เลน่ โดยใหค้ นขค่ี นหนึ่งรับลูกบอล ใหส้ ง่ ตอ่ ๆ ไปตามลําดบั จะโยนข้ามไมไ่ ด้ ระวงั อยา่ ให้ลกู บอลตกพื้น ม้าตอ้ งพยายามใหค้ นขีร่ บั ลูกบอลพลาด ดว้ ยการพยศ เชน่ ยอ่ ตวั ลงตา่ํ เอยี งซา้ ย ขาว กระโดด หรอื หมุนไปรอบๆ แตไ่ มใ่ ช่ประสงคจ์ ะใหค้ นขต่ี ก แตต่ ้องการให้คน บนหลังรับลกู บอลไมไ่ ด้ 3. หากลูกบอลตกดินคนขท่ี ุกคนตอ้ งรีบเปลยี่ นมาเปน็ มา้ ให้คนเปน็ มา้ ขนึ้ บนหลังสลับกันไป วง่ิ กระโดดเทา้ เดยี ว วธิ เี ล่น ให้ผูเ้ ล่นว่งิ ไปออ้ มเครอื่ งหมายดว้ ยการกระโดดเท้าเดียว เมื่อถึงเครอ่ื งหมายกลบั ตัวให้วิ่ง กลบั ด้วยการเปล่ยี นเท้าอีกขา้ งหนงึ่ แถวใดหมดก่อนเปน็ แถวชนะ ใบงาน โครงการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คา1คสูม่6่ังอื2สตง่ ใอเสหนร้ลมิคทแกูู่มล่ี1อืเะสสพอื่งฒัเแสนตรามิ ล่กแิจะลกคะรนพรมฒัใลนนกู หาเสกมือิจูเ่ทกสักรนรษมอะชลแวีูกนิตเสวในอื คสทิดถกั าใษนนะศกชกึ วีาษติ ราใพนปฒัสระถนเาภานทศลบกึูก้าษเสนาอื สล/ากู โมเรสัญงือรเสุ่นราใยี มหนัญญร่ /เ่นุคชใรหมุอ่ื ชญงน้ัชหม่ นมธั าชยยเนั้มลลมศูกอื ึกัธเกสษยืออามหปยศลีทกึา่ วี่ ษง3งใาดปีทอ่ีย31า่ 5ง5 หนง่ึ มาอย่างนอ้ ยคนละ 1 เรอ่ื ง โดยใหร้ องนายหมู่เปน็ ผูจ้ ดบนั ทกึ

ใบงาน โครงการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง คาํ สงั่ ตอนท่ี1 ใหล้ กู เสอื แตล่ ะคนในหมเู่ สนอแนวคดิ ในการพฒั นา บา้ น / โรงเรยี น / ชุมชน เลอื กอยา่ งใดอยา่ ง หน่ึง มาอยา่ งน้อยคนละ 1 เรอ่ื ง โดยใหร้ องนายหมเู่ ป็นผจู้ ดบนั ทกึ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. คาํ สงั่ ตอนที่ 2 ใหล้ กู เสอื ในหมรู่ ว่ มกนั พจิ ารณาและอภปิ รายเพอ่ื คดั เลอื กแนวทางในการพฒั นา บา้ น / โรงเรยี น / ชุมชน ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ คาํ สงั่ ตอนที่  ใหล้ กู เสอื แตล่ ะหมนู่ ําแนวทางในพฒั นาทไ่ี ดค้ ดั เลอื กแลว้ (จากตอนท2่ี ) มาจดั ทาํ โครงการใน การพฒั นา โดยตอ้ งปฏบิ ตั อิ ยา่ งน้อย  ครงั้ ภายในระยะเวลา 0 วนั ใบความร.ู้ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสร้างทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  16 156 คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ เครอื่ งหมายลูกเสอื หลวง ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

ใบความรู้ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชดาํ รสั ชแ้ี นะ แนวทเารงอื่ งกนาี้รสดอาํ นเนใหิน้ชรวู้ี ่าติ แกพ่ สกนิกรชาวไทย เป็นปรชั ญาชถ้ี งึ แนวการดาํ รงอยู่ และปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุก ระดบั คตวงั้ าแมตข่รยะดนั บัพคารกอเพบยคี รสวั ารมะาดรบั ถชกมุ อ่ ชใหนเ้จกนดิ ถทงึ รพัะดยบั์ รฐั ทงั้ ในการพฒั นา และบรหิ ารประเทศใหด้ าํ เนินไปใน ทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภวิ ฒั น์ ชแ้ี นะแนวทางการดาํ รงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ น ในทางทค่ี วรจะเป็นโดยมพี น้ื ฐานมาจากวถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนํามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็น การมองโลกเชงิ ระบบทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา มงุ่ เน้นการรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤติ เพอ่ื ความมนั่ คงและ ความยงั่ ยนื ของการพฒั นา ความพอเพยี งหมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจาํ เป็นทจ่ี ะตอ้ งมี ระบบภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี และตอ้ งประกอบไปดว้ ยสองเงอ่ื นไข คอื เงอ่ื นไขความรู้ เงอ่ื นไขคุณธรรม ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดงั นี้ ข้อท่ี 1. กรอบแนวคิด เป็นปรชั ญาทช่ี แ้ี นะแนวทางการดาํ รงอยู่ และปฏบิ ตั ติ นในทางทค่ี วรจะเป็น โดยมพี น้ื ฐาน มาจากวถิ ชี วี ติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนํามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชงิ ระบบทม่ี กี าร เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชงิ ระบบทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา มงุ่ เน้นการรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤต เพอ่ื ความมนั่ คง และความยงั่ ยนื ของการพฒั นา ข้อที่ 2. คณุ ลกั ษณะ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถนํามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏบิ ตั ติ นไดใ้ นทุกระดบั โดยเน้นการ ปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นขนั้ ตอน ข้อท่ี . คาํ นิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย  คณุ ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไ่ี มน่ ้อยเกนิ ไป และไมม่ ากเกนิ ไปโดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเอง และ ผอู้ ่นื เชน่ กกาารรผผลลตติ ิ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ 2. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ระดบั ของความพอเพยี งนนั้ จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมเี หตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปัจจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งตลอดจนคาํ นึงถงึ ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทาํ นนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ . การมภี มู คิ ุม้ กนั ทด่ี ใี นตวั หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา้ นต่างๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยคาํ นึงถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ ต่าง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทงั้ ใกล้ และไกล ข้อที่ . เง่ือนไข การตดั สนิ ใจและการดาํ เนินกจิ กรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนนั้ ตอ้ งอาศยั ทงั้ ความรู้ และ คณุ ธรรมเป็นพน้ื ฐาน 2 เงอ่ื นไข ดงั น้ี 1. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งอยา่ งรอบดา้ น ความ รอบคอบทจ่ี ะนําความรเู้ หลา่ นนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ 2. เงอ่ื นไขคุณธรรม ทจ่ี ะตอ้ งเสรมิ สรา้ งประกอบดว้ ย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาํ เนินชวี ติ ข้อท่ี 5. แนวทางปฏิบตั ิ / ผลที่คาดว่าจะได้รบั จากการนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ คอื การพฒั นาทส่ี มดุล และยงั่ ยนื พรอ้ มรบั ต่อการเปลย่ี นแปลงในทุกดา้ น ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม ความรู้ บแลุคะคเลทคห1โ6รน4อื โอลงยคนี กค์ นั ่่มรู คตืออื่ากงาหๆรลจสกัดั าแกมนิจากวรครถรดิ ปมฏแลลกูบิ ะเตั สแติือนาสวมาทไมาดญั ง้ เรพ่นุ อ่ืใหกญาร่เปสรฏิมบิ สตั ริ้าตงาทมกั หษละกชั ีวปิตรชชั นัญ้ มาธัเศยรมษศฐึกกษจิาพปี ทอเี่ พยี ง ซง่ึ ไมว่ า่ จะเป็น คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั รุ่นใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง 157 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

ตวั อย่าง โครงการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง .ช่ือ โครงการส่งเสริมการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อความมนั่ คงของครอบครวั และพฒั นาอาชีพครอบครวั ตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเครอื ขา่ ยองคก์ รสตรหี มบู่ า้ น (กสพม.) ตาํ บลหนองโพ . หลกั การและเหตผุ ล เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาชถ้ี งึ แนวการดาํ รงอยู่ และปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุกระดบั ตงั้ แต่ระดบั ครอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นา และบรหิ ารประเทศใหด้ าํ เนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก้ า้ วทนั ต่อโลกยคุ โลกาภวิ ฒั น์ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งน้ี เป็นกรอบแนวความคดิ และทศิ ทางการพฒั นาระบบเศรษฐกจิ มหภาคของไทย เพอ่ื มงุ่ สกู่ ารพฒั นาทส่ี มดุล ยงั่ ยนื และมภี มู คิ ุม้ กนั เพอ่ื ความอยดู่ มี สี ขุ มงุ่ สสู่ งั คมทม่ี คี วามสขุ อยา่ งยงั่ ยนื หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งการพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื การพฒั นาทต่ี งั้ อยบู่ นพน้ื ฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท โดยคาํ นึงถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั ตลอดจนใชค้ วามรคู้ วามรอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจ ประกอบกบั การดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วนั ยอ่ มมรี ายรบั และรายจา่ ยต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ รายรบั ไดม้ าจากการทาํ มาหาเลย้ี งชพี ทงั้ จากอาชพี หลกั และอาชพี รอง สว่ นรายจา่ ยกไ็ ดแ้ ก่ คา่ ใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ไดแ้ ก่คา่ อุปโภค และบรโิ ภคทจ่ี าํ เป็นต่อการ ดาํ รงชวี ติ ซง่ึ คา่ ใชจ้ า่ ยเหลา่ น้ีมจี าํ นวนเพมิ่ สงู ขน้ึ มาโดยตลอด และไมม่ แี นวโน้มทจ่ี ะลดลง การทาํ บญั ชคี รวั เรอื นเป็น บญั ชที ใ่ี ช้ สาํ หรบั บนั ทกึ รายได้ และรายจา่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจาํ วนั ของเรา วา่ ในแต่ละวนั เรามรี ายไดเ้ ขา้ มาแลว้ จา่ ย คา่ ใชจ้ า่ ยออกไปเทา่ ไร ปัจจุบนั ยอดเงนิ คงเหลอื มเี ทา่ ไร ทาํ ใหเ้ กดิ การวางแผนการใชจ้ า่ ยต่อไปอยา่ งรอบคอบ ใชจ้ า่ ย อยา่ งพอเพยี งเทา่ ทม่ี ี อยา่ งระมดั ระวงั จงึ สามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยทไ่ี มจ่ าํ เป็นทาํ ใหเ้ กดิ การประหยดั และการออม และหากมี การใชจ้ า่ ยเทา่ ทม่ี กี จ็ ะไมก่ ่อใหเ้ กดิ หน้ีสนิ จงึ สามารถแกไ้ ขปัญหาหน้ีสนิ ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื เป็นผลใหเ้ กดิ ภมู คิ ุม้ กนั ทด่ี ใี น การรบั การเปลย่ี นแปลงทางการเงนิ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในอนาคต หากเกดิ การตกงานหรอื อุบตั เิ หตุทท่ี าํ ใหไ้ มส่ ามารถหา รายไดม้ าเลย้ี งชพี ตนเองและครอบครวั ได้ ตามพระราชบญั ญตั กิ าํ หนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอาํ นาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหอ้ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบลมอี าํ นาจและหน้าทใ่ี นการจดั ระบบการบรกิ ารสาธารณะเพอ่ื ประโยชน์ของ ประชาชนในทอ้ งถนิ่ ของตนเองดงั น้ี (๖) การสง่ เสรมิ การฝึกและการประกอบอาชพี (๑๖) การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม ของราษฎรในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บลหนองโพจงึ จดั โครงการกจิ กรรมสง่ เสรมิ การพฒั นา เศรษฐกจิ เพอ่ื ความมนั่ คงของครอบครวั เกย่ี วกบั การสง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี ครอบครวั ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเครอื ขา่ ยองคก์ รสตรหี มบู่ า้ น (กสพม) ตาํ บลหนองโพ ขน้ึ 3. วตั ถปุ ระสงค์ ๑.เพอ่ื ใหเ้ ครอื ขา่ ยองคก์ รสตรหี มบู่ า้ น(กสพม.) ตําบลหนองโพเป็นแกนนําแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งมา ประยกุ ตใ์ ช้ เพอ่ื การพฒั นาทส่ี มดลุ และยงั่ ยนื ๒.เพอ่ื ใหร้ าษฎรรจู้ กั การทาํ บญั ชคี รวั เรอื น ทาํ ใหเ้ กดิ การวางแผนการใชจ้ า่ ยอยา่ งรอบคอบ ๓. เพอ่ื เป็นศนู ยก์ ารเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔. เพอ่ื เป็นการสง่ เสรมิ อาชพี ใหก้ บั ราษฎร เพอ่ื เพม่ิ พนู รายได้ ๕. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของราษฎรในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ . เป้าหมาย เครอื ขา่ ยองคก์ ครส่มู ตือรกหีารมจบู่ ดั า้ กนิจตกาํ รบรมลหลกูนเอสงือโสพามแญัละรป่นุ รใหะชญา่เชสนริมผสสู้ รนา้ ใงจทกัหษมะทู่ ช่ี ีว๑ิต–ชนั้๓ม,ธั ๕ยม–ศ๑ึก๐ษาจปาํ ี ทนี่วน ๕๐165คน 158 คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ เคร่อื งหมายลูกเสือหลวง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3

