Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว ม.1 - ม.3_แผน20ปี

แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว ม.1 - ม.3_แผน20ปี

Published by moetpr2514, 2020-05-29 05:36:45

Description: แนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว ม.1 - ม.3_แผน20ปี

Keywords: แนวทางการจัดกิจกรรม

Search

Read the Text Version

1.ภาษาไทย ใบความรเู้ รื่อง 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 3. วทิ ยาศาสตร์ ความรู้ ทกั ษะ และ 2. คณิตศาสตร์ การนาความรู้ และ วฒั นธรรมการใช้ภาษาเพ่ือ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสอ่ื สาร ความชื่นชม การนาความรู้ ทกั ษะ และ ไปใช้ในการศกึ ษา ค้นคว้าหา การเห็นคณุ คา่ ภมู ปิ ัญญา กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ความรู้ และแก้ปัญหาอยา่ ง ไทย และภมู ิใจในภาษา ไปใช้ในการแก้ปัญหา การ เป็นระบบ การคดิ อยา่ งเป็น ประจาชาติ ดาเนินชีวติ และศกึ ษาตอ่ การ เหตเุ ป็นผล คิดวิเคราะห์ คดิ มเี หตมุ ีผล มีเจตคติทด่ี ี สร้างสรรค์และจิตวทิ ยาศาสตร์ ตอ่ คณิตศาสตร์ พฒั นาการ คิดอยา่ งเป็นระบบและ สร้ างสรรค์ 8. ภาษาต่างประเทศ 8 กลมุ่ สำระ 4. สังคมศึกษา ศาสนา 48 กำรเรยี นรู ้ ความรู้ ทกั ษะ เจตคตแิ ละวฒั นธรรม และวัฒนธรรม การใช้ภาษาตา่ งประเทศ ในการสอื่ สาร 6. ศิลปะ การแสวงหาความรู้ และการประกอบ การอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมไทยและ อาชีพ ความรู้และทกั ษะในการคดิ สงั คมโลกอยา่ งสนั ตสิ ขุ การเป็น ริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์ พลเมอื งดี ศรัทธาในหลกั ธรรม 7. การงาน งานศิลปะ สนุ ทรียภาพ และ ของศาสนา การเหน็ คณุ คา่ ของ การเห็นคณุ คา่ ทางศลิ ปะ ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม อาชีพและ ความรักชาติ และภมู ใิ จในความ เทคโนโลยี เป็นไทย ความรู้ ทกั ษะ และ 5. สุขศึกษาและพล เจตคติ ในการ ทางาน การจดั การ ศกึ ษา การดารงชวี ิต การ ประกอบอาชีพ และ ความรู้ทกั ษะ และเจตคติ ใน การใช้ เทคโนโลยี การสร้างเสริมสขุ ภาพ พลานามยั ของตนเองและผ้อู ่ืน การปอ้ งกนั และปฏบิ ตั ิตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่มี ผี ลตอ่ สขุ ภาพอยา่ ง ถกู วธิ ี และทกั ษะในการดาเนนิ ชีวติ

ใบงานเร่ือง คุณคา่ รายวิชา คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนนาคาต่อไปน้ีเติมลงในชอ่ งวา่ งของบทกลอนให้ถูกต้อง เก่ง ดี มคี วามสุข , ความรู้ค่คู ุณธรรม , คณิตฯ , ศลิ ป , กจิ กรรม , ภาษา , พลศกึ ษา , การงาน , วทิ ย์ , สังคมฯ , เทศ – ไทย อนาคตของทกุ คน ลว้ นมผี ลจากวิชา 49 จงคดิ พจิ ารณา เห็นคุณคา่ วิชาการ ………….. คดิ คานวณ แคลว่ คลอ่ งควรชวนชน่ื บาน บวกลบจนเจนชาญ คูณและหารประโยชนด์ ี เรยี น ………. คดิ เหตุผล แสวงคน้ ถกู วิธี สมมตฐิ านประมาณมี สรปุ กฎหลงั ทดลอง …………..อุดมเร่อื ง กจิ บ้านเมืองประมวลมอง ปรบั ตนตามครรลอง ด้วยขา่ วสารการสังคม พูดจา……….ชว่ ย เอื้ออานวยสมประสงค์ ……………..ใหน้ ยิ ม ฟงั พดู เขยี น อา่ นเพยี รทา …………..นัน้ มีคณุ ชว่ ยเน่ืองหนุน………………. ประสบการณ์ก่อนา มาปรบั ใชไ้ ดท้ ุกทาง ……………..อนามยั ช่วยว่องไวไมข่ ดั ขวาง สุขจติ ไม่จดื จาง ถา้ หากกายน้ันแข็งแรง ……………..ทุกสาขา เพรศิ พร้งิ พาพเิ ศษแสดง บารุงและปรงุ แปลง ปรบั ใชต้ ามความเปน็ จริง การวชิ าไมป่ ระวิง เดก็ ไทยพัฒนา ฝกึ ปรอื ศิษย์จิตเทย่ี งตรง เพราะครไู ม่เฉยนง่ิ ยอ่ มพลิ าสดงั ประสงค์ อนาคตของชาติ เอกลกั ษณ์อยู่เชิดชไู ทย วฒั นธรรมดารง ทกุ วชิ าปรับใช้ได้ ชแ้ี นะให้เหน็ คา่ สุดแต่ใจเขาจะเป็น อนาคตเปน็ อยา่ งไร ใหท้ ุกคนไดร้ เู้ ห็น …………………….. เป็นเพราะตนฝกึ ฝนมา ยาก-ง่าย-สบาย-ลาเค็ญ นาชีวติ ใหห้ รรษา …………………….. เพราะวชิ าค่าอนนั ต์ เป็นคนดศี รสี งา่

เฉลยใบงานเรอื่ ง คุณคา่ รายวิชา คาช้แี จง ให้นกั เรียนนาคาต่อไปน้ีเติมลงในชอ่ งวา่ งของบทกลอนให้ถกู ต้อง เก่ง ดี มคี วามสุข , ความรู้ค่คู ณุ ธรรม , คณิตฯ , ศลิ ป , กจิ กรรม , ภาษา , พลศกึ ษา , การงาน , วิทย์ , สังคมฯ , เทศ – ไทย อนาคตของทกุ คน ลว้ นมีผลจากวิชา 50 จงคดิ พิจารณา เหน็ คณุ คา่ วิชาการ …คณติ ฯ... คิดคานวณ แคล่วคลอ่ งควรชวนชนื่ บาน บวกลบจนเจนชาญ คณู และหารประโยชน์ดี เรยี น …วิทย์. คดิ เหตผุ ล แสวงค้นถกู วิธี สมมติฐานประมาณมี สรุปกฎหลังทดลอง ……สังคมฯ…..อุดมเรอื่ ง กจิ บ้านเมอื งประมวลมอง ปรบั ตนตามครรลอง ด้วยขา่ วสารการสังคม พูดจา…ภาษา…….ชว่ ย เออื้ อานวยสมประสงค์ …เทศ – ไทย …..ใหน้ ยิ ม ฟงั พดู เขียน อ่านเพียรทา …การงาน ……..น้ันมคี ุณ ชว่ ยเน่ืองหนุน…กิจกรรม… ประสบการณ์ก่อนา มาปรบั ใช้ได้ทุกทาง …พลศึกษา ……..อนามัย ช่วยวอ่ งไวไม่ขัดขวาง สุขจิตไม่จดื จาง ถ้าหากกายน้ันแข็งแรง ……ศิลป……..ทุกสาขา เพรศิ พร้งิ พาพิเศษแสดง บารุงและปรงุ แปลง ปรบั ใช้ตามความเปน็ จริง การวิชาไมป่ ระวิง เดก็ ไทยพฒั นา ฝกึ ปรอื ศิษยจ์ ิตเทย่ี งตรง เพราะครไู มเ่ ฉยนิ่ง ยอ่ มพลิ าสดังประสงค์ อนาคตของชาติ เอกลักษณ์อยู่เชดิ ชูไทย วฒั นธรรมดารง ทกุ วิชาปรับใชไ้ ด้ ชี้แนะใหเ้ หน็ คา่ สดุ แตใ่ จเขาจะเป็น อนาคตเปน็ อย่างไร ให้ทุกคนไดร้ ู้เห็น เปน็ เพราะตนฝกึ ฝนมา เก่ง ดี มคี วามสขุ ….. นาชวี ติ ให้หรรษา ยาก-ง่าย-สบาย-ลาเค็ญ เพราะวิชาค่าอนนั ต์ ความรู้คูค่ ณุ ธรรม ……….. เป็นคนดีศรสี งา่

ใบงาน เรือ่ ง สารวจคุณลักษณะทางการเรียน คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนสารวจและวิเคราะห์ผลการเรยี นของตนเอง แล้วบนั ทึกลงในใบงาน กลุ่มสาระ คะแนนเฉลีย่ แปลผล จากสรุปผลการเรียนทผี่ า่ นมา ให้ การเรยี นรู้ รวมทุกเทอม อย่ใู นระดบั นักเรียนประเมนิ ตนเอง โดยเลอื ก ภาษาไทย เพียง 1 ขอ้ ( ) สอบผา่ นทุกรายวิชา 51 คณิตศาสตร์ ( ) สอบไมผ่ า่ นบางรายวชิ าแต่ วิทยาศาสตร์ แก้ไขเรียบร้อยแลว้ ( ) สอบไมผ่ า่ นและยังไม่ไดแ้ ก้ไข สังคมศึกษาฯ จานวน....... วชิ า ดงั นี้ ภาษาองั กฤษ ........................................................ ........................................................ ศลิ ปศกึ ษา ........................................................ ......................................................... สุขศกึ ษาและ ......................................................... พลศกึ ษา การงานอาชีพ เกรดเฉล่ียสะสม 1. รายวชิ าในกลุ่มสาระใดที่นักเรยี น พอใจ มากท่ีสุด เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. รายวชิ าในกลุ่มสาระใดที่นักเรยี น ไมพ่ อใจ มากทีส่ ุด เพราะเหตุใด .................................................................................................................................... ................................................ .................................................................................................................................................................................... 3. โดยภาพรวม นกั เรียน พอใจ ผลการเรียนทไี่ ดร้ ับหรือไม่ อยา่ งไร ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................... ........................................... 4. ในภาคเรยี นตอ่ ไป นักเรียน จะปรบั ปรุงแกไ้ ข ผลการเรียนทไ่ี ด้รบั หรือไม่ อย่างไร .................................................................................................................................. .................................................. ....................................................................................................................................................................................

ใบงาน กรณีศึกษาเร่ือง บทเรียนของส้มโอ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นข้อความแล้วแสดงความคดิ เห็นตามความคิดและความรู้สกึ ของตนเอง ส้มโอ : “วันนก้ี ารบา้ นเยอะจงั เฮอ้ ! เบื่อ ไมอ่ ยากทาเลย ยากก็ยาก เลขก็ทาไม่ได้ ไปลอกเพอ่ื น พรงุ่ นดี้ ีกวา่ ส่วนภาษาไทยกินข้าวเย็นแลว้ ค่อยทา ตอนน้ีดทู ีวีก่อนกาลงั สนุกพอดี” แม่ : “ส้มโอทาการบา้ นหรือยงั รบี ๆทานะลูก เด๋ียวแมจ่ ะต้องเอาของไปสง่ ท่ีบ้านคุณป้า จะกลับค่า ดแู ลตัวเองนะลกู ” ส้มโอ : “ค่ะแม่ ไม่ต้องห่วงคะ่ เดยี๋ วหนูดลู ะครเร่ืองนีจ้ บจะรีบทาค่ะ” เมือ่ แม่ไปธุระส้มโอก็ดูทีวีต่อ หลังจากกนิ ขา้ วอาบนา้ แล้ว ส้มโอหยิบสมุดการบา้ นมาวางหน้าทีวี ทา ไปดูไปทา้ ยสุดก็ดูทวี อี ยา่ งเดยี ว ไมไ่ ดท้ าการบา้ น ดทู ีวีจนดกึ สม้ โอ : “เฮ้อ ! งว่ ง ไปนอนดีกว่า พร่งุ นีค้ ่อยจดั ตารางเรียน ” แลว้ ส้มโอกเ็ ขา้ นอนโดยไม่ได้ทาการบ้านและไม่ไดจ้ ัดตารางเรียน 1. นักเรยี นคิดวา่ สม้ โอ มีความรบั ผิดชอบหรือไม่ 52 ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ส้มโอ ได้ทาหน้าทีข่ องตัวเองหรอื ยัง ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. นักเรยี นคดิ ว่าสม้ โอเป็นคนอย่างไร และผลท่จี ะได้รบั จากการกระทาของตนเอง คืออะไรบา้ ง ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4. ถ้านักเรียนเป็นส้มโอ นกั เรียนจะทาเหมือนสม้ โอหรอื ไม่ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ใบงาน เรอื่ ง สรปุ ปัญหาทางการเรยี น และแนวทางการแกไ้ ขของกล่มุ คาชแ้ี จง ให้นักเรียนรว่ มกันบอกปญั หาทางการเรยี นของตนเอง และแนวทางแก้ไข พร้อมทั้งรบั ข้อเสนอแนะของ เพอื่ นภายในกลุ่ม แลว้ สรปุ ลงในใบงาน ปัญหาทางการเรยี น แนวทางแกไ้ ข 53 ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

เอกสารเพม่ิ เติมสาหรับครู 54 เรือ่ ง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ วสิ ัยทศั น์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกยึดม่ันในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความ เช่อื วา่ ทกุ คนสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคญั ดงั น้ี 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคกู่ ับความเปน็ สากล 2. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาเพ่ือปวงชน ทีป่ ระชาชนทกุ คนมโี อกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมี คณุ ภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถนิ่ 4. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่ีมีโครงสรา้ งยดื หยุ่นทัง้ ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลา และการจัดการเรยี นรู้ 5. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั 6. เป็นหลักสูตรการศึกษา สาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มีความสขุ มีศกั ยภาพ ในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกดิ กับผเู้ รียน เมอ่ื จบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ดงั นี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นิสยั และรักการออกกาลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อมมีจิต สาธารณะทีม่ ่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสง่ิ ท่ดี งี ามในสงั คม และอย่รู ่วมกนั ในสงั คมอย่างมีความสขุ

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 55 ในการพัฒนาผเู้ รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มุ่งพฒั นาผ้เู รียนให้มีสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ฒั นธรรม ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูล ขา่ วสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทงั้ การเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจัด และลดปญั หาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไมร่ บั ขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ ีการสอื่ สาร ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรค ตา่ ง ๆ ทเ่ี ผชิญไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พนั ธ์และการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความร้มู าใช้ ในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา และมกี ารตัดสนิ ใจทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบ ท่เี กดิ ขึน้ ต่อ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ รว่ มกนั ในสังคมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพันธ์อันดรี ะหว่างบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทันกบั การเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลกี เล่ียงพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใชเ้ ทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ สอื่ สาร การทางาน การแกป้ ญั หา อย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม และมคี ุณธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผเู้ รียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รียนให้มี คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพือ่ ใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ทัง้ ในฐานะ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง 2. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต 6. มุ่งมัน่ ในการทางาน 3. มีวินยั 7. รักความเปน็ ไทย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 8. มีจติ สาธารณะ นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคเ์ พม่ิ เติมให้สอดคลอ้ งตาม บริบทและจดุ เน้นของตนเอง

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน มุ่งให้ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพือ่ ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลกู ฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจดั การตนเองได้ และอยูร่ ่วมกับ ผ้อู ่ืนอยา่ งมคี วามสุข กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แบง่ เปน็ 3 ลักษณะ ดงั น้ี 56 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนใหร้ ู้จกั ตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถคิด ตัดสินใจ คิด แก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนย้ี ังช่วยใหค้ รรู จู้ ักและเขา้ ใจนักเรียน ทง้ั ยังเปน็ กิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแกผ่ ปู้ กครองในการ มีสว่ นรว่ มพัฒนาผ้เู รียน 2. กิจกรรมนักเรียน เปน็ กิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผตู้ ามท่ีดี ความรับผิดชอบการทางาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกันเอ้ืออาทร และ สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการ ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและ ท้องถิน่ กิจกรรมนักเรียนประกอบดว้ ย 2.1 กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร 2.2 กจิ กรรมชุมนมุ ชมรม 3. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ินตาม ความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคมมีจิต สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กจิ กรรมสร้างสรรค์สังคม การจดั เวลาสาหรับกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนทกี่ าหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปลี ะ120 ชั่วโมง และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 จานวน 360 ช่ัวโมงน้ัน เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ให้สถานศึกษา จดั สรรเวลาให้ผเู้ รยี นได้ปฏิบตั กิ ิจกรรม ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา (ป.1- 6) รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.1- 3) รวม 3 ปี จานวน 45 ช่ัวโมง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – 6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชวั่ โมง

ตารางแสดงโครงสร้างเวลาการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนในแต่ละระดบั ชัน้ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กิจกรม ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษา กิจกรรมแนะแนว ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ตอนปลาย กจิ กรรมนักเรยี น กจิ กรรมเพือ่ สงั คม 60 ชม. 45 ชม. 60 ชม. และสาธารณประโยชน์ 360 รวม 120 120 120 120 120 120 120 120 120 57

แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 3 หน่วยการจัดกจิ กรรม การศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เรือ่ ง เรียนครบจบแน่ จานวน 1 ช่ัวโมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดจุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลกกาหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัดท่ีกาหนดในสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน โดยการวดั และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรูเ้ พอ่ื พฒั นา ผู้เรียนและเพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี น 2. สมรรถนะการแนะแนว: ดา้ นการศึกษา ข้อ 1 รู้เขา้ ใจและมีเจตคติทดี่ ีต่อการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตร 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 58 3.1 ตระหนักและเหน็ ความสาคญั ของการมีเปา้ หมาย ความตอ้ งการเรอ่ื งการศึกษาของตนเอง 3.2 อธิบายเกณฑ์การจบหลักสตู ร ในระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ได้ 3.3 วเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ัตติ นใหส้ ามารถเรียนจบหลกั สตู รตามกาหนดเวลา 3.4 กาหนดวิธีปฏบิ ตั ติ นเพือ่ พัฒนาทักษะการเรียนท่มี ีประสิทธภิ าพได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 หลกั สตู รการวัดประเมนิ ผล 4.2 เกณฑ์การจบหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน้ 4.4 การวดั ประเมินผลรายวชิ า 4.4 วิธีปฏบิ ตั ิตนเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นที่มปี ระสิทธภิ าพ 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน ใบงาน เรอื่ ง วางแผนเพื่อเป้าหมาย 6. วธิ ีการจัดกิจกรรม 6.1 ครตู ัง้ คาถาม ให้นกั เรยี นชว่ ยกันแสดงความคดิ เห็น ดังนี้ - เพราะเหตุใดจงึ ต้องมกี ารสอบ และนกั เรยี นได้ประโยชน์อะไรจากการสอบบ้าง 6.2 ครูอธิบายเรอ่ื งองค์ประกอบการประเมนิ ผล และเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ประกอบสื่อ Power Point และแจกใบความรู้ เรอ่ื ง การวัดและประเมินผลให้นกั เรยี นศกึ ษา 6.3 ให้นกั เรียนบอกความต้งั ใจของนักเรียนท่ีมีตอ่ การเรียนในช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 6.4 ครอู ธบิ ายเรื่อง การประเมนิ ผลรายวิชา: การตดั เกรดประกอบส่ือ Power Point และแจกใบ ความรู้ เร่ือง การประเมนิ ผลรายวิชา 6.5 แจกใบความรู้ เรอ่ื ง กลยทุ ธ์พิชิตเกรด ใหน้ กั เรียนอ่าน ครูอธบิ ายเพิม่ เติม 6.6 แจกใบงาน วางแผนเพื่อเป้าหมาย ใหน้ กั เรยี นทา 6.7 ขออาสาสมคั รอา่ นใบงานของตนเองให้เพอื่ นฟัง 6.8 ครูชน่ื ชมและให้กาลังใจส่ิงที่นกั เรียนตง้ั ใจจะปฏิบตั เิ พื่อไปสู่เป้าหมาย

7. สื่อ/อุปกรณ์ 59 7.1 สือ่ Power Point เร่ือง การประเมินผลรายวชิ า เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร 7.2 ใบความรู้ เรอ่ื งการวดั และประเมินผล 7.3 ใบความรู้ เร่ืองกลยทุ ธ์พิชิตเกรด 7.4 ใบงาน เรื่องวางแผนเพือ่ เปา้ หมาย 8. การวัดผลและประเมินผล 8.1. วธิ วี ัดผลและประเมนิ ผล 8.1.1 สังเกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครือ่ งมือการประเมิน 8.2.1 แบบบนั ทกึ การสงั เกตการณ์ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 8.2.1 แบบประเมินผลใบงาน 8.3. เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 สังเกตจากการเข้ารว่ มกจิ กรรม เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น มคี วามตง้ั ใจรว่ มกิจกรรม ให้ความรว่ มมอื กับกลุ่มในการอภปิ รายแสดงความ คดิ เหน็ และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไมใ่ ห้ความรว่ มมือกับกลุม่ หรือ ขาดสิ่งใดสง่ิ หนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น บอกสงิ่ ท่ีต้ังใจจะทาเพ่ือให้มผี ลการเรียนดีได้ ไมผ่ ่าน ไมส่ ามารถบอกสิง่ ท่ตี ้ังใจจะทาเพื่อใหม้ ีผลการเรียนดีได้

ใบความรูเ้ ร่ือง กลยุทธ์พชิ ิตเกรด ด้านทีค่ รูประเมิน วธิ กี ารที่ครูใช้ เป้าหมายของ กลยุทธพ์ ิชติ เกรด 1. คะแนนระหวา่ งภาค นกั เรยี น 1.1 ด้านองค์ความรู้ สอบเกบ็ คะแนน ทาข้อสอบให้ได้ เรยี นใหร้ แู้ ละเข้าใจจรงิ 1.2 ดา้ นความสามารถทาง คะแนนดี โดย อ่านกอ่ นเรียน ตั้งใจฟังขณะ ทักษะ/ กระบวนการ ครสู อน ทาการบ้านที่ครสู ่ัง ทบทวนหลังเรยี นทกุ ครั้ง กล้าถาม 1.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ ครหู รือเพ่ือนหากไม่เข้าใจ อันพึงประสงค์ ประเมนิ ทักษะ ไดค้ ะแนนทักษะ ฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ทักษะ ความสามารถตาม ความสามารถ เช่น วิชาภาษาไทย ฝกึ อา่ น เขียน 2. คะแนนสอบกลางปี ลกั ษณะรายวชิ าที่ ในแต่ละรายวชิ าดี ฟัง พดู เรยี น วิชาคณิตศาสตร์ ฝกึ คดิ คานวณ 3. คะแนนสอบปลายปี การตคี วามโจทย์ ประเมนิ จาก ไดค้ ะแนน จรงิ จงั กับการเรียน พฤติกรรมการเรยี น คณุ ลักษณะใน เชน่ ไม่ขาดเรยี น เข้าเรียนตรง และความรว่ มมือใน การเรียนดี เวลา ตง้ั ใจฟัง ต้งั ใจรว่ มกิจกรรม 60 การกจิ กรรมการเรยี น สง่ งานตามกาหนด ตรวจคะแนนการ ทาข้อสอบให้ได้ เรยี นให้รู้และเข้าใจจริง สอบกลางภาค คะแนนดี ตัง้ ใจเรยี น ทาการบ้าน ทบทวน บทเรยี น อา่ นหนงั สือสม่าเสมอ และก่อนสอบ ตรวจคะแนนการ ทาขอ้ สอบให้ได้ เรียนให้ร้แู ละเขา้ ใจจรงิ สอบปลายภาค คะแนนดี ตงั้ ใจเรยี น ทาการบ้าน ทบทวน บทเรยี น อ่านหนังสือสมา่ เสมอ และก่อนสอบ

ใบงาน เร่อื ง วางแผนเพื่อเป้าหมาย ให้นักเรียนกาหนดส่งิ ทต่ี ง้ั ใจจะทาเพ่อื ให้ได้คะแนนแตล่ ะด้านทีค่ รปู ระเมิน บรรลุเปา้ หมายทต่ี ้ังไว้ ดา้ นที่ครปู ระเมิน วธิ กี ารท่ีครูใช้ เปา้ หมายสาคัญ ส่ิงทต่ี ั้งใจจะทา 1. คะแนนระหว่างภาค ทค่ี วรทาให้ได้ (อย่างนอ้ ย ด้านละ 3 ข้อ) 1.1 ด้านความรู้ 1.2 ดา้ นความสามารถ สอบเก็บคะแนน ทาขอ้ สอบให้ได้ 1……………………………………………. 61 ทางทักษะ/ กระบวนการ คะแนนดีท่สี ดุ 2……………………………………………. 1.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ประเมินทักษะ ได้คะแนนทักษะ 3……………………………………………. อันพึงประสงค์ ความสามารถตาม ความสามารถใน 1……………………………………………. ลกั ษณะรายวิชาท่ี แตล่ ะรายวิชาดี 2……………………………………………. 2. คะแนนสอบกลางปี เรียน ที่สดุ 3……………………………………………. 3. คะแนนสอบปลายปี ประเมนิ จาก ได้คะแนน 1……………………………………………. พฤติกรรมการ คณุ ลักษณะใน 2……………………………………………. เรยี น และความ การเรียนดีท่สี ุด 3……………………………………………. ร่วมมือในการ กิจกรรมการเรยี น ทาข้อสอบให้ได้ 1……………………………………………. ตรวจคะแนนการ คะแนนดีท่ีสุด 2……………………………………………. สอบกลางภาค ทาขอ้ สอบให้ได้ 3……………………………………………. ตรวจคะแนนการ คะแนนดีทส่ี ุด 1……………………………………………. สอบปลายภาค 2……………………………………………. 3…………………………………………….

ใบความรูเ้ รอื่ ง การวดั และประเมนิ ผล 62 องคป์ ระกอบของการวดั และประเมินผล องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษ าขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มดี งั นี้ 1. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่มสาระ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพละศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ 2. การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน 3. การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 4. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน และเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม และใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อนชั้น เรยี นและการจบการศกึ ษาระดับตา่ งๆ วธิ ีการตดั สนิ ผลการเรียน การตดั สนิ ผลการเรียน ระดับมัธยมศกึ ษามีดังตอ่ ไปน้ี 1. ตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวิชา ทง้ั 8 กลุม่ สาระ 1.1 ใหพ้ ิจารณาตดั สินผลการเรียนเป็นรายวิชา 1.2 นักเรียนมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดใน รายวิชาน้ัน 1.3 ผู้เรียนที่มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ในรายวิชาใด ไม่มีสิทธ์ิเข้ารับการประเมินผลปลายภาค หรือปลายปี ครูผู้สอนจะต้องติดตามให้นักเรียนและผู้ปกครองได้รับทราบและจัดให้มีการสอนซ่อมเสริม หรือ มอบหมายงานใหน้ ักเรียนไปทาเพื่อชดเชยกับเวลาท่ีขาดหายไปจนมีเวลาเรียนครบร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นจึงจะมี สทิ ธเ์ิ ข้ารบั การประเมนิ ผลปลายภาคเรยี นได้ 1.4 ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่าของรายวิชาที่กาหนดไว้ให้ได้ระดับผลการประเมินเป็น “0” ใน คร้ังนั้น และสามารถแก้ไขได้ด้วยการสอบแก้ตัว และเรยี นซ้าใหเ้ สรจ็ สิ้นภายในภาคเรยี นถดั ไป 1.5 ผู้เรียนท่ีทาการทุจริตในการสอบหรือกระทาทุจริตในงานที่ได้รับมอบหมายรายวชิ าใด ให้ได้ คะแนน “0” ในคร้ังนัน้ 1.6 ผู้เรียนที่ไม่ได้รับการประเมินผลปลายภาคเรียนทาให้ตัดสินผลการเรียนไม่ได้ หรือมีเหตุ สดุ วสิ ยั ทาให้ประเมนิ ผลการเรียนไม่ได้ ให้ได้ “ร” ในรายวิชานน้ั 1.7 ผู้เรียนที่มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ในรายวิชาใดและไม่เข้ารับการพัฒนาเพื่อชดเชย เวลาท่ีขาดไป ใหผ้ ลการเรยี น “มส” 2. ผ้เู รยี นได้รบั การประเมนิ คุณลักษณะที่พึงประสงคต์ ลอดช่วงช้นั ผลการตดั สนิ จาแนกผู้เรยี นออกเปน็ 4 กลุ่มดงั นี้ 2.1 ดีเย่ียม ได้ระดับ 3 หมายถึงผู้เรียนท่ีมีคุณลักษณะหรือพฤติกรรมสูงกว่าเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กาหนด 2.2 ดี ไดร้ ะดับ 2 หมายถงึ ผูเ้ รียนท่มี ีคณุ ลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากาหนด 2.3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้ระดับ 1 หมายถึงผู้เรียนท่ีมีคุณลักษณะหรือพฤติกรรมผ่านเกณฑ์ ข้นั ตา่ ท่ีสถานศกึ ษากาหนด 2.4 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ได้ระดับ 0 หมายถึงผู้เรียนท่ีมีคุณลักษณะหรือพฤติกรรมต่ากว่า เกณฑ์ขัน้ ต่าท่ีสถานศกึ ษากาหนด

3. ผเู้ รียนได้รบั การประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียนตลอดช่วงช้ัน 63 ผลการตัดสินจาแนกผูเ้ รยี นออกเปน็ 4 กลุ่มดงั น้ี 3.1 ดีเย่ียม หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนทมี่ ี คณุ ภาพดีเลศิ อยูเ่ สมอ 3.2 ดี หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนท่ีมี คณุ ภาพ เป็นท่ยี อมรับ 3.3 ผ่าน หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนท่ีมี คณุ ภาพ เป็นท่ยี อมรบั แตย่ งั มีข้อบกพรอ่ งบางประการ 3.4 ไมผ่ ่าน หมายถึง ไมม่ ผี ลงานทีแ่ สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน หรือถา้ มผี ลงาน ผลงานนนั้ ยังมขี อ้ บกพรอ่ งที่ต้องไดร้ ับการปรบั ปรงุ แก้ไขหลายประการ 4. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ตัดสินผลการประเมินเป็นรายกิจกรรม/ รายภาค ผู้เรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนไม่น้อย กว่าร้อยละ 80 ของเวลาท้ังหมด หรือไม่น้อยกว่า 60 ชั่วโมงต่อภาคเรียนและผ่านเกณฑ์จุดประสงค์สาคัญของ กิจกรรมให้ได้ผลการประเมินเขา้ รว่ มกิจกรรมเปน็ “ผ” หมายถึง ผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด “มผ” หมายถึง ไมผ่ ่านเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด การตดั สนิ ผลการเรียนในวชิ ากิจกรรมแนะแนว 3 ดา้ นไดแ้ ก่ 1. มเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมไม่นอ้ ยกวา่ 80% 2. การปฏิบตั กิ จิ กรรมตามเกณฑ์ ใหค้ วามร่วมมอื มคี วามรับผิดชอบ 3. ผลงาน/ช้นิ งาน/คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์วัตถปุ ระสงค์ เกณฑก์ ารประเมินวชิ ากจิ กรรมแนะแนว ผ/มผ การเรียนซ้าชน้ั มี 2 ลักษณะ คือ 1. นักเรียนมีระดับผลการเรียนเฉล่ียในปีการศึกษาน้ันต่ากว่า 1.00 แล้วมีแนวโน้มว่าจะเป็น ปญั หาตอ่ การเรียนในระดบั ช้นั ที่สงู ข้ึน 2. นกั เรียนมีผลการเรยี น 0, ร, มส เกินคร่ึงหนง่ึ ของหนว่ ยกิต ท่ีลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น 3. ระดับมัธยมศึกษาในการตัดสิน เพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวชิ า ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดบั ผล การเรยี นในระดบั 8 ระดบั ชว่ งคะแนน(รอ้ ยละ) ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย 80-100 4 ผลการเรียนดเี ย่ยี ม 75-79 3.5 ผลการเรียนดมี าก 70-74 3 ผลการเรยี นดี 65-69 2.5 ผลการเรียนคอ่ นข้างดี 60-64 2 ผลการเรยี นน่าพอใจ 55-59 1.5 ผลการเรียนพอใจ 50-54 1 ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่า 0 ผลการเรียนตา่ กวา่ เกณฑ์ นอ้ ยกวา่ 50

เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1. ผู้เรียนเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวชิ าพ้นื ฐาน 63 หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่มิ เติมตามท่ีสถานศึกษากาหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน 63 หน่วยกติ และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ไมน่ ้อยกวา่ 14 หน่วยกติ 3. ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์ การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่ สถานศึกษากาหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่ สถานศกึ ษากาหนด 64

แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวที่ 4 หน่วยการจดั กจิ กรรม การศกึ ษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 เรอื่ ง ศักยภาพแหง่ ตัวตน จานวน 3 ชวั่ โมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั ความถนดั ทางการเรียน เปน็ องคป์ ระกอบสาคัญทจ่ี ะชว่ ยใหน้ ักเรยี นไดร้ ู้จกั ตนเอง การค้นพบความถนัด และความสามารถพ้ืนฐานของตนนั้นจะช่วยให้นกั เรียนสามารถพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ การวางแผนการศึกษาต่อในอนาคต 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นการศกึ ษา ขอ้ 1 รู้เข้าใจและมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อการเรียนรู้ตามหลกั สูตร 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 65 3.1 อธิบายความต้องการเกยี่ วกบั การศึกษาต่อตามทตี่ นเองสนใจได้ 3.2 บอกความถนัดทางการเรยี นของตนเองได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 โลกกวา้ งการศึกษาต่อสาหรับผจู้ บช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น 4.2 สารวจความถนัดของตนเอง 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน ใบงานเรื่อง แบบสารวจคุณลักษณะเฉพาะตนเพื่อการวางแผนการศึกษาตอ่ 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม ช่วั โมงท่ี 1 6.1 ครสู มุ่ ถามนักเรียนวา่ เมื่อเราสาเรจ็ การศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เราสามารถไปศึกษาตอ่ ที่ ไหน อย่างไรไดบ้ ้าง สุ่มนักเรยี นตอบ 4-5 คน 6.2 ครนู าเสนอส่อื power point เร่อื ง แผนภมู ิโลกกวา้ งการศกึ ษาของผจู้ บช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 6.3 แจกใบความรู้ เรอื่ งการศกึ ษาต่อสายสามัญ ใหน้ ักเรยี นศึกษา ครอู ธิบายเพิม่ เตมิ เร่ืองแผนการเรียนใน สายสามญั แนวทางการเตรียมตัวสาหรบั ผู้ทีส่ นใจเรียนสายสามัญ ประกอบส่ือ power point และใหน้ ักเรยี นซักถาม ช่วั โมงท่ี 2 6.4 ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุป เรอ่ื งการศึกษาตอ่ สายสามัญ 6.5 แจกใบความรู้ เรื่องการศึกษาต่อสายอาชีพ ให้นักเรยี นศึกษา ครูอธบิ ายเพิ่มเติมเร่ืองประเภทวชิ าที่ เปิดสอน หลกั สูตร สถานศกึ ษาที่เปดิ สอนทงั้ รัฐบาลและเอกชน เสน้ ทางการประกอบอาชพี ประกอบส่อื power point และให้นกั เรียนซกั ถาม 6.6 ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่องการศึกษาต่อสายอาชีพ

ช่วั โมงท่ี 3 66 6.7 แจกแบบสารวจ เรื่องแบบสารวจคุณลกั ษณะเฉพาะตนเพ่ือการวางแผนการศกึ ษาต่อ เพ่ือให้นกั เรียน ประเมินคุณลกั ษณะของตนเอง และใหน้ ักเรียนรวมกลุ่มกัน ตามกลุ่มที่มีคุณลกั ษณะเดียวกันรว่ มกันอภปิ รายผลท่ีได้ สง่ ตัวแทนมานาเสนอ 6.8 ครูและนักเรยี นช่วยกนั สรุปสง่ิ ที่ไดเ้ รียนรู้ 7. ส่ือ/อปุ กรณ์ 7.1 ส่อื power point เรื่อง แผนภูมโิ ลกกวา้ งการศึกษาของผู้จบชัน้ ม.3 7.2 ใบความร้เู รอ่ื ง การศึกษาตอ่ สายสามัญ 7.3 สอ่ื power point เร่อื ง การศึกษาตอ่ สายสามัญ 7.4. ใบความรู้ เร่ืองการศึกษาต่อสายอาชพี 7.5 สอื่ power point เร่ืองการศกึ ษาต่อสายอาชีพ 7.6 ใบงานเร่อื ง แบบสารวจคุณลักษณะเฉพาะตนเพ่อื การวางแผนการศึกษาต่อ 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธีการประเมิน 8.1.1 สังเกตการปฏบิ ัติกจิ กรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครือ่ งมือการประเมิน 8.2.1 แบบบนั ทึกการสังเกตการณ์ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 8.2.1 แบบประเมนิ ผลใบงาน 8.3. เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 สงั เกตจากการเข้ารว่ มกจิ กรรม เกณฑ์ ข้อความชี้ ผา่ น มคี วามต้งั ใจรว่ มกิจกรรม ให้ความรว่ มมือกบั กลุ่มในการอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ และส่งงานตามกาหนด ไม่ผา่ น ขาดสง่ิ ใดส่งิ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ข้อความบ่งชี้ ผ่าน บอกแนวทางการศึกษาต่อเม่ือจบชั้นม.3 ได้ ไมผ่ ่าน ไมส่ ามารถบอกแนวทางการศึกษาต่อเม่ือจบชนั้ ม.3 ได้

ใบความรูเ้ ร่ือง การศกึ ษาต่อสายสามญั การศึกษาต่อสายสามัญในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.4 - ม.6 ) เป็นทางเลือกทางหนึ่ง สาหรับ นักเรียนที่จบชั้น ม.3 ซึ่งมุ่งเรียนวิชาพื้นฐานสาหรับศึกษาต่อในช้ันอุดมศึกษา ใช้เวลาเรียนปกติ 3 ปี มี หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบจดั การศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายสายสามัญอยู่ 3 หนว่ ยงาน คอื 1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แก่ โรงเรียนรัฐบาลทั่วประเทศท้ังในส่วนกลาง และสว่ นภมู ิภาค เปดิ รบั สมคั ร และสอบคัดเลอื กตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร 2. สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมัธยมสาธิตของมหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ 3. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ได้แก่ โรงเรียนเอกชนท่ีเปิดสอนในระดับ ม.4 - ม.6 ซึ่งมีทั้งในส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าค เส้นทางการศึกษาสายสามญั 67 การเลอื กกลุ่มการเรียนสายสามญั กลุ่มการเรยี นในสายสามญั จัดเป็นกลุ่มใหญๆ่ ได้ 3 กล่มุ การเรยี น ไดแ้ ก่ 1. กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (หรอื สายวทิ ย์-คณิต) 2. กลุ่มการเรยี นภาษาองั กฤษ – คณิตศาสตร์ (หรือ สายศิลปค์ านวณ) 3. กลมุ่ การเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาตา่ งประเทศที่ 2 (หรือ สายศิลปภ์ าษา)

ขอ้ มลู ประกอบการเลอื กกลุ่มการเรยี น 1. กลุม่ การเรยี นวทิ ยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์ ผู้เลือกเรียนในกลุ่มการเรียนน้ี ควรมีความสนใจและมีพื้นฐานความรู้ดีในวิชาคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ มีความถนัดในการคิดคานวณได้คล่อง เป็นคนช่างสังเกต คิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล ชอบศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ ชอบแก้ปัญหาต่าง ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบประดิษฐ์คิดค้นส่ิงใหม่ ๆ แสดงความ คิดเหน็ ไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล มคี วามกระตือรอื ร้น ใฝเ่ รียนใฝร่ ู้อยเู่ สมอ กล้าตัดสินใจ แกป้ ญั หาต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว มี ความละเอยี ดรอบคอบ สนใจอุปกรณ์ เคร่ืองมอื เครอ่ื งยนตก์ ลไกต่าง ๆ เป็นคนมองการณไ์ กล สนใจวิทยาการใหม่ ๆเสียสละ อดทน มุ่งมนั่ และพยายาม แนวทางการศกึ ษาตอ่ แนวทางการประกอบอาชีพ วทิ ยาศาสตรท์ กุ สาขา นักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ วิทยาศาสตรค์ อมพิวเตอร์ นกั คอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะห์ระบบ โปรแกรมเมอร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี าหาร นักเทคโนโลยอี าหาร นกั เทคโนโลยกี ารบรรจุ แพทยศาสตร์ แพทย์ ทันตแพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ สตั วแพทยศาสตร์ สตั วแพทย์ เภสัชศาสตร์ เภสัชกร สหเวชศาสตร์ นกั กายภาพบาบดั นักเทคนิคการแพทย์ นกั รงั สี 68 สาธารณสขุ ศาสตร์ นกั สาธารณสขุ นักโภชนาการ นกั อนามยั ชุมชน พยาบาลศาสตร์ พยาบาล วิศวกรรมศาสตร์ทุกสาขา วศิ วกรสาขาตา่ ง ๆ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาปนิก นักวางผงั เมอื ง อุตสาหกรรม เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม เจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสริมการลงทุนอุตสาหกรรม เกษตรศาสตร์ นกั วชิ าการโรคพืช เจ้าหนา้ ที่ส่งเสริมการเกษตร นกั สัตวบาล เกษตรกร ผ้จู ัดการฟารม์ นกั กีฏวิทยา วนศาสตร์ ประมงศาสตร์ นักการป่าไม้ นักประมง พาณิชยศาสตร์และการบัญชี สถติ ศิ าสตร์ นักบญั ชี นักตรวจสอบบัญชี นักสถติ ิ บรหิ ารธุรกิจ การจดั การท่องเทย่ี ว นกั บริหารธรุ กจิ นักการตลาด ธรุ กจิ การท่องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ นกั เศรษฐศาสตร์ นักวจิ ยั การเงนิ -การธนาคาร ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ (วิทย์ พละ คหกรรม ธรุ กจิ ) ครูวทิ ย์ ครูคณติ ครูพลานามัย นกั เทคนิคกฬี า กรรมการตัดสนิ กฬี า ครูคหกรรม สังคมวทิ ยา มานุษยวิทยา สงั คมศาสตร์ นกั สังคมวทิ ยา นักประวัตศิ าสตร์ นกั ภมู ิศาสตร์ นักวจิ ัยทาง สังคมสงเคราะห์ จติ วิทยา สังคม นักสงั คมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา มานุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ อกั ษรศาสตร์ นกั มานุษยวทิ ยา นักภาษาศาสตร์ นิติศาสตร์ นักกฎหมาย อยั การ ผพู้ ิพากษา ทนายความ รัฐศาสตร์ นกั ปกครอง นักการทูต ทหาร ตารวจ ทหาร ตารวจ การบนิ พาณชิ ย์ การเดนิ เรือพาณิชย์ นกั บนิ นักเดินเรือพาณิชย์

2 กล่มุ การเรียนภาษาองั กฤษ–คณิตศาสตร์ ผู้เลือกเรียนในกลุ่มการเรียนนี้ควรมีความถนัด ความสนใจด้านคณิตศาสตร์ ชอบการคิดคานวณ สนใจภาษา รักการอ่าน การเขียน ใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ มีพื้นฐานความรู้ดีในวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ชอบคิดวางแผน สามารถถ่ายทอดความคิดให้ผู้อ่ืนทราบได้ มีความคิดริเริ่ม คิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ มีเหตุผล ก้าวทันโลกทันเหตุการณ์ มีความตื่นตัวสนใจติดตามความเปลี่ยนแปลงของ สังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง การปกครอง มีเหตุผล มีไหวพรบิ คล่องแคลว่ ว่องไว ละเอยี ดรอบคอบ สุขมุ ซือ่ สตั ย์ อดทน มมี นุษยสัมพนั ธ์ดี บุคลกิ ดี แนวทางการศึกษาต่อ แนวทางการประกอบอาชีพ 69 พณิชยศาสตร์และการบัญชี นักบญั ชี นกั ตรวจสอบบัญชี เจ้าหนา้ ที่การเงิน การเงนิ การธนาคาร เจา้ หนา้ ทีต่ รวจเงินแผน่ ดิน บรหิ ารธรุ กิจ พนกั งานธนาคาร นักวิชาการประกนั ภัย การจัดการท่องเทย่ี ว เจ้าหน้าท่ีงบประมาณ วทิ ยาศาสตร์การกีฬา นกั บริหารธรุ กจิ เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจดา้ นการท่องเท่ยี ว อกั ษรศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ โบราณคดี งาน/กิจการต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับการกฬี า นักเศรษฐศาสตร์ เจ้าหน้าท่ศี ุลกากร นเิ ทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ และสอ่ื มวลชน นกั วชิ าการภาษี ศลิ ปกรรมศาสตร์ นกั อักษรศาสตร์ นักภาษาศาสตร์ นักแปล นักวจิ ารณ์ นักประพนั ธ์ กวี พิธกี ร ลา่ ม นกั แสดง รฐั ศาสตร์ นกั ประชาสมั พนั ธ์ นกั โบราณคดี นติ ิศาสตร์ นกั สื่อสารมวลชนทกุ แขนง เชน่ นกั ประชาสัมพนั ธ์ โบราณคดี มานุษยวิทยา ปรัชญา นกั โฆษณา นักข่าว พิธีกร นักหนังสอื พิมพ์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ นักจัดรายการวิทยุ – โทรทัศน์ นกั เขียนบทละคร- สงั คมศาสตร์ บทภาพยนตร์ ผกู้ ากับการแสดง ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นักปกครอง นกั การทูต มัณฑนศลิ ป์ ศิลปกรรม นิเทศศลิ ป์ จติ รกรรม นักกฎหมาย อยั การ ผพู้ ิพากษา ทนายความ ประติมากรรม นกั โบราณคดี นักมานษุ ยวทิ ยา นักสังคมวทิ ยา จิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ นักประวตั ิศาสตร์ นักภมู ศิ าสตร์ นักวจิ ยั ทางสงั คม ครู อาจารย์ นกั วิชาการ นกั ออกแบบภายใน นกั ออกแบบผลิตภัณฑต์ า่ ง ๆ นกั จิตรกรรม นกั ประตมิ ากรรม นกั จติ วทิ ยา

3. กลุม่ การเรยี นภาษาองั กฤษ–ภาษาต่างประเทศท่ี 2 ผู้เลือกเรียนในกลุ่มการเรียนนี้ควรมีความปสรนะใจเททางด้านภาษา รักการอ่าน การเขียน มีความรู้พ้ืนฐานดี ในวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ใฝ่เรียนใฝ่รู้อยู่เสมอ มีความรับผิดชอบสูง มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ สามารถถ่ายทอดความรู้ ความคิด และจินตนาการออกมาได้อย่างชัดเจนเข้ากับผู้อื่นได้ง่าย คล่องแคล่ว มีไหวพริบดี แก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ รู้จักกาลเทศะ ร่าเริงแจ่มใส รักอิสระ กล้าแสดงออก เห็นคุณค่าและความงามของ ศิลปะด้านต่าง ๆ เช่น วรรณคดี ดนตรี และภาษา ชอบการติดต่อสือ่ สารกับผู้อื่น มีความคล่องตัวในการเขียนหรือ พดู โต้ตอบ แนวทางการศึกษาตอ่ แนวทางการประกอบอาชีพ 70 อกั ษรศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ นักอักษรศาสตร์ นักภาษาศาสตร์ นกั แปล นักวจิ ารณ์ นักประพนั ธ์ กวี พิธีกร ล่าม นกั แสดง นิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน นกั ประชาสมั พนั ธ์ ศลิ ปกรรมศาสตร์ นกั สื่อสารมวลชนทกุ แขนง เช่น นักประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา นักข่าว พธิ กี ร นักหนงั สือพิมพ์ การจดั การท่องเทย่ี ว นักจดั รายการวทิ ยุ – โทรทัศน์ นกั เขยี นบทละคร- บท รัฐศาสตร์ ภาพยนตร์ ผ้กู ากับการแสดง นิติศาสตร์ ธรุ กิจดา้ นการท่องเทย่ี ว โบราณคดี มานุษยวิทยา ปรัชญา นักปกครอง นกั การทตู นกั กฎหมาย อยั การ ผู้พิพากษา ทนายความ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ จติ วิทยา นกั โบราณคดี นกั มานษุ ยวิทยา นกั ปรัชญา สงั คมศาสตร์ นักสังคมวทิ ยา ครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ นกั สงั คมสงเคราะห์ นกั จติ วิทยา บรรณารักษ์ศาสตร์ สารนิเทศศาสตร์ นกั ประวัติศาสตร์ นักภมู ศิ าสตร์ นกั วจิ ยั ทางสังคม มณั ฑนศิลป์ ครู อาจารย์ นักวิชาการ นิเทศศิลป์ บรรณารกั ษ์ นักสารสนเทศ จติ รกรรม (วจิ ติ รศลิ ป์) นักออกแบบภายใน นกั ออกแบบผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ ประตมิ ากรรม นักออกแบบนเิ ทศศิลป์ วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา จิตรกร จิตวทิ ยา ปฏิมากร งานต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับการกฬี า นักเทคนิคทางกฬี า นักจิตวิทยา

แนวทางการเตรยี มตัวศกึ ษาต่อสายสามญั 71 หลักสูตรการเรียนการสอนสายสามัญ เป็นหลักสูตรท่ีจัดเพ่ือตอบสนองความสนใจ ความถนัด และ ความสามารถของผู้เรียน และตอบสนองการเลือกสาขาวิชาชีพในระดับอุดมศึกษา ผู้ท่ีจะประสบความสาเร็จใน การเรียน สามารถไปถึงเป้าหมายที่วางไว้ได้ จาเป็นต้องมีความรู้เพียงพอที่จะศึกษาต่อได้ในระดับอุดมศึกษา นอกจากน้ีผู้ที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญต้องพิจารณาและประเมินตนเองอย่างรอบคอบ สอดคล้องกับความเป็น จรงิ ในปัจจบุ นั มหี ้องเรยี นพเิ ศษมากมาย อาทิ - ห้อง EP หอ้ งเรยี น นานาชาติเนน้ สอนภาษาอังกฤษทุกวิชา (English Program) - ห้อง MP ห้องเรยี น นานาชาติ รูปแบบพหภุ าษา (Multi lingual Program) - หอ้ ง MEP ห้องเรยี น นานาชาติ ( Mini English Program) - ห้อง SMAT ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (Science Mathematics and Technology) - หอ้ ง ISM หอ้ งเรียน วิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์เขม้ ขน้ (Intensive Science Mathematics ) - ห้องเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์เข้มข้น เช่น ห้องเรียนวิทยาศาสตร์สุขภาพและห้องเตรียม วศิ วกร - หอ้ ง Gifted คือหอ้ งเรยี นที่จดั หลักสตู รให้เหมาะสมเพ่ือสง่ เสรมิ ศกั ยภาพของเด็กที่ฉายแววอัจฉริยะ - ห้องเรียนอาชีพ BMBA (Basic modern business administrative ) เช่น ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ธรุ กิจ ห้องเรียนการบัญชี หอ้ งเรียนคหกรรม เป็นตน้ ไดร้ ับสองวุฒิ วฒุ ิ ม.6 และวฒุ ิ ปวช. เนื่องจากการเรียน สายสามญั ไม่ไดส้ ้นิ สดุ อยูท่ ่กี ารจบชน้ั ม. 6 แตเ่ ป็นการเรยี นเพอ่ื ใหม้ ีความรแู้ ละทกั ษะพ้ืนฐานท่ีจาเปน็ ต่อการศึกษา ต่อใน สาขาวิชาชีพในระดับอุดมศึกษา ซึ่งต้องใช้ความรู้ ความสามารถในการแข่งขันเพ่ือรับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตอ่ ใน ระดับอุดมศกึ ษา โดยวธิ กี ารใดวิธกี ารหน่ึงตอ่ ไปนี้ - สมัครสอบคัดเลือกเพ่ือเขา้ มหาวทิ ยาลัยของรัฐและเอกชน - สมคั รสอบแข่งขันประเภทสอบตรงและโครงการพิเศษต่าง ๆ เพือ่ เขา้ มหาวทิ ยาลัยของรัฐและเอกชน เพอื่ ให้การตัดสนิ ใจเลือกศึกษาต่อสายสามญั เปน็ ไปอยา่ งเหมาะสมกับตนเอง จึงควรพิจารณาสง่ิ สาคัญ ต่อไปน้ีใหร้ อบคอบ 1. ความสามารถทางวิชาการ 2. บุคลิกภาพและความสนใจ 3. ความถนดั ทางการเรยี น 4. เป้าหมายอาชีพในอนาคต 5. ความสามารถในการสง่ ให้เรียนของครอบครวั (เศรษฐกจิ ของครอบครวั ) 1. คน้ หาความถนัด ความสนใจ และความสามารถของตน 2. เลือกกลุ่มการเรียนทเี่ หมาะสมกบั ความถนัด ความสนใจและความสามารถ ของตนเอง เพราะจะมผี ลต่อความสุข และความสาเร็จในการเรียน 3. ต้องตงั้ ใจเรียนทุกรายวิชา ตั้งแต่ชน้ั ม. 4- ม. 6 เพราะผลการเรยี น 6 ภาคเรียน (3 ป)ี เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ในการคัดเลือกเข้าศึกษาตอ่ ในระดับอดุ มศกึ ษา 4. ตัง้ ใจฝกึ ฝนทักษะทางด้านภาษา (ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ) และการคิดคานวณ

ใบความรเู้ ร่ือง การศึกษาต่อสายอาชพี การศึกษาต่อสายอาชีพ เป็นทางเลือกท่ีน่าสนใจสาหรับผู้จบช้ัน ม.3 ซ่ึงมุ่งศึกษาและฝึกฝน วชิ าชีพสาขาใดสาขาหน่ึงโดยเฉพาะ เพอื่ จบออกมาประกอบอาชีพเปน็ ช่างในระดบั ต่าง ๆ ตามหลักสูตรที่ เรียน เช่น ระดับก่งึ ฝมี ือ ระดับฝมี อื และระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาวชิ าชพี (ระดบั เทคนคิ ) หลักสตู รทเี่ ปิดสอนสายอาชีพ มี 3 ระดับ คือ 1. หลักสตู รระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ใชเ้ วลาเรียนต่อจากช้นั ม.3 เปน็ เวลา 3 ปี 2. หลกั สูตรระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สูง (ปวส.) ใชเ้ วลาเรียนต่อจากระดบั ปวช. 2 ปี 3. หลักสูตรระดบั วิชาชพี ระยะสน้ั ใชเ้ วลาเรียนตามทกี่ าหนดแตล่ ะสาขางานท่ีเรยี น การเรียนสายอาชีพ สามารถศกึ ษาตอ่ จนถึงระดับปริญญาตรแี ละปรญิ ญาโทได้ โดยสามารถศึกษา ต่อในสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาของรัฐและเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคล ฯลฯ เส้นทางการศึกษาต่อสายอาชีพ แสดงได้ตามแผนภาพขา้ งล่างน้ี อ2า4ย ุ (ปี ) ป.เอก อาย ุ (2ป4ี ) 72 ป.โท 24 ขนึ้ ไป 24 ขนึ้ ไป 22-23 22-23 21 ป.ตรี ป.ตรี 21 20 4 ปี 2 ปี 20 19 (บางสาขาวิชา ป.ว.ส. ปี 2 19 18 18 5-6 ปี) ป.ว.ส. ปี 1 17 17 ปวช.3 16 16 ปวช.2 15 15 ปวช.1 14 14 จบ ม. 3 หมายเหตุ อายุที่ปรากฏในแผนภมู ิเป็นการกาหนดโดยเฉลี่ย

ประเภทวชิ าที่เปิดสอนในหลักสูตรอาชีวศกึ ษา 1. ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม 2. ประเภทวชิ าพณชิ ยกรรม/บรหิ ารธุรกิจ 3. ประเภทวชิ าศลิ ปกรรม 4. ประเภทวชิ าคหกรรม 5. ประเภทวิชาเกษตรกรรม 6. ประเภทวิชาประมง 7. ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมท่องเทยี่ ว 8. ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ 9. ประเภทวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สาร สถานศึกษาในสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษามจี านวน 415 แหง่ ประกอบดว้ ย 1. วทิ ยาลัยเทคนิค 110 แหง่ 2. วิทยาลัยอาชีวศกึ ษา 36 แหง่ 3. วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี 43 แห่ง 4. วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ ง 53 แห่ง 5. วทิ ยาลยั การอาชีพ 142 แหง่ 73 6. วทิ ยาลัยพณชิ ยการ 5 แห่ง 7. วิทยาลัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมการต่อเรือ 3 แหง่ 8. วทิ ยาลัยศลิ ปหัตกรรม 2 แห่ง 9. วทิ ยาลัยบรหิ ารธุรกิจและการท่องเท่ียว 3 แหง่ 10. วทิ ยาลัยประมง 4 แห่ง 11. กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวง 1 แห่ง 12. วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละการจดั การ 11 แห่ง 13. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวทิ ยาศาสตร์ 1 แหง่ 14. ศนู ยฝ์ ึกอบรมวศิ วกรรมเกษตร 1 แหง่ การค้นหาข้อมูลสถาบันสายอาชีพ ทาง Internet สถานศึกษาสายอาชีพ ในเขตกรุงเทพมหานคร(21 แหง่ ) 1. สืบคน้ ด้วย google โดยพิมพ์คาว่า “สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา” (หรือ เขา้ เว็บโดยตรง www.vec.go.th) 2. จากหนา้ หลัก เลือกรายการ “สถานศึกษาในสังกัด” 3. คลิกเลือกจงั หวดั ที่ต้องการศึกษาขอ้ มลู ที่ตั้งของสถาบันสายอาชีพ 4. คลกิ เชอ่ื มเว็บไซต์ ศกึ ษารายละเอียดแต่ละสถาบัน

ประเภทการรบั นักเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) เลือก 3 แบบ ทัง้ นีข้ น้ึ อยู่กับการเปดิ รับของแต่ละสถานศึกษา ดงั น้ี  แบบปกติ คือรับนักเรยี นทีจ่ บชั้น ม.3 เข้าศึกษาตอ่ ในหลกั สูตร ปวช. ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยใชเ้ วลา เรียนเต็มเวลาทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิในสถานศกึ ษาน้ัน เปน็ เวลา 3 ปี  แบบทวภิ าคี คือ รบั นกั เรียนทจ่ี บชัน้ ม.3 เข้าศกึ ษาต่อในหลักสตู ร ปวช. ในสาขาวชิ าต่าง ๆ โดย ความรว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษาและสถานประกอบการ ซงึ่ นักเรียนจะใช้เวลาเรยี นภาคทฤษฎี ในสถานศึกษา และภาคปฏิบตั กิ ารทางอาชีพในสถานประกอบการต่าง ๆ แบบสะสม/โอนหนว่ ยกิต คือ รับนักเรียนที่จบช้ัน ม.3 เขา้ ศึกษาต่อในหลักสูตร ปวช.ในสาขาวิชาตา่ ง ๆ โดยการเทยี บโอนรายวชิ าทเี่ รียนมาแล้วหรอื เทยี บโอนประสบการณ์ทางอาชพี ซง่ึ ต้องมี หลักฐานแสดง และเรียนเพิ่มในรายวชิ าทีย่ งั ขาดอยู่ท้ังภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ และสะสม หน่วยการเรียนจนครบตามหลักสตู รท่ีกาหนด 74

ใบงานเรอื่ ง แบบสารวจคณุ ลักษณะเฉพาะตนเพ่ือการวางแผนการศึกษาต่อ ข้อที่ คณุ ลักษณะเฉพาะตน ใช่ทส่ี ุด ค่อนขา้ งใช่ ไม่ ไมใ่ ชเ่ ลย (3) (2) แน่ใจ (0) 1 มพี ้ืนฐานความรู้ดี และสนุกกับการเรยี นวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (1) 2 มีความถนดั ในการคิดคานวณไดค้ ลอ่ ง 3 ชา่ งสังเกต ชอบศึกษาคน้ คว้า ทดลอง วเิ คราะห์ 75 4 ชอบแกโ้ จทย์ปัญหาต่าง ๆ รู้สกึ ทา้ ทายกบั การหาคาตอบ 5 คดิ อยา่ งมรี ะบบและมีเหตผุ ล คะแนนรวม…………………… 6 มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ชอบคดิ ค้นสิ่งใหม่ ๆ 7 แสดงความคดิ เห็นได้อย่างมีเหตผุ ล 8 กล้าตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างรวดเรว็ 9 มคี วามละเอียดรอบคอบ 10 สนใจเทคโนโลยี และ วิทยาการใหมๆ่ 11 มองการณ์ไกล รู้จักคิดและวางแผนในการทาสงิ่ ใดสิง่ หนง่ึ 12 มคี วามอดทน มุ่งม่นั และพยายาม ไม่ท้อถอย 13 มีพ้ืนฐานความร้วู ชิ าคณติ ศาสตร์ดี คดิ คานวณได้คล่อง 14 มีความสามารถในการใชภ้ าษา ฟงั พูด อา่ น เขียน ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ได้คลอ่ ง 15 คดิ วิเคราะห์อยา่ งมรี ะบบและมีเหตผุ ล 16 มจี นิ ตนาการและมีความคดิ สรา้ งสรรค์ 17 สนใจเหตุการณ์ และข่าวสารในสังคมปจั จบุ นั 18 มีความกระตือรือรน้ ใฝห่ าความรู้อยู่เสมอ 19 สามารถถา่ ยทอดความคิดให้ผูอ้ ืน่ เข้าใจได้ชดั เจน 20 แสดงความคดิ เห็นได้อยา่ งมีเหตผุ ล 21 สนใจวเิ คราะห์ เปรียบเทียบ และสรปุ ความหมายของ เหตุการณต์ ่าง ๆ 22 มคี วามอดทน มุ่งมั่น พยายาม และไม่ย่อท้อ 23 มีจินตนาการเหน็ ภาพทเี่ ป็นนามธรรม. เรื่องพนื้ ท่ี ระยะทาง ขนาด และรปู ทรง 24 สนใจติดตามเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ คะแนนรวม……………………

ใชท่ ส่ี ุด ค่อนข้างใช่ ไม่ ไม่ใช่เลย ขอ้ ท่ี คุณลักษณะเฉพาะตน (3) (2) แน่ใจ (0) (1) 25 พืน้ ฐานความรู้ดใี นวชิ าภาษาองั กฤษ ฟัง พดู อา่ น เขยี น 76 ไดค้ ลอ่ ง 26 มพี ้นื ฐานความร้ดู ีในวชิ าภาษาไทย รักการอา่ น การเขยี น 27 สนใจและสนุกกับการเรยี นดา้ นภาษา ทง้ั ภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ 28 สามารถถา่ ยทอดความรู้ความคดิ และจิตนาการออกมาได้ อย่างชดั เจน 29 รับรู้ เขา้ ใจ และเหน็ คุณคา่ ของศลิ ปวัฒนธรรม ดนตรแี ละ ภาษา 30 มจี นิ ตนาการและมีความคิดสร้างสรรค์ 31 สนใจเหตกุ ารณ์ และข่าวสารในสงั คมปัจจบุ นั 32 มคี วามคล่องตวั ในการเขียนหรือพดู โตต้ อบ 33 กระตือรือร้น ใฝเ่ รยี นใฝร่ ู้อยูเ่ สมอ 34 คลอ่ งแคล่ว มไี หวพริบดี แก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ 35 กล้าพดู กล้าแสดงออกในทางท่ีเหมาะสม 36 ชอบการติดต่อส่ือสารกับผอู้ ื่น ร่าเรงิ แจ่มใส เข้ากับผอู้ น่ื ได้ง่าย คะแนนรวม…………………… 37 มีความรู้พนื้ ฐานในการใชภ้ าษา ฟัง พูด อา่ น เขียน ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 38 รับรู้ เข้าใจ และเหน็ คุณคา่ ของศิลปวฒั นธรรม ดนตรีและภาษา 39 มีความสนใจดา้ นภาษา รักการอ่าน การเขียน 40 สนใจเหตุการณ์ และข่าวสารในสงั คมปจั จุบัน 41 ชอบการวเิ คราะห์ อภิปรายเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ ในสงั คม 42 มมี นษุ ยส์ มั พนั ธ์ดี สนกุ กบั การทางานท่ตี ้องเกี่ยวข้องพบปะกบั ผู้อน่ื เสมอ 43 สามารถควบคุมตนเอง และปรับตัวใหเ้ ข้ากบั สถานการณ์ ต่าง ๆ ได้ดี 44 มีจินตนาการและมีความคิดสรา้ งสรรค์ 45 มไี หวพริบดี สามารถแก้ไขเหตกุ ารณ์เฉพาะหนา้ ได้ 46 คลอ่ งแคลว่ กล้าแสดงความคิดเหน็ และนาเสนอได้อยา่ ง สรา้ งสรรค์ 47 มมี านะทจ่ี ะเรียนภาคทฤษฎไี ดส้ าเร็จจนถึงข้ันอุดมศึกษาได้ 48 สนใจสงิ่ แวดลอ้ มรอบตัว คะแนนรวม……………………

ขอ้ ที่ คุณลักษณะเฉพาะตน ใชท่ ่สี ดุ ค่อนข้างใช่ ไม่ ไม่ใชเ่ ลย (3) (2) แนใ่ จ (0) 49 มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ในการผลิตหรือประดิษฐช์ ้นิ งาน (1) 50 พนื้ ฐานความรวู้ ชิ าภาคปฏิบัติดกี วา่ ดา้ นวชิ าการ 51 ชอบเรยี นภาคปฏิบัติ ลงมือทา มากกวา่ เรียนภาคทฤษฎี 52 อยากเรียนเพื่อมีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง ด้านอาชีพ 53 ตอ้ งการเรียนจบเพื่อมีงานทาเรว็ ๆ หลังจบช้ัน ม.3 54 มีความเชือ่ มนั่ วา่ การเรยี นสายอาชีพ กส็ ามารถมีอนาคตท่ี เจรญิ มน่ั คงได้ 55 ไม่รสู้ ึกด้อย กล้าทีจ่ ะบอกใคร ๆว่าเรยี นตอ่ สายอาชีพ 56 มีวนิ ัยในตนเอง สามารถรับผิดชอบตนเองในการเรียนได้ 57 มีความอุตสาหะ วริ ยิ ะ อดทนในการทางาน 58 มีเป้าหมายชดั เจนในการเรียนสายอาชีพ 59 ผู้ปกครองใหอ้ ิสระในการตดั สินใจเลอื กศกึ ษาตอ่ ไมว่ า่ สายสามัญหรอื สายอาชพี 60 สามารถควบคุมตนเองได้ ไมค่ ลอ้ ยตามการชักชวนในทางที่ผิด ของเพ่ือน คะแนนรวม…………………… 77 ข้อท่ี ช่อื สายการเรียน คะแนนรวม จัดเปน็ อนั ดับท่ี 1-12 สายสามัญ - กลมุ่ การเรยี นวทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ 13-24 สายสามัญ - กลุม่ การเรยี นคณติ ศาสตร์-ภาษาอังกฤษ 25-36 สายสามัญ - กลมุ่ การเรยี นภาษาองั กฤษภาษาต่างประเทศที่ 2 (ฝร่งั เศส,จีน,พมา่ ,เกาหลี,ญีป่ ุ่น,เยอรมัน) 37-48 สายสามัญ - กลมุ่ การเรยี นภาษาอังกฤษ-สงั คมศกึ ษา 49-60 สายอาชีพ

การวิเคราะห์ผลการสารวจกับการเลือกสายการเรยี น 78 ตวั ชี้วดั ในการวิเคราะห์ คะแนนรวมของแตล่ ะสายวิชา ทีไ่ ดจ้ ากการสารวจคุณลักษณะเฉพาะตน เกณฑป์ ระกอบการพิจารณา สายการเรียนทนี่ ่าจะเปน็ ทางเลอื กในการศกึ ษาต่อ ควรมีคะแนนรวมตัง้ แต่ 24 คะแนน ข้ึนไป เนือ่ งจาก นักเรยี นมีคุณลกั ษณะพื้นฐาน สอดคล้องกับลักษณะวชิ าที่เรยี น และมีโอกาสพฒั นาการเรียน ในสาขาการเรียนนัน้ ๆ ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาผลท่ีไดจ้ ากการสารวจ และตอบคาถามต่อไปนี้ 1. สายการเรยี นท่ีมีคะแนนรวม ตั้งแต่ 24 ขน้ึ ไป  มี  ไม่มี ถา้ มี มีจานวน......................สายการเรยี น เรียงตามลาดบั คะแนน ดังนี้ 1. ............................................................................................ 2. ............................................................................................ 3. ............................................................................................ 2. สายการเรยี นท่นี กั เรยี นต้องการเรยี นคอื อะไร  สายสามญั กลุ่มการเรียน...................................................................................... ได้คะแนนรวมถงึ 24 หรือไม่  ไดค้ ะแนน ต้ังแต่ 24 ขึน้ ไป  ไดค้ ะแนน ไม่ถึง 24  สายอาชีพ ไดค้ ะแนนรวมถึง 24 หรอื ไม่  ได้คะแนน ตั้งแต่ 24 ขน้ึ ไป  ไดค้ ะแนน ไม่ถึง 24 3. สิ่งท่ีนกั เรยี นได้ จากการทาแบบสารวจชดุ น้ี คืออะไร .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 4. การสารวจครัง้ นี้ มผี ลอยา่ งไรต่อการวางแผนการศึกษาตอ่ (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ)  รู้สกึ มน่ั ใจในสง่ิ ท่ีคิดไว้ย่งิ ข้ึน  ได้ทางเลอื กมากขึ้นจากเดมิ ที่คดิ ไว้  พอเห็นแนวทาง ซึ่งก่อนหน้าน้ยี ังไมร่ ูว้ า่ จะไปเรยี นต่ออะไร  ผลการสารวจ ไม่ตรงกับสงิ่ ทีค่ ิดไว้ ทาให้ตอ้ งทบทวนความตอ้ งการใหม่  ผลการสารวจ ไมต่ รงกบั สงิ่ ทีค่ ิดไว้ แตย่ ังยนื ยันส่ิงท่ีคิดไว้ โดยจะพัฒนาตนเองต่อไป  อ่ืนๆ..................................................................................................................

แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวที่ 5 หนว่ ยการจัดกิจกรรม การศกึ ษา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 เรื่อง บรหิ ารเวลาส่กู ารวางแผน จานวน 2 ชั่วโมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคญั การพัฒนาตนเองเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายชวี ิต ทง้ั เป้าหมายการเรยี นในระยะส้นั เป้าหมายการศกึ ษาต่อที่ จะนาไปสู่เป้าหมายอาชีพในอนาคตถือเป็นส่ิงสาคัญ หากนักเรียนมีเป้าหมายทางการเรียนท่ีชัดเจนจะนาไปสู่การ สร้างแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองเพื่อไปสู่เป้าหมายชีวิตที่กาหนดไว้ และการแบ่งเวลาในการเรียนอย่างมี ประสิทธิภาพ ก็เปน็ ปัจจยั ท่ชี ่วยให้มเี วลาสาหรับทากิจกรรมอื่น ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในอนาคต เพ่ือนาไปสกู่ ารสร้าง แรงจงู ใจในการพฒั นาตนเองให้กา้ วไปสู่เป้าหมายชวี ิตท่ีนักเรยี นไดต้ ้ังไว้ 2. สมรรถนะการแนะแนว: ดา้ นการศกึ ษา ขอ้ 1 ร้เู ขา้ ใจและมเี จตคตทิ ี่ดีต่อการเรียนร้ตู ามหลักสตู ร 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ฝกึ การตัง้ ป้าหมายและวางแผน ดา้ นการเรยี น การจัดการเวลา การทางานให้บรรลุผล 3.2 ตระหนักถึงประโยชน์ และอธบิ ายความสาคญั ของการบรหิ ารจัดการเวลาได้อยา่ งเหมาะสม 4.สาระการเรียนรู้ 79 4.1 การตั้งเปา้ หมายและวางแผนดา้ นการเรยี น 4.2 การบริหารจัดการเวลา 5. ช้ินงาน / ภาระงาน ใบงานเร่อื ง “การบริหารเวลา: จุดมุง่ หมายในชวี ิต” 6. วธิ ีการจดั กจิ กรรม ช่วั โมงท่ี 1 6.1 ครสู นทนาเรื่องผลการเรียนท่ผี า่ นมาของนักเรยี น 6.2 ครสู มุ่ ถามนกั เรียน 4-5 คนวา่ กอ่ นน้นี ักเรยี นมกี ารวางแผนและตั้งเป้าหมายเกย่ี วกับการเรยี นของ ตนเองหรอื ไม่ อยา่ งไร 6.3 ครนู าตะกร้ามาวางไวห้ นา้ ห้อง พร้อมลูกบอล และแจกกระดาษใหน้ ักเรยี นเขยี นเป้าหมายชวี ิตทีได้ ตง้ั ไวม้ าใส่ไว้ในตะกร้า 6.4 ให้นักเรียนจินตนาการว่าตะกร้าน้ีคือเป้าหมายทางการเรียนท่ีนักเรียนตั้งใจจะทาให้นักเรียนใช้ลูก บอลเสี่ยงทายว่าจะสามารถทาเป้าหมายของตนเองให้เป็นจริงได้หรือไม่ โดยการให้โยนลูกบอล ถ้าโยนลงตะกร้า แสดงวา่ มีโอกาสท่ีจะทาเปา้ หมายให้เปน็ จริงได้ (ครูวางตะกร้าไว้หนา้ ห้อง ให้นักเรียนยนื ในระยะห่าง ประมาณ 4 - 5 เมตร) และใหน้ ักเรยี นโยนลูกบอลทีละคน ๆ ละ 1 ครั้ง 6.5 ครสู อบถามความร้สู ึกของนักเรียนทง้ั ท่โี ยนลกู บอลลง และที่ไมล่ งตะกรา้ 6.6 ให้โอกาสคนทโี่ ยนลกู บอลไม่ลงตะกร้าไดโ้ ยนใหม่อกี คนละ 1 คร้ัง

6.7 ครูสอบถามนักเรียนท่ียังโยนลูกบอลไม่ลงตะกร้าว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และจะวางแผนหรือ แก้ไข อย่างไร เพอ่ื ใหต้ นเองโยนลกู บอลลงตะกรา้ ใหไ้ ด้ ( เชน่ ระยะหา่ งเกินไป / โยนแรงเกนิ ไป / โยนเบาไป ฯลฯ) 6.8 ให้โอกาสนักเรียนโยนลูกบอลจนกว่าจะลงตะกร้าครบทุกคน โดยแต่ละครั้งท่ีโยนไม่ลง ครูจะต้ัง คาถามให้ นกั เรยี นได้คิดว่ายังมปี ัญหาหรืออุปสรรคใด และให้แก้ไข (หรือขออาสาสมัคร 5 คน ทาหน้าที่โยนบอลแทน เพื่อนๆ ในหอ้ ง เพอื่ ประหยดั เวลา) 6.9 ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายข้อคิดท่ีได้จากกิจกรรมเพื่อนาไปใช้พัฒนาเป้าหมายทางการเรียนของตน ให้ ประสบความสาเรจ็ ชัว่ โมงท่ี 2 6.10 ครกู ล่าวถงึ การเรียนให้มคี ณุ ภาพ นกั เรียนจะตอ้ งจัดการกับเรื่องใดให้มปี ระสิทธภิ าพ (สมุ่ ถาม นักเรยี น 4-5 คน) 6.11 ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาใบความรเู้ ร่ือง “การบริหารเวลา” 6.12 ครใู หน้ กั เรยี นทาใบงานเรอื่ ง “การบริหารเวลา: จุดมงุ่ หมายในชีวิต” โดยใหน้ ักเรยี นทุกคน ตรวจสอบการใช้เวลาของตนเอง 6.13 ครูส่มุ ตัวแทนออกมานาเสนอหน้าชนั้ เรยี น 6.14 ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปข้อคิดที่ไดจ้ ากกิจกรรม 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 80 7.1 ตะกร้า ลกู บอล กระดาษ 7.2 ใบความรูเ้ รอื่ ง “การบริหารเวลา” 7.3 ใบงานเรื่อง “การบรหิ ารเวลา : จดุ มุง่ หมายในชวี ิต” 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธีการประเมนิ 8.1.1 สงั เกตการปฏิบัตกิ จิ กรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เคร่ืองมอื การประเมนิ 8.2.1 แบบบันทกึ การสงั เกตการณป์ ฏบิ ตั กิ ิจกรรม 8.2.1 แบบประเมินผลใบงาน 8.3. เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 สังเกตจากการเข้าร่วมกจิ กรรม เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผา่ น มีความตัง้ ใจร่วมกจิ กรรม ให้ความร่วมมือกับกลุ่มในการอภปิ รายแสดงความ คดิ เหน็ และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ไม่ให้ความร่วมมือกับกลุ่ม หรือ ขาดส่งิ ใดสิง่ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ ผ่าน ทาใบงานครบและถูกต้อง ไม่ผ่าน ขาดส่ิงใดส่งิ หนึง่

ใบความรู้ 81 เรอื่ ง การบรหิ ารเวลา คานิยามของเวลา เวลา คอื ชวั่ ขณะความยาวท่ีมีอย่หู รือเปน็ อยู่ โดยกาหนดข้ึนเปน็ ครู่คราว วัน เดอื น ปี เวลา เปน็ ที่รวมของการกระทาทุกอย่าง รวมความร้สู กึ และความคดิ ทั้งหลายไวด้ ้วยกนั เวลา คือ การใช้ชีวติ ทถ่ี ูกต้องในการกระทาทมี่ ีขอบเขตและทุกสงิ่ ทีถ่ ูกต้องของมนุษยใ์ นการดาเนนิ ชวี ิต จากความสาเร็จ ความหมายของการบริหารเวลา การบริหารเวลา คอื กระบวนการทางานอย่างมีระบบ โดยใช้เวลาน้อยแตใ่ หผ้ ลคมุ้ คา่ มากทสี่ ุด การบริหารเวลา คือ การจัดเวลาในการทางานอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างเพื่อให้ผลงานเป็นที่ ยอมรับ และน่าพอใจ 1. การกาหนดความสาคญั ( Set Priorities ) โดยใชส้ ัญลักษณแ์ ทนดังน้ี A = งานทม่ี คี วามสาคัญตอ้ งทากอ่ น B = งานทม่ี ีความสาคัญเชน่ กัน แต่รองลงไป ถา้ หากวา่ มีเวลากค็ วรทา C = แมไ้ มท่ าขณะนีค้ งไม่กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หาย 2. วางแผน (Planning) คือ การตระเตรียมการสาหรับการปฏิบัติงานตามแผน โดยไม่จาแนกว่าเป็นงาน เล็ก หรอื งานใหญ่ การวางแผนมคี วามยากง่าย สลับซับซอ้ นแตกตา่ งกนั ตามขอบข่ายของงานทจ่ี ะปฏิบัติ อาจทาใน รปู แบบของตารางปฏิบตั ิงาน 3. การปฏิบัติตามตารางที่กาหนด (Projecting Schedule Time) คือ การทางานตามแบบแผนท่ีกาหนดไว้ ดงั น้ี ขนั้ ที่ 1 ตั้งคาถามเกี่ยวกบั อนาคตหลายๆ คาถาม แล้วคิดหาคาตอบและเหตผุ ลประกอบคาถามตา่ ง ๆ เหลา่ น้ัน ขน้ั ที่ 2 กาหนดเปา้ หมายระยะสั้นและระยะยาวทเ่ี ปน็ จริง ความสาคัญของการบริหารเวลา เม่ือพดู ถึงเวลาคงไม่มีใครไม่รจู้ ัก คงไม่มีใครไมเ่ คยสัมผสั กับคาว่า “ เวลา ” และคงไมม่ ใี ครท่ไี ม่เคยล้ิมรส ของคาว่าเสียดายเวลา เคยถามตัวเองบ้างไหมว่า ทาไมคาว่าเสียดายเวลาจึงเกิดข้ึนกับตัวเรา และคาคาน้ีไม่ได้ เกิดข้นึ ครง้ั เดียวแต่มนั เกิดขน้ึ ซา้ แล้วซา้ อีก จนเรารู้สึกถงึ ความเคยชนิ กบั มนั ดังน้ันมนุษย์ทุกคนจะต้องทราบถึงความสาคัญของการบริหารเวลา เพราะว่าจะทาให้ชีวิตของเรามีระบบ มีแบบ แผน มีความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย คนท่ีสามารถทาชวี ติ ของตนเองใหม้ ีความสุขและมีการดาเนินไปตามเป้าหมายท่ีไดว้ างไว้ แสดงวา่ เขาผู้น้ัน รถู้ งึ คุณคา่ และความสาคญั ของการบริหารเวลา เทคนคิ วธิ กี ารบริหารเวลา 1. จดบันทึกการใชเ้ วลาในแต่ละวนั การบริหารเวลาควรเริ่มต้นจากการสารวจตัวเองก่อนว่าในแต่ละวันน้ันได้ใช้เวลา ในการทากิจกรรม อะไรบา้ ง โดยการจดบันทกึ เวลาและการทากิจกรรมต่าง ๆ ในแต่ละวันตดิ ต่อกันประมาณ 3 วนั แลว้ ลองคานวณดู ว่าได้ใช้เวลาไปกี่ชั่วโมงกับการนอน การกิน การทางาน การเดินทาง การออกกาลังกาย การอยู่คนเดียวเงียบ ๆ การใช้เวลาสังสรรค์กับเพื่อนฝูงและการใช้เวลาอยู่กับครอบครัว ลองพิจารณาดูว่าเวลาที่ใช้ในการทากิจกรรม

เหล่านี้สมดุลแล้วหรือยัง ได้เสียเวลาไปกับเรื่องท่ีไม่เป็นเร่ืองมากน้อยแค่ไหน และบ่อยแค่ไหนที่คิดจะทาอะไร 82 แล้วก็รีรอผัดผ่อนไปทาอย่างอื่นก่อน งานที่ควรจะเสร็จจึงไม่เสร็จเสียทีควรจะต้องปรับปรุงเวลาในเรื่องใดให้ มากขึ้นหรือน้อยลง 2. วางแผนงานล่วงหน้า ในแต่ละวันจะมีเวลาสาหรับการทางานประมาณ 6-8 ชั่วโมง จึงควรต้ังใจทางานให้เต็มที่ โดยวาง แผนการทางานล่วงหน้าว่าในวันน้ันจะต้องทาอะไรบ้าง แล้วพรุ่งน้ีจะต้องทาอะไร จัดลาดับความสาคัญของงาน เลือกทางานที่สาคัญและเร่งด่วนก่อน ทางานท่ีคิดว่ายากก่อนในช่วงเช้า เพราะเป็นช่วงที่ร่างกายยังสดช่ืน รู้จัก แบ่งงานช้ินใหญ่ให้เป็นชิ้นย่อยๆ ควรแบ่งงานให้ลูกน้องหรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องรับไปทา อย่างเท่าเทียมกันเพ่ือ ความยุติธรรม และอย่าหวงงาน อย่าคิดว่าคนอ่ืนจะทาไม่ได้ ค่อยๆ สอน และค่อยๆ ฝึก เขาย่อมทาได้ในวันหน่ึง และเราก็จะสบายขึ้นด้วย เมื่อทางานติดต่อกันประมาณ 2 ช่ัวโมงควรพักสมองโดยการเปลี่ยนอิริยาบถบ้าง และ ควรพยายามทางานให้แล้วเสร็จในที่ทางาน ไม่จาเป็นอย่าเอางานกลับไปทาที่บ้านเพราะจะรบกวนเวลาสาหรับ ตนเองและครอบครัว 3. เพมิ่ เวลา ถ้ารู้สึกว่าเวลามีไม่พอควรหาเวลามาเพิ่ม เช่น ต่ืนให้เช้าขึ้นเพ่ือประหยัดเวลาในการเดินทาง เป็นต้น ลองสงั เกตผู้อ่นื ดูบ้างว่าแตล่ ะคนมีวิธกี ารบริหารเวลาอย่างไร ลองเรียนรจู้ ากผ้ทู บี่ ริหารเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากข้นึ และเครียดน้อยลงก็ได้ 4. ตั้งเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ ตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ว่าคุณจะทาอะไร เพื่ออะไร ปัจจัยที่ สาคญั อย่างหนึ่งของคนท่ปี ระสบความสาเร็จ คือ การกาหนดเปา้ หมายทช่ี ัดเจน จดไวก้ นั ลมื แล้วลงมอื ทาทนั ที จา ไว้ว่าถ้าจะยิงปืนให้เขา้ เป้ากจ็ าเป็นต้องเลง็ ให้ดีซะก่อน เมอ่ื โฟกัสถูกจดุ แล้วก็ต้องรู้ว่าทาอะไรบา้ งจึงจะไปถึง เคล็ด ลับการอยทู่ กี่ ารมี “แผน” ท่ีดอี ยูก่ ับตวั ท้งั ระยะส้ันและระยะยาวว่าคณุ ตอ้ งทาอะไรบ้างตั้งแต่วันนี้ สปั ดาห์นี้ จนถึง ตลอดทั้งปนี ี้ แผนท่ดี คี อื ตอ้ งรปู้ ญั หาของงานแต่เนิ่น ๆ เพ่ือทจี่ ะหาทางแก้ไดท้ นั ท่วงที 5. สรา้ ง To-Do-List เริม่ ต้นดีมีชยั ไปกวา่ คร่ึง เรียงลาดับกอ่ นหลังของงานทีจ่ ะทาเอาไวก้ ่อนแล้ว เชื่อและบงั คับตวั เองให้ทา ตามนั้น เป็นการไม่ให้ออกนอกลู่นอกทาง คนที่ประสบความสาเร็จเขาจะโน้ตไวว้ ่าอะไรที่ควรทาก่อนหลัง แต่ถ้ามี เรื่องด่วนแทรกเข้ามากส็ ามารถปรบั ให้ ยืดหยุ่นได้ 6. มแี ฟ้มงาน อย่าปล่อยให้ความคิดกระจัดกระจายควรเก็บเข้ามาใส่ในแฟ้ม เอกสารก็เช่นเดียวกัน ถ้าเป็นเรื่องท่ี เกย่ี วขอ้ งกันกน็ ามาเก็บใส่แฟ้มงานเดียวกัน เพอ่ื ใหเ้ ป็นระเบียบและง่ายต่อการค้นหา 7. ใชโ้ ทรศัพทใ์ หเ้ ป็น การใช้โทรศัพท์มือถือไม่ถูกท่ีถูกเวลาเป็นสาเหตุอันดับต้นๆ ท่ีมารบกวนเวลาเรียน เพราะนอกจากจะ ทาให้เสียเวลาแล้ว ยังทาให้เราดูไมด่ อี ีกดว้ ย 8. ทุกคนมีเวลาของตวั เอง สังเกตให้ดีว่าช่วงเวลาใดท่ีสมองเรารู้สึกปลอดโปร่ง มีสมาธิ ความคิดแล่น เช่น ถ้าเรารู้สึกดีในตอน เชา้ ตรู่กใ็ ห้รบี เรียงลาดบั ความคดิ ทา จดบันทึกสงิ่ ท่ีจะทาในวันน้ัน เป็นต้น

9. มีความรับผิดชอบ บริหารเวลาตอ้ งเรม่ิ จากการจัดการตวั เอง คงไมม่ ีประโยชน์อะไร หากเราจดบันทึกสง่ิ ท่ตี ้องทา กอ่ นหลังแต่ไม่ทาตามดังนนั้ เราจงึ ควรมีความรบั ผิดชอบและมีวินัยในตนเอง ลองใช้เวลาไม่ก่ีนาทีอ่านเคล็ดบริหารเวลาเหล่านี้ และใช้เวลาอีกนิดหน่อย ลองลงมือทาดู แล้วเราจะ ค้นพบเวลาอีกหลายชัว่ โมงที่หายไป ทีนี้ไม่ว่าเราจะงานยุ่งแค่ไหนก็สามารถจัดการไดไ้ ม่ยาก เวลาเป็นสมบัติท่ีมคี ่า ย่ิง ทสี่ ามารถนาไปแลกเปน็ อะไรกไ็ ด้ ขน้ึ อยกู่ ับว่าเราจะจัดการกับมนั ได้ดแี คไ่ หน ถ้าอยากรูว้ ่าเวลา 1 ปี ขอ้ คดิ 83 ถา้ อยากรวู้ ่าเวลา 1 เดอื น ถ้าอยากรู้ว่าเวลา 1 สัปดาห์ มีคา่ เพยี งใด ให้ถามนกั เรยี นท่สี อบไลต่ ก ถา้ อยากรู้วา่ เวลา 1 ช่ัวโมง มีค่าเพยี งใด ให้ถามมารดาท่ีต้องคลอดบุตรก่อนกาหนด ถา้ อยากรวู้ า่ เวลา 1 นาที มีคา่ เพียงใด ใหถ้ ามบรรณาธกิ ารหนังสอื รายสปั ดาห์ ถา้ อยากรวู้ า่ เวลา 1 วนิ าที มคี า่ เพียงใด ให้ถามครู่ กั ที่รอเวลาจะพบกัน ถ้าอยากรู้วา่ ในเวลาเสีย้ ววนิ าที มคี ่าเพยี งใด ให้ถามคนท่ีพลาดรถไฟ รถประจาทางหรอื เครื่องบิน มีคา่ เพียงใด ใหถ้ ามคนท่ีรอดจากอุบัติเหตุอยา่ งหวุดหวิด มีคา่ เพียงใด ให้ถามนักกฬี าโอลิมปิกทีไ่ ดเ้ หรยี ญเงนิ

ใบงาน เร่อื ง การบรหิ ารเวลา : จดุ มงุ่ หมายในชีวติ คาช้แี จง : ให้นกั เรียนบอกแนวการปฏิบตั ิตนในแต่ละวัน ว่ามีวิธีการแบ่งเวลาในการเรยี นอย่างมปี ระสิทธิภาพ อยา่ งไร ( โดยเริ่มวนั พร่งุ น้ี ) วัน / เวลา กิจกรรม รวมเวลา 84 ลองถามตวั เองดวู า่ นักเรียนได้ดาเนนิ การเพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายแลว้ หรือยัง หากยงั เป็นเพราะอะไร และนักเรยี นมี วธิ ีแกไ้ ขอย่างไรจงใหเ้ หตผุ ล ............................................................................................................................. ...................................................... ....................................................................................................................................... ............................................ ....................................................................................... ............................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ขอ้ คิด /ส่งิ ทีไ่ ด้จากกิจกรรมน้ี ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................. .................................................. ……………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 6 หน่วยการจัดกจิ กรรม การศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เร่อื ง แผนทชี่ ีวิต เวลา 2 ชว่ั โมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สาระสาคญั การวางแผนดาเนินชีวิตเร่ิมต้นจากการ มุ่งหวังตั้งความปรารถนาและมองหาเป้าหมายท่ีจะก้าวเดินไป ข้างหน้า ซ่ึงจะต้องใช้ความพยายาม ขยันหมั่นเพียร และอดทน อดกลั้นเพื่อให้บรรลุจุดหมายของชีวิตท่ีเราต้ังไว้ ถ้า ต้องการใหค้ วามฝนั เปน็ จริงกต็ ้องพยายามเพือ่ อนาคตทเ่ี ปน็ จรงิ “ทกุ คนเปน็ นายชา่ งสรา้ งชีวิตของตนเอง” 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศกึ ษา ข้อ 2 มีค่านยิ มในการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 สามารถเชื่อมโยงความรู้ จดั กลุม่ ความรู้ ขอ้ มูลขา่ วสารที่ได้รบั และสามารถเสนอประเด็นที่เปน็ แก่นสาระสาคัญได้ 3.2 มวี ธิ ีการศึกษาเพ่ิมเติม เพ่ือขยายประสบการณ์ไปสู่การเรียนรูใ้ หม่ 4. สาระการเรยี นรู้ 85 เหน็ คุณคา่ ของการประโยชนแ์ ละความสาคัญของการแบ่งเวลา 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน ใบงานแผนทช่ี วี ิต 6. วิธกี ารจดั กจิ กรรม 6.1 ครูนาคติธรรมของหลวงพ่อพระสุพรหมยานเถร วัดพระพุทธบาทตากผ้า จังหวัดลาพูน “ทุกคนเป็น นายช่างสร้างชีวิตของตนเอง สุข ทุกข์ ในชีวิตประจาวันเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการกระทาของตัวเรา เองทั้งสิ้น” และ “ ตอนต้นสู้ทนทุกข์ จะได้สุขเม่ือตอนปลาย ตอนต้นสู้สบาย จะได้ร้ายเม่ือปลาย มอื ” ให้นักเรยี นศกึ ษาและตอบคาถามของครู 6.2 ครูอธิบายสรุปคตธิ รรมดังกล่าว 6.3 ครูแจกกระดาษ A4 ให้คนละแผ่น ให้เขียนแผนที่ชีวิตของตนเอง เริ่มต้ังแต่คลอดแล้วรอดเป็นทารก ดาเนินไปเรื่อยๆ ทุก ๆ ขั้นตอนของชีวิตท้ังในอดีต ปัจจุบันและความคาดหวังในอนาคต จนถึงบ้ัน ปลายชวี ติ โดยแผนท่ีชวี ติ ดงั กลา่ วให้ออกแบบได้อยา่ งเป็นอสิ ระ ตกแต่งสสี นั ใหส้ วยงามตามใจชอบ 6.4 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายสรปุ 7. ส่ือ / อปุ กรณ์ ใบงาน “แผนท่ชี วี ิต”

8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารประเมนิ 8.1.1 สงั เกตการปฏิบัติกิจกรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เคร่ืองมือการประเมนิ 8.2.1 แบบบันทึกการสงั เกตการณป์ ฏบิ ัตกิ จิ กรรม 8.2.1 แบบประเมินผลใบงาน 8.3. เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 สงั เกตจากการเข้ารว่ มกิจกรรม เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผ่าน มีความตั้งใจรว่ มกิจกรรม ให้ความร่วมมือกบั กลุ่มในการอภิปรายแสดงความ คดิ เห็น และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผา่ น ไม่ให้ความร่วมมือกับกลมุ่ หรือ ขาดส่งิ ใดสง่ิ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน ตัวบ่งช้ี เกณฑ์ ผา่ น ทาใบงานครบและถกู ต้อง 86 ไมผ่ า่ น ขาดสิ่งใดส่งิ หนึ่ง

ใบงาน คาช้ีแจง ให้เขียนแผนที่ชีวิตของตนเอง เร่ิมต้ังแต่คลอดแล้วรอดเป็นทารก ดาเนินไปเร่ือย ๆ ทุกๆ ข้ันตอนของชีวิตทั้งในอดีต ปัจจุบันและความคาดหวังในอนาคต จนถึงชีวิตจะหาไม่ แผนท่ีชีวิตดังกล่าวให้ ออกแบบไดอ้ ยา่ งเป็นอสิ ระ ตกแตง่ สีสันให้สวยงามตามใจชอบ แผนทชี่ ีวิต 87 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 7

แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 7 หน่วยการจดั กิจกรรม การศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เรอ่ื ง เทคโนโลยกี า้ วไกล ใส่ใจเรยี นรู้ เวลา 2 ชว่ั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. สาระสาคญั อินเทอร์เน็ต เป็นส่ือท่ีมีความทันสมัย มีลักษณะการใช้งานที่ง่ายและครอบคลุมทุกสาระไม่ว่าจะ เป็นด้านการศึกษา การหางานทา และการบันเทิง ทาให้บุคคลที่ใช้งานสามารถเช่ือมต่อข้อมูลอย่างไร้พรมแดน เป็นการเปิดโลกกว้างได้อยา่ งก้าวไกล ทง้ั นี้เน่อื งจากอนิ เทอร์เนต็ กม็ ีท้ังประโยชน์และโทษควบคู่กันไปขึ้นอยู่กับตัว ผู้ใช้เองว่ามีลักษณะการใช้งานอย่างไร ถ้าผู้ใช้มีลักษณะการใช้งานท่ีถูกต้องเหมาะสม สื่ออินเทอร์เน็ตก็จะมี ประโยชน์แกต่ ัวผู้ใชเ้ ป็นอยา่ งมาก 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศกึ ษา ข้อ 2 มคี ่านยิ มในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 88 3.1 อธิบายประโยชนข์ องการใชส้ ื่อออนไลน์ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม 3.2 แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับข้อดี ขอ้ เสียของการใชส้ ือ่ ออนไลน์ได้ 3.3 ใช้เทคโนโลยใี นการเรียนร้อู ย่างสรา้ งสรรค์และมีคุณธรรม 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการสืบคน้ รวบรวมข้อมูล เพื่อนามาสร้างองคค์ วามรูด้ ้วยตนเองได้อยา่ งต่อเน่ือง 3.5 ใช้เทคโนโลยีทางสรา้ งสรรคแ์ ละมวี จิ ารณญาณในการเลือกใช้อย่างเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ การท่องโลกอินเทอร์เนต็ อยา่ งสร้างสรรค์ 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน 5.1 ใบงาน ข้อดีและข้อจากัดของการใช้อินเตอร์เนต ( Internet ) 5.2 ใบงาน การใช้ Internet 6. วธิ กี ารจัดกิจกรรม 6.1 ครกู ลา่ วทกั ทาย ครอู ธิบายและสนทนาเกี่ยวกบั การใชอ้ ินเทอร์เน็ตพร้อมใหร้ ว่ มแสดงความคิดเหน็ 6.2 ใหศ้ กึ ษาใบความรู้พรอ้ มกับทาใบงานเดยี่ ว 6.3 แบ่งกลุ่มกลุ่มละ 5 คน แล้วให้แต่ละกลุ่มพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับลักษณะการใช้ อินเทอร์เน็ตในปัจจบุ ัน และขอ้ ดีขอ้ เสียของอนิ เทอร์เนต็ พรอ้ มทาใบงานกลุ่ม 6.4 แต่ละกลุ่มเสนอความคดิ เหน็ ใหเ้ พ่อื น ๆ ในหอ้ งฟังว่ากลุ่มมคี วามคิดเหน็ อยา่ งไรเกีย่ วกบั การใช้งาน อนิ เทอรเ์ นต็ ในปจั จบุ นั และมีข้อดี ข้อเสียอย่างไร 6.5 ครรู ว่ มกนั สรุปกจิ กรรมที่ได้ทา

7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 89 7.1 ใบความร้เู ร่ือง ข้อดแี ละข้อจากัดของ Internet 7.2 ใบงานกลุ่ม บอกข้อดแี ละข้อจากัดของการใช้อินเตอรเ์ นต (Internet) 7.3 ใบงาน การใช้อนิ เทอรเ์ น็ต (Internet) ในปัจจุบัน 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารประเมิน 8.1.1 สังเกตการปฏิบตั ิกจิ กรรม 8.1.2 ตรวจใบงาน 8.2 เครอ่ื งมือการประเมนิ 8.2.1 แบบบันทกึ การสังเกตการณป์ ฏบิ ัตกิ ิจกรรม 8.2.1 แบบประเมินผลใบงาน 8.3. เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สังเกตจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผา่ น มีความตง้ั ใจรว่ มกจิ กรรม ให้ความร่วมมอื กบั กลุ่มในการอภิปรายแสดงความ คดิ เหน็ และสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไมใ่ หค้ วามร่วมมือกับกลมุ่ หรือ ขาดสิง่ ใดสิง่ หนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผ่าน ทาใบงานครบและถกู ต้อง ไม่ผา่ น ขาดส่งิ ใดสงิ่ หน่ึง

ใบงานกลมุ่ บอกข้อดีและข้อจากัดของการใช้อนิ เทอร์เนต (Internet) โดยทาเปน็ mind mapping 90

ใบงาน 91 การใช้อินเตอรเ์ น็ต (Internet) ในปจั จบุ นั 1. คิดว่าในปจั จุบันคนเราใชง้ าน Internet เพ่อื อะไร ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................................ ....................................... ............................................................................................ ....................................................................................... ............................................................................................................................. ................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ........................................................................................... ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... 2. มวี ธิ ีใช้ Internet อย่างไรให้ถูกต้องเพื่อเกดิ ประโยชน์มากท่สี ุดตอ่ ตนเอง ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................................... ..................................................................................................................................................................... .............. ..................................................................................................................... .............................................................. .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ....................................... ............................................................................................ ....................................................... ................................ ชือ่ ................................................. ชั้น .................. เลขท่ี ...............

ใบความรู้ 92 ขอ้ ดีและข้อจากดั ของอนิ เทอร์เนต็ (Internet) อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีใหม่ในการส่ือสารสารสนเทศ เปรียบเสมือนชุมชนแห่งใหม่ของโลกซึ่ง รวมคนทั่วทุกมุมโลกเข้าด้วยกัน จึงทาให้มีบริการต่าง ๆ เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา ซึ่งมีท้ังข้อดีท่ีเป็นประโยชน์และ ขอ้ จากดั บางประการ ดงั น้ี ข้อดีของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตประกอบไปด้วยบริการท่ีหลากหลาย ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการมากมาย ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ค้นคว้าข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ เช่น งานวิจัย บทความในหนังสือพิมพ์ ความก้าวหน้าทาง การแพทย์ ฯลฯ ได้จากแหล่งข้อมูลท่ัวโลก เช่น ห้องสมุด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย โดยไม่ต้องเสีย คา่ ใช้จ่ายและเสียเวลาในการเดนิ ทางและสามารถสืบคน้ ได้ตลอดเวลา 24 ชว่ั โมง 2. ติดตามความเคล่ือนไหวต่าง ๆ ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากการรายงานข่าวของสานักข่าวต่างๆ อยู่ รวมท้งั อ่านบทความเรื่องราวท่ีลงในนติ ยสารหรอื วารสารต่าง ๆ ได้ฟรี โดยมที ง้ั ข้อความและภาพประกอบด้วย 3. รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องเสียเงินค่าตราไปรษณียากร ถึงแม้ จะเปน็ การสง่ ข้อความไปตา่ งประเทศก็ไม่ต้องเสยี เงินเพิ่มขน้ึ เหมือนการส่งจดหมาย การส่งไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ นี้นอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่งแฟ้มภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง พร้อมกันไปได้ดว้ ย 4. สนทนากับผู้อ่ืนที่อยู่ห่างไกลได้ทั้งในลักษณะการพิมพ์ข้อความและเสียง ร่วมกลุ่มอภิปรายหรือ กลุ่มข่าวเพ่ือแสดงความคิดเห็น หรือพูดคุยถกปัญหากับผู้ที่สนใจในเร่ืองเดียวกัน เป็นการขยายวิสัยทัศน์ในเรอ่ื งท่ี สนใจน้นั ๆ 5. ถ่ายโอนแฟ้มข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่น ๆ รวมทั้งโปรแกรมต่าง ๆ ได้จากแหล่งที่มีผู้ ใหบ้ รกิ าร 6. ตรวจดูราคาสินค้าและสั่งซ้ือสินค้ารวมทั้งบริการต่าง ๆ ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาเดิน ทางไป ห้างสรรพสนิ ค้า 7. ให้ความบันเทิงหลายรูปแบบ เช่น การฟังเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์น้ีนอกจากจะส่งข้อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่งแฟ้มภาพน่ิง ภาพเคลอ่ื นไหว และเสยี งพรอ้ มกนั ไปได้ด้วย 8. สนทนากับผู้อื่นที่อยู่ห่างไกลได้ท้ังในลักษณะการพิมพ์ข้อความและเสียง ร่วมกลุ่มอภิปรายหรือ กลุ่มข่าวเพ่ือแสดงความคิดเห็น หรือพูดคุยถกปัญหากับผู้ที่สนใจในเรื่องเดียวกัน เป็นการขยายวิสัยทัศน์ในเรอ่ื งท่ี สนใจน้ัน ๆ 9. ถ่ายโอนแฟ้มข้อความ ภาพ และเสียงจากที่อื่น ๆ รวมทั้งโปรแกรมต่าง ๆ ได้จากแหล่งที่มี ผู้ใหบ้ ริการ 10. ตรวจดูราคาสินค้าและสั่งซ้ือสินค้ารวมท้ังบริการต่าง ๆ ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไป หา้ งสรรพสินคา้ 11. ให้ความบันเทิงหลายรูปแบบ เช่น การฟังเพลง รายการวิทยุ การชมรายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ รวมไปถงึ การแขง่ ขันเกมกบั ผู้อื่นได้ทั่วโลก

12. ติดประกาศขอ้ ความท่ตี ้องการใหผ้ ู้อื่นทราบไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ 13. ใหเ้ สรีภาพในการสอ่ื สารทุกรูปแบบแกบ่ คุ คลทุกคน ข้อจากัดของอนิ เทอร์เน็ต ถงึ แมอ้ นิ เทอร์เนต็ จะกอ่ ให้เกดิ ผลดีตอ่ ผู้ใช้มากมาย แต่ก็ยงั มีขอ้ จากดั บางประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. อินเทอร์เน็ตเป็นข่ายงานขนาดใหญ่ท่ีไม่มีใครเป็นเจ้าของ ทุกคนจึงสามารถสร้างเว็บไซด์หรือติด ประกาศข้อความได้ทุกเรื่อง บางครั้งข้อความน้ันอาจจะเป็นข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการรับรอง เช่น ข้อมูล ด้านการแพทยห์ รือผลการทดลองต่าง ๆ จึงเป็นวิจารณญาณของผู้อ่านท่ีจะต้องไตรต่ รองข้อความที่อ่านนน้ั ด้วยว่า ควรจะเชอ่ื ถือได้หรอื ไม่ 2. เยาวชนอาจติดตอ่ เขา้ ไปในเวบ็ ไซด์ท่ไี ม่เปน็ ประโยชนห์ รืออาจยั่วยุอารมณ์ ทาใหเ้ ป็นอันตรายตอ่ ตนเองและสงั คม 93

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 8 หนว่ ยการจดั กิจกรร การศกึ ษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 เรอื่ ง ท่องโลกไร้พรมแดน เวลา 2 ชั่วโมง .................................................................................................................................................................. 1. สาระสาคัญ Google เปน็ เว็บทใี่ หบ้ รกิ ารเกยี่ วกบั การหาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ีเราตอ้ งการ ทง้ั ความหมาย ความเป็นมา ความสาคัญ เป็นต้น โดยผ่านโลกอนิ เตอรเ์ นต็ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านการศึกษา ขอ้ 2 มีค่านิยมในการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นาความรู้ / ทักษะ และเทคนคิ วธิ ีตา่ ง ๆ มาใช้สรา้ งสรรค์งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. สบื ค้นข้อมลู ขา่ วสารจากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ หรือจากแหลง่ อ้างองิ ข้อมูลท่หี ลากหลาย 3. สร้างองค์ความรู้ตามความสนใจไดอ้ ย่างตอ่ เน่ือง 4. สาระการเรยี นรู้ Web Google ความหมายของ Google ท่ีควรทราบ วิธีใช้งานของ Google ท่ีถูกต้องรวมถึงเทคนิค การใช้งานทค่ี วรทราบองคค์ วามรทู้ ่ไี ด้จากการสบื คน้ Google 94 5. ชนิ้ งาน / ภาระงาน (ถ้าม)ี - ใบงาน เรื่อง พี่กรู ู รู้ทกุ เรื่อง 6. วิธีการจดั กจิ กรรม 6.1 ครกู ล่าวทกั ทาย พรอ้ มกับสนทนากับว่า เวลาจะค้นหาข้อมูลจะทาอย่างไร ส่มุ ตอบประมาณ 3-5 คน 6.2 ครูสนทนากับนักเรียนว่ารู้จัก Google ไหม ใช้ Google ให้เป็นประโยชน์อย่างไรบ้าง เคยใช้ข้อมูลจาก Google ประกอบการทารายงานตา่ ง ๆ หรอื ส่งิ ท่ีเราอยากรู้เพ่ิมเตมิ หรอื ไม่ 6.3 ครสู นทนากบั ถึงความหมายของ Google คอื อะไร 6.4 ครูสนทนากับเรยี นถึงวธิ ีการใชง้ าน Google ของว่าเป็นแบบไหน ครูได้บอกเพ่ิมเติมเกี่ยวกับวธิ กี ารใช้ งาน Google ให้กับ 6.5 ครไู ดแ้ จกใบงานให้กบั เร่ือง พกี่ ูรู รทู้ กุ เร่ืองใหท้ าประมาณ 10-15 นาที 6.6 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป โดยท่ีครูให้ส่งตัวแทนออกมาพูดหน้าชั้นว่าวันนี้ได้อะไรบ้าง ครูจะคอย ช้ีแนะในส่วนท่ีขาดหายไป 7. สอื่ / อปุ กรณ์ 7.1 ใบความรู้ เรอ่ื ง Google 7.2 ใบงานเรอ่ื ง พ่กี รู ู รูท้ ุกเรอื่ ง

8. การประเมินผล 95 8.1 วธิ ีการประเมนิ 8.1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเรียน 8.1.2 ตรวจใบงานเรอ่ื งพ่ีกูรู ร้ทู ุกเร่ือง 8.2 เครอื่ งมือ 8.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียน 8.2.2 แบบตรวจใบงานเร่ืองพี่กรู ู รทู้ กุ เรื่อง 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 สงั เกตจากการเข้าร่วมกจิ กรรม ............................................................................................................................. ................................ ........................................................................................................................................................................ ... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................ ............................................................................................................................. .............................................. ................................................................................................................................................................ ........... ....................................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................................................ ............... ................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. .............................................. 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผ่าน -สามารถทาใบงานเร่ืองพ่ีกูรู รทู้ กุ เรื่องได้ถูกต้องสมบูรณ์รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป -ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมในการทากิจกรรม ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป ไมผ่ า่ น ไม่ทาในสิง่ ใดส่ิงหนง่ึ ใน 2 ขอ้

ใบความร้เู รื่อง Google 96 เว็บไซต์ Google (www.Google.com) เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการในการค้นหาข้อมูลในโลกของ อินเตอร์เน็ต โดยค้นหาข้อมูลจากข้อความ หรือตัวอักษรท่ีพิมพ์เข้าไป แล้วทาการค้นหาข้อมูล รูปภาพ หรือเว็บ เพจที่เกี่ยวข้องนามาแสดงผล เว็บไซต์ Google ไดร้ บั ความนยิ มอย่างมากในกลุ่มผู้ใช้งาน อนิ เทอรเ์ น็ตท่ตี ้องการคน้ หาข้อมูล เว็บไซต์ Google แบ่งหมวดหมขู่ องการค้นหาออกเปน็ 4 หมวดหมู่ด้วยกนั ดงั นคี้ ือ  เว็บ (Web) เป็นการค้นหาข้อมูลในรูปแบบของเว็บไซต์ต่าง ๆ ท่ัวโลก โดย การแสดงผลจะแสดงเว็บไซตท์ ม่ี คี าทเี่ ป็น Keyword อยภู่ ายเวบ็ ไซตน์ ้ัน  รปู ภาพ (Images) เป็นการค้นหารปู ภาพจากการแปลคา Keyword  กลุ่มข่าว (News) เป็นการค้นหาข้อมูลที่เป็นเน้ือหาท่ีอยู่ในข่าว ซ่ึงมีการระบุชื่อผู้เขียนข่าว, หัวข้อข่าว, วนั ทีแ่ ละเวลาท่ีโพสต์ขา่ ว  สารบญั เว็บ (Web Directory) Google มกี ารจดั ประเภทของเวบ็ ไซต์ออกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งเราสามารถ คน้ หาเว็บในเรอื่ งทตี่ ้องการตามหมวดหมู่ทม่ี อี ยู่แลว้ ได้เลย วิธกี ารใชง้ าน Google ค้นหาขอ้ มลู การค้นหาโดยทั่วไปส่วนใหญ่แล้วจะใช้คา Keyword เป็นเครื่องมือในการนาทางการค้นหาอย่าง เดียว แต่ถ้าเรารู้จักใช้เครื่องหมายบางตัวร่วมด้วย ก็จะทาให้ขอบเขตการค้นหาของ Google แคบลง ทาให้เราได้ ข้อมูลท่ีตรงกบั ความตอ้ งการมากขน้ึ เครือ่ งหมายทีส่ ามารถนามาช่วยในการค้นหาได้ มดี งั น้ี การค้นหาด้วยเครื่องหมายบวก (+) เหมาะสาหรับการค้นหาคา Keyword ที่มีลักษณะเป็น ตัวเชื่อม เพราะโดยหลกั การทางานของ Google แล้ว Google จะไมค่ น้ หาคาประเภทตวั เชอ่ื ม เชน่ at, with, on, what, when, where, how, the, to, of ถึงแม้ว่าเราจะมีการระบุเหล่านลี้ งใน Keyword ดว้ ยก็ตาม ดังนั้นถ้าเราต้องการให้ Google ทาการค้นหาคาเหล่าน้ีด้วย เน่ืองจากเป็นคาสาคัญของประโยคท่ีเราต้องการ สามารถใช้เครื่องหมาย + ช่วยได้ โดยมีเงื่อนไข ว่า ก่อนหน้าเคร่ืองหมาย + ต้องมีการเว้นวรรค 1 เคาะด้วย เช่น ถ้าต้องการค้นหาเว็บไซต์เกี่ยวกับเกมส์ท่ีมีช่ือว่า Age of Empire ถ้าเราพิมพ์ Keyword ...Age of Empire… Google จะทาการค้นหาแยกคาโดยไม่สนใจ of คืออาจจะค้นหา Age หรือ Empire แค่ตัวเดียว แต่ถ้าเราระบุว่า Age +of Empire Google จะทาการค้นหาท้งั คาวา่ Age, of และ Empire เป็นต้น ภาพตวั อยา่ งการใช้เง่ือนไข (+)

การค้นหาด้วยเคร่ืองหมายลบ ( - ) จะช่วยให้เราสามารถตัดเร่ืองท่ีเราไม่ต้องการ หรือไม่เกี่ยวข้อง ออกไปได้ เช่น ถ้าเราต้องการค้นหาเว็บไซต์ท่ีเก่ียวกับการล่องแก่ง แต่ไม่ต้องการ การล่องแก่งที่เก่ียวข้องกับ จังหวัดตาก ให้เราพิมพ์ Keyword ว่า ล่องแก่ง -ตาก (เช่นเดียวกับเครื่องหมาย + ต้องเว้นวรรคก่อนหน้า เครอื่ งหมายด้วย) Google จะทาการค้นหาเวบ็ ไซต์ท่เี กีย่ วกับการลอ่ งแก่ง แต่ไมม่ ีจังหวัดตากเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง ภาพตัวอย่างการใชเ้ ง่อื นไข ( - ) การค้นหาด้วยเคร่ืองหมายคาพูด (\"...\") เหมาะสาหรับการค้นหาคา Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลี ที่เราต้องการให้มันแสดงผลทุกคาในประโยค โดยไม่แยกคา เช่น ถ้าเราต้องการหาเว็บไซต์เกี่ยวกับ เพลงที่มีช่ือว่า If I Let You Go ให้พิมพ์ว่า \"If I Let You Go\" Google จะทาการค้นหาประโยค \"If I Let You Go\" ท้ังประโยคโดยไม่แยกคาค้นหา 97


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook