1 สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ขอ้ มูลพื้นฐานโรงเรยี นบ้านแกง้ ประวตั ิและสภาพท่วั ไป โรงเรยี นบ้านแก้ง สงั กัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ประกาศจดั ตัง้ เมอ่ื วันท่ี 28 พ.ค. 2482 โดย นายรอ้ ยตารวจโทถวลิ ธนะศรีรงั กลู ได้ใชศ้ าลาวดั เปน็ ทจ่ี ัดการเรียนการสอน เปดิ สอนในระดบั ช้ัน ป.1-ป.4 นายมี พรหมไพสนท์ เปน็ ครใู หญ่ ปัจจุบนั เปดิ สอนตั้งแตช่ นั้ อนุบาลปีที่ 2 ถึงชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มพี ้นื ที่เขตบริการ จานวน 2 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ บา้ นแก้ง หมู่ 3 และ หมู่ 15 ต.ศรวี ิชัย อ.วานรนวิ าส จ.สกลนคร ปรัชญาของโรงเรยี น สวุ ิชาโน ภวโหติ ผู้รู้ดี เปน็ ผ้เู จรญิ คาขวญั โรงเรียนบา้ นแกง้ เรยี นดี กฬี าเด่น เนน้ วินัย ใฝุคุณธรรม อักษรย่อของโรงเรียน บ.ก. ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรยี น ตน้ ยางนา สปี ระจาโรงเรียน ชมพู – ขาว สีชมพู หมายถึง ความรัก ความเมตตา ความจิตใจดีท่ีครมู ีต่อนกั เรยี น สีขาว หมายถึง ความบริสทุ ธิ์ ความดีงาม ความตอ้ งการความรมู้ าแตง่ เติมที่มีในตวั ผเู้ รยี น ตราสัญลกั ษณ์ประจาโรงเรียน
2 ขอ้ มูลบุคลากรโรงเรียนบ้านแก้ง วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด ตาแหน่ง ท่ี ชื่อ – สกุล ปร.ด.(การบริหารและพฒั นาการศึกษา) ผ้บู ริหารสถานศึกษา 1 นายวสุกฤต สวุ รรณเทน ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) 2 นายชาติชาย วารีย์ ค.บ.(พลศกึ ษา) ครู 3 นายนิพนธ์ ขนั ธแ์ ก้ว ค.บ.(การศึกษาปฐมวัย) ครู 4 นางเพชรา เฒ่าอดุ ม ศษ.ม. (หลกั สตู รและการสอน) ครู 5 นางชมภูนชุ นาชัยเวยี ง ค.บ.ปฐมวัย ครู 6 นางสาวจิราพร ทาระกะจัด ค.บ.คณิตศาสตร์ ครู 7 นายสุทธพิ งษ์ เวียงพรมมา กศ.บ.วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไป ครู 8 นายจริ ะโชติ ยะไชยศรี ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) ครู 9 นางชมภนู ุช นาชยั เวียง ศษ.ม. (หลกั สูตรและการสอน) ครู 10 นางมัลลกิ า สุขเกษม ศษ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ครู 11 นางสาวเมตตา ชาญฉลาด ค.บ. (คณติ ศาสตร์) ครู 12 นางสาวชไมพร เหาะเหนิ ศศ.บ (ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สารสากล) ครู 13 นางสาวกุลณดา บุญเฮ้า ค.บ.(สังคมศึกษา) ครู 14 นายอัฐพร อบเชย ค.บ.ภาษาไทย ครู 15 นางสาวสุปราณี ชชู ี ศศ.บ.ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ครู 16 นางสาวกานดา จนั ทะวงศ์ ค.บ.พละศึกษา ครู 17 นายชิตพล พว่ งทิม วท.บ.(ช่างกล) พนักงานราชการ 18 นายนพรัตน์ เคนสี ม.6 เจ้าหนา้ ทีธ่ ุรการ 19 นายสมคั ร โฮมวงศ์ นกั การภารโรง ข้อมูลนักเรยี นปกี ารศึกษา 2564 ระดับช้ันเรยี น จานวนห้อง เพศ รวม เฉล่ยี ตอ่ หอ้ ง ชาย หญิง อ.2 1 63 9 9 อ.3 1 5 6 11 11 รวม 2 11 9 20 20 ป.1 1 4 9 13 13 ป.2 1 5 7 12 12 ป.3 1 11 7 18 18 ป.4 1 6 9 15 15
3 ระดบั ช้ันเรยี น จานวนหอ้ ง เพศ รวม เฉลีย่ ตอ่ หอ้ ง ป.5 ชาย หญิง ป.6 รวม 1 45 9 9 ม.1 ม.2 1 4 6 10 10 ม.3 รวม 6 34 43 77 12.83 รวมท้ังหมด 1 5 7 12 12 1 5 5 10 10 1 3 10 13 13 3 13 22 35 11.67 11 58 74 132 12 โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านแกง้ ผอู้ านวยการสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน นายวสกุ ฤต สวุ รรณเทน งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบคุ ลากร งานบริหารทั่วไป - นางสาวเมตตา ชาญฉลาด - นายชาตชิ าย วารยี ์ - นายอัฐพร อบเชย - นายนิพนธ์ ขนั ธแ์ ก้ว - นายสุทธิพงษ์ เวียงพรมมา - นางชมพนู ุช นาชยั เวยี ง - นางเพชรา เฒ่าสอุดม - นางสาวกุลณดา บญุ เฮา้ - นางสาวสุปราณี ชชู ี - นางสาวชไมพร เหาะเหนิ - นางมัลลิกา สุขเกษม - นายนพรตั น์ เคนสี - นายจริ ะโชติ ยะไชยศรี - นางสาวจิราพร ทาระกะจดั - นายชิตพล พว่ งทิม - นางสาวกานดา จันทะวงศ์ นักเรียน
4 ผลการดาเนินงานตามกลยุทธข์ องโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา 2563 กลยุทธ์แผนงาน/โครงการภายใต้กลยุทธ์ กลยุทธท์ ี่ 1 การบริหารจดั การขององค์กร โครงการ ระดบั คณุ ภาพ โครงการพัฒนาสถานศึกษาใหบ้ รรลตุ ามเปูาหมาย วิสัยทัศน์ ปรชั ญาและจดุ เนน้ ของ ดี สถานศกึ ษา โครงการพัฒนาส่งเสริมคณะกรรมการสถานศึกษาและผ้ปู กครอง ชุมชน ปฏบิ ัติงานตาม ดี บทบาทหนา้ ท่ีอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล กลยทุ ธท์ ี่ 2 พัฒนาการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การศกึ ษาทัดเทยี มกับกลมุ่ ประเทศอาเซยี น โครงการ ระดับคณุ ภาพ โครงการการจดั กจิ กรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาและ ดี สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษายกระดับคุณภาพการศึกษาใหส้ ูงขนึ้ โครงการพัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีการสรา้ งและสนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาเปน็ สังคมแห่งการ ดี เรียนรู้ โครงการพัฒนาผู้เรยี นให้มที ักษะในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้และพฒั นา ดี ตนเองอย่างต่อเนื่อง กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาคุณภาพการศึกษา โครงการ ระดับคุณภาพ โครงการพฒั นาสถานศึกษาใหม้ ีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดใน ดี กระทรวง โครงการพัฒนาสถานศึกษาใหม้ กี ารจัดสภาพแวดล้อมและการบริหารท่ดี สี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นพฒั นา ดี เตม็ ศกั ยภาพ โครงการพัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีการจดั หลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพ ดี ผู้เรียนอย่างรอบดา้ น โครงการพฒั นาผเู้ รียนให้มีสุขภาวะที่ดีและมสี ุนทรียภาพ ดี โครงการพฒั นาผ้เู รียนด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ ดี โครงการพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้และทักษะทจ่ี าเป็นตามหลักสตู ร ดี โครงการพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างสร้างสรรค์ ตัดสินใจ ดี แก้ปัญหาอย่างมีสติ โครงการพฒั นาผเู้ รยี นให้มที ักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผอู้ น่ื ไดแ้ ละมีเจตคติทีด่ ี ดี โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยอย่างรอบด้าน ดี
5 กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ป็นมืออาชพี เพ่ือรองรบั การกา้ งสู่ประชาคา อาเซียน โครงการ ระดับคุณภาพ โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพผ้บู ริหารด้านการปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหน้าที่ ดี โครงการพฒั นาครูให้มีความสามารถในการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมี ดี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลยุทธท์ ่ี 5 สรา้ งโอกาสทางการศึกษา ระดับคุณภาพ โครงการ ดี โครงการเรยี นฟรี 15 ปี
6 สรุปผลการดาเนนิ งานตามกลยุทธ์ ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ด้านผู้เรยี น นักเรยี นมีนิสยั ใฝรุ ู้ใฝุเรียน รกั การอา่ นและคน้ ควา้ สามารถแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง เป็นคนดี มีปฏิบัติตนตามหลักศาสนา รู้จักคิดวิเคราะห์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการเรียนรู้ มีทักษะ การสร้างงาน สรา้ งอาชพี และสบื สานวถิ วี ัฒนธรรมท้องถิ่นไทย มีการปกครอง การดารงชีวิตในสังคมอย่างเป็น สุข ดา้ นครแู ละบคุ ลากร ครูและบคุ ลากรภายในโรงเรยี นมีทักษะวิชาชีพในการพฒั นาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยใชก้ ารส่อื และเทคโนโลยีสารสนเทศ มคี ุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณแหง่ วชิ าชีพ มี ความกระตอื รือร้น สนใจ ใส่ใจ ดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและพฒั นาตนเองตามศักยภาพอย่างเตม็ กาลัง ความสามารถและมสี มรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี ดา้ นผบู้ ริหาร ผู้บริหารโรงเรียนเป็นผู้นาแห่งการเปล่ียนแปลงให้โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่ดี มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาวิชาชีพ หลักสูตร นวัตกรรม และกระบวนการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน พัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและมีสมรรถนะการบริหารจัดการตาม เกณฑ์มาตรฐาน ของผบู้ ริหารมอื อาชีพ ผู้ปกครองนกั เรยี น และหนว่ ยงานอ่นื ๆ ผู้ปกครองยอมรับฟงั และพึงพอใจ ร่วมมือสง่ เสริมและสนับสนุนการจดั การศึกษาให้นักเรียน ประสบผลสาเร็จจนจบหลักสตู ร ในการจดั การศกึ ษาไดร้ ับความร่วมมอื ร่วมแรง ร่วมใจ ในการขบั เคลอ่ื น การจัดการศกึ ษาไปสูค่ วามสาเร็จและเปน็ ทีมงานท่สี มบูรณ์ เปน็ นา้ หนึ่งใจเดยี ว
7 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ชื่อตวั บ่งช้ี น้าหนัก คะแนน ระดบั คะแนน ที่ได้ คุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจดั การศึกษา กลุ่มตวั บ่งชพ้ี น้ื ฐาน ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1 เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกายสมวยั 5.00 4.50 ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวยั 5.00 5.00 ดมี าก ตวั บ่งชีท้ ่ี 3 เดก็ มีพัฒนาการด้านสงั คมสมวัย 5.00 4.50 ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ่ี 4 เด็กมีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญาสมวยั 10.00 8.50 ดี ตัวบง่ ชท้ี ี่ 5 เด็กมีความพร้อมในการศกึ ษาในชั้นต่อไป 10.00 10.00 ดมี าก กลมุ่ ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ท่ี 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสยั ทศั น์ พันธกจิ และ 2.50 2.50 ดมี าก วัตถปุ ระสงค์ของการจัดต้งั สถานศึกษา ตวั บ่งชท้ี ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจดุ เดน่ ทสี่ ง่ ผลสะท้อนเป็นเอกลกั ษณ์ของ 2.50 2.00 ดี สถานศกึ ษา กลมุ่ ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตวั บง่ ช้ีที่ 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพิเศษเพ่อื สง่ เสริมบทบาทของสถานศกึ ษา 2.50 2.00 ดี มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานท่ีว่าดว้ ยการบรหิ ารจัดการศึกษา กลมุ่ ตวั บง่ ชพ้ี ืน้ ฐาน ตวั บง่ ช้ที ่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาการศกึ ษา 15.00 12.00 ดี กลมุ่ ตวั บ่งชม้ี าตรการสง่ เสริม ตัวบ่งชี้ท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน 2.50 2.50 ดมี าก รักษา มาตรฐานและพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลิศทีส่ อดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานที่ว่าดว้ ยการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ กลมุ่ ตวั บ่งชพ้ี ้นื ฐาน ตวั บง่ ชี้ที่ 6 ประสิทธผิ ลการจัดประสบการณ์การเรยี นร้ทู ่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั 35.00 32.50 ดี มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคณุ ภาพภายใน กลุ่มตวั บ่งชีพ้ ื้นฐาน ตัวบ่งชี้ 8 ประสิทธิผลของการประกนั คุณภาพภายใน 5.00 3.75 ดี ผลคะแนนรวมทัง้ หมด 100.00 89.75 ดี
8 จดุ เด่น 1. ดา้ นผลการจดั การศึกษา เด็กมสี ุขภาพรา่ งกายทีแ่ ข็งแรง มสี มรรถภาพทางจิตที่ดี มีความชื่น ชอบในกิจกรรมด้านศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว มคี วามซือ่ สัตย์ รจู้ ักการเป็นผ้นู า ผูต้ ามทด่ี ี สามารถเลน่ และทากจิ กรรมรว่ มกบั เพื่อน จดจาสิ่งตา่ งๆ ไดจ้ ากการเช่ือมโยงประสบการณ์เดมิ มีจินตนาการ ความคิด สรา้ งสรรค์ โดยการถา่ ยทอดความคิดสร้างสรรคผ์ า่ นการทาศลิ ปะ การเล่าเรื่อง เล่นเกมภาษาและเลน่ บทบาท สมมติรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ มีพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ นสมวยั สถานศึกษามีการพฒั นาเด็กใหย้ ้ิมใส ไหว้สวย จนเกิด เป็นอัตลักษณข์ องเด็ก 2. ดา้ นบริหารจดั การศกึ ษา สถานศึกษาให้ความสาคญั กบั การนาข้อเสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสองไปดาเนินการพฒั นาการศกึ ษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) 3. ด้านการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ เด็กเป็นสาคัญ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ มีการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง เปน็ ผู้ทม่ี ีมนุษยสัมพันธท์ ่ดี กี ับผู้ปกครองและผู้อน่ื มีการสง่ เสริม พัฒนาการกครบทั้ง 4 ดา้ น 4. ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษามีการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และ แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ่ยี ึดหลักการมีสว่ นร่วมของชุมชนและหนว่ ยงานต้นสงั กัด ซงึ่ ผลจากการประเมนิ คุณภาพ ภายในจากต้นสงั กัดสะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ประสทิ ธิภาพทด่ี ขี ึ้น จดุ ทคี่ วรพฒั นา 1. ดา้ นผลการจัดการศึกษา เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา มคี วามใฝุรูค้ ่อนขา้ งน้อย 2. ดา้ นบรหิ ารจัดการศกึ ษา สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารของเด็กอนุบาลยัง ไม่พร้อมสาหรับเด็ก เชน่ สนามเดก็ เลน่ หอ้ งน้าห้องสว้ ม ห้องพักแยกสาหรับเดก็ ปุวยและทน่ี ง่ั พักรอรับเด็ก สาหรับผปู้ กครอง 3. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นเด็กเป็นสาคญั การติดตามประเมินพัฒนาการของเด็ก ครยู งั มีการจดบนั ทึกไมส่ ม่าเสมอและต่อเนื่อง 4. ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน ในการจดั ทารายงานประจาปี เพอื่ รายงานต่อหน่วยงานต้น สังกดั สถานศึกษาไม่มหี ลกั ฐานหนังสอื ออกเลขท่นี าสง่ ต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด โอกาส 1. สถานศกึ ษาได้รบั การสนับสนนุ จากบรษิ ทั ปูนซีเมนต์ไทยสองแสนบาท เพอื่ ถมดนิ บริเวณ โรงเรยี นท่ตี ดิ ลานา้ ยามซ่ึงเปน็ ทีร่ าบลุม่ 2. สถานศกึ ษาไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผา้ ปุาสามคั คี 3. สถานศกึ ษาได้รับบริจาคจากคณุ มะลิซ้อนและคณุ แมห่ อมตง้ั เป็นกองทนุ สวัสดิการใน สถานศึกษา
9 อุปสรรค 1. ถนนเขา้ หมู่บ้านเป็นหนิ ลุกรงั เป็นหลุมเป็นบอ่ มฝี ุนละอองมาก ลาบากในการเดนิ ทาง 2. พน้ื ท่ีโรงเรียนตา่ ตง้ั อยู่ตดิ กบั ลานา้ ยาม จะมนี ้าทว่ มทกุ ปี 3. ผู้ปกครองบางส่วนไปทางานรับจ้างต่างจงั หวดั ฝากบุตรหลานไวก้ ับญาติ
10 ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ชื่อตัวบ่งช้ี น้าหนกั คะแนน ระดับ คะแนน ทไ่ี ด้ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานท่ีว่าดว้ ยผลการจดั การศกึ ษา กลมุ่ ตัวบง่ ช้ีพื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี 10.00 9.88 ดีมาก ตวั บ่งชี้ที่ 2 ผ้เู รยี นมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ 10.00 9.68 ดมี าก ตวั บ่งชท้ี ่ี 3 ผเู้ รียนมคี วามใฝุรู้ และเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่ือง 10.00 9.33 ดีมาก ตวั บ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเปน็ ทาเป็น 10.00 9.16 ดีมาก ตัวบ่งชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียน 20.00 10.56 พอใช้ กลมุ่ ตวั บ่งชอ้ี ตั ลักษณ์ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจและ 5.00 5.00 ดมี าก วัตถปุ ระสงค์ของการจดั ตงั้ สถานศึกษา ตวั บ่งช้ที ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ทส่ี ่งผลสะท้อนเป็นเอกลกั ษณ์ของ 5.00 4.00 สถานศึกษา ดี กลุ่มตัวบง่ ชม้ี าตรการส่งเสริม ตัวบง่ ชที้ ี่ 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสริมบทบาทของ 5.00 4.00 ดี สถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานท่ีว่าด้วยการบริหารจดั การศกึ ษา กลุ่มตัวบ่งชพ้ี ื้นฐาน ตัวบ่งชี้ท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจดั การและการพัฒนาการศึกษา 5.00 3.30 พอใช้ กลมุ่ ตัวบง่ ช้ีมาตรการส่งเสริม ตวั บง่ ชท้ี ี่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศกึ ษาเพอื่ ยกระดับมาตรฐาน รกั ษา 5.00 5.00 ดมี าก มาตรฐานและพัฒนาสคู่ วามเป็นเลิศทีส่ อดคลอ้ งกบั แนวทางการ ปฏิรูปการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานท่ีว่าดว้ ยการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ กลมุ่ ตวั บ่งชพ้ี ื้นฐาน ตวั บง่ ชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลการจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั 10.00 8.00 ดี มาตรฐานท่ี 4 มาตรฐานที่ว่าดว้ ยการประกันคณุ ภาพภายใน กลมุ่ ตัวบ่งช้พี ื้นฐาน ตวั บง่ ชี้ 8 ประสิทธผิ ลของการประกนั คุณภาพภายใน 5.00 3.75 ดี ผลคะแนนรวมท้ังหมด 100.00 81.66 ดี
11 จุดเด่น 1. ดา้ นผลการจดั การศึกษา ผู้เรียนมสี นุ ทรยี ภาพในดา้ นศลิ ปะ ดนตรี-นาฏศิลป์และกฬี า มีนา้ หนัก สว่ นสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ไมย่ ุ่งเกีย่ วกับปัญหาทางเพศ และยาเสพตดิ ปฏิบตั ิตนเป็นลกู ท่ดี ี ของพ่อแม่ เปน็ นกั เรยี นท่ีดีของโรงเรยี น และรู้จักบาเพญ็ ประโยชน์เพ่อื สว่ นรวม รจู้ ักคน้ คว้าหาความรูจ้ ากการ อ่านและเทคโนโลยี สามารถเรยี นร้จู ากประสบการณ์ตรงทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มีความสามารถ ในการปรับตัวเขา้ กบั สังคม สถานศกึ ษามีการพัฒนาโรงเรียนให้ยมิ้ ใส ไหวส้ วย จนเกิดเป็นอัตลกั ษณ์ของตัวเด็ก 2. ดา้ นบรหิ ารจัดการศึกษา สถานศกึ ษาให้ความสาคญั กบั การนาขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสองไปดาเนนิ การพฒั นาการศึกษาในทศวรรษทส่ี อง (พ.ศ. 2552-2561) 3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ เด็กเปน็ สาคญั ครูมีความรู้ ความสามารถ สอนตรงตาม ความถนัดมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง มากกว่า 20 ชม. ตอ่ ปี และสามารถจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่ เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างท่ีดีของผู้เรียนและผปู้ กครอง 4. ด้านการประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศึกษามีการประกันคณุ ภาพภายในตามหลักเกณฑ์และ แนวทางการปฏบิ ัติทยี่ ึดหลกั การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานต้นสงั กดั ซ่งึ ผลจากการประเมินคุณภาพ ภายในจากตน้ สงั กดั สะท้อนให้เหน็ ถึงประสทิ ธิภาพที่ดีขึน้ จุดท่คี วรพัฒนา 1. ดา้ นผลการจัดการศึกษา ผู้เรยี นได้รับการสง่ เสริมพฒั นาการเรยี นรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์และภาษาตา่ งประเทศค่อนข้างน้อย 2. ด้านการบริหารจดั การศึกษา สถานศึกษายงั ไม่มีการกาหนดนโยบายเพอื่ รับนักเรียนและ โครงการรองรับแผนปฏบิ ัติการประจาปี ไม่มีหลักฐานยืนยนั การรบั รูจ้ ากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ไม่ชดั เจน สถานศึกษาไมม่ ีการแตง่ ตง้ั ใหม้ ีคณะทปี่ รึกษา/คณะอนกุ รรมการ เพื่อดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ การจดั สภาพแวดล้อมในการเดินขน้ึ -ลงบันได ทางเดนิ ตามถนนภายในสถานศึกษาไมม่ รี ะบบระเบยี บท่ีถูก สุขลักษณะที่ดี 3. ด้านการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ ครูบางส่วนมีการส่งเสริมทักษะการคิด ค่อนข้างนอ้ ย 4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน ในการจัดทารายงานประจาปี เพ่อื รายงานต่อหนว่ ยงานต้น สงั กัดสถานศึกษาไม่มีหลักฐานหนังสือออกเลขท่นี าส่งต่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั โอกาส 1. สถานศึกษาได้รบั การสนับสนนุ จากผา้ ปาุ สามคั คี 2. สถานศกึ ษาได้รบั บริจาคจากคุณมะลิซ้อนและคณุ แมห่ อมตัง้ เปน็ กองทุนสวสั ดิการใน สถานศกึ ษา
12 อุปสรรค 1. ถนนเข้าหมู่บา้ นเป็นหินลุกรงั เป็นหลมุ เปน็ บอ่ มฝี ุนละอองมาก ลาบากในการเดนิ ทาง 2. พน้ื ท่โี รงเรยี นตา่ ต้ังอยู่ตดิ กับลาน้ายาม จะมีนา้ ท่วมทกุ ปี 3. ผ้ปู กครองบางส่วนไปทางานรบั จ้างต่างจังหวัดฝากบุตรหลานไวก้ บั ญาติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปกี ารศึกษา 2563 ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ 1) ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 สมรรถนะ ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ระดับสพฐ. การอ่านออกเสยี ง 93.11 74.13 74.14 การอ่านรู้เรื่อง 87.11 72.23 71.86 รวม 2 สมรรถนะ 90.11 73.20 73.02 2) การเปรยี บเทยี บผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 - 2563 สมรรถนะ ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ร้อยละของผลตา่ ง 2562 2563 ระหวา่ งปกี ารศึกษา การอา่ นออกเสียง 86.66 93.11 +6.45 การอา่ นรเู้ รอ่ื ง 84.66 87.11 +2.45 รวม 2 สมรรถนะ 85.66 90.11 +4.46
13 ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 1) ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT) ปกี ารศึกษา 2563 ความสามารถ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ ระดบั ประเทศ ระดับสพฐ. 40.47 ด้านภาษา 48.30 41.30 47.46 ดา้ นคานวณ 62.35 47.76 รวมความสามารถท้งั 2 ดา้ น 55.32 43.97 44.53 2) การเปรียบเทียบผลการประเมินทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) ปีการศึกษา 2562 - 2563 ความสามารถ ปีการศึกษา ปีการศึกษา ร้อยละของผลต่าง 2562 2563 ระหว่างปีการศึกษา ดา้ นภาษา 64.80 48.30 -16.15 ดา้ นคานวณ 69.60 62.35 -7.25 รวมความสามารถทัง้ 3 ดา้ น 67.20 55.32 -11.88
14 ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 รายวชิ า คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพื้นท่ี ระดับ สพฐ. ภาษาไทย 57.11 51.53 54.96 56.20 คณิตศาสตร์ 31.79 33.69 38.87 43.55 วิทยาศาสตร์ 26.43 26.52 28.59 29.99 ภาษาองั กฤษ 35.89 35.66 37.64 38.78 2) การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 - 2563 รายวิชา ปกี ารศกึ ษา 2562 คะแนนเฉลย่ี พฒั นาการ ปกี ารศึกษา 2563 ภาษาไทย 48.25 57.11 +8.86 คณิตศาสตร์ 23.75 31.79 +8.04 วิทยาศาสตร์ 41.25 26.43 -14.82 ภาษาองั กฤษ 40.83 35.89 -4.94 รวมเฉลย่ี 38.52 37.81 -0.71
15 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 รายวชิ า คะแนนเฉลี่ย ระดบั โรงเรยี น ระดบั เขตพ้ืนท่ี ระดับ สพฐ. ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 48.10 49.55 53.85 54.29 คณิตศาสตร์ 27.50 27.87 31.70 31.33 วทิ ยาศาสตร์ 24.00 20.95 24.05 25.46 ภาษาองั กฤษ 28.51 27.69 29.16 29.89 32.05 51.52 34.69 36.01 2) การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 – 2563 รายวชิ า คะแนนเฉลย่ี ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 พฒั นาการ ภาษาไทย 60.86 48.10 -12.76 คณติ ศาสตร์ 29.43 27.50 -1.93 วทิ ยาศาสตร์ 28.79 24.00 -4.79 ภาษาองั กฤษ 25.14 28.51 +3.37 รวมเฉลี่ย 36.06 32.05 -4.01
16 ส่วนท่ี 2 กรอบการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ประจาปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านแกง้ เหตุผลและความจาเป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 76และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 13 และมาตรา 14 บัญญัติให้คณะรัฐมนตรีจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อแสดง มาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแต่ละปี ให้สอดคล้องกับการแถลงนโยบาย ต่อรัฐสภาและแผนพัฒนาประเทศด้านต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังต้องจัดให้มีแผนนิติบัญญัติท่ีจาเป็นต่อการ ดาเนินการตามนโยบาย และแผนปฏิบัติราชการตลอดระยะเวลาส่ีปีของคณะรัฐมนตรี รัฐบาลจึงได้จัดทา แผนการบริหารราชการแผ่นดินข้ึนเพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการบริหารราชการแผ่นดิน และทุกส่วน ราชการใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการสป่ี ี และแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีตอ่ ไป โรงเรียนบ้านแก้ง ได้จัดทาแผนกลยุทธ์ (พ.ศ. 2562-2565) เพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการ บริหารและจัดการศึกษาในช่วงระยะเวลา 4 ปีข้างหน้า โดยวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ความสอดคล้องกับ นโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาล แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของกระทรวงศึกษา แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน การปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษท่สี อง และความต้องการพฒั นา การศึกษาของท้องถิ่น โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของหน่วยงานและฝุายที่เกี่ยวข้องเพ่ือการนาสู่การปฏิบัติได้ อยา่ งถกู ต้อง บรรลวุ ัตถุประสงค์อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างเป็นรปู ธรรม นโยบายท่ีเกยี่ วขอ้ ง แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงท่ีจะส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ นามาสู่การ กาหนดประเดน็ การพัฒนาสาคัญเพ่อื เป็นกรอบ การจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับ ท่ี 11โดยมงุ่ พัฒนาภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจน ยิ่งขึ้นในทุกระดับ ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ให้ความสาคัญกับการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วนในสังคม พัฒนาประเทศสู่ความสมดลุ ในทกุ มิติ อยา่ งบรู ณาการ และเปน็ องคร์ วม
17 วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ เสรมิ สรา้ งสังคมท่เี ป็นธรรมและเปน็ สังคมสงบสันตสิ ุข 2. เพอ่ื พัฒนาคนไทยทุกกลุ่มวัยอย่างเป็นองค์รวมทง้ั ทางกาย ใจ สติปญั ญา อารมณ์ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และสถาบนั ทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนให้มคี ุณภาพ 3. เพอื่ พัฒนาเศรษฐกจิ ใหเ้ ตบิ โตอย่างมีเสถียรภาพ คณุ ภาพ และย่ังยืน เป็นผนู้ า การผลติ สินคา้ และบริการบนฐานปัญญาและความคดิ สร้างสรรค์ในภูมิภาคอาเซยี น มีความม่ันคงทางอาหารและ พลงั งานการผลติ และการบริโภคเป็นมิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม นาไปสู่การเป็นสังคมคารบ์ อนต่า 4. เพอ่ื บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมใหเ้ พยี งพอต่อการรักษาสมดุลของ ระบบนเิ วศ และเปน็ ฐานท่ีมนั่ คงของการพฒั นาประเทศ เป้าหมายหลัก 1. ความอย่เู ยน็ เปน็ สุขและความสงบสุขของสงั คมไทยเพ่ิมขึ้น ความเหลอื่ มลา้ ในสังคมลดลง และภาพลกั ษณ์การคอรร์ ัปชั่นดขี ้ึน 2. คนไทยมีการเรียนรอู้ ย่างต่อเนอื่ ง มีสขุ ภาวะดขี ึน้ และสถาบนั ทางสงั คมมีความเข้มแข็งมาก ขึ้น 3. เศรษฐกิจเตบิ โตในอัตราท่ีเหมาะสมตามศักยภาพของประเทศ โดยให้ความสาคญั กับการ เพ่มิ ผลิตภาพรวมไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 3 ต่อปี เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ของประเทศ เพิ่ม มลู ค่าผลิตภัณฑข์ องวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มตอ่ GDP ใหม้ ีสดั สว่ นไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 40 และลด ปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจก 4. คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพ่ิมประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรอื น กระจกรวมท้งั เพ่มิ พ้นื ที่ปุาไมเ้ พื่อรักษาสมดลุ ของระบบนิเวศ ยุทธศาสตรท์ ี่เกย่ี วข้องกับการจดั การศึกษา ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นาคนสสู่ งั คมการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งยงั่ ยนื เปา้ หมายการพัฒนา 1. คนไทยทุกคนไดร้ ับการพัฒนาทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ มีอนามยั การเจริญพนั ธท์ุ ีเ่ หมาะสม ในทุกชว่ งวัย มีความรู้ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ มีนสิ ัยใฝุเรียนรู้ตลอดชีวติ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ มี วนิ ัย มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม มีค่านยิ มความเปน็ ไทย รูจ้ ักสทิ ธิหนา้ ทข่ี องตนเองและผู้อ่นื มีจิตสานกึ รับผิดชอบตอ่ สังคม 2. คุณภาพการศกึ ษาได้รบั การยกระดับสู่มาตรฐานสากล ต่อยอดองค์ความรสู้ ู่นวตั กรรมและ โอกาสการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรใู้ นรปู แบบท่ีหลากหลายเพิม่ มากขนึ้
18 3. โอกาสในการเข้าถึงระบบสุขภาพที่มีคณุ ภาพเพ่ิมขึ้น และปัจจยั เสี่ยงต่อสุขภาพลดลงอย่าง เป็นองคร์ วม 4. สถาบนั ครอบครวั สถาบันการศกึ ษา สถาบันศาสนา มบี ทบาทหลกั ในการหล่อหลอมบ่ม เพาะคนไทย โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ใหเ้ ป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมในวิถีชวี ิต และคานงึ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบับปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560-2579) วสิ ยั ทศั น์ คนไทยทกุ คนไดร้ บั การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอยา่ งเป็นสุข สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” วตั ถุประสงค์ในการจดั การศึกษา 4 ประการ 1. เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทมี่ ีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพือ่ พฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมืองท่ดี ี มคี ุณลักษณะทักษะและสมรรถนะทสี่ อดคล้องกับ บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ 3. เพื่อพฒั นาสงั คมไทยใหเ้ ป็นสงั คมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม รู้จักสามคั คี และ รว่ มมอื ผนึกกาลังมุ่งสู่การพฒั นาประเทศอย่างย่ันยืน ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อนาประเทศไทยกา้ วข้ามกับดกั ประเทศที่มรี ายได้ปานกลาง และความเหลอื่ มลา้ เป้าหมายในการจัดการศกึ ษา 1. การเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา (Access) 2. ความเท่าเทยี มทางการศึกษา (Equity) 3. คุณภาพการศึกษา (Quality) 4. ประสิทธภิ าพ (Efficiency) 5. การตอบโจทยบ์ ริบทที่มีการเปล่ียนแปลง (Relevancy) ยุทธศาสตร์ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพฒั นากาลงั คน การวิจยั และนวตั กรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ 4. การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษา
19 5. การจัดการศึกษาเพื่อสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม 6. การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา ทกั ษะผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 ภาพกรอบแนวคิด เพือ่ การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (21st Century Learning Framework) ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21ทที่ ุกคนจะต้องเรยี นรู้ตลอดชวี ติ คอื การเรียนรู้ 3R x 8C 3 R คอื Reading (อา่ นออก), (W)Riting (เขยี นได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเปน็ ) 8C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และ ทกั ษะในการแกป้ ัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม) Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเขา้ ใจความต่างวฒั นธรรมต่างกระบวน ทศั น์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมือ การทางานเป็น ทีม และภาวะผนู้ า) Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร สารสนเทศ และรเู้ ท่าทนั สอื่ ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร) Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนร)ู้ Compassion (ความมีคุณธรรม มเี มตตา กรุณา มรี ะเบียบวินัย)
20 แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบบั ที่ 12 ปี 2560-2564 เพ่ือใหห้ นว่ ยงานใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงานใหเ้ กิดผลผลติ และผลลพั ธ์ตามท่ีกาหนดไว้ ในแผน และเป็นเครื่องมอื ในการประสานงาน บูรณาการการทางานกับหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง และเป็น กรอบในการติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสดุ ต่อการพฒั นา การศกึ ษา ดังนี้ เปา้ หมายหลัก 1. คุณภาพการศกึ ษาของไทยดีขน้ึ คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมคิ มุ้ กนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กาลงั คนไดร้ ับการผลติ และพัฒนาเพ่ือเสริมสร้างศกั ยภาพการแขง่ ขันของประเทศ 3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนบั สนนุ การพฒั นาประเทศอย่างย่ังยนื 4. คนไทยได้รบั โอกาสในการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวติ 5. ระบบการบรหิ ารจดั การมปี ระสทิ ธภิ าพตามหลกั ธรรมาภิบาลโดยการมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น วิสยั ทัศน์ “มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรู้คู่คณุ ธรรม มีคุณภาพชวี ิตท่ดี ี มีความสขุ ในสงั คม” พันธกิจ 1. ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ/ประเภท สสู่ ากล 2. เสรมิ สร้างโอกาสเข้าถงึ การบรกิ ารทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งทวั่ ถึง เทา่ เทยี ม 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล ประเทศ ยุทธศาสตร์ 1. พฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล 2. ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศึกษา 3. ผลติ และพัฒนากาลังคน รวมทัง้ งานวจิ ัยทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการของการพฒั นา 4. ขยายโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิต 5. สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอ่ื การศึกษา 6. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา
21 แผนปฏบิ ัติราชการ ปงี บประมาณ 2564 ของสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 วสิ ัยทศั น์ “การศึกษาข้นั พ้ืนฐานของประเทศไทย มีคณุ ภาพและมาตรฐานระดบั สากล บนพน้ื ฐานของ ความเปน็ ไทย” พันธกิจ 1. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้ประชากรวัยเรียนทุกคนไดร้ ับการศกึ ษาอย่างทั่วถงึ และมคี ุณภาพ 2. ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตามหลกั สตู รและ ค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เน้นการมีส่วนรว่ ม เพ่ือเสริมสรา้ งความรบั ผดิ ชอบต่อคุณภาพ การศึกษา และบูรณาการการจดั การศึกษา เปา้ หมาย เพอื่ ใหก้ ารจดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดบั สากลบน พ้นื ฐานของความเปน็ ไทย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน จงึ กาหนดเปูาหมาย ดังน้ี 1. ผ้เู รียนระดบั ก่อนประถมศึกษา และระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐานทกุ คน มีพฒั นาการเหมาะสม ตามวยั มีคณุ ภาพและทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 2. ประชากรวัยเรียนทกุ คนได้รับโอกาสในการศึกษาข้นั พ้นื ฐานอยา่ งทั่วถึง มีคุณภาพ และ เสมอภาค 3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มสี มรรถนะตรงตามสายงาน และมวี ัฒนธรรมการทางานที่ มงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธิ์ 4. สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ และสถานศกึ ษา มี ประสิทธภิ าพและเป็นกลไกขับเคลอ่ื นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่คณุ ภาพ ระดับมาตรฐานสากล 5. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เนน้ การท ำงานแบบบูรณาการ มเี ครือข่าย การบริหารจดั การ บรหิ ารแบบมสี ่วนร่วมจากทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศกึ ษา กระจายอานาจและ ความ รบั ผิดชอบส่สู านกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา และสถานศกึ ษา 6. พน้ื ที่พเิ ศษ ไดร้ บั การพฒั นาคุณ ภาพการศึกษาและพฒั นารปู แบบการจัดการศึกษาท่ีเหมา สมตามบริบทของพน้ื ที่ 7. หนว่ ยงานทุกระดับพฒั นาส่อื เทคโนโลยแี ละระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจัด การศกึ ษาอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 8. หน่วยงานทุกระดบั มีงานวจิ ยั ท่ีสามารถนาผลไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา
22 ยทุ ธศาสตร์ 1. จัดการศึกษาเพื่อความม่นั คง 2. พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นและส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 3. ส่งเสริมสนบั สนุนการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 4. ขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ 5. จดั การศึกษาเพื่อเสริมสร้างคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 6. พฒั นาระบบบริหารจัดการและสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ ม
23 ส่วนที่ 3 กลยุทธก์ ารจัดการศกึ ษาโรงเรียนบ้านแก้ง วิสยั ทัศน์ “โรงเรียนบ้านแก้งมุ่งพัฒนาการศึกษาให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้รับการบริการทางการศึกษาท่ีมี คุณภาพเท่าเทียมกัน มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารในประชาคมอาเซียน เป็นผู้มีบุคลิกภาพท่ี ดี มีความมั่นใจในตนเอง เป็นนักคิดที่สร้างสรรค์และมีค่านิยมอันดีงามบนพ้ืนฐานความเป็นไทย บุคลากร จดั การเรยี นการสอนแบบครมู อื อาชพี สถานศึกษานา่ ดู นา่ อยู่ น่าเรียน และมีรูปแบบการบริหารจัดการที่เน้นการ มีส่วนร่วมของชุมชน ด้วยการเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ การพฒั นาท่ีย่งั ยนื และการเปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21” พันธกจิ 1. ส่งเสริมและพฒั นาผูเ้ รียนให้มคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน และมีศักยภาพ 2. ปลกู ฝังให้นักเรยี นมีคุฯธรรม มจี ติ สาธารณะ มีค่านิยมและคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคภ์ ายใตห้ ลัก ปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียง 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี และความ เชยี่ วชาญเฉพาะบุคคล 4. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การด้วยคณุ ภาพตามแนวทางกระจายอานาจบนหลักธรรมาภบิ าล โดยใช้เทคโนโลยแี ละหลกั การมสี ว่ นรว่ ม เป้าประสงค์ 1. สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐาน และยึดหลักการมีสว่ นร่วม 2. สถานศึกษาใช้สือ่ เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3. สถานศกึ ษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ 4. สถานศกึ ษามหี ลักสูตรสถานศึกษาเพื่อรับรองการก้าวส่อู าเซียน 5. สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการเปล่ียนแปลง ของโลกในศตวรรษที่ 21 6. ผูเ้ รียนมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงคต์ ามหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 7. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามคี วามรู้ สมรรถนะ และความสามารถในการปฏิบตั ิงานไดต้ าม มาตรฐานวิชาชีพ 8. ประชากรวยั เรยี นไดร้ ับดารศึกษาขนั้ พื้นฐานอย่างเท่าเทียม ทว่ั ถึง และมคี ุณภาพได้มาตรฐาน การศกึ ษา อยู่ร่วมกับผอู้ นื่ ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข
24 ประเด็นกลยทุ ธ์ 1. การบริหารจดั การขององค์กร 2. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศกึ ษา 3. พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเน้นให้ผเู้ รยี นมีทักษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษที่ 21 4. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชพี 5. สร้างโอกาสทางการศกึ ษา ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ 1. รอ้ ยละของสถานศึกษา มีระบบการบรหิ ารจดั การมีคณุ ภาพและมาตรฐาน 2. ระดับความสาเรจ็ ของการมีส่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นในการบริหารจัดการ 3. จานวนของสถานศึกษาท่ใี ชส้ ่อื เทคโนโลยใี นการจดั ระบบการเรียนการสอนไดห้ ลายรูปแบบ และมปี ระสิทธภิ าพ 4. รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการศึกษาทุกรปู แบบได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ร้อยละของผู้เรียนท่มี ีความรู้ ความสามารถตามสมรรถนะการใช้ส่อื เทคโนโลยหี าความรู้ได้ อย่างมีคณุ ภาพ 6. รอ้ ยละของสถานศกึ ษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในที่มีประสทิ ธิภาพ 7. รอ้ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีหลกั สูตรสถานศึกษาเพื่อรองรบั การก้าวส่อู าเซยี น 8. รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดับชั้น ม.3, ป.6 (O-NET) ของวชิ าหลัก 5 กลมุ่ สาระหลกั ในแต่ละปีการศกึ ษามีคา่ เฉล่ยี เพิม่ ขน้ึ 9. ร้อยละของครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพและเน้น ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ 10. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ สมรรถนะ และความสามารถในการ ปฏบิ ตั ิงานไดต้ ามมาตรฐานวิชาชพี ทัดเทยี มกับกลุ่มประเทศในอาเซียน 11. ร้อยละของครูจดั การเรยี นรู้และใช้สือ่ ทสี่ อดคล้องตามหลักสูตร 12. ร้อยละของผเู้ รียนมีความรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 13. ร้อยละของผเู้ รียนทุกคนมีคุณภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา อยรู่ ่วมกบั ผู้อนื่ ในสงั คม อย่างมีความสขุ 14. ร้อยละของประชากรวยั เรยี นได้รับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานอย่างทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพได้ มาตรฐาน 15. ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีบริหารจัดการและจดั การเรียนการสอนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง
25 ส่วนท่ี 4 ผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา ระดบั ปฐมวยั ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั มาตรฐานการศกึ ษา: ดเี ลศิ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา ดีเลศิ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเป็นสาคญั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนินโครงการสง่ เสริมพัฒนาการท้งั 4 ดา้ นของเด็กปฐมวยั ตลอดปีการศกึ ษา ดว้ ยการ ดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ซงึ่ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมส่งเสรมิ พัฒนาการทางด้านร่างกาย กจิ กรรม ส่งเสรมิ พฒั นาการทางด้านอารมณ์-จติ ใจ กิจกรรมสง่ เสริมพัฒนาการด้านสงั คม และกจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาการด้านสติปญั ญา 1.2 การดาเนนิ งานโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยเพ่ือส่งเสริมความรพู้ นื้ ฐานและเจคตทิ ี่ดี ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ตลอดปีการศกึ ษา ดว้ ยการดาเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA 1.3 การกิจกรรมการเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษาสาหรบั เดก็ ปฐมวัยเพื่อการเตรียมความพรอ้ มให้ ผเู้ รยี นในการก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดปีการศกึ ษา ด้วยการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA 1.4 การดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามแนวทางการจัดกจิ กรรมในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ตลอดปกี ารศึกษา ดว้ ยการดาเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 2. ผลการดาเนนิ งาน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมนิ สรุปผลการ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก/ประเด็น ดี ประเมิน พจิ ารณา ดีเลิศ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย 1.1 มพี ัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ ดี และดูแลความปลอดภยั ของตวั เองได้
26 1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และ ดี ดีเลิศ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย แสดงออกทางอารมณ์ได้ ดี ดีเลศิ สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย 1.3 มีพฒั นาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตวั เอง และ ดี ดเี ลิศ สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย เป็นสมาชิกทดี่ ีของสังคม ดี ดเี ลิศ สงู กว่าค่าเป้าหมาย 1.4 มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะ การคิดพนื้ ฐาน และแสวงหาความร้ไู ด้ สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 จากผลการดาเนินงานในมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก อธิบายเพ่มิ เติมได้ดงั นี้ 1. นกั เรยี นปฐมวยั โรงเรยี นบา้ นแกง้ มีผลการประเมนิ พฒั นาการทัง้ 4 ด้าน ตามหลกั สูตรการศกึ ษา ปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 อยู่ในระดบั ดี คิดเป็นรอ้ ยละ 92.89 ซึง่ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1.1 พัฒนาการดา้ นร่างกาย เด็กมนี ้าหนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์มาตรฐาน เคล่ือนไหวร่างกาย คล่องแคลว่ ทรงตวั ได้ดี ใชม้ ือและตามประสานสัมพันธ์กนั ได้ดี ดูแลรกั ษาสุขภาพอนามยั ส่วนตนและปฏิบัติจน เป็นนิสัย ปฏิบตั ิตนตามขอ้ ตกลงเก่ยี วกับความปลอดภัย หลีกเล่ยี งสภาวะท่เี ส่ยี งต่อโรค สงิ่ เสพติด และระวัง ภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ทเ่ี สี่ยงอนั ตราย 1.2 พัฒนาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ เดก็ ร่าเริง แจม่ ใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จกั ยบั ยัง้ ชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถและผลงานของตนเองและผูอ้ ืน่ มี จิตสานกึ และคา่ นยิ มท่ีดี มคี วามมั่นใจ กลา้ พดู กลา้ แสดงออก ช่วยเหลือแบง่ ปัน เคารพสทิ ธิ รหู้ นา้ ที่รบั ผดิ ชอบ อดทนอดกลนั้ ซ่ือสัตยส์ ุจรติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามที่โรงเรียนกาหนด ชน่ื ชมและมีความสขุ กับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว 1.3 พฒั นาการด้านสังคม เด็กชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัติกจิ วตั รประจาวนั มวี นิ ัยใน ตนเอง ประหยัดและพอเพยี ง มีส่วนรว่ มดแู ลรักษาส่งิ แวดล้อมในและนอกห้องเรียน มมี ารยาทตามวฒั นธรรม ไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกบั ผใู้ หญ่ เป็นตน้ ยอมรบั หรอื เคารพความแตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล เล่นและทางานร่วมกับผ้อู ่นื ได้ รจู้ ักแก้ไขความขดั แย้งโดยปราศจากความรุนแรง 1.4 พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา เดก็ สนมนาโตต้ อบและเลา่ เรื่องใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจ ตง้ั คาถามในสิ่งท่ี ตนเองสนใจหรอื สงสยั และพยายามคน้ หาคาตอบ อา่ นนิทานและเลา่ เร่อื งที่ตนเองอา่ นไดเ้ หมาะสมกบั วัย มี ความสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ การคดิ แกป้ ัญหาและ สามารถตดั สนิ ใจเร่ืองง่ายๆ ได้ สรา้ งสรรค์ผลงานตามความคดิ และจินตนาการ เชน่ งานศลิ ปะ การเคลื่อนไหว ทา่ ทาง การเลน่ อิสระ เป็นตน้ และใชส้ อื่ เทคโนโลยี เช่น แวน่ ขยาย แม่เหลก็ กลอ้ งดิจิตอล เปน็ ต้น เปน็ เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรไู้ ด้ 2. นักเรยี นชั้นอนบุ าล 3 มีความพร้อมในการเขา้ เรียนเขา้ เรียนชัน้ ป.1 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
27 3. จุดเด่น 3.1 เดก็ มีพัฒนาการดา้ นร่างกายสมวัย มีนา้ หนกั ส่วนสูง ตามเกณฑ์สมวยั รา่ งกายแข็งแรง เคลอื่ นไหว ได้อย่างคลอ่ งแคล่ว กลา้ มเน้ือใหญ่และกลา้ มเน้ือเลก็ ประสาทสมั พนั ธ์กันดี 3.2 เดก็ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ –จิตใจ สมวยั สามารถแสดงออกทางอารมณ์ ได้อยา่ งเหมาะสมกับ กาละเทศ มีความรู้สึกทีด่ ตี ่อตนเองและผอู้ น่ื 3.3 เดก็ มีพฒั นาการด้านสงั คมสมวัย มีทกั ษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง มวี ินัยใน ตนเอง รกั ธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมและอนรุ ักษ์สงิ่ ท่เี ปน็ สาธารณะสมบัติส่วนรวม มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย ยม้ิ ง่าย ไหวส้ วย รูจ้ ักทักทายผมู้ าเยอื น 3.4 เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสติปัญญาสมวัย มคี วามกล้าแสดงออก ทง้ั ทางด้านการใช้ทา่ ทาง คาพูด การ ปฏบิ ัติสมั พันธ์ การใช้ส่ือเทคโนโลยใี นการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 3.5 มกี ารจดั ประสบการณ์การเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษา และมีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เสริมในการพฒั นาผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ 4. จดุ ควรพัฒนา 4.1 สื่อทสี่ ง่ เสริมพฒั นาการด้านร่างกาย ได้แก่ สนามเด็กเล่น อปุ กรณ์ เคร่ืองเลน่ สนามชารดุ ทรุด โทรม บางอย่าง แตกหัก มสี ภาพที่ไมป่ ลอดภัย ควรได้รับการปรับปรงุ และจดั หามาเพ่มิ เติม 4.2 ควรเพม่ิ การมสี ว่ นรว่ มของพ่อแม่ คอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝาุ ยทเ่ี กี่ยวข้องในการส่งเสรมิ พัฒนาการเด็ก 4.3 ควรเพ่มิ ความตอ่ เนื่องของการจดั ประสบการณ์การเรียนร้ตู ามหลกั สูตรสถานศึกษา และการ ดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพัฒนาผู้เรยี น 5. แผนพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี งู ขน้ึ แผนปฏิบัตงิ านท่ี 1 โครงการสง่ เสริมพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กปฐมวยั แผนปฏิบตั งิ านท่ี 2 โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 3 โครงการส่งเสรมิ การจดั ประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 4 โครงการพัฒนาวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผูเ้ รียนอยา่ งรอบดา้ นตามหลักสตู ร สถานศึกษา แผนปฏบิ ัติงานท่ี 5 โครงการพัฒนาแหล่งเรียนร้ทู ้ังในและนอกสถานศกึ ษา แผนปฏิบตั งิ านท่ี 6 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อือ้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ แผนปฏิบัติงานที่ 7 โครงการขบั เคลื่อนคุณภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC
28 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนินงานโครงการพัฒนาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผู้เรียนอย่างรอบดา้ นตามหลักสูตร สถานศึกษา เพื่อพัฒนาและใชห้ ลักสตู รสถานศกึ ษาท่ีครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ด้าน เนน้ การเตรยี มความ พร้อมโดยไม่เร่งรดั วชิ าการ เนน้ การเรียนรู้ผา่ นการเล่นและปฏิบตั ิจริง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัวและชมุ ชน 1.2 สถานศึกษาได้ดาเนนิ การจัดหาครใู ห้เพียงพอกบั ชัน้ เรยี น ครูจบการศึกษาด้านปฐมวัยโดยตรงและ มีความรคู้ วามสามารถในการออกแบบการจดั กิกรรมและประเมินพฒั นาการเด็กและครอบครวั โดยส่งเสริมให้ ครพู ัฒนาตนเองให้มีความรูค้ วามสามารถในการจดั ประสบการณ์สาหรบั เด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสมเพ่อื ความ พรอ้ มในการพฒั นาเด็กสศู่ ตวรรษท่ี 21 อย่างครูมืออาชพี 1.3 การดาเนินงานโครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ เพ่ือ สภาพแวดล้อมให้มคี วามปลอดภัย 1.4 การดาเนินงานโครงการพัฒนาแหลง่ เรียนรทู้ ้ังในและนอกสถานศึกษา ดาเนินการจัด สภาพแวดลอ้ มท่ีมคี วามเหมาะสม และปลอดภัยในการสง่ เสริมพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย 1.5 สง่ เสรมิ การใชส้ ่ือเทคโนโลยี โดยการให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรียนรู้เพอื่ สนับสนนุ การจัดประสบการณท์ ่ีเหมาะสมสาหรบั เด็กปฐมวยั และส่งเสริมใหค้ รูจดั มุมประสบการณ์ที่ หลากหลายเพือ่ ส่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัย 1.6 สถานศกึ ษาได้กาหนดมาตรฐาน แผนพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา สอดคลอ้ งกับมาตรฐานท่ี สถานศกึ ษากาหนด มีการติดผลตามการดาเนนิ งานและรายงานการประเมินตนเองประจาปี นาผลการ ประเมนิ ไปปรับปรุงการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยผปู้ กครองและผู้เก่ียวข้องทุกฝาุ ยมสี ่วนรว่ ม และ จดั สง่ รายงานการประเมนิ ตนเองใหต้ ้นสงั กัด โดยใช้กระบวนการ PLC เพ่อื ขับเคลอื่ นการดาเนินงานใหค้ รบ วงจรคุณภาพ PDCA มกี ารนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม การดาเนินงานอยา่ งต่อเนื่อง ตามรปู แบบการนิเทศภายใน โรงเรยี นบา้ นแกง้ PSE Model เพ่ือยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาปฐมวยั ของโรงเรยี น 2. ผลการดาเนินงาน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน สรุปผลการ ดี ประเมนิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารแบะการ จัดการ / ประเด็นพจิ ารณา ดเี ลศิ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย 2.1 มีหลกั สตู รพัฒนาพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ดี ดเี ลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของท้องถ่ิน ดี ดีเลศิ สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย 2.2 จัดครใู หพ้ อกับชัน้ เรยี น 2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีความเช่ยี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
29 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารแบะการ คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมนิ สรุปผลการ จัดการ / ประเด็นพิจารณา ดี ประเมิน ดี 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสือ่ เพอ่ื การเรยี นรู้ อยา่ ง ดี ดเี ลิศ สูงกว่าค่าเป้าหมาย ปลอดภยั และเพียงพอ ดี 2.5 ใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการ ดเี ลศิ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย เรยี นรเู้ พือ่ สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ ดเี ลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย ผเู้ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝุายมีสว่ นร่วม ดีเลศิ สงู กว่าคา่ เป้าหมาย สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 2 จากผลการดาเนินงานในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อธิบายเพม่ิ เติมไดด้ ังน้ี 1. สถานศกึ ษามีหลกั สูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวัยฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2562 ตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ของกระทรวงศึกษาธิการ ทส่ี อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา 2. ครูมจี านวนเพียงพอและเหมาะสมกับช้นั เรียน ซง่ึ ครผู ู้สอนจบปรญิ ญาตรดี ้านการศกึ ษาปฐมวัย โดยตรง มีการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ เพอ่ื เพิ่มพูนศักยภาพดา้ นการจดั ประสบการณ์ท่สี ่งผลตอ่ คุณภาพเดก็ เป็นรายบคุ คลตรงตามความต้องการของครแู ละสถานศกึ ษา 3. สถานศกึ ษาเข้ารว่ มโครงการ”บ้านนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ในพระราชดาริสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนคุณภาพมาตรฐานกจิ กรรมวิทยาศาสตรส์ าหรบั เด็กปฐมวัย บ้าน นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” 4. สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดล้อมอยา่ งปลอดภยั และมสี ื่อเพื่อการเรยี นรู้อยา่ งเพยี งพอและ หลากหลาย ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื การเรียนรู้ เพ่อื สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ เหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา 5. สถานศึกษามรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวข้องมีสว่ นรว่ ม การปฏิบตั งิ านท่สี ง่ ผลต่อคณุ ภาพมาตรฐานของสถานศึกษา บรู ณาการการปฏบิ ตั ิงานและเปิดโอกาสให้ ผเู้ กี่ยวข้องทุกฝุายมีส่วนรว่ ม 6. ครปู ฐมวยั ได้รับการพัฒนาท้งั 2 คน มีจานวนชว่ั โมงเฉลย่ี จากการอบรมและการใช้กระบวนการ PLC รวมเฉล่ยี 128 ชม. ต่อคน ตลอดปกี ารศึกษา และผบู้ ริหารเข้ารบั การพฒั นาตนเองและเข้าร่วมกระบวร การ PLC รวมเฉล่ีย 140 ชม/ปีการศึกษา 3. จุดเดน่ 3.1 โรงเรียนมหี ลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้งั 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บริบทท้องถนิ่ และมีการ ประเมนิ การใชห้ ลกั สตู รทุกปีการศึกษา
30 3.2 ครมู ีวฒุ ิการศึกษา จบการศกึ ษาปริญญาตรี สาขาอนบุ าล ท้ัง 2 คน ครบชน้ั เรยี น 3.3 ครูได้พฒั นาตนเองคือเข้ารับการอบรมพฒั นาคูปองครู เพื่อให้ครไู ด้พัฒนาศกั ยภาพที่จะนามาจดั ประสบการณ์สาหรบั เดก็ และเพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการประกอบวิชาชีพระดับสงู ต่อไป 3.4 มีการจดั มุมประสบการณ์อย่างน้อย 4 มมุ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยี และเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ ในการ ทากจิ กรรม สภาพแวดล้อมมีความปลอดภยั 3.5 โรงเรยี นเข้าโครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยแหง่ ประเทศไทยตัง้ แต่ปี 2550 ถงึ ปจั จุบันไดร้ ับ ตราพระราชทานคงสภาพเปน็ คร้งั ท่ี 2 ไดพ้ ฒั นาการจัดการเรียนร้เู ปน็ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ เน้นการปฏบิ ตั ิสูเ่ ด็ก นกั เรยี น 3.6 โรงเรียนประชมุ ผูป้ กครอง อย่างน้อย ปีละ 2 ครงั้ และใช้ ไลน์ กรุ้ป ผปู้ กครองแตล่ ะชัน้ เพื่อ ติดตอ่ สื่อสารกับผปู้ กครอง มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาท่เี ปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องมีส่วนรว่ ม การปฏบิ ัตงิ านทีส่ ง่ ผลต่อคุณภาพมาตรฐานของสถานศกึ ษา 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ควรตรวจสอบ พัฒนา และปรับปรงุ สื่อตามมุมประสบการณ์และส่ือในกจิ กรรมกลางแจง้ ท่ีชารดุ และซอ่ มแซมให้ใช้ในการงานไดแ้ ละมีความปลอดภยั กับนักเรยี น 4.2 ควรพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาให้ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษา มากยง่ิ ข้นึ จนกลายเป็นแบบอย่างที่ดี หรือนวตั กรรมการบรหิ ารของสถานศึกษาได้ 5. แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ด้มาตรฐานทีส่ งู ขนึ้ แผนปฏิบตั ิงานท่ี 1 โครงการส่งเสริมพฒั นาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย แผนปฏบิ ัติงานที่ 2 โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 3 โครงการส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรยี นรทู้ ี่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 4 โครงการพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพผเู้ รียนอยา่ งรอบดา้ นตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏิบตั ิงานที่ 5 โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ทง้ั ในและนอกสถานศึกษา แผนปฏิบตั งิ านท่ี 6 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เอือ้ ต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ แผนปฏิบตั ิงานที่ 7 โครงการขับเคล่อื นคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC
31 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สาคัญ ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพัฒนา การดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ทเี่ น้นเดก็ เป็นสาคญั เพ่ือส่งเสรมิ ให้ครู จดั ประสบการณท์ ่ีสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ เพือ่ สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับ ประสบการณ์ตรง เล่นและทากจิ กรรมอยา่ งมีความสุข เพื่อจดั บรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ ือ่ และ เทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวัย ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล จัดทาแผนการจัดประสบการณจ์ ากการวเิ คราะห์มาตรฐาน คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคใ์ นหลกั สูตรสถานศกึ ษา จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ พัฒนาการของเด็กใหค้ รบทุกด้าน เด็ก ได้เลอื กเลน่ และเรยี นรู้ ลงมือ กระทา และสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง ครจู ัดห้องเรยี นให้สะอาด อากาศ ถา่ ยเท ปลอดภัย เด็กมีสว่ นรว่ มในการจัดสภาพแวดล้อม เชน่ ปูายนิเทศ การดูแลต้นไม้ การทาความ สะอาด ครใู ช้ส่ือของเลน่ และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับชว่ งวัย ครปู ระเมนิ พฒั นาการเด็กจากกิจกรรมและ กจิ วตั รประจาวันโดยไม่ใช้แบบทดสอบมีผปู้ กครองมีสว่ นร่วมและนาผลการประเมนิ ทไ่ี ด้ไปพฒั นาคุณภาพเด็ก และใช้กระบวนการ PLC เพือ่ ขบั เคลือ่ นการดาเนนิ งานให้ครบวงจรคณุ ภาพ PDCA 2. ผลการดาเนนิ งาน มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทเ่ี นน้ เดก็ เปน็ คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ สรปุ ผลการ ประเมนิ สาคัญ / ประเด็นพจิ ารณา ดเี ลศิ สงู กว่าคา่ เป้าหมาย 2.1 จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการ ดี ดเี ลิศ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย ดีเลิศ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย ทุกด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ ดเี ลิศ สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย 2.2 สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรงเล่น ดี ดีเลศิ สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข 2.3 จัดบรรยากาศท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ใชส้ ่ือและ ดี เทคโนโลยเี หมาะสมกบั วยั 2.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนา ดี ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไป ปรับปรงุ การจัด ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 3 ดี จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เป็นสาคัญ อธิบายเพ่มิ เติมได้ ดงั น้ี
32 1. ครวู เิ คราะหข์ ้อมลู เด็กเป็นรายบุคคล จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์ จากการวเิ คราะหม์ าตรฐาน คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ในหลกั สตู รสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กครบทกุ ดา้ น ไมม่ งุ่ เนน้ การพัฒนาด้านใดด้านหนงึ่ เพียงด้านเดยี ว 2. ครจู ัดประสบการณ์ท่ีเช่อื มโยงกับประสบการณ์เดมิ ใหเ้ ดก็ มโี อกาสได้เลือกทากิจกรรมอยา่ งอสิ ระ ตามความสนใจ ความต้องการ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธกี ารเรียนร้ขู องเด็กเป็นรายบคุ คล หลากหลาย รูปแบบจากแหลง่ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย เด็กได้เลือกเลน่ ลงมือ กระทา และสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง 3. ครจู ดั หอ้ งเรียนได้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนท่แี สดงผลงานเดก็ พ้ืนทสี่ าหรับมุม ประสบการณ์และการจัดกจิ กรรม เดก็ มสี ่วนรว่ มในการจดั สภาพแวดล้อมในห้องเรยี น เช่น ปูายนิเทศ การดูแล ตน้ ไม้ เปน็ ต้น ครูใชส้ อื่ และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจและวถิ ีการเรยี นรขู้ องเด็ก เชน่ กล้องดจิ ติ อล คอมพวิ เตอร์ แวน่ ขยาย ส่ือของเลน่ ทก่ี ระด้นุ ใหค้ ดิ และหาคาตอบ เป็นต้น 4. ครูประเมนิ พฒั นาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั ด้วยเครอ่ื งมือและวธิ ีการท่ีหลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ วเิ คราะห์ผลการประเมินพฒั นาการเดก็ โดยผู้ปกครองและผู้เก่ยี วขอ้ ง มีส่วนร่วม และนาผล การประเมินไปพฒั นาคุณภาพเดก็ และแลกเปลย่ี นเรียนรู้การจัดประสบการณ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 3. จุดเด่น 3.1 ครรู จู้ ักเด็กเป็นรายบุคคลและจัดกจิ กรรมทสี่ าสามารถสง่ เริมพฒั นาการได้ครอบคลุมท้ัง 4 ดา้ น อย่างเป็นองค์รวม และคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลด้วย 3.2 ครูมกี ารจดั ประสบการณ์ท่ีเชอ่ื มโยงกับประสบการณ์เดิม ใหเ้ ด็กมีโอกาสเลือกทากิจกรรมอิสระ ตามความต้องการ เด็กไดเ้ รยี นร้อู ย่างมีความสขุ ผ่านการเลน่ จากกิจกรรมท่คี รูออกแบบ 3.3 จดั แหล่งเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย เด็กไดเ้ ลือกเลน่ เรียนรู้ ลงมอื และสรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง 3.4 ครูจดั ห้องสะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภยั มีพ้ืนทแ่ี สดงผลงานเดก็ พื้นท่สี าหรบั มมุ ประสบการณ์และครู ใชส้ อื่ หอ้ งเรยี นมปี ูายนเิ ทศ มสี ่อื และเทคโนโลยี มีคอมพิวเตอร์ ทีวี ส่ือของเล่นทีก่ ระตุ้นใหค้ ดิ และหาคาตอบ 3.5 ครปู ระเมนิ พฒั นาการเดก็ จากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั ด้วยเครอื่ งมือและวิธกี ารท่ี หลากหลาย ไม่ใชแ้ บบทดสอบ เนน้ การประเมินจากสภาพจริง จากกิจกรรมที่เด็กปฏบิ ตั ใิ นกิจกรรมประจาวนั วเิ คราะหผ์ ล การประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผปู้ กครองและผู้เกี่ยวขอ้ งมสี ่วนรว่ ม และนาผลการประเมนิ ไป พัฒนาเด็กและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ 3.6 ครู จานวนร้อยละ 100 เขา้ รับการพฒั นาตนเองและมีชัว่ โมงการพฒั นาตนเอง ผ่านเกณฑ์ที่ กคศ. กาหนด และใช้กระบวนการ PLC มาดาเนนิ การพัฒนาขับเคล่อื นการแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดจากกจิ กรรมการเรียน การสอนได้อยา่ งต่อเนื่อง โดยมชี ั่วโมงการพัฒนาตนเองเฉลี่ย 128 ชม/คน ตลอดปีการศึกษา 4. จดุ ควรพัฒนา 4.1 ควรเพ่ิมและพฒั นาสื่อท่ีเน้นกระบวนการคดิ ท่ีมจี านวนยงั ไมเ่ พยี งพอและสอดคลอ้ งกับการ พฒั นาเดก็ มากเท่าท่ีควร
33 4.2 ครคู วรพัฒนารปู แบบการจดั ประสบการณท์ ีส่ ง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ทงั้ 4 ดา้ น ใหโ้ ดดเดน่ และมี คณุ ภาพ สามารถเปน็ นวตั กรรมหรือเป็นอย่างทด่ี ีของครูและของโรงเรยี น 5. แผนพัฒนาเพ่อื ให้ไดม้ าตรฐานท่ีสงู ขนึ้ แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 1 โครงการสง่ เสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวยั แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 2 โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย แผนปฏิบตั งิ านท่ี 3 โครงการส่งเสรมิ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ แผนปฏิบตั งิ านที่ 4 โครงการพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผูเ้ รียนอย่างรอบดา้ นตามหลักสตู ร สถานศกึ ษา แผนปฏิบัตงิ านท่ี 5 โครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรูท้ ั้งในและนอกสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 6 โครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏิบตั งิ านที่ 7 โครงการขับเคลอื่ นคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC
34 ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับคุณภาพ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ดีเลศิ ดีเลิศ มาตรฐานการศึกษา : ดเี ลิศ ดเี ลศิ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนินงานโครงการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รยี น ตลอดปีการศึกษา ด้วยการ ดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพอ่ื ส่งเสริมความสามารถของผเู้ รียนในด้านการอา่ น การเขยี น การ ส่อื สาร การคดิ คานวณ ใหผ้ ูเ้ รียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ สามารถ แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแก้ปัญหา ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มคี วามสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา มี ความรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ 1.2 การดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผู้เรยี น ตลอดปกี ารศึกษา ดว้ ยการดาเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA เพอื่ ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมที่ดีตามที่ สถานศกึ ษากาหนด มีความภาคภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย และการมีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม 2. ผลการดาเนนิ งาน ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน สรุปผลการประเมนิ ดี ดเี ลิศ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น/ ประเดน็ พิจารณา ดี ดเี ลิศ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย 1. รอ้ ยละของผเู้ รียนผ่านเกณฑป์ ระเมินผลสมั ฤทธิ์ทาง ดี ดีเลศิ สูงกวา่ คา่ เป้าหมาย วชิ าการ ดี ดเี ลิศ สูงกว่าคา่ เป้าหมาย 1.1 ผเู้ รียนมคี วามสามรถในการอ่าน การเขยี น การ ส่ือสาร และการคดิ คานวณ 1.2 ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ และคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา 1.3 ผู้เรยี นมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
35 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน/ ประเด็นพิจารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน สรปุ ผลการประเมนิ 1.4 เรยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดี ดเี ลศิ สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย สารสนเทศ และการส่ือสาร 1.5 ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลกั สตู ร ดี ดเี ลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย สถานศกึ ษา 1.6 ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทีด่ ตี อ่ ดี ดีเลิศ สูงกว่าค่าเปา้ หมาย งานอาชพี 2. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น ดี ดเี ลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย 2.1 การมคี ณุ ลกั ษณะ และคา่ นยิ มทด่ี ตี ามสถานศึกษา ดี ดเี ลศิ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย กาหนด 2.2 ความภูมิใจในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย ดี ดเี ลศิ สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย 2.3 การยอมรบั ทจี่ ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกตา่ ง และ ดี ดเี ลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย หลากหลาย 2.4 สุขภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจิตสงั คม ดี ดเี ลิศ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย ดี ดเี ลศิ สูงกว่าค่าเป้าหมาย สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น อธบิ ายเพ่มิ เติมไดด้ งั นี้ 1. ผู้เรียนมที ักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากาหนด ในแต่ละระดบั ช้ัน ทกุ ระดบั ช้ัน 2 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ จาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ โดย ใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ มีการอภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หาอย่างมเี หตผุ ล 3. ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการรวบรวมความรไู้ ด้ท้งั ดว้ ยตนเองและการทางานเป็นทีม เช่อื มโยงองค์ ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสรา้ งสรรค์ส่ิงใหม่ๆ จากการทาโครงงาน โครงการ ตลอดจนการผลิต ชนิ้ งานใหม่ๆ 4. ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เพ่อื การพัฒนาตนเองและ สังคมในด้านการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทางานอย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม รู้จักนาสื่อโซเชยี ลมเี ดยี มาใช้ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการเรยี นรู้และการส่ือสาร 5. ผู้เรียนบรรลแุ ละมคี วามกา้ วหน้าในการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการตา่ งๆ และคะแนนเฉลี่ยรวมการสอบ O-net ของชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มคี า่ เฉลี่ยรวม 4 สาระ รอ้ ยละ 37.81 โดยวชิ าภาษาไทย มคี ะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดับประเทศ และใน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มคี ่าเฉล่ีย รวม 4 สาระ ร้อยละ 32.05 นอกจากนี้ ผลการทดสอบความสามารถ พืน้ ฐาน (NT) ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 คะแนนเฉลีย่ รวมความสามารถท้ัง 2 ดา้ น ได้ร้อยละ 55.52 ซ่ึงเป็น ค่าเฉลยี่ ที่สูงกวา่ ระดับประเทศ และเมื่อแยกเป็นรายดา้ น และผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ น
36 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 คะแนนเฉล่ยี รวมความสามารถทง้ั 2 ด้าน ได้รอ้ ยละ 90.11 ซงึ่ เปน็ คา่ เฉลยี่ ที่สงู กว่าระดับประเทศ 6. ผ้เู รยี นมีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานในการจัดการ มีเจตคติท่ดี ีพร้อมที่จะศกึ ษาในระดบั ชนั้ ที่สงู ขึน้ และมี เจตคตทิ ่ีดีต่อการทางานและการประกอบอาชพี สจุ ริต โดยนักเรียนชน้ั ป.6 และ ม. 3 เรยี นตอ่ ในช้ันทส่ี งู ข้ึน ครบรอ้ ยละ 100 7. ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมท่เี ปน็ ผู้ทมี่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา มีคา่ นิยมและจิตสานกึ ตามท่ี สถานศึกษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและวฒั นธรรมอันดงี ามของสงั คม 8. ผู้เรยี นมีความภาคภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ เห็นคุณค่าความเป็นไทย มีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม ประเพณีไทยรวมทั้งภูมปิ ัญญาไทย เช่นการเข้าร่วมบญุ ประเพณขี องหมู่บา้ น การอนุรักษ์วงดนตรโี ปงลางของ โรงเรยี น การแสดงศิลปะการฟูอนรา เปน็ ต้น 9. ผูเ้ รยี นยอมรบั และอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เช้อื ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 10. ผู้เรียนมกี ารรักษาสขุ ภาพกาน สขุ ภาพจิต อารมณ์และสงั คม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ ละช่วงวัยสามารถอยรู่ ว่ มกับคนอ่นื อย่างมีความสุข เข้าใจผู้อน่ื ไม่มคี วามขัดแยง้ กบั ผอู้ ่ืน 3. จดุ เด่น 3.1 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและการคดิ คานวณ สูงกวา่ เปาู หมายท่ี สถานศึกษากาหนด 3.2 ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษาสูงกว่าเปาู หมายท่สี ถานศึกษากาหนด มี ผลสอบ O-net มีค่าใกลเ้ คียงกับค่าเฉลีย่ ระดบั ประเทศ และรายวิชาภาษาไทย ของชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มี คะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ระดบั ประเทศ และในระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 คา่ เฉลย่ี ใกล้เคียงกบั ค่าเฉล่ยี ระดบั ประเทศ นอกจากนี้ผลการทดสอบข้ันพืน้ ฐาน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการทดสอบ ความสามารถในการอา่ น (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ลว้ นแล้วแต่มีคะแนนเฉลยี่ สูงกว่าระดบั ประเทศ 3.3 ผู้เรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณอภิปรายแลกเปลีย่ นความ คิดเห็น โดยใช้เหตผุ ลประกอบการาตดั สินใจ และแกป้ ัญหาได้ 3.4 ผเู้ รยี นมีความสนใจในการสรา้ งนวัตกรรมจากการที่ไดเ้ รียนรู้ในช้นั เรยี น 3.5 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อพฒั นาตนเอง และสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสารและการทางาน 3.6 ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดพี ร้อมทจ่ี ะศกึ ษาต่อในระดับท่สี ูงข้นึ และการทางาน หรืออาชีพสุจริต 3.7 ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมท่ีดสี ูงกว่าเปาู หมายที่สถานศึกษากาหนด
37 4. จดุ ควรพัฒนา 4.1 ควรสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมีความรคู้ วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยใหม้ กี ารนาไปใชแ้ ละ เผยแพร่ด้วย 4.2 ควรพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและผลการทดสอบระดบั ชาตใิ ห้มีค่าเฉล่ียสงู ขึ้นหรือสงู กวา่ ระดับประเทศทุกกลุ่มสาระ 5. แผนพฒั นาเพอ่ื ให้ได้มาตรฐานท่ีสูงขนึ้ แผนปฏิบัตงิ านท่ี 1 โครงการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รียน แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 2 โครงการสง่ เสริมและพัฒนาคุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน แผนปฏิบตั ิงานที่ 3 โครงการพฒั นาครูและบุคลากร แผนปฏิบัตงิ านที่ 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 5 โครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการและ การเรียนรู้ แผนปฏิบัตงิ านท่ี 6 โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ แผนปฏิบัตงิ านที่ 7 โครงการพัฒนาวิชาการทีเ่ นน้ คุณภาพผเู้ รียนอย่างรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏิบตั ิงานที่ 8 โครงการขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบัตงิ านท่ี 9 โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรทู้ งั้ ในและนอกสถานศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารที่ 10 โครงการส่งเสรมิ ความสามารถทางดา้ นดนตรี ศิลปะ และกฬี า มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพัฒนา 1.1 การกาหนดเปาู หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ กาหนดโครงสร้างการบริหารงาน กาหนด ผูร้ บั ผิดชอบงานอย่างชดั เจน มีการกาหนดแผนยทุ ธศาสตร์ แผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี การศึกษาทผ่ี ่านการเหน็ ชอบและไดร้ ับการรับรองจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มกี ารดาเนินงาน ตามแผน การนเิ ทศ กากับติดตาม อยา่ งต่อเนื่อง กาหนดวิธีการและเคร่อื งมือประเมินการดาเนินงานอย่าง เหมาะสม ตลอดจนสรุปผล รายงานผลการดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้ นาผลสรุปจากการดาเนนิ งานไป พฒั นาและปรับปรงุ การดาเนินงานเพ่ือประสิทธิภาพท่ดี ขี องการดาเนนิ งานอยูเ่ สมอ และทาการเผยแพรผ่ ลการ ดาเนนิ งานต่อสาธารณชนเปน็ ลาดบั ต่อไป และมีการนาชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพมาใชใ้ นการพัฒนางาน พัฒนาระบบการบริหารงานด้วย
38 1.2 การนาระบบวงจรคุณภาพเดมม่ิง (PDCA) มาใช้เปน็ กระบวนการในการดาเนินงานโดยใชโ้ รงเรียน เป็นฐาน โดยใชร้ ูปแบบการบริหารงาน 3 ป. 4 รว่ ม เนน้ การมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นทม่ี ีส่วนได้ส่วนเสยี ใน การจดั การศึกษาใหเ้ ข้ามา ร่วมคิด รว่ มปฏบิ ัติ ร่วมประเมินผลและรว่ มชืน่ ชม โดยผา่ นการดาเนนิ งานโดยใช้ กลยทุ ธ์ 3 กลยทุ ธ์ ได้แก่ ปรับปรงุ สถานศึกษาใหน้ ่าอยู่ ปรับปรงุ ครสู ูม่ าตรฐาน และปรับปรงุ คณุ ภาพการศึกษา สคู่ ุณภาพ โดยมีเปาู หมายท่ี คูณภาพนักเรียน คุณภาพครู คุณภาพผบู้ รหิ าร และคณุ ภาพโรงเรียน 1.3 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรยี นอยา่ งรอบดา้ นตามหลักสตู ร สถานศึกษา เพื่อพัฒนาหลกั สูตรการจดั การเรยี นการสอน กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรท่ีเน้นผู้เรียนอย่างรอบด้าน เชือ่ มโยงวิถีชวี ติ จริง ครอบคลุมทกุ กลุ่มเปาู หมาย 1.4 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี น เพ่ือสง่ เสริม สนับสนนุ พัฒนาครู บุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญในวิชาชพี และจดั ใหม้ ชี ุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี มาใช้ในการพฒั นา งานและการเรยี นรู้ของผ้เู รียน 1.5 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ เพ่ือ พฒั นาสภาพแวดลอ้ มท่เี อือ้ ต่อการจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ และมีความปลอดภัย 1.6 การดาเนนิ งานโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจัดการและ การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสม กบั สภาพของสถานศึกษา 1.7 การดาเนนิ การนิเทศ กากับ ติดตาม การดาเนนิ งาน โดยใช้ รูปแบบการนเิ ทศภายในโรงเรยี นบา้ น แก้ง PSE Model เพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนบา้ นแกง้ 2. ผลการดาเนินงาน คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมิน สรปุ ผลการ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการ ดี ประเมนิ จัดการ/ ประเด็นพจิ ารณา ดี ดี ดีเลศิ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย 1. การมีเปาู หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ที่ สถานศึกษากาหนดชดั เจน ดี ดเี ลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย 2.มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดี ดีเลศิ สูงกว่าค่าเป้าหมาย 3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี น รอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา และ ดีเลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย กลมุ่ เปาู หมาย 4. พฒั นาครู และบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทาง ดีเลศิ สงู กว่าค่าเป้าหมาย วชิ าชพี 5. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมทเี่ อ้ือ ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
39 6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การ ดี ดีเลิศ สูงกว่าคา่ เป้าหมาย บริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ ดี ดีเลศิ สงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย สรุปผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อธบิ ายเพิม่ เตมิ ไดด้ ังน้ี 1. สถานศึกษากาหนดเปูาหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจไวอ้ ยา่ งชดั เจน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของ สถานศึกษา ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถิน่ วตั ถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและตน้ สังกดั รวมท้งั การเปลี่ยนแปลงของสงั คม 2. สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ ท้ังในส่วนการวางแผน พัฒนาคุณภาพการศกึ ษามีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ พฒั นางานอย่างตอ่ เน่ือง มีการ บริหารอตั รากาลงั ทรพั ยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน มรี ะบบการนิเทศภายใน การนา ขอ้ มลู มาใชพ้ ัฒนาบุคลากรและผทู้ ่เี ก่ียวข้องทุกฝาุ ยมีสว่ นร่วมในการวางแผน ปรบั ปรงุ และพัฒนา และรว่ ม รับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศึกษา 3. สถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการเกย่ี วกบั งานวิชาการทั้งดา้ นการพฒั นาหลกั สูตร กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รท่ี เนน้ คุณภาพผเู้ รียนอยา่ งรอบด้าน ที่เช่อื มโยงกับวิถีชวี ติ จริงและครอบคลุมผู้เรยี นทุกคนทุกกลมุ่ ท้ังเดก็ ปกติและ เด็กพเิ ศษ 4. สถานศกึ ษาสง่ เสริม สนับสนนุ พฒั นาครู บุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญในวิชาชพี และจดั ใหม้ ีชุมชน การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพมาใช้ในการพฒั นางานและการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น โดยครทู ุกคนผา่ นการอบรมและมี ช่ัวโมงการอบรมผา่ นตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กาหนด 5. สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ เพ่ือพฒั นาสภาพแวดล้อม ทเ่ี อ้ือต่อการจดั การเรียนรูอ้ ย่างมีคณุ ภาพ และมีความปลอดภัย 6. สถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับสภาพของ สถานศกึ ษา 7. ครูและผู้บริหารเข้ารบั การพฒั นาตนเองและใชก้ ระบวนการ PLC เพื่อพัฒนากระบวนการเรยี น การสอนรวมถึงการทางานการบรหิ ารจัดการ รวมเฉล่ียตลอดปกี ารศึกษา จานวน 127.75 ชม/คน ตลอดปี การศึกษา 8. ผู้บริหารได้รบั รางวลั ชนะเลิศ กจิ กรรมถอดบทเรยี น BEST Practice ผอู้ านวยการสถานศึกษา โครงการโรงเรียนสุจริต จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ไดร้ บั รางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมุข ได้ นาเสนอกิจกรรมถอดบทเรยี น BEST Practice ผู้อานวยการสถานศึกษาโครงการโรงเรียนสุจริต ระดบั คณุ ภาพ ดีเยีย่ ม จากสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เนอ่ื งในวันต่อตา้ นการคอรปั ช่ันโลก
40 3. จุดเด่น 3.1 สถานศกึ ษามเี ปาู หมาย วสิ ัยทัศน์และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดที่ชัดเจน สอดคล้องกบั บริบท ของสถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชน นโยบายของรฐั บาล แผนการศึกษาชาติ และเป็นไปได้ในการปฏิบตั ิ 3.2 สถานศึกษามรี ะบบการจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาทช่ี ัดเจน มีประสทิ ธิภาพ สง่ ผลต่อคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผ้เู กีย่ วข้องทุกฝาุ ย และมกี ารนาข้อมูลมาพัฒนา งานอยู่เสมอ 3.3 สถานศึกษาดาเนินการพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น เชอ่ื มโยงกับชีวติ จรงิ ตาม หลักสูตรสถานศกึ ษา ครอบคลมุ ผเู้ รียนทุกกลุ่ม 3.4 สถานศกึ ษาพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพตรงกบั ความต้องการของครู และสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพมาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผูเ้ รียน โดย ครูทกุ คนผ่านการอบรมและมีชัว่ โมงการอบรมผา่ นตามเกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ. กาหนด 3.5 สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ และมีความปลอดภยั 3.6 สถานศกึ ษาจดั ระบบสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ที่เหมาะสม กับสภาพของสถานศึกษา 3.7 สถานศึกษาสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเล่นดนตรีพ้ืนเมือง ซงึ่ เป็นการสง่ เสริมการอนุรักษ์ภมู ิ ปญั ญาท้องถิ่นและพัฒนาผเู้ รยี นดา้ นเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเลน่ ดนตรแี ละศลิ ปวฒั นธรรมพื้นบ้านอีสาน 3.8 ผู้บริหารมีนวัตกรรมทเี่ กิดจากกการบรหิ ารจัดการศกึ ษาและได้รับการยอมรบั จากหนว่ ยงาน ระดบั ประเทศ 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ควรพัฒนาระบบการจดั การคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชดั เจน มปี ระสิทธิภาพ สง่ ผลต่อคุณภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมือของผูเ้ กยี่ วข้องทุกฝุาย และให้มีการนาข้อมลู มาใชใ้ น การปรับปรุง พฒั นางานอย่างต่อเน่อื ง และสามารถพฒั นาใหเ้ ปน็ แบบอย่างทด่ี ไี ด้ 4.2 ควรพฒั นางานวชิ าการให้มีความโดดเดน่ เพมิ่ มากขน้ึ จนสามารถเป็นแบบบอย่างทีด่ ีได้ 4.3 ควรพฒั นาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคมใหห้ ลากหลาย เพียงพอ เหมาะสม และ เปน็ ปัจจุบัน อย่างต่อเน่ืองเพิ่มข้ึน 5. แผนพัฒนาเพ่ือใหไ้ ด้มาตรฐานทส่ี ูงขนึ้ แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 1 โครงการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน แผนปฏิบตั ิงานท่ี 2 โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รยี น แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 3 โครงการพัฒนาครแู ละบคุ ลากร
41 แผนปฏบิ ตั ิงานที่ 4 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ แผนปฏิบัตงิ านที่ 5 โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 6 โครงการส่งเสริมและพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 7 โครงการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผูเ้ รียนอยา่ งรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 8 โครงการขบั เคล่ือนคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบัติงานที่ 9 โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ทง้ั ในและนอกสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ 1. กระบวนการพฒั นา 1.1 การดาเนินโครงการสง่ เสรมิ และพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั เพอื่ สง่ เสริมให้ครจู ดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตได้ ส่งเสริมใหค้ รูใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ ส่งเสริมให้ครใู ชก้ ารบริหาร จัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก มกี ารตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น มกี าร แลกเปลย่ี นเรียบรแู้ ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ 2. ผลการดาเนนิ งาน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมิน สรปุ ผลการ ประเมนิ ผ้เู รียนเป็นสาคญั / ประเด็นพิจารณา ดีเลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย 1. ครจู ัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติ ดี ดเี ลิศ สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย จริง และสามารถนาไปประยุคใชใ้ นชวี ติ ได้ ดีเลิศ สงู กวา่ คา่ เป้าหมาย 2. ครูใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ ดี ดีเลศิ สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย ทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ดเี ลิศ สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย 3. ครมู ีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก ดี ดเี ลศิ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย 4. ครูตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ดี และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 5. ครูมกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และใหข้ ้อมูลสะทอ้ น ดี กลบั เพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 3 ดี
42 จากผลการดาเนนิ งานในมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นรูท้ ี่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ อธบิ าย เพม่ิ เติมไดด้ ังน้ี 1. ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ของหลักสูตรสถานศึกษาท่เี น้นผเู้ รียนได้ เรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง มแี ผนการจดั การเรียนรู้ท่สี ามารถนาไปจัดกจิ กรรมไดจ้ รงิ มีรปู แบบ การจัดการเรยี นรู้เฉพาะสาหรับเดก็ พเิ ศษ ผเู้ รยี นได้ฝกึ ทักษะแสดงออก แสดงความคดิ เห็น สรุปองคค์ วามรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จริงได้ 2. ครูมีการใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมทัง้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ มาใช้ในการจดั การ เรยี นรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองจากสื่อทหี่ ลากหลาย 3. ครูผู้สอนมกี ารบริหารจดั การช้ันเรียน โดยเน้นการปฏสิ มั พันธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ดก็ รักครู ครูรกั เดก็ และ เด็กรักเด็ก เดก็ รักทจ่ี ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรู้ร่วมกันได้อย่างมีความสขุ 4. ครมู ีการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจัดการเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบ มขี ัน้ ตอนโดยใช้เครื่องมือ และวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลท่เี หมาะสมกบั เปาู หมายในการจัดการเรยี นรู้ และให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับแก่ผู้เรยี น เพ่อื นาไปพฒั นาการเรียนรู้ 5. ครูและผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องร่วมกนั แลกเปลี่ยนความรแู้ ละประสบการณ์ รวมทั้งใหข้ ้อมลู ปอู นกลบั เพือ่ นาไปใช้ปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้ 3. จดุ เดน่ 3.1 ผลจากการทีค่ รผู ู้สอนใชก้ ารบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก ทาใหเ้ ด็กรักทจ่ี ะเรยี นรู้ สามารถ เรียนรรู้ ่วมกันได้อยา่ งมีความสขุ และเด็กมพี ฤตกิ รรมรกั ครู รักเพ่อื น รักโรงเรยี น 3.2 มชี ุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพครูเพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ 3.2 ครูนากระบวนการ PLC มาใชใ้ นการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ไดท้ งั้ ระบบ 4. จุดควรพฒั นา 4.1 ควรพัฒนาจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทเ่ี น้น ผูเ้ รยี นได้เรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริงใหเ้ ป็นรูปแบบที่สามารถเป็นแบบอยา่ งท่ีดี หรอื เป็น นวัตกรรมของครูหรือของโรงเรยี นใหไ้ ด้ 4.2 ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพครู ควรมีการเชญิ ผู้เก่ียวขอ้ งอื่นๆ เช่น ศกึ ษานิเทศก์ หรือ ผเู้ ชย่ี วชาญในด้านน้ันๆ นอกโรงเรยี น มาเป็นสว่ นหน่ึงในชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี เพื่อการแลกเปลยี่ น เรยี นรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรทู้ ่ีมีความหลากหลายมากยง่ิ ข้ึน 4.3 การนาเทคโนโลยี สื่อมัลตมิ ีเดีย การสอนแบบออนไลน์ การสร้างบทเรยี นออนไลน์มาใช้ในการ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหม้ ากข้นึ
43 5. แผนพฒั นาเพ่ือให้ไดม้ าตรฐานท่สี งู ข้นึ แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 1 โครงการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น แผนปฏบิ ัติงานที่ 2 โครงการสง่ เสริมและพฒั นาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรยี น แผนปฏิบัติงานที่ 3 โครงการพฒั นาครูและบุคลากร แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 4 โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มที่เอ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ แผนปฏิบัตงิ านที่ 5 โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและ การเรยี นรู้ แผนปฏบิ ัตงิ านที่ 6 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็น สาคญั แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี 7 โครงการพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผ้เู รยี นอยา่ งรอบด้านตามหลกั สูตร สถานศึกษา แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 8 โครงการขับเคลือ่ นคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการ PLC แผนปฏิบตั งิ านท่ี 9 โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรทู้ ัง้ ในและนอกสถานศึกษา
44 สว่ นที่ 5 ครูผูร้ ับผดิ ชอบ รายละเอียดงบประมาณโครงการ/กิจกรรม ครชู ิตพล ครูมลั ลกิ า ท่ี ชอ่ื โครงการ ครสู ทุ ธพิ งษ์ 1 โครงการพฒั นาผู้เรยี นด้านกฬี า ครูสปุ ราณี 2 โครงการงานอนามยั โรงเรียน ครเู มตตา 3 โครงการพฒั นาคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ครชู ไมพร 4 โครงการพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ ครูจิระโชติ 5 โครงการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รยี น ครเู พชรา 6 โครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา ครนู ิพนธ์ 7 โครงการส่งเสรมิ อาชีพในโรงเรียน ครูสุทธพิ งษ์ 8 โครงการพัฒนาบุคลากร ครูชมภูนุช 9 โครงการงานพัฒนาอาคารสถานที่และแหล่งเรียนรู้ ครูชาตชิ าย 10 โครงการโรงเรยี นคุณธรรม ครูสปุ ราณี 11 โครงการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ครูกุลณดา 12 โครงการพฒั นาส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครชู ไมพร 13 โครงการหอ้ งสมุดมีชวี ิต 14 โครงการวันสาคญั ครชู ไมพร, ครกู ลุ ณดา 15 โครงการโรงเรียนสขี าว ครอู ัฐพร 16 โครงการอาหารกลางวัน ครมู ัลลิกา 17 โครงการพัฒนากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ครนู พิ นธ์ 18 โครงการประกนั ชีวิตนักเรียน ครอู ฐั พร 19 โครงการสัมพันธ์ชุมชน 20 โครงการพัฒนาผเู้ รียนดา้ นดนตรี ครเู มตตา ,ครกู านดา 21 โครงการประชาสมั พันธโ์ รงเรยี น ครูจริ าภรณ์ 22 โครงการนเิ ทศภายใน ครูจริ ะโชติ 23 โครงการโรงเรียนสจุ รติ ครูเมตตา 24 โครงการปัจฉิมนเิ ทศและเปดิ บ้านวิชาการ ครูกุลณดา 25 โครงการ English Camp ครูชไมพร 26 โครงการคา่ ยการเรียนรสู้ ู่ศตวรรษที่ 21 ครูอัฐพร 27 โครงการ TO BE NUMBER ONE ครชู มภูนุช 28 โครงการพัฒนารูปแบบการบริหารจดั การระดบั ปฐมวัยโดยใช้รูปแบบ 3 ป 4 ร่วม
45 โครงการ/กจิ กรรม กจิ กรรมในโครงการ ท่ี โครงการ - กจิ กรรมแข่งขันกีฬา 1 โครงการพฒั นาผู้เรียนดา้ นกฬี า - กิจกรรมส่งเสริมดา้ น ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กฬี า นนั ทนาการ 2 โครงการงานอนามยั โรงเรียน - กิจกรรมจดั ซื้อวัสดุและอุปกรณก์ ฬี า - กจิ กรรมออกกาลงั กายทุกวัน วนั ละ 10 นาที 3 โครงการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - บรกิ ารสุขภาพอนามัยและน้าด่ืมนา้ ใช้ - รณรงค์อาหารปลอดภัยในโรงเรยี น 4 โครงการพฒั นากระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี น - ส่งเสริมภาวะโภชนาการของนักเรียน เปน็ สาคญั - สารวจเวชภณั ฑ์ยา / เคร่อื งมือทางการแพทย์ทไี่ ม่ เพียงพอ 5 โครงการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รยี น - เผยแพร่ความรดู้ ้านสขุ อนามัยแกบ่ ุคลากรและ ชมุ ชน - ส่งเสรมิ ทนั ตสขุ ภาพของนักเรียน - การบารุงรกั ษาอุปกรณห์ ้องพยาบาล – ผ้าปทู ี่ นอนปลอกหมอน ผา้ ห่ม - กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม จัดปาู ยนิเทศ - อบรมโดยผา่ นกิจกรรมทโี่ รงเรยี น - กิจกรรมคา่ ยยาเสพติด - กิจกรรมพฒั นาสื่อการเรียนการสอน กระบวนการจดั การเรียนการสอนของครู - กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนการสอนใน 8 กลมุ่ สาระ การเรยี นรู้ - กจิ กรรมการสรา้ ง และพัฒนาส่ือ - กิจกรรมการสอนซ่อมเสริม - กจิ กรรมการทาวิจัยในชนั้ เรียน - กิจกรรมพัฒนาทักษะการอา่ น การเขยี น และเขียน - กิจกรรมพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการ
46 ท่ี โครงการ กิจกรรมในโครงการ 6 โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา 7 โครงการส่งเสริมอาชพี ในโรงเรียน - กิจกรรมพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 8 โครงการพฒั นาบุคลากร - กิจกรรมนเิ ทศการใช้หลกั สตู ร 9 โครงการงานพัฒนาอาคารสถานที่และแหล่งเรียนรู้ - กจิ กรรมปลกู เห็ดนางฟาู - กิจกรรมโรงเรียนปลอดขยะ 10 โครงการโรงเรียนคุณธรรม - กจิ กรรมส่งเสรมิ การปฏบิ ตั ิหน้าทีอยา่ งมี 11 โครงการพัฒนาเด็กปฐมวยั ประสทิ ธิภาพและความกา้ วหนา้ ในวิชาชพี - กจิ กรรมอบรม/สัมมนาโครงการต่าง ๆ 12 โครงการพฒั นาสื่อและเทคโนโลยสี ารสนเทศ - กจิ กรรมประชุมประจาเดือน 13 โครงการหอ้ งสมดุ มชี ีวิต - กิจกรรมศึกษาดูงาน/การทัศนศกึ ษา - กจิ กรรมพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ มและปรับปรงุ อาคาร สถานที่ - กจิ กรรมจัดหา และซ่อมแซมครุภัณฑใ์ นห้องเรียน ,ห้องพิเศษตา่ งๆ และเครื่องสนาม - กิจกรรมระบบความปลอดภยั อาคารสถานท่ี - กิจกรรมพฒั นาระบบการบริหารท่วั ไป - กิจกรรมพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ในโรงเรยี น - กจิ กรรมปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม - กิจกรรมสวดมนตไ์ หว้พระทุกวันศุกร์ - โครงงานคุณธรรม - กิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาการด้านรา่ งกาย - กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ – จติ ใจ - กจิ กรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการดา้ นสังคม - กิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา - กิจกรรมจัดหาส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศ - กิจกรรมปรับปรงุ ซ่อมแซมสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศ - กจิ กรรมรกั การอา่ น - กิจกรรมส่งเสรมิ การค้นควา้ ความรจู้ ากห้องสมุด กจิ กรรมบนั ทึกการอา่ น กจิ กรรมเปิดพจนานุกรม กจิ กรรมบรรณารักษร์ ุน่ เยาว์
ที่ โครงการ 47 14 โครงการวันสาคัญ 15 โครงการโรงเรยี นสีขาว กจิ กรรมในโครงการ - กิจกรรมส่งเสรมิ นกั เรยี นคุณลักษณะของผูเ้ รยี น 16 โครงการอาหารกลางวัน ในวันสาคัญต่าง ๆ เช่น วนั ไหวค้ รู วนั แม่ ฯลฯ 17 โครงการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น - กจิ กรรมรณรงคป์ อู งกนั แก้ไขยาเสพติดใน โรงเรียน 18 โครงการประกนั ชวี ติ นกั เรยี น - กจิ กรรมประชาสัมพันธ์ เก่ยี วกับเรอ่ื งราวของ 19 โครงการสมั พันธช์ ุมชน โรงเรยี นสีขาว 20 โครงการพัฒนาผู้เรียนด้านดนตรี - กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหค้ วามรู้เร่ืองยาเสพติด โดยเน้น 21 โครงการประชาสัมพนั ธ์โรงเรียน ผู้เรียนเปน็ สาคัญ - กจิ รรมจดั นทิ รรศการตอ่ ตา้ นยาเสพติด 22 โครงการนเิ ทศภายใน - กิจกรรมจัดซื้อวตั ถดุ บิ ในการประกอบอาหาร - กิจกรรมแนะแนว 23 โครงการโรงเรยี นสุจริต - กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี 24 โครงการปจั ฉมิ นเิ ทศและเปิดบ้านวิชาการ - กจิ กรรมชุมนุม - กจิ กรรมสาธารณะประโยชน์ - กจิ กรรมจัดทาประกันชวี ิตอุบตั ิเหตุใหก้ บั นักเรียน - กิจกรรมชมุ ชนสมั พนั ธ์ - กิจกรรมจัดซ้ืออุปกรณแ์ ละเคร่ืองดนตรี - กิจกรรมจา้ งครชู ว่ ยสอนดนตรไี ทย - กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์ในโรงเรยี น - กิจกรรมทาส่ือประชาสัมพันธ์โรงเรยี น รปู แบบ ต่างๆ - กิจกรรมจดั ซื้อสือ่ และวัสดุ-อุปกรณ์ตา่ งๆ ท่ีใชใ้ น งานประชาสัมพันธ์ - กจิ กรรมประชมุ เตรียมความพร้อมเปดิ ภาคเรียน - กจิ กรรมประชมุ วชิ าการ - กจิ กรรมเย่ยี มชน้ั เรยี น - กจิ กรรมปลกู เหด็ นางฟาู - กิจกรรมแปรรูปเห็ดนางฟาู - กิจกรรมผูกแขนให้ผูส้ าเร็จการศกึ ษา - กิจกรรมเกียรตบิ ัตร/มอบทุนการศกึ ษา -การจดั นทิ รรศการนาเสนอผลงานของนักเรียน
48 ที่ โครงการ กจิ กรรมในโครงการ 25 โครงการ English Camp 26 โครงการค่ายการเรียนร้สู ูศ่ ตวรรษท่ี 21 - จดั กจิ กรรมค่ายการเรยี นร้สู ู่ศตวรรษที่ 21 27 โครงการ TO BE NUMBER ONE - กิจกรรมวนั งดสบู บหุ รโ่ี ลก - กจิ กรรมวนั ต่อตา้ นยาเสพติด 28 โครงการพฒั นารูปแบบการบรหิ ารจดั การระดับปฐมวัย - กิจกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยใช้รูปแบบ 3 ป 4 รว่ ม ประมาณการรายรบั ปกี ารศึกษา 2564 1. ประมาณการรายรบั ตามจานวนนกั เรยี น ปกี ารศึกษา 2564 (เงินอดุ หนุนรายหวั ) ช้นั จานวนนกั เรียน เงนิ อดุ หนนุ รายหัว จานวนเงนิ (บาท) 15,300 อนุบาลปที ี่ 2 9 1,700 15,300 24,700 อนุบาลปีท่ี 3 11 1,700 22,800 34,200 ประถมศึกษาปที ี่ 1 13 1,900 28,500 17,100 ประถมศึกษาปที ี่ 2 12 1,900 19,000 42,000 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 18 1,900 35,000 45,500 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 15 1,900 268,800 ประถมศึกษาปที ี่ 5 9 1,900 84,000 ประถมศึกษาปที ่ี 6 10 1,900 54,800 19,200 มธั ยมศึกษาปีที่ 1 12 3,500 36,000 17,565 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 10 3,500 64,965 27,630 มัธยมศึกษาปีที่ 3 13 3,500 0 รวม 132 25,300 2 ประมาณการรายรบั เงนิ อดุ หนุนปจั จัยพื้นฐานนักเรียนยากจน 3 เงินบารุงการศกึ ษา/รายได้อ่ืนๆ 4 เงินอุดหนุนอาหารกลางวัน 5 เงินสนับสนนุ ค่าเครื่องแบบนักเรยี น 6 เงินสนบั สนุนคา่ อุปกรณ์การเรยี น 7 เงินสนบั สนุนค่าหนังสอื เรียน 8 เงนิ สนบั สนนุ ค่ากจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น 9 เงินรายได้สถานศึกษา
49 สรุปงบหนา้ รายละเอียดการใชง้ บประมาณตามแผนปฏิบัติงาน ประจาปีการศึกษา 2564 1. โครงการพฒั นาผู้เรียนดา้ นกฬี า กจิ กรรมและรายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ งบประมาณ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ที่ใช้ คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวสั ดุ กจิ กรรมแข่งขนั กฬี าสี/กีฬาประจาศนู ยเ์ ครือข่าย 5,000 - - 5,000 กจิ กรรมจดั ซ้ือวัสดแุ ละอปุ กรณ์กฬี า 10,000 - - 10,000 กิจกรรมออกกาลังกายทุกวันๆ 10 นาที - -- - - - 15,000 รวมงบประมาณ 15,000 2. โครงการงานอนามยั โรงเรียน งบประมาณ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย กิจกรรมและรายละเอยี ดการใช้งบประมาณ ทีใ่ ช้ คา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย คา่ วสั ดุ รณรงค์อาหารปลอดภัยในโรงเรียน บรกิ ารสุขภาพอนามัยและน้าดื่มน้าใช้ - --- ส่งเสริมภาวะโภชนาการของนักเรียน สารวจเวชภณั ฑย์ า / เคร่ืองมือทางการแพทยท์ ่ีไม่ - --- เพยี งพอ เผยแพร่ความร้ดู ้านสุขอนามัยแกบ่ คุ ลากรและ - --- ชมุ ชน ส่งเสรมิ ทนั ตสขุ ภาพของนักเรียน 5,000 - - 5,000 การบารุงรักษาอุปกรณห์ ้องพยาบาล –ผ้าปทู น่ี อน ปลอกหมอน ผา้ หม่ - --- รวมงบประมาณ - --- - --- 5,000 - - 5,000 3. โครงการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กจิ กรรมและรายละเอียดการใช้งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย ท่ีใช้ คา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วัสดุ กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรม 5,000 - - 5,000 - - -- จัดปาู ยนิเทศ - - -- อบรมโดยผา่ นกจิ กรรมทโ่ี รงเรียนจดั เชน่ กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด การทศั นศกึ ษา กจิ กรรมค่ายพุทธบุตร - - 5,000 รวมงบประมาณ
50 4. โครงการพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั กิจกรรม งบประมาณทีใ่ ช้ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจา่ ย รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ คา่ ตอบแทน คา่ ใชส้ อย ค่าวสั ดุ ประชมุ ชแี้ จงผู้เกย่ี วข้อง/วางแผนการ - -- - ปฏิบตั งิ าน ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมพัฒนาครูทกุ กล่มุ สาระ - - - 5,000 การเรยี นร้ใู นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั นิเทศติดตามการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน - -- - สรุป/รายงานผลการดาเนนิ งาน - -- - รวมงบประมาณ 5,000 - - 5,000 5. โครงการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน กจิ กรรม งบประมาณทใ่ี ช้ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ คา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวสั ดุ -สง่ เสรมิ การเรยี นการสอน 5,000 - - 5,000 -การวัดและประเมินผลการเรียน 1,000 - - 1,000 -การสรา้ ง และพัฒนาส่ือ 4,000 - - 4,000 -การสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั - -- - -การสอนซ่อมเสรมิ - -- - -การทาวจิ ยั ในช้นั เรียน - -- - -พัฒนาทกั ษะการอ่าน การเขยี น - -- - -พฒั นากระบวนการคิด - -- - -พฒั นาความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ - -- - รวมงบประมาณ 10,000 - - 10,000 6. โครงการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา งบประมาณที่ใช้ งบประมาณจาแนกตามหมวดรายจ่าย กจิ กรรม 10,000 ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วัสดุ รายละเอียดการใช้งบประมาณ 10,000 จดั กิจกรรมบรู ณาการการจัดการเรียนการสอน - - 10,000 ตามหลกั สูตรสถานศึกษาในแต่ละกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ - - 10,000 รวมงบประมาณ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170