ตวั อย่าง โครงการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ช่ือ โครงการเศรษฐกิจพอเพียง 2. หลกั การและเหตผุ ล จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 ( พ.ศ. 2555- 2559 ) ยงั คงอญั เชญิ ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเป็นแนวทางปฎบิ ตั คิ วบคไู่ ปกบั การพฒั นาแบบรูบณรู ณากาากราเรปเ็นปอ็นงอคงร์ ควร์ มวทมม่ีทคี ม่ี นคี เนปเ็นป็น ศนู ยก์ ลางพฒั นาอยา่ งจรงิ จงั เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการขบั เคล่อื นการพฒั นาประเทศใหเ้ กดิ ความสมดลุ เป็นธรรม และยงั่ ยนื มงุ่ สู่สงั สคงัมคอมยอเู่ ยเู่น็ ยเน็ปเ็นปส็นขุ สรขุ ว่ รมว่ กมนั กนั อนั จะเป็นการเสรมิ สรา้ งประโยชน์สงู สดุ ใหแ้ กป่ ระชาชนโดยถว้ นหน้า สมดงั พระราชปณธิ านขขอองงพพรระะบบาาททสสมมเเดดจ็ จ็ พพรระะเจเจา้ า้ออยยหู่ หู่ วั วัภาภวาะกวะากรเาจรรเญิจรเญติ บิ เตโตบิ ทโตางทดาา้งนดเา้ ศนรเษศฐรกษจิ ฐขกอจิ งขปอรงะปเทระศเไททศยไททาํ ย ทให�ำก้ใหารก้ ดาาํรรดง�ำชรวี งติ ชขวี อติ งขคอนงคในนสใงนั คสมงั ไคทมยไไทดยน้ ําไเดอน้าส�ำง่ิเอาํ นสงวิ่ อย�ำคนววามยสคะวดาวมกสใะนดทวกุ กๆในดทา้ นุกเๆขา้ มดา้ ในชเใ้ขนา้ ชมวี าติ ใปชใ้รนะจชาํ วี วติ นั ประจำ� วนั แมก้ ระทงั่ สงิ่สอง่ิ ุปอปุโภโภคคแลและบะบรโิรภโิ ภคคตต่าง่าๆงๆลว้ นอาํำ� นวยความสะะดดววกกตต่อ่อคคนนไไททยยใในนสสงั งัคคมมททงั้ งั้สสน้ิ น้ิ ดดว้ ว้ ยยเเหหตตุผุผลลขขา้ า้ งงตตน้ น้ ทำ� ให้ กทาํ รใหใชก้ ้ชารวี ใติ ชขช้ อวี งติ คขนองไคทนยไทท่ผี ย่าทนผ่ี มา่ านนมัน้านถนัึง้ แถมงึ แ้จมะไจ้ ดะไ้รดบั ร้ คบั วคาวมาสมะสดะดววกกสสบบาายยใในนเเบบ้อื อ้ื งต้นแแตต่สง่สิ ทง่ิ ต่ที า่ตี มามมามโดาโยดไมยรไ่ ตูม้ วั่รคู้ตอืวั คอื การดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนั ทฟ่ี ุ่มเฟือยทาํ ใหค้ นในสงั คมตอ้ งประสบกบั ปัญหาการดาํ รงชวี ติ ตามมา ฉะนนั้ สงิ่ ทจ่ี ะสามารถ แกป้ ัญหาการดาํ รงชวี ติ ของคนในสงั คมไทย เรอ่ื งการใชจ้ า่ ยฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะรายจา่ ยในครอบครวั ใหม้ รี ายจา่ ย น้อยลงได้ คอื การดาํ รงชวี ติ อยา่ งพอเพยี งตามแนวพระราชดาํ ริ ดงั นนั้ โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ เป็นโครงการหน่ึงทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อนกั เรยี นโดยตรงเพราะไดฝ้ ึก ปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนําไปประกอบอาชพี แบบยงั่ ยนื ได้ อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ ครอบครวั และชุมชน โรงเรยี น บา้ นป่าบงจงึ ไดจ้ ดั กจิ กรรมปลกู พชื ผกั สวนครวั และผกั พน้ื บา้ น การเพาะเหด็ ฟาง การทาํ ไมก้ วาดทางมะพรา้ ว การทาํ งานใบตองโดยการจดั ทาํ โครงการน้ีขน้ึ . วตั ถปุ ระสงค์ .1 เพอ่ื ตอ้ งการศกึ ษากระบวนการพฒั นาตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง .2 เพอ่ื ฝึกทกั ษะอาชพี และมรี ายไดร้ ะหวา่ งเรยี น . เพอ่ื นําผลผลติ มาประกอบเป็นอาหารกลางวนั ใหน้ กั เรยี น .4 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี น รจู้ กั การใชช้ วี ติ ทพ่ี อเพยี งมคี วามรคู้ วามสามารถในกจิ กรรมทต่ี นเองสนใจ 3. เป้าหมาย ดา้ นปรมิ าณ - บุคลากรในโรงเรยี นทกุ คนมคี วามรคู้ วามสามารถในการใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพยี ง - นกั เรยี นทกุ คนกลา้ แสดงออกตลอดจนไดฝ้ ึกทกั ษะอาชพี และมรี ายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ดา้ นคณุ ภาพ นกั เรยี นรจู้ กั การใชช้ วี ติ ทพ่ี อเพยี งนําหลกั การไปปฏบิ ตั สิ ามารถลดรายจา่ ยในครวั เรอื น ไดร้ บั การฝึกทกั ษะอาชพี และกลา้ แสดงออก 166 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสร้างทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  159 คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ เครื่องหมายลกู เสอื หลวง ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3

เร่ืองส้ันที่เป็นประโยชน์ นกกระเรยี นกบั หมาป่า นกกระเรียนมองไปเห็นหมาปาู นอนด้นิ อย่างทรุ นทรุ ายอยทู่ ่กี ลางปาู จึงเดินเขา้ ไปถามไถ่ อย่างเวทนาวา่ “เจา้ เปน็ อะไรหรือ”หมาป่าตอบว่า “ขา้ กลืนชน้ิ เนอื้ เข้าไป แล้วกระดูกตดิ คอ ของขา้ ทาํ อยา่ งไรกไ็ มอ่ อก”หมาปาู บอกเเลว้ กข็ อร้องใหน้ กกระเรยี นชว่ ยตนเเล้วตนจะใหร้ างวลั เปน็ การตอบเเทนนกกระเรียนจึงมุดหวั ของมันเข้าไปในปากหมาปาู เเละสามารถลว้ งเอากระดกู ออกมา ได้สาํ เร็จเม่อื นกกระเรยี นทวงถามถงึ รางวลั ของตน หมาปูาก็คาํ รามว่า“ขา้ ไม่งับคอเจา้ กด็ ีเเล้ว ยังจะมาเอาอะไรจากขา้ อีก เลา่ ” เร่อื งนี้สอนใหร้ ้วู ่าคนเลวมักไม่เหน็ ความดีของผูอ้ ่ืน นางแมวมรี ัก นางเเมววงิ วอนขอรอ้ งตอ่ พระพรหมวา่ “ขอใหท้ า่ นโปรดเมตตา เสกใหห้ มอ่ มฉนั กลายเป็นหญงิ สาว ดว้ ยเถดิ เพคะ หม่อมฉันหลงรักชายหนุม่ ผู้นนั้ เสยี เหลอื เกนิ ”พระพรหมเกิดความสงสารเวทนาจึงเสก ให้นางเเมวกลายเป็นคน“ถา้ อยากเป็นคน กต็ ้องเปน็ ใหต้ ลอดนะ”พระพรหมตรสั เเลว้ กค็ อย สอดสอ่ งทพิ ยเนตรดนู างเเมวตอ่ ไปวนั หนงึ่ นางเเมวในร่างของหญงิ สาวกาํ ลงั พรอดรักกับชายหนุ่ม อยา่ งหวานช่นื ครัน้ มหี นตู ัวหนง่ึ วิง่ ผา่ นมา หญงิ สาวก็กระโดดออกไปแลว้ ตะครบุ หนูตัวนนั้ มากนิ ในทันใดพระพรหมจึงทรงใหห้ ญิงสาวกลบั เปน็ นางเเมวดงั เดมิ เรอื่ งนี้สอนให้รู้วา่ ผใู้ ดจะละทง้ิ สนั ดานเดมิ เป็นเร่อื งยาก 16ค0ู่มือสง่ เสชค่มูรัน้ ิมอืมสแธั ง่ยลเมะสพศรึกัฒิมษแนลาาปะกพีทิจ่ีัฒก3นรรามกิจลกกู รเรสมอื ลทูกักเสษือะทชกัีวษิตะในชวีสติถใานนสศถึกาษนศาึกลษกู าเสปอื รสะเาภมทญั ลรูกนุ่ เสใอืหสญา่มัญชร้ันุ่นมใธัหยญม่ ศเคึกรษอ่ื างหปมที าี่ 3ยลูกเสือ1ห6ล7วง

แบบสงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ เครื่องหมายลูกเสอื หลวง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 หนว่ ยที่ 8 เศรษฐกิจพอเพยี ง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 27ชมุ ชนเรานดี้ จี ัง คาชแ้ี จง หลังจากลกู เสอื ปฏิบัติกิจกรรมแล้ว ใหผ้ กู้ ํากบั ทาํ เครอ่ื งหมาย  ประเมนิ พฤตกิ รรม ของลูกเสอื ตามรายการต่อไปน้ี ชือ่ ............................................................................................................................................. ข้อท่ี รายการประเมนิ ผ่าน ไม่ผา่ น 1 ความสนใจและความตง้ั ใจ 2 การใหค้ วามรว่ มมอื แกห่ ม่คู ณะ 3 ลกู เสือแต่ละคนในหมูเ่ สนอแนวคิดในการพัฒนา บ้าน / โรงเรียน / ชมุ ชน เลือกอย่างใดอยา่ งหน่งึ มาอยา่ งนอ้ ยคนละ 1 เรอ่ื ง 4 ลูกเสอื ในหมูร่ ว่ มกนั พจิ ารณาและอภิปรายเพอ่ื คัดเลือกแนวทางในการ พัฒนา บา้ น / โรงเรียน /ชุมชน ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5 ให้ลูกเสอื แตล่ ะหมนู่ าํ แนวทางในการพัฒนาท่ีได้คัดเลอื กแลว้ มาจดั ทํา โครงการในการพัฒนา โดยตอ้ งปฏบิ ัติอย่างน้อย 3 ครงั้ ภายใน ระยะเวลา 30 วัน 6 ลกู เสอื สามารถนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการพฒั นา ชุมชน 7 ใหล้ ูกเสอื แต่ละหมนู่ าํ บอร์ดมาจดั แสดงผลการปฏบิ ัตติ ามโครงการพฒั นา บา้ น / โรงเรียน/ชมุ ชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั เกณฑ์การประเมนิ ผ่านการประเมนิ ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6ขอ้ 7 และขอ้ อนื่ ๆ อกี 1 ขอ้ รวม 6 ขอ้ ขน้ึ ไป ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สรุปผลการประเมนิ ผา่ น ไมผ่ า่ น ลงช่อื .................................................................... (..................................................................) ผู้ประเมิน ค่มู 1ือ6ส8ง่ เสรมิ แคลู่มะอืพสัฒ่งนเสารกิมิจแกรลระมพลัฒกู นเสาือกทจิ กั กษระรชมีวลติ ูกใเนสสือถทาักนษศะึกชษวี าิตปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษอื าสาลมกู ัญเสรนุ่อื ใสหาญมญั่ เครรุ่นอื่ ชใงห้ันหญมมธั ่ายยมชลศน้ั กู ึกมเสษธั อื ายหปมลีทศว่ี 3ึกงษาปีท1ี่ 361

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ เครือ่ งหมายลกู เสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยท่ี 9 การฝึกเปน็ ผูน้ า เวลา 1 ช่วั โมง แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 28 ผู้นาท่ีดี 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ลูกเสอื สามารถอธบิ ายความหมายและคณุ สมบตั ขิ องผนู้ ําได้ 2. เนื้อหา ผ้นู า (Leader)หมายถงึ บคุ คลท่มี คี วามสามารถในการท่จี ะทาํ ใหอ้ งคก์ ารดาํ เนนิ ไปอยา่ ง กา้ วหนา้ และบรรลุเปฺาหมาย โดยการใชอ้ ิทธิพลเหนือทศั คติและการกระทําของผอู้ ่ืน ภาวะผนู้ า (Leadership) หมายถงึ กระบวนการในการแนะแนวและนําทางพฤตกิ รรมของ คนในสภาพของการทาํ งาน ผ้นู ําอาจจะเป็นบคุ คลทีม่ ีตําแหน่งอยา่ งเป็นทางการหรอื ไม่เปน็ ทางการก็ ได้ ซง่ึ เรามกั จะรบั รู้เก่ียวกบั ผ้นู าํ ทไี่ มเ่ ป็นทางการอยเู่ สมอ เนือ่ งจากบคุ คลนนั้ มลี ักษณะเดน่ เป็นท่ี ยอมรับของสมาชิกในกล่มุ ทําใหส้ มาชกิ แสดงพฤตกิ รรมทม่ี ีนา้ํ หนักและเปน็ เอกภาพ โดยเขาจะใช้ ภาวะผูน้ ําในการปฏบิ ตั ิการและอํานวยการโดยใช้กระบวนการตดิ ต่อสัมพนั ธ์กนั เพอ่ื มุ่งบรรลุ เปาฺ หมายของกลมุ่ 3. สอ่ื การเรียนรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 ใบความรู้ 3.3แบบทดสอบภาวะความเปน็ ผนู้ ํา 3.4เรอื่ งสัน้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 พิธีเปิดประชมุ กอง (ชักธงข้ึน สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก) 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผกู้ ํากบั ลูกเสอื ใหล้ กู เสือแต่ละคนในกองทาํ แบบทดสอบภาวะความเปน็ ผู้นาํ ภายใน เวลา 10 นาที 2) ผ้กู าํ กับลกู เสอื ให้ลกู เสอื สาํ รวจคาํ ตอบของตนเอง จากนน้ั ผกู้ ํากบั แปลคา่ ใหล้ ูกเสอื ทราบ 3) ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื ใหต้ วั แทนแต่ละหม่มู ารับใบความรูเ้ ร่อื ง ลกั ษณะของผนู้ าํ ทดี่ ี 4) ผู้กาํ กับลกู เสอื นําลกู เสือสนทนา และสรุปในหวั เรื่องของลกั ษณะของผนู้ ําท่ดี ี มีอยา่ งไรบา้ ง 4.4ผู้กาํ กบั ลูกเสอื เลา่ เรือ่ งสน้ั ทีเ่ ป็นประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ) 5. การประเมินผล สงั เกต การมสี ่วนร่วมทาํ กจิ กรรม และการแสดงออก 16ค2ู่มือสง่ เสคชู่มรั้นิมอืมสแธั ่งยลเมะสพศรกึัฒิมษแนลาาปะกพีทจิ ่ีฒั ก3นรรามกจิลกกู รเรสมอื ลทกู ักเสษือะทชกัวี ษิตะในชีวสติถใานนสศถึกาษนศากึ ลษูกาเสปอื รสะเาภมทญั ลรูก่นุ เสใอืหสญา่มัญชรั้นนุ่ มใธัหยญม่ ศเคึกรษอ่ื างหปมที าี่ 3ยลกู เสือ1ห6ล9วง

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 28 เพลง จบั มือ จับมือกนั ไวใ้ หม้ น่ั คง เพอื่ ความยนื ยงสามัคคี รกั กันปรองดองเหมอื นน้องพ่ี เพอ่ื ความสามัคคีมรี ่วมกัน โกรธกันมนั รา้ ยเปน็ ส่งิ เลวเปรียบดังเปลวเพลิงร้อนไฟนนั่ เผาใจใหม้ คี วามไหวหวัน่ จับมือย้ิมใหก้ ันเปน็ สง่ิ ดี เกม นาทาง วธิ ีเลน่ 1. ให้ลกู เสือคนหน่งึ ปิดตาไว้จากนนั้ ให้ลกู เสืออกี คนนาํ ของทเ่ี ตรียมไว้ไปซอ่ นยงั จดุ ๆหน่ึง 2. จากนน้ั ให้คนทป่ี ิดตานนั้ เปดิ ตาและออกคน้ หาวา่ ของนนั้ ซอ่ นอยู่ทไี่ หน ลกู เสอื คนอืน่ จะ บอกทิศทางของสิ่งของน้นั ไดโ้ ดยพดู เพยี งว่า ซา้ ยขวา หันหลัง บอกสง่ิ ของน้นั ให้กบั ผู้คน้ หา การตัดสินผคู้ ้นหาจะตอ้ งเดนิ ไปตามทิศทางทล่ี กู เสอื บอกจนกว่าจะคน้ พบสงิ่ ของน้ันแล้วก็ เปล่ียนคนอ่ืนเขา้ มาหาของบา้ ง 170 ค่มู อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลูกเสือหลวง 163 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

ใบความรู้ ลกั ษณะของผนู้ ําที่ดี ผนู้ ํา (Leader)หมายถงึ บุคคลทม่ี คี วามสามารถในการทจ่ี ะทาํ ใหอ้ งคก์ ารดาํ เนินไปอยา่ งกา้ วหน้าและบรรลุเป้าหมาย โดยการใชอ้ ทิ ธพิ ลเหนือทศั คตแิ ละการกระทาํ ของผอู้ น่ื ภาวะผนู้ ํา (Leadership) หมายถงึ กระบวนการในการแนะแนวและนําทางพฤตกิ รรมของคนในสภาพของการทาํ งาน ผนู้ ําอาจจะเป็นบุคคลทม่ี ตี ําแหน่งอยา่ งเป็นทางการหรอื ไมเ่ ป็นทางการกไ็ ด้ ซง่ึ เรามกั จะรบั รเู้ กย่ี วกบั ผนู้ ําทไ่ี มเ่ ป็น ทางการอยเู่ สมอ เน่ืองจากบุคคลนนั้ มลี กั ษณะเดน่ เป็นทย่ี อมรบั ของสมาชกิ ในกลมุ่ ทาํ ใหส้ มาชกิ แสดงพฤตกิ รรมทม่ี ี น้ําหนกั และเป็นเอกภาพ โดยเขาจะใชภ้ าวะผนู้ ําในการปฏบิ ตั กิ ารและอาํ นวยการโดยใชก้ ระบวนการตดิ ต่อสมั พนั ธก์ นั เพอ่ื มงุ่ บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม คณุ ลกั ษณะของผนู้ ํา 10 ประการ 1. กลา้ เปลย่ี นแปลง 2. มจี ติ วทิ ยา มมี นุษยส์ มั พนั ธ์ . จงู ใจคนไดด้ ี 4. มคี วามรับผิดชอบสงู 5. มที งั้ ความยดื หยนุ่ และเดด็ ขาด 6. มที งั้ ความรอบรู้ มสี งั คม 7. เป็นนกั ประสารงานทด�ี ี 8. มคี วามกระตอื รอื รน้ 9. ทาํ งานเคยี งขา้ งลกู น้อง 10. มคี วามน่านบั ถอื ต้องสสงั งั เเกตกาารรณณ์ท์ทาํ �ำงางนาขนอขงอลงกู ลนูก้อนงแ้อตง่ลแะตค่ลนะในคทนมีในงาทนีมดงว้ ายนวา่ดม้วใี ยควรก่าาํมลีใงัคเอรากเ�ำปลรงัยี เบอเพาเอ่ื ปนรอียยบหู่ เรพอื ่ไือมน่ อเยพู่หรราือะ ไม่ เบพารงาคะนบอาางจคชนออบาอจู้ ชทอาํบงอาู้นทนำ� ้องยาปนลน่อ้อยยใปหลเ้ พอ่ อ่ยื นใหคเ้นพออ่ื ่นื นเหคน่ือยน่ื มเหากนก่ือวยา่ มาซกง่ึ กกวรา่ณซอี ยง่ึ กา่ งรนณ้ีหอี วั ยหา่ นง้านง้ีหาวนั หตนอ้ ง้าสงงาั เนกตตอ้ดงว้ สยงั เกตดว้ ย ตตนนเองดว้ ย คคนนททำ� งาํ างานนหหนนกั กั บบาางงคคนนออาาจจจจะไมใ่ ชค่ นทช่ี อบฟฟ้อ้องงแแมมเ้ มเ้ มอ่ื ถอ่ื กูถเกู อเาอเาปเรปยี รบยี บ อย่าใส่ใจความผิดเล็กๆ น้อย ทเ่ี รารูด้ วีอ่ายเ่าปใ็นสเ่ใรจ่อื งคกวามรเผมดิ อื เลงก็ เๆช่นน้อลยูกนท้อเ่ี งรลาราดู้ปวี่ วา่ ยเปท็นงั้ เๆรอ่ื ทงกไ่ี ามร่ไเดมปอ้ื ่งวยเจชรน่ งิ เลรกูานก้อไ็ มงล่จา�ำปเ่ปวย็นทตงั้อๆงไทปไ่ี สมบไ่ื ดคป้ น้ ่ววย่าจทรง�ำิ ไมเขา ตเรอ้ างกโไ็กมหจ่ กาํ เปต็นรตาบอ้ งใไดปทสเ่ี บขื าคยน้ งัวคา่ ทงตาํ ไงั้ มใจเขทาำ� ตงอ้างนโกเหวกน้ ตแรตา่วบา่ ใบดุคทคเ่ี ขลานยนั้งั คมงที ต่างั้จใะจขทาาํ ยงาไนอเดเยี วภน้ าแยตใ่วนา่ อบงคุ คคก์ ลรนในั้หมบ้ ที รา่ษิ จทั ะขอา่นื ยๆไอหเดรยีอื มภพี ายฤใตนกิ อรงรคมก์ สรอ่ ใใหหบ้ เ้ รหษิ น็ ทั มอาน่ืกๆอ่ นวหา่ รไอืมมเ่ อพี าฤใจตใกิ สรใ่ รนมงสาอ่นใหกเร้ หณน็ เี มชาน่ กนอ่ นั้ นจวงึ า่ คไอ่มยเ่ อคารใวจจใสสใ่อนบงอายนา่ งจกรรงิณจงเีั ชพน่ ยนานั้ ยจางึ มควอ่ ายงตแรผวนจลสว่ องบหน้า เเพขอ่าื อจยะไา่ ดงมจ้ รองิงจเหงั น็ แนวโนม้ ของการตดั สนิ ใจได้เลย่ี งการตดั สนิ ใจอยา่ งเรง่ ดว่ นสำ� หรบั อปุ สรรคทเ่ี กดิ ขน้ึ เพราะวางแผนงาน ผดิ พลาดพยอายย่าามมุ่งวเนาง้นแผแนตง่กานาลรส่วงรห้านงง้าานเพตอ่ื ้อจงะเไรดยี ม้ นอรงเู้เหร่อืน็ งแขนอวโงนก้มรขะแองสกคาวราตมดั ตส้อนิ งใจกไาดร้ ขอเลงย่ี หงนก่วารยตงดัาสนนิ อใ่นืจอแยลา่ะงบรรดา ค เดรแู่ว้ ง่ ขยดง่ ว่ อโนน่ดื สอยๆาํ ยไหมด่ารน่มว้บั ยึกงุ่อเถปุ โนงึดส้นผยรลรไแกคมตรทน่ ่กะเ่ีึกทากรถบดิ สงึทขรผน้ึจ่ีา้ ละงเพกตงารารนาะมะทมตวบาอา้ วทงงา่ แเจ่ีจรผะะยี นตเนกงารดาิมเู้ นผรมอ่ผืลางอดิวขยพา่ อจา่ ลงงะากไเดกรระดิ แผสลคอวยาา่มงตไอ้ รงการของหน่วยงานอ่นื และบรรดาคแู่ ขง่ อ่นื ๆ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  171 164 คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสอื หลวง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

หหวั วั หหนน้า้าคคอื อื ผผจู้ จู้ บั บั ผผดิ ดิ แแททนนองอคงก์ครก์ วรา่ วบา่ ุคบลคุ าลการกครนคใดนทใดาํ งทาำ� นงดาว้นยดคว้ วยาคมวรากั มอรงกคั กอ์ รงคก์ ครนใคดนทใาํดงทานำ� งดาว้ นยดเพว้ รยาเะพมรไี าฟะ แมหไี ง่ฟกแาหรสง่ กรา้างรสสรรรา้คง์ สรครคน์ใคดนมงุ่ใดมมนั่ งเุ่ พมอ่ืนั ่ ผเพลปอ่ื รผะลโยปชรนะโ์ขยอชงนอง์ขคอก์ งรองคแก์ลระคแนลใะดคทนาํ ใงดานทเำ� พงยีางนเเพพอ่ื ยี ใงหเม้พงี อ่ืาในหทม้ าํ งี านทำ� พิจารณา สง่ เสรมิ ลกู น้องทม่ี คี วามขยนั และมอี ปุ นิสยั ใจคอดี แมว้ า่ ฝีมอื การทาํ งานอาจจะไมโ่ ดดเดน่ นกั ควรหาทางสง่ เขาไปฝึกอบรมการสนบั สนุน คนนิสยั ดยี อ่ มเป็นประโยชน์แกอ่ งคก์ รมากกวา่ สนบั สนุนคนทท่ี าํ งาน ไดด้ แี ต่มไิ ดเ้ ป็นทช่ี น่ื ชมของของทุกคนนกั ความโกรธ ความเสยี ใจ คนเป็นหวั หน้าทมี ตอ้ งแสดงออกแต่น้อยหากอยใู่ นทท่ี าํ งาน ไมม่ ลี กู น้องคนใดจะ นบั ถอื ศรทั ธาผจู้ ดั การทอ่ี อ่ นแอและออ่ นไหวจนเกนิ ไป อย่าปกปิ ดความผิด ของลกู น้อง เมอ่ื งานผดิ พลาดกต็ อ้ งชว่ ยกนั รบั ผดิ ชอบและแกไ้ ข แต่ไมใ่ ชช่ ว่ ยกนั ปิดไว้ ไมใ่ หผ้ บู้ รหิ ารระดบั สงู รบั รวู้ า่ เกดิ การผดิ พลาดในผลงาน ตอ้ งกลา้ จะรบั ผดิ ขณะเดยี วกนั กต็ อ้ งแจง้ ใหผ้ บู้ รหิ าร ทราบถงึ แนวทางการป้องกนั การเกดิ ปัญหาเชน่ น้ีทไ่ี ดว้ างแผนไวแ้ ลว้ เป็นหวั หน้างาน ทเ่ี ทย่ี งธรรมอยา่ มอี คตกิ บั ลกู น้องเพราะมนั จะนําไปสกู่ ารตดั สนิ ใจดว้ ยอคตเิ มอ่ื มปี ัญหา เกดิ ขน้ึ อยา่ ลุม่ หลงในการการยกยอปอปัน้ หวั หน้าทห่ี เู บายอ่ มกาํ กบั ควบคุมทมี ใหส้ รา้ งผลงานทด่ี ไี ดย้ าก แนะนํา ลกู น้องคนใหมใ่ หท้ กุ คนในทมี งานไดร้ จู้ กั แลว้ ใหค้ นพาเขาไปดสู ว่ นต่างๆ ของบรษิ ทั ใหท้ วั่ ถงึ มวิ า่ จะเป็นหอ้ งน้ํา มมุ กาแฟ หรอื ทจ่ี อดรถ ควรตอ้ นรบั และดแู ลคนใหมอ่ ยา่ งดี แมว้ า่ เขาจะอยใู่ นฐานะลกู จา้ งชวั่ คราว หรอื เดก็ ฝึกงานกต็ าม พาทีมงาน ไปเลย้ี งอาหารกลางวนั หรอื อาหารเยน็ “ เลย้ี งสง่ ” หรอื “ เลย้ี งอาํ ลา ” ในยามทค่ี นในทมี งาน ลาออก อยา่ ลมื รว่ มกนั เขยี นอวยพร ในการด์ ใบเดยี วกนั หรอื าจรวมกนั ซอ้ื ของขวญั พเิ ศษสกั ชน้ิ ใหเ้ ขา เพอ่ื ทุกคน จะไดส้ นิทสนมรกั ใครก่ นั ดี ทาํ ตวั เป็นตวั อย่าง ทด่ี กี บั ลกู น้องในทุกๆ ดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นการแต่งตวั การวางตวั ความเอาใจใสใ่ น การทาํ งาน ความมอี ารมณ์ขนั การสรา้ งสรรคบ์ รรยากาศการทาํ งานใหม้ สี สี นั และการทาํ งานโดยมงุ่ หวงั ความ เป็นเลศิ ในผลของงาน คนทาํ งาน ยอ่ มรถู้ งึ ขนั้ ตอนการทาํ งานและปัญหาต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดผี เู้ ป็นหวั หน้า ควรหาโอกาสลงไป รว่ มชว่ ยงานของลกู น้อง แต่ละคนบา้ งหากมโี อกาส เพอ่ื จะไดม้ องเหน็ ปัญหาวา่ ควรจะบรหิ ารงานนนั้ อยา่ งไรใหถ้ ูก ทาง และควรเปิดโอกาสใหพ้ วกเขาไดร้ ว่ มเสนอแนะการปรบั ปรงุ แกไ้ ขวธิ กี ารทาํ งานบางประการทพ่ี วกเขายอ่ มเขาใจ ในสภาวะต่าง ๆ ไดด้ กี วา่ เรา หวั หน้างาน มหี น้าทโ่ี ดยตรงทจ่ี ะคอยไกลเ่ กลย่ี ประนีประนอม คนในทมี งานทม่ี คี วามขดั แยง้ กนั อยา่ ปลอ่ ย ใหเ้ ขาไมพ่ อใจกนั ในขณะทต่ี อ้ งทาํ งานรว่ มกนั ถา้ มปี ัญหาของความขดั แยง้ คอ่ นขา้ งจะรนุ แรงเกนิ ความสามรถของคุณ กใ็ หน้ ําความไปปรกึ ษาผบู้ รหิ ารระดบั สงู เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพจิ ารณาหนาหนทางแกไ้ ขอยา่ งยตุ ธิ รรม ต่อคกู่ รณที งั้ สอง เข้ารว่ ม รบั การอบรมทกั ษะผนู้ ําและศลิ ปะของการบรหิ ารงาน เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพใหก้ บั ตนเอง อยา่ คดิ วา่ เวลามนี ้อยถา้ คุณไมส่ ามรถบรหิ ารเวลาของตนเองไดแ้ ละไมเ่ หน็ ความสาํ คญั ของการพฒั นาตนเอง กแ็ สดงวา่ คุณยงั ไมใ่ ชผ่ นู้ ําทด่ี นี กั สรปุ ได้ว่า การทจ่ี ะเป็นผนู้ ําทด่ี ี จะตอ้ งยดึ ใน หลกั 10 ประการน้ี เพอ่ื การบรหิ ารในแต่ละหน่วยงาน แต่ ละองคก์ รใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ พรอ้ มทงั้ การไดร้ บั ความรกั และความไวเ้ น้ือเชอ่ื ใจจากผรู้ ว่ มงาน และหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ จะเป็นแนวทางดที ส่ี าํ หรบั ผทู้ จ่ี ะกา้ วเป็นผบู้ รหิ าร หรอื ผทู้ เ่ี ป็นอยแู่ ลว้ นําไปปฏบิ ตั หิ รอื นําไปปรบั ใช้ เพอ่ื การ บรหิ ารงานในหน่วยงานใหป้ ระสบความสาํ เรจ็ ในอนาคต 172 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  ค่มู ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ เครอ่ื งหมายลูกเสอื หลวง 165 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

แบบทดสอบ ภาวะความเป็นผนู้ ํา คาํ สงั่ ใหล้ กู เสอื เลอื กคาํ ตอบเพยี งขอ้ เดยี วทต่ี รงกบั ความคดิ ของลกู เสอื ทส่ี ดุ 1. “ สถานภาพ” มีความสาํ คญั กบั คณุ อย่างไร? a. สาํ คญั มาก คุณชอบทจ่ี ะรสู้ กึ วา่ ตนเองอยใู่ นลาํ ดบั สงู สดุ ของสงั คม b. คอ่ นขา้ งสาํ คญั คุณรสู้ กึ ดที ไ่ี ดอ้ ยทู่ า่ มกลางฝงู ชน c. เป็นเรอ่ื งคุณภาพของความสมั พนั ธม์ ากกวา่ วา่ คุณอยตู่ รงไหนของความสมั พนั ธน์ นั้ d. ไมส่ าํ คญั เลย คณุ แคต่ อ้ งการความกา้ วหน้าและประสบความสาํ เรจ็ 2. ในวยั เดก็ คณุ อย่ลู าํ ดบั ไหนของกล่มุ เพื่อน ? a. ผนู้ ํากลุม่ ทท่ี ุกคนต่างกลวั b. ผมู้ คี วามสนุกสนาน เป็นทช่ี ่นื ชอบของทุกคน c. นกั คดิ ทท่ี ุกคนรบั ฟัง d. เงยี บขรมึ ไมม่ ใี ครสงั เกตเหน็ เลย . เมือ่ อย่ทู ี่สาํ นักงาน คณุ เป็นคนที่เสนอแนวคิดหรอื คาํ แนะนําใหม่ๆ หรือไม่ ? a. ตลอดเวลา คณุ ตอ้ งการใหท้ กุ คนรวู้ า่ คณุ คดิ อยา่ งไร b. คอ่ นขา้ งจะบ่อยครงั้ แต่ไมไ่ ดต้ ลอดเวลาเพราะอาจทาํ ใหใ้ ครบางคนไมพ่ อใจ c. บอ่ ยครงั้ แต่มคี วามระมดั ระวงั ในบางประเดน็ เรอ่ื งความเป็นสว่ นบุคคลและการเมอื ง d. นาน ๆ ครงั้ เน่ืองจาก “หากสง่ิ นนั้ เป็นสง่ิ ผดิ หละ่ ?” 4. หากเพื่อร่วมงานของคณุ โดนตาํ หนิเรอื่ งรายงานที่ไม่มีคณุ ภาพ คณุ จะทาํ อย่างไร ? a. บอกพวกเขาในสงิ่ ทพ่ี วกเขาควรจะรมู้ ากขน้ึ b. พาพวกเขาออกไปสงั สรรคห์ ลงั เลกิ งาน c. เสนอตวั ชว่ ยตรวจรายงานใหใ้ นครงั้ ต่อไป d. หลกี เลย่ี งพวกเขา เพราะคณุ มสี ง่ิ ทต่ี อ้ งทาํ มากอยแู่ ลว้ 5. คณุ ได้รบั ความเหน็ ท่ีไม่ดีกลบั มา คณุ จะตอบสนองอย่างไร ? a. รสู้ กึ โกรธและปกป้องตวั เอง b. รบั ฟังอยา่ งตงั้ ใจแต่มคี วามรสู้ กึ ผดิ หวงั ออกมา c. พจิ ารณาถงึ สง่ิ ทค่ี ุณจะตอ้ งเปลย่ี นแปลง และวธิ ใี นการปรบั ปรงุ d. ถอนหายใจแลว้ คดิ วา่ “น้ีแหละตวั คุณ” ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  17 166 คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

6. “ อีคิว” มีความหมายกบั คณุ อย่างไร? a. ไมม่ ี เพราะเป็นแคค่ วามนิยมในการบรหิ ารจดั การ และจะหายไปเมอ่ื ไมไ่ ดร้ บั ความนิยม b. จะถอื เป็นความผดิ หากมกี ารอนุญาตใหห้ วั เราะไดใ้ นเวลาทาํ งาน c. เป็นความใสใ่ จถงึ ความรสู้ กึ ของเพอ่ื นรว่ มงาน d. เป็นสง่ิ ทค่ี ณุ พยายามจะเขา้ ใจในอารมณ์ของเจา้ นายคุณ 7. เม่ือคณุ เผชิญหน้ากบั ปัญหาที่ต้องได้รบั การแก้ไขคณุ จะทาํ อย่างไร ? a. เสนอวธิ แี กไ้ ขวธิ เี ดยี วและบอกวา่ เป็นวธิ ที ถ่ี กู ตอ้ งแลว้ b. เสนอหากวธิ กี ารแกไ้ ขทม่ี คี วามเป็นไปไดแ้ ละขอใหค้ นอน่ื ออกความคดิ เหน็ c. ทาํ การระดมสมองกบั เพอ่ื รว่ มงาน d. ขอคาํ แนะนําจากผจู้ ดั การหรอื หวั หน้า 8. หากเจ้านายขอให้คณุ ทาํ บางส่ิงท่ีเกินความสามารถคณุ จะทาํ อย่างไร ? a. รบั มาดว้ ยความเตม็ ใจ เพราะคุณสามารถทาํ ไดท้ ุกอยา่ ง b. ทาํ อยา่ งเตม็ ความสามารถ และไมต่ ําหนิตวั เองหากเกดิ ผดิ พลาด c. รบั มา แต่ถามถงึ วธิ กี ารและความชว่ ยเหลอื ทม่ี ากกวา่ นนั้ d. รบั มาและทาํ เงยี บเฉย สดุ ทา้ ยถงึ สารภาพออกมาว่าคุณไมค่ ดิ วา่ จะสามารถจดั การได้ 9. การกระจายอาํ นาจหรือการแบง่ งานกนั ทาํ คืออะไร ? a. การเสยี เวลา ไมม่ ใี ครสามารถทาํ ไดด้ เี ทา่ คณุ ดงั นนั้ คณุ ตอ้ งทาํ ดว้ ยตวั คุณเอง b. เป็นวธิ ที ง่ี า่ ยในการแบง่ ภาระงาน c. เป็นวธิ ที ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการสรา้ งโอกาสในการเรยี นรใู้ หมส่ าํ หรบั คนอน่ื d. เป็นบางสง่ิ ทค่ี ุณตอ้ งรบั เป็นคนสดุ ทา้ ยเสมอ 10. “ การเปลี่ยนแปลง” มีความหมายกบั คณุ อย่างไร? a. บางสงิ่ บางอยา่ งทส่ี ามารถควบคมุ ได้ b. เป็นโอกาสทท่ี ุกสงิ่ ทกุ อยา่ งสามารถเกดิ ขน้ึ ได้ c. เป็นโอกาสในการสรา้ งความกา้ วหน้า d. บางสง่ิ บางอยา่ งทจ่ี ะตอ้ งไปกบั มนั 174 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญรุน่ ใหญ่ เคร่อื งหมายลูกเสือหลวง 167 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

เฉลยคาํ ตอบ หากคาํ ตอบส่วนใหญ่คือ ข้อ a คุณมคี วามเป็นผนู้ ําโดยกาํ เนิด เพยี งแต่รอใหถ้ งึ งานทเ่ี หมาะสมกบั คณุ เสยี ก่อน คณุ มคี วามแขง็ แกรง่ กลา้ ตดั สนิ ใจ และเป็นนกั ปกครองทด่ี ี ทกุ คนทอ่ี ยรู่ อบตวั คุณใหค้ วามเคารพนบั ถอื คุณ หรอื อยา่ งน้อยนนั้ เป็นสง่ิ ทค่ี ุณคดิ อยเู่ สมอ แต่ในโลกแหง่ ความเป็นจรงิ สถานการณ์อาจแตกต่างออกไป ความเยอ่ หยง่ิ ความมทุ ะลุดุดนั และความเป็น เอกาธปิ ไตยทค่ี ุณมี มนั เป็นรปู แบบทล่ี า้ สมยั ไปแลว้ คณุ ควรฉลาดทจ่ี ะไมล่ งโทษผคู้ นทไ่ี มไ่ ดเ้ หน็ เหมอื นกบั คุณ และ ควรเปิดโอกาสใหก้ บั คนทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถทอ่ี ยรู่ อบตวั คณุ หากคาํ ตอบส่วนใหญ่คือ ข้อ b คุณมศี กั ยภาพทด่ี ใี นการเป็นผนู้ ํา คุณสนบั สนุนและรบั ฟังคนรอบขา้ ง คุณเป็นคนทอ่ี ยเู่ คยี งขา้ งและมคี วามคดิ รเิ รม่ิ สง่ิ เหล่าน้ีเป็นสง่ิ ทด่ี สี าํ หรบั คณุ ในอนาคต แต่คณุ เอาชนะสงิ่ ทอ่ี าจเป็นขอ้ บกพรอ่ งหรอื ขอ้ ผดิ พลาดรา้ ยแรงในหน้าท่ี การทาํ งานเพยี งเพอ่ื ตอ้ งการเป็นทช่ี น่ื ชอบนนั้ กไ็ มถ่ อื วา่ ผดิ แต่หากคณุ ทาํ เพยี งเพอ่ื ใหไ้ ดช้ อ่ื วา่ เป็นเพอ่ื นทด่ี ที ส่ี ดุ สาํ หรบั ทกุ คน คณุ กอ็ าจไดร้ บั ความยากลาํ บาก ลองพยายามเผชญิ หน้าความขดั แยง้ ดว้ ยความออ่ นไหวและซ่อื สตั ย์ ผคู้ นรอบขา้ งอาจนบั ถอื และเคารพคุณมากขน้ึ หากคาํ ตอบส่วนใหญ่คือ ข้อ c คณุ เป็นนกั บรหิ ารจดั การ และคณุ ตอ้ งการขน้ึ ไปใหส้ งู กวา่ น้ีกต็ อ้ งมคี วามสามารถใหม้ ากกวา่ น้ี คุณเป็นคนทม่ี ี ความคดิ สรา้ งสรรค์ เดด็ ขาด และใสใ่ จ คณุ สามารถรวมกลุ่มเขา้ ดว้ ยกนั และสนุกกบั การเป็นหวั หน้าพวกเขา คาํ มนั่ สญั ญาสว่ นใหญ่เป็นสงิ่ ทส่ี าํ คญั สาํ หรบั คณุ ในการใชค้ วามสามารถของคนอ่นื คณุ มคี วามคาดหวงั ทส่ี งู กบั พวกเขา และเป็นไปไดว้ า่ สงู กวา่ ทพ่ี วกเขาคดิ ถงึ ตวั คุณเสยี อกี และดเู หมอื นวา่ คุณเตรยี มตวั พรอ้ มทจ่ี ะทาํ ในสง่ิ ทค่ี ุณสามารถ ชว่ ยใหพ้ วกเขารถู้ งึ ศกั ยภาพของพวกเขาเอง ทกั ษะดา้ นการบรหิ ารจดั การทค่ี ุณมที งั้ หมดน้ีเป็นสง่ิ ทอ่ี งคก์ รสมยั ใหม่ กาํ ลงั มองหามากทส่ี ดุ หากคาํ ตอบส่วนใหญ่คือ ข้อ d คุณมคี วามฉลาดเพยี งพอทจ่ี ะรวู้ า่ คุณเหมาะกบั การเป็นสมาชกิ ในทมี มากกวา่ การเป็นผนู้ ําหรอื หวั หน้าทมี คณุ ชอบ ทจ่ี ะฟังแนวความคดิ มากกวา่ การสงั่ และคุณชอบทจ่ี ะลงมอื ทาํ มากกวา่ ทาํ การตดั สนิ ใจ สงิ่ ต่าง ๆ เหลา่ น้ีไมไ่ ดเ้ ป็น สงิ่ ทไ่ี มด่ ี เพราะในโลกแหง่ ความเป็นจรงิ แลว้ คงเป็นไปไมไ่ ดท้ จ่ี ะมแี ต่ผนู้ ําและไมม่ ผี ตู้ ามเลยนอกจากน้ีคณุ ยงั เป็น สมาชกิ ในทมี ทม่ี คี วามหนกั แน่น น่าเชอ่ื ถอื และซ่อื สตั ย์ แต่พงึ ระวงั ถงึ ความยนิ ยอมของคุณต่อผอู้ ่นื คณุ ไมไ่ ดเ้ ป็น คนทช่ี อบประจบสอพลอ และในตอนน้ีคณุ ควรเตรยี มพรอ้ มทจ่ี ะทาํ ในสง่ิ ทค่ี ุณตอ้ งการ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่  175 168 ค่มู ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั รุน่ ใหญ่ เครอื่ งหมายลกู เสอื หลวง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3

เรอ่ื งสนั้ ท่ีเป็นประโยชน์ นกขมิ้นน้อยผอู้ ารี ครงั้ หน่ึงนานมาแลว้ ในเมอื งพาราณสี มนี กขมน้ิ ตวั หน่ึงอาศยั อยใู่ นป่าทาํ รงั อยบู่ นตน้ ไม้ ตน้ หน่ึง โดยเลอื กเอาตรงงา่ มไมส้ งู ๆ คุม้ แดดคมุ้ ฝนและคอ่ นขา้ งปลอดภยั จากอนั ตรายทจ่ี ะมาจาก สตั วร์ า้ ยและคนรา้ ยเจา้ นกขมน้ิ เหลอื งออ่ นนอนอยบู่ นรงั อยา่ งสงบสขุ เรอ่ื ยมา คราวหน่ึงเกดิ ฝนตกชุกตดิ ตอ่ กนั มาหลายวนั จนน้ําฉ่ําฟ้า ชุม่ แผน่ ดนิ ไมว่ า่ ฝนจะตก หนกั หนาขนาดไหน กไ็ มท่ าํ ใหเ้ จา้ นกขมน้ิ เดอื ดรอ้ นอะไรเลยเพราะรงั ของมนั คุม้ ครอง ป้องกนั ลม และฝนไดเ้ ป็นอยา่ งดที ใ่ี กล้ ๆ รงั ของนกขมน้ิ มลี งิ ตวั หน่ึง นงั่ หลบฝนอยแู่ ต่กห็ ลบไมพ่ น้ มนั เปียก ปอนไปทงั้ ตวั นงั่ สนั่ งนั งกจนนกขมน้ิ อดสงสารไมไ่ ด้ จงึ รอ้ งถามวา่ “พล่ี งิ จ๋า.. ทา่ นพม่ี ลี กั ษณะเหมอื น อยา่ งมนุษยแ์ ต่ทาํ ไมจงึ ไมส่ รา้ งบา้ นอยอู่ ยา่ งมนุษยล์ ะจะ๊ มาทนตากฝนอยทู่ าํ ไม”ลงิ ตอบนกขมน้ิ น้อย วา่ ”เมอ่ื ก่อนน้ีฉนั อาศยั อยใู่ นถ้ํา ซง่ึ มที งั้ อาหารและน้ําอยรู่ อบ ๆ บรเิ วณถ้ํา…แตต่ อนน้ีไดม้ ลี งิ แมล่ กู ออ่ นหลายตวั มาอาศยั อย.ู่ .ฉนั สงสารแมล่ กู ออ่ นเหล่านนั้ ไมอ่ ยากแยง่ อาหาร…ฉนั กต็ อ้ งออกมาหาท่ี อยใู่ หม่ แต่ยงั ไมท่ นั ไดท้ าํ ทอ่ี ยอู่ าศยั เลย…ฝนกต็ กหนกั มาหลายวนั แลว้ แต่ถา้ ฝนหยดุ …ฉนั อยากจะ ทาํ ทอ่ี ยใู่ กลๆ้ กบั เจา้ ไดไ้ หม!”นกขมน้ิ น้อยตอบวา่ “ไดซ้ จิ ะ๊ พล่ี งิ เพราะฉนั กอ็ ยตู่ วั เดยี ว..จะไดม้ เี พอ่ื น..พอ่ กบั แมข่ องฉนั ตายหมดแลว้ ”ลงิ ดใี จ และลงมอื ทาํ ทอ่ี ยอู่ าศยั ใกลก้ บั รงั ของนกขมน้ิ จากนนั้ มา ลงิ กบั นกขมน้ิ กเ็ ป็นเพอ่ื นทด่ี ตี ่อกนั ชว่ ยกนั คดิ แกป้ ัญหาหรอื เมอ่ื มคี วามทกุ ข…์ กป็ รกึ ษารว่ มกนั คดิ แกป้ ัญหา นิทานเร่ืองนี้สอนให้รวู้ ่าการมปี ัญญาและมเี พอ่ื นทด่ี ี สามารถแกป้ ัญหา…หรอื ทุกขท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ได้ คู่ม1อื 7ส6่งเสริมแคล่มูะพือฒักนาารกจิจดั กกรริจมกลรูกรเสมอื ลทกูั ษเสะือชีวสติ าใมนสญั ถรา่นุ ศใหึกษญา่เปสรระิมเภสทรล้ากู งเทสอื กั สษามะญัชีวรนุ่ิตใชหนัญ้ ม่ เคธั รยือ่ มงหศมึกาษยลาูกปเีสทือี่ หลวง 169 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

แบบสงั เกตการปฏิบตั กิ จิ กรรม แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ เคร่ืองหมายลกู เสอื หลวง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 หนว่ ยที่ 9 การฝกึ เปน็ ผนู้ าํ แผนการจัดกจิ กรรมที่ 28ผนู้ าํ ท่ดี ี คาช้แี จง หลงั จากลูกเสอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมแล้ว ใหผ้ ้กู าํ กบั ทาํ เครอื่ งหมาย  ประเมินพฤตกิ รรม ของลูกเสือตามรายการต่อไปน้ี ชื่อ............................................................................................................................................. ข้อท่ี รายการประเมนิ ผา่ น ไมผ่ ่าน 1 สังเกตความสนใจและความต้ังใจ 2 การใหค้ วามร่วมมอื ในการจดั กจิ กรรม 3 ลกู เสอื ทาํ แบบทดสอบภาวะความเป็นผนู้ ํา ภายในเวลา 10 นาที 4 ลกู เสอื สาํ รวจคาํ ตอบของตนเอง (จากนนั้ ผู้กาํ กบั แปลคา่ ให้ลกู เสอื ทราบ) 5 ลกู เสือศึกษาใบความร้เู รอื่ ง ลักษณะของผู้นําทด่ี ี 6 การสนทนาและการสรปุ ในหวั เรอ่ื งของลักษณะของผู้นาํ ทด่ี ี มีอยา่ งไรบ้าง 7 ลูกเสือสามารถบอกความหมายของผู้นํา (Leader)และภาวะผนู้ ํา (Leadership) 8 ลูกเสือสามารถบอกคุณสมบตั ขิ องผู้นาํ (Leader) และภาวะผู้นํา (Leadership) เกณฑก์ ารประเมนิ ผา่ นการประเมินขอ้ 7 ข้อ 8 และขอ้ อนื่ ๆ อกี 3 ขอ้ รวม 5 ข้อข้ึนไป ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์การประเมิน สรปุ ผลการประเมินผา่ น ไมผ่ ่าน ลงช่ือ.................................................................... (..................................................................) ผูป้ ระเมิน 17ค0มู่ อื สง่ เสชคมู่รั้นมิอืมสแัธ่งยลเมะสพศรึกัฒมิ ษแนลาาปะกพที ิจี่ัฒก3นรรามกิจลกูกรเรสมอื ลทกู กั เสษือะทชักวี ษติ ะในชีวสติถใานนสศถึกาษนศากึ ลษกู าเสปือรสะเาภมทัญลรกู ่นุ เสใือหสญา่มัญชร้นั นุ่ มใธัหยญม่ ศเคกึ รษอื่ างหปมที าี่ 3ยลกู เสือ1ห7ล7วง

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่ เครอ่ื งหมายลูกเสือหลวง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยท่ี 10 ประเมนิ ผล แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 29 การประเมินผล เวลา 1 ชั่วโมง 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.1 เพ่ือใหล้ กู เสอื เขา้ ใจการประเมนิ ผลเพอื่ การตดั สนิ ผลการผา่ น ไมผ่ ่านกจิ กรรมได้ 1.2 เพื่อให้ลกู เสือเขา้ ใจการประเมินพฤตกิ รรมทกั ษะชีวิตทลี่ กู เสอื ไดร้ บั การพัฒนาได้ 1.3 เพอ่ื ใหล้ ูกเสอื เตรียมความพรอ้ มรบั การประเมินตามวธิ กี ารของผู้กํากับกองลูกเสอื ได้ 2. เน้ือหา 2.1 เกณฑ์การตัดสินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 2.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมทักษะชีวิต 3. สือ่ การเรยี นรู้ 3.1 Flow Chart การประเมนิ เพอื่ ตดั สนิ ผลการเลือ่ นชน้ั ของลูกเสอื และจบการศกึ ษา 3.2 แบบประเมินทกั ษะชวี ิตของลูกเสอื รายบคุ คลหรอื รายหมลู่ กู เสอื 3.3 แบบประเมนิ ตนเองของลกู เสอื ประจาํ ปีการศกึ ษา 3.4 ใบความรู้ 4. กิจกรรม 4.1 ผกู้ ํากับลูกเสืออธบิ ายหลักเกณฑ์ วธิ ีการประเมินผลการเรยี นรตู้ ามทห่ี ลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 กําหนดเพอ่ื ตดั สินการจบการศึกษา 4.2 ผกู้ าํ กับลูกเสืออธิบายถงึ พฤติกรรมของลกู เสอื ท่ีไดร้ บั การเสรมิ สร้างทกั ษะชีวิตผา่ น กิจกรรมลกู เสอื 4.3 ลกู เสือประเมนิ ความพรอ้ มของตนเองเพอื่ รบั การประเมนิ และวางแผนพัฒนาตนเอง ในส่วนที่ไมม่ น่ั ใจ 4.4 ผู้กํากับลกู เสอื และลูกเสือกาํ หนดขอ้ ตกลงรว่ มกนั ถงึ ช่วงเวลาการประเมนิ 4.5 ผ้กู าํ กับลูกเสือนดั หมายและดาํ เนินการประเมิน 5. การประเมนิ ผล 5.1สงั เกตจากผลการประเมนิ ตนเองของลูกเสอื 5.2 สังเกตความมนั่ ใจและการยนื ยันความพรอ้ มของลกู เสอื คมู่ 1ือ7ส8่งเสรมิ แคลมู่ ะอืพสฒั ่งนเสารกิมิจแกรลระมพลฒั ูกนเสาอื กทจิ ักกษระรชมีวลติ กู ใเนสสอื ถทากันษศะึกชษีวาติ ปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษือาสาลมกู ญั เสรนุ่อื ใสหาญมัญ่ เครร่นุ ื่อชใงห้ันหญมมธั ่ายยมชลศ้ันูกึกมเสษธั ือายหปมลที ศวี่ 3ึกงษาปีท1ี่ 371

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 29 1. การประเมินผลตามเกณฑ์ของหลักสตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 Flow Chartกระบวนการประเมนิ ผลลกู เสือ ลกู เสอื เรียนรจู้ ากกจิ กรรม เกณฑก์ ารประเมิน ลูกเสอื เสรมิ สร้างทกั ษะชวี ติ 1. เวลาเข้ารว่ มกจิ กรรม 2. การปฏิบัติกจิ กรรม ผู้กากบั ประเมนิ ผลเรียนของ 3. ผลงาน / ช้นิ งาน ลกู เสือท่รี ่วมกิจกรรม 4. พฤตกิ รรม/คุณลักษณะ ของลูกเสือ ผลการประเมิน ผา่ น ไม่ผ่าน - ซ่อมเสรมิ - พฒั นาซา้ ตัดสินผลการเรยี นรผู้ ่านเกณฑ์ ผา่ น รับเครือ่ งหมายชนั้ ลกู เสอื ตามประเภทลกู เสือ 172คมู่ ือสง่คชเมู่้ันสือมรสัธมิ ่งยแเมสลศระึกมิพษแฒั ลานปะพีทาก่ีัฒ3จิ นการกรจิ มกลรกูรมเสลือูกทเสกั อื ษทะักชษีวะิตชใีวนติ สใถนาสนถศานึกศษึกาษลากู ปเสระอื เสภาทมลัญกู เรสนุ่ อื ใสหาญมญั่ รชนุ่ นั้ ใมหญธั ย่ เมคศร่อืกึ งษหามปาีทย่ี ล3กู เสือห1ล7ว9ง

แบบประเมินตนเองของลูกเสอื ชื่อ ..........................................................ประเภทลกู เสอื ...........................ชน้ั ................................ เกณฑท์ ี่ การประเมินตนเอง ขอ้ คิดเหน็ การพัฒนา ที่ รายการทรี่ ับการประเมิน สถานศึกษา ครบ/ ไม่ครบ/ กาหนด ผ่าน ไม่ผ่าน 1 1. เขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสือ ไมน่ อ้ ยกว่า 1.1 รว่ มกจิ กรรมการฝึกอบรม 24ชัว่ โมง/ ปี 1.2 ร่วมกจิ กรรมวันสาํ คญั - วันสถาปนาลูกเสอื 1 คร้ัง/ ปี - วันถวายราชสดดุ ี 1 ครงั้ / ปี - วันพอ่ แห่งชาติ 1 ครัง้ / ปี - วันแมแ่ ห่งชาติ 1 ครัง้ / ปี - วนั ต้านยาเสพตดิ 1 คร้งั / ปี - กจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชนอ์ ื่นๆ 8ครั้ง/ ปี - กิจกรรมวฒั นธรรม/ ประเพณี 4คร้งั / ปี 1.3 เดินทางไกล/ อยคู่ ่ายพักแรม 1 ครั้ง/ ปี 2 2. มีผลงาน/ ช้นิ งานจากการเรยี นรู้ กจิ กรรมลกู เสอื ไมน่ อ้ ยกวา่ 2.1 ผลงานการบริการ 6รายการ/ ปี 2.2 ชิ้นงาน/ งานทีค่ ดิ สรา้ งสรรค์ 2รายการ/ ปี 2.3 อน่ื ๆ เช่น รายงานฯ 2รายการ/ ปี 3 3. มคี วามพรอ้ มเขา้ รับการทดสอบเพ่อื เล่อื นช้ันและรับเครอื่ งหมายวิชาพิเศษ ลกู เสอื วสิ ามัญ 3.1............................................. 3.2............................................. 3.3............................................. 3.4............................................. 3.5............................................. ผา่ นและพร้อม สรุป  ฉันมั่นใจว่าผ่าน  ฉันมีความพรอ้ มใหป้ ระเมิน  ฉันยงั ไมพ่ รอ้ ม 180คูม่ ือส่งคเสูม่ รอื มิ สแง่ ลเะสพรมิัฒแนลาะกพจิ ฒักรนรมากลจิกู กเสรอื รทมักลษกู ะเชสีวอื ิตทใักนษสะถชาีวนติ ศใึกนษสาถปารนะศเภกึ ทษลากู ลเสูกอื เสสาอื มสัญามรนุ่ัญใรหุ่นญใ่หเคญร่ อื่ งชห้ันมมาธัยยลูกมเศสกึือษหาลปวงีที่ 3 173 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง   งนุ งง 1. ด้านทกั ษะลกู เสือ ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ ขา้ ใจ ตอ้ งขอความ  ชว่ ยเหลอื จาก มน่ั ใจมากว่าจะ พรอ้ มแล้ว ผา่ นการประเมิน ผู้กํากับลูกเสอื  มนั่ ใจมาก พรอ้ มรบั การประเมนิ เคร่อื งหมายวิชาพเิ ศษ  พรอ้ มรับการประเมิน ไม่แนใ่ จ  ยงั ต้องพฒั นา/ ซ่อมเสริมบางเรอ่ื ง ตอ้ งการความช่วยเหลือจากผกู้ าํ กับลกู เสือ ลงชอ่ื .......................................................ผปู้ ระเมนิ 174คูม่ อื สง่คชเมู่นั้ สือมรสัธิมง่ยแเมสลศระกึิมพษแฒั ลานปะพีทาก่ีฒั 3ิจนการกริจมกลรูกรมเสลอื ูกทเสกั ือษทะักชษีวะติ ชใวี นิตสใถนาสนถศานึกศษึกาษลาูกปเสระือเสภาทมลญั กู เรสุ่นือใสหาญมญั่ รชุ่น้นั ใมหญัธย่ เมคศรอ่ืึกงษหามปาที ย่ี ล3กู เสอื ห1ล8ว1ง

แบบประเมินพฤติกรรมทักษะชวี ติ ของลกู เสอื สาหรบั ผู้กากบั ลกู เสอื คาช้ีแจง ให้ผู้ตอบทําแบบประเมินทกุ ขอ้ โดยแต่ละข้อให้ทาํ เคร่ืองหมาย/ ลงในช่องทีต่ รงกบั ความ เป็นจรงิ 2.1 พฤตกิ รรมลูกเสือสารองท่คี าดหวัง รายการประเมิน ใช่ ไม่ใช่ 1. ลกู เสอื มีทกั ษะในการสังเกตและจดจาํ 2. ลกู เสือสามารถพึ่งตนเองและดูแลตนเองได้ 3. ลกู เสอื สาํ รองปฏบิ ัติกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนร์ กั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม และอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ 4. ลกู เสอื ไมม่ ีปญั หาทนั ตสขุ ภาพและไมเ่ จบ็ ปูวยดว้ ยโรคติดตอ่ ตามฤดูกาล 5. ลกู เสอื รู้จกั รกั ษาสุขภาพและปฏิเสธสิ่งเสพติด 6. ลูกเสือรจู้ กั แกป้ ญั หาเฉพาะหน้าหรอื ใหก้ ารช่วยเหลือ/ แจง้ เหตุเมอื่ ประสบเหตุ วกิ ฤต 7. ลูกเสอื มสี ่วนสูงและนํ้าหนักตามเกณฑม์ าตรฐาน 8. ลูกเสือมที กั ษะในการสอื่ สารได้ถูกกาลเทศะและไมก่ ้าวรา้ วรนุ แรง สรปุ แบบการประเมินตนเอง    ฉันมที กั ษะชวี ติ ฉนั จะมีทกั ษะชวี ติ ฉนั ต้องพฒั นาตนเองอกี มาก ถา้ แก้ไขปรบั ปรงุ พฤติกรรม 1คมู่8ือ2ส่งเสริมคแมู่ ลือะสพ่งัฒเสนรามิ กแจิ ลกะรพรมฒั ลนกู าเสกือจิ ทกักรรษมะชลีวูกิตเสในือสทถักาษนะศชึกีวษติ าในปสระถเาภนทศลึกกู ษเสาอื สลากู มเสญั ือรส่นุ าใมหัญญร่ เุ่นคใรห่อื ญงห่ มาชยน้ั ลมกู ัธเสยอื มหศลึกวษงาปีท่ี 3 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 175

2.2 พฤตกิ รรมลกู เสือสามัญท่ีคาดหวัง รายการประเมนิ ใช่ ไม่ใช่ 1. ลกู เสือมที กั ษะในการปฏบิ ัติกิจกรรมกลางแจง้ 2. ลูกเสือร่วมกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน์ 3. ลกู เสือชว่ ยตนเองและครอบครวั ได้ 4. ลกู เสือไมม่ ปี ัญหาทนั ตสขุ ภาพ ไมด่ มื่ นํ้าอัดลมขนมกรบุ กรอบ ไม่รับประทานขนมหวานเป็นประจาํ 5. ลูกเสือรจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์และไมต่ ิดเกม 6. ลกู เสอื ประพฤตติ นเหมาะสมกับเพศและวยั มีทกั ษะการสรา้ ง สมั พันธภาพและการสอ่ื สารไมก่ า้ วรา้ วรุนแรง 7. ลูกเสอื แสดงออกถงึ ความซื่อสัตย์ รจู้ กั แก้ปญั หา หรอื ใหค้ วาม ชว่ ยเหลือผอู้ ืน่ 8. ลูกเสือมนี า้ํ หนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน สรุปแบบการประเมนิ ตนเอง  มีทักษะชวี ิต จะมที กั ษะชีวิต ตอ้ งพัฒนาตนเอง ไม่แนใ่ จชีวิต พร้อมเผชญิ แก้ไขปรับปรงุ อีกมาก (มีปญั หาแลว้ ) อย่างรอดปลอดภัย พฤติกรรม (เสี่ยงนะเนย่ี ) เรื่องทีฉ่ ันจะต้องปรับปรงุ 1).................................................................................................................................................. 2).................................................................................................................................................. 3).................................................................................................................................................. 4).................................................................................................................................................. ค1่มู 7ือส6ง่ เสริมชคแ่มู้ันลอืมะสัธพ่งยัฒเมสนศรึกามิ กษแิจลากปะพรีทรี่ัฒม3นลาูกกเจิสกือรทรักมษลูกะชเสวี ือติ ทใักนษสะถชาวี นิตศในึกษสถาาลนูกศเึกสษือาสปามระญั เภรท่นุ ลใหกู ญเส่อื สชานั้ มมัญธั รย่นุ มใหศญึกษ่ เคาปรอื่ที งี่ ห3มายล1ูกเ8ส3ือหลวง

2.3 พฤติกรรมลกู เสอื สามญั รุน่ ใหญท่ ี่คาดหวงั รายการประเมนิ 12 1. ลกู เสอื พัฒนาตนเองใหม้ ที กั ษะในการทาํ กจิ กรรมลูกเสอื ตามความสนใจและได้รบั เครือ่ งหมายวชิ าพเิ ศษ 2. ลูกเสือทํากจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชน์ต่อครอบครัว สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม 3. ลกู เสอื ใช้เวลาว่างทีเ่ ปน็ ประโยชนท์ าํ กิจกรรม อนุรกั ษ์สง่ เสริมจารตี ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมไทย 4. ลกู เสือรูเ้ ท่าทนั ส่ือโฆษณาและรู้จักใชป้ ระโยชน์จาก Internet 5. ลกู เสอื เปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมหรอื ปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเองได้ เหมาะสมกบั เพศวัยไมก่ า้ วรา้ วรุนแรง 6. ลูกเสือทาํ กิจกรรมหรอื โครงการประหยดั พลงั งาน/ทรพั ยากร 7. ลกู เสือมกี ารออม หรือทาํ บญั ชีรายรบั รายจา่ ยอยา่ งต่อเนอื่ ง 8. ลกู เสือไมเ่ คยประสบอุบัติเหตจุ ากการใชย้ านพาหนะ สรุปแบบการประเมนิ ตนเอง  มที กั ษะชวี ติ จะมที ักษะชวี ิต ต้องพฒั นาตนเอง ไมแ่ นใ่ จชวี ติ พรอ้ มเผชญิ แกไ้ ขปรับปรงุ อีกมาก (มปี ญั หาแล้ว) อยา่ งรอดปลอดภัย พฤติกรรม (เส่ียงนะเนย่ี ) เรือ่ งท่ฉี นั จะตอ้ งปรับปรุง 1).................................................................................................................................................. 2).................................................................................................................................................. 3).................................................................................................................................................. 4).................................................................................................................................................. คูม่ 1ือ8ส4ง่ เสริมแคล่มู ะอืพสัฒ่งนเสารกมิจิ แกรลระมพลัฒูกนเสาือกทจิ ักกษระรชมวี ลติ ูกใเนสสอื ถทาักนษศะึกชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษอื าสาลมูกัญเสรนุ่อื ใสหาญมัญ่ เครร่นุ ื่อชใงหนั้ หญมมัธ่ายยมชลศั้นูกกึ มเสษธั ือายหปมลีทศว่ี 3กึงษาปที 1่ี 377

2.4 พฤติกรรมลูกเสือวสิ ามัญท่ีคาดหวงั รายการประเมนิ ใช่ ไมใ่ ช่ 1. ลูกเสอื ทํากจิ กรรม/โครงการ ตามความถนดั และความสนใจ 2. ลกู เสอื บริการผู้อน่ื ช่วยเหลอื ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 3. ลูกเสือรจู้ ักวิธปี อฺ งกนั ความเสย่ี งทางเพศ 4. ลูกเสอื ใช้เวลากับสอ่ื ไอทีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5. ลกู เสอื ตระหนกั ถงึ พษิ ภยั และหลกี เลี่ยงจากสิง่ ยาเสพติด 6. ลกู เสอื มคี า่ นยิ มสขุ ภาพ ดา้ นอาหาร และความงามทเ่ี หมาะสม 7. ลกู เสอื ทาํ งานหารายได้ระหว่างเรยี น 8. ลกู เสือไม่มีพฤตกิ รรมกา้ วร้าวและไมก่ อ่ เหตรุ นุ แรง สรุปแบบการประเมนิ ตนเอง  มที ักษะชวี ติ จะมที กั ษะชีวติ ต้องพฒั นาตนเอง ไมแ่ นใ่ จชวี ติ พรอ้ มเผชญิ แก้ไขปรับปรงุ อกี มาก (มปี ญั หาแลว้ ) อย่างรอดปลอดภยั พฤตกิ รรม (เส่ยี งนะเน่ีย) เร่อื งท่ีฉนั จะตอ้ งปรบั ปรุง 1).................................................................................................................................................. 2).................................................................................................................................................. 3).................................................................................................................................................. 4).................................................................................................................................................. 1ค7มู่ 8อื ส่งเสรคชมิ ู่มน้ั แือมลสัธะง่ยพเมสฒั ศรกึิมนษแาลากปะิจพีทก่ีัฒร3รนมาลกูกจิ เกสรือรมทลกั กูษเะสชอื วีทติ ักใษนะสชถวี าิตนในศสกึ ถษาานศลึกูกษเสาอื ปสราะมเภญั ทรล่นุ กู ใเหสญอื ส่ ามชัญนั้ มรุ่นัธใยหมญศ่กึ เคษราอ่ื ปงทีหี่ม3ายลกู เ1ส8ือห5ลวง

ใบความรู้ *การประเมินกิจกรรมลูกเสือ 1. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ตามแนวทางหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 2551 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กําหนดให้กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งปลูกฝัง ระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ร่วมกัน รู้จักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและ ดําเนนิ วิถชี วี ติ ในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนมีทักษะชีวิตเป็นภูมิคุ้มกันปัญหาสังคมตามช่วงวัย ของลูกเสอื การจัดกิจกรรมลูกเสือยังต้องเป็นไปตามข้อบังคับของสํานักงานลูกเสือแห่งชาติและ สอดคลอ้ งกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานอกี ดว้ ย แนวทางการประเมนิ ผลกิจกรรมลูกเสอื กจิ กรรมลูกเสือเปน็ กจิ กรรมนักเรียนที่ลูกเสือทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ 40 ชั่วโมง ต่อปกี ารศึกษาในระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา การประเมนิ การจัดกิจกรรมลูกเสอื ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานมีประเด็น/ส่ิง ทีต่ ้องประเมินดังน้ี 1. เวลาในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผูเ้ รียนตอ้ งมเี วลาเขา้ ร่วมกิจกรรมตามที่สถานศกึ ษากาํ หนด 2. การเรียนร้ผู ่านกิจกรรมหรอื การปฏิบตั กิ จิ กรรมอย่างตอ่ เนื่อง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพ ของตนและการทํางานกลุ่ม 3. ผลงาน / ช้นิ งาน / พฤตกิ รรม / คุณลักษณะของผู้เรียน ที่ปรากฏจากการเรียนรู้หรือการ เปลย่ี นแปลงตนเอง *การประเมินผลอาจเขยี นแยกการประเมนิ ผลแต่ละกิจกรรม หรอื เขยี นรวมในภาพรวมของกิจกรรมลูกเสือก็ได้ เอกสารอ้างอิงกระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551.กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จาํ กัด. 2551 ค่มู 1อื 8ส6ง่ เสรมิ แคลู่มะือพสัฒ่งนเสารกิมิจแกรลระมพลฒั กู นเสาือกทิจักกษระรชมีวลิตกู ใเนสสอื ถทาักนษศะึกชษีวาติ ปใรนะสเภถทานลกูศเึกสษือาสาลมกู ัญเสรนุ่ือใสหาญมญั่ เครรุ่น่อื ชใงหัน้ หญมมัธ่ายยมชลศ้ันูกกึ มเสษธั ือายหปมลีทศวี่ 3กึงษาปที 1่ี 379

แนวทางการประเมินผลการเรียนร้กู ิจกรรมลูกเสอื แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสือ จัดกิจกรรมลกู เสือ เกณฑก์ ารประเมนิ ตามคมู่ อื การจัดกจิ การลกู เสอื ท่ี 1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม 2. การปฏิบัตกิ จิ กรรม เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ 3. ผลงาน / ชนิ้ งาน 4. พฤติกรรม/คณุ ลกั ษณะ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ของลูกเสือ ผลการประเมนิ ไม่ผา่ น ผ่าน ซ่อมเสรมิ สรุปผลการประเมิน/ ผ่าน ตัดสินผลการเรยี นรู้ รายงาน / สารสนเทศ จดั พธิ ีประดับเครอ่ื งหมายลกู เสอื ตามประเภทลูกเสอื การประเมินกิจกรรมลูกเสือ มี 2 แนวทาง คอื 1. การประเมนิ กิจกรรมลูกเสือรายกจิ กรรมมีแนวปฏิบตั ดิ งั น้ี 1.1 ตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของลูกเสือให้เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กําหนด 1.2 ประเมินกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน / คณุ ลกั ษณะของผ้เู รียนตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากําหนดด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการมีส่วนร่วม ในการปฏิบัตกิ ิจกรรม 18ค0มู่ อื สง่ เสคชู่มรั้นิมือมสแธั ง่ยลเมะสพศรึกฒัิมษแนลาาปะกพที จิ ี่ัฒก3นรรามกิจลกูกรเรสมอื ลทูกกั เสษอื ะทชักีวษติ ะในชีวสติถใานนสศถกึ าษนศากึ ลษกู าเสปอื รสะเาภมทญั ลรูกนุ่ เสใือหสญา่มัญชรั้นุ่นมใัธหยญม่ ศเคกึ รษอ่ื างหปมที าี่ 3ยลกู เสือ1ห8ล7วง

1.3 ลูกเสอื ทม่ี เี วลาการเข้ารว่ มกิจกรรม มกี ารปฏบิ ัติกจิ กรรมและผลงาน / ช้ินงาน / คุณลักษณะตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากําหนดเป็นผู้ผ่านการประเมินรายกิจกรรมและนํา ผลการ ประเมินไปบนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรียน 1.4 ลกู เสอื ท่มี ีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงาน / ชนิ้ งาน / คุณลกั ษณะตามท่สี ถานศึกษากําหนด ผ้กู าํ กับลูกเสือต้องดําเนินการ ซ่อมเสริมและประเมินจนผ่าน ทั้งน้ีควรดําเนินการให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษาน้ัน ๆ ยกเว้นมีเหตุ สดุ วิสยั ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศกึ ษา 2. การประเมินกจิ กรรมลกู เสือเพื่อการตดั สนิ ใจ การประเมินกิจกรรมลูกเสือเพ่ือตัดสินควรได้รับเคร่ืองหมายและเล่ือนระดับทาง ลกู เสอื และจบการศกึ ษาเปน็ การประเมินการผ่านกิจกรรมลูกเสือเป็นรายปี / รายภาค / เพื่อสรุปผล การผา่ นในแตล่ ะกจิ กรรม สรปุ ผลรวมเพ่อื สรุปผลการผา่ นในแต่ละกจิ กรรม สรปุ ผลรวมเพื่อเลอื่ นชนั้ ระดับลูกเสือและประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพื่อการจบแต่ละระดับการศึกษา โดยการดําเนินการ ดงั กล่าวมีแนวทางปฏบิ ัติ ดังน้ี 2.1 กําหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการเข้าร่วมกิจกรรม ลกู เสือของลูกเสอื ทกุ คนตลอดระดบั การศกึ ษา 2.2 ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการร่วมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเป็น รายบุคคล รายหมู่ ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาํ หนด เกณฑ์การตัดสนิ 1. กําหนดเกณฑ์การประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกําหนดไว้ 2 ระดับ คอื ผา่ น และ ไมผ่ า่ น 2. เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมนิ รายกิจกรรม ผ่าน หมายถงึ ลูกเสอื มีเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและมผี ลงาน / ช้ินงาน / คุณลกั ษณะตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด ไม่ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ไม่ผ่านการปฏิบัติ กจิ กรรมหรอื มีผลงาน / ชนิ้ งาน / คณุ ลกั ษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาํ หนด 3. เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิ กจิ กรรมลกู เสอื รายปี / รายภาค ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตร ลูกเสือแตล่ ะประเภทกําหนด รวมถงึ หลกั สตู รลกู เสอื ทกั ษะชีวิต ไม่ผา่ น หมายถงึ ลกู เสือมีผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” ในกิจกรรมสําคัญท่ีหลักสูตร ลกู เสือแต่ละประเภทกําหนดและลูกเสอื ทกั ษะชีวิต 4. เกณฑก์ ารตดั สินผลการประเมินกจิ กรรมลกู เสือเพ่ือจบหลกั สูตรลกู เสอื แตล่ ะประเภทเป็น รายชนั้ ปี ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทุกชั้นปีในระดับการศึกษานั้น ไม่ผา่ น หมายถงึ ลูกเสือมผี ลการประเมนิ ระดับ “ไมผ่ ่าน” บางชน้ั ปใี นระดับการศึกษาน้นั คมู่ 1ือ8ส8ง่ เสริมแคล่มู ะือพสัฒ่งนเสารกมิจิ แกรลระมพลฒั กู นเสาอื กทิจักกษระรชมวี ลิตกู ใเนสสอื ถทากันษศะกึ ชษีวาิตปใรนะสเภถทานลกูศเกึ สษือาสาลมกู ัญเสรนุ่ือใสหาญมญั่ เครรุ่นือ่ ชใงห้ันหญมมธั ่ายยมชลศัน้ ูกกึ มเสษธั ือายหปมลที ศวี่ 3ึกงษาปีท1ี่ 381

2. การประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวิตและคณุ ลักษณะทางลูกเสือ 2.1 ความสามารถที่คาดหวังใหเ้ กดิ ขึน้ กับลูกเสอื โดยรวม คอื 1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ 2) ความสามารถในการคดิ สร้างสรรค์ 3) ความสามารถในการเหน็ ใจผู้อ่ืน 4) เหน็ คณุ ค่าตนเอง 5) รับผิดชอบตอ่ สังคม 6) ความสามารถในการส่ือสารเพอ่ื สรา้ งสมั พนั ธภาพ 7) ความสามารถในการตดั สนิ ใจ 8) ความสามารถในการจัดการแกไ้ ขปญั หา 9) ความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ 10) ความสามารถในการจดั การกับความเครียด 2.2 พฤติกรรมท่คี าดหวงั ใหเ้ กดิ ขึน้ กบั ลกู เสอื โดยรวม คอื 1) ลูกเสือสาํ รอง (1) มีทักษะในการสังเกตและจดจาํ (2) พ่งึ ตนเอง ดูแลตนเองได้ (3) ร้จู ักรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม (4) ไมเ่ จบ็ ปูวยด้วยโรคติดตอ่ ตามฤดกู าล (5) ปฏเิ สธส่งิ เสพติดทุกชนดิ (6) พดู จาสื่อสารเชงิ บวก ไมก่ ้าวร้าวรุนแรง (7) แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้ (8) ให้ความชว่ ยเหลอื เพอื่ นในภาวะวกิ ฤติ 2) ลูกเสือสามัญ (1) มีทกั ษะในการปฏิบัติกิจกรรมกลางแจ้ง (2) ร่วมกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนด์ ้วยจิตอาสา (3) พึ่งตนเองและชว่ ยเหลอื ครอบครัว (4) ไม่ดื่มนาํ้ อัดลม (5) ไมร่ บั ประทานขนมหวานและขนมกรบุ กรอบ (6) ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ (7) รูจ้ ักพดู เชงิ บวก ไมพ่ ดู กา้ วร้าวรุนแรง (8) มคี วามซอ่ื สัตย์ ไม่โกหก (9) รูจ้ กั แก้ปัญหาดว้ ยสนั ติวิธี (10) มีนํา้ หนักสว่ นสูงตามเกณฑม์ าตรฐาน 182คมู่ ือสง่คชเมู่น้ั สอืมรสธัิม่งยแเมสลศระึกิมพษแัฒลานปะพีทาก่ีฒั 3จิ นการกรจิ มกลรกูรมเสลอื กู ทเสกั อื ษทะักชษีวะติ ชใวี นติ สใถนาสนถศานกึ ศษกึ าษลาูกปเสระือเสภาทมลัญูกเรสนุ่ ือใสหาญมัญ่ รชุน่ ัน้ ใมหญธั ย่ เมคศร่อืกึ งษหามปาีทย่ี ล3กู เสือห1ล8ว9ง

3) ลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ (1) มที กั ษะในการทาํ กจิ กรรมตามความสนใจ (2) มีจติ อาสาทาํ ประโยชน์/ ไมก่ ่อความเดอื ดรอ้ น ใหก้ บั ครอบครวั สถานศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม (3) ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ (4) รว่ มกจิ กรรมส่งเสรมิ อนรุ กั ษป์ ระเพณี ศิลปวฒั นธรรมไทย (5) มที กั ษะการคิดวิเคราะห์ การยับยงั้ ไม่เปน็ ทาสของส่อื โฆษณา (6) มที ักษะการใช้ประโยชน์จาก Internet (7) มผี ลงาน/ โครงการการประหยัดพลงั งาน/ ทรพั ยากร (8) มกี ารออมหรือทําบญั ชรี ายรับ รายจา่ ยของตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง (9) มที ักษะการหลกี เลยี่ ง ลอดพน้ และไม่เกดิ อบุ ตั เิ หตุจากการใช้ ยานพาหนะ (10) ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั สงิ่ เสพตดิ ทุกประเภท 4) ลกู เสอื วสิ ามัญ (1) มีผลงาน/ โครงการเฉพาะทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ ตัวเอง/ สงั คม (2) มีจิตอาสาและบรกิ าร (3) รวู้ ธิ ีปอฺ งกนั / และหลีกเลีย่ งความเสยี่ งทางเพศ (4) ใช้เวลากับสอื่ IT อยา่ งเหมาะสม ไมเ่ กดิ ความเสียหายตอ่ วถิ ชี วี ิตปกติ ของตนเอง (5) ไม่เก่ยี วขอ้ งกบั ส่ิงเสพติด (6) มีค่านิยมดา้ นสุขภาพอย่างเหมาะสม ไม่เกดิ ผลเสยี ตามมา (7) มคี ่านิยมด้านการรบั ประทานอาหารทีเ่ หมาะสม ไม่เกดิ ผลเสียหาย ตามมา (8) มีค่านยิ มด้านความงามทเ่ี หมาะสมไม่เกิดผลเสียหายตามมา (9) ไมม่ ีพฤติกรรมกา้ วรา้ วและกอ่ เหตุรนุ แรง อ้างองิ จากผลลัพธก์ ารจัดกจิ กรรมลกู เสือ คมู่ อื Bench Marking 1คู่ม9อื0ส่งเสริมคแู่มลอื ะสพ่งัฒเสนรามิ กแจิ ลกะรพรมัฒลนกู าเสกือจิ ทกักรรษมะชลวีูกติเสในอื สทถักาษนะศชกึ ีวษติ าในปสระถเาภนทศลึกูกษเสาอื สลาูกมเสญั อื รสุน่ าใมหญัญร่ เนุ่คใรห่ือญงห่ มาชยน้ั ลมกู ธั เสยอื มหศลึกวษงาปีท่ี 3 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 183

แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยที่ 11 พธิ กี าร เวลา 1 ช่วั โมง แผนการจัดกิจกรรมที่ 30 ประดับเครอ่ื งหมายลกู เสอื หลวง และเครื่องหมายวชิ าพเิ ศษ 1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เพ่อื ใหล้ กู เสือเกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง และศรทั ธาในการเปน็ ลกู เสอื 2. เน้ือหา เครอื่ งหมายลกู เสือหลวง 3. สื่อการเรยี นรู้ 3.1 เครอ่ื งหมายลกู เสือหลวง 3.2เคร่อื งหมายวชิ าพเิ ศษ 4. กิจกรรม 4.1 พิธีเปดิ ประชุมกอง (ชักธงข้นึ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก) 4.2 ผู้กาํ กบั ลูกเสอื เปน็ ประธานจดุ ธูปเทียนบูชาพระรตั นตรยั และถวายสกั การะแดพ่ ระรูป รัชกาลท่ี 6 ผู้กํากับลูกเสอื และลูกเสอื รว่ มกนั ถวายราชสดุดี 4.3 ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื กล่าวถึงการได้รับอนุมัติใหม้ สี ทิ ธป์ิ ระดบั เครอื่ งหมายลกู เสอื หลวง เครือ่ งหมายวชิ าพเิ ศษ พรอ้ มทั้งใหโ้ อวาทกับลูกเสอื 4.4ผูก้ าํ กับลูกเสอื มอบ เครื่องหมายลกู เสอื หลวง เครอื่ งหมายวชิ าพเิ ศษใหก้ ับลกู เสือและ แสดงความชนื่ ชมยินดีกบั ลูกเสือทกุ คน 4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง(นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลกิ ) 5. การประเมนิ ผล สงั เกตพฤตกิ รรมจากการเข้าร่วมกิจกรรม 18ค4ู่มือสง่ เสชคมู่รั้นิมอืมสแัธ่งยลเมะสพศรึกฒัิมษแนลาาปะกพีทิจี่ัฒก3นรรามกิจลกูกรเรสมือลทูกกั เสษอื ะทชักวี ษิตะในชวีสิตถใานนสศถึกาษนศากึ ลษูกาเสปอื รสะเาภมทญั ลรกู ่นุ เสใือหสญา่มญั ชรนั้ ุน่ มใัธหยญม่ ศเคกึ รษอ่ื างหปมที าี่ 3ยลกู เสือ1ห9ล1วง

ภาคผนวก 192 ค่มู ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3



ภาคผนวก ก แนวคิดเรอ่ื งทักษะชีวติ ความหมายและองค์ประกอบทักษะชีวติ ทกั ษะชวี ติ เป็นความสามารถของบุคคล ท่จี าํ เป็นตอ่ การปรับตัวในการเผชญิ ปญั หาต่าง ๆ และสามารถดาํ เนินชีวติ ท่ามกลางสภาพสงั คมทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงทง้ั ในปัจจุบัน และเตรยี มพรอ้ ม สําหรับการเผชิญปญั หาในอนาคต องค์ประกอบทักษะชีวิต มี 12 องค์ประกอบ จัดเป็น 6 คู่ โดยแบ่งตามพฤติกรรมการเรียนรู้ 3 ดา้ น ดังนี้ อhงgคhj์ปhgรfะgjกjhอgfบf jทhhักgfษfdะsdชsdวี sิต6คู่ 3 ด้าน ความตระหนัก การสร้าง ร้ใู นตน สัมพันธภาพและ การสอ่ื สาร ความเหน็ ใจ ความคิด การ ทักษะพสิ ัย ผู้อ่นื สร้างสรรค์ ตัดสนิ ใจ พทุ ธิพสิ ัย จติ พสิ ัย และแก้ไข ความ ความคดิ วิเคราะห์ ปญั หา ภาคภูมิใจ วิจารณ์ ในตวั เอง ความ การจดั การกบั อารมณ์และ รบั ผิดชอบ ความเครียด ต่อสงั คม แผนภาพที่ 1 องคป์ ระกอบของทักษะชีวิต 1. ดา้ นพุทธพิ สิ ัย จัดไว้ตรงกลางของแผนภาพ เพราะเป็นองค์ประกอบรว่ มและเป็นพ้นื ฐาน ของทกุ องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ - ความคิดวิเคราะหว์ ิจารณ์ เปน็ ความสามารถที่จะวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน ข้อมลู ข่าวสาร ปัญหา และสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัว - ความคดิ สรา้ งสรรค์ เป็นความสามารถในการคิดออกไปอย่างกว้างขวางโดยไม่ ยดึ ติดอยใู่ นกรอบ และการสรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ค่มู ือคสู่มง่ ือเสสร่งมิ เสแรลมิะพแลัฒะนพาัฒกิจนการกริจมกลรูกรเสมือลทกู กัเสษอื ะทชวีกั ิตษใะนชสีวถติ าในนศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู ูกเเสสือือสสาามมญััญรรุ่นุน่ ใใหหญญ่ ่เคชร่อืน้ั งมหธั มยามยลศูกกึ เษสาอื ปหีทล่ีว3ง 119837 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

2. ด้านจติ พสิ ัย หรอื เจตคติ มี 2 คู่ คอื คู่ที่ 1 ความตระหนกั รู้ในตนเอง และ ความเข้าใจ/เหน็ ใจผ้อู ่นื คู่ท่ี 2 เหน็ คุณค่า/ภูมิใจตนเอง และ ความรบั ผิดชอบต่อสังคม - ความตระหนักรู้ในตนเอง เป็นความสามารถในการค้นหาและเข้าใจในจุดดีจุด ดอ้ ยของตนเอง ยอมรับความแตกต่างของตนเองกับบุคคลอ่ืน ไม่ว่าจะในแง่ความสามารถ เพศ วัย อาชีพ ระดบั การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสังคม ศาสนา สีผิว ท้องถ่ิน สขุ ภาพ ฯลฯ - ความเขา้ ใจ/เหน็ ใจผู้อื่น เป็นความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เห็น อกเห็นใจและยอมรับตัวตนของบุคคลอื่นที่แตกต่างกับเรา ไม่ว่าจะในแง่ความสามารถ เพศ วัย อาชพี ระดับการศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกจิ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สีผิว ทอ้ งถ่ิน สขุ ภาพ ฯลฯ - เห็นคณุ คา่ /ภมู ิใจตนเอง เป็นการค้นพบ คุณสมบัติเฉพาะตัวของตนเอง รู้สึกว่า ตนเองมีคุณค่า เช่น เป็นคนมีนํ้าใจ ซ่ือสัตย์ ยุติธรรม และภูมิใจในความสามารถด้านต่าง ๆ ของ ตนเอง เชน่ ดา้ นสังคม ดนตรี กีฬา ศลิ ปะ การเรยี น ฯลฯ - ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม เป็นความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและมี ส่วนรบั ผิดชอบในความเจริญหรือเสือ่ มของสงั คมนั้น คนทเ่ี หน็ คณุ ค่าตนเองจะมีแรงจงู ใจที่จะทําดีกับ ผอู้ น่ื และสงั คมสว่ นรวมมากขึน้ จึงจัดเข้าคกู่ ับความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม 3. ด้านทกั ษะพสิ ัยหรอื ทกั ษะ ประกอบด้วย 3 คู่ คอื ค่ทู ่ี 1 การสอ่ื สารและการสรา้ งสมั พันธภาพ คู่ที่ 2 การตัดสินใจและการแกไ้ ขปญั หา คู่ท่ี 3 การจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด - ทักษะการการสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ เปน็ ความสามารถในการใช้ คําพูดและภาษาท่าทาง เพ่อื ส่อื สารความรสู้ กึ นึกคิดของตนเอง และสามารถรับรคู้ วามรสู้ กึ นึกคิด ความต้องการ ของอกี ฝูายหนึง่ มกี ารตอบสนองอยา่ งเหมาะสมและเกดิ สัมพันธภาพท่ีดตี อ่ กัน - ทกั ษะการตดั สินใจและการแก้ไขปญั หา การตัดสนิ ใจใช้ในกรณีทมี่ ที างเลอื กอยู่ แลว้ จงึ เรม่ิ ต้นด้วยการวิเคราะหข์ ้อดขี ้อเสยี ของแตล่ ะทางเลอื กเพอ่ื หาทางเลอื กที่ดีที่สดุ และนาํ ไป ปฏบิ ตั ิ สว่ นการแกไ้ ขปญั หาเป็นความสามารถในการรบั รปู้ ญั หาและสาเหตขุ องปญั หา หาทางเลอื ก ได้หลากหลาย วิเคราะหข์ ้อดขี อ้ เสยี ของแต่ละทางเลอื ก ตัดสินใจเลอื กทางเลอื กในการแกป้ ัญหาท่ี เหมาะสมที่สดุ และนาํ ไปปฏบิ ัติ - ทกั ษะการจัดการกับอารมณแ์ ละความเครียด เป็นความสามารถในการรับรู้ อารมณต์ นเอง ประเมนิ และรู้เท่าทนั วา่ อารมณจ์ ะมอี ิทธพิ ลต่อพฤตกิ รรมของตนอยา่ งไร และเลือกใช้ วิธีจัดการกับอารมณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สว่ นการจดั การความเครียดเป็นความสามารถในการ รบั รรู้ ะดับความเครียดของตนเอง รู้สาเหตุ หาทางแกไ้ ข และมวี ธิ ผี ่อนคลายความเครยี ดของตนเอง อยา่ งเหมาะสม 181894 คมู่ คอื มู่สง่อื เสสง่รเมิ สแรลมิ ะแพลัฒะพนาฒั กนจิ ากกรรจิ มกลรูกรเมสลือูกทเกั สษือะทชกั ีวษิตะในชวีสติถาในนศสกึถษานา ศปึกรษะเาภทลลกู กูเสเสอื ือสสาามมญั ัญรรุน่ ุ่นใใหหญญ่่ เคชร้นั อื่ มงหัธมยามยศลกึ ูกษเสาือปหีทล่ี 3วง ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3

ความแตกตา่ งระหว่างทักษะชวี ติ ทั่วไปและทักษะชวี ติ เฉพาะ ทักษะชีวิตท่ัวไป เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม สําหรับปัญหาท่ัว ๆ ไปใน ชีวิตประจาํ วนั ดว้ ยทักษะชีวติ 12 องคป์ ระกอบ ให้กบั เด็กทกุ คน ทักษะชีวิตเฉพาะ เป็นการประยุกต์ใช้ทักษะชีวิต 12 องค์ประกอบ ท่ีมีเน้ือหา เกี่ยวกับการปฺองกันปัญหาเฉพาะเรื่องสําหรับเด็กกลุ่มเสี่ยง โดยมีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแล ช่วยเหลือนกั เรยี นรองรับ ทกั ษะชวี ติ กับการพัฒนาเยาวชน เมื่อแบ่งเยาวชนออกเป็น 3 กลุ่ม คือเด็กปกติ เด็กกลุ่มเส่ียง และเด็กท่ีมีปัญหา ทักษะชีวิตจะเป็นกลยุทธ์สําคัญในการส่งเสริมภูมิคุ้มกันทางสังคม ให้กับเด็กปกติ และเด็กทุกคน สําหรับเด็กกลุ่มเส่ียงต้องมีการสอนทักษะชีวิตเฉพาะในแต่ละปัญหา มีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแล ชว่ ยเหลอื นักเรียนรองรบั ส่วนเด็กทม่ี ีปัญหาแล้วใช้การดูแลใกล้ชิดเพื่อหาทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม เปน็ รายบุคคล และมีระบบส่งตอ่ ยังวิชาชีพเฉพาะท่เี กี่ยวขอ้ ง คคมู่ อืู่มสอื ง่สเ่งสเรสิมรแมิ ลแะลพะัฒพนฒั านกิจากกรจิ รกมรลรูกมเลสูกือเทสักือษทะกัชษวี ติะชในีวสติ ถในานสศถึกาษนาศึกปษระาเภลทูกลเสูกเือสสอื าสมาญัมัญรนุ่ รุ่นใหใหญญ่ ่ เชคัน้ รมอ่ื งัธหยมมาศยึกลษกู เาสปอื ที หี่ ล3วง 191589 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ตัวอย่างทักษะชีวติ เฉพาะ 190 ค่มู ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ เครื่องหมายลกู เสอื หลวง ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

คคววาามมแแตตกกตต่าา่ งงรระะหหวว่า่างงททักักษษะะชชวี วี ิติตแแลละะททกั กั ษษะะกกาารรดดาารรงงชชวี วี ิตติ ททกั ักษษะะชชีวีวิติต (Life Skills) เเปป็นน็ คคววาามมสสาามมาารรถถททาางงจจติ ติ สสังังคคมมออนั นัปประรกะกออบบดว้ดย฿วยควคาวมารมู้ เรจ฿ู ตเจคตตคิ ติ แแลละะททักกั ษษะะ ทีจ่ าํทเี่จปาํ น็ เปใน็นกในารกดาาํ รเดนาํ นิ เนชนิีวิตชทวี ติา฾ มทก่าลมากงลสาภงสาพภสาพังคสมังคทมี่เปทล่ีเี่ยปนลแ่ียปนลแงปอลยง฾าองยรา่ วงดรเวรด็วเใรน็วปในัจปจุบจั จนั บุ ันและ เแตลระียเมตพรียรม฿อมพสรําอ้ หมรสับํากหารรับเกผาชริญเผปชัญิญหปาัญในหอานในาคอตนามคี ต6 คมู฾ี 162คอู่ 1ง2คโปอรงะคกป์ อรบะกอบ ททกั ักษษะะกกาารรดดาารรงงชชวี ีวติ ติ ((LLivivininggSSkkililsls))เปเป็น็นททักักษษะทะที่ใช่ีใช฿ในใ้ นกกจิ จิววัตตัรปรประรจะจาํ าํววนั ันในในเรเอ่ืรื่องพงพน้ื ้ืนฐาฐนานของ ชขวี อิตงชวี ิต มกั เมปกั น็ เทปกั็นษทะกั ทษาะงทกาางยกภาายพภาพ เชเน฾ ชน่ ออาาบบนนา้ํ า้ํ แตง่฾ ตัว ซซกั กัเสเอสื้ อผ้ื ผ้า฿า ปรปงุ อรางุ อหาหราร ขขจี่ ่ีจักกั รรยยาานนววา฾ า่ ยยนนํ้าาํ้ ผผกู กู เเงง่อื อ่ื นนเเชชอื อื กกกกาารรจจดั ดั กกรระะเเปปา฼ า฼ เเดดินนิ ททาางงกกาารรใใชช฿แ้แผผนนททเี่ เี่ขข็มม็ ททิศศิ ฯฯลลฯฯ คคววาามมเเชช่อื อื่ มมโโยยงงรระะหหววา่ า่ งงททกั ักษษะะชชวี วี ติ ิตแแลละะททักกั ษษะะกกาารรดดาารรงงชชวี วี ิตติ ททักกั ษษะะชชวี วี ติ ติ แแลละะททักกั ษษะะกกาารรดดาํ าํ รรงงชชีววี ติ ติ มมักกั ถถกู กู ใใชชผ้ ผ฿ สสมมผผสสาานนเชเ่ือชมอื่ มโยโงยกงนกั ันท้งั ทในัง้ กในิจกวจิตั วรัตปรปะจราํะจวาํนั วัน ปปกกตติ ิ แแลละะใในนสสถถาานนกกาารรณณโต์ต฾าา่ งง ๆ ที่เกดิ ข้นึ ไมแ่฾ ยกส่ว฾ น โดยทกั ษะชวี ิตจะเปน็ ตวั วชชว่฾ ยยในนการเลือกและใช฿ ทใชักท้ษกัะกษาะรกดาํารรดงาํ ชรีวงติชไวี ดติ อ฿ไยด฾าอ้ งยเ่าหงมเหาะมสามะสถมูกถทกูี่ ถทกู ่ี ถเวกู ลเาวลแาละแเลกะดิ เกผิดลลผพัลลธัพทโ ดี่ธท์ี ีด่ ี สสถถาานนกกาารรณณโท์ทาางงจจิตติ สสงั งั คคมมมมกั กั ใใชช฿ท้ทกั กั ษษะะชชีววี ติ ิตเเปปน็ ็นหหลลกั ักตตัวัวออยยา฾ า่ งงเเชช฾น่น กกาารรจจัดัดกกาารรกกบั ับออาารรมมณณโโ โ์ กกรรธธคคววาามมขขดั ัดแแยย฿งง้ แแลละะคคววาามมรรนุ ุนแแรรงง ตตรระะหหนนักักรรู฿แแู้ ลละะหหลลีกกี เเลลย่ี ย่ี งงพพฤฤตตกิ กิ รรรรมมเเสสย่ี ่ียงงตต฾าา่ งงๆๆรรววมมถถงึ งึ กกาารรปปฺออฺ งงกกนั นั ออุบุบตั ัตเิ เิหหตตุ ุ กกาารรชชว฾ ่วยยเเหหลลือือผผอู฿ อู้ น่ื ่ืนแแลละะรรบั ับผผดิ ิดชชออบบตต฾อ่อสส฾วว่ นนรรววมม กกาารรสสอื่ อ่ื สสาารรเเชชงิ งิ บบววกกแแลละะสสรรา฿ า้ งงสสมั มั พพนั ันธธภภาาพพทท่ดี ด่ี ี ี กกิจจิ ววัตตั รรทท่ที ี่ทาํ าํ เเปปน็ ็นปปรระะจจําาํ ใช฿ท้ ักษะการดาํ รงชวี ิตเป็นหลัก เเชช่นน฾ ออาาบบนนาํ้ าํ้ แตแ่งตตง฾ วัตวั แปแรปงรฟงนัฟนั ซกั ซกั เเสส้อื ้อื ผผา฿ ้าปปรรุงงุ ออาาหหาารรขข่ีจจ่ี กั กั รรยยาานนวว฾า่ายยนนํ้าํ้าผผูกกู เเงง่อื อื่ นนเเชชืออื กกใใชชแ฿ ้แผผนนทท่ีเี่เขขม็ ม็ ททศิ ิศฯฯลลฯฯ คู่มือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลูกเสอื วสิ ามัญ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 257 คคมู่ ือูม่ สือ่งสเ่งสเรสิมรแมิ ลแะลพะัฒพนฒั านกิจากกริจรกมรลรูกมเลสกูอื เทสกั ือษทะกัชษีวิตะชในีวสิตถในานสศถกึ าษนาศกึปษระาเภลทกู ลเสูกเือสสือาสมาญัมญัร่นุ รุน่ใหใหญญ่ ่ เชคั้นรมื่อชปงัธนั้ หรยมะมมธักายศายมึกศลศษนูกึกเายี สษปบอื าที ตัหป่ี รล3ที ววี่ ชิ3งาชีพ1911791


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook