แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวท่ี 3 หน่วยการจดั กจิ กรรม ส่วนตัวและสงั คม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3 เรือ่ ง ฟา้ ประทาน จานวน 2 ชว่ั โมง ……………………………………………………………………………………………………..……………………………..………………… 1. สาระสาคัญ 298 การอยู่ร่วมกันในสงั คม จาเป็นท่ีบุคคลควรสารวจจุดเด่นจุดด้อยหรอื ข้อบกพรอ่ งของตนเองเพ่อื นาไป ปรบั ปรุง พฒั นาตนเองและความสมั พันธร์ ะหวา่ งกนั ใหย้ ืดยาวเพ่อื การชว่ ยเหลือ ซ่ึงกนั และกันในสงั คมต่อไป 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านส่วนตวั และสงั คม ข้อท่ี 2 รักและเห็นคุณคา่ ในตนเองและผู้อื่น ข้อที่ 3 มวี ุฒิภาวะทางอารมณ์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 บรรยายจดุ เดน่ จุดดอ้ ยของตนเองได้ 3.2 ยกตัวอย่างเหตุการณท์ ีภ่ าคภมู ใิ จทผ่ี า่ นมาได้ 3.3 บอกวิธนี าเอาความผดิ พลาดมาปรับปรุงได้ 4. สาระการเรียนรู้ การรจู้ กั จดุ เดน่ จดุ ด้อย การสร้างความสุขใหก้ บั ตนเอง เหตกุ ารณท์ ี่ภาคภมู ใิ จ และวิธีนาความผดิ พลาดมา ปรับปรุง 5. ช้ินงาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 5.1 ใบงาน จุดเด่น จดุ ด้อยของฉัน 5.2 ใบงาน บกพร่อง แก้ไขได้ 6. วิธกี ารจัดกิจกรรม 6.1 นาเข้าสู่บทเรียนโดยครูถามนักเรยี นเกยี่ วกับนิสัยของตัวเองและเห็นดว้ ยหรือไม่กับข้อความที่ว่าคน ทุกคนต้องมีจุดเด่นจดุ ด้อยอยู่ในตัวเอง 6.2 นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เรอื่ ง “10 เคลด็ ลบั พัฒนาตนเอง สู่ความสาเรจ็ ” 6.3 ครสู อบถามนกั เรียน เกย่ี วกบั นิสัยของนกั เรยี นวา่ โดยสว่ นตัวแลว้ นักเรียนมีนสิ ัยเปน็ อย่างไรบ้างและ ใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งจุดเด่นหรือขอ้ ดขี องตนเองมา 2-3 ข้อ และใหน้ ักเรียนบอกจดุ ด้อยของตนเอง 2-3 ขอ้ และ บอกดว้ ยวา่ มสี ่วนใดบา้ งทค่ี วรปรับปรุงแก้ไข 6.4 ครูขออาสาสมัครนกั เรียน 2-3 คน ออกมาเลา่ ประสบการณ์ทีต่ วั เองภาคภมู ิใจ อาจจะเป็นจดุ เด่นของ ตนเองก็ได้ 6.5 ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนทาแบบสารวจนิสยั ท่ีฉนั เป็นในใบงาน “จดุ เดน่ จดุ ด้อยของฉนั ” 6.6 นกั เรยี นแบง่ เปน็ กลมุ่ ๆ ละ 2-3 คน ใหส้ มาชกิ ภายในกล่มุ ชว่ ยกันวิเคราะห์วา่ นิสยั ตนเองบางข้อใน ใบงานที่ 2 จาเปน็ ตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขใหด้ ีข้ึนจะมีวิธีการอยา่ งไรให้สมาชิกในกลุม่ ชว่ ยกนั คิดวเิ คราะห์ ครูสงั เกต พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานของนักเรียน
6.7 ครูให้นักเรยี นทุกคนทากิจกรรมในใบงาน บกพร่อง.......แกไ้ ขได้ สง่ ครูตรวจต่อไป 299 6.8 ครูและนกั เรยี นชว่ ยกนั สรุปการอยู่ร่วมกนั ในสังคมและการปรับปรงุ ขอ้ บกพร่องเก่ยี วกับนสิ ยั บางประการทน่ี ักเรียนตอ้ งปรับปรุงแก้ไขเพอื่ การอยู่รว่ มกันอย่างมีความสุข 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1. ใบความรู้ เรอ่ื ง “10 เคล็ดลับ พัฒนาตนเอง สู่ความสาเรจ็ ” 7.2 ใบงานท่ี 1 “สารวจจดุ เด่น - จดุ ด้อยของฉนั ” 7.3 ใบงานที่ 2 “บกพรอ่ ง.......แก้ไขได”้ 8. การประเมนิ ผล 8.1 วธิ กี ารประเมิน 8.1.1 ประเมินวดั นสิ ัยของนกั เรยี น 8.1.2 สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบุคคล 8.1.3 สังเกตพฤติกรรมนกั เรียนรายกลุ่ม 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมินจากการสงั เกตการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของนักเรียน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน มคี วามตงั้ ใจร่วมกจิ กรรม ให้ความรว่ มมือกบั กล่มุ ในการวเิ คราะห์ แสดง ความคดิ เหน็ การนาเสนอหนา้ ชั้นเรียนและส่งงานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไม่ใหค้ วามรว่ มมอื กบั กล่มุ หรือ ขาดสง่ิ ใดสงิ่ หน่ึง 8.2.2 ประเมนิ จากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงชี้ ผา่ น ทาใบงานและแบบบนั ทึกส่ง ใหค้ วามร่วมมือในการอภปิ ราย ไมผ่ า่ น ไมท่ าสิ่งใดส่งิ หน่ึง
ใบความรู้ 300 “10 เคลด็ ลับ พฒั นาตนเอง สูค่ วามสาเร็จ” พัฒนาตนเอง เป็นแนวทางปฏิบัติท่ีสามารถนาทางตนเองไปสู่สิ่งที่ดีข้ึนได้ ประยุกต์ใช้ในเรื่องต่าง ๆ ที่คุณต้องการจะแก้ไขให้ดีขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานประจา งานอดิเรก หรือ การทาธุรกิจส่วนตัว ทุกอย่างท่ีเกิดข้ึนล้วน เป็นผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการกระทาของตัวเราเองท้ังสิ้น TerraBKK ขอนาเสนอ 10 เคล็ดลับ พัฒนาตนเอง สู่ความสาเร็จ ไม่ใช่แค่การเพ่ิมอุปนสิ ัยท่ีดี และหมายรวมถึงการลดหรือปรับปรุงอุปนสิ ัยท่ีเป็นปัญหาในการพัฒนา ตนเองดว้ ย เรยี นรแู้ ล้วนามาปรับใชก้ ันงา่ ยๆ รายละเอยี ดดังนี้ แก้ไขอปุ นสิ ยั ทาลายความสาเร็จ 1. หยดุ ผดั วันประกนั พรุง่ การปล่อยปละละเลยหน้าที่การงานในส่วนทเี่ ราไมช่ อบไมเ่ กดิ ผลดีใด ๆ และก็ทาให้คณุ ดูไมเ่ ปน็ มืออาชพี ปรับเปลี่ยนวธิ ีการดว้ ยการสลบั ปรบั ทาพร้อมกบั งานทช่ี อบ เพือ่ ให้ทุกอยา่ งดูดีข้นึ โยภาพรวม ดังน้ัน วธิ ีปรับปรงุ ปญั หาน้ีกค็ ือ การเพิ่มระดบั ความใส่ใจในช้นิ งานแทนการผัดวนั ประกันพรุ่ง นอกจากคุณภาพงานจะทาออกมาดี แล้ว ยงั ชว่ ยลดความเครียดในการทางานดว้ ย 2. เลิกคิดลบ ทาความเข้าใจเสยี ใหมว่ ่า ความสาเร็จจะเกิดข้นึ ได้อยา่ งไม่รู้จบ เสมือนเกมสต์ ่อจุดไปเร่อื ย ๆ แน่นอนระหวา่ งทาง มกั จะมบี ททดสอบชีวติ อย่เู สมอ ความลาบาก คาถามคาใจ กลายเป็นว่า ความคดิ บวกและความคิดลบสามารถ เกิดขึน้ ไดใ้ นทุกเวลา แตค่ วามคดิ ลบมักเกิดไดเ้ ร็วกว่า ดงั น้ัน จงรกั ษาทัศนคติให้มีแต่ความคดิ บวกไวม้ าก ๆ 3. เลิกเปรียบเทียบตนเองกับผูอ้ ่ืน เมอื่ ไรที่คุณเปรียบเทียบตนเองกบั ผ้อู ืน่ คุณจะสญู เสียความเปน็ ตวั ตน เป้าหมายและสติได้ง่ายมาก ตามมาดว้ ย อารมณ์อิจฉา ,เศร้าหมอง และเกดิ เปน็ ปมด้อย การแขง่ ขันเพ่อื ผลักดนั ตนเองเป็นสง่ิ ทีด่ ี แต่การพุ่งประเด็นด้านนี้ มากเกนิ ไป จะทาให้คุณรู้จักแย่เกนิ ความเป็นจรงิ เสยี มากกวา่ ดงั น้ัน จงทาตวั ให้เดน่ เปน็ ทีม อยา่ เดน่ เพยี งตัวคน เดียว ลองกล่าวชื่นชมคนอื่นด้วยความยินดี สรา้ งวฒั นธรรมทด่ี ีในสงั คมการทางานของคุณ 4. หยุดนึกถึงอดีตทล่ี ้มเหลว จงมองวา่ ความล้มเหลวเปน็ ตัวชขี้ ้อผดิ พลาดที่คุณเคยทาผา่ นมา มันคือทางผ่านเป็นเรื่องของขบวนการ ไม่ไดเ้ ป็น จุดจบของทัง้ ชีวติ อยา่ ตีความวา่ นั้นต้องเปน็ เครื่องแสดงความอัปยศไปตลอดชีวิต อยา่ ทิง้ บทเรยี นท่ีได้มา หรือ ความต้งั ใจแรกในการทาสิ่งน้ัน อยา่ งท่ี Henry Ford เคยกล่าวถึงความลม้ เหลวไว้วา่ “is simply the opportunity to begin again, this time more intelligently.” 5.เลกิ ตง้ั เป้าหมายเพ้อฝนั ส่งิ ท่ีสาคญั ในการต้งั เป้าหมาย เมอื่ เรม่ิ ต้นธุรกิจใหม่ ,งานใหม่ หรืออะไรก็ตามแต่ ก็คือ เป้าหมายต้องอยบู่ นพน้ื ฐาน ความเปน็ จริง อย่าตั้งเป้าหมายท่ชี ี้วัดไมไ่ ด้ อย่าต้งั เป้าหมายทสี่ งู เกินตวั อยา่ ตั้งเปา้ หมายระยะสั้นเกินไป ดงั นั้น หากคณุ ต้องการเปิดร้านกาแฟ จงมองหาวิธีการทจี่ ะทาให้ธุรกิจอยู่รอด จากการแข่งขันอย่างรนุ แรงที่มรี ้านกาแฟ เปิดอย่รู อบตวั กลยุทธ์ลดราคากาแฟในชว่ งเปิดตัวคงไม่สามารถใช้ได้ตลอดไป เปน็ ต้น
เพิ่มอปุ นสิ ัยแหง่ ความสาเร็จ 301 1.ฝึกทาสงิ่ ทม่ี คี วามหมายสาหรบั คณุ สัญญากับตนเองในส่ิงทที่ าให้ตวั คุณเองพฒั นาไปสูส่ ง่ิ ที่ต้องการ หรือหาเวลาวา่ งทาในสงิ่ ท่ีปลกุ passion ในตัวคณุ ขึ้นมาได้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งทาทุกวันทุกเวลา ขอแคม่ เี วลาทาอยา่ งนอ้ ยในช่วงท่ีคณุ รสู้ กึ กาลังถอยหลังหรอื กลวั ดงั น้นั พยายามทาสง่ิ ท่คี ุณต้องการพัฒนาตนเอง และนั้นจะเปน็ บทพิสจู นส์ าคัญวา่ ตอนจบจะสวยงามมากน้อยแคไ่ หน 2.ฝกึ จัดตารางชีวติ เขา้ ใจกนั ดวี า่ ในการดารงชีวิตของเรามกั จะมีงานมากมายเตม็ ไปหมด ไมว่ ่าจะงานประจา งานบ้าน งานอดิเรก ฯลฯ ส่งิ ท่คี นเรามักชอบกล่าวเป็นขอ้ อา้ งคือ “ไม่มีเวลา” มันไมใ่ ช่เรอ่ื งจรงิ หากคุณเหน็ ว่างานนัน้ สาคญั จรงิ คุณ จะเวลาทามันอยา่ งแน่นอน ดังน้ัน พยายามมุ่งความสาคัญไปท่ีงานสาคญั ในชวี ิตคณุ เรยี นร้นู ิยามว่างานไหนควร จะเป็น “งานมีมลู คา่ ” เช่น งานชว่ ยพัฒนาตนเองให้ก้าวไปสู้จดุ ท่ตี ้องการจะเป็นในระยะยาว เปน็ ตน้ หรือ “งาน ไม่มีมูลคา่ ” เชน่ งานบา้ น งานทัว่ ไปทเี่ ราสามารถลดภาระส่วนนจ้ี า้ งคนอื่นทาแทนได้ เปน็ ตน้ 3.ฝึกมองเปน็ ภาพ ตามความคิดตนเองจากจดุ เร่ิมต้นไปจุดจบด้วยภาพ วิธีน้ีชว่ ยฝึกการทางานของสมอง 2 ดา้ น ภาพหน่งึ ภาพ สามารถแทนขนวนการทางานหรือคาพูดได้ดี และจะทาให้คุณมีความจาทด่ี ีข้ึน เมือ่ คุณฝึกฝนไปเร่ือย ๆ นอกจากน้ี ยงั ช่วยเสริมสร้างจินตนาการได้ดอี กี ด้วย 4.พร้อมรบั มือกับสง่ิ ไม่คาดคิด สังเกตไดว้ ่า คนทเ่ี กง่ และประสบความสาเร็จ มกั จะมอี ปุ นิสัยอยา่ งหนึง่ ท่ีเดน่ ชัดกวา่ คนทั่วไป น้นั คือ การแก้ไข สถานการณ์เฉพาะหนา้ หรอื การพร้อมรับมอื กับสิง่ ท่ีไม่ได้คาดคิด เพราะเขาทราบดวี ่าอะไรก็เกิดขน้ึ ไดเ้ สมอ อย่า มัวแต่ตกใจกับสง่ิ ท่ีเกดิ ข้นึ จงมองว่าควรจะทาอย่างไรกบั เหตุการณ์ที่เกดิ ข้นึ ดังน้ัน ฝกึ มองสถานการณ์ให้ หลากหลายรูปแบบ ฝกึ ทางานหรอื คดิ ภายใต้ปัจจยั ท่แี ตกต่างกนั เปน็ ตน้ 5.ฝึกเป็นคนมนุษย์สัมพันธด์ ี มนษุ ยส์ มั พันธ์ แสดงออกไดห้ ลากหลายระดบั มองออกวา่ จริงใจหรอื แกลง้ ทา การทางานประจาหรอื การทาธรุ กจิ ส่วนตัว ย่อมต้องมีเครอื ข่าย connections คณุ ไม่มีทางรู้วา่ คคู้ ้าหรอื เพื่อนรว่ มงานเป็นคนอยา่ งไร หากคุณไม่มี มนษุ ยส์ มั พนั ธ์การเข้าหาสังคม ดังนน้ั จงเรียนรูท้ ักษะการเข้าสงั คม การแสดงความคิดเหน็ การพูดคุย เจรจา เพ่อื พฒั นาตนเองให้ดเู ปน็ มอื อาชีพและนา่ เช่ือถือ เทอร์รา่ บเี คเค บทความโดย : TerraBKK เคล็ดลับการลงทุน Terra BKK ค้นหาบา้ นดี คมุ้ คา่ ราคาถูก https://www.sanook.com/money/425157/
ใบงานท่ี 1 302 “สารวจจดุ เดน่ - จดุ ดอ้ ยของฉนั ” 1. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนปฏิบัติกิจกรรมใบงานท่ี 1“สารวจจดุ เด่น - จุดดอ้ ยของฉนั ” ให้สาเร็จ โดยทาเครอ่ื งหมาย ( ) ลงในช่องท่ใี ช่ หรอื ไม่ใช่ ให้ตรงกบั ความเป็นจริงมากที่สุด 2. กจิ กรรมนี้ใชเ้ วลา 15 นาที ข้อ รายการ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ 1. ขยันหมน่ั เพียร 2. ดือ้ รั้น 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบ เสียสละ 4. วางตัวเป็นกลาง 5. เฉอื่ ยชาในบางคร้ัง 6. มเี มตตากรุณา 7. มองคนในแง่ดี คิดทางบวก 8. ขาดความมน่ั ใจในตัวเอง 9. มคี วามอดทนเพื่ออนาคต 10. บริหารเวลาไดด้ ี 11. เป็นคนเจา้ อารมณ์ 12. เป็นคนใจเยน็ สขุ ุม 13. ด้ือเงียบ 14. เข้ากับผู้อืน่ ไดด้ ี 15. มนี า้ ใจกับเพือ่ นๆ 16. ชอื่ สตั ย์สุจริต 17. ต้ังใจเรียน 18. น้อยใจเก่ง 19. ไมค่ ่อยกลา้ แสดงออก 20. กิริยามารยาทเรยี บรอ้ ย 21. มกั มีความวติ กกังวล 22. ไม่เชื่อฟงั ผู้ใหญ่ 23. มีความลังเลในการตัดสินใจ
ขอ้ รายการ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ 24. พดู จาไพเราะ 25. มีอารมณอ์ ่อนไหว 26. ลืมง่าย 27. เอาใจเขามาใสใ่ จเรา 28. ไม่รา่ เริงแจ่มใสเทา่ ที่ควร 29. เงยี บ คิดมาก 30. ไมค่ ่อยพูด สรุป (จานวนขอ้ ) สรปุ จุดเดน่ 5 ลาดับ 303 1. จดุ เดน่ ด้าน............................................................................. 2. จดุ เด่นดา้ น............................................................................. 3. จดุ เดน่ ดา้ น............................................................................. 4. จุดเดน่ ดา้ น............................................................................. 5. จุดเด่นดา้ น............................................................................. สรุป จุดทค่ี วรพัฒนา 5 ลาดับ 1. จุดที่ควรพฒั นาดา้ น................................................................. 2. จดุ ทค่ี วรพฒั นาดา้ น.................................................................. 3. จดุ ทคี่ วรพัฒนาดา้ น................................................................. 4. จดุ ท่ีควรพฒั นาดา้ น................................................................. 5. จดุ ที่ควรพฒั นาด้าน.................................................................
ใบงานที่ 2 “บกพร่อง …แก้ไขได้” ชอ่ื กลุ่ม................. 1. ชอ่ื ………………………………นามสกลุ ………………………..เลขท…่ี ………… 2. ช่ือ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…ี่ ………… 3. ช่ือ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…ี่ ………… 4. ชือ่ ………………………………นามสกลุ ………………………..เลขท…ี่ ………… คาชี้แจง 1. กิจกรรมน้ีใชเ้ วลา 15 นาที 2. ให้สมาชิกแตล่ ะกลุ่มเลอื กขอ้ ด้อยของตัวเองมา 1 ข้อ และให้สมาชิกในกล่มุ ช่วยกนั หาวธิ แี ก้ไขขอ้ บกพร่อง สมาชิกคนท.่ี ....... จดุ ดอ้ ยของตนเอง วธิ แี ก้ไขข้อบกพร่อง 304
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 4 หน่วยการจัดกจิ กรรม ส่วนตวั และสังคม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เร่อื ง สร้างฝนั ใหฉ้ นั เป็น จานวน 2 ชวั่ โมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. สาระสาคญั มุ่งให้นักเรียนค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจจากการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ นอกจากจะช่วยให้นักเรียนรู้จักตนเองมากขึ้นแล้ว ยังเป็นการเตรียมตัวเพื่อการปรับปรุงการเรียนของ ตนเองในปกี ารศึกษาตอ่ ไปด้วย 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตัวและสังคม ขอ้ 2 รกั และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 บอกความถนดั ความสามารถ ความสนใจในรายวิชาต่างๆ ทนี่ กั เรยี น 3.2 เพอ่ื สรา้ งเสริมสุขภาพส่วนตนและชุมชน มีความภูมิใจในความเป็นไทย 4. สาระการเรียนรู้ 305 นักเรียนได้สารวจความสามารถความถนัด ความสนใจของตนเอง พัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน พัฒนา ความสามารถพื้นฐานการเรียนรู้ และทักษะในการดาเนินชีวิตให้มีความสมดุลท้ังทางความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม ความรับผิดชอบตอ่ สังคม สามารถสร้างเสรมิ สุขภาพส่วนตนและชุมชน มีความภูมใิ จ ใน ความเปน็ ไทย ตลอดจนใชเ้ ปน็ พ้นื ฐานในการประกอบอาชีพหรอื ศึกษาต่อ 5. ชิน้ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) ใบความรู้ การเตรียมตวั เรยี นชัน้ ใหม่ 6. วิธกี ารจัดกจิ กรรม 6.1 ครูใหน้ กั เรยี นอภปิ รายถึงการเตรยี มตัวขนึ้ ช้ันเรยี นใหม่ จะต้องมีการเตรียมตวั อย่างไรบา้ ง ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรปุ 6.2 ครทู บทวนหลกั การ โครงสรา้ งหลักสตู รมัธยมศึกษาตอนต้น (ช่วงชน้ั ท่ี 3) โดยถามนักเรียนดว้ ยคาถามต่อไปนี้ - หลักสูตรการศึกษาภาคบังคับจัดข้ึนโดยมีหลักการท่ีสาคัญว่าอย่างไร (การสารวจความถนัด ความสนใจ และความสามารถ) หากนักเรียนไม่สามารถตอบคาถามได้ ครูให้นักเรียนอ่านทบทวนเอกสารประกอบการเรียนรู้ “หลักสูตรการศึกษาภาคบังคบั ชว่ งชน้ั ท่ี 3 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3” 6.3 ครใู ห้นกั เรียนอา่ นข้อความในใบความรู้ “การเตรียมตัวเรียนชน้ั ใหม”่ 6.4. ครูถามนักเรียนถึงผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีเรียนมาตลอดปีการศึกษาว่า นักเรียนมี ความถนัด ความสามารถ และความสนใจต่อการเรยี นในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ใด 6.5 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความสาคัญของการสารวจความถนัด ความสามารถ และความสนใจ ของตน จากการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ อันจะช่วยให้นักเรียนได้รู้จักตนเอง อีกท้ังเป็นการเตรียมตัว สาหรับการเรียนในช่วงชัน้ ใหม่ ต่อไป
7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 7.1 แผนภูมโิ ครงสรา้ งหลกั สูตรมัธยมศึกษาตอนตน้ 7.2 ใบความรู้ “การเตรียมตัวเรียนชน้ั ใหม่” 8. การประเมนิ ผล 8.1 วธิ ีการประเมนิ 8.1.1 จากความสนใจ มีควากกระตือรอื ร้นในการเรยี น และรว่ มปฏิบตั กิ ิจกรรม 8.1.2 ประเมินผลจากการตอบคาถามแสดงความคดิ เห็นของนักเรียน 8.2 เกณฑก์ ารประเมนิ - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรมของนกั เรียน เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผา่ น มีความตง้ั ใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมอื กบั กลมุ่ ในการวเิ คราะห์ แสดง ความคดิ เห็น การนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี นและส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ไม่ให้ความรว่ มมือกบั กลุ่ม หรอื ขาดส่ิงใดสิ่งหน่งึ 306
ใบความรู้ 307 การเตรยี มตวั เรียนช้ันใหม่ จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ โดยมีลักษณะที่พึงประสงค์ 8ข้อซ่ึงจะครอบคลุมตลอดทุกช่วงช้ัน (ต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1- ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6) สาหรับในช่วงช้ันท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 น้ัน เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สารวจความสามารถความถนัด ความสนใจของตนเอง พัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน พัฒนา ความสามารถพื้นฐานการเรียนรู้ และทักษะในการดาเนินชีวิตให้มีความสมดุลท้ังทางความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม ความรับผิดชอบต่อสงั คม สามารถสร้างเสริมสุขภาพสว่ นตนและชุมชน มคี วามภูมิใจใน ความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพืน้ ฐานในการประกอบอาชีพหรอื ศกึ ษาต่อ ในการเลอื กวชิ าเรียนนนั้ สิ่งทีน่ ักเรียนควรจะได้พจิ ารณามดี ังนี้ 1. ขอ้ มูลเก่ยี วกับตนเอง ซ่งึ ได้แก่ 1.1 ความถนัด คือ ความสามารถในการปฏิบัติจากการเรียนรู้ ฝึกฝน ก่อให้เกิดความชานาญ การเรียนรายวชิ าใดทีน่ กั เรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหรืองานท่ไี ดร้ ับมอบหมายได้ดี ยอ่ มแสดงถึงความถนัดในงาน วชิ าน้ันๆ ได้อยา่ งหนึ่ง 1.2 ความสามารถของนักเรียน โดยเฉพาะในทางด้านการเรียนเท่าที่ผ่านมานักเรียนมีผลการ เรียนอย่างไร โดยให้พิจารณาดูวา่ ผลการเรียนน้นั นักเรียนใช้ความสามารถท่ีมีอยู่เต็มท่ีแล้วหรือยัง และด้วยระดบั ผลการเรยี นท่ปี รากฏ นักเรยี นจะเรยี นไปได้ถึงระดับใด 1.3 ความสนใจ คือ ความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบต่อสิ่งใดส่ิงหน่ึงของบุคคล ซ่ึงจะมีอิทธิพล อย่างมากที่กระตนุ้ ให้เขาเลอื กทาบางอยา่ งมากกวา่ บางอยา่ ง ตัวอย่างเชน่ ในเวลาว่างเขาอาจชอบฟงั เพลงมากกว่า วาดรูป เป็นต้น ความสนใจของบุคคลมีมากกว่าหนึ่งอย่างได้ในเวลาเดียวกัน เช่น อาจชอบวาดรปู ชอบปลูกตน้ ไม่ เปน็ ต้น ความสนใจนสี้ ามารถสงั เกตได้ง่ายๆ จากสง่ิ ทเี่ รามักจะกระทาบ่อยๆ และทาใหเ้ รามีความสุข 2. ข้อมูลเก่ียวกับรายละเอียดของวิชา ซ่ึงได้แก่ ลักษณะเน้ือหาของวิชา ลักษณะการจัดการเรียน การสอน กิจกรรมการเรียน การวัดและประเมินผล และค่าใช้จ่ายในการเรียนการเลือกวิชาเรียนเป็นสิ่งสาคัญ หากนักเรียนเลือกวิชาเรยี นได้เหมาะสมและสอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ความสามารถของตน นักเรียน จะมีความสุข ประสบความสาเร็จในการเรียน ซ่ึงจะไปสู่เป้าหมายในอาชีพท่ีนักเรียนต้องการ ในอนาคต การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนแต่ละโรงเรียนอาจจัดรายวิชาแตกต่างกันไปตามความจาเป็น ความเหมาะสม และตามวิสยั ทศั น์ของแตล่ ะโรงเรียน
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวท่ี 5 หน่วยการจดั กิจกรรม ส่วนตัวและสงั คม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-3 เร่ือง หน่งึ มิตรชดิ ใกล้ จานวน 2 ชัว่ โมง ……………………………………………………………………..………………………………………………………………..………………… 1. สาระสาคัญ 308 การมีเพ่ือนท่ีดี เพื่อนสนิทหรือเพื่อนท่ีรู้ใจจะช่วยให้เรารู้สึกอบอุ่น มีบุคคลคอยช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา เมอ่ื มคี วามทุกข์ สมั พันธภาพระหวา่ งเราและเพื่อนจึงมีความสาคัญและควรที่จะไดร้ บั การดูแลรักษามิตรภาพให้คง อยูต่ ลอดไป 2. สมรรถนะ : ด้านสว่ นตัวและสงั คม ข้อ 4 ปรับตวั และดารงชีวิตอยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุข 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายคณุ สมบตั ิของเพ่ือนทีด่ ีได้ 2. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการมเี พอื่ นทดี่ ี 3. ระบุขอ้ ดีข้อเสยี ของเพ่ือนได้ 4. ปฏบิ ัติตนในการเป็นเพ่ือนทดี่ ีได้ 4. สาระการเรยี นรู้ - คุณสมบัติของการเปน็ เพ่ือนทด่ี ี 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) 5.1 ใบงาน “คู่หูของฉัน” 5.2 ใบงาน “กวา่ จะรู้ใจกัน” 6. วิธีการจดั กิจกรรม 6.1 ครสู นทนาซกั ถามนักเรียน เก่ียวกับเพ่ือนท่นี ักเรียนรจู้ กั ในโรงเรียนเดียวกนั หรอื ต่างโรงเรยี นท่มี ี ความสนิทสนมกันชอบไปไหนมาไหนดว้ ยกัน ว่ามกี ี่คนและแตล่ ะคนนักเรียนทราบข้อมูลส่วนตวั ของเพื่อนมากน้อยแค่ ไหน อย่างไร โดยอ่านรายละเอียดจาก ใบความรู้ท่ี 1 “เพ่ือนคู่ห”ู 6,2. ครสู มุ่ ถามนักเรียน ประมาณ 2-3 คนว่าเพ่ือนทน่ี ักเรยี นสนทิ สนม เปน็ เพื่อนท่ดี ขี องนักเรยี น หรือไม่ อยา่ งไร 6.3 ใหน้ กั เรียนจับคู่กบั เพ่ือนท่ีนักเรยี นสนิทที่สุดในหอ้ งแล้วทาใบงานท่ี 1 “คหู่ ูของฉนั ” 6.4 เมอื่ นักเรียนทาใบงานท่ี 1 “คู่หขู องฉัน” เรียบร้อยแล้วให้แลกเปลีย่ นกนั ตรวจคาตอบ ถา้ ตอบ ถกู ต้องกับความรูส้ กึ ของตนเอง ใหค้ ะแนนขอ้ ละ 1 คะแนน เม่ือตรวจเสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ใหส้ ง่ คืนเพื่อน 6.5 เมอื่ นกั เรียนได้รับคนื แลว้ ใหต้ รวจดูวา่ ไดก้ ่คี ะแนนและวิเคราะห์วา่ ข้อท่ีตอบไม่ถูกมีขอ้ ใดบ้างท่ี นกั เรียนยงั ต้องทาความรจู้ กั เพ่ือนให้มากกวา่ นี้ 6.6 ครูอภิปรายว่าใบงานท่ีทาเป็นเพียงส่วนหนงึ่ เท่าน้ัน 6.7 นกั เรยี นจบั คู่เพื่อนทส่ี นิทของตัวเองเพ่อื ศกึ ษาใบความรทู้ ี่ 2 “ลักษณะของเพื่อนที่ดี” และให้ ช่วยกันวิเคราะหว์ า่ ตวั เองมีจุดแข็งหรอื ขอ้ ดีอยา่ งไร และขอ้ บกพร่องที่ควรปรับปรุงอย่างไร ครูสงั เกตพฤตกิ รรม ของนักเรียนแต่ละกลมุ่
6.8 นักเรียนแตล่ ะคนปฏิบตั กิ ิจกรรมตามใบงานท่ี 2 “กวา่ จะรูใ้ จกนั ” 309 6.9 ครสู ่มุ นกั เรียน 1-2 คน ออกมารายงานหนา้ ช้ันเรียนเกย่ี วกบั ข้อบกพรอ่ งที่ควรปรบั ปรุงแก้ไขของ ตนเอง 6.10 สมาชกิ ในกลุ่มทาแบบบันทกึ กจิ กรรมที่ครเู ตรียมให้สง่ ครตู รวจต่อไป 6.11 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายสรปุ เกยี่ วกับการมีเพ่ือนที่ดีและขอ้ คิดที่ไดร้ บั จากการจดั กจิ กรรม เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 7.1 ใบความร้ทู ี่ 1 “เพอ่ื นคหู่ ู” 7.2 ใบความรู้ที่ 2 “ลกั ษณะของเพอื่ นทดี่ ี” 7.3 ใบงานที่ 1 “คหู่ ูของฉัน” 7.4 ใบงานที่ 2 “กวา่ จะรู้ใจกัน” 8. การประเมินผล 8.1 วธิ กี ารประเมนิ 8.1.1 จากความสนใจ มีควากกระตือรอื ร้นในการเรยี น และรว่ มปฏิบตั กิ ิจกรรม 8.1.2 ประเมนิ ผลจากการตอบคาถามแสดงความคดิ เห็นของนกั เรยี น 8.2 เกณฑ์การประเมนิ 8.2.1 ประเมินจากการสังเกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนกั เรยี น เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน มีความตงั้ ใจร่วมกจิ กรรม ให้ความรว่ มมอื กับกลมุ่ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคิดเหน็ การนาเสนอหน้าชนั้ เรียนและส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือกบั กลุ่ม หรือ ขาดส่ิงใดสิ่งหน่ึง 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงชี้ ผา่ น ทาใบงานและแบบบนั ทึกส่ง ใหค้ วามร่วมมือในการอภปิ ราย ไม่ผา่ น ไม่ทาสิ่งใดสิ่งหน่งึ
ใบความรู้ที่ 1 “เพ่ือนคู่ห”ู เพื่อนโดยเฉพาะเพ่ือนท่ีมีความสนิทสนมเป็นพิเศษหรือเรียกว่าเพื่อนคู่หูก็เป็นอีกบทบาทหน่ึงท่ีมี ความสาคัญ การรูจ้ กั เพือ่ นอยา่ งใกลช้ ิดทาใหเ้ กิดการยอมรบั ซ่ึงกันและกัน การท่เี ราไดท้ ากจิ กรรมรว่ มกนั ทาให้เรา รู้ว่าเรารู้ใจเพ่ือนสนิทของเรามากน้อยเพียงใด เม่ือเรามีความรัก ความสนิทสนม ความไว้วางใจให้กับใครสักคน เรา ควรท่ีจะเรยี นรทู้ ่ีจะพัฒนาและรักษาสัมพันธภาพนน้ั ให้ย่งั ยืนต่อไป (พรรณี เกษกมล, 2548) 310
ใบความร้ทู ่ี 2 311 “ลกั ษณะของเพื่อนทด่ี ี” มนษุ ยเ์ ป็นสัตว์สังคมท่ตี อ้ งอยู่รว่ มกันเป็นกลุม่ ดงั นนั้ ไม่วา่ อย่างไรกต็ ามทุกคนจะต้องมีเพื่อนอยา่ งแน่นอน จะเพ่ือนมากเพื่อนน้อยก็ขนึ้ อยกู่ บั สภาพสังคมของแตล่ ะคน อย่างไรกต็ ามจานวนของเพื่อนไม่ไดส้ าคญั นัก หาก เพ่อื นท่ีมลี ้วนแตเ่ ป็นประเภททช่ี กั จูงไปในทางทีเ่ ส่อื มเสยี การจะเลือกคบเพ่ือน ควรทจ่ี ะเลอื กคบคนทเ่ี ปน็ มิตรแท้ คอยช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกัน และพากนั ไปในทางแห่งความสุขความสาเร็จ เรอ่ื งฐานะหรือระดับการศกึ ษาไมไ่ ด้ เกี่ยวขอ้ งและบง่ บอกได้เลยวา่ เพือ่ นท่ีคบจะเป็นคนที่ดี หากแต่ควรพจิ าณาอปุ นิสยั ใจคออยา่ งละเอยี ดดังน้ี 1. ไม่ทาให้ผู้อืน่ เดอื ดร้อน คนที่มีนสิ ัยชอบทาให้คนอื่นเดือดร้อน เชน่ ชอบหาเรื่องทะเลาะวิวาท ,ข้องเก่ียวกับอบายมุขที่ผดิ กฎหมาย ฯลฯ คนเหลา่ นี้จัดอย่ใู นกลุ่มคนพาลท่จี ะนามาแต่ความเดอื ดเนอื้ ร้อนใจ 2. รู้จักทามาหากิน พึ่งพาตนเอง บคุ คลทขี่ ยนั ขันแข็ง สู้การสูง้ าน ทามาหากนิ เลยี้ งชีพด้วยการพึ่งพาตนเอง เปน็ บุคคลทีน่ ่ายกย่อง ไม่ สาคญั ว่างานทเี่ ขาทาจะมีตาแหนง่ ใหญโ่ ตหรือไม่ เพียงแคเ่ ป็นงานสุจรติ ก็น่าช่นื ชมแล้ว 3. พัฒนาตนเองอยเู่ สมอ คนทีร่ จู้ ักเพิ่มความสามารถให้ตนเอง เป็นบุคคลท่คี วรคบหาสมาคม เพราะจะทาให้เราก้าวหน้าตามไปด้วย 4. รับฟังความคดิ เห็น เพอ่ื นท่ดี ียอ่ มรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั ได้ แมว้ ่าบางคร้งั ความเห็นอาจจะไม่ตรงกันกส็ ามารถที่จะ แลกเปล่ยี นความคิดกันด้วยหลักเหตุและผล ถา้ ตดิ ตามขา่ วจะเหน็ วา่ เพ่ือนบางคนมคี วามเหน็ ทางการเมอื งตา่ งกัน กฆ็ า่ กนั ตายเสียแล้ว แบบนเ้ี ป็นมิตรในระดับท่เี ลวมาก 5. ช่วยเหลอื ในยามเดือดร้อน เพื่อนท่ีเป็นมิตรแท้สามารถพิสูจน์กันได้ในยามลาบาก แต่ท้ังน้ีต้องดูด้วยว่าสิ่งที่เราต้องการให้เพื่อน ชว่ ยเหลือเกนิ กาลงั ของเขาหรือไม่ บางคนไปยืมเงินเพ่ือนสนิท พอเพอ่ื นไม่ให้ก็ไปกล่าวหาวา่ เขาไมใ่ ช่เพ่ือน โดยไม่ พิจารณาเลยว่าเพ่ือนคนน้ันมีภาระต้องรับผิดชอบอยู่มากมายในเวลาท่ีคุณลาบาก เพ่ือนแท้จะยื่นมือเข้ามา ชว่ ยเหลือโดยทคี่ ุณไมต่ ้องเอย่ ปากรอ้ งขอ 6. มีมนุษยสัมพันธท์ ่ดี ี ลักษณะประการหน่ึงของเพ่ือนท่ีดี คือ ต้องนา่ คบหา อยู่ใกลแ้ ลว้ สบายใจ สามารถพดู คุยปรึกษาปัญหาได้ 7. ใหค้ าแนะนา ชกั จูงไปในทางท่ถี กู ต้อง หากเพื่อนของคุณแนะนาให้คุณเข้าสูห่ นทางของส่ิงไม่ดี ไมว่ ่าจะเป็นงานผิดกฎหมาย ,ยาเสพตดิ แสดงว่า เขาไม่ไดป้ รารถนาดตี ่อคณุ เลย การทค่ี ุณมองหาและเลอื กคบเพอื่ นท่ีดเี ป็นสงิ่ ที่ถกู ต้อง แต่ส่ิงท่อี ยากแนะนาก็คอื คุณควรทาตวั ใหเ้ ป็น เพื่อนทดี่ ีสาหรบั คนอ่ืนเชน่ กัน และเม่ือพบเจอเพ่ือนแท้แลว้ จงรักษามิตรภาพทด่ี ีไว้ เพราะในชวี ติ ของคนแต่ละคน เพื่อนแทไ้ ม่ได้หาเจอกันงา่ ย ๆ เทา่ กบั เพ่ือนกิน
เพอ่ื นแท้ ตอ้ งมลี ักษณะนิสยั อยา่ งไร 312 ทกุ คนจาเป็นต้องมีเพื่อน ต่อให้เป็นคนสนั โดษ ชอบอยู่คนเดยี ว แต่เช่อื ไหมวา่ คนๆ น้นั ก็ยังต้องมีเพื่อนสกั คนสองคนบ้าง หรอื บางคนอาจจะมเี พ่ือนเยอะกวา่ นน้ั บางคนอาจมีเพื่อนในโซเชียลมีเดียเปน็ พนั เลยก็ได้แต่เรา จะรไู้ ด้อยา่ งไรวา่ เพือ่ นทเ่ี ราคบอยูด่ ้วยนน้ั เปน็ เพื่อนแท้ทจ่ี ะอยู่กบั คุณไปตลอดชีวิต หรือเปน็ เพอื่ นทจี่ ะมาแค่รว่ ม สขุ พอทกุ ข์กห็ ายไป หรอื ตัวคุณกาลังเปน็ เพอ่ื นแยๆ่ ของใครอยหู่ รอื เปลา่ นะ ลักษณะของเพื่อนทีด่ ี 1. ไมน่ ินทาลบั หลัง ไมว่ า่ คุณอ้วนข้นึ คลา้ ลง หรือมีเรอื่ งโป๊ะแตกใหร้ ู้สกึ อบั อาย เร่อื งนั้นจะเป็นความลับตลอดไป ถา้ คุณมี เพอ่ื นแทอ้ ยู่ข้างกาย เพราะเพ่ือนท่ดี ีจะไมน่ าเรือ่ งแย่ๆ ของคณุ ไปพูดให้คนอน่ื ฟัง ถ้าคุณอว้ นขึ้น เขากเ็ พียงแคช่ วน คุณออกกาลงั กาย หรือไมก่ ็อว้ นไปด้วยเสยี เลย ไม่มเี พอื่ นดๆี คนไหนเขาไปเม้าท์ว่าคณุ อ้วนให้คนอ่ืนฟงั แน่นอน! 2. ไม่ทาให้รู้สกึ แยก่ ับตวั เอง แมว้ ่าวนั นั้นคุณจะเผลออารมณฉ์ นุ เฉยี ว เมา้ ท์มอยนินทาคนอน่ื มากไป ทางานผดิ พลาดจนโดนดุ ไมว่ ่าคุณ จะทาตวั สกั แค่ไหน เพ่ือนท่ีดีจะไม่ซ้าเติมคณุ เขาจะรับฟงั คุณดว้ ยความเข้าใจ เพราะเขารู้ว่าคณุ อาจจะมีปัญหา อะไรลึกๆ ในใจรึเปลา่ ทีท่ าใหต้ ัวคุณไม่เหมอื นเดิม และหากมนั แย่เกินไปจริงๆ เขาจะเตือนคุณด้วยความหวังดี แทนทจี่ ะปลอ่ ยให้เลยตามเลยไป 3. ไมห่ าเร่อื งทะเลาะกัน ตอ่ ให้ความคิดเห็นไม่ตรงกนั แตถ่ ้าคุณและเพ่ือนคือเพื่อนแท้ท่ีฟา้ ส่งมา เขาจะไม่เปิดประเดน็ ดรามา่ หา เร่อื งทะเลาะกบั คุณแน่นอน แตส่ ิ่งทเ่ี พ่ือนทด่ี จี ะทาคอื อธิบายด้วยเหตผุ ล ยกตัวอยา่ งที่ชัดเจน และรบั ฟังเหตุผล ของอกี ฝา่ ยดว้ ยใจไม่อคติ แล้วพิจารณาอย่างเปน็ กลาง หรือเพ่ือนบางคนอาจจะประนีประนอม ยอมผ่อนปรนให้ คุณแบบจรงิ ใจไมป่ ระชด แต่ถ้าเปน็ เรือ่ งที่มีความถูกต้องเกี่ยวข้อง เขากจ็ ะหาทางบอกให้คุณเขา้ ใจโดยไมโ่ ตเ้ ถียง กันได้ 8 เป็นผู้ฟงั ทีด่ ี มคี ากลา่ วว่า ‘การเป็นคนเล่าสนุกกว่าการเป็นคนฟงั ’ แตร่ ไู้ หมวา่ การจะเป็นเพื่อนทด่ี ีกต็ ้องเปน็ ผูฟ้ ังทดี่ ี ด้วย โดยลักษณะของคนทจ่ี ะเปน็ เพื่อนท่ีดีทใี่ ครๆ ก็อยากคุยดว้ ย มกั จะมลี ักษณะพเิ ศษอยอู่ ยา่ งหนง่ึ น่นั คือ เป็น ผฟู้ งั ทด่ี ี ไม่วา่ จะเร่ืองทุกข์ร้อน เรื่องตลกๆ เร่ืองดราม่าต่างๆ เพ่อื นคนนัน้ กจ็ ะนั่งฟังคุณด้วยความตั้งใจและใส่ใจใส่ อารมณ์กบั เร่ืองเล่าของคุณ แถมยังชว่ ยให้คาแนะนาดีๆ ในเรอื่ งที่คุณยังแก้ไม่ตกได้อีกด้วย 5. เชอ่ื มน่ั ในตวั คุณ แมค้ ณุ จะไมเ่ ชื่อในตวั เองวา่ ทาได้ แตข่ อใหเ้ ช่ือเพ่ือนคุณเถอะ ถ้าเขาบอกว่า ‘คุณทาได้’ นัน่ ไม่ใช่เพียง เพราะเขาอยากให้กาลังใจคุณ แตเ่ ขาเชื่อจรงิ ๆ ว่า คุณนะ่ ทาได้ หรอื อาจกาลังบอกเป็นนัยๆ ว่า “ถึงไม่ไหวก็ยงั มี ฉันคอยชว่ ยยงั ไงล่ะ เธอจะผา่ นมันไปไดแ้ นน่ อน”
6. ไมส่ นใจอดีต 313 ทุกคนต้องมีอดีตท่ีแย่ ๆ ท่ีอยากจะปิดบัง แต่เพ่ือนท่ีดีจะไม่สนใจอดีตของคุณ แม้เขาจะรู้หรือไม่รู้ก็ตาม เขาจะมองแต่ส่ิงปัจจุบันท่ีคุณเป็น และจะไม่ขุดอดีตขึ้นมาเพ่ือแฉคุณด้วย ในเมื่อเขายังไม่สนใจอดีตคุณเลย คุณก็ ตอ้ งพยายามลืมอดตี ของตวั เอง และกา้ วตอ่ ไปเปน็ คนใหม่ท่ดี กี ว่าเดิมดว้ ยนะ 7. สนใจในทกุ สเตตสั เฟสบ๊กุ บางคร้ังเราก็มักจะตั้งสเตตสั เฟสบุ๊กเพ่ือระบายความในใจ หรอื บอกเล่าวันดีๆ ท่เี กิดข้ึน เพื่อนในเฟสบุ๊กห ลายคนอาจจะเลื่อนผ่านไป บางคนอาจจะกดไลค์ให้ แต่เพื่อนแท้ของคุณจะเข้ามาทักทายคุณทันที ถ้าเป็นส่ิงดีๆ พวกเขาก็จะรว่ มยนิ ดดี ้วย แต่ถ้ามนั คอื ปัญหาหนักใจคณุ พวกเขากพ็ ร้อมชว่ ยเหลอื ทนั ทเี ลยละ่ 8. ไม่อจิ ฉาความสาเรจ็ เพ่อื นทดี่ เี ขาจะอยากเห็นคุณได้รบั แต่สิ่งดีๆ พวกเขาจะไม่อจิ ฉาตาร้อนในสงิ่ ที่คุณมี ส่งิ ท่ีคุณเปน็ และสิ่งที่ คณุ กาลังจะไดร้ ับ ถา้ เปน็ เร่อื งความสาเร็จของคุณพวกเขามแี ต่จะยนิ ดดี ว้ ยใจจรงิ และยนิ ดีท่ีจะผลักดนั คุณให้ก้าวสู่ ความสาเร็จต่อไปเร่ือยๆ และถ้าหากคุณเกิดผิดพลาดล้มลงมา ส่ิงท่ีคุณจะได้รับคือ รอยยิ้มและเสียงหัวเราะท่ีจะ บอกวา่ ‘ไม่เปน็ ไรนะ มาสู้กันใหม่ตอ่ ไป’ ไม่ใชร่ อยย้มิ และเสยี งหวั เราะเยย้ หยนั แน่นอน 9. ไมพ่ ยายามเปลีย่ นแปลงคุณ ไมต่ ้องกลัววา่ คณุ ไม่เป็นตัวเองของเอง หากได้คบเพื่อนแท้ เพราะเพอ่ื นแท้จะไม่เปล่ียนแปลงคณุ ใหเ้ ป็น แบบทเ่ี ขา หวัง แต่เขาจะเปลี่ยนคณุ ใหเ้ ปน็ คนทดี่ ีกว่าเดิมในแบบทค่ี ุณเป็นโดยไมต่ ้องอดึ อัดใจ 10.ไมห่ วังผลประโยชนจ์ ากมติ รภาพ อนั ท่จี ริงแล้วหลายครัง้ มิตรภาพอาจเริ่มมาจากการทางานร่วมกัน หรือมีผลประโยชนร์ ่วมกันมาก่อน แต่ ถา้ คุณและเขาคลิกกันจนได้กลายมาเปน็ เพื่อนแท้ หลงั จากนน้ั คาว่า ผลประโยชน์อาจจะหมดไป เหลือเพยี งแต่ คา ว่าเพ่ือนที่ร่วมหัวจมท้ายกันโดยไม่มีเร่ืองเงินมาเกี่ยวข้องก็ได้ โดยเพื่อนท่ีดีจะหวังเพียงแค่คุณมีความสุขและ ตัว เรากม็ คี วามสขุ แบบนีส้ ิเรยี กว่าประโยชนจ์ ากมิตรภาพ วนิ -วิน ท้ังสองฝ่าย อีกหน่ึงข้อท่ีสาคัญคือ ถ้าเม่ือไหร่ที่คุณไม่มีผลประโยชน์แล้ว ใครทียังอยู่เคียงข้างคุณ ให้รู้ไว้เลยว่า คนๆ น้ันแหละ เพื่อนที่จะอยู่กับคุณไปตลอดชีวิต ใครได้เจอเพ่ือนแบบนี้แล้วต้องรักษาไว้ให้ดีนะ(Pimonwan, 24 October 2018 จากhttps://goodlifeupdate.com/lifestyle/120151.html)
ใบงานท่ี 1 “คหู่ ูของฉัน” คาชี้แจง จากการท่ีนกั เรียนไดม้ คี วามสนทิ กบั เพื่อนในชั้นเรยี น นักเรียนทราบเก่ยี วกับเพื่อนของตนเองจากส่ิง 314 ต่อไปน้ี 1.ชื่อเลน่ ของเพื่อน........................ 2. อาหารทีช่ อบทานทสี่ ดุ ................. 3. สง่ิ ท่เี พอ่ื นอยากไดเ้ ป็นของขวัญวันเกิดปนี ้ี............................. 4. สัตวเ์ ลย้ี งทเี่ พื่อนชอบ............................................. 5. ดาราท่เี ป็นต้นแบบของเขา.................................... 6. วิชาท่เี พื่อนชอบ.................................................... 7. งานอดิเรกที่ชอบทา............................................. 8. โทรศัพท์มือถือทใี่ ช.้ ............................................. 9. มาโรงเรยี นโดยวิธีใด............................................ 10. สิง่ ท่ีควรแก้ไข............................................................ ชอื่ ผู้บันทึก……………………………………………ช่อื เล่น………………………
ใบงานท่ี 2 “กวา่ จะร้ใู จกนั ” คาชแี้ จง จากการทนี่ ักเรยี นมีเพ่ือนที่สนิทและคดิ วา่ เปน็ เพอ่ื นที่ดสี าหรับตนเองแลว้ ส่งิ ท่ีนักเรยี นต้อง ปรับปรงุ แก้ไขเพอื่ ให้ความสัมพันธ์ดาเนนิ ไปดว้ ยดี นกั เรยี นต้องปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับเพ่อื นในด้านใดบา้ งและบอก วิธีปรบั ปรงุ แก้ไข ขอ้ บกพรอ่ ง วิธแี ก้ไข ความเป็นไปได้กเี่ ปอรเ์ ซนต์ 315
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 6 หน่วยการจดั กจิ กรรม สว่ นตวั และสังคม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เรื่อง ฉนั จะเปน็ เหมือนใครดี จานวน 2 ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… 1. สาระสาคัญ คนทกุ คนจะมเี อกลักษณ์เฉพาะตัว การเลยี นแบบผู้อนื่ หากเป็นสงิ่ ทไ่ี ม่เหมาะสมกับตนเองแล้วยงิ่ จะทาให้ สูญเสยี ความเป็นตวั ของตังเองไปอย่างนา่ เสียดาย 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านส่วนตัวและสงั คม ขอ้ ท่ี 3 มีวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 การวางแผนการดาเนนิ ชีวิตในอนาคตได้อยา่ งเหมาะสม 3.2 ยกตัวอย่างบุคคลที่มบี คุ ลิกภาพท่ีดีได้ 4. สาระการเรยี นรู้ บคุ คลทเี่ ราควรยึดเป็นแบบอย่างหรือเลียนแบบได้ ต้องเปน็ คนท่มี ีบุคลกิ ภาพ มวี สิ ัยทัศน์ที่ดี ถ้าแบบอย่าง ในทางไมด่ เี ราควรหลีกเล่ียง 5. ชน้ิ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 316 5.1 ใบงานที่ 1 “ตวั ตนฉนั เป็นอย่างไร” 5.2 ใบงานท่ี 2 “ตน้ แบบของฉนั เปน็ เชน่ ไร” 5.3 ใบงานที่ 3 “ฉนั จะเปน็ เหมือนใครดี” 6. วิธกี ารจดั กจิ กรรม 6.1 ครสู นทนากบั นกั เรยี นเก่ยี วกบั เอกลักษณ์ของคนในอาชีพต่าง ๆ และซักถามนกั เรียนวา่ นักเรียนมี บคุ คลต้นแบบคอื ใคร ใหเ้ หตุผลประกอบ 6.2 นักเรยี นทาใบงานที่ 1“ตวั ตนฉันเป็นอย่างไร” เขยี นบรรยายวา่ นักเรียนเป็นอย่างไรในสายตาของ คนอื่น 6.3 ครสู ุ่มนกั เรยี น 2-3 คน นาเสนอหน้าช้ันเรยี น 6.4 นักเรยี นทาใบงานที่ 2 “ต้นแบบของฉันเปน็ เช่นไร” 6.5 ครูสมุ่ นักเรยี นอภิปรายหน้าชน้ั เรียน 6.6 นกั เรียนทาใบงานท่ี 3 “ฉนั จะเปน็ เหมอื นใครดี” 6.7 ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรปุ เก่ยี วกบั บคุ คลทเ่ี ราควรยึดเปน็ แบบอย่างมีลกั ษณะเปน็ อยา่ งไร 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1 ใบงานที่ 1 “ตวั ตนฉันเป็นอยา่ งไร” 7.2 ใบงานที่ 2 “ตน้ แบบของฉนั เป็นเชน่ ไร” 7.3 ใบงานท่ี 3 “ฉันจะเปน็ เหมือนใครดี”
8. การประเมนิ ผล 317 8.1. วิธกี ารประเมนิ 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการร่วมกจิ กรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมนิ จากการสงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรมของนักเรียน เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผา่ น มคี วามตั้งใจร่วมกิจกรรม ให้ความร่วมมอื กบั กล่มุ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เห็น การนาเสนอหน้าช้นั เรียนและสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ไม่ให้ความร่วมมือกับกลุ่ม หรอื ขาดส่งิ ใดสิ่งหน่ึง 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตัวบงช้ี ผ่าน ทาใบงานและแบบบนั ทกึ สง่ ให้ความร่วมมือในการอภปิ ราย ไม่ผา่ น ไมท่ าส่งิ ใดส่งิ หน่งึ
ใบงานที่ 1 318 “ตัวตนฉันเปน็ อย่างไร” คาชแ้ี จง เขยี นบรรยายว่านักเรียนเป็นอยา่ งไร เชน่ รูปรา่ ง หนา้ ตา เสื้อผ้าท่ีชอบใส่เป็นประจา กริ ิยาทา่ ทางการ เดนิ ยืน นง่ั นิสัย และรายละเอยี ดต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วกบั ตัวเอง น่ีคอื ตวั จรงิ ของฉัน ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตวั ตนท่ฉี นั อยากเป็น ....................................................................................................................................... ........................ ........................................................................................................... ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ..................................................................................................... ......................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรปุ ความคดิ เห็นของนักเรียน ............................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. สรปุ ความคดิ เห็นของครูแนะแนว ............................................................................................ ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. .................................................................................................... .......................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานที่ 2 ใช่ ไมใ่ ช่ “ต้นแบบของฉนั เป็นเชน่ ไร” 319 อ่านข้อความต่อไปน้ีแล้วทาเครือ่ งหมาย ทตี่ รงกบั ความคิดเห็นของท่าน ขอ้ ความ 1.ตน้ แบบของฉันเป็นคนท่ีมีช่ือเสียง 2. ตน้ แบบของฉนั เป็นบุคคลท่มี ีตวั ตนจริง 3.ตน้ แบบฉนั มักจะเปลีย่ นไปตามเวลา 4.ตน้ แบบมีผลต่อพฤติกรรมทางบวกของฉัน 5.ต้นแบบมีผลต่อพฤติกรรมทางลบของฉนั 6.คนแตล่ ะคนจะมีต้นแบบมากกวา่ หนง่ึ ตน้ แบบ 7.คนแตล่ ะคนจะมีต้นแบบเพียงหนึ่งตวั แบบ 8. ตน้ แบบมกั จะอายเุ ทา่ ๆ กัน 9. ตน้ แบบมกั จะอายุสูงกว่าฉัน 10. ตน้ แบบจะเป็นใครก็ได้ที่ฉนั ยกย่อง 11. คนที่อายุเทา่ ๆ กับฉนั ทม่ี ักเลือกเป็นต้นแบบโดยดูจากทักษะ หรอื บคุ ลกิ ภาพ 12. เราทกุ คนเปน็ ต้นแบบได้ สรุปความคดิ เห็นของนกั เรยี น ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................ ...... สรุปความคดิ เหน็ ของครแู นะแนว ............................................................................................ ................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................
ใบงานท่ี 3 320 “ฉันจะเปน็ เหมือนใครดี” ให้นกั เรียนนาบคุ คลท่กี าหนดไว้ทา้ ยข้อความข้างล่างน้ี มาเรียงลาดับที่ 1-12 โดยเรียงจากทนี่ ักเรียนอยาก ทาตัวเหมอื นเขามากทส่ี ดุ จนถึงน้อยท่สี ดุ 12...................... 11. .................... 10. ..................... 9..................... 8..................... 7..................... 6. ................... 5. .................... 4. .................... 3..................... 2..................... 1. ................... 1. ชายผ้รู า่ รวยคนหนง่ึ ชอบชว่ ยเหลือคนทัว่ ไป (นักบุญ) 2. นกั กฬี าดาวรุ่งคนหน่งึ มาฝกึ กีฬาตัง้ แต่เชา้ มืด และกลับบ้านเป็นคนสุดทา้ ย หลายคนเปน็ ห่วงเขา กลวั เขาจะตาย (นกั กฬี า) 3. ครูคนหนึ่งสนทิ สนมกบั นักเรียนมาก แม้แตไ่ ปงานสังคมเขาก็จะแต่งตัวเหมอื นนักเรียน (ความเป็นมิตร) 4. ชายเจา้ อารมณ์คนหนึ่งไดต้ ัดสนิ ใจไปสงครามเวยี ดนาม (สงคราม) 5. นักประหยัดผู้หนึ่งเปน็ ผปู้ ระหยดั ทกุ อยา่ งในชีวติ ของเขาไม้แตก่ ระดาษชาระกย็ ังไม่ยอมให้ครอบครัว ซ้ือมาใช้ (กระดาษ) 6. สามที นี่ า่ รักผซู้ ึง่ สง่ ดอกกหุ ลาบมาเปน็ ของขวญั ภรรยาของเขาทุกครง้ั ทีค่ รบรอบ โดยไม่หวังวา่ ภรรยาจะ ส่งให้เขาหรอื ไม่ (ดอกไม้) 7. นกั ศึกษาวิทยาลัยแหง่ หนึ่ง ให้เพอื่ นยืมเงนิ ไปเสียหนว่ ยค่าการเรยี น (คา่ หน่วยการเรียน) 8. คณุ พ่อคนหน่ึงสอนประชาธปิ ไตยให้ลกู ของเขาในบ้าน โดยให้ลกู ชายออกเสียงได้ 1 คนต่อ 1 เสยี ง แมแ้ ต่ ลกู อายุ 3 ขวบ กต็ ้องออกเสียงด้วยในการตัดสินใจไปเทย่ี วในวันหยุด (การออกเสยี ง) 9. นกั เรียนคนที่เป็นที่รูจ้ ักของเพื่อน ๆ ในโรงเรียน เพราะทาให้ทกุ คนมีความสุข เขาจะไมแ่ สดงความรู้สึก และความคดิ ในทางท่ีขัดแย้งกนั (เปน็ ทีร่ ้จู กั ) 10. นกั บนิ ผู้ซ่ึงบังคับเคร่ืองบินให้ร่อนลงในป่าแทนทจี่ ะร่อนลงกลางสนามเด็กเลน่ เพราะเขามองเห็นเด็ก 2 คนกาลงั เล่นในสนาม (เครือ่ งบิน) 11. ครคู วบคมุ ท่เี ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นลอกคาตอบเพื่อน (การสอบ) 12. แมท่ ี่มีชุดเพียงชุดเดียว เพราะเธอประหยัดเงินไวซ้ ื้อเส้ือผ้าและหนงั สือลูกสาว 3 คน (ชุด)
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 7 หน่วยการจดั กจิ กรรม ส่วนตัวและสงั คม ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 เรื่อง รักนวล สงวนตวั จานวน 1 ช่วั โมง …………………………………………………………………………………………..………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ นักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นวัยท่ีย่างเข้าสู่วัยรุ่น การคบเพื่อนต่างเพศจึงถือเป็นสิ่งที่มี ความสาคัญ ที่นักเรียนต้องเรียนรู้และตระหนักถึงวัฒนธรรมไทยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวต่อเพศตรงข้าม มีสุขภาวะท่ีดี รู้จักวิธีการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากการท้องไม่พร้อม และการปฏิบัติตัวอย่างไรจึงจะมีคุณค่าและเหมาะสมกับวัย ของนกั เรยี น 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตวั และสังคม ข้อที่ 1 รูจ้ ักและเข้าใจตนเอง ข้อที่ 4 ปรับตัวและดารงชีวติ ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 321 3.1 ตระหนกั ในวัฒนธรรมไทยเกีย่ วกับการคบเพ่ือนต่างเพศ 3.2 รูจ้ ักวิธกี ารดูแลตนเองใหป้ ลอดภยั จากการต้ังครรภ์ที่ไม่พร้อม 4. สาระการเรยี นรู้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การคบเพื่อนต่างเพศและการนาไปปฏบิ ัตไิ ดถ้ ูกต้อง 5. ชิน้ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) 5.1 ใบงาน “รกั นวล” 5.2 ใบงาน “สงวนตัว” 6. วธิ ีการจัดกิจกรรม 6.1 ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับความแตกตา่ งทางอารมณ์ รา่ งกายระหวา่ งชายกับหญิง 6.2 ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายถึงความแตกต่างระหว่างชายกบั หญิงท้งั ในด้านรา่ งกาย และอารมณ์ 6.3 ครนู าภาพวัยรนุ่ อมุ้ ท้องมาใหน้ ักเรียนดู และช่วยกนั วิเคราะห์จากภาพ 6.4 นักเรยี นแบ่งออกเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน แต่ละกลมุ่ ศึกษาใบความรทู้ ่ี 1 “การคบเพื่อนตา่ งเพศ” 6.5 ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคิดวิเคราะห์เก่ียวกับแนวทางในการการคบเพื่อนต่างเพศ ระหว่างวัยรุ่นชาย กบั วยั ร่นุ หญงิ ตามความคดิ เห็นของสมาชิกในกลุ่มวา่ ควรจะเป็นเชน่ ไรจงึ จะเหมาะสม และบันทกึ ลงใน ใบงาน “รักนวล” และใบงาน “สงวนตัว” ท่ีครูแจกให้ ขณะที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครูคอยให้คาปรึกษาและ สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนรายบคุ คล 6.6 ครูขออาสาสมคั รนักเรียน 2 กลุ่ม เพ่ือเปน็ ตวั แทนห้องนาเสนอความคดิ เห็นของสมาชิกกลุ่มเก่ยี วกบั การคบเพ่ือนต่างเพศ ใบงานที่ 1“รักนวล” และใบงานท่ี 2 “สงวนตวั ” ให้เพื่อน ๆ ฟังโดยใช้เวลาไม่เกินกลุ่มละ 5 นาที
6.7 สมาชิกในแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดเห็นและบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรมท่ีครูแจกให้ 322 ขณะท่ีนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมครคู อยให้คาปรึกษาและสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนรายกลมุ่ และส่งผลงานใหค้ รู ตรวจตอ่ ไป 6.8 ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปแนวทางและความสาคัญในการคบเพ่ือนต่างเพศรวมถึงการปฏิบัติตัวให้ เหมาะสม ตระหนักในวัฒนธรรมไทยเก่ียวกับการปฏิบัติตัวต่อเพศตรงข้ามและการมีสุขภาวะท่ีดี รู้จักวิธีการดูแล ตนเองให้ปลอดภยั จากการทอ้ งไม่พร้อม 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1 ใบความรเู้ ร่อื ง “การคบเพอื่ นตา่ งเพศ” 7.2 ใบงานท่ี 1 “ รักนวล” 7.3 ใบงานที่ 2 “สงวนตวั ” 8. การประเมินผล 8.1. วธิ ีการประเมิน 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สังเกตการร่วมกจิ กรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมนิ จากการสงั เกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของนักเรียน เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผ่าน มีความตง้ั ใจร่วมกจิ กรรม ให้ความรว่ มมอื กับกลมุ่ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เหน็ การนาเสนอหนา้ ชน้ั เรียนและสง่ งานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไมใ่ หค้ วามรว่ มมือกบั กลุ่ม หรอื ขาดสง่ิ ใดส่งิ หนงึ่ 8.2.2 ประเมนิ จากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงช้ี ผ่าน ทาใบงานและแบบบันทกึ สง่ ใหค้ วามร่วมมือในการอภปิ ราย ไมผ่ ่าน ไม่ทาส่งิ ใดส่งิ หน่ึง
ใบความรู้ 323 “ การคบเพ่อื นต่างเพศ ” การสนใจเพศตรงข้ามเป็นธรรมชาติของวัยรุ่น การทวี่ ัยรนุ่ จะคบเพอ่ื นต่างเพศไมใ่ ช่ เรือ่ งแปลก ประหลาดใน สังคมปัจจบุ นั แต่วยั รนุ่ ที่คดิ จะมคี ่คู รองต้องระวังตนเอง ให้คบกนั ในขอบเขตทเี่ หมาะสม (ภาษ,ี 2542) ลกั ษณะการคบเพ่ือนตา่ งเพศ 1. คบแบบเพื่อน 2. คบแบบคู่ควง หรือค่รู กั อายุระหว่าง 14-16 ปี เด็กชายจะเรม่ิ สนใจผู้หญิง บางคนเร่ิมจบั คู่กันวยั รนุ่ ชายและหญิงต้องการการ ตอบสนองทางเพศแตกต่างกัน การคบกันแบบคู่ควงหรอื คู่รัก 1. วัยรนุ่ หญงิ ต้องการเพยี ง \"ความรกั \" ความรูส้ ึกอบอุ่นใจ มีคนปกป้อง ห่วงใย ตอ้ งการความโรแมนติกเท่านนั้ 2. วยั รุ่นชายเริ่มตอ้ งการ \"ความใคร่\" เพอื่ ผอ่ นคลายความรสู้ ึกกดดนั ทางธรรมชาติของตน เม่ือฝา่ ย ชายต้องการ \"ความใคร\"่ ฝา่ ยหญงิ อาจเพลี่ยงพล้า ถ้าปลอ่ ยตวั ปลอ่ ยใจให้เคลบิ เคลมิ้ ไปกับอารมณ์โรแมนติก โดยไม่รตู้ ัว ผลของการเผลอใจ การเผลอใจอาจทาให้วยั รนุ่ ตง้ั ครรภ์ก่อนถงึ เวลาอนั สมควร ซึ่งตัววัยรุ่นเอง ครอบครัวและสังคม ยอมรบั ไม่ได้ วัยรุน่ ควรลองถามตวั เองดูว่าจะเกิดอะไรข้นึ ถ้าตั้งครรภ์ในขณะท่ีเรยี น 1. พอ่ แม่จะวา่ อย่างไร 2. การเรียนท่ีโรงเรยี น 3. คนรอบบ้านเขาจะพูดว่าอย่างไร 4. พอ่ ของลกู จะรับผิดชอบหรือไม่ 5. จะต้ังครรภ์ต่อไปหรือไม่ 6. จะเลย้ี งลูกอย่างไร 7. จะผดิ ศีลธรรม และเป็นตราบาปหรือไม่ คบเพือ่ นต่างเพศอย่างไรใหผ้ ใู้ หญย่ อมรับ 1. ไมค่ วรให้เสียการเรยี น 2. อย่าพยายามอยู่ด้วยกันสองต่อสองในท่ลี ับตาคน 3. รูจ้ กั บังคับใจตนเอง โดยนกึ ถงึ ความถูกต้อง และผลเสยี ท่จี ะเกดิ จากการเพลย่ี งพล้า 4. ใหผ้ ู้ใหญ่รบั ร้แู ละขอคาปรึกษาแนะนา ครอบครัวเปน็ พืน้ ฐานสาคัญในการสร้างภมู ิคุม้ กันใหเ้ ดก็ ผู้ใหญใ่ นครอบครัว เป็นบุคคลสาคัญท่สี ุดทจี่ ะช่วยช้ีนาอบรมให้ลูกวัยร่นุ คบเพ่ือน ตา่ งเพศได้อย่างปลอดภัยเน่อื งจากวยั รุ่นยงั ไม่บรรลวุ ุฒิภาวะทางอารมณเ์ ท่าทีค่ วร ผใู้ หญ่ตอ้ งเข้าใจธรรมชาติ ของเด็ก เช่น 1. ให้ความไวว้ างใจในตัวเขา 2. ใหโ้ อกาสเขาพูดเมื่อต้องการปรึกษา 3. พยายามสังเกตท่าทีอยหู่ า่ ง ๆ 4. ต้องสรา้ งครอบครัวใหอ้ บอุน่ ใหร้ สู้ กึ วา่ บ้านนา่ อยู่ ไม่ใหเ้ กดิ การผลักดนั ให้เด็ก ออกไปหาความ อบอนุ่ นอกบ้านจะได้ลกู ทเ่ี ป็นผู้ใหญ่ทม่ี ีคุณภาพในอนาคต
ใบงานที่ 1 “ รกั นวล” กลุ่มที่…….. 1. ชื่อ………………………………นามสกลุ ………………………..เลขท…ี่ ………… 2. ช่อื ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…่ี ………… 3. ชอ่ื ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…ี่ ………… 4. ชื่อ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…ี่ ………… คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มระดมความคดิ วิเคราะห์แนวทางในการคบเพ่ือนตา่ งเพศ ตามความคิดเห็น ของสมาชกิ กลุม่ แนวทางการคบเพอ่ื นต่างเพศ 324
ใบงานที่ 2 “สงวนตัว” กลมุ่ ท่ี…….. 1. ชื่อ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…ี่ ………… 2. ชื่อ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…่ี ………… 3. ชื่อ………………………………นามสกุล………………………..เลขท…่ี ………… 4. ชอ่ื ………………………………นามสกลุ ………………………..เลขท…่ี ………… คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ระดมความคิด วเิ คราะห์วิธกี ารดแู ลตนเองให้ปลอดภัยจากการท้องไม่พรอ้ ม วิธกี ารดแู ลตนเองให้ปลอดภัยจากการท้องไมพ่ ร้อม 325
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 8 หนว่ ยการจดั กจิ กรรม สว่ นตัวและสงั คม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 เรือ่ ง ห่างหน่อยถอยนดิ จานวน 2 ชว่ั โมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. สาระสาคัญ ยาเสพติดเป็นภยั รา้ ยท่ที าลายทงั้ ชวี ติ ร่างกาย ครอบครัวและสังคม นกั เรียนพึงตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดขึน้ กับตนเองและสังคม และปฏิบัติตนใหห้ า่ งไกลจากยาเสพตดิ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านส่วนตวั และสังคม ขอ้ 4 ปรบั ตัวและดารงชวี ิตอย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั พิษภยั ของยาเสพตดิ 3.2 เข้าใจสถานการณ์ภยั รา้ ยยาเสพตดิ 3.3 มที กั ษะชีวิต สามารถปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัยจากยาเสพติดได้ 4. สาระการเรยี นรู้ พษิ ภัยจากยาเสพตดิ ผลกระทบและการป้องกนั ตนเองให้หา่ งไกลจากยาเสพติด 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 326 5.1 ใบงาน เรอ่ื ง ผลกระทบต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม 5.2 ผงั มโนทศั น์ เรือ่ ง การปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภยั จากยาเสพติด 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 6.1 ครเู ลา่ เหตกุ ารณ์หรือให้นกั เรยี นดูภาพข่าวเกีย่ วกับปัญหายาเสพติด จากหนงั สือพิมพห์ รือ สื่อเทคโนโลยี 6.2 ครสู นทนาซักถามนักเรียนเกีย่ วกบั ปัญหายาเสพติดในปจั จุบนั วา่ มผี ลกระทบตอ่ คนในสังคมไทยอย่างไร บ้างและนักเรยี นจะปฏบิ ัติตนอยา่ งไรเพ่ือให้ตนเองหา่ งไกลจากยาเสพติด 6.3 นักเรียนแบ่งกล่มุ ๆละ 5-6 คน ระดมความคิดเพื่อทาใบงาน เร่ือง ผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว และ สังคม และเตรยี มตัวแทนกลมุ่ นาเสนอหน้าชนั้ เรียน ขณะท่ีนักเรยี นทากิจกรรม ครูสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น 6.4 ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลการระดมความคิดของสมาชกิ จากใบงานหน้าชน้ั เรียนทีละกลุ่ม แล้วให้นักเรียน ช่วยกันวเิ คราะหข์ อ้ ความท่เี ขยี นของแตล่ ะกลุ่ม 6.5 นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง พิษภัยจากยาเสพตดิ 6.6 นักเรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายสรุปเกยี่ วกบั พษิ ภยั ของยาเสพติด 6.7 นักเรียนเข้ากลุ่มเดมิ เพอ่ื จดั ทาผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง การปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัยจากยาเสพติด และนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน 6.9 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับ พิษภัยของยาเสพติด ผลกระทบและการปฏิบัติตน ใหป้ ลอดภัยจากยาเสพติด และ เนน้ ยา้ ให้นกั เรยี นนาไปปฏิบัติในชวี ิตประจาวนั
7. สอ่ื / อุปกรณ์ 327 7.1 ใบความรู้ เร่ือง โทษและพิษภยั ของสารเสพติด 7.2 ใบงาน เรอ่ื ง ผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว และสงั คม 7.3 ข่าว/ สถานการณ์ เกี่ยวกบั ยาเสพติด ตัวอยา่ ง https://youtu.be/I9mVLb5LgCQ 8. การประเมินผล 8.1. วิธีการประเมิน 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการรว่ มกจิ กรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติกจิ กรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผา่ น มคี วามตั้งใจรว่ มกจิ กรรม ใหค้ วามรว่ มมือกับกลุม่ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เห็น การนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี นและสง่ งานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไมใ่ ห้ความร่วมมือกับกลุ่ม หรือ ขาดสงิ่ ใดสิง่ หนึง่ 8.2.2 ประเมนิ จากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงชี้ ผา่ น ทาใบงานและแบบบันทึกสง่ ใหค้ วามร่วมมือในการอภปิ ราย ไมผ่ า่ น ไม่ทาส่ิงใดสง่ิ หนึ่ง
ใบความรู้ 328 “โทษและพิษภัยของสารเสพติด” เนื่องด้วยพิษภัยหรือโทษของสารเสพติดที่เกิดแก่ผู้หลงผิดไปเสพสารเหล่าน้ีเข้า ซึ่งเป็นโทษท่ีมองไม่ เห็นชัด เปรียบเสมือนเป็นฆาตกรเงียบ ที่ทาลายชีวิตบุคคลเหล่านั้นลงไปทุกวัน ก่อปัญหาอาชญากรรม ปัญหา สุขภาพ ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและบ้านเมืองอย่างร้ายแรง เพราะสารเสพย์ติดทุกประเภทท่ีมีฤทธิ์เป็น อันตรายต่อร่างกายในระบบประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์บัญชาการของร่างกายและชีวิตมนุษย์ การติด สารเสพติดเหล่าน้ันจึงไม่มีประโยชน์อะไรเกิดขึ้นแก่รา่ งกายเลย แต่กลับจะเกิดโรคและพิษร้ายต่างๆ จนอาจทาให้ เสยี ชวี ติ หรอื เกดิ โทษและอนั ตรายต่อครอบครวั เพื่อนบ้าน สังคม และชมุ ชนต่างๆ ตอ่ ไปไดอ้ ีกมาก โทษทางรา่ งกาย และจติ ใจ 1. สารเสพติดจะให้โทษโดยทาให้การปฏิบัติหน้าที่ ของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายเส่ือมโทรม พิษภัย ของสารเสพยต์ ิดจะทาลายประสาท สมอง ทาให้สมรรถภาพเสื่อมลง มีอารมณ์ จติ ใจไมป่ กติ เกดิ การเปลีย่ นแปลง ไดง้ ่าย เช่น วิตกกังวล เลื่อนลอยหรอื ฟุง้ ซ่าน ทางานไมไ่ ด้ อยู่ในภาวะมนึ เมาตลอดเวลา อาจเป็นโรคจิตได้งา่ ย 2. ดา้ นบุคลิกภาพจะเสียหมด ขาดความสนใจในตนเองทงั้ ความประพฤติความสะอาดและสติสัมปชัญญะ มีอากปั กริ ยิ าแปลก ๆ เปล่ยี นไปจากเดิม 3. สภาพร่างกายของผู้เสพจะอ่อนเพลีย ซูบซีด หมดเร่ียวแรง ขาดความกระปรี้กระเปร่าและเกียจคร้าน เฉ่ือยชา เพราะกินไม่ได้ นอนไม่หลับ ปล่อยเน้ือ ปล่อยตัวสกปรก ความเคลื่อนไหวของร่างกายและกล้ามเน้ือต่าง ๆ ผดิ ปกติ 4. ทาลายสุขภาพของผู้ติดสารเสพติดให้ทรดุ โทรมทุกขณะ เพราะระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายถูกพิษ ยาทาใหเ้ สอื่ มลง นา้ หนักตัวลด ผิวคล้าซีด เลอื ดจางผอมลงทกุ วนั 5. เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เพราะความต้านทานโรคน้อยกว่าปกติ ทาให้เกิดโรคหรือเจ็บไข้ได้ง่าย และ เม่ือเกิดแล้วจะมคี วามรนุ แรงมาก รกั ษาหายไดย้ าก 6. อาจประสบอบุ ัตเิ หตุไดง้ า่ ย สาเหตเุ พราะระบบการควบคมุ กล้ามเนอ้ื และประสาทบกพร่อง ใจลอย ทางานดว้ ยความประมาท และเสี่ยงต่ออุบัตเิ หตตุ ลอดเวลา 7. เกดิ โทษทร่ี ุนแรงมาก คือ จะเกดิ อาการคลุ้มคลั่ง ถงึ ข้ันอาละวาด เมื่อหิวยาเสพตดิ และหายาไม่ทนั เรมิ่ ด้วยอาการนอนไม่หลับ นา้ ตาไหล เหง่ือออก ท้องเดิน อาเจียน กลา้ มเนอื้ กระตุก กระวนกระวาย และในทส่ี ุดจะมี อาการเหมอื นคนบา้ เป็นบอ่ เกิดแห่งอาชญากรรม
โทษพษิ ภยั ต่อครอบครัว 329 1. ความรับผดิ ชอบต่อครอบครวั และญาติพ่ีนอ้ งจะหมดสิ้นไป ไมส่ นใจท่ีจะดแู ลครอบครวั 2. ทาให้สูญเสียทรัพย์สิน เงินทอง ท่ีจะต้องหามาซื้อสารเสพติด จนจะไม่มีใช้จ่ายอย่างอ่ืน และต้องเสีย เงนิ รกั ษาตวั เอง 3. ทางานไมไ่ ดข้ าดหลกั ประกันของครอบครวั และนายจ้างหมดความไวว้ างใจ 4. สญู เสยี สมรรถภาพในการหาเลย้ี งครอบครวั นาความหายนะมาสคู่ รอบครัวและญาติพนี่ อ้ ง ผู้ท่ีติดสารเสพติดนอกจากจะเป็นผู้ท่ีมีความรู้สึกว่าตนเองด้อยโอกาสทางสังคมแล้ว ยังอาจมีพฤติกรรมนาไปสู่ ปญั หาด้านต่างๆ แก่สังคมได้ เพราะ 1. ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม และอุบัติเหตุอันตรายต่างๆ ต่อตนเองและผู้อ่ืนได้ง่ายตลอดจนเป็น ปญั หาของโรคบางอย่าง เชน่ โรคเอดส์ 2. ถ่วงความก้าวหน้าของชุมชน สังคม โดยเป็นภาระต่อส่วนรวม ท่ีประชาชนต้องเสียภาษีส่วนหนึ่งมาใช้ ในการปราบปรามบาบัดผทู้ ีต่ ดิ สารเสพตดิ 3. สูญเสียแรงงานโดยไร้ประโยชน์บั่นทอนประสิทธิภาพ ของผลผลิต ทาให้รายได้ของชาติในส่ว นรวม กระทบกระเทอื น และเปน็ การสูญเสยี ทางเศรษฐกิจของชาติ 4. เน่ืองจากสภาพเป็นคนอมโรคมคี วามประพฤติและบคุ ลิกลักษณะ เส่ือมจนเป็นทรี่ ังเกียจ ของสังคม ทาให้เป็นคนไร้สติในวงสังคม โอกาสท่ีจะประกอบกิจที่ผิดศีลธรรมเพ่ือแลกเปลี่ยนกับส่ิงเสพย์ ตดิ เช่น พูดปด ขโมย หรือกลายเป็นอาชญากร เพอ่ื แสวงหาเงินซื้อสารเสพตดิ สิ่งเหล่านีล้ ้วนทาลายอนาคตทาลาย ชอ่ื เสยี งของตนเองและวงศ์ตระกลู โทษที่ก่อใหเ้ กิดกบั สว่ นรวมและประเทศชาติ รัฐบาลต้องสูญเสียกาลังคน และงบประมาณแผ่นดินจานวนมหาศาล เพื่อใช้ในการป้องกันปราบปรามและ บาบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด ทาให้ต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลอันมีค่า เกิดความไม่สงบสุขของบ้านเมือง ความ มั่นคงของประเทศชาติถูกกระทบกระเทือน ประชาชนเดือนร้อนเพราะเหตุอาชญากรรม ประเทศชาติต้องสูญเสยี กาลงั ของชาติอย่างน่าเสยี ดาย โดยเฉพาะผู้ตดิ สารเสพติดเป็นเยาวชน การป้องกนั การติดยาเสพติด การป้องกันตนเอง 1. ควรศึกษาหาความรู้เก่ยี วกบั การใช้ยาอย่างถูกวธิ ี และเหมาะสมกบั การเจ็บปว่ ย 2. ไมท่ ดลองเสพสิ่งเสพตดิ ทุกชนิด หรอื เสพสง่ิ ที่รวู้ า่ มีภยั เพราะตดิ งา่ ย เลิกยาก และมี อันตรายตอ่ สุขภาพรา่ งกายและจติ ใจ 3. การคบเพ่ือนควรเลือกคบเพ่อื นที่ดี หลีกเลี่ยงเพื่อนทช่ี อบชักจงู ไปในทางเส่อื มเสีย 4. ควรรูจ้ กั ใช้ความคิด และใช้เหตผุ ลในการแกไ้ ขปัญหา กรณีทไี่ มส่ ามารถแกไ้ ขปัญหาได้ ด้วยตนเอง ควรปรึกษา พ่อ แม่ ผูป้ กครอง ครอู าจารย์ หรอื ญาตผิ ู้ใหญท่ ีส่ นิทและไว้วางใจมาชว่ ยแกไ้ ขปญั หา 5. รู้จักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ การปอ้ งกันสาหรบั ครอบครัว 1. แนะนาตกั เตอื นใหค้ วามรู้ แกส่ มาชิกในครอบครัวให้เกดิ ความตระหนกั ถึงโทษ พษิ ภยั ของยาเสพติด 2. สอดส่องดแู ลสมาชกิ ในครอบครวั อย่างสม่าเสมอ หากพบวา่ ติดยาใหร้ บี นาไปบาบดั รกั ษาทนั ที 3. กรณีบคุ คลในครอบครัวเจบ็ ป่วย ไม่ควรซอื้ ยารบั ประทานเอง ควรไปปรกึ ษาแพทย์
4. พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ควรประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีของลูก และเป็นท่ีปรึกษาแก่ ลูก และสมาชิกใน 330 ครอบครัวได้ 5. พ่อแม่ ควรให้ความรัก ความอบอนุ่ การดูแลเอาใจใส่ในการอบรมเลี้ยงดอู ยา่ งใกล้ชดิ กับลูก พิษของยาเสพตดิ จะแตกต่างกันไปดงั น้ี 1. พษิ ของยาบา้ และยาอีจะคลา้ ยคลงึ กัน สว่ นยาเคนน้ั จะแตกต่างออกไป อยา่ งไรก็ดีขอ้ มลู เรื่องของยา อแี ละยาเค ยงั มจี ากัด 2. การใช้โดยการฉดี ทาให้เกิดการติดเชอ้ื การอักเสบบรเิ วณทีฉ่ ดี และเป็นหนทาง ติดโรคเอดสไ์ ด้ 3. ในกรณีที่ใช้ยาบ้าในขนาดสูง ในระยะเฉียบพลันจะทาให้ตัวร้อน เหมือนเป็นไข้ เหงื่อแตกพลั่ก ปากแหง้ ปวดศรี ษะ ผิวหนังซดี ตาพรา่ มนึ งง หวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ ความดนั เลอื ดสูงฉบั พลนั ตวั ส่ัน ควบคุมร่างกาย ไม่ได้ ชัก หมดสติ ในบางรายอาจเสียชวี ิต จากเสน้ เลือด ในสมองแตก หัวใจวาย การชกั หรอื ตัวรอ้ นจัด 4. ถ้าหากใช้ยาต่อเน่ือง เป็นเวลานาน ยาบ้าทาให้เกิด ความผิดปกติทางจิต คล้ายกับคนบ้า ชนิด หวาดระแวง (Paranoid) และอาจก่อความรุนแรง หรืออาชญากรรมได้ ร่างกายจะทรุดโทรม อ่อนแอ เนื่องจาก ขาดอาหารและขาดการพักผอ่ น ทาให้เกิดโรคตา่ งๆ ได้ง่าย เช่น โรคติดเชอ้ื ในบางครั้ง ผู้ที่ใช้ยาบ้า อาจจะทางาน หนักเกนิ จนร่างกายรบั ไมไ่ หว เกดิ การบาดเจ็บหรอื ทุพลภาพได้ 5. ยาอมี พี ิษเฉียบพลัน คล้ายยาบ้ารวม ไดแ้ ก่ เกิดความปรวนแปร ทางจติ อารมณ์ เช่น วิตกกังวลรุนแรง ซึมเศรา้ ความคดิ หวาดระแวง และที่สาคญั คอื ประสาทหลอน อาการพษิ ทางกายไดแ้ ก่ กล้ามเนอ้ื เกร็งตวั คล่ืนไส้ ตาพร่า เป็นลม หนาวสนั่ เหงือ่ แตก 6. จากผลการทดลองกับสัตว์ ปรากฏว่าทั้งยาบ้า และยาอี ทาลายเซลประสาทบางชนิด ทาให้สมอง เสื่อมอย่างถาวร และเกิดความบกพร่อง ในการทางาน ของร่างกายส่วนที่สมอง บริเวณน้ันควบคุม เช่น อารมณ์ การนอนหลับ การหลับนอน (ความสามารถทางเพศ) การรบั ร้คู วามเจ็บปวด เป็นต้น 7. นอกจากน้ันยังเชื่อว่า ยาบ้าและยาอี มีผลพิษต่อตัวอ่อนด้วย โดยพบว่าทารก ท่ีคลอดจากมารดา ท่ี ตดิ ยาบ้า มักมีความผดิ ปกติ ทั้งทางรา่ งกายและจิตใจ 8. ยาเคมีพิษเฉียบพลัน กระตุ้นทาให้จิตอารมณ์วุ่นวาย และเกิดภาวะประสาทหลอน และเม่ือใช้ขนาดสูง จะทาให้หมดสติ
ใบงาน “ผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม” กลุ่มท่ี …….. ชือ่ กลมุ่ ………………….. สมาชกิ กลุ่ม 1………………………………………………. 2………………………………………………. 3………………………………………………. 4…………………………………………….… 5……………………………………………… 6…………………………………………….… 1. ผลกระทบต่อตนเอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผลกระทบต่อครอบครวั 331 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ผลกระทบต่อสงั คม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 หน่วยการจัดกจิ กรรม สว่ นตัวและสังคม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1-3 เรอื่ ง ทักษะการฟัง จานวน 2 ชว่ั โมง …………………………………………………………………………………………………………..……………………………..………………… 1. สาระสาคัญ 332 การฟังเปน็ ทักษะทสี่ าคัญอย่างหนง่ึ ของหัวใจนกั ปราชญ์ การฟังท่ีดีสามารถเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการ เรียนรไู้ ด้ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตัวและสังคม ข้อท่ี 1 รูจ้ ักและเข้าใจตนเอง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 บอกหลักการฟังทด่ี มี ีประสิทธภิ าพได้ 3.2 แยกประเภทคาถามปลายเปดิ คาถามปลายปดิ และบอกประโยชนไ์ ด้ 4. สาระการเรยี นรู้ ทักษะการฟงั 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน ใบความรู้ (บทความ หรือข่าวสน้ั ๆ จากหนงั สอื พิมพ์) อยา่ งน้อย 2 เรื่อง 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม 6.1 นาเขา้ สบู่ ทเรียนโดยสนทนากับนกั เรยี นถึงความสาคัญของการฟงั 6.2 นกั เรียนจบั คู่กนั แล้วนัง่ หันหน้าเขา้ หากนั เป็นคสู่ นทนา แจกใบความรู้ให้นักเรียนคนใดคนหนึ่ง 1 ใบ (1 บทความ : 1 ค)ู่ 6.3 นกั เรียนคนท่ีไดร้ บั ใบความรู้อ่านบทความให้เพ่ือนฟงั 6.4 นกั เรยี นทเ่ี ป็นผู้ฟังเล่าบทความตามที่ตนไดย้ ินใหเ้ พื่อนตรวจดูวา่ ตรงกบั บทความที่อ่านหรือไม่ 6.5 ให้ค่สู นทนาทง้ั คสู่ ลบั บทบาทกนั 6.6 ให้นักเรียนฟังบทความและสามารถเล่าไดค้ รบถว้ นถูกต้อง และบอกวธิ ีการฟังของตนใหเ้ พื่อนทราบ 6.7 นกั เรียนชว่ ยกันสรปุ และครสู รปุ เพิ่มเติมดังนี้ หลักการฟงั ท่ดี ี 6.7.1 ตัง้ ใจฟงั 6.7.2 ไม่พดู หรือทากจิ กรรมอยา่ งอนื่ ขณะฟงั 6.7.3 มสี มาธไิ มส่ นใจสิ่งอ่ืนนอกจากผู้ท่พี ดู ให้ฟงั ขณะนน้ั 6.7.4 หากสงสยั ให้ถามทันทหี ลังจากฟังแลว้ 6.1.5 จับประเด็นสาคัญในการฟังให้ได้อยา่ งครบครนั
7. สอื่ / อปุ กรณ์ ใบความรู้ (บทความ หรือขา่ วส้ัน ๆ จากหนงั สือพิมพ์) อย่างนอ้ ย 2 เรื่อง 8. การประเมินผล 8.1. วธิ ีการประเมิน 8.1.1. ประเมินการทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการรว่ มกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ - ประเมนิ จากการสงั เกตการปฏิบัตกิ ิจกรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผ่าน มคี วามตงั้ ใจร่วมกจิ กรรม ให้ความร่วมมือกบั กล่มุ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เห็น การนาเสนอหน้าช้นั เรียนและสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ไมใ่ หค้ วามร่วมมอื กับกลุ่ม หรือ ขาดสิ่งใดส่งิ หน่ึง 333
ใบความรู้ เร่อื ง ทักษะการฟงั “ฉนั คือใคร” ฝกึ ทักษะการฟงั แผน่ ที่ 1 แผน่ ท่ี 2 จบั ปลา....ตามเวลา นาฬิกาขึน้ ขอ้ มือเมือ่ ใด ? 334 ดเู วลาใหด้ ี เมื่อถงึ เวลาที่กาหนด ปลาจะขึ้น นาฬกิ าพกถือกาเนดิ มาได้นานโขก่อนจะมี จากทะเลมาให้จบั เอง คิดนามาผกู ท่ีขอ้ มอื ในระยะแรก นาฬิกา ผู้คนทางตอนใต้ของแคลิฟอร์เนียถือว่าการจับ มีขนาดใหญแ่ ละมนี ้าหนกั มากจนไม่มีใคร ปลากรูเนียน เปน็ เรอื่ งแปลกประหลาด ไม่ต้อง อยากนาไปถ่วงข้อมือ ในเวลาต่อมา แม้ ออกแรงจับใหเ้ หนื่อยยาก เนอ้ื อร่อยเสียดว้ ย นาฬิกาจะมีขนาดเล็กลง ก็ยงั ไมม่ ีใครสนใจ ปลากรูเนียนมีขนาดเล็ก ตวั สีเงนิ แวววาวยาว นาไปผูกขอ้ มือ เรยี ว ความยาวขนาดฝา่ มอื ของผ้ชู ายตวั โต ๆ ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 ชา่ งทา ปลากรเู นยี นมีนาฬิกาในตวั ...วิ่งขน้ึ จากทะเล นาฬิกาประดิษฐ์นาฬกิ าขนาดเล็กได้สาเรจ็ มาตามนัดใหผ้ ู้คนจบั ตรงเวลาเสมอ นาไปประดบั บนเรือนแหวน หรือไม่ก็ทาเปน็ กฎการอนุรักษ์พันธสุ์ ัตวร์ ะบุจะจับไดโ้ ดยการใช้ ตุ้มหูนาฬิกาขนาดเลก็ เช่นนี้รกั ษาเวลาได้ มือเปลา่ เท่านั้น ปลากรูเนยี นจะขึ้นจากทะเล ไม่ดีนัก แตถ่ ึงจะบอกเวลาได้อยา่ งเที่ยงตรง มาให้คนจับ 2 คร้ังตอ่ ปีเทา่ น้ัน คือ ในเดือน ผสู้ วมใสต่ มุ้ หนู าฬิกาจะเหลือบชาเลืองดู มีนาคม และสิงหาคม เวลาท่ีแนน่ อนกด็ ูได้จาก เวลาได้อยา่ งไรกนั ? หนังสอื พิมพ์ หรือรอฟังประกาศจากทางวทิ ยุ ในปี ค.ศ.2423 ราชนาวเี ยอรมันออกบัญญัติ ขา่ วจะประกาศดังน้ี \"ปลากรูเนียนจะขึ้นจาก ใหน้ ายเรือทกุ คนผกู นาฬิกาติดข้อมอื ทะเลในเวลา 22.37 น. เจอกันที่ชายหาด นายทหารแต่ละคนจะได้เหลอื สองมือไว้ นะครับ\" ยดึ เหน่ียวราวในยามทีเ่ รือโคลงเคลง ดาดฟา้ นอ้ งเคยได้ยนิ การจบั ปลาตามเวลาเชน่ นีม้ าบ้าง เปยี กลน่ื ปัญหาบนเรือมีมากพอแลว้ หรอื ไม่?...ปลาชนิดใดก็ได้ ไม่จาเป็นตอ้ งเพม่ิ ภาระในการควานกระเป๋า หานาฬิกา ผ้คู นทัว่ ไปเริ่มจะมองเหน็ ความสะดวก นาฬิกาข้อมือกันทีละน้อย ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 การผูกนาฬกิ าบนข้อมอื ไดร้ ับความนิยมแพรห่ ลายในทกุ ชนชน้ั
แผน่ ท่ี 3 บินรอบโลกกบั ไวล่ี โพสต์ น้องมีหนทางเอาชนะความเหนอ่ื ยล้าจากการบินได้... โดยการเตรยี มการลว่ งหนา้ ....... น่ันกค็ ือปรับเวลาตนเองเสียใหมก่ ่อนเวลาขึน้ บิน ไวล่ี โพสต์เปน็ นักบินเจ้าของสถติ โิ ลก ในครสิ ต์ทศวรรษ 1930 เขาบินระยะไกลสร้างสถิติโลกใหม่หลายครงั้ ในเครอื่ งบนิ ชื่อ วนิ นี่ เม การบินของเขาเกดิ ข้นึ ก่อนที่จะมกี ารศึกษา เร่อื งความเหนื่อยลา้ จากการบิน เขารู้เรอ่ื งนี้จากประสบการณ์ การบินระยะไกลของตนเอง เขาทราบดีวา่ เมื่อใดก็ตามทเ่ี ขา จาเปน็ ต้องบนิ ขา้ มเขตเวลา การกิน การนอน และภาวะความ เป็นไปของร่างกาย จะตอ้ งยงุ่ เหยงิ ไมส่ บายตัวเป็นแน่ ดังนั้น หนึง่ สปั ดาห์กอ่ นจะข้ึนบนิ ระยะไกล เขาจะปรับเวลา รับประทานอาหาร เวลาเข้านอนเสยี ใหม่ เพื่อให้ร่างกาย เขา้ กับเวลาใหม่ได้ เขาใหค้ ารับรองว่าวธิ กี ารนช้ี ่วยเขาไวไ้ ด้มาก 335
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวท่ี 10 หน่วยการจดั กจิ กรรม ส่วนตัวและสังคม ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 เรือ่ ง สขุ ภาพจติ จานวน 2 ชว่ั โมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. สาระสาคัญ การรู้จักปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีสุขภาพจิตดีด้วยวิธีการต่างๆ สามารถทาให้ดารงชีวิต อยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตัวและสังคม ขอ้ ท่ี 1 รจู้ ักและเขา้ ใจตนเอง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 บอกลกั ษณะผู้มสี ุขภาพจติ ดี 3.2 บอกประโยชน์ของการเปน็ ผมู้ ีสุขภาพจติ ดี 4. สาระการเรยี นรู้. การรจู้ กั ปรับตวั และสามารถใช้ชีวติ อยรู่ ่วมกับผ้อู ืน่ ได้ 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน ใบงาน “สขุ ภาพจติ ” 6. วธิ ีการจัดกจิ กรรม 336 6.1 นักเรยี นดูภาพการ์ตนู ทแี่ สดงสีหนา้ ตา่ ง ๆ กันทีละภาพจนครบ 4 ภาพ 6.2 นักเรียนตอบคาถามว่า \"ทั้ง 4 ภาพน้ี นักเรียนคิดว่าภาพไหนที่ทาให้เรารู้สึกเกิดความสบายใจและ อยากเข้าใกล้ และน่าจะทาให้มีเพื่อนมากทีส่ ุด\" 6.3 ให้นกั เรยี นบอกเหตทุ ส่ี ว่ นใหญเ่ ลอื กภาพการ์ตูนภาพที่ 3 (เปิดยมิ้ กวา้ ง) 6.4 ให้นกั เรียนยกตวั อย่างเพอื่ นในห้องท่ีมีลักษณะคลา้ ยภาพการต์ ูนท่ีนกั เรียนเลอื ก (อารมณ์ดี, มีเพือ่ นมาก) 6.5 แบง่ นักเรียนเป็นกล่มุ โดยมอบหมายใหน้ ักเรียนไปสัมภาษณ์เพ่ือนๆ ในโรงเรียนท่สี ังเกตว่ามีเพื่อนมาก อารมณด์ ี ย้ิมแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ ไม่น้อยกว่ากลมุ่ ละ 10 คน ตามแนวทางคาถามในใบงานที่มอบหมาย โดยจะนามา เสนอเป็นกลุ่มในช่ัวโมงต่อไป 6.6 นกั เรียนทบทวนถึงลกั ษณะผู้มีสขุ ภาพจิตดีตามแนว 5 ย ที่ได้เรียนรไู้ ปในชั่วโมงทแ่ี ลว้ 6.7 ซักถามนักเรยี นถงึ บรรยากาศทั่ว ๆ ไปในการไปสมั ภาษณ์เพือ่ น ๆ ในโรงเรยี น 6.8 ให้แตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลสรปุ ของการสัมภาษณ์วา่ เป็นอยา่ งไร 6.9 รว่ มกันพิจารณาผลสรุปของการสัมภาษณ์วา่ เพือ่ น ๆ นักเรียนส่วนใหญ่ทไี่ ด้ไปสัมภาษณม์ านน้ั ตา่ งมลี กั ษณะผู้มีสุขภาพจติ ดีตามแนว 5 ย หรอื ไม่ 6.10 นักเรยี นสรปุ ผลการทางานคร้ังนี้ โดยครูให้แนวทางนักเรียนได้มองเห็นประโยชน์ของการเปน็ ผู้มี สุขภาพจติ ดวี ่า ทาให้เปน็ ที่รกั ของผู้อ่ืนมปี ระโยชน์ในการสอื่ สารต่อกัน ก่อให้เกิดประโยชนใ์ นการเรียน การทา กจิ กรรมตา่ ง ๆ และการใช้ชวี ิตทเี่ ป็นสขุ ในโรงเรยี น
7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 337 7.1 ภาพการ์ตนู ลายเส้น 4 ภาพ 7.2 ใบความรู้ “สขุ ภาพจิต” 7.3 ใบงาน “สขุ ภาพจติ ” 8. การประเมินผล 8.1. วิธีการประเมิน 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สังเกตการรว่ มกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมินจากการสงั เกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนกั เรยี น เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผ่าน มคี วามตงั้ ใจรว่ มกจิ กรรม ใหค้ วามร่วมมือกบั กลุ่มในการวเิ คราะห์ แสดง ความคิดเห็น การนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียนและสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไม่ใหค้ วามรว่ มมอื กับกลมุ่ หรอื ขาดส่ิงใดส่ิงหนงึ่ 8.2.2 ประเมนิ จากใบงาน เกณฑ์ ตัวบงชี้ ผา่ น ทาใบงานและแบบบันทึกส่ง ใหค้ วามร่วมมือในการอภปิ ราย ไมผ่ า่ น ไมท่ าส่ิงใดส่ิงหน่ึง
1 338 2
3 339 4
ใบความรู้ “สขุ ภาพจติ ” สงั คมทุกวนั นี้มีความเคร่งเครียดว่นุ วายสบั สน มผี ลกระทบตอ่ ภาวะจิตใจของคนอย่างย่งิ ผู้ท่ีรูจ้ ักปรับตวั ปรับใจให้สงบ มสี ตอิ ยู่เสมอ โดยใช้หลักการงา่ ย ๆ ในการปฏิบตั ิตนใหเ้ ปน็ ผมู้ ีสุขภาพจิตดี ซง่ึ จะมี ผลทาให้สามารถใชช้ วี ิตได้อย่างเปน็ สุขมากขึ้นในสภาพการณ์ปจั จุบัน ลกั ษณะการปฏิบัติตวั ใหเ้ ปน็ ผ้มู สี ขุ ภาพจิตดีอยา่ งงา่ ยโดยใช้ 5 ย มดี ังน้ี 1. ย ยิ้ม หมายถงึ เป็นผู้รู้จักยิ้มแยม้ ทกั ทายผู้อนื่ อย่างเปน็ มติ ร 2. ย เยน็ หมายถงึ เป็นผ้มู ีเหตผุ ล ไม่ววู่ าม ยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อน่ื 3. ย ยอม หมายถึง ในบางครงั้ ต้องยอมโอนอ่อนใหผ้ ู้อื่นบ้างเม่อื พบวา่ มีเหตปุ จั จยั อ่ืน ๆ ดีและ เหมาะสมกว่า 4. ย ยดื หยนุ่ หมายถึง ไมต่ ายตวั เครง่ เครยี ดจริงจังกับทกุ เร่ือง ผ่อนปรนบา้ งในบางโอกาส ประนีประนอม 5. ย ยกย่อง หมายถงึ เมอ่ื มโี อกาสต้องยกย่องผอู้ ่นื ใหเ้ กดิ กาลงั ใจและเพ่ิมความเช่อื มน่ั ในตนเอง ใหส้ ูงขนึ้ 340
ใบงาน “สขุ ภาพจติ ” ใหน้ ักเรียนเลือกเพื่อนภายในโรงเรยี นท่ีมองวา่ เปน็ ผมู้ สี ุขภาพจิตดี มเี พ่ือนมาก โดยมแี นวคาถามดังน้ี 1. ชื่อ............................................................................ชนั้ ......................เพศ..................... 2. มเี พื่อนมากหรือไม่ ท้งั ในชั้นเดยี วกนั และชั้นอ่ืน ๆ 3. เหตผุ ลท่เี พื่อน ๆ ชอบเรา 4. มแี นวทางการปฏิบัติให้มสี ุขภาพจติ ดีอยา่ งไร 5. มีความเหน็ ต่อแนวทางการปฏบิ ัติตามหลกั 5 ย อย่างไร 341
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 11 หน่วยการจดั กจิ กรรม สว่ นตวั และสงั คม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 เร่อื ง เปิดใจสกั นิดชีวติ เปน็ สุข จานวน 2 ชั่วโมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคญั การยอมรับฟังความคิดเห็นและความรู้สึกของผู้อ่ืน จาเป็นต้องฝึกให้เป็นนิสัย เร่ิมจากฝึกให้เป็นคนใจ กล้า อดทนท่ีจะรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนด้วยความเคารพให้เกียรติต่อกนั ทั้งกาย วาจา ความคิด และจติ ใจก็จะ ทาให้เกดิ ความเขา้ ใจซึ่งกันและกัน รับรแู้ นวคิดกวา้ งขวางข้ึน มโี ลกทศั น์กว้างไกล เปน็ ประโยชนต์ อ่ การทางานและ ดาเนินชวี ติ ต่อไป 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตวั และสงั คม ข้อที่ 1 ร้จู ักและเขา้ ใจตนเอง 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกความรสู้ ึก ความคดิ ของตนเองให้ผูอ้ ่นื รบั รู้ได้ 4. สาระการเรยี นรู้ การยอมรบั และการให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั 5. ชิน้ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) 342 ใบความรู้ การรบั ฟังความคิดเห็นของคนอืน่ 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม 6.1 นักเรยี นทงั้ หมดน่ังเปน็ รูปวงกลมโดยหันหน้าออก 6.2 แจกกระดาษใหน้ ักเรียนทุกคนเขียนช่ือและนามสกุลไว้มมุ บนขวามอื 6.3 นักเรยี นเขียนสง่ิ ท่ตี นเองคดิ ว่าเปน็ สิ่งที่มีคา่ สาหรบั ตนเองมากท่สี ุดหรือลักษณะดงี ามที่ ตนมแี ละอยากบอกให้ผอู้ น่ื รลู้ งในกระดาษที่แจกให้ 6.4 ครอู ่านข้อความที่แต่ละคนเขียนและใหแ้ ตล่ ะคนบอกความรสู้ ึกตา่ ง ๆ ว่ารสู้ กึ อย่างไร เพราะอะไรหรืออา่ นจากข้อความแลว้ ให้นักเรยี นเดาวา่ เปน็ เพือ่ นคนใด ครูใหน้ ักเรยี นคนอน่ื ๆ บอกเพิ่มเตมิ ในสว่ น ทดี่ งี ามของเพื่อนท่ียังไม่ไดบ้ อกมา 6.5 นักเรยี นร่วมกันอธิปรายสรปุ ความรสู้ ึกและขอ้ คดิ ท่ีได้รับจากการร่วมกจิ กรรมน้ีวา่ การ ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่ืนจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการทางานและดาเนนิ ชวี ติ ไปด้วยดี 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1 กระดาษ A4 เท่ากบั จานวนนักเรียนในชัน้ 7.2 ดินสอ หรือ ปากกา
8. การประเมินผล 343 8.1. วธิ ีการประเมนิ 8.1.1. ประเมินการทาใบงาน 8.1.2 สังเกตการรว่ มกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑก์ ารประเมิน 8.2.1 ประเมนิ จากการสงั เกตการปฏบิ ัติกิจกรรมของนักเรียน เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผ่าน มคี วามต้งั ใจรว่ มกิจกรรม ให้ความรว่ มมือกับกลุ่มในการวิเคราะห์ แสดง ความคิดเห็น การนาเสนอหน้าชั้นเรยี นและส่งงานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไมใ่ ห้ความร่วมมือกับกลุม่ หรอื ขาดสง่ิ ใดสิ่งหน่ึง 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงชี้ ผ่าน ทาใบงานและแบบบนั ทกึ ส่ง ให้ความร่วมมือในการอภปิ ราย ไม่ผา่ น ไม่ทาส่งิ ใดสิ่งหน่ึง
ใบความรู้ 344 การรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น คือการที่เรารับฟังและให้โอกาสผู้อ่ืนได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น ทุก ๆ คนนั้นมีประสบการณที่แตกต่างกัน การท่ีเรารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ก็จะทาให้เราได้สัมผัสถึงประสบการณ์ ของพวกเขา ซ่ึงบางครั้งเราก็อาจจะได้รับความรู้ใหม่ ๆ จากประสบการณ์ของคนอ่ืนได้ และเพื่อให้งานสามารถ ดาเนินไปได้ด้วย ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1. เป็นนักฟังที่ดี ฟังที่ดีไม่ได้หมายแต่เพียงว่ามีอากปั กิรยิ าของการ “ฟัง” เท่านั้น แต่ความหมายลกึ ซ้ึงไป ยิ่งกว่าน้ันอีก คือ นาเอาความคิดของผู้อื่นมาดาริตริตรอง ที่ต้องเน้นเรื่องน้ีเป็นพิเศษก็คือ สมาชิกต่างต้องการ แสดงออกซึง่ ความคิดเห็นของตนเอง และไมค่ ่อยให้โอกาสแก่ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื แต่ในการประชุมก็ดี หรอื ในท่ี สาธารณะก็ดี ถ้าหากบุคคลยืนยันแต่จะขยายความคิดเห็นของตนโดยไม่ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ที่ประชุมนั้น หรือสาธารณะนั้นก็ย่อมจะมีแต่ความอลเวง และในที่สุดนาไปสู่ความแตกแยกและแตกหัก การรับฟังและดาริตริ ตรองความคิดเห็นของผอู้ น่ื ก่อนท่จี ะแสดงความเห็นของตนเอง 2. เคารพศักดิ์ศรีผู้อื่น เปิดโอกาสให้สมาชิกของสังคมแสดง ความคิดเห็น แต่การแสดงความคิดเห็นของ คนเรานั้น ถ้าเปน็ ไปในลักษณะรนุ แรง ไม่ใหค้ วามเคารพในความคิดและศกั ด์ิศรขี องผ้อู ืน่ ก็จะชกั นาไปสู่การขดั แย้ง ที่รุนแรงเกินขอบเขต สมาชิกจึงต้องให้เกียรติแก่ความคิดและบุคคลทุก ๆ คน ไม่ว่าเขาเหล่าน้ันจะมีชาติกาเนิด หรือฐานะสังคมใด ๆ หรือแม้แต่ผู้นั้นจะเป็นผู้คัดค้านความคิดเห็นของตนเอง หรือแม้ผู้น้ันจะถูกกล่าวหาใน คดีอาญา ตามหลักของกฎหมายก็ยังให้ถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะได้พิสูจน์กันทางศาลแล้วว่าเป็นผู้กระทาผิด จรงิ ๆ การใหเ้ กยี รตแิ กฝ่ า่ ยคา้ นและเคารพในความคดิ และศกั ดิ์ศรขี องผูอ้ ื่น 3. ไม่ฝืนมติของคนส่วนใหญ่ ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความ คิดเห็นได้ เคารพในสิทธิของคนส่วนน้อย และส่งเสริมให้เกิดฝ่ายค้าน เช่นในอังกฤษเรียกพรรคฝ่ายค้านว่า “ฝ่าย ค้านที่ภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระบรมราชินีนาถ” อย่างไรก็ตามการให้สิทธิแก่คนส่วนน้อย และการให้โอกาสแก่ ทุก ๆ คน ท่ีจะแสดงความคิดเห็นแตกต่างกันนี้ มิได้หมายความว่าจะส่งเสริมให้ทุก ๆ คนปฏิบัติขัดขืนต่อมติของ คนส่วนมาก หรือของส่วนรวม “ความคิด” และ “การปฏิบัติ” ย่อมจะแยกจากกัน ความคิดใดเป็นท่ียอมรับของ คนส่วนมากในท่ีประชมุ หรือในสังคมและได้ผ่านออกมา ในรูปของกฎหมายก็ดี หรือญัตติของที่ประชุมก็ดี ย่อมถือ ได้ว่าเป็นแนวทางที่จะต้องยึดถือปฏิบัติเคร่งครัด ผู้มีความคิดเห็นแตกต่างย่อมคิดได้และชักชวนให้ผู้อื่นให้เห็น คล้อยตามได้ แต่ตราบใดที่กฎหมายนั้นหรือญัตติน้ันยังไม่เปล่ียนแปลง ตราบน้ันก็จะต้องยึดถือปฏิบัติตาม หลักการข้อนี้ของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยมักเรียกกันส้ัน ๆ ว่า หลักของการปกครองของเสียง สว่ นมาก และสงวนสทิ ธขิ องคนสว่ นน้อย 4. ใฝเ่ หตผุ ล การยดึ ถือเหตุผลเปน็ แนวทางประพฤตปิ ฏบิ ัติ ยอ่ มถือว่าเป็นหลักการขน้ั มูลฐานของสงั คม อารยะ ถ้าหากมนษุ ย์ไมย่ ดึ ถือเหตผุ ลเปน็ หลกั ของกฎหมาย มนุษย์กน็ า่ จะกลบั ไปอยู่ในสภาวะธรรมชาติ และ ดาเนินตามกฎของสัตว์ป่าซึ่งมอบความเปน็ ใหญ่ให้แก่ผ้มู ีกาลงั เขีย้ วเล็บ ทดี่ ที สี่ ุด ความยตุ ิธรรมจงึ เกดิ ขนึ้ ไม่ได้ เพราะความยุตธิ รรมต้ังอยูบ่ นรากฐานของเหตุผล เหตุผลจงึ เป็นวิถที างที่จะไกล่เกล่ียความขัดแยง้ ของกลุ่มชน เหตุผลคือสมอเรือของประชาธิปไตย ขาดเหตุผลหรือสมอเรอื น้ีเมื่อใด เรือลาน้อยน้ีก็จะล่องลอยไปตามกระแส คลื่นกระแสลมของอิทธิพลต่าง ๆ ทแี่ อบแฝงอยใู่ นสังคม https://th49.ilovetranslation.com/XFVcD2mTrpA=d/ http://www.thaigoodview.com/node/201343
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 12 หนว่ ยการจดั กิจกรรม ส่วนตัวและสงั คม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เรอ่ื ง อารมณ์ของฉัน จานวน 2 ชัว่ โมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคัญ 345 เม่ือเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆในชีวิตมีผลทาให้มนุษย์เกิดอารมณ์ เม่ือตรงกับความมุ่งหวังก็พอใจ เมื่อผิดหวังก็เสียใจและโกรธ การแสดงออกทางอารมณ์ทางด้านใดก็ตามท่ีเกินพอดีหรือขาดการควบคุมอารมณ์ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มพ่ ึงประสงคข์ องสังคมจาเปน็ ต้องมีการจัดการกับอารมณ์ให้ตนเองอย่างถูกวิธี 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตวั และสงั คม ขอ้ ที่ 3 มีวุฒภิ าวะทางอารมณ์ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 แสดงกรยิ าท่าทางทีดไี ด้ทั้งต่อหน้าเพ่อื น และครู 3.2 สรปุ ความคดิ ที่เกิดขน้ึ จากการทากิจกรรมอารมณ์ของฉัน 3.3 วเิ คราะหข์ ้อดีข้อเสียการกระทาจากสถานการณ์ได้ 3.4 บอกอารมณข์ องตนเองในขณะปัจจบุ ันได้ 4. สาระการเรยี นรู้ การจัดการกับอารมณ์ของตนเอง 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) ใบงาน การจดั การกบั อารมณ์ 6. วธิ กี ารจัดกิจกรรม 6.1 ครูนาเข้าสู่กิจกรรมโดยอธิบายให้นักเรียนฟังเก่ียวกับอารมณ์ต่างๆ เช่น อารมณ์ โกรธ เกลียด ดีใจ เสียใจ โศกเศร้า ซึ่งแต่ละคนจะมีวิธีการจัดการหรือระงับอารมณ์เหล่าน้ันแตกต่างกันไป โดยอาจจะข้ึนอยู่ กบั สถานการณใ์ นขณะนน้ั กไ็ ด้ 6.2 ครูให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มตามความสมัครใจกลุ่มละ 3-4 คน สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบ ความรู้ เร่ือง “เทคนิคการจดั การกบั อารมณแ์ ละความคดิ ” 6.3 นักเรียนระดมความคิดโดยครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการกับอารมณ์ เช่น อารมณ์โกรธ นกั เรยี นจะจัดการอยา่ งไรนอกเหนอื จากท่นี กั เรยี นไดศ้ กึ ษาในใบความรู้ 6.4 ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษา จากกรณีศกึ ษาเร่อื ง “อารมณข์ องดาวีย์” 6.5 นักเรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยคดิ วิเคราะห์และตอบคาถามตามประเด็นในใบงานเร่ือง “การจัดการกบั อารมณ์” 6.6 กลุ่มอาสาสมัครออกมารายงานหน้าช้ันเรียน 1 กลุ่ม ครูรวบรวมข้อมูลและอภิปรายเพิ่มเติมให้ สมบูรณ์ 6.7 ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั สรปุ ความคดิ ทเ่ี กิดจากการทากิจกรรมอารมณข์ องฉัน วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสยี ของการกระทาจากสถานการณไ์ ด้ และบอกอารมณ์ของตนเองในขณะปัจจบุ ันได้ เพอื่ เป็นแนวทางให้นกั เรยี น นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ทเี่ หมาะสมกบั สถานการณ์ แสดงกรยิ าทา่ ทางทดี ีได้ท้งั ตอ่ หน้าเพ่อื นและครูได้
7. สอ่ื / อุปกรณ์ 346 7.1 ใบความรู้ “เทคนคิ การจัดการกบั อารมณแ์ ละความคิด” 7.2 ใบงาน “การจัดการกับอารมณ”์ 7.3 ใบกรณศี ึกษา “อารมณ์ดาวยี ์” 8. การประเมินผล 8.1. วิธกี ารประเมิน 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการรว่ มกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมนิ จากการสงั เกตการปฏิบัติกจิ กรรมของนกั เรียน เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผา่ น มีความต้ังใจร่วมกจิ กรรม ให้ความร่วมมอื กบั กลุม่ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคิดเหน็ การนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี นและส่งงานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไมใ่ หค้ วามร่วมมอื กับกลมุ่ หรือ ขาดสง่ิ ใดสิง่ หนง่ึ 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตัวบงชี้ ผ่าน ทาใบงานและแบบบนั ทกึ สง่ ใหค้ วามร่วมมือในการอภิปราย ไมผ่ ่าน ไมท่ าสิง่ ใดสิ่งหนึ่ง
ใบความรู้ 347 “ เทคนิคการจัดการกับอารมณ์ และความคิด” ในชีวิตประจาวันของเรามีเร่ืองราวมากมายท่ีต้องคิด เพราะฉะนั้นเราจะต้ังมือรับกับเร่ืองราว เหลา่ น้นั ไดเ้ ทคนิคทชี่ ่วยจดั การอารมณแ์ ละความคิดของเรามดี งั นี้ 1. ความรู้สึกตัว เมื่อไรก็ตามที่เกิดความรู้ตัวด้านอารมณ์ขึ้น จะส่งผลให้อารมณ์ดังกล่าวลดความ รุนแรงลง ดังเช่น คนที่รู้ว่า “ฉันกาลังโกรธ” จะลดความโกรธลงได้ คนท่ีรู้ตัวว่า “ฉันกาลังหงุดหงิด” จะลดความ หงดุ หงิดลงได้ ทาให้สามารถใชเ้ หตุผลตัดสินใจไดด้ ขี นึ้ 2. การหายใจ การมีสติรับรู้ลมหายใจเข้าออกถือว่าเป็นการทาสมาธิให้อารมณ์และจิตใจกลับเข้าสู่ ภาวะสงบ ซ่ึงควรเริ่มทาในท่านอนจนทาได้แล้ว ค่อยขยับมาทาท่าน่ังและยืน จนเป็นนิสัยการหายใจที่ผ่อนคลาย เทคนิคการหายใจมีหลากหลายแตกต่างกันออกไป สาหรับวิธีง่ายๆ ข้ันพ้ืนฐาน ได้แก่ คณนา (counting) ที่นับ ควบคู่ไปกับการกาหนดลมหายใจเข้าออก และใช้คาภาวนา เช่น “พุท-เข้า โธ-ออก” หรือ “พองหนอ-ยุบหนอ” เปน็ ต้น ซง่ึ เปน็ รากฐานเดยี วกบั การทาโยคะ หรอื การนัง่ สมาธินน่ั เอง 3. การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ สามารถทาได้กับกล้ามเนื้อทุกส่วนท่ีรู้สึกเครียด โดยเร่ิมจากอิริยาบถท่ี อวัยวะทุกส่วนผ่อนคลายและสบายมากท่ีสุด แล้วค่อยๆ ผ่อนกล้ามเน้ือส่วนดังกล่าวจนรู้สึกผ่อนคลายมากที่สุด โดยวิธีนีจ้ ะชว่ ยกาจัดอาการปวดหัว อาการปวดทัว่ ไป และอาการนอนไมห่ ลับ ได้เปน็ อยา่ งดดี ว้ ย 4. การฝึกควบคุมประสาทอัตโนมัติ วิธีง่ายท่ีสุดคือการฝึกฝา่ มือร้อน ด้วยการต้ังฝ่ามือในระดับทรวง อก หันฝา่ มอื เขา้ หากันโดยเว้นชว่ งห่างประมาณ 2-3 น้วิ ฟุต หลังจากนน้ั ขยบั ฝา่ มือออกจากกนั ช้าๆ จนห่างพอควร แล้วขยับเข้ามาใกล้กันอีก ทาอย่างนี้เป็นจังหวะช้าๆ จับความรู้สึกของฝา่ มือท้ัง 2 ข้างด้วยสมาธจิ ะทาให้เกิดความ ร้อนข้ึนบนฝ่ามือ ซง่ึ เกดิ จากหลอดเลือดบนฝา่ มือขยายตัว ทาตดิ ต่อกันอย่างนอ้ ย 5-10 นาที 5. การจนิ ตนาการ นอกจากเราสามารถจนิ ตนาการถึงส่ิงสวยงามเพื่อคลายเครียด เราอาจประยกุ ต์ใช้ วิธกี ารของจิตบาบดั ซึ่งจะช่วยให้เกิดผลดมี ากขนึ้ อีกดว้ ย น่นั คอื ให้คดิ ถึงส่ิงท่ีทาใหเ้ กิดการกลวั ในขณะท่ีกาลังอยู่ใน สภาพผ่อนคลาย วิธีนี้เร่ิมต้นจากการทาให้กล้ามเน้ือผ่อนคลายก่อน จากนั้นค่อยนึกภาพสิ่งเร้า (สิ่งท่ีทาให้เกิด ความกลัว) เป็นลาดับข้ัน จากระดับท่ีก่อให้เกิดความกลัวน้อยที่สุดไปจนถึงมากท่ีสุด ทั้งน้ีการเผชิญหน้ากับความ ทุกขใ์ นสภาพผอ่ นคลายชว่ ยทาให้เกดิ อารมณท์ างบวกและความสงบในทส่ี ดุ 6. คิดในทางที่ถูก ในทางวิทยาศาสตร์พบว่าความคิดสัมพันธ์กับสมอง เม่ือคิดอย่างหนึ่งสมองก็จะ ตอบสนองไปตามน้ัน เช่น เม่ือคิดถึงสุขภาพภายใต้ความเครียด ความกดดัน หรือความซึมเศร้า อาการปวดจะ รุนแรงที่สุด เมื่อผ่อนคลายหรือกาลังมีความสุข ความเจ็บปวดก็จะลดลง ดังนั้นความคิดสามารถกากับกายให้เป็น สุขหรือเป็นทุกข์ได้ ในทานองเดียวกัน ด้วยวิธีคิดและการดาเนินชีวิตท่ีถูกต้อง ก็สามารถกากับใจให้มีความสุขและผ่าน พ้นทุกข์ได้ ดังเช่นคนท่ีเข้าใจความเป็นจริงว่ามนุษย์มีโอกาสและฐานะไม่เท่าเทียมกัน แต่เราทุกคนมีโอกาสเผชิญ ภาวะของความทกุ ขเ์ ทา่ เทยี มกัน กย็ ่อมมีภูมิตา้ นทานในการเผชิญความทุกข์ได้ดีกว่า หรือคนทสี่ ามารถปรับเปลี่ยน การแสวงหาความสุขบนปัจจัยภายนอกมาเป็นการหาความสุขจากปัจจัยภายในที่ย่ังยืนกว่าด้วยการพึงพอใจใน ตัวเองและส่ิงท่ีมีอยู่ในปัจจุบันก็ย่อมเป็นสุขได้ง่ายกว่า และเป็นทุกข์ได้ยากกว่าคนท่ีฝากความสุขไว้กับสิ่งเร้า ภายนอก อกี ทง้ั ยงั น่าจะป้องกนั ตวั จากความทกุ ข์ต่างๆ ไดด้ ีอีกด้วย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384