Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่่ ม3

ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่่ ม3

Published by Guset User, 2022-08-17 04:25:30

Description: ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่่ ม3

Search

Read the Text Version

ทกั ษะชีวิตสร้างไดอ้ ยา่ งไร สร้างด้วย 2 วธิ กี ารใหญ่ ๆ คอื 1. เรียนรเู้ องตามธรรมชาติ ซ่งึ ขนึ้ กบั ประสบการณแ์ ละการมีแบบอยา่ งทดี่ ี จงึ ไมม่ ที ศิ ทางท่ี แน่นอน และกว่าจะเรียนรกู้ ็อาจชา้ เกินไป 2. สรา้ งโดยกระบวนการเรยี นการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้เด็กเรียนรู้ร่วมกันใน กลุม่ ผ่านกจิ กรรมรปู แบบตา่ ง ๆ ทีเ่ ดก็ ตอ้ งมสี ว่ นรว่ มท้งั ทางรา่ งกายคอื ลงมอื ปฏบิ ัติ และทาง ความคดิ คอื การอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ และประสบการณ์ เพ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้ใหมร่ ว่ มกนั การสอนทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเป็ นศนู ยก์ ลาง • สรา้ งความรู้ (Construction) กจิ กรรมทใ่ี หผ้ เู ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มทาง สตปิ ัญญา คน้ พบความรดู ้ ว้ ยตนเอง • ปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction) กจิ กรรมตอ้ งสง่ เสรมิ ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู ้ น่ื และแหลง่ ความรทู ้ ห่ี ลากหลาย • เป็ นกระบวนการ (Process Learning) • มสี ว่ นรว่ ม (Physical Participation) มสี ว่ นรว่ มดา้ นรา่ งกาย ลง ลมงอื มกอื รกะทระาทก�ำจิกกจิ รกรรมรมในใลนกั ลษกั ษณณะตะตา่ า่งงๆๆ • มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ (Application) การมีส่วนร่วมทางสติปญั ญาทําให้เกิดทกั ษะชวี ติ 2 องค์ประกอบแกนหลกั คอื ความคดิ วเิ คราะห์ และความคดิ วจิ ารณ์ ปฏิสมั พันธ์ในกลุ่มเพ่อื ทํากจิ กรรมร่วมกนั ทาํ ใหเ้ ดก็ ไดฝ้ กึ องคป์ ระกอบทกั ษะชีวิต ด้านทกั ษะท้ัง 3 คู่ คือการสรา้ งสมั พนั ธภาพและการส่อื สาร การตดั สนิ ใจและการแก้ไขปัญหา การจดั การอารมณ์และ ความเครียด การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอน่ื ทาํ ใหเ้ กิดความเข้าใจคนอน่ื มากขนึ้ ขณะเดียวกนั ก็เกดิ การ ไตร่ตรองทําความเข้าใจและตรวจสอบตนเอง จดั เป็นองคป์ ระกอบทกั ษะชวี ติ ด้านเจตคตคิ อื การเข้าใจ ตนเอง และเขา้ ใจ/เหน็ ใจผอู้ ่นื การได้รับการยอมรับจากกลุ่ม การทํางานสําเร็จได้รับคําชม ทําให้เกิดความภูมิใจและเห็น คณุ คา่ ตนเอง นําไปสคู่ วามรับผิดชอบมากขึ้น ทั้งตอ่ ตนเองและสังคม กระบวนการและการมีส่วนร่วม ช่วยให้กิจกรรมสนุกสนานน่าสนใจ และนําไปสู่จุดประสงค์ ท่ตี ัง้ ไว้ รวมทัง้ การประยกุ ต์ใช้เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เชื่อมองค์ความรูใ้ หมท่ เ่ี กดิ ข้นึ เขา้ สู่ชีวิต จริง ว่าไดเ้ กิดการเรียนรอู้ ะไรและนาํ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาํ วันอย่างไร 191298 คู่มคือูม่สง่อื เสสง่รเิมสแรลมิ ะแพลฒั ะพนาัฒกนิจากกรรจิ มกลรกูรเมสลอื กู ทเกั สษือะทชักวี ษติ ะในชีวสติถาในนศสึกถษานา ศปึกรษะเาภทลลกู กูเสเสือือสสาามมญั ญั รร่นุ นุ่ ใใหหญญ่่ เคชร้ันือ่ มงหธั มยามยศลึกูกษเสาือปหีทล่ี 3วง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

8         ความหมายของกระบวนการลกู เสือ (Scout movement) ตามคาํ นยิ ามของลูกเสือโลก หมายถึง กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สําหรับเยาวชน เพ่ือสร้างเยาวชนท่ีมีจิตใจเสียสละ รับผิดชอบ และอุทิศตนแก่สังคม ด้วยวิธีการ ลกู เสือ ตามแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 2522 (สพฐ.) หมายถึงกระบวนการทาง การศึกษาส่วนหน่ึง ซึ่งมุ่งพัฒนาสมรรถภาพของบุคคล ทั้งทางสมอง ร่างกาย จิตใจ และศีลธรรม เพ่ือให้เป็นบุคคลท่ีมีความประพฤติดีงาม ไม่กระทําตนเป็นปัญหาสังคม และดํารงชีวิตอย่างมี ความหมาย และสขุ สบาย หลักการลูกเสอื (Scout principle) หลักการลกู เสือโลกเนน้ ทหี่ น้าทหี่ ลัก 3 ประการ คือ 1.หน้าท่ีต่อพระเจ้า/ศาสนา ได้แก่ การแสวงหาและดําเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าและ ความหมาย 2.หน้าที่ต่อผู้อ่ืน ได้แก่ การเคารพ ให้เกียรติ ช่วยเหลือผู้อื่น รวมถึงการดูแลสังคมและ ส่งิ แวดลอ้ ม 3.หน้าที่ต่อตนเอง ได้แก่ พัฒนาตนเองท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ จิตวญิ ญาณ คคมู่ อื่มู สอื ง่สเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะฒั พนฒั านกิจากกริจรกมรลรกูมเลสูกอื เทสักอื ษทะกัชษวี ติะชในีวสิตถในานสศถกึ าษนาศกึปษระาเภลทกู ลเสูกเือสสือาสมาัญมัญรนุ่ รุ่นใหใหญญ่ ่ เชคนั้ รมือ่ งัธหยมมาศยึกลษกู เาสปอื ที ห่ี ล3วง 191993 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3

หลักการลกู เสอื ไทย มี 5 ข้อ คอื 1. มศี าสนาเปน็ หลักยดึ ทางใจ 2. จงรกั ภักดตี อ่ พระมหากษตั รยิ ์และประเทศชาติ 3. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีผู้อื่นและเพ่ือนมนุษย์ทุกคน รวมทั้งธรรมชาติ และสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก 4. รับผิดชอบตอ่ การพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง 5. ยึดมัน่ ในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื วธิ ีการลกู เสอื (Scout method) วธิ ีการลกู เสอื โลก มี 8 องค์ประกอบ โดยแบ่งออกเปน็ 3 กลุ่ม คือ กลุม่ ที่ 1 ผ้ใู หญม่ หี นา้ ท่ชี ่วยเหลอื และสง่ เสรมิ เยาวชนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ในกลมุ่ กลุ่มท่ี 2 มกี จิ กรรมที่บรรลวุ ตั ถุประสงคใ์ นการพัฒนาเยาวชนอย่างตอ่ เนอ่ื งและเป็นระบบ กลุม่ ที่ 3 เปน็ ลกั ษณะกจิ กรรมทีใ่ ช้ มี 6 องค์ประกอบ 1. ยึดมนั่ ในคําปฏิญาณและกฎของลกู เสอื 2. ใชร้ ะบบสัญลักษณ์เป็นแรงกระตุ้นไปส่เู ปฺาหมายในการพัฒนาตนเอง 3. ระบบหมู่ (กล่มุ เรียนรู้รว่ มกนั ) 4. เรยี นรู้ใกล้ชดิ ธรรมชาติ 5. เรียนรูจ้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ / เกม 6. เรยี นรู้จากการบริการผอู้ นื่ วิธีการลูกเสอื ไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 2551 มี 7 องคป์ ระกอบ คอื 1. ความก้าวหนา้ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม 2. การสนบั สนนุ โดยผใู้ หญ่ 3. ยึดมนั่ ในคําปฏญิ าณและกฎ 4. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน 5. ระบบหมู่ 6. การศึกษาธรรมชาติ 7. เรยี นรู้จากการกระทาํ 129040 คคูม่ ู่มืออื สส่งง่เสเสริมริมแลแะลพะพฒั ฒันานกาจิ กกิจรกรรมรลมกู ลเสูกือเทสือักษทะักชษีวะิตชใีวนติ สใถนาสนถศาึกนษศาึกปษราะเลภกูทเลสกู ือเสสือามสาัญมรญั นุ่ รในุ่หใญห่ญ่ชเคั้นรมื่อัธงยหมมศายึกลษกู าเปสือที หี่ 3ลวง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

วธิ ีการลูกเสือสร้างทักษะชีวิตไดอ้ ยา่ งไร วธิ ีการลูกเสือ มีองคป์ ระกอบครบทง้ั 5 ประการ ของกระบวนการเรยี นการสอนท่ียึดผู้เรียน เปน็ ศนู ย์กลาง การสร้างทักษะชวี ติ ทง้ั 12 องคป์ ระกอบ เกิดขึ้นดว้ ยกจิ กรรมดงั ตารางต่อไปนี้                          วตั ถุประสงค์คณะลูกเสือแห่งชาติ (พระราชบญั ญตั ิลกู เสอื พ.ศ. 2551 มาตรา 8) เพื่อพัฒนาลูกเสือท้ังทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความ รับผดิ ชอบ และช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหน้า ทั้งนี้เพื่อความ สงบสขุ และความมั่นคงของประเทศชาติ ตามแนวทางดงั ต่อไปนี้ 1. ใหม้ นี สิ ยั ช่างสังเกต จดจาํ เชอ่ื ฟงั และพงึ่ ตนเอง 2. ให้ซ่ือสตั ย์สุจริต มีระเบยี บวนิ ยั และเหน็ อกเหน็ ใจผูอ้ ่ืน 3. ให้รูจ้ ักบาํ เพ็ญตนเพอ่ื สาธารณประโยชน์ 4. ให้รจู้ กั ทาํ การฝมี ือ และฝกึ ฝนให้ทาํ กจิ การต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 5. ให้รู้จกั รกั ษาและสง่ เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมนั่ คงของประเทศชาติ หลกั สตู รลกู เสอื เสริมสร้างทกั ษะชวี ติ หลกั สูตรลกู เสอื เสรมิ สร้างทักษะชีวติ ไดใ้ ช้ขอ้ บงั คับคณะลกู เสอื แห่งชาติว่าดว้ ยการปกครอง หลกั สูตรและวิชาชีพพิเศษลูกเสือสํารอง สามัญ สามญั รนุ่ ใหญ่ และวิสามญั เป็นหลัก และเพ่ิมเนื้อหา ทีส่ อดคลอ้ งกับปัญหาตามวัยและพัฒนาการดา้ นต่าง ๆ ของลกู เสอื โดยจัดหน่วยกิจกรรมตามที่ระบุ คค่มู ือู่มสือ่งสเ่งสเรสิมรแมิ ลแะลพะฒั พนัฒานกิจากกรจิ รกมรลรูกมเลสูกอื เทสกั อื ษทะกัชษวี ิตะชในวี สติ ถในานสศถึกาษนาศึกปษระาเภลทกู ลเสูกเือสสือาสมาัญมัญรุ่นร่นุใหใหญญ่ ่ เชคนั้ รมื่องธั หยมมาศยึกลษูกเาสปือีทหี่ ล3วง 201195 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3

ในหลักสูตรของลกู เสือแตล่ ะประเภท ดังน้ัน ชอ่ื หนว่ ยกิจกรรม และจํานวนหน่วยกิจกรรมของลูกเสือ แตล่ ะประเภทจงึ แตกต่างกัน แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตในคู่มือชุดน้ี ได้ออกแบบโดยบูรณาการ กิจกรรมท่เี สริมสร้างทักษะชีวติ เข้ากบั วธิ กี ารลกู เสือ คือการใชร้ ะบบหมูห่ รือกลุม่ ยอ่ ย โดยให้เด็กเป็น ศนู ย์กลาง และมีผู้ใหญท่ าํ หน้าที่ช่วยเหลือและส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในกลุ่ม แนะนํา ส่ัง สอน และฝึกอบรมให้สามารถพ่ึงตนเองได้ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อส่วนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณ และกฎของลูกเสอื เสรมิ สรา้ งคุณคา่ ในตนเอง รวมทั้งใชร้ ะบบเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ทางลูกเสือ และเครื่องหมายวิชาพเิ ศษ เป็นแรงกระตนุ้ ไปสเู่ ปฺาหมายในการพัฒนาตนเอง องค์ประกอบในการประชมุ กอง เนน้ การใช้ชีวิตกลางแจ้ง นอกห้องเรียน ใกล้ชิดธรรมชาติ เรียนรจู้ ากการลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง เกม และการบริการผู้อ่ืน ซึ่งถือเป็นหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ ทุกประเภท โดยกจิ กรรมที่ใช้ แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท คอื การแสดงออก การรายงานและการสํารวจ การวิเคราะห์และการประเมิน เกมและการแข่งขัน การบําเพ็ญประโยชน์ การออกแบบกิจกรรม เพ่ือให้ลูกเสือใช้กระบวนการกลุ่มในการแลกเปล่ียนประสบการณ์ แลกเปล่ียนความคิดความเช่ือ สรา้ งองค์ความรูแ้ ละสรปุ ความคิดรวบยอด รวมท้ังเปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีได้เรียนรู้ อีกดว้ ย เน้อื หาสาระในแผนการจดั กิจกรรมแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 กลุม่ ประกอบดว้ ย 1.กิจกรรมตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ (ไม่รวมกิจกรรมทดสอบเพื่อรับ เคร่อื งหมายหรือสัญลกั ษณท์ างลูกเสือและเครือ่ งหมายวิชาพเิ ศษ) 2. กิจกรรมตามขอ้ บังคับของคณะลูกเสอื แห่งชาตทิ ี่ช่วยเสริมสร้างทักษะชีวิตด้านคุณธรรม จริยธรรม ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความรับผิดชอบต่อสว่ นรวม 3.กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมต่อเหตุการณ์และสภาพ ปญั หาของเดก็ แต่ละวัย สําหรับกิจกรรมลูกเสือตามข้อบังคับ เพ่ือการขอรับเคร่ืองหมายลูกเสือช้ั นพิเศษ และ เครอื่ งหมายลกู เสือหลวง ไมไ่ ดน้ ํามารวบรวมไว้ในคู่มือการจดั กจิ กรรมลูกเสือชุดนี้ คู่มือมีจํานวน 11 เล่ม ตามชั้นปีของลูกเสือ 4 ประเภท แต่ละเล่ม ได้จัดทําตารางหน่วย กิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรมครบ 40 ชั่วโมง เพ่ือให้เห็นภาพรวมของการจัดกิจกรรมลูกเสือ เสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ของลูกเสอื ในแต่ละระดับชั้น และมีหมายเหตุบอกไว้ในตารางช่องขวาสุด วา่ เป็น แผนการจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างทักษะชีวติ แผนการจัดกิจกรรมประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา สื่อการเรียนรู้ กิจกรรม การประเมินผล องคป์ ระกอบทักษะชวี ิตสําคญั ทเี่ กดิ จากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด กจิ กรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู้ เรอ่ื งทเ่ี ป็นประโยชน์) 192602 คูม่ คือ่มูสง่อื เสสง่รเมิ สแรลมิ ะแพลฒั ะพนาฒั กนจิ ากกรริจมกลรกูรเมสลือูกทเักสษอื ะทชักวี ษิตะในชีวสติถาในนศสึกถษานา ศปึกรษะเาภทลลกู กูเสเสือือสสาามมญั ญั รรนุ่ นุ่ ใใหหญญ่่ เคชร้ันื่อมงหัธมยามยศลกึ ูกษเสาือปหีทลี่ 3วง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

ภาพรวมการพัฒนาหลักสูตรลกู เสือเสรมิ สร้างทกั ษะชวี ิต 1. เร่ิมจากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย หลักสูตรลูกเสือไทยและต่างประเทศ รวมทั้ง สมั ภาษณ์ ผูเ้ ช่ยี วชาญด้านลูกเสอื 2. สัมนาครู ผู้ปกครอง นักพัฒนาเยาวชน และผู้เชี่ยวชาญด้านกิจกรรมเด็กและเยาวชน เพือ่ รว่ มกันคน้ หาปัญหาจริงของเด็กแต่ละวัย และออกแบบกจิ กรรมท่เี หมาะสม 3. จดั ทาํ ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต 4 ประเภท ได้แก่ ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และลูกเสือวิสามัญ รวมท้ังสิ้น 11 เล่ม โดยผ่านการประเมิน ปรับปรงุ และพฒั นา จนเปน็ ที่ยอมรบั และนาํ ไปใชใ้ นสถานศึกษาจํานวนมาก 4. จดั ทําหลกั สูตรการฝกึ อบรมผกู้ าํ กับลูกเสอื สํารอง ลูกเสือสามญั ลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่และ ลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบ้ืองต้น และขั้นความรู้ชั้นสูง รวม 8 ประเภท โดยได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ในการประชุม คร้ังท่ี 2/2557 เม่ือวันที่ 22 กันยายน 2557 ให้ ใช้เป็นหลักสตู รการฝกึ อบรมผู้กาํ กับลกู เสอื ของสํานกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ 5. จัดทํา คู่มือฝึกอบรมวิทยากรลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต เพ่ือขยายผลในการสร้าง วทิ ยากรและฝึกอบรมผ้กู ํากับลูกเสอื ในสถานศึกษาทั่วประเทศ คคู่มือู่มสือง่สเ่งสเรสิมรแมิ ลแะลพะัฒพนฒั านกจิากกรจิ รกมรลรกูมเลสูกอื เทสักอื ษทะักชษวี ติะชในวี สติ ถในานสศถึกาษนาศกึปษระาเภลทูกลเสูกเือสสือาสมาัญมญัรุ่นรนุ่ใหใหญญ่ ่ เชค้ันรมื่องัธหยมมาศยกึ ลษูกเาสปอื ีทหี่ ล3วง 201397 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

ภาคผนวก ข กจิ กรรมลกู เสอื เสริมสร้างทกั ษะชีวิต การจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตนั้น ยังคงหลักการ และวิธีการของลูกเสือไว้ ทุก ประการ แตเ่ น้นการสอดแทรกการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพ่ิมเข้าไปด้วยเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงค์ท่ีรอบ ดา้ น และครอบคลุมการดํารงชวี ิตในปัจจุบนั คุณค่าของส่อื การเรยี นการสอนประเภทกิจกรรม ส่อื การเรียนการสอนประเภทกิจกรรม เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีให้ผู้เรียนได้ มีโอกาส เรยี นรูป้ ระสบการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง ผ่านการทํากิจกรรมร่วมกัน ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ ของเพื่อนในกลุ่ม ทําให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นโดยใช้เวลาน้อยลง การออกแบบกิจกรรมจะต้อง กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และร่วมมือในการทํากิจกรรมที่กําหนดให้อย่างเต็มท่ี จึงจะ เเกิดการ เรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ผลทเี่ กิดข้ึนต่อผ้เู รยี นมีดังนี้ 1. สง่ เสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกและทาํ งานรว่ มกับผอู้ ืน่ ได้ 2. เกิดความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ ซ่ึงเปน็ ลักษณะเฉพาะของสื่อการสอนประเภทกจิ กรรม 3. เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการกาํ หนดขอบขา่ ย เนื้อหา และวัตถปุ ระสงค์ 4. ผ้เู รยี นไดฝ้ กึ ฝน พฤตกิ รรมการเรยี นรทู้ ัง้ ทางด้านความรู้ เจตคติ และทักษะ รวมท้ังความคดิ สร้างสรรค์ และจนิ ตนาการด้วย ประเภทของกิจกรรมลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทักษะชวี ติ เมอ่ื จัดประเภทตามทักษะ/ความสามารถ ในการปฏิบตั ิกิจกรรม แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 ประเภท คอื 1. กิจกรรมการแสดงออก เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ใช้ความสามารถในการ แสดงออก แสดงความคดิ สร้างสรรค์ จินตนาการในรปู แบบต่าง ๆ ซ่งึ มกั จะเป็นการจําลองประสบการณ์ ต่าง ๆ มาเพื่อการเรียนรู้ได้ง่ายและสะดวกข้ึน หรือเป็นส่ิงท่ีใช้แทนประสบการณ์จริง เพราะศาสตร์ ต่างๆ ในโลก มีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้ได้หมดสิ้นจากประสบการณ์ตรงในชีวิต และบางกรณีก็อยู่ใน อดีต หรอื ซบั ซอ้ นเร้นลบั หรอื เปน็ อันตราย ไม่สะดวกตอ่ การเรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ตัวอย่างกิจกรรม เชน่ 1.1 สถานการณจ์ ําลอง เป็นการจัดสภาพแวดล้อมใหใ้ กล้เคียงกบั สภาพความเป็นจริงมากท่ีสุด เพื่อใหผ้ ้เู รยี นได้ฝกึ ฝน แก้ปญั หาและตัดสินใจจากสภาพการณท์ ี่กําลังเผชญิ อยูน่ ัน้ แลว้ นําประสบการณ์ แหง่ ความสําเรจ็ ไปเปน็ แนวทางในการแก้ปญั หา 1.2 การสาธิต กระบวนการท่ีผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการ แสดงหรอื กระทําให้ดเู ปน็ ตัวอยา่ ง ใหค้ วามสาํ คัญกบั กระบวนการท้ังหมดท่ีผู้เรียนจะต้องเฝฺาสังเกตอยู่ โดยตลอด 1.3 เลา่ นิทาน 192804 ค่มู คอื ู่มส่งอื เสสง่รเมิ สแรลิมะแพลฒั ะพนาฒั กนิจากกรริจมกลรูกรเมสลอื กู ทเกั สษือะทชักีวษิตะในชีวสิตถาในนศสกึถษานา ศปกึ รษะเาภทลลกู กูเสเสอื อื สสาามมญั ัญรรุน่ นุ่ ใใหหญญ่่ เคชร้ัน่ือมงหธั มยามยศลึกูกษเสาือปหีทล่ี 3วง ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3

1.4 ละคร หุ่นจําลอง 1.5 เพลง ดนตรี การเคล่ือนไหวตามจังหวะดนตรี หมายถงึ กจิ กรรมที่เน้นการใช้ดนตรีเป็นสื่อ ในการเรยี นรทู้ ง้ั ในแงเ่ นอ้ื หาและความบันเทิง ผอ่ นคลาย และเขา้ ถงึ วฒั นธรรมต่าง ๆ 1.6 ศิลปะ แขนงอน่ื ๆ เช่น การวาดรูป การปน้ั ดินเหนียว งานหตั ถกรรม การรอ้ ยดอกไม้ 1.7 การโตว้ าที ฯลฯ 2. กิจกรรมการการสํารวจและการรายงาน เปน็ กิจกรรมท่เี นน้ ใหล้ ูกเสือไดเ้ รียนรจู้ ากความเป็น จริง /เหตุการณ์จริง ในชีวิตประจําวัน ผ่านประสบการณ์ตรงด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นรากฐานสําคัญของ การศึกษา เช่น การทําแผนที่ การสํารวจ หมายถึง การเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จริงด้วยการลงพ้ืนที่ สาํ รวจ และจาํ ลองสง่ิ ท่ีได้เรียนรู้สู่แผนท่ี ภาพ หรือสัญลักษณ์ เพ่ือแสดงความคิดรวบยอดของสิ่งที่ได้ เรียนรู้น้นั ตวั อย่างกิจกรรม เชน่ การสัมภาษณ์ การเป็นผู้ส่ือขา่ ว การทําสารคดี การศึกษานอกสถานที่ ชุมชนศึกษา การผลติ ส่ือ การทํา ปมู ชีวติ บุคคลตัวอยา่ ง การจดั นทิ รรศการ การสอดแนม การสํารวจ การทําแผนท่ี การเขียนเรียงความ การเล่าเร่ือง ฯลฯ 3. กจิ กรรมการวเิ คราะห์และการประเมิน เปน็ การเรียนรทู้ ่เี กดิ จากการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และรว่ มกนั วเิ คราะห์/ประเมนิ สงิ่ ตา่ งๆทเี่ กิดขึ้น ตัวอยา่ งกจิ กรรม เช่น การเปรียบเทียบคุณคา่ การประเมนิ ความเส่ียง การทําแผนทคี่ วามคดิ ฯลฯ 4. การเล่นเกมและการแขง่ ขัน 4.1 เกม เป็น กิจกรรมที่มีกฎกติกา และลําดับข้ันตอน ท่ีเอ้ือให้ลูกเสือเกิดการเรียนรู้ ผา่ นการเล่นเกม ให้ข้อคดิ ที่สอดคลอ้ งกับผลการเรียนรูท้ ่ตี ้องการ เช่น เกมกระซบิ เป็นต้น 4.2 การแข่งขัน เป็นกิจกรรมที่มีกติกาในการแข่งขัน และมีการตัดสินหาผู้ชนะ เช่น การตอบปญั หาในเรือ่ งตา่ ง ๆ เพื่อกระต้นุ ใหเ้ กิดความสนใจใฝรู ู้มากขึ้น ฯลฯ 5. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ท่ีเน้นการฝึกความเสียสละของลูกเสือ ไดแ้ ก่ การจดั กจิ กรรมการกศุ ล การซอ่ มของเลน่ ให้นอ้ ง การดแู ลทําความสะอาดสถานที่ การปลูกและ ดแู ลต้นไม้ การเก็บผกั จากแปลงไปประกอบอาหารเล้ียงนอ้ ง ฯลฯ หลกั การออกแบบกิจกรรม 1. การเลอื กประเภทของกิจกรรม ต้องสอดคล้องกบั ผลการเรยี นร้ทู ่ตี อ้ งการ เช่น ผลการเรยี นรดู้ ้านพทุ ธิพิสัย มกั เลอื กใช้ กจิ กรรมการวิเคราะห์และการประเมิน การรายงาน และการแข่งขนั ตอบปญั หาในเรอ่ื งเนอ้ื หาทต่ี อ้ งการให้เรยี นรู้ เป็นตน้ ผลการเรยี นรู้ด้านจิตพิสยั มกั เลอื กกิจกรรมท่สี ร้างความรู้สึกท่ีสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ ตอ้ งการ เช่น กิจกรรมการแสดงออก เกม กิจกรรมบําเพญ็ ประโยชน์ เปน็ ตน้ คคมู่ อื่มู สือ่งสเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะฒั พนฒั านกิจากกรจิ รกมรลรูกมเลสูกือเทสกั อื ษทะกัชษีวิตะชในวี สิตถในานสศถึกาษนาศึกปษระาเภลทกู ลเสกู เือสสอื าสมาัญมัญรุ่นรนุ่ใหใหญญ่ ่ เชคน้ั รม่อื งธั หยมมาศยกึ ลษูกเาสปือีทหี่ ล3วง 201599 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะพิสัย ถ้าเปน็ ทักษะทางสติปัญญานยิ มใช้กิจกรรมการวิเคราะห์ และ ประเมนิ ส่วนทกั ษะทางกายภาพ เลือกได้เกือบทุกประเภท 2. การต้ังประเด็นอภิปราย เพ่ือให้ลูกเสือได้ร่วมอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ในเรื่องที่ สอดคล้องกับผลการเรียนร้ทู ีต่ ้องการ เชน่ ผลการเรยี นรดู้ ้านพุทธพิ สิ ัย ตั้งประเด็นให้ วเิ คราะห์ /สงั เคราะห์ /ประเมนิ เนื้อหาที่ต้องการ ให้ผู้เรยี นเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ เกดิ ความคิดรวบยอดท่ีชัดเจน และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ จรงิ ผลการเรียนรูด้ ้านจิตพสิ ยั ตง้ั ประเดน็ ใหเ้ กดิ การโต้แยง้ กันดว้ ยเหตผุ ลในเร่อื งความคดิ ความ เชือ่ ทเ่ี กย่ี วข้องกับเจตคตทิ ต่ี ้องการ เพอ่ื ใหส้ มาชิกแตล่ ะคนได้มโี อกาสตรวจสอบความคดิ ความเช่อื ของ ตนเอง ทแี่ ตกตา่ งจากคนอน่ื ทําใหเ้ กิดการปรับเปลยี่ นความคิดความเช่อื จากการโต้แย้งกันด้วยเหตุผล ในกระบวนการกลุ่ม ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ตั้งประเด็นให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในขั้นตอนการทํา ทักษะ นัน้ ๆ เช่นการวิเคราะห์ความครบถ้วนในการทําตามขนั้ ตอนของทกั ษะ การวิเคราะห์จุดอ่อน ท่มี ักจะทาํ ทักษะน้ัน ๆ ไมส่ าํ เรจ็ เป็นตน้ 3. การสรุปความคิดรวบยอดและประยุกต์ใช้ ทุกกิจกรรมควรมีการสรุปความคิดรวบยอดที่ เกดิ ขึ้นใหช้ ดั เจน และเปิดโอกาสใหไ้ ดล้ องประยกุ ตใ์ ช้ ไดแ้ ก่ ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ความคิดรวบยอดคือเน้ือหา องค์ความรู้ท่ีต้องการให้เกิดขึ้น ประยุกต์ใช้โดยผลติ ซา้ํ ความคดิ รวบยอดในรปู แบบท่ตี ่างจากเดิม เชน่ การทาํ รายงาน ทาํ สรปุ ย่อ ฯลฯ ผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย ความคิดรวบยอดไม่มีเน้ือหา แต่เป็นความรู้สึกและความคิด ความเช่อื ที่เกดิ ขน้ึ ภายในตัวผู้เรียน ประยุกต์โดยการแสดงออกท่ีสอดคล้องกับเจตคติที่เกิด เช่น การ กระทําท่แี สดงออกถงึ ความซอ่ื สตั ย์ การกระทาํ ทแ่ี สดงออกถงึ ความเปน็ สุภาพบุรษุ สุภาพสตรี เป็นตน้ ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะพิสัย ความคิดรวบยอดที่เกิดคือ ความเข้าใจข้ันตอนและทําทักษะ นัน้ ๆ ได้ ประยุกต์โดยการฝกึ ฝนทกั ษะน้นั จนชาํ นาญ 202006 คมู่ คอื ู่มส่งือเสสง่รเิมสแรลมิ ะแพลัฒะพนาัฒกนิจากกรรจิ มกลรูกรเมสลอื ูกทเกั สษือะทชักีวษิตะในชีวสติถาในนศสกึถษานา ศปกึ รษะเาภทลลกู กูเสเสอื อื สสาามมญั ญั รรุ่น่นุ ใใหหญญ่่ เคชรนั้ อ่ื มงหัธมยามยศลกึ ูกษเสาือปหที ลี่ 3วง ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3

ภาคผนวก ค แนวปฏบิ ตั กิ ารสอบวิชาพเิ ศษ ใหโ้ รงเรียนดําเนนิ การแตง่ ต้ังกรรมการ เพ่ือดาํ เนินารสอนและสอบวชิ าพิเศษ โดยออกคาํ ส่งั ในนามโรงเรยี น เมอื่ ทาํ การสอนแลว้ ใหจ้ ดั สอบภาคทฤษฎี และ ภาคปฏบิ ตั ิ จากนน้ั ให้ทาํ เรอ่ื งขอ อนมุ ัติผลการสอบ และขอประดับเครอื่ งหมายวชิ าพิเศษ ไปยังเลขาธกิ ารคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือ แหง่ ชาติ หรือผูอ้ าํ นวยการลกู เสอื จงั หวัด แลว้ แตก่ รณี ดงั น้ี 1. รายชือ่ ผเู้ ข้าสอบ 2. ผ้บู ังคบั บัญชาลกู เสือขออนญุ าตสอบวิชาพิเศษต่อผ้อู ํานวยการลกู เสอื โรงเรยี น 3. โรงเรยี นออกคําส่ังแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาํ เนินการสอบ 4. สอบภาคทฤษฎี 5. สอบภาคปฏบิ ัติ 6. รายชอ่ื ลกู เสอื ทส่ี อบได้ - ตก แต่ละรายวิชา 7. หนงั สือขออนมุ ัตผิ ลการสอบและขอประดับเครอ่ื งหมายวิชาพเิ ศษ สง่ ไปยงั สาํ นกั งาน ลูกเสอื เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาเพ่ืออนมุ ัติ 8. โรงเรยี นออกหนงั สอื รบั รองใหก้ ับลูกเสือตามรายวชิ าทีส่ อบได้ คคู่มือู่มสอื ง่สเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะัฒพนัฒานกจิากกรจิ รกมรลรูกมเลสกูือเทสกั อื ษทะกัชษีวติะชในีวสติ ถในานสศถึกาษนาศกึปษระาเภลทกู ลเสูกเือสสอื าสมาญัมญัรนุ่ รุ่นใหใหญญ่ ่ เชคน้ั รมือ่ งัธหยมมาศยึกลษกู เาสปอื ีทหี่ ล3วง 202701 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

หนงั สือขออนมุ ตั ิผลการสอบวิชาพิเศษลกู เสอื – เนตรนารี สามัญรุน่ ใหญ่ ท่ี ุุุุ../ุุุุุุุ. โรงเรียนุุุุุุุุุุุุ วนั ท่ีุุ..เดือนุุุุุุุุุ.พ.ศุุุุ เรอ่ื ง ขออนุมตั ผิ ลการสอบวิชาพเิ ศษลูกเสอื – เนตรนารีสามัญร่นุ ใหญ่ และประดับเครอื่ งหมายวชิ า พิเศษ เรียน เลขาธิการคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แห่งชาติ / ผู้อํานวยการลูกเสอื จังหวดั ุุุุุ.. สงิ่ ทส่ี ่งมาดว้ ย 1. คําสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบวชิ าพิเศษ 2. รายชอื่ ลูกเสอื – เนตรนารี ทีส่ อบวชิ าพิเศษ 3. ข้อสอบภาคทฤษฎี 4. ขอ้ สอบภาคปฏบิ ตั ิ 5. โครงการ (ถ้ามี) ด้วยโรงเรยี นุุุุุุุุุุุไดท้ าํ การอบรมและสอบวิชาพเิ ศษ ลกู เสอื – เนตร นารี สามญั รุน่ ใหญ่ ใหแ้ ก่ลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ จํานวน ุุุคน เนตรนารีสามญั รนุ่ ใหญ่ จาํ นวนุุ..คน รวมทงั้ สน้ิ ุุุุคน ต้ังแแตว่ ันทีุุุุ่.เดอื นุุุุุุุุพ.ศ. ุุุุุ.ถึง วนั ทีุ่.. เดอื นุุุุุุุุพ.ศุุุุุ.. โดยทาํ การสอบวิชาพเิ ศษ จาํ นวนุุุุ.วิชา ดังน้ี 1. วชิ าุุุุุุุุุุ.. 2. วิชาุุุุุุุุุุ.. 3. วิชาุุุุุุุุุุ.. บดั น้ี คณะกรรมการไดด้ าํ เนนิ การสอบวชิ าพิเศษ ลกู เสอื – เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ เปน็ ที่ เรียบรอ้ ยแลว้ ดังรายละเอยี ดทสี่ ง่ มาพรอ้ มน้ี จงึ เรียนมาเพอ่ื ขอได้โปรดพิจารณาอนมุ ตั ดิ ้วย จะเป็นพระคุณยิ่ง ขอแสดงความนบั ถอื ( ุุุุุุุุุุุุุุ. ) ผอู้ ํานวยการโรงเรียนุุุุุุุุุุุุ. 202208 คู่มคอื มู่สง่ือเสสง่รเิมสแรลิมะแพลัฒะพนาฒั กนจิ ากกรรจิ มกลรูกรเมสลอื กู ทเกั สษอื ะทชักวี ษติ ะในชวีสิตถาในนศสกึถษานา ศปกึ รษะเาภทลลกู กูเสเสอื ือสสาามมัญัญรรนุ่ ุ่นใใหหญญ่่ เคชร้ันอื่ มงหัธมยามยศลึกกู ษเสาอืปหที ล่ี 3วง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุุุ. รายช่ือลกู เสอื – เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ท่ีสอบวิชาพเิ ศษ ลําดับ ชื่อ –นามสกลุ ิวชาุุุุุ.ุุ ิวุชาุุุุุุุุุุ.ุุุ ิวุุชาุุ..ุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุุุ ิิิิววววุุุุุุุุชชชชาาาาุุุุุุุุ........ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ....ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ....ุุุุ.... ิิววุุุุุุชชาาุุุุุุ......ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ..ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ...ุุุ... ุุ..ุุุุุุุุุุุุุุ.ุ. ุุุุุุุุุุ.. ุุุุุุุุุุุุ. ุุุุุุุุุุุุ ุุุุุุุุุุุุ.. (ุุุุุุุุุุุ..) (ุุุุุุุุุุุ.) (ุุุุุุุุุุุ..) กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ คคมู่ มู่ อือื สส่ง่งเเสสรรมิิมแแลละะพพัฒัฒนนาากกจิ ิจกกรรรรมมลลูกเูกสเือสทือกัทษักะษชะวี ชิตวี ใตินใสนถสานถศานกึ ษศาึกษปาระลเภูกทเสลอื ูกสเสาอืมสัญารมุ่นญั ใรหุน่ ญให่ ญช่ น้ัเคมรธั อื่ ยงหมมศากึ ยษลาูกปเสที อื ่ี 3หลวง 209203 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

คาํ สัง่ โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุ.. ทีุุุุุุุ่./ุุุุุุุ. เรื่อง แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบวชิ าพเิ ศษลกู เสอื – เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ ********************************************** เพื่อใหก้ ารสอบวชิ าพิเศษลกู เสือ – เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่ จํานวนุุุุุุวชิ า ของ โรงเรียนุุุุุุุุุุุุุุ.ซึ่งดําเนินการสอบ ณุุุุุุุุุุุุุุ. ระหว่างวนั ทีุุุ่.เดอื นุุุุุุุ.พ.ศ. ถึง วันทีุุุ่เดือนุุุุุุุพ.ศุุุุ เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย และได้ผลสมความมุ่งหมายทกุ ประการ จึงแต่งตัง้ ให้ผมู้ นี ามตอ่ ไปนี้ เปน็ คณะกรรมการ คอื 1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. ประธานกรรมการ 2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. รองประธานกรรมการ 3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุ 4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุ 5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุ 6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวิชาุุุุุ 7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุ 8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการและเลขานุการ ท้งั นตี้ ัง้ แต่บดั นเ้ี ปน็ ต้นไป สัง่ ณ วันท่ี ุุุ. เดือน ุุุุุุุุุุุุุุ..พ.ศุุุุุุ. (ลงชื่อ) ุุุุุุุุุุุุุุุุ.. (ุุุุุุุุุุุุุุุ...) ผู้อาํ นวยการลูกเสอื โรงเรียนุุุุุุุุุุ. 220140 คคมู่ มู่ อื อื สสง่ ง่เสเสริมรมิแลแะลพะพฒั ัฒนานกาิจกกจิ รกรรมรลมูกลเสกู ือเทสอืกั ษทะักชษีวะิตชใีวนิตสใถนาสนถศาึกนษศากึ ปษราะเลภกูทเลสกู ือเสสือามสาญั มรญั ุ่นรในุ่หใญห่ญ่ชเค้ันรมื่อธั งยหมมศายกึ ลษูกาเปสอืีทหี่ 3ลวง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

หนังสอื รบั รองผลการสอบวิชาพิเศษลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ที่ ุุุุุุ./ุุุุุุุุ โรงเรียนุุุุุุุุุุุ วันท่ีุุุุเดือนุุุุุุ..พ.ศุุ... ขอรับรองว่า ุุุุุุุุุุุุุุ.เป็นลกู เสอื โรงเรียนุุุุุุุุุุุ สอบได้วิชาพเิ ศษลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่โดยการอนุมัตผิ ลการสอบของสํานักงานคณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แหง่ ชาติ ที่ ุุุุุุ./ุุุุุ.ลง วันที่ ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ และไดแ้ นบสาํ เนาหนังสืออนมุ ตั ิผลมาดว้ ยแล้ว โดยสอบไดว้ ชิ าพิเศษ ดงั นี้ 1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 9. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ (ลงชือ่ )ุุุุุุุุุุุุุุ. (ุุุุุุุุุุุุุ) ุุุุุุุุุุุุุุุุุ ค่มู ือคสมู่ ่งอื เสสร่งิมเสแรลิมะพแลัฒะนพาัฒกิจนการกรจิมกลรูกรเสมอืลทกู ักเสษือะทชีวกั ิตษใะนชสีวถติ าในนศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เเสสอือื สสาามมัญัญรรุ่นนุ่ ใใหหญญ่ ่เคชร่ือนั้ งมหัธมยามยลศูกึกเษสาอื ปหีทลี่ว3ง 221015 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

การเปดิ และปิดประชมุ กองลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ (1) พิธเี ปดิ ประชมุ กอง 1. การชักธงข้ึน 1.1ผกู้ าํ กับยนื ตรงหนา้ เสาธง ห่างจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว รองผกู้ ํากบั ลูกเสือยนื หลงั เสาธง ห่างประมาณ 1 กา้ ว 1.2 ผกู้ ํากบั เรยี กแถว \"กอง\" พร้อมกับใช้สัญญาณมอื เรียกแถวรปู ครง่ึ วงกลม (มอื แบทงั้ สองข้างเหยยี ดตรงลงข้างลา่ ง ควา่ํ ฝาู มือเขา้ หาลาํ ตัว แกวง่ ประสานกนั ด้านหนา้ ชา้ ๆ เป็น รปู ครึ่งวงกลม) 1.3 ลกู เสอื ทกุ คนรีบวิ่งมาเข้าแถวรูปครึง่ วงกลม (ลูกเสอื หมู่แรกยืนด้านซา้ ยมือ ของ ผู้กํากับ ฯ โดยนายหมู่หมู่แรกยืนเป็นแนวเดียวกับผู้กํากับ ฯ หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ ทางด้านซา้ ยมือของหมู่แรกตามลําดับ รองนายหมู่ของหมู่สุดท้ายยืนอยู่เป็นเส้นตรงแนวเดียวกับผู้ กาํ กับ ฯ และนายหมู่หมแู่ รก โดยถือวา่ ผกู้ าํ กับ ฯ เป็นจุดศูนย์กลาง ทุกคนอยู่ในท่าจัดแถว โดยการ ยกข้อศอกซ้ายขน้ึ มือทาบสะโพก นิ้วทั้งห้าเรียงชิดติดกันช้ีลงล่าง และสะบัดหน้าทางขวา ยกเว้น รองนายหมู่หมสู่ ุดทา้ ยไม่ต้องยกข้อศอกซ้าย) 1.4 ผู้กํากับส่ัง \"นิ่ง\" ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่า ตรง ระยะเคียงระหว่างบคุ คล 1 ชว่ งศอก ระยะเคยี งระหวา่ งหมู่ 1 ช่วงแขน 1.5 ผู้กํากับสั่ง \"ตามระเบียบ, พัก\" (ลูกเสือทุกคนแยกเท้าซ้ายออกไปทาง ข้างประมาณ 30 เซนติเมตร หรอื ประมาณเกือบคร่งึ ก้าวปกติอย่างแขง็ แรงและองอาจ มือขวาทถ่ี อื ไม้ งา่ มใหเ้ ลื่อน ขนึ้ มาเสมอเอว แล้วดันไม้ง่ามไปข้างหน้า เฉียงไปข้างขวาประมาณ 45 องศา มือซ้าย ไพล่หลัง โดยมือแบตามธรรมชาตินว้ิ เรียงชิดตดิ กัน) 1.6 ผู้กํากับสั่ง \"กอง, ตรง\" และผู้กํากับก้าวถอยหลังมายืนทางซ้ายหรือ ขวามือ และหนั หน้าเขา้ หาเสาธง ลกู เสอื ทุกคนดงึ ไมง้ ่ามเขาหาลําตัว มือขวาอยู่ระดับเอว แล้วเลื่อน มือลงมาอยูใ่ นท่าตรง พรอ้ มกบั ยกเท้ามาชิดเทา้ ขวา 1.7 ผกู้ ํากับสง่ั \"หมบู่ ริการชกั ธงขน้ึ \" หม่บู รกิ ารฝากไมง้ ่ามไวก้ บั คนข้างเคียง แล้ว วิง่ ออกไปพร้อมกนั (ลูกเสือออกวง่ิ ด้วยเท้าซ้ายก่อน วางปลายเท้าลงบนพ้ืน พร้อมกันน้ันยก มอื ข้นึ เสมอราวนมกํามือและหันฝูามือเข้าหาตัว ยืดอกและศีรษะตั้งตรง ขณะว่ิงแกว่งแขนท่ีงอตาม จังหวะก้าวไดพ้ อสมควร 1.8 ลูกเสือผู้ชักธงชาติทั้งสองวิ่งออกไปพร้อมกัน และหยุดยืนตรงหน้าเสาธง ประมาณ 3 กา้ ว วนั ทยหัตถแ์ ละลดมือลงพรอ้ มกัน ลูกเสือคนทางขวามือก้าวไปข้างหน้า 2 ก้าวและ ชิดเท้า แก้เชือกธง แล้วก้าวถอยหลัง 2 ก้าวกลับมายืนท่ีเดิม และชิดเท้ายืนตรง แยกเชือกส่งให้ ลกู เสอื คนทางซ้ายมือ (ธงชาติอยู่ทางขวามือของคนชักธงชาติเสมอ อย่าให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของธง ชาตแิ ตะพืน้ เป็นอันขาด) คนทางซ้ายมอื เป็นคนชักธงชาติ คนทางขวามือเป็นคนปล่อยเชือก ลูกเสือ ทงั้ สองคนยืนตรง ในขณะท่ีชกั ธงชาติเชือกทั้งสองดา้ นตงึ ตลอดเวลา จนกว่าธงชาตจิ ะขน้ึ สู่ยอดเสา 202612 คมู่ คือู่มสง่อื เสสง่รเิมสแรลมิ ะแพลฒั ะพนาฒั กนิจากกรรจิ มกลรกูรเมสลือูกทเกั สษือะทชักีวษติ ะในชวีสิตถาในนศสึกถษานา ศปกึ รษะเาภทลลกู ูกเสเสอื อื สสาามมัญญั รรุ่นุ่นใใหหญญ่่ เคชร้นั ื่อมงหัธมยามยศลกึ ูกษเสาือปหีทล่ี 3วง ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

1.9 ผู้กํากับส่ัง \"กอง, วันทยา-วุธ\" ผู้กํากับและรองผู้กํากับลูกเสือทุกคน วนั ทยหัตถ์ ลูกเสอื ทกุ คนวันทยาวธุ (ลูกเสือทาํ จังหวะเดียว โดยยกแขนซ้ายขน้ึ มาเสมอไหล่ ศอกงอ ไปขา้ งหน้าให้ตง้ั ฉากกบั ลาํ ตัว ฝูามอื แบคว่ํา รวบน้ิวหัวแมม่ ือกดทับนิ้วกอ้ ยไว้ คงเหลือนวิ้ ช้ี นว้ิ กลาง และน้วิ นาง เหยียดตรงและชิดกนั ใหข้ ้อแรกของนว้ิ ช้แี ตะไมง้ า่ มในร่องไหล่ขวา 1.10ลูกเสือหมู่บริการคนหนึ่งนําร้องเพลงชาติ \"ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อ ชาตเิ ชอ้ื ไทย\" ผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื และลกู เสือทุกคนรอ้ งเพลงพร้อมกัน \"เป็นประชารัฐ ผไทของไทยทุก ส่วนุ..\" จนจบเพลง พอเริ่มร้องเพลงชาติให้ลูกเสือคนทางซ้ายมือดึงเชือกให้ธงชาติข้ึนสู่ยอดเสา อย่างชา้ ๆ ให้เชือกตึง สว่ นคนทางขวามอื ค่อย ๆ ผอ่ นเชือกให้ธงชาตขิ ้นึ และเชอื กตึงเช่นเดียวกัน ผู้ ชักธงชาติจะต้องกะระยะว่าพอเพลงชาตจิ บ ใหธ้ งชาตถิ ึงปลายเสาพอดี เมอ่ื เสร็จเรียบรอ้ ยแล้วลูกเสือ คนทางขวามือรับเชอื กจากลูกเสอื ทางซา้ ยมอื มารวมกัน แลว้ กา้ วออกไปข้างหน้า 2 ก้าว และชิดเท้า ยืนตรงผูกเชือกธง ก้าวถอยหลัง 2 ก้าว และชิดเท้ากลับ มายืนตรงที่เดิม ลูกเสือท้ังสองยืนตรง วนั ทยหัตถแ์ ละลดมอื ลงพรอ้ มกัน (ผบู้ ังคับบัญชาลูกเสือทุกคนลดมือลง) ลูกเสือท้ังสองกลับหลังหัน วิ่งกลับับมมาาเเขข้า้าแแถถววใในนหหมมู่ขู่ ขอองงตตนนแลแะลระีบรนีบํานไ� ำมไ้งม่า้งม่ าทมี่ฝทา่ีฝกามกามทาําทท� ำ่าทวั่นา วทันยทาวยุธาอวยุ ธ่าองย่ า ง แ ข็ง แรงและ องอาจเช่นเดยี วกบั ลกู เสือในกอง (การกา้ วเขา้ ไปผูกและแก้เชือกธง เริม่ ตน้ ดว้ ยเท้าซ้าย) 1.11ผู้กํากับส่ัง \"เรียบ-อาวุธ\" ลูกเสือทุกคนลดแขนซ้ายลงมาอยู่ในท่าตรง โดยเร็ว 2. สวดมนต์ 2.1 ผกู้ ํากับสง่ั “ถอดหมวก” 2.2 ผู้กํากับสั่ง \"หมู่บริการนําสวดมนต์\" ลูกเสือนําไม้ง่ามมาไว้ระหว่างปลาย เท้าทั้งสอง แล้วพิงท่อนบนไว้กับแขนซ้ายด้านในซึ่งงอตรงศอกเสร็จแล้วใช้มือขวาจับที่หมวก ด้านหน้าแล้วถอดหมวก พร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมาประกบกับมือขวาในท่าพนมมือ ให้ด้านในของ หมวกหันไปทางซ้าย หน้าหมวกหันเข้าหาตัว ให้หมวกอยู่ระหว่างฝูามือทั้งสองและหนีบหมวกไว้ ผบู้ ังคับบญั ชาทุกคนถอดหมวกด้วย 2.32 ลูกเสือหมู่บริการคนหน่งึ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย นําสวดมนต์ย่อ ผู้บังคับบัญชา ลกู เสือและลกู เสือทกุ คนสวดมนต์ตามพรอ้ มกนั (สวดนาํ ) \"อรห สมมา สมพทุ โธ ภควา\" (สวดตาม) \"อรห สมมา สมพทุ โธ ภควา\" สวดนําและสวดตามจนจบ 3. สงบนงิ่ 3.1 ผู้กํากับสั่ง \"สงบนิ่ง\" (ลูกเสือลดมือขวาที่ถือหมวกไปอยู่กึ่งกลางลําตัว แขนเหยยี ดตรง พร้อมกับวางฝูามือซ้ายทับลงบนหลังมือขวา ก้มหน้าเล็กน้อย) สงบนิ่งประมาณ 1 นาที 3.2 ผ้กู าํ กบั สงั่ \"สวมหมวก\" ลูกเสือเงยหน้าข้ึน สวมหมวก แล้วใช้มือขวาจับ ไมง้ า่ ม มาอย่ใู นทา่ ตรง 3.3 ผู้กํากบั สั่ง \"กอง, ตามระเบียบ, พกั \" ผู้กํากับกา้ วเดนิ ไปยืนตรงที่หนา้ เสา ธงเช่นเดิม คค่มู ือมู่ สือง่สเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะฒั พนฒั านกจิากกรจิ รกมรลรกูมเลสูกือเทสักอื ษทะกัชษวี ติะชในวี สติ ถในานสศถกึ าษนาศกึปษระาเภลทูกลเสกู เอื สสอื าสมาัญมญัรุน่ รนุ่ใหใหญญ่ ่ เชคนั้ รม่ืองธั หยมมาศยกึ ลษกู เาสปือีทห่ี ล3วง 212307 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3

4. ตรวจ การตรวจมี 2 ประเภท คือ รองผู้กํากับตรวจและนายหมู่ตรวจ โดยมี ข้อเสนอแนะ ในการตรวจ ดังน้ี ก. ถ้าเป็นการตรวจในตอนเปิดประชุมกอง จะตรวจในเรื่องความสะอาด สขุ ภาพของร่างกาย อุปกรณท์ ีผ่ กู้ ํากบั ส่งั ให้เอามาในการเรียนการสอน ข. ถ้าเป็นการตรวจในตอนปิดประชุมกอง จะตรวจเครื่องแบบเครื่องแต่ง กาย เพราะลูกเสอื จะต้องเดินผา่ นชมุ ชน ตลาด หากแต่งตัวไมเ่ รยี บร้อย อาจจะถกู ตาํ หนิแก่คนพบเหน็ ได้ 4.1 รองผ้กู ากับ 4.1.1 ผู้กํากับสั่ง \"รองผู้กากับตรวจ เชือก \" รองผู้กํากับทุกคนวิ่ง ออกไปหาผู้กาํ กับ วนั ทยหตั ถ์และลดมือลง ผู้กํากบั รับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์และลดมอื ลงเม่ือรอง ผู้กํากบั ลดมือลง (รองผกู้ ํากับว่งิ ไปทาํ ความเคารพผู้กํากับก่อนตรวจน้ัน จะต้องพิจารณาจังหวะให้ดี อย่าทาํ ความเคารพพรอ้ มกัน) รองผู้กํากบั วง่ิ ไปตรวจหม่ลู กู เสือทนั ที 4.1.2 รองผู้กํากับหยุดยืนตรงข้ามนายหมู่ ห่างจากนายหมู่ประมาณ 3 ก้าว นายหมู่ส่ัง \"หมูุ่..ตรง, วันทยา-วุธ\" ลูกเสือทุกคนวันทยาวุธ นายหมู่เรียบอาวุธ ก้าว ออกไป 1 ก้าว วนั ทยาวธุ พร้อมกบั กล่าวรายงาน \"หมูุ่..พร้อมทจ่ี ะรบั การตรวจแล้วครับ\" (รอง ผูก้ ํากบั รับการเคารพดว้ ยวนั ทยหตั ถเ์ ม่ือนายหม่รู ายงาน และลดมือลงเมื่อรายงานจบ) นายหมู่เรียบ อาวุธ ก้าวถอยหลัง 1 ก้าวและชิดเท้ามายืนตรงท่ีเดิม นายหมู่วันทยาวุธและส่ังลูกเสือในหมู่ต่อไป \"เรียบ-อาวุธ\" 4.1.3 รองผู้กํากับก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว และชิดเท้า ตรวจนายหมู่ เป็นคนแรก 4.1.4 รองผู้กํากับส่ังนายหมู่ \"เดนิ ตามข้าพเจ้า\" ตรวจลูกเสือคนแรกและ คนต่อ ๆ ไป การเดนิ ตรวจ รองผู้กํากับก้าวเทา้ ขวาไปทางขา้ งขวา 1 กา้ ว แล้วชกั เทา้ ซา้ ยไปชิดอย่าง แขง็ แรง ก่อนนายหมกู่ ้าวไปทางข้างขวา ใหย้ กไม้งา่ มขึ้นประมาณ 1 คืบ ก้าวเทา้ ขวาไปทางข้างขวา 1 ก้าว แล้วชักเท้าซ้ายไปชิดอย่างแข็งแรง แล้วต้ังไม้ง่ามลงกับพ้ืน ยืนในแนวเดียวกับรองผู้กํากับ ก้าว 1 กา้ วตรวจลูกเสือ 1 คน เมื่อตรวจลูกเสือถึงคนสุดท้ายแล้ว ให้นายหมู่ลูกเสือและรองผู้กํากับ ลกู เสอื เดินยอ้ นกลับทีเ่ ดิมเหมือนตอนแรก นายหมู่ยืนตรงส่ัง \"วันทยา-วุธ\" และกล่าวว่า \"ขอบคุณ ครับ\" (ยืนอยกู่ บั ทไ่ี มต่ ้องกา้ วออกไป) รองผกู้ ํากับรับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์และลดมอื ลง นายหมู่ สั่งตอ่ ไป \"เรยี บ-อาวธุ , ตามระเบียบ, พกั \" 4.2 นายหมู่ตรวจ ในการประชุมกองลูกเสือ บางคร้ังรองผู้กํากับไม่มาจําเป็นต้องให้นายหมู่ ตรวจแทน แนวปฏิบัติ คือ ผู้กํากับส่ัง \"นายหมู่ตรวจ\" นายหมู่ทุกคนก้าวออกไปข้างหน้าหมู่ของ 202814 คมู่ คือมู่สง่ือเสสง่รเิมสแรลมิ ะแพลัฒะพนาัฒกนจิ ากกรรจิ มกลรูกรเมสลอื ูกทเกั สษือะทชักวี ษติ ะในชีวสิตถาในนศสึกถษานา ศปึกรษะเาภทลลูกกูเสเสือือสสาามมัญญั รร่นุ ่นุ ใใหหญญ่่ เคชร้ันอ่ื มงหัธมยามยศลึกูกษเสาือปหีทลี่ 3วง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

ตนเอง 3 ก้าว รองนายหมู่วง่ิ ออ้ มหลงั หมมู่ ายืนแทนทีน่ ายหมู่ และทาํ หนา้ ทีน่ ายหมู่ และทาํ การตรวจ แบบรองผกู้ าํ กับ ในขอ้ 4.1.4 โดยทําเหมอื นกับรองผกู้ ํากับทุกประการ 4.3 การรายงานการตรวจ 4.3.1 รองผกู้ ากับรายงาน เมือ่ นายหมลู่ กู เสอื ขอบงคุณรองผู้กํากับ ภายหลังการตรวจเรียบร้อย แล้ว รองผู้กํากับกลับหลังหันทําวันทยหัตถ์ พร้อมกับกล่าวรายงานต่อผู้กํากับว่า \"ข้าพเจ้าได้รับ มอบหมายจากผู้กากับให้ไปตรวจ เชือก หมู่ ปรากฎว่า และได้ตักเตือนแล้ว, ครับ\" เสร็จแล้วว่ิงกลับมาดา้ นหลังเสาธง รองผู้กํากบั คนต่อไปกร็ ายงานตอ่ ๆ ไป (รองผูก้ ํากบั เมื่อตรวจ เสร็จแลว้ ใหร้ ายงานผลการตรวจไดเ้ ลย ไม่ต้องรอให้เสร็จทกุ หมูก่ ่อนจึงคอ่ ยรายงาน) 4.3.2 นายหมู่ลกู เสือรายงาน เม่ือนายหมู่ลกู เสอื คนใดตรวจเสร็จแล้ว ใหย้ นื ตรงหน้าหม่ขู องตนเอง โดยหันหน้าไปหาผู้กํากับ และรอให้นายหมู่ลูกเสือทุกหมู่ตรวจเสร็จเรียบร้อยเสียก่อน เมื่อนายหมู่ ลูกเสอื ตรวจเสรจ็ เรยี บรอ้ ยทกุ หมู่แล้ว นายหม่ลู กู เสอื ทกุ คนวง่ิ ออกไปเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว ตรงข้ามผู้กาํ กบั พรอ้ มกัน หา่ งจากผูก้ าํ กบั ประมาณ 3 กา้ ว นายหมู่ลูกเสือหมู่บริการยืนหัวแถว นาย หมู่ลกู เสือหม่อู นื่ ๆ เรยี งไปตามลําดับ โดยอยู่ในท่าตามระเบียบพกั ผูก้ าํ กับยืนกึ่งกลางของแถว ผู้กํากับสั่ง \"นายหมู่รายงาน\" นายหมู่ลูกเสือหมู่บริการรายงานผลการตรวจเป็นคน แรก นายหมู่ลูกเสือยืนตรง, วันทยาวุธและเรียบอาวุธ ก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว หันหน้าไปหาผู้ กํากับ วันทยาวุธ พร้อมกับกล่าวรายงาน \"ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายจากผู้กากับให้ไปตรวจ เชอื ก หมู่ ปรากฎว่า และได้แนะนาให้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว, ครับ\" เมื่อจบการรายงาน นาย หมู่เรียบอาวุธ ถอยกลับเขา้ ที่ แล้วทําวนั ทยาวุธ แล้วเรียบอาวุธ, ตามระเบียบพัก นายหมู่คนอื่น ๆ ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกัน จนกระทั่งการรายงานผลการตรวจเสร็จเรียบร้อย ผู้กํากับส่ัง \"กลับท่ีเดิม- วิ่ง\" นายหมู่ทุกคนทําวันทยาวุธและเรียบอาวุธพร้อมกัน กลับหลังหันมายืนในหมู่ของตนเองใน ตําแหน่งเดมิ รองนายหมวู่ ิง่ อ้อมหลังหมกู่ ลับมายนื ทาํ หนา้ ทรี่ องนายหมู่ตามเดิม 5. แยก ผู้กํากับส่ัง \"กอง-ตรง, กอง-แยก\" ลูกเสือทุกคนขวาหันแล้วแยกไปปฏิบัติ กิจกรรมอืน่ ต่อไป (2) เกม-เพลง เกมหรือการเล่นของลูกเสือเป็นอุปกรณ์ที่สําคัญท่ีสุดอย่างหน่ึงในการฝึกอบรม ลูกเสือ ทุกประเภท ทัง้ ในทางจติ ใจและในการบริหารร่างกาย เกมช่วยพัฒนาเด็กในเร่ืองนิสัยใจ คอ อารมณ์ดี นาํ้ ใจ นกั กฬี า การรกั หมู่คณะ ความอดทน ระเบยี บวนิ ยั และความไมเ่ ห็นแก่ตัว ทุก คร้ังที่มีการประชุมกองจะต้องมีการจัดการให้เด็กเล่นเกมเพื่อบริหารร่างกายเป็นการฝึกอบรมเด็ก ในทางจิตใจไปในตัว เกมที่ใช้จะต้องเลือกเกมที่เหมาะสมต่อวัยของเด็กด้วย หรือการร้องเพลงเพ่ือ คค่มู อืมู่ สือง่สเ่งสเรสิมรแมิ ลแะลพะฒั พนฒั านกจิากกริจรกมรลรูกมเลสกูือเทสักอื ษทะักชษวี ติะชในวี สติ ถในานสศถกึ าษนาศกึปษระาเภลทกู ลเสกู เือสสือาสมาัญมัญรนุ่ ร่นุใหใหญญ่ ่ เชค้นั รมอ่ื งัธหยมมาศยกึ ลษูกเาสปือที ห่ี ล3วง 212509 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3

เป็นการปลุกใจ คลายอารมณ์ กอ่ ให้เกดิ ความร่าเรงิ บันเทิงใจ และการรอ้ งเพลงเป็นเพลงหมู่หรือร้อง พร้อม ๆ กัน เพ่อื เปน็ การสง่ เสริมความสามัคคี (3) การสอนตามเนื้อหา ผู้กํากับลูกเสือจะกําหนดเน้ือหาตามหลักสูตร ซ่ึงเขียนเป็นแผนการสอนหรือ โครงการสอน ในแตล่ ะคาบจะกาํ หนดเนื้อหาสําหรับเขียนไว้ในการประชุมกอง การสอนอาจจะสอน เป็นฐาน แลว้ มีการเปลีย่ นฐาน โดยกําหนดเวลาให้ อาจจะมี 1 ฐานหรอื มากกวา่ ก็ได้ ขนึ้ อยู่กับลูกเสือ และความเหมาะสมต่าง ๆ สว่ นเทคนคิ การสอนอาจจะเป็นแบบบรรยาย อภิปราย สาธิต หรือปฏิบัติ จริง แล้วแตเ่ นือ้ หาที่กําหนด หรอื อาจจะใหน้ ายหม่สู อนภายในหมู่ตนเองก็ได้ การรายงานเพ่อื เข้าฝกึ ตามฐาน การฝึกลูกเสือตามฐานต่าง ๆ น้ัน ให้จัดฐานแต่ละฐานเป็นวงกลมหรือรูปเหลี่ยมมี ศูนยก์ ลาง ระยะทางระหว่างฐานควรเทา่ กนั เส้นทางการเดินทางใหส้ ะดวก บางฐานอาจมีเสน้ ทางเขา้ สู่ฐานไมต่ อ้ งตรงอ้อมสิ่งปลูกสร้าง พุ่มไม้ หรือบ่อนํ้า ก็จงคํานึงถึงเวลาเดินทางให้เท่ากับฐานอื่น ๆ มิฉะนัน้ แลว้ ลกู เสือจะเสียเวลา เดินทางมาก ไมไ่ ดร้ บั ความรู้ในฐานนัน้ เต็มท่ี การเคล่ือนท่ีเข้าฐานนิยมเคล่ือนโดยเวียนขวา คือ ไปตามเข็มนาฬิกา ฉะน้ัน ผู้อยู่ ประจําฐาน (วิทยากร) จะต้องหันหน้าเข้าสู่จุดศูนย์กลางของวงใหญ่ เมื่อลูกเสือฝึกครบเวลามี สญั ญาณปลอ่ ยตวั แล้ว จะเขา้เขแถ้าแวถหวนห้ากนร้าะกดราะนดาทนำ� ขทวําาขหวนั าหแันลว้ แเคลล้วอ่เื คนลทื่อต่ี นาทม่ีตนามยนหามยไู่ หดเ้มล่ไู ยด้เลย การเขา้ ฐานคร้ังละหลายหมู่ แตล่ ะหมนู่ ัน้ นายหมตู่ อ้ งรายงานเองทกุ หมู่ แต่รายงานทีละ หมู่ มบิไมัง่ควรทจี่ ะใหห้ ม่ใู ดหมหู่ นง่ึ รายงานรวมหนเดียว เพราะนายหม่จู ะส่ังการได้เฉพาะลูกหมตู่ นเอง เท่านั้น หากมีการเข้าฐานมากหมู่จนเกินไปจะเสียเวลามาก ก็เปลี่ยนการเข้าฐานแบบวิทยากร เคลอื่ นท่ีไปหาลกู เสอื ซงึ่ แบบน้ีจะสามารถมผี ูแ้ ทนส่ังเคารพคนเดียวไดเ้ สมือนครเู ข้าห้องสอน 1. การรายงานกรณที กุ คนมอี าวุธ เม่อื นายหมนู่ ําลกู หมไู่ ปถงึ ผปู้ ระจําฐานให้เขา้ แถวหนา้ กระดาน โดยนายหมู่ยืน ตรงหนา้ ผปู้ ระจําฐาน นายหมูน่ ่งั \"หมุู่ ..ตรง, วนั ทยา-วธุ \" เฉพาะนายหมูเ่ รยี บอาวธุ กา้ วเข้าไป หาผู้ประจําฐาน 1 ก้าว ทําวันทยาวุธ แล้วรายงานว่า \"หมูุ่..พร้อมที่จะรับการฝึกแล้วครับ\" รายงานเสร็จทาํ เรยี บอาวุธ แล้วถอยหลัง 1 ก้าวเข้ามาในแถว ทําวันทยาวุธไว้ให้เหมือนลูกหมู่ แล้ว สงั่ \"เรียบ-อาวธุ \" และสั่ง \"ตามระเบียบ-พกั \" (ชว่ งนี้วทิ ยากรประจําฐานควรส่ัง \"พกั แถว\" ก่อนก็ได้) จากน้ันผู้ประจําฐานจะเริ่มสอนหรือฝึก ทางท่ีดีผู้ประจําฐานควรจะสั่ง \"ตรง\" และสั่ง \"พักแถว\" ก่อนจึงเริ่มสอนกจ็ ะเป็นการเหมาะสมมาก เพราะการสอนนน้ั ลูกเสือยอ่ มอยู่ในท่าพักตาม ระเบยี บไม่ได้ สําหรับผปู้ ระจาํ ฐานเมื่อนายหมูส่ งั่ \"วันทยา-วุธ\" ก็รบั การเคารพดว้ ยวันทยหัตถ์ และก็ ค้างอยู่อย่างน้ันจนกว่านายหมู่จะก้าวออกมาและรายงานจบ เมื่อนายหมู่รายงานจบเรียบอาวุธ ผู้ กํากบั จะลดมอื ลงพร้อมกนั ตอนนี้ (มิใชค่ อยลดมือลงพร้อมลูกเสือในแถว) 212016 คู่มคอื ูม่สง่อื เสสง่รเิมสแรลิมะแพลฒั ะพนาัฒกนจิ ากกรริจมกลรูกรเมสลอื กู ทเกั สษือะทชกั ีวษติ ะในชีวสิตถาในนศสึกถษานา ศปกึ รษะเาภทลลกู ูกเสเสืออื สสาามมญั ัญรรุ่นุ่นใใหหญญ่่ เคชรนั้ ่อื มงหธั มยามยศลึกูกษเสาือปหีทลี่ 3วง ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

2. การรายงานกรณีมอี าวธุ เฉพาะนายหมู่ การเขา้ เรยี นตามฐานบางกรณนี ้นั เพ่ือความสะดวกผู้กํากับหรือผู้สอนวิชาอาจ สงั่ ให้ ลกู เสอื รวมอาวธุ ไว้ ใหน้ ําติดตวั ไปเฉพาะนายหมกู่ ไ็ ด้ หรือการเข้าค่ายพักแรมกรณที ีน่ ําอาวุธ ไปเฉพาะนายหมู่ เพราะไม่สามารถนาํ พลอง ไม้งา่ ม จาํ นวนหลายรอ้ ยอนั ไปได้ กรณีน้ีนายหมู่ส่งั \"หมุู่ ..ตรง\" สาํ หรับตวั นายหม่นู ัน้ เมื่อตรงแล้วให้ทําวนั ทยาวธุ -เรยี บ อาวุธ ก้าวเขา้ ไปหาผู้ประจําฐาน 1 กา้ ว แลว้ ทําวนั ทยาวธุ อีก รายงาน เม่อื รายงานจบเรยี บอาวุธ แล้ว ถอยหลังเข้าท่ีในแถวอยู่ในท่าตรงเหมือนลูกหมู่ แล้วสั่ง \"ตามระเบียบ-พัก\" ท้ังนี้ ไม่ต้องทํา วนั ทยาวุธอีกครง้ั เพราะขณะนน้ั อย่ใู น ท่าตรงเหมือนลกู หมแู่ ลว้ สาํ หรบั ผปู้ ระจําฐาน ใหร้ บั การเคารพด้วยวันทยหตั ถ์ พรอ้ มกับลูกเสือในแถวเคารพด้วย ท่าตรง และวนั ทยหตั ถ์คา้ งอยจู่ นกวา่ นายหมูจ่ ะรายงานจบ จึงเอามือลงพร้อมกับนายหมู่เรียบอาวุธ ตอนรายงานจบ 3. การรายงานกรณไี ม่มอี าวุธทัง้ หมด นายหม่จู ะสั่ง \"หมุู่ ..ตรง\" เฉพาะนายหมนู่ ายหมู่เม่ือตรงแล้วก็ทําวันทยหัตถ์ ลดมือลง ก้าวเข้าไปรายงาน ขณะรายงานก็ทําวันทยหตั ถ์ รายงานว่า \"หมูุ่ ..พร้อมท่ีจะรบั การฝึก แล้วครับ\" รายงานแล้วลดมือลงถอยหลังเข้าไปในแถว อยู่ในท่าตรงเหมือนลูกหมู่ แล้วส่ัง \"ตาม ระเบียบ-พัก\" (ถอยเข้าไปในแถวแล้วไม่ตอ้ งทาํ วนั ทยหัตถอ์ กี ) สาํ หรับผูป้ ระจําฐานให้รับการเคารพดว้ ยวนั ทยหตั ถ์ ตอนท่ีลกู เสอื เคารพด้วยท่า ตรง ทําวนั ทยหตั ถ์คา้ งไวจ้ นกว่านายหมูจ่ ะรายงานจบและลดมอื ลง จงึ ลดมือลงพรอ้ มกับนายหมู่ 4. การเข้าฐานกรณผี ปู้ ระจาฐานเคลอื่ นท่เี อง การสอนแบบน้ีเหมาะสาํ หรบั มลี กู เสือจํานวนมาก เมื่อแบ่งฐานแล้วจะได้ฐานละ หลายหมู่ หากจะใหล้ ูกเสอื เคล่ือนท่จี ะเสยี เวลามาก จงึ ควรจัดใหล้ กู เสืออยเู่ ป็นกลมุ่ กลมุ่ ละหลาย ๆ หมู่ กรณีนี้ไม่ต้องมีการรายงาน ให้ทําเหมือนครูเดินเข้าห้องสอน เมื่อผู้ประจําฐานเข้าไป ลูกเสือก็ทําความเคารพ โดยผู้กํากับจะแต่งต้ังหัวหน้านายหมู่ชั่วคราวไว้เป็นผู้สั่งเคารพ โดยสั่งว่า \"ลกู เสือ-ตรง, วันทยา-วธุ , เรยี บ-อาวธุ , ตามระเบยี บ-พกั \" แต่ถ้าในสนามมอี าวุธเฉพาะนายหมู่ (หลายหมู)่ กส็ ง่ั วา่ \"ลูกเสือ-ตรง\" เฉย ๆ แต่นาย หมู่ทกุ คนที่มอี าวุธอยูแ่ ล้ว เม่อื ตรงแลว้ ก็ทําวนั ทยาวธุ เรยี บอาวุธเองโดยไม่มใี ครสั่ง สาํ หรับผปู้ ระจําฐาน เม่อื เขา้ ไปเขาสง่ั เคารพกร็ บั การเคารพตามธรรมดา (วนั ทยหตั ถ์ ลด มือลงเลย เพราะไมม่ ีการรายงาน) จะเหมอื นกับครเู ขา้ สอนในหอ้ งเรียน 5. การลาฐานเม่อื หมดเวลา นายหมู่เปน็ ผูส้ ่งั โดยออกคาํ ส่ังว่า \"หมูุ่..ตรง, วันทยา-วุธ (นายหมู่คนเดียว กล่าวว่า \"ขอบคุณ-ครบั \") เรยี บ-อาวุธ, ขวา-หัน, ตามขา้ พเจา้ \" แตห่ ากมอี าวธุ เฉพาะนายหมู่ ก็เพยี งสัง่ \"หมูุ่..ตรง (ตนเองทําวันทยาวธุ แล้วกลา่ วว่า \"ขอบคุณครับ, เรยี บอาวุธ\") ขวาหัน, ตามขา้ พเจา้ \" คคู่มอืูม่ สือ่งสเ่งสเรสมิ รแิมลแะลพะฒั พนัฒานกิจากกริจรกมรลรกูมเลสูกอื เทสกั อื ษทะักชษีวติะชในีวสติ ถในานสศถึกาษนาศึกปษระาเภลทูกลเสกู เือสสอื าสมาัญมัญรนุ่ รุ่นใหใหญญ่ ่ เชคน้ั รม่อื งธั หยมมาศยึกลษกู เาสปือที หี่ ล3วง 212711 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3

(4) ผู้กากับเล่าเร่อื งส้ันท่เี ป็นประโยชน์ ผกู้ าํ กบั ควรจะหาเร่ืองสั้นหรือนิทานมาเล่าให้ลูกเสือฟัง เพื่อแทรกคติธรรมต่าง ๆ โดยที่ ลูกเสือได้รับไปปฏิบัติโดยไม่รู้ตัว ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความนับถือ ความสนิทสนม ความเป็น กันเอง เพื่อใหล้ กู เสอื เกดิ ความกล้า ความสามัคคี เกิดความรกั ชาติ เสยี สละ กตัญํู (5) พธิ ปี ิดประชุมกอง 1. นดั หมาย 1.1 ผู้กํากับยืนตรงหน้าเสาธง ห่างจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว รองผู้กํากับ ลกู เสือทุกคนยืนหลังเสาธง หา่ งประมาณ 1 ก้าว 1.2 ผู้กํากับเรียกแถว สั่ง \"กอง\" พร้อมกับใช้สัญญาณมือเรียกแถวรูปครึ่ง วงกลม (มือแบทั้งสองข้าง เหยียดตรงลงข้างล่าง คว่ําฝูามือเข้าหาลําตัว แกว่งแขนประสานกัน ด้านหน้าชา้ ๆ เเปป็น็นรรปู ูปครคง่ึ รวึ่งวกงลกมล)ม) 1.3 ลูกเสือทุกคนรีบวิ่งมาเข้าแถวรูปคร่ึงวงกลม (ลูกเสือหมู่แรกยืนด้านซ้าย ของ ผกู้ าํ กับลกู เสอื โดยนายหมหู่ ม่แู รกยืนอยเู่ ป็นแนวเดียวกับผู้กํากับลูกเสือ หมู่ที่ 2 และหมู่ ต่อ ๆ ไปอยู่ทางด้านซ้ายมือของหมู่แรกตามลําดับ รองนายหมู่ของหมู่สุดท้ายอยู่เป็นเส้นตรงแนว เดียวกบั ผ้กู ํากบั ลูกเสอื และนายหม่หู มูแ่ รก โดยถอื ว่าผู้กาํ กบั ลูกเสือเปน็ จดุ ศูนย์กลาง ทุกคนอยู่ในท่า จัดแถว โดยการยกข้อศอกซ้ายข้ึนมาทาบสะโพก น้ิวทั้งห้าเรียงชิดติดกันชี้ลงล่าง และสะบัดหน้า ทางขวา ยกเว้นนายหมู่ของหมู่แรกไม่ต้องสะบัดหน้า และรองนายหมู่หมู่สุดท้ายไม่ต้องยกข้อศอก ซา้ ย) 1.4 ผู้กํากบั ส่ัง \"น่ิง\" (ลูกเสือทุกคนลดแขนลงพร้อมกับสะบัดหน้ามาอยู่ในท่า ตรง ระยะเคยี งระหว่างบุคคล 1 ช่วงศอก ระยะเคยี งระหวา่ งหมู่ 1 ชว่ งแขน) 1.5 ผกู้ าํ กบั สง่ั \"กอง, ตามระเบียบ, พัก\" (ลูกเสือทุกคนแยกเท้าซ้ายออกไป ทางซ้ายประมาณ 30 เซนติเมตร หรอื ประมาณเกอื บครึง่ ก้าวปกตอิ ย่างแข็งแรงและองอาจ มือขวาที่ ถือไม้ง่ามใหเ้ ลอ่ื นขนึ้ มาเสมอเอว แล้วดันไมง้ ่ามไปขา้ งหน้า เฉียงไปข้างหน้าประมาณ 45 องศา มือ ซ้ายไพลห่ ลงั โดยตวั มือแบตามธรรมชาติ นว้ิ เรียงชิดติดกัน 1.6 ผู้กํากับนัดหมาย เร่ืองท่ีนัดหมาย คือ เร่ืองที่จะต้องให้ลูกเสือเตรียม อุปกรณ์ ในการฝกึ อบรมครงั้ ต่อไป เชน่ ครง้ั ต่อไปจะฝึกอบรมเรื่องเงื่อนลกู เสอื เตรยี มเชอื ก 2. ตรวจ สําหรบั การตรวจตอนปิดประชมุ กองจะตรวจเครื่องแบบ เครื่องแต่งกาย เพราะ ลูกเสอื จะต้องเดนิ ผา่ นชมุ ชน ตลาด ถา้ หากแตง่ ตวั ไมเ่ รยี บร้อยอาจจะถูกตาํ หนแิ กผ่ ู้ทพ่ี บเห็นได้ 2.1 รองผู้กากบั ตรวจ 2.1.1 ผู้กํากับสั่ง \"รองผู้กากับตรวจเครื่องแบบ\" รองผู้กํากับทุกคนวิ่ง ออกไปหาผูก้ ํากับ วันทยหตั ถ์ และลดมือลง ผู้กํากับรับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์และลดมือลง เมื่อ รองผูก้ ํากบั ลดมอื ลง รองผูก้ ํากบั วิ่งไปตรวจหมู่ลูกเสือทนั ที 212218 คมู่ คอื มู่ส่งอื เสสง่รเิมสแรลมิ ะแพลฒั ะพนาัฒกนจิ ากกรริจมกลรกูรเมสลือกู ทเกั สษอื ะทชกั วี ษติ ะในชีวสติถาในนศสกึถษานา ศปึกรษะเาภทลลกู ูกเสเสืออื สสาามมัญัญรรนุ่ ุน่ ใใหหญญ่่ เคชรนั้ อ่ื มงหัธมยามยศลกึ ูกษเสาอืปหีทล่ี 3วง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

2.1.2 รองผกู้กำ� ํากกบั ับหหยยดุ ุดยยตื ืนตรงขขา้ามมนนาายยหหมมู่ หู่ หา่ ง่าจงาจกานกานยาหยมหปู่ มรู่ปะมราะณมา3ณกา้ 3ว นก้ายวหมู่สนงัา่ ย“หหมมู่สู่.่ั.ง...\"ตหรมงูุ่, ว..นัตทรงย,า-วันุธ”ทยลาูก-เวสุธอื \"ทุกลูกคเนสือลทูกุกเสคอื นทวุกันคทนยวานั วทุธยนาาวยุธหนมาู่เยรียหบมอู่เรายี วบุธอกา้าววุธ กออ้าวกอไปอกไ1ปก1้าวกว้าันวทวยนัาวทุธยาพวรุธ้อมพกรับ้อกมลก่าับวกว่าล่า\"วหวม่าูุ่“.ห.พมรู่.้อ..ม..พทรี่จ้อะรมับทกีจ่ าะรรตบั รกวาจรแตลร้ววคจรแับล\"้ว(ครอรบงั ผ”ู้ (กราํ อกงบั ผรู้กับ�ำกกาบั รรเคบั ากราพรดเคว้ ายรวพันดท้วยยหวตั นั ถท์ เยมห่ือตั ถ์ เนมา่อื ยนหามยูร่ หายมงู่รานยแงาลนะลแดลมะลอื ดลงมเอืมลื่องนเามย่อื หนมา่รูยาหยมงู่ราานยจงบา)นนจาบย) นหามยู่เรหยี มบเู่ รอยี าบวอุธากว้าธุ วกถา้ อวยถหอลยังหล1งั ก1้ากวา้ แวลแะลชะิดชเดิทเ้าทกา้ ลกับลมบั ามยาืนยในื นใทนท่าตา่ ตรงรงททาํ วำ� วนั นัททยยาาววธุ ธุ แแลละะสสัง่ งั่ลลูกกู เเสสอื อื ในหมู่ ตอ่ ไป “\"เรียบบ--ออาาววธุ ธุ ”\" 2.1.3 รองผู้กํากับก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว และชิดเท้า ตรวจนายหมู่ เปน็ คนแรก โดยมขอ้ เสนอแนะในการตรวจ ดังน้ี การตรวจเคร่ืองแบบ นายหม่เู ปน็ คนแรกจะตอ้ งถูกตรวจด้านหนา้ ซ่ึงจะตรวจในเรือ่ งต่อไปนี้ 1) หมวก ทรงออ่ นสเี ลอื ดหมู มตี ราหน้าหมวกรูปตราคณะลูกเสือแห่งชาติ ทําด้วยโลหะสีทอง เวลาสวสมวมหหมมวกวกใหใหต้ ้ตรารหาหนน้าหา้ หมมววกกออยยู่เหเู่ หนนืออืคค้วิ ิว้ซซ้าา้ยยหหมมววกกตต้ออ้ งงมมขี ขี นนาาดดเเหหมมาาะะสสมมกกบั บั ศศรีรษษะ และสวมปิด ไรผมทั้งหมด 2) เสือ้ เป็นเส้อื เชิ้ตแขนสน้ั สีกากี คอมีปก ผา่ อกตลอด มดี มุ ติดตลอด มสี าบท่ีหน้าอก เหนือ กระดุมเมด็ ท่หี นึ่งนับจากคอเส้อื ลงมาเลก็ นอ้ ย มีกระเป฼าสองกระเป฼าติดท่ีอกเสื้อท้ังสองข้าง กึ่งกลาง กระเป๋฼าามมีจีจีบีบจจีบีบออยู่ยในู่ใแนถแวถยวืนยถืนึงถปึงาปกากกรกะเรปะ฼าเปเ๋ คา รื่เอคงรห่ือมงาหยมนายนหามยู่มหีแมถู่วมผีแ้าถสวีเผลื้อาสดีเหลมือู่กดวห้ามงูกว1้า.5ง 1เซ.5นตเซิเมนตตริเมยตาวรเทยา่ ากงรเทะเ่าปก฼ารเะสเ้ือป๋ าเส้อื 22แแถถบบ ตติดดิ ออยยู่รู่ริมมิ กกรระะเเปป฼า๋ าตตาามมแแนนววยยาาวงกกรระะเเปป฼า๋ าซซ้า้ายย กระเป๋฼ามี ปกรูปมนกลางแหลม เจาะรูรังดุมสําหรับกลัดดุมท่ีติดอยู่ท่ีกระเป฼า บนไหล่มีอินทรธนูสีเลือดหมู ปลายอินทรธนูมีอกั ษร \"ล.ญ.\" ปาฺ ยชื่อโรงเรยี นเปน็ ผา้ โคง้ ไปตามตะเข็บไหล่ ตดิ ตํ่ากว่าไหล่ข้างขวา 1 เซนติเมตร แผ่นปฺายบอกชื่อกลุ่ม กอง ติดอยู่กลางปฺายชื่อโรงเรียน (ตัวขาวพื้นแดง) ส่วน เครื่องหมายหมทู่ าํ ด้วยผา้ ส่ีเหลยี่ มจัตรุ ัส ยาวดา้ นละ 3.5 เซนตเิ มตร มีรูปสามเหล่ยี ม 2 รูป สตี าม สีประจําหมลู่ กู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ ขลบิ สีเลอื ดหมู ตดิ ทไ่ี หล่เสอ้ื ขา้ งซ้ายใตต้ ะเขบ็ 1 เซนติเมตร กระดุม เสื้อกลัดหมด ผ้าผูกคอเป็นรูปสามเหลี่ยมม้วนพับตามแนวทะแยงให้เรียบ ม้วนเหลือชายประมาณ หน่ึง ฝูามือ ให้รอยพับอยู่ด้านใน รวบชายผ้าผูกคอไว้ด้านหน้า แล้วสวมปลอกตราคณะลูกเสือ แหง่ ชาติ ให้ปลอก ห่างจากคางระยะ 1 กํามอื ของตนเอง สายนกหวดี สีเหลืองสวมทับผ้าผูกคอ เก็บ นกหวีดไว้กระเป฼าซ้าย 3) กางเกง สกี างเกงเช่นเดยี วกบั เสือ้ ขาส้นั แบบไทย ริมขอบขาห่างจากก่ึงกลางสะบ้าหัวเข่า 5 เซนตเิ มตร มีกระเป฼าสองกระเปา฼ ตรงดา้ นหนา้ ที่ผ่ามีซิปซ่อนไว้ข้างในและรูดซิปเรียบร้อย เวลาสวม เอาขอบกางเกงทบั ชายเส้ือ มหี ูกางเกงดว้ ย เขม็ ขัดสีนาํ้ ตาลแก่ หวั เขม็ ขดั ทาํ ดว้ ยโลหะสที อง ต้องขัด ให้สะอาดเปน็ เงาเสมอ มลี ายดุนรูปเฟลอรเ์ ดอลสี ์ประกอบหนา้ อยู่ในกรอบช่อชัยพฤกษ์ ตรงส่วนล่าง ของกรอบมคี ตพิ จน์ว่า \"เสียชพี อย่าเสียสตั ย์\" เวลาคาดเข็มขัดทับขอบกางเกง ไม่ปล่อยให้หัวเข็ม ขดั หอ้ ยยาน คค่มู อื่มู สือง่สเ่งสเรสิมรแิมลแะลพะฒั พนัฒานกจิากกรจิ รกมรลรูกมเลสกูอื เทสกั อื ษทะกัชษีวิตะชในีวสติ ถในานสศถึกาษนาศกึปษระาเภลทูกลเสูกเือสสือาสมาญัมญัรุ่นรนุ่ใหใหญญ่ ่ เชค้ันรมือ่ งัธหยมมาศยกึ ลษูกเาสปอื ที ห่ี ล3วง 212913 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

4) ถุงเทา้ ถุงเท้ายาวสีกากี มีสายรัดถุงกันย่น เวลาสวมให้พับขอบอยู่ใต้เข่าประมาณ 5 เซนติเมตร หรือ 4 นิ้วฝาู มือตนเอง ขอบพบั กวา้ งประมาณ 4 นวิ้ ฝูามือตนเอง ลายของถุงเท้าตรง 5) รองเท้า รองเท้าสีนํ้าตาล ทําด้วยหนังหรือผ้าใบก็ได้ แต่ไม่มีลวดลาย หุ้มส้น มีเชือกผูก แขง็ แรง และผูกด้วยเง่ือนพริ อด รองเท้าหนงั สะอาดและขดั เป็นเงางาม 2.1.4 เม่ือรองผู้กํากับตรวจด้านหน้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว สั่ง \"กลับหลัง หัน\" เพื่อตรวจดา้ นหลังอกี คร้ังหน่งึ นายหมู่กลบั หลังหัน รองผู้กํากับตรวจความเรียบร้อยด้านหลัง เช่น เชอื กผกู รัด หมวกทรงอ่อน ผา้ ผกู คออยู่ตรงกลางเสอื้ เส้อื อกนอกกางเกง หรือไม่ 2.1.5 เมือ่ รองผู้กํากบั ตรวจนายหม่ดู ้านหลังเสร็จเรยี บร้อยแลว้ รองผู้กาํ กับ สง่ั \"กลับหลงั หัน\" รองผกู้ ํากับสัง่ ต่อไป \"เดินตามขา้ พเจ้า\" ตรวจลูกเสือด้านหน้าตรวจ ลูกเสอื คนแรกและคนต่อ ๆ ไป การเดินตรวจรองผกู้ ํากับกา้ วเท้าขวาไปทางขา้ งขวา 1 ก้าว แลว้ ชกั เท้าซา้ ย ไปอย่างอยา่ งแข็งแรง ก่อนนายหมู่กา้ วไปทางขา้ งขวา ให้ยกไมง้ า่ มขึ้นประมาณ 1 คืบ ก้าวเท้าขวาไป ทางข้างขวา 1 ก้าว แล้วชักเท้าซ้ายไปชิดอย่างแข็งแรง แล้วตั้งไมง้ ่ามลงกบั พื้น ยืนในแนวเดียวกบั รองผู้กาํ กับ ก้าว 1 กา้ วตรวจลูกเสือ 1 คน การตรวจเหมอื นกับการตรวจนายหมู่ ด้านหนา้ ทุกประการ ถา้ เปน็ การตรวจในตอนเปิดประชมุ กองตรวจสุขภาพรา่ งกาย หรืออปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน จะไม่เดนิ อ้อมหลงั เม่อื ตรวจด้านหน้าเสร็จทกุ คน แลว้ จงึ เดนิ ตรวจดา้ นหลังต่อไป การเดนิ ตรวจด้านหลังให้ ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับการเดนิ ตรวจด้านหนา้ การตรวจปฏบิ ัติเช่นเดียวกับการตรวจนายหมู่ เมื่อตรวจ ด้านหลงั เเสสรร็จ็จททกุ ุกคคนนแแลลว้ ้วรอรงอผงู้กผาํู้กก�ำบั กแับลแะลนะานยาหยมหกู่ มลับู่กมลาับยมนื าทย่เีืนดทิม่ีเอดกี ิมคอรีั้งกหคนรึ่งั้ หนนา่ึงยหนมาู่ยืนหตมรู่ยงืนสง่ัตร\"งวสนั งั่ “ทวยนั าท-วยุธา\"-วุธแ”ละแกลละ่าวกวล่า่าวว\"่าขอ“บขคอณุ บครุณบั ค\"รบั (”ยืน(ยอืนยูก่อับยทู่กีไ่ับมทต่ ่ีไ้อมง่ตก้อาวงอกอ้ากวไอปอ)กไปร)องรผอกู้ งาํผกู้กับ�ำรกับับกราับร กเคาารรเคพาดร้วพยดวว้ ันยทวยนั หทตัยถห์แตั ลถะแ์ ลลดะมลดอื มลงอื ลนงานยาหยมหู่สมัง่ สู่ตงัอ่ ตไ่อปไป\"เนร้ีย“บเร-ียอบา-วอธุ า,วตธุ าตมารมะเรบะียเบบยี -พบ-กั พ\"กั ” 2.2 นายหมตู่ รวจ ในการประชุมกองลูกเสือ ในบางคร้ังรองผู้กํากับไม่มาจําเป็นให้นายหมู่ ตรวจแทน แนวปฏิบัติ คือ ผู้กํากับสั่ง \"นายหมู่ตรวจ\" นายหมู่ทุกหมู่ก้าวออกไปข้างหน้าหมู่ของ ตนเอง 3 ก้าว รองนายหมู่ว่ิงอ้อมหลังมายืนแทนที่นายหมู่ และทําหน้าท่ีนายหมู่ และทําการตรวจ แบบรองผู้กาํ กบั ทกุ ประการ 2.3 การรายงานการตรวจ 2.3.1 รองผกู้ ากับรายงาน เมื่อนายหมู่ขอบคุณรองผู้กํากับ ภายหลังการตรวจเรียบร้อยแล้ว รองผู้ กํากบั กลับหลังหันทาํ วันทยหัตถ์ พรอ้ มกับกล่าวรายงานว่า \"ข้าพเจ้าได้มอบหมายจากผู้กากับให้ ไปตรวจุ..หมุู่ ..ปรากฏว่าุ..และได้ตักเตือนเรียบร้อย, ครับ\" เสร็จแล้ววิ่งกลับมาด้านหลัง เสาธง รองผู้กํากับคนต่อไปก็รายงานต่อ ๆ ไป 212420 ค่มู คือมู่สง่อื เสสง่รเิมสแรลิมะแพลัฒะพนาฒั กนจิ ากกรรจิ มกลรูกรเมสลือูกทเักสษือะทชักวี ษิตะในชีวสติถาในนศสึกถษานา ศปกึ รษะเาภทลลูกูกเสเสอื ือสสาามมญั ัญรร่นุ นุ่ ใใหหญญ่่ เคชรั้น่อื มงหธั มยามยศลึกูกษเสาอืปหที ล่ี 3วง ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3

2.3.2 นายหมู่รายงาน นายหมลู่ กู เสอื คนใดตรวจเสรจ็ แล้ว ให้ยืนตรงหน้าหมู่ของตนเอง หันหน้า ไปหา ผู้กํากับ และรอให้นายหมู่ทุกหมู่ตรวจเสร็จเรียบร้อยเสียก่อน เมื่อนายหมู่ตรวจเสร็จ เรยี บร้อยแล้ว นายหม่ทู ุกคนว่งิ ออกไปเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยวตรงข้ามผู้กํากับพร้อมกัน ห่าง จากผู้กาํ กบั ประมาณ 3 ก้าว นายหมหู่ มบู่ ริการยืนหัวแถว นายหมู่อ่ืน ๆ เรียงไปตามลําดับ ผู้กํากับ ยืนกึ่งกลางของแถว ผกู้ าํ กบั ส่ัง \"นายหมู่รายงาน\" นายหมู่หมบู่ ริการรายงานการตรวจเป็นคนแรก นายหมู่ ยืนตรง วันทยาวุธ และเรียบอาวุธ ก้าวออกไป 1 ก้าว หันหน้าไปหาผู้กํากับ วันทยาวุธ พร้อมกับ กล่าวรายงาน \"ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายจากผู้กากับให้ไปตรวจเคร่ืองแต่งกายหมูุ่..ปรากฏ ว่าุ..และได้แนะนาให้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องแล้ว, ครับ\" นายหมู่คนอื่น ๆ ให้ปฏิบัติ เชน่ เดียวกนั จนกระทง่ั การรายงานผลการตรวจเสร็จเรียบร้อย ผู้กํากับสั่ง \"กลับท่ีเดิม-ว่ิง\" นาย หม่ทู ุกคนวันทยาวธุ และเรียบอาวธุ พร้อมกัน กลับหลงั หัน วง่ิ กลบั มายืนในหมขู่ องตนในตําแหน่งเดิม รองนายหมวู่ งิ่ อ้อมกลบั หลงั มายืนทาํ หน้าที่รองนายหมตู่ ามเดมิ 3. ชกั ธงลง 3.1 ผู้กาํ กบั ส่ัง \"กอง, ตรง\" ผกู้ ํากบั กา้ วถอยหลังมายืนทางขวามือหรือซ้ายมือ หนั หน้าเข้าหาเสาธง 3.2 ผู้กํากับส่ัง \"หมู่บริการชักธงลง\" ลูกเสือที่เป็นหมู่บริการฝากไม้ง่ามกับ ลูกเสือ คนถัดไป วิ่งออกมาพร้อมกันและหยุดยืนตรงหน้าเสาธง ห่างจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว วนั ทยหัตถ์และลดมอื ลงพรอ้ มกัน ลกู เสือทางขวามอื กา้ วออกไปข้างหน้า 2 ก้าวและชิดเท้า แก้เลือก ธง แล้วก้าวถอยหลงั 2 กา้ ว และ 3.3 ผู้กํากับส่ัง \"กอง, วันทยา-วุธ\" ผ้บู งั คบั บญั ชาลกู เสือวนั ทยหตั ถ์ ลกู เสือ ทกุ คนวันทยาวธุ ลูกเสือผู้ชักธงชาติลงทางขวามือ คอ่ ย ๆ ดึงเชือกลงช้า ๆ คนทางซ้ายมอื คอ่ ย ๆ ปล่อยเชือก เชอื กทง้ั สองดา้ นตึงตลอดเวลาขณะชักธงชาตลิ ง เมื่อชกั ธงชาติลงเสร็จเรยี บร้อยแล้ว ลูกเสือทางขวามอื รับเชอื กจาก ลูกเสอื ทางซา้ ยมือมารวมกัน กา้ วไปขา้ งหน้า 2 ก้าว และชิดเท้า ผูก เชอื กธง แลว้ ก้าวถอยหลงั 2 กา้ ว และชิดเทา้ กลบั มายนื ตรงทีเ่ ดมิ ลูกเสอื ทัง้ สองยืนตรงทําวันทยหตั ถ์ และลดมือลงพร้อมกัน (ผู้บงั คับบัญชาลูกเสือทุกคนลดมอื ลง) กลบั หลังหันวิง่ กลับมาเข้าแถวในหมู่ ของตน แล้วรบี นาํ ไม้ง่ามท่ีฝากไวม้ าทําวนั ทยาวุธอย่างแข็งแรงและองอาจเช่นเดียวกับลกู เสือในกอง 3.4 ผกู้ ํากบั ส่ัง \"เรียบ-อาวธุ \" ลูกเสอื ทกุ คนลดแขนซา้ ยลงมาอยู่ในทเ่ี ดิมโดยเร็ว 4. เลิก 4.1 ลูกเสือทุกคนเมอื่ เรยี บอาวุธแล้วก็ยงั ยนื อยู่ในทา่ ตรง 4.2 ผูก้ ํากบั ส่งั \"กอง, เลิก\" ลูกเสือท้ังหมดทําวันทยาวุธ และเรียบอาวุธ ขวา หนั พร้อมกัน เดนิ ออกนอกแถว คค่มู อืมู่ สือ่งสเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะฒั พนฒั านกจิากกรจิ รกมรลรูกมเลสกูือเทสักอื ษทะักชษวี ิตะชในวี สิตถในานสศถกึ าษนาศึกปษระาเภลทูกลเสูกเือสสอื าสมาัญมัญร่นุ รนุ่ใหใหญญ่ ่ เชคน้ั รม่ืองธั หยมมาศยึกลษูกเาสปอื ที ห่ี ล3วง 222115 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3

การประชุมนายหมู่ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ ทีป่ ระชุม การจัดท่ีประชมุ นายหมู่ 1. ห้องประชุม ในห้องประชุมจัดให้มีโต๊ะหมู่บูชา มีพระพุทธรูป ธงชาติและพระบรมฉายา ลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน กับมีพระบรมรูปของพระบาทสมเด็จพระ มงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวองค์พระผพู้ ระราชทานกาํ เนดิ ลูกเสอื ไทย และรปู ของลอร์ด เบเดน เพาเวลล์ 2. โตะ๊ ประชมุ ควรจัดใหม้ ีเก้าอ้ปี ระชุมตามจาํ นวนของนายหมู่ และจัดท่ีน่ังเป็นพิเศษสําหรับ ผูก้ ํากบั หรือรองผกู้ าํ กบั ทจ่ี ะเข้าประชุมดว้ ยในฐานะทีป่ รึกษา โดยจัดใหน้ ่งั อยทู่ างซ้ายของประธาน 3. การจดั ท่นี ง่ั จะตอ้ งกาํ หนดไวใ้ หท้ ราบ โดยมีการเขยี นปฺายหรือเคร่ืองหมายแสดงไว้ ณ ท่ี นนั้ ๆ เชน่ ประธาน เลขานุการ หมสู่ งิ โต หมู่เสือ หมูน่ กหวั ขวาน ฯลฯ และผู้กํากบั ลกู เสอื 4. ผเู้ ข้าประชมุ - นายหมูท่ ุกหมู่ ถา้ นายหมูไ่ มอ่ ย่ใู หร้ องนายหมูเ่ ข้าประชมุ แทน - ผ้กู ํากบั ลูกเสือ ถ้าผกู้ ํากับไมอ่ ย่ใู หร้ องผกู้ าํ กบั เขา้ ประชุมแทน - ผทู้ รงคณุ วฒุ ิทกี่ องลกู เสอื เชญิ มาเพ่ือแนะนําการเปน็ ครัง้ คราว - การเลือกประธานและเลขานุการ 5. การเข้าหอ้ งประชมุ เลขานุการจะเปน็ ผเู้ ข้าก่อนแล้วจงึ เชญิ นายหมตู่ ่าง ๆ เข้าห้องประชุม จนถึงประธานและทปี่ รกึ ษาเข้าเปน็ คนสดุ ทา้ ยผู้ที่เขา้ ประชมุ กอ่ นท่ีจะเข้านง่ั จะต้องไปไหว้พระพุทธรปู (ยกเวน้ ผู้ท่นี ับถอื ศาสนาอื่น มใิ ชศ่ าสนาพุทธให้แสดงความเคารพต่อธงชาติและพระบรมฉายาลักษณ์ ไดเ้ ลย) และแสดงความเคารพตอ่ ธงชาติ และพระบรมฉายาลกั ษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยยู่หหู่ัววั ตามลําดบั เสียกอ่ น โดยวิธีวนั ทยหัตถ์ แลว้ จึงไปนัง่ ยงั ท่ขี องตน (ยกเว้น ประธานจะต้องจดุ ธปู เทยี น และกราบทีห่ นา้ พระ) 6. การเปดิ ประชุม เป็นหนา้ ท่ีของประธานทีจ่ ะกลา่ วเปิด โดยลุกข้นึ ยนื หันหน้าเข้าสู่ท่ีประชุม ยนื่ มือขวาออกไปข้างหนา้ ทาํ มมุ ประมาณ 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลกู เสือแลว้ กล่าววา่ “บัดน้ีสมาชิกของที่ประชุมได้มาครบองค์ประชุมแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการประชุม ขอให้สมาชิก ทั้งหลายได้ใช้สิทธิและเสรีภาพของท่านโดยเสรีในการประชุมและขอให้ถือว่าการประชุมน้ีเป็น ความลบั ไม่เปดิ เผย” เมือ่ ประธานกล่าวจบแลว้ ลดมอื ลงมาแสดงรหสั สมาชกิ ทีเ่ ขา้ ประชุมยืนพร้อมกนั พร้อมกบั ยกมอื ขวาขนึ้ แสดงรหัสลูกเสอื แบบใหค้ าํ ปฏิญาณของลูกเสือแลว้ กลา่ วพรอ้ มกนั วา่ “ข้าพเจ้า จะถอื ว่าการประชุมนีเ้ ปน็ ความลบั เวน้ ไว้แตจ่ ะได้รบั ความเห็นชอบจากที่ประชุม” เสร็จแล้วประธาน นั่งลง สมาชกิ นง่ั ลงพร้อมกนั จากน้ันจึงใหด้ าํ เนินการประชมุ ตามระเบยี บวาระตอ่ ไป 7. การพดู ในที่ประชุม กอ่ นพดู ตอ้ งยกมอื ขออนญุ าต เม่ือประธานอนุญาต จึงจะพูดได้ (และ จะตอ้ งพดู กบั ประธานทุกคร้ัง) เมอ่ื เวลาพดู ให้นั่ง ไมต่ ้องยืน 8. การนดั หมายเรียกประชมุ เป็นหน้าท่ขี องเลขานุการทจ่ี ะแจ้งนดั หมายไป 9. การจัดระเบียบวาระการประชุมนายหมู่ เป็นหน้าท่ีของเลขานุการโดยประสานงานกับ ประธาน 212622 คมู่ คือู่มส่งอื เสสง่รเมิ สแรลิมะแพลฒั ะพนาฒั กนิจากกรริจมกลรูกรเมสลือกู ทเกั สษือะทชักีวษิตะในชวีสิตถาในนศสกึถษานา ศปกึ รษะเาภทลลกู ูกเสเสือือสสาามมัญัญรร่นุ ุน่ ใใหหญญ่่ เคชร้ัน่ือมงหธั มยามยศลกึ กู ษเสาอืปหที ล่ี 3วง ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3

10. เรอื่ งทีจ่ ะจดั เข้าวาระการประชุมนายหมู่ ควรเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวกับหน้าท่ีความรับผิดชอบ ในกองลูกเสือของตน, จัดทํากําหนดการฝกึ อบรม, การอยู่คา่ ยพักแรม, การเงิน, การลงโทษ, การให้ รางวลั , และการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ฯลฯ เป็นตน้ 11. รายงานการประชุมของนายหมู่ ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมจะต้องถือเป็นความลับ ไม่ควรเปิดเผย เว้นแตจ่ ะไดร้ บั ความเห็นชอบจากท่ีประชุม 12. การจดรายงานการประชุม เป็นหน้าที่ของเลขานุการจะต้องเป็นผู้จดและจัดทํารายงาน การประชุมบันทกึ ลงในสมุดและสาํ เนาแจง้ ให้ผเู้ ขา้ ประชุมทราบ 13. ผู้ดํารงตาํ แหนง่ ประธานที่ประชุมนายหมู่ เป็นบุคคลที่ผู้กํากับแต่งตั้งจากนายหมู่ที่นาย หมู่ส่วนมากเห็นชอบดว้ ย 14. เลขานกุ ารของท่ีประชมุ ประธานทป่ี ระชุมเป็นผแู้ ตง่ ตัง้ จากนายหมูโ่ ดยให้น่ังอยู่ทางซ้าย ของประธาน (เลขาฯ จะเป็นผู้เผชิญนายหมู่เข้าที่ประชุมนายหมู่ทีละคนจนถึงประธานแล้วจึงเชิญผู้ กาํ กับฯ เป็นคนสุดท้าย) เลขาฯมีสิทธิ์แสดงความคิดเห็นได้แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนและมติ ของท่ีประชมุ ฯ 15. ผกู้ าํ กบั ลกู เสือ ท่ปี ระชมุ ไม่มสี ิทธอิ อกเสยี งในท่ีประชุม แต่มสี ทิ ธิยบั ย้ังการกระทําใด ๆ ที่ ผกู้ ํากับฯ เหน็ วา่ ถ้าจะปลอ่ ยใหท้ าํ ไปตามขอ้ ตกลงของท่ีประชุมแล้ว อาจก่อให้เกดิ ผลเสยี หายขึ้นได้ 16. การปดิ ประชมุ ประธานจะลุกขน้ึ ยืนหันหนา้ เขา้ สู่ที่ประชมุ ยืน่ มอื ขวาออกไปข้างหน้าทํา มมุ ประมาณ 45 องศา แขนเหยียดตรงแสดงรหัสของลกู เสือ แล้วกล่าววา่ “ข้าพเจา้ ขอปิดการประชมุ ” เมื่อประธานกล่าวจบให้นายหมู่ทุกคนลุกขึ้นยืนทําวันทยหัตถ์แก่ประธาน (ประธานทําวันทยหัตถ์ ตอบ) 17. การออกจากหอ้ งประชุม ตามลาํ ดบั ดงั นี้ คือ ทป่ี รกึ ษา, ประธาน และนายหมู่ (โดยปฏบิ ตั ิ พธิ ีการเช่นเดยี วกับการเข้าห้องประชมุ ) เลขานุการเปน็ คนสุดท้าย คคมู่ ือมู่ สือ่งสเ่งสเรสมิ รแิมลแะลพะัฒพนฒั านกจิากกรจิ รกมรลรูกมเลสูกอื เทสกั ือษทะักชษีวติะชในีวสิตถในานสศถึกาษนาศึกปษระาเภลทูกลเสูกเือสสือาสมาัญมัญรนุ่ รนุ่ใหใหญญ่ ่ เชคน้ั รมอ่ื งัธหยมมาศยกึ ลษูกเาสปือีทห่ี ล3วง 222317 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3

(ตวั อยา่ งระเบียบวาระการประชมุ ) ระเบยี บวาระการประชมุ นายหมู่ ครัง้ ท.ี่ ....... / ........ วันท่ี...........เดือน........................พ.ศ. ........... ณ ................................................ ................................................................... วาระท่ี 1 เรื่องท่ี ประธานจะแจง้ ให้ทราบ (ถ้ามี) วาระท่ี 2 เร่ืองรับรองรายงานการประชมุ ครง้ั ที.่ ..................../ ..................... วาระที่ 3 เร่ืองทสี่ ืบเนือ่ งจากการประชมุ ครงั้ กอ่ น (ถ้าม)ี วาระที่ 4 เรอื่ ง...................................... (เป็นเรอ่ื งที่จะประชมุ พจิ ารณากนั ในการประชุม ถ้ามี หลาย เรอ่ื ง ก็ใส่ วาระท่ี 5 ที่ 6 จนหมดเร่อื งทจ่ี ะนํามาประชมุ ) วาระที่ 5 เรือ่ งอน่ื ๆ (ถา้ ม)ี วาระที่ 5 หรอื วาระอันดับสุดทา้ ยน้เี ป็นวาระทกี่ ําหนดสาํ หรับเร่อื งที่จะมขี ้นึ ภายหลังทไ่ี ดก้ าํ หนด ระเบยี บวาระไปแลว้ จะไดน้ าํ มาเข้ามาพูดในทีป่ ระชมุ ได้ 212824 คมู่ คือมู่สง่อื เสสง่รเมิ สแรลมิ ะแพลัฒะพนาัฒกนิจากกรริจมกลรูกรเมสลือกู ทเกั สษอื ะทชกั ีวษติ ะในชวีสติถาในนศสึกถษานา ศปึกรษะเาภทลลูกูกเสเสือือสสาามมัญัญรร่นุ นุ่ ใใหหญญ่่ เคชรัน้ ่อื มงหธั มยามยศลึกกู ษเสาือปหที ล่ี 3วง ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

(ตัวอย่างบันทกึ รายงานการประชุม) บนั ทึกรายงานการประชมุ นายหมู่ คร้งั ท่.ี ..................../ ..................... วนั ท.ี่ ..........เดอื น........................พ.ศ. ........... ณ .................................................... ....................................... ผ้เู ขา้ ร่วมประชมุ 1. .................................. 2. .................................. 3. .................................. ฯลฯ ผ้ไู มม่ าประชมุ (ถา้ ม)ี เปดิ ประชมเุ วลา....................... น. ประธานกลา่ วเปดิ การประชมุ แลว้ ดําเนิน การประชมุ ตามระเบียบวาระตอ่ ไป วาระที่ 1 เรือ่ ง......................................... ประธานเสนอว่า ทป่ี ระชมุ (มมี ตหิ รือ ตกลงอยา่ งไร) ฯลฯ ปดิ ประชุมเวลา........................ น. (ลงช่อื )..................................ผจู้ ดรายงานการประชมุ ที่ประชุมรับรองรายงานการประชมุ น้ีแลว้ (ลงชอื่ )..................................ประธาน (ลงชอ่ื )..................................นายหมู่ หม.ู่ ....................... (ลงช่ือ)..................................รองนายหมู่ หม.ู่ ........... ฯลฯ คคมู่ อืูม่ สอื ่งสเ่งสเรสิมรแิมลแะลพะฒั พนฒั านกิจากกริจรกมรลรกูมเลสกูือเทสักอื ษทะักชษวี ิตะชในวี สิตถในานสศถึกาษนาศกึปษระาเภลทกู ลเสกู เอื สสือาสมาัญมัญรุน่ รุน่ใหใหญญ่ ่ เชค้ันรม่ืองธั หยมมาศยกึ ลษูกเาสปือที หี่ ล3วง 222519 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

(ตวั อยา่ งบัญชลี งช่อื ผู้เขา้ ประชุม) รายชือ่ ผูเ้ ขา้ ประชุมนายหมู่ คร้งั ท.่ี ......../............. วนั ท.่ี ..........เดือน........................พ.ศ. ........... ณ ......................................... ลาดบั ท่ี ชื่อ – สกุล ลายเซน็ ตาแหนง่ หมายเหตุ 1 2 ประธาน 3 นายหมู่ หม.ู่ ......... 4 รองนายหมู่ หมู.่ ............ 5 6 นายหมู่ หมู่.......... 7 รองนายหมู่ หมู่............. 8 9 ฯลฯ 10 เลขานุการ ตัวอยา่ งการจัดสถานทีป่ ระชุมนายหมู่ 222260 คคมู่ ู่มอื อื สสง่ ง่ เเสสรรมิ ิมแแลละะพพฒัฒั นนาากกิจจิ กกรรรรมมลลูกกู เสเสอื อื ททักักษษะชะชีวติวี ติในใสนถสาถนาศนึกศษึกาษปารละเูกภเทสลอื กูสเาสมือัญสารมุน่ ญั ใหรุ่นญใ่ หญชัน้่ เมครัธื่อยงมหศมกึ าษยลาปูกเีทสี่อื 3หลวง ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3

บรรณานุกรม สาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาต.ิ ข้อบงั คับคณะลูกเสอื แห่งชาติ ว่าด้วยการ ปกครอง หลกั สูตรและวชิ าพเิ ศษลูกเสือสามัญรุน่ ใหญ่ (ฉบับที่ 14). โรงพิมพ์ ครุ สุ ภา ลาดพร้าว, 2528. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. คู่มือการจดั กจิ กรรมลูกเสอื – เนตรนารี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 (ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่), (เอกสารอัดสาํ เนา) กรมพลศกึ ษาประจําเขตการศกึ ษา 8. นทิ านทเี่ ป็นคตสิ อนใจ. (เอกสารอัดสาํ เนา) : มปท.,2537. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คมู่ อื วิทยากรฝกึ อบรมทักษะชวี ิตเพื่อการป้องกนั เอดส์ ดว้ ยการเรยี นรู้แบบมสี ว่ นรว่ ม, ม.ป.ท.: พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 สงิ หาคม 2541. กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ . คมู่ ือการจัดกิจกรรมเพ่อื พฒั นาเด็กด้อยโอกาส. น.พ.อนนั ต์ อุน่ แก้ว บรรณาธกิ าร ม.ป.ท. : พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 มิถุนายน 2544 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลกั สูตรแกนกลาง. การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551. คณะกรรมการลกู เสอื ฝูายพฒั นาบคุ ลากร สํานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ. คมู่ อื การฝึกอบรม ผูบ้ งั คบั บัญชา ลกู เสือขั้นผ้ชู ว่ ยผู้ให้ฝึกอบรมวชิ าผูใ้ ห้การฝึกอบรมผกู้ ากบั ลูกเสือ (Assistant Leader Trainers course) (A .L.T.C). โรงพิมพ์ สกสค. : ลาดพรา้ ว, 2551. จิราวชุ คมุ้ จนั ทร์. เกม/นนั ทนาการกลุ่มสมั พันธ์. เอกสารอัดสาํ เนา : มปท., 2547. มณฑานี ตันตสิ ขุ , หนงั สอื ผูห้ ญงิ อศั จรรย.์ http://www.nantbook.com/webboard/detail.php?qID=116. เป็นแม่เหลก็ ดงึ ดูดความรักดีดงี า่ ยนิดเดียว แค่รจู้ ักตวั เองดดี ี, สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 24 มนี าคม 2553 มูลนิธิคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ชว่ งชนั้ ที่ 3 ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544, อักษรเจรญิ ทัศน์ : กรงุ เทพฯ, 2550. สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย. คมู่ ืออบรมวิทยากร การจัดกิจกรรมลกู เสือที่เนน้ ทักษะชีวติ . สมาคมวางแผนครอบครวั แหง่ ประเทศไทย, 2553. สาํ นกั การลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ. แนวทางการจัดกจิ กรรมลูกเสือให้สอดคลอ้ งกับหลักสตู ร การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว, 2549. สาํ นกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ. แนวทางการพฒั นาหลักสตู ร การจัดกิจกรรมลูกเสอื ในสถานศึกษา พ.ศ. 2552. องคก์ ารค้าของ สกสค., 2552. คค่มู อืู่มสือ่งสเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะฒั พนัฒานกิจากกรจิ รกมรลรกูมเลสกูือเทสกั อื ษทะกัชษวี ติะชในวี สิตถในานสศถึกาษนาศกึปษระาเภลทูกลเสูกเือสสือาสมาญัมญัรุ่นรุน่ใหใหญญ่ ่ เชคั้นรมื่องัธหยมมาศยึกลษกู เาสปอื ที ห่ี ล3วง 222721 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สาํ นกั งานคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาต.ิ ข้อบังคบั คณะลูกเสอื แห่งชาตวิ า่ ดว้ ยการ ปกครอง หลกั สตู รและวชิ าพิเศษลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ(่ ฉบบั ที่ 14) พ.ศ. 2528 องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา : กรุงเทพฯ, 2537. สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน. แนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน. โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว, 2534. อุบลวรรณ แสนมหายกั ษ์. เพลงลูกเสือ. เอกสารประกอบการฝึกอบรมผบู้ งั คับบญั ชาลกู เสอื สารอง สามญั สามัญรุ่นใหญ่ ข้นั ความรชู้ ัน้ สงู : (เอกสารอดั สําเนา), 2539. http://en.wikipedia.org/wiki/World_Scout_Jamboree http://en.wikipedia.org/wiki/World_Organization_of_the_Scout_Movement http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0db802ca17a2e96f&clk=wttpcts http://www.inspect2.moe.go.th/3%20SS.ATC/index.html http://www.lovesquare.com http://mathafaps.tripod.com/gentleman.htm , อย่างไรจงึ เรียกว่า เปน็ \"สภุ าพบุรษุ ”, สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 23 มนี าคม 2553 http://www.navyscoutclub.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=538687830 http://www.rdpb.go.th/RDPB/Front/Projects/RDPBImportantProject.aspx http://www.scoutthailand.org/main/show_page.php?topic_id=56&auto_id=13&TopicPk=19 http://122.155.0.105/~scout/modules/news/article.php?storyid=7 222228 คู่มคอื ูม่สง่ือเสสง่รเมิ สแรลมิ ะแพลัฒะพนาฒั กนจิ ากกรริจมกลรูกรเมสลอื ูกทเกั สษอื ะทชักีวษติ ะในชีวสิตถาในนศสึกถษานา ศปึกรษะเาภทลลูกูกเสเสืออื สสาามมัญัญรรนุ่ ุน่ ใใหหญญ่่ เคชร้ันอ่ื มงหธั มยามยศลึกกู ษเสาือปหีทล่ี 3วง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

โครงการลูกเสือเสริมสร้างทกั ษะชวี ติ ดาเนินการโดย สานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ 154 ศาลาวชิราวธุ แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2219-2731 โทรสาร 0-2219-2108 website : http://www.scoutthailand.org สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดําเนินนอก เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0-2288-5511 website : http://www.obec.go.th สานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ อาคารศูนยเ์ รียนรสู้ ขุ ภาวะ 99/8 ซอยงามดพู ลี แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2343-1500 โทรสาร 0-2343-1501 website : http://www.thaihealth.or.th สมาคมวางแผนครอบครวั แหง่ ประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี 8 ซอยวภิ าวดรี ังสิต 44 ถนนวภิ าวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-941-2320 โทรสาร 0-2561-5130 website : http://www.ppat.or.th E-mail : [email protected] สานักการลูกเสือ ยวุ กาชาดและกิจการนักเรยี น สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ถนนราชดําเนนิ นอก เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0-2282-0850 website : http://www.srs.moe.go.th 230 คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลูกเสอื สามญั รุ่นใหญ่ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ เคร่ืองหมายลูกเสือหลวง 223 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook