7. คิดเชิงบวก ความคิดทางลบของเราเอง เช่น คิดแต่ส่ิงที่สูญเสีย จมอยู่กับภาพอดีต มองโลกในแง่ 348 ร้าย กลัวการเปล่ียนแปลง ฯลฯ ย่อมเป็นบ่อเกิดของความเครียด ยิ่งต้องเผชิญความกดดันต่าง ๆ รอบตัว ความเครียดท่ีเกิดขึ้นนั้นก็จะกลายเป็นสาเหตุของความทุกข์ใจร่วมด้วย เมื่อสองแรงมาผสานกัน ความเครียดกับ ความคดิ ทางลบจะสะสมกลายเปน็ ความวติ กกังวล หรือนานไปกก็ ลายเป็นความทอ้ แทส้ ิ้นหวังและซึมเศร้าในทีส่ ดุ ดังน้ัน นอกจากต้องผ่อนคลายความเครียดด้วยการจัดการทางอารมณ์ การจัดการกับความคิดก็จะชว่ ย ขจัดทุกข์ภาวะระยะยาวได้ โดยวิธีการหลักก็คือปรับเปลี่ยนความคิดใหม่ให้เป็นความคิดทางบวก (positive thinking) ซึ่งวิธีน้ีจะทาให้เกิดพลังในการใช้ชีวิต โดยเฉพาะอย่างย่ิงการหาโอกาสท่ามกลางอุปสรรค (turning obstacle into opportunity) ทาให้เรามองเห็นประโยชน์ของปัญหา ตัวอย่างเช่นเม่ือเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ผู้ท่ี สูญเสียฐานะและกิจการก็จะเกิดความทุกข์ใจ แทนที่จะมองแต่ด้านท่ีตนสูญเสยี ไปแต่ปรับเปลี่ยนวิธคี ิดเสียใหมว่ ่า ยังมีสิ่งดีๆ ด้านอ่ืนเหลืออยู่ในชีวิต เช่น มีเวลาให้กับตนเองและครอบครัวเพ่ิมข้ึน บางคนมองว่าการตกงานเป็น โอกาสที่ดีท่ีจะแสวงหางานหรือาชีพใหม่ หรือคนท่ีอกหักอาจค้นพบว่าความเข้มแข็งของตัวเองที่สามารถผ่านพ้น ความเจบ็ ปวดได้หรอื ยังมีคนทร่ี ักตวั เองอยู่มากมาย การคิดในทางบวกน้ียังมีประโยชน์ในระยะยาว น่ันคือ ช่วยให้มองปัญหาเป็นบทเรียนสาหรับท่ีจะ ปรบั ปรุงสง่ิ บกพรอ่ งตอ่ ไปได้ https://www.thaihealth.or.th/Content/39228- 7%20%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%8 1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E 0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B 9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%8 4%E0%B8%B4%E0%B8%94.html# โดย Patcharee Bonkham (เป็นผคู้ น้ ขอ้ มูล) ท่ีมา : หนังสือคนไทย ไกลทุกข์ จากโครงการหนงั สือสร้างสขุ
ใบงาน “การจัดการกับอารมณ์” คาชแ้ี จง 1. นักเรียนแบ่งออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน รว่ มกนั วเิ คราะห์ขน้ั ตอน การจดั การกับอารมณ์โกรธ ของดาวยี ์ ใน 4 ประเดน็ ต่อไปน้ี 2. แตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนรายงานหนา้ ชั้นเรยี น ประเด็นคาถาม 1. สารวจอารมณ์ ดาวีย์มีความรู้สกึ อย่างไรที่ถูกครูดุด่าหน้าช้ันเรยี น 2. ถา้ นักเรยี นเป็นดาวีย์ นกั เรียนจะแสดงออกอยา่ งไร 3. ดาวีย์ควบคมุ อารมณต์ วั เองด้วยวิธใี ด้ 4. สารวจความร้สู ึก คร้งั สุดทา้ ยดาวีย์รสู้ กึ อย่างไร (ตามตาราง) การแสดงอารมณ์ ผลดี ผลเสยี 1. ถา้ ดาวยี ์แสดงอารมณ์ ......................................... ............................................... ......................................... ............................................... 349 ......................................... ............................................... ......................................... ............................................... 2. ถา้ ดาวีย์ไม่แสดงอารมณ์ ........................................... ............................................... .......................................... ............................................... .......................................... ............................................... ........................................... ............................................... .......................................... ............................................... ........................................... ...............................................
กรณีศกึ ษา “อารมณ์ของดาวีย์” สายมากแล้วดาวีย์มาถึงโรงเรียน เขาวิ่งกระหืดกระหอบหิ้วกระเป๋าว่ิงลัดสนามเข้าห้องเรียน พบวา่ คณุ ครูประจาชัน้ กาลังอบรมเพื่อน ๆ อยู่ เพ่อื น ๆ ทุกคนนง่ั เงียบและมองมาที่เขา ดาวีย์ถูกครทู ่ีกาลังมี อารมณ์โมโหที่เพ่ือน ๆ ไม่ทาเวร บวกกับเห็นดาวีย์มาโรงเรียนสาย ครูจึงทาโทษดาวยี ์ด้วยการให้ยืนที่หนา้ ช้นั เรียนแล้วดุด่าดาวีย์ด้วยถ้อยคาท่ีรุนแรง ดาวีย์อายเพื่อนจนหน้าแดงแต่ดาวีย์ก็ไม่พูดอะไร เขารู้สึกโกรธครู เหมือนกันที่ไม่ได้ถามถึงสาเหตุการมาสายและไม่เปิดโอกาสให้เขาได้ชี้แจง ดาวีย์พยายามควบคุมอารมณ์ เพราะรู้ตัวว่าตัวเองมีส่วนผิดเหมือนกันท่ีมาโรงเรียนสาย เขาคิดว่าถ้าแสดงออกหรือแก้ตัวในเวลานน้ั ครูจะย่งิ โกรธและอาจเป็นเร่อื งใหญโ่ ต ในที่สุดดาวีย์ก็สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้โดยภาวนา พุท-โธ ไว้ในใจ หลังจากที่ครู ดุด่า แล้วกใ็ ห้ดาวียก์ ลบั ไปน่งั ท่ี สายตาเพ่ือน ๆ มองตามดาวยี ์ พักกลางวันดาวีย์ได้ชวนเพ่ือนอีกคนเพ่ือไปพบครูประจาชั้น แต่ถูกเพ่ือนปฏิเสธ ดาวีย์ไม่ได้โกรธ เพ่อื นหรือตอ่ ว่าเพ่ือนเลย เขาไปพบครูทหี่ ้องพักครูแลว้ บอกสาเหตุของการมาโรงเรยี นสายทาให้เขา้ เรยี นช้าว่า เขาตอ้ งเฝ้ายายแทนแม่ซ่ึงยายไม่สามารถช่วยตัวเองได้ แม่ของดาวีย์ไปซอื้ อาหารกว่าจะกลับบา้ นกส็ าย เมอ่ื ครู ได้รู้ความจริงก็ยกโทษให้และครูก็ขอโทษดาวีย์ที่ทาโทษโดยไม่ได้ฟังเหตุผลและไม่เปิดโอกาสให้ดาวีย์ได้ชี้แจง เหตุผลก่อน ครรู ู้สึกภมู ใิ จทดี่ าวยี ์สามารถควบคมุ อารมณไ์ ด้สาเร็จและสามารถอธบิ ายให้ครเู ข้าใจได้ 350
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวท่ี 13 หน่วยการจัดกิจกรรม สว่ นตวั และสงั คม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เรือ่ ง วาจาดีชีวมี ีสขุ จานวน 2 ชว่ั โมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. สาระสาคัญ การสื่อสารเป็นกระบวนการส่งขา่ วสารข้อมลู จากผ้สู ่งข่าวสารไปยงั ผรู้ บั ข่าวสาร มีวัตถุประสงค์เพ่ือชัก จงู ใหผ้ ู้รบั ขา่ วสารมปี ฏิกรยิ าตอบสนองกลบั มา โดยคาดหวังให้เป็นไปตามทผี่ ู้สง่ ต้องการ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นส่วนตวั และสังคม ขอ้ ท่ี 4 ปรับตวั และดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถส่ือสารดว้ ยคาพูดที่สรา้ งสรรค์และเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ การสอื่ สารและความสาคญั ของการสื่อสาร 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน (ถ้ามี) ใบงาน ปากเปน็ เอก 6. วธิ กี ารจดั กิจกรรม 351 6.1 ครูสนทนาซักถามนักเรียนเก่ียวกับการพูดและการฟังวา่ ในชวี ิตประจาวันนกั เรยี นได้พูดเก่ียวกับเรื่อง อะไรบ้างทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืนและตอ่ ตนเอง นกั เรยี นยกตัวอยา่ ง ครสู มุ่ ถามนกั เรยี น 2-3 คน 6.2 นกั เรยี นแตล่ ะคนศึกษาใบความรทู้ ่ี 1 “ การพูด ” 6.3. ครูสอบถามนักเรียนเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่านว่านักเรียนมีความเห็นแตกต่าง หรือมีข้อเพ่ิมเติมจากเนื้อหา หรอื ไม่อยา่ งไร 6.4 ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน ให้ออกมาเล่าประสบการณ์ท่ีนักเรียนได้พูดคุยกับเพ่ือน และคิดว่าคาพูดใดท่ี เพ่ือนพดู แล้วทาใหน้ ักเรียนรสู้ ึกภาคภูมิใจ สามารถนาไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ 6.5 นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ช่วยกันระดมความคิดและปฏิบัติกิจกรรมลงในใบงาน “ ปากเป็นเอก” ขณะท่ีนักเรียนระดมความคิดและทากิจกรรมอยู่น้ัน ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนรายกลุ่ม และคอยใหค้ าปรกึ ษาแก่นกั เรยี น นกั เรยี นทางานสาเรจ็ ส่งงานครตู รวจตอ่ ไป 6.6 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระเกี่ยวกับ ความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของการส่ือสาร และครูสรุปเพิ่มเติมนอกเหนือจากเน้ือหาในใบความรู้เกี่ยวกับผู้พูดที่ดีและผู้ฟังท่ีดี เพื่อเพิ่มเติมความรู้ให้กับ นักเรียน 7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 7.1 ใบความรเู้ รื่อง “การพูด” 7.2 ใบงาน “ปากเปน็ เอก”
8. การประเมินผล 352 8.1. วธิ กี ารประเมิน 8.1.1. ประเมินการทาใบงาน 8.1.2 สังเกตการร่วมกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ 8.2.1 ประเมินจากการสงั เกตการปฏบิ ัติกิจกรรมของนักเรียน เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผ่าน มคี วามตง้ั ใจร่วมกิจกรรม ให้ความรว่ มมือกับกลุ่มในการวิเคราะห์ แสดง ความคิดเหน็ การนาเสนอหน้าชั้นเรยี นและส่งงานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ไม่ให้ความร่วมมอื กับกลุม่ หรอื ขาดสง่ิ ใดสงิ่ หน่ึง 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงชี้ ผ่าน ทาใบงานและแบบบนั ทกึ ส่ง ให้ความร่วมมือในการอภปิ ราย ไม่ผ่าน ไม่ทาสิง่ ใดสิ่งหน่งึ
ใบความรู้ 353 “การพูด” ประเภทของการพดู แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ 1. การพดู ระหวา่ งบุคคล ไดแ้ ก่ หน้าตายิม้ แยม้ แจม่ ใส แสดงอาการยินดีท่ีได้พบผทู้ ่ีเราทักทาย การทกั ทายปราศรัย ลกั ษณะการทักทาย ปราศรัยท่ีดีดังนี้ กล่าวคาปฏิสันถารท่ีเป็นที่ยอมรับกันในสังคม เช่น สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ แสดงกิริยาอาการ ประกอบคาปฏิสันถาร ข้อความที่ใช้ประกอบการทักทายควรเป็นเรื่องท่ีก่อให้เกิดความสบายใจ การแนะนา ตนเอง การแนะนาเป็นส่ิงจาเป็น และมีความในการดาเนินชีวิตประจาวัน บุคคลอาจแนะนาตนเองในหลาย โอกาสด้วยกัน การแนะนาตนเองมีหลักปฏิบัติดังนี้คือ ต้องบอกชื่อ นามสกุล บอกรายละเอียดกับตัวเรา และ บอกวตั ถปุ ระสงค์ในการแนะนาตวั การสนทนา หมายถึง การพูดคุยกัน พูดจาเพ่ือสื่อสารแลกเปล่ียนความรู้ ความคิด ความรู้สึก และ ประสบการณ์ การรับสารท่ีงา่ ยที่สุด คอื การสนทนา คุณสมบัติของการสนทนาท่ีดี คือหน้าตาย้ิมแย้มแจ่มใส ใช้ถ้อยคาสานวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพ คาพูด และนา้ เสยี งน่าฟงั เป็นกนั เองกับคูส่ นทนา 2. การพูดในกลุ่ม การพูดในกล่มุ เปน็ กจิ กรรมท่ีสาคัญในสมยั ปัจจุบัน ทง้ั ในชีวิตประจาวันและในการศึกษาเป็นเปิดโอกาส ให้สมาชิกในกลุ่มได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือเก่ียวกับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนแล้วมาเล่าให้ฟังกัน มีวิธีการ ดังต่อไปน้ี - เล่าถึงเน้อื หาและประเดน็ ที่สาคญั ๆ วา่ มอี ะไรบา้ ง - ภาษาท่ใี ช้ควรเป็นภาษาท่ีง่าย - นา้ เสียงชัดเจนนา่ ฟัง เนน้ เสียงในตอนท่สี าคัญ - ใชก้ ิรยิ าทา่ ทางประกอบการเลา่ เร่ืองตามความเหมาะสม - ผู้เลา่ เร่อื งควรจาเรื่องไดเ้ ป็นอย่างดี - มีการสรุปข้อคิดในตอนทา้ ย
ความหมายของการพูด 354 การพูดเป็นพฤติกรรมทางภาษาท่คี วบคู่ไปกบั การฟังเพ่ือการสื่อความหมายระหว่างมนุษย์ เปน็ การ เปล่งเสยี งออกมาเปน็ ภาษาเพ่อื ถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความรสู้ ึก หรือความตอ้ งการของผพู้ ูดไปยังผู้ฟัง โดยใช้ ถอ้ ยคา น้าเสียง และอากปั กิรยิ า จนเป็นทีเ่ ข้าใจกันได้ การพูดที่ดี คือ การใช้ถ้อยคา น้าเสียง รวมท้ังกิริยาอาการต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง ตามจรรยามารยาท ประเพณีนิยมของสังคม เพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความรู้สึก ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณท์ ่ีเป็นประโยชนใ์ หผ้ ฟู้ งั ได้รบั รู้และกอ่ ใหเ้ กดิ การตอบสนองตรงตามทีผ่ ู้พดู ต้องการ การพูดจึงเป็นการสื่อสารสองทาง คือ มีทั้งผู้พูดและผู้ฟัง การพูดเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ “ศาสตร์” หมายถึง การพูดจะต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้สอน ถ่ายทอด ปฏิบัติ ฝึกฝน เช่นเดียวกับ หลักวชิ าแขนงอนื่ ๆ ส่วน “ศิลป์” หมายถึง การพดู เป็นเร่ืองของความสามารถพิเศษเฉพาะบคุ คล นอกจากน้ีการ พูดยังจัดเป็นทักษะและวชิ าชีพอกี ประการหน่ึง ซงึ่ สามารถขยายความได้ดงั นี้ - ที่ว่าเป็นศาสตร์ เพราะเป็นวิชาที่มีหลักเกณฑ์ มีทฤษฎีให้เรียนรู้และถ่ายทอดกันได้ เช่น หลักเกณฑ์การออกเสียงจัดเป็นสัทศาสตร์ การแสดงกิริยาอาการจัดเป็นจริยศาสตร์ และการติดต่อส่ือสารจัดเป็น สงั คมศาสตร์ เป็นต้น - ที่ว่าเป็นศิลป์ เพราะต้องนาหลักเกณฑ์ไปปฏิบัติให้เกิดความไพเราะสวยงาม เป็นที่ ประทบั ใจแกผ่ ู้ฟัง การศกึ ษาแต่หลักเกณฑ์หรือทฤษฎีเพียงอย่างเดยี วจึงไม่ สามารถทจ่ี ะช่วยใหผ้ ศู้ ึกษาวิชาการพูด ไดร้ ับประโยชน์จากการพูดมากเท่าที่ควร จึงจาเปน็ ตอ้ งนาไปปฏบิ ตั ิ โดยเพมิ่ เทคนคิ และกลวธิ ตี า่ งๆ ท่ีจะทาใหผ้ ู้ฟัง เกดิ ความพอใจ - ทว่ี า่ เปน็ ทกั ษะ เพราะการพดู ต้องอาศัยการฝึกฝนใหเ้ กิดความชานาญจึงจะใช้ประโยชน์ได้ดี ยิ่งชานาญมากเท่าใดก็ยิ่งพูดดีขึ้นเท่าน้ัน ถึงแม้ว่าจะเรียนรู้ทฤษฎีและมีศิลปะในการพูดเป็นทุนเดิมอยู่ก่อนแลว้ แต่ถา้ ขาดการฝึกฝนก็จะเอาดีไม่ได้ ตรงกบั สภุ าษิตท่ีกล่าวว่า “สบิ ปากว่าไม่เท่าตาเห็น สบิ ตาเหน็ ไม่เท่ามือคลา และ สิบมอื คลาไม่เท่าทาเอง” - ที่ว่าเป็นวิชาชีพ เพราะทุกๆ อาชีพใช้ภาษาพูดเป็นส่ือในการติดต่อส่ือสาร ถ้าพูดดีเป็นศรี สง่าตนเอง ประกอบอาชีพใดๆ ก็มีแต่ความเจริญก้าวหน้า แต่ถ้าพูดไม่ดีจะมีแต่ความเสื่อมและเกิดอันตรายแก่ ตนเองเช่นกนั ดังสุภาษติ ที่กล่าววา่ “พูดดเี ปน็ ศรแี กป่ าก”
ใบงาน “ปากเป็นเอก” กลุ่มท่ี………… 1. ชื่อ………………………………นามสกุล………………………..เลขที่…………… 2. ชอ่ื ………………………………นามสกุล………………………..เลขท่ี…………… 3. ชื่อ………………………………นามสกลุ ………………………..เลขท่ี…………… 4. ช่อื ………………………………นามสกุล………………………..เลขท่ี…………… คาชแ้ี จง ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันระดมความคิดและปฎบิ ตั ิกจิ กรรมดงั น้ี คาพดู เชงิ บวก ความรู้สึกท่ีมีต่อคาพดู นั้น 1. 2. 3. 4. 355 5. คาพดู เชิงลบ ความรู้สึกท่ีมีต่อคาพูดนั้น 1. 2. 3. 4. 5.
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวที่ 14 หน่วยการจัดกิจกรรม สว่ นตัวและสงั คม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เรื่อง สุดแต่ใจจะไขวค่ ว้า จานวน 2 ช่ัวโมง ...................................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ การไดว้ างแผนการดาเนินชีวติ ทาให้เราเข้าใจตนเองมากข้ึน เพราะการรถู้ ึงความต้องการหรือคา่ นิยมของ ตนเอง จะทาให้เราหาแนวทางใหไ้ ด้มา 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นส่วนตวั และสงั คม ขอ้ ท่ี 4 ปรบั ตวั และดารงชีวิตไดอ้ ย่างมีความสุข 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 สามารถวางแผนการดาเนินชีวิตในอนาคตได้อย่างเหมาะสม 3.2 บอกแนวทางในการพัฒนาตนใหเ้ ป็นคนเกง่ และน่ารกั 4. สาระการเรยี นรู้ 356 การวางแผนดาเนินชวี ิตในอนาคต และพฒั นาตนให้เป็นคนเกง่ และน่ารัก 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน (ถา้ มี) - 6. วิธีการจัดกิจกรรม 6.1 ครสู นทนาซกั ถามนักเรียนเกย่ี วกบั การวางแผนอนาคตของตัวเองไว้อยา่ งไรบ้าง และนักเรียนจะทา อย่างไรเพ่ือใหต้ นเองประสบผลสาเรจ็ ในส่ิงทวี่ างแผนไว้ 6.2 ครูให้นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้เกีย่ วกับการวางแผนการดาเนินชีวติ ในอนาคตและการพฒั นาตนเอง 6.3 ครูแจกกระดาษให้นกั เรียนทาฉลากเพ่ือให้นักเรียนเขยี นลงไปว่า นักเรียนวางแผนชีวติ ในอนาคตไว้ อยา่ งไรโดยไมต่ ้องเขียนชื่อตัวเอง แลว้ ม้วนกระดาษฉลากนั้นส่งครู 6.4 ครใู หน้ กั เรยี นจับฉลากเมอ่ื นักเรยี นเปดิ อา่ นแล้วให้หาเพื่อนทเ่ี ป็นเจ้าของ เมอื่ เจอเจ้าของข้อความ ในกระดาษแลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกันวเิ คราะห์ขอ้ ความทเ่ี ขยี นของแตล่ ะคน เพ่ือหาแนวทางการพฒั นาตนและความ เปน็ ไปได้ ขณะทน่ี ักเรียนทากิจกรรมครสู ังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี น 6.5 ครูขออาสาสมัครนักเรียน 3-4 คนเพ่ือนาเสนอหน้าชนั้ เรียน 6.6 นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายสรปุ เกยี่ วกับความต้องการของนกั เรียนว่าสิง่ ที่นักเรยี นต้องการ จะไขว่ควา้ มานั้นบางสง่ิ ก็มีความยากลาบากกวา่ จะได้มาเป็นเจ้าของแต่บางสง่ิ บางอย่างก็ได้มาอยา่ งงา่ ยดาย และนักเรียนสรปุ ข้อคิดที่ไดร้ ับจากการจัดกิจกรรม 7. สอ่ื / อปุ กรณ์ ใบความรู้ “สุดแตใ่ จจะไขว่คว้า”
8. การประเมินผล 8.1. วธิ กี ารประเมนิ 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการรว่ มกจิ กรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑก์ ารประเมิน - ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผา่ น มีความตั้งใจรว่ มกิจกรรม ให้ความร่วมมือกับกลมุ่ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เหน็ การนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี นและส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ไมใ่ ห้ความรว่ มมือกับกลมุ่ หรือ ขาดสง่ิ ใดส่งิ หน่งึ 357
ใบความรู้ 358 การควบคุมหรอื วางแผนชีวิตของตัวเองนัน้ ถือว่าเปน็ กา้ วสาคัญอีกกา้ วหน่ึงของชีวิตเลยกว็ ่าได้ เพราะมัน คือการท่ีเราตัดสินใจในสิ่งที่ต้องการ และมองหาว่าส่ิงใดสาคัญต่อตัวเอง รวมถึงวางแผนท่ีจะทาตามเป้าหมาย ที่ตัง้ ไว้จนทาใหส้ ามารถใช้ชีวิตของตัวเองได้อยา่ งเต็มที่ การพัฒนาตน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า self-development แต่ยังมีคาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกับคาวา่ การพัฒนาตน และมักใช้แทนกันบ่อยๆ ได้แก่ การปรับปรุงตน (self-improvement) การบริหารตน (self- management) และการปรับตน (self-modification) หมายถึงการเปล่ียนแปลงตัวเองให้เหมาะสมเพื่อสนอง ความต้องการและเป้าหมายของตนเอง หรือเพ่ือให้สอดคล้องกับส่ิงท่ีสังคมคาดหวัง การพัฒนาตนมีความหมาย ดังนี้ ความหมายท่ี 1 การพัฒนาตนคือการท่ีบุคคลพยายามที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนด้วยตนเองให้ดีข้ึน กว่าเดิม เหมาะสมกว่าเดิม ทาให้สามารถดาเนินกิจกรรม แสดงพฤติกรรม เพ่ือสนองความต้องการ แรงจูงใจ หรอื เปา้ หมายทต่ี นตง้ั ไว้ ความหมายที่ 2 การพัฒนาตนคือการพัฒนาศักยภาพของตนด้วยตนเองให้ดีข้ึนทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อให้ตนเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพของสังคม เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืน ตลอดจนเพ่ือการ ดารงชวี ติ อยา่ งสนั ตสิ ุขของตน บคุ คลที่จะพัฒนาตนเองได้ จะตอ้ งเปน็ ผมู้ ่งุ มัน่ ท่จี ะเปลี่ยนแปลงหรอื ปรับปรงุ ตวั เอง โดยมีความเช่ือหรือแนวคิดพ้ืนฐานในการพัฒนาตนท่ีถูกต้อง ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาตนเอง ประสบความสาเร็จ แนวคิดที่สาคญั มดี งั น้ี 1. มนุษย์ทกุ คนมศี ักยภาพท่มี ีคณุ ค่าอยู่ในตัวเอง ทาใหส้ ามารถฝกึ หัดและพัฒนาตนไดใ้ นเกือบทุกเร่ือง 2. ไมม่ ีบุคคลใดท่ีมีความสมบูรณพ์ รอ้ มทุกดา้ น จนไมจ่ าเป็นต้องพฒั นาในเรื่องใด ๆ อีก 3. แมบ้ คุ คลจะเปน็ ผู้ท่ีรู้จักตนเองไดด้ ที สี่ ุด แต่กไ็ ม่สามารถปรับเปลี่ยนตนเองได้ในบางเร่ือง ยงั ตอ้ ง อาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการพัฒนาตน การควบคมุ ความคดิ ความรสู้ ึก และการกระทาของตนเอง มีความสาคญั เท่ากับการควบคมุ สิ่งแวดล้อมภายนอก 4. อปุ สรรคสาคญั ของการปรับปรงุ และพัฒนาตนเอง คือ การท่ีบคุ คลมีความคิดตดิ ยึดไม่ยอม ปรับเปลยี่ นวธิ ีคิด และการกระทา จึงไมย่ อมสรา้ งนิสยั ใหม่ หรอื ฝึกทักษะใหม่ ๆ ที่จาเปน็ ตอ่ ตนเอง 5. การปรับปรงุ และพัฒนาตนเองสามารถดาเนนิ การได้ทุกเวลาและอย่างต่อเน่ือง เมื่อพบปัญหา หรอื ข้อบกพรอ่ งเกย่ี วกบั ตนเอง ความสาคัญของการพัฒนาตน บคุ คลลว้ นต้องการเป็นมนุษย์ทส่ี มบรู ณ์ หรืออยา่ งน้อยก็ต้องการมีชีวติ ท่เี ป็นสขุ ในสังคม ประสบ ความสาเร็จตามเปา้ หมายและความต้องการของตนเอง พัฒนาตนเองได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขน้ึ ในสงั คม โลก การพฒั นาตนจึงมีความสาคัญดงั นี้ 1. ความสาคญั ต่อตนเอง จาแนกไดด้ ังน้ี 1.1 เป็นการเตรยี มตนให้พร้อมในด้านตา่ งๆ เพื่อรับกับสถานการณ์ท้ังหลายไดด้ ว้ ยความรสู้ กึ ที่ดีต่อตนเอง 1.2 เปน็ การปรบั ปรุงสิง่ ที่บกพร่อง และพฒั นาพฤติกรรมใหเ้ หมาะสม ขจดั คุณลกั ษณะท่ไี ม่ต้องการ ออกจากตัวเอง และเสริมสร้างคุณลกั ษณะทส่ี งั คมต้องการ 1.3 เป็นการวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสเู่ ป้าหมายในชีวิตได้อย่างม่ันใจ 1.4 ส่งเสริมความรสู้ ึกในคุณคา่ แหง่ ตนสูงให้ขนึ้ มคี วามเข้าใจตนเอง สามารถทาหน้าท่ีตามบทบาท ของตนได้เต็มศักยภาพ
2. ความสาคัญต่อบุคคลอน่ื เนือ่ งจากบคุ คลยอ่ มตอ้ งเกย่ี วขอ้ งสัมพันธ์กนั การพัฒนาในบคุ คลหนึ่งยอ่ มส่งผลต่อบุคคลอน่ื ด้วย การ ปรับปรงุ และพัฒนาตนเองจงึ เป็นการเตรยี มตนให้เป็นสิ่งแวดล้อมท่ดี ีของผูอ้ น่ื ทง้ั บุคคลในครอบครวั และเพ่ือน ในทท่ี างาน สามารถเป็นตวั อย่างหรือเป็นที่อ้างองิ ใหเ้ กิดการพฒั นาในคนอน่ื ๆ ต่อไป เปน็ ประโยชนร์ ่วมกันท้งั ชวี ติ ส่วนตัวและการทางานและการอยู่รว่ มกนั อยา่ งเปน็ สุขในชมุ ชน ทจ่ี ะสง่ ผลให้ชุมชนมีความเข้มแขง็ และ พฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง 3. ความสาคญั ต่อสังคมโดยรวม ภารกจิ ที่แต่ละหน่วยงานในสังคมต้องรบั ผิดชอบ ลว้ นต้องอาศยั ทรพั ยากรบุคคลเป็นผปู้ ฏิบัติงาน การ ทผ่ี ูป้ ฏิบตั งิ านแตล่ ะคนได้พัฒนาและปรับปรุงตนเองให้ทันต่อพัฒนาการของรูปแบบการทางานหรือเทคโนโลยี การพัฒนาเทคนิควธิ ี หรือวธิ ีคิดและทักษะใหมๆ่ ทจี่ าเปน็ ต่อการเพม่ิ ประสิทธิภาพการทางานและคุณภาพของ ผลผลิต ทาให้หน่วยงานนนั้ สามารถแข่งขันในเชิงคณุ ภาพและประสิทธิภาพกับสงั คมอ่นื ได้สงู ขึ้น ส่งผลให้เกดิ ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมได้ 359
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวที่ 15 หน่วยการจัดกจิ กรรม สว่ นตวั และสังคม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-3 เรือ่ ง ต่างตัวต่างใจ จานวน 2 ช่ัวโมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. สาระสาคญั ความแตกต่างระหว่างบุคคลนั้นเป็นความแตกต่างที่เกิดจากพันธุกรรมและส่ิงแวดล้ อมในแต่ละคนท่ีไม่ เหมือนกัน ด้วยเหตุนี้เองจึงต้องทาความรู้จักตนเองและผู้อ่ืนให้ดีและไม่คาดหวังว่าต้องให้ผู้อ่ืนมากระทาหรือเป็น อย่างท่ีเราคิดก็จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ความแตกต่างระหว่างบุคคลนั้นเป็นความแตกต่างท่ีเกิดจาก พนั ธกุ รรมและส่งิ แวดลอ้ มในแต่ละคนที่ไมเ่ หมือนกัน ดว้ ยเหตุน้ีเองจึงตอ้ งทาความร้จู กั ตนเองและผู้อน่ื ให้ดแี ละ ไม่ คาดหวังวา่ ตอ้ งใหผ้ ู้อื่นมากระทาหรือเปน็ อยา่ งทีเ่ ราคิดกจ็ ะอยูร่ ่วมกันอย่างมีความสขุ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตัวและสังคม ขอ้ 4 ปรบั ตวั และดารงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ยอมรับและเขา้ ใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล 4. สาระการเรียนรู้ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 5. ชน้ิ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 360 5.1 ใบงาน “ตา่ งตัว ตา่ งใจ” 5.2 แบบบนั ทึกกิจกรรมความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 6. วิธีการจดั กิจกรรม 6.1 ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สนทนาทบทวนกอ่ นเรียนเกย่ี วกับธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ 6.2 ครสู นทนากับนกั เรยี นเกย่ี วกับความตอ้ งการของมนุษย์แตล่ ะคน 6.3 ครูอธบิ าย ความหมายของความแตกต่างระหว่างบุคคลสาเหตทุ ี่ทามนษุ ย์มีความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล 6.4 ครูซักถามนักเรียนเกย่ี วกับความรู้เรอ่ื งความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 6.5 นกั เรยี นจบั คู่กันกบั เพื่อน อาจจะเปน็ ผหู้ ญงิ กับผ้หู ญิง หรอื ผหู้ ญิงคู่กับผชู้ าย หรอื ผชู้ ายกบั ผ้ชู ายกไ็ ด้ ตาม ความสมคั รใจ 6.6 ครแู จกใบงาน “ต่างตวั ตา่ งใจ” ให้นักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมตามใบงาน 6.7 นกั เรียนแตล่ ะคู่ปฏบิ ัติกิจกรรมตามใบงาน “ต่างตัว ต่างใจ” เมอื่ ทาเสร็จเรียบร้อยแล้วให้แลกเปล่ยี นกัน อ่านกับค่ขู องตน และส่งครูตรวจตอ่ ไป 6.8 ครูขออาสาสมัคร 2-3 คู่ ออกมานาเสนอเปน็ ตัวอยา่ งหน้าช้ันเรียน 6.9 นักเรยี นแต่ละคชู่ ่วยกันวิเคราะห์แลว้ บนั ทกึ กจิ กรรมตามแบบบนั ทึก ขณะทนี่ ักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรม ครูสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียนเป็นรายกล่มุ เมื่อนักเรียนทาสาเรจ็ แลว้ สง่ ครตู รวจต่อไป 6.10 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปขอ้ คดิ ท่ีไดจ้ ากกิจกรรมเกย่ี วกบั ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
7. สอ่ื / อปุ กรณ์ 361 7.1 ใบงาน “ตา่ งตวั ต่างใจ” 7.2 ใบความรู้ “ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล” 7.3 แบบบนั ทึกกิจกรรมความแตกต่างระหว่างบุคคล 8. การประเมนิ ผล 8.1. วิธีการประเมนิ 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการรว่ มกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ 8.2.1 ประเมินจากการสงั เกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของนกั เรยี น เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น มคี วามต้งั ใจรว่ มกิจกรรม ใหค้ วามร่วมมอื กบั กล่มุ ในการวเิ คราะห์ แสดง ความคิดเหน็ การนาเสนอหน้าชนั้ เรยี นและสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไม่ใหค้ วามรว่ มมือกับกลุ่ม หรอื ขาดสิง่ ใดสง่ิ หน่งึ 8.2.2 ประเมนิ จากใบงาน เกณฑ์ ตัวบงช้ี ผ่าน ทาใบงานและแบบบันทึกส่ง ให้ความร่วมมือในการอภิปราย ไมผ่ ่าน ไมท่ าส่งิ ใดสิ่งหนึง่
ใบความรู้ เรื่อง “ความแตกต่างระหว่างบุคคล” พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้บุคคลที่มีความแตกต่างกันปัจจัยท้ังสองน้ีมี ความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่น จนยากที่จะแยกได้ว่าอะไรมีบทบาทมากกว่ากันและมีสัดส่วนเท่าใด เพราะ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันมีบทบาทต่อบุคคลทั้งในส่งเสริมและยับย้ังพัฒนาการและพฤติกรรมต่างๆ ดังที่ วภิ าพร มาพบสขุ (2543) กลา่ วว่า พนั ธุกรรมเป็นตวั กาหนดคุณลักษณะพืน้ ฐานทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจของมนุษย์ สว่ นสิง่ แวดลอ้ มจะเป็น เคร่ืองช่วยบ่งชี้ว่าคุณลักษณะพ้ืนฐานเหล่านั้นจะมีการพัฒนาเป็นอย่างไร ดังนั้นปัจจัยท่ีสองน้ีจึงเป็นเหตุให้มนุษย์ แต่ละคนมีความแตกต่างกัน และอารี พันธ์มณี (2534) กล่าวว่า พันธุกรรมเป็นตัวกาหนดลักษณะจากบรรพบุรุษ และสิง่ แวดล้อมเปน็ ตวั กาหนดขอบเขตพฒั นาการของบุคคล เยนนิงส์ นักชีววิทยา ผู้มีชื่อเสียงคนหน่ึงกล่าวว่า ความฉลาด อุปนิสัย อารมณ์ ตลอดจนรูปร่าง หน้าตา ลักษณะต่าง ๆ ของบุคคลขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม เราไม่สามารถแยกพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ออกจากกันได้ ส่วนสภุ า มาลากลุ ณ อยธุ ยา และ ยงยุทธ วงศ์ภิรมณ์ศานต์ (2535) กล่าวว่า พนั ธุกรรมมบี ทบาท เป็นศักยภาพที่จะแสดงลกั ษณะทางกายและพฤติกรรมออกมาตามลกั ษณะของบรรพบุรุษ แต่การจะแสดงออกได้ จรงิ มากนอ้ ยเพียงใดน้นั ต้องขึ้นอยู่กับสง่ิ แวดล้อม 362
ใบงาน “ ต่างตวั ตา่ งใจ ” ช่อื -นามสกลุ ..........................................................ช้นั ...............เลขที่............. คาชแี้ จง ให้นักเรียนจับคู่กันกับเพื่อนและรว่ มกนั วิเคราะห์ความแตกตา่ งของตนเองกบั เพอื่ นว่ามีอะไรบ้าง ให้ยกตวั อย่างมา 10 ตัวอยา่ ง ชอ่ื เพอื่ น..........................................................ช่อื เล่น............................ ตัวเรา เพ่ือน 363
แบบบนั ทกึ กิจกรรม 364 ความแตกต่างระหว่างบคุ คล กลุ่มท่ี………… 1. ชอื่ ……………………นามสกลุ ………………..เลขที่……………ผู้บันทกึ 2. ชอื่ ……………………นามสกลุ ………………..เลขที่……………เพ่อื น คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นแต่ละคูบ่ นั ทึกสรุป ดังนี้ มนษุ ย์มีความแตกต่างดา้ นใดบ้าง ………………………………………………………………………………………............…………………………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............………………..…………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............…………………………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............………………..…………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............………………..…………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… สาเหตุใหญ่ทีท่ าใหบ้ ุคคลมีความแตกต่างกันได้แก่ ………………………………………………………………………………………............…………………………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............…………………………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............…………………………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............………………..…………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............………………..…………………… …………………………………………………………………………………….………….……………………………………… ………………………………………………………………………………………............………………..…………………… …………………………………………………………………………………….………….………………………………………
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวที่ 16 หนว่ ยการจดั กจิ กรรม ส่วนตัวและสังคม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3 เรือ่ ง เทคนิคการปฏิเสธ จานวน 2 ช่ัวโมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. สาระสาคญั การปฏิเสธเปน็ การส่ือสารระหว่างบคุ คลรูปแบบหน่งึ เปน็ ทกั ษะชีวิตท่ีสาคัญและจาเป็นต้องได้รบั การฝึกฝน โดยเฉพาะการปฏิเสธในเรื่องทีไ่ มเ่ หมาะสม หรือในสถานการณ์ที่เส่ยี งภัยส่ชู วี ติ ดังนน้ั จงึ ควรมี วธิ ีการปฏบิ ัตอิ ยา่ งถูกวธิ ี เพื่อให้รอดพน้ จากภยั ตา่ ง ๆ ทีต่ ามมา อีกทง้ั ยังคงรกั ษาสัมพันธภาพทด่ี ีกบั ผูอ้ ื่นดว้ ย 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตัวและสังคม ข้อท่ี 4 ปรบั ตวั และดารงชีวติ ไดอ้ ย่างมีความสุข 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ บอกแนวทางวิธีการปฏิเสธและนาไปใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสม 4. สาระการเรียนรู้ ทกั ษะการปฏิเสธ 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน (ถ้ามี) ใบงาน “การฝึกทักษะการปฏเิ สธ” 6. วิธกี ารจัดกจิ กรรม 365 6.1 ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการพูดและการฟังว่าในชีวิตประจาวันนักเรียนได้พูดเกี่ยวกับ เรื่องอะไรบ้างทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้อนื่ และต่อตนเอง นกั เรยี นยกตวั อยา่ ง ครูส่มุ ถามนกั เรยี น 2-3 คน 6.2 นักเรยี นแต่ละคนศกึ ษาใบความรู้ เรอ่ื ง “ ทกั ษะการปฏิเสธ” 6.3 ครูสอบถามนักเรียนเก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่านว่านักเรียนมีความเห็นแตกต่าง หรือมีข้อเพ่ิมเติมจากเนื้อหา หรือไมอ่ ย่างไร 6.4 นกั เรียนแบง่ เปน็ กลุม่ ๆ ละ 3-4 คน ศึกษาใบความรู้เพ่ือใหเ้ ข้าใจทกั ษะการปฏิเสธ และฝกึ การพูด ปฏิเสธกับเพื่อนในกลมุ่ ตามใบงาน 6.5 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เกีย่ วกับการใชท้ ักษะการปฏิเสธ และข้อคิดที่ได้จากการฝกึ การพดู ปฏิเสธ 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1 ใบงาน “การฝึกทกั ษะการปฏเิ สธ” 7.2 ใบความรเู้ รื่อง “ทกั ษะการปฏเิ สธ”
8. การประเมินผล 366 8.1. วิธกี ารประเมิน 8.1.1. ประเมนิ การทาใบงาน 8.1.2 สงั เกตการร่วมกิจกรรม 8.1.3 การนาเสนอผลงาน 8.2 เกณฑ์การประเมิน 8.2.1 ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติกจิ กรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผา่ น มีความตั้งใจรว่ มกิจกรรม ให้ความร่วมมอื กับกล่มุ ในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เห็น การนาเสนอหน้าชั้นเรียนและสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ไมใ่ ห้ความรว่ มมือกบั กลุ่ม หรือ ขาดสงิ่ ใดสง่ิ หน่ึง 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตวั บงช้ี ผ่าน ทาใบงานและแบบบันทกึ สง่ ให้ความรว่ มมือในการอภปิ ราย ไมผ่ ่าน ไมท่ าส่ิงใดสง่ิ หน่ึง
ใบความรู้ 367 “ ทกั ษะการปฏเิ สธ” วิธีการปฏเิ สธทจี่ ะไมท่ าให้ผู้ถกู ปฏิเสธเสียความรสู้ ึก ------------------- บางทีการมนี ้าใจช่วยเหลือคนอ่นื โดยไมป่ ฏิเสธก็เป็นสิง่ ที่ดี แต่การที่เราทาความดีเพ่ือคนอืน่ จนเราลาบาก ก็ไม่ใช่ส่ิงที่ดีสาหรับเราเหมือนกัน เรามีทางออกมาให้ด้วยการพูดเหมือนตอบรับ แต่จริง ๆ มันคือ วิธีการปฏิเสธ แล้วทาอยา่ งไรไม่ให้การปฏิเสธของเรา ทาใหผ้ ถู้ ูกปฏิเสธเสยี ความร้สู ึก ลองมาปฏบิ ตั ิตาม 6 วธิ ีการปฏเิ สธ ทจี่ ะไม่ ทาให้ผ้ถู ูกปฏิเสธเสียความร้สู กึ กนั คาร์ล อัลเลน พนักงานสินเช่ือในภาพยนตร์เร่ือง Yes Man เคยต่อต้านคากล่าวน้ี และยิ่งหลังจาก ที่หย่าขาดกับภรรยา เขาก็ย่ิงกลายเป็นคนท่ีชอบปดิ กั้นตวั เอง และคาว่า “ไม่” ก็ได้ กลายมาเป็นคาประจาตัวของ เขา จนกระทั่งวันหนึ่งมีเหตกุ ารณ์ที่ทาให้เขาต้องเปลี่ยนชีวิตจาก “คุณไม่” มาเป็น “คุณได้” แล้วหลังจากนัน้ ชวี ิต ของเขาก็เร่ิมเปิดรบั เรือ่ งดี ๆ และพลิกจากทกุ ข์เปน็ สขุ ไดใ้ นทีส่ ุด อย่างไรก็ตาม ชีวิตจริงย่อมไม่เหมือนในภาพยนตรไ์ ปเสียทั้งหมด การเป็นคนขเี้ กรงใจท่ีมักเอย่ คาว่า “ได้” หรือ “ใช่” ไปเสยี ทุกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองเล็กหรอื เรอื่ งใหญ่ อาจนาพาความทุกขม์ าสูเ่ ราได้ สารวจทางจิตวิทยาระบุว่าการตอบรับในขณะที่จิตใจของเราอยู่ในสภาวะที่อยากปฏิเสธน้ัน ส่งผลให้เกิด ภาวะเครียด ปวดหัว ปวดไหล่ ไปจนถึงขั้นนอนไม่หลับสาหรับบางคน ในขณะที่อาจารย์พอใจ พุกกะคุปต์ เคย กล่าวไว้ในบทความเรอ่ื ง “ทฤษฎีวา่ ดว้ ยความเกรงใจ” วา่ ความเกรงใจคนอื่นทาให้ ‘คนอื่นสุขมาก – ตัวเรา สุขน้อย’ ความเกรงใจตัวเองทาให้ ‘ตัวเราสุขมาก – คนอ่ืน สุขน้อย’ถ้าอยากให้ทุกคนทุกฝ่ายมี ‘ความสุขร่วมกัน’ ได้จริง ๆ จะต้องหาจุดสมดุลหรือพ้ืนท่ี ‘ทับซ้อน’ (overlap) แห่งความพอเหมาะ – พอดีตรงนี้ให้ได้” พอทราบเช่นน้ีแล้ว มาร่วมกันค้นหาพื้นท่ีทับซ้อนที่ว่าในแบบ ที่ไมท่ าให้บัวชา้ นา้ ขุ่นกันดกี วา่
6 เทคนิคเพื่อการปฏิเสธอย่างฉลาด 368 1) ตอบปฏิเสธตรง ๆ โดยเนน้ คาวา่ “ไม”่ 2 ครัง้ เพ่ือสื่อวา่ คณุ ทาไม่ไดจ้ ริง ๆ พร้อมเอย่ “ขอบคุณ” ปิดท้าย ตวั อย่าง : “ไมไ่ ดค้ รับผมไปไม่ได้จริงๆ ขอบคุณท่ชี วน ” 2) สะทอ้ นถึงคาว่า “ไม”่ กอ่ นปฏเิ สธ เพ่ือใหอ้ กี ฝา่ ยเหน็ วา่ คณุ เข้าใจในส่ิงท่ีตนชวน ตอ้ งการเพียงแต่ ทาให้ไม่ได้จรงิ ๆ ตวั อยา่ ง : “ผมรดู้ ีวา่ คณุ แค่ขอข้อมูลใช้เวลาไม่นาน แตผ่ มต้องรบี ไปจริง ๆ” 3) บอกเหตุผลทท่ี าให้ต้องปฏิเสธเพ่อื ให้ได้ผลดี เหตผุ ลท่ใี ชต้ ้องสั้นกระชับชัดเจน เพื่อให้ไม่ดเู ปน็ ข้ออ้าง ตวั อยา่ ง : “ฉนั คงไปกบั คุณไมไ่ ด้ เพราะมีงานทตี่ ้องทาให้เสร็จภายในคนื นี้” 4) ปฏิเสธพร้อมต่อรอง หากทาในคร้งั นี้ไม่ได้ลองย่นื ข้อเสนอไปว่าเปน็ คราวหน้าได้หรือไม่ ตัวอย่าง : “ผมไปเล้ยี งรุน่ ไม่ได้จริง ๆ เดีย๋ ววันหลงั ค่อยไปนอกรอบกันนะ” 5) ปฏิเสธแลว้ ถามกลบั หลังจากปฏิเสธแล้ว ให้ถามกลับไปทันที เพอื่ สอื่ ถึงความใสใ่ จและไม่ดูดายในเรื่อง น้ันๆ ตวั อย่าง : “ ครั้งน้ีฉันคงไปเท่ียวดว้ ยไมไ่ ดจ้ ริง ๆ วา่ แต่เราจะมโี อกาสได้เจอกนั อกี คร้ังเม่ือไหรเ่ นี่ย” 6) ทวนคาปฎิเสธ เทคนิคข้อนแ้ี สดงให้เหน็ ถึงความใส่ใจของเรา และสอ่ื ว่าทตี่ ้องปฏิเสธเพราะมเี หตจุ าเป็น จรงิ ๆ ตวั อย่าง : “ เราอยากไปด้วยแต่ไปไม่ได้ ถา้ ไปไดว้ นั นกี้ ะจะเลี้ยงเธอซะหน่อย น่าเสยี ดายทไ่ี ปไม่ได้จริง ๆ” การรู้จักให้เป็นเรื่องท่ีดี แต่การรู้จักปฏิเสธอย่างเหมาะสมก็เป็นเรื่องจาเป็นสาหรับชวี ิตเช่นเดียวกัน ก่อน ตอบรับหรือปฏิเสธคร้ังต่อไป ลองพิจารณาถึงข้อดี – ข้อเสียให้ถ้วนถี่ก่อนตัดสินใจ เพื่อการใช้ชีวิตร่วมกันอย่างมี ความสขุ ไม่ทกุ ข์ท้งั เขาและเรา เรอ่ื ง นทิ าน สรรพสริ ิ ที่มา : นติ ยสาร Secret ปี 2555 ฉบบั ท่ี 102 หน้า 66-67 คอลมั น์ : Life management
ช่อื -สกุลนกั เรยี น..............................................................................................ชั้น ม.3/...........เลขที่........... ใบงาน เรอื่ ง การฝกึ ทกั ษะการปฏิเสธ ให้นักเรยี นฝึกทกั ษะปฏิเสธ และให้เพ่ือนประเมินตามแบบประเมนิ และให้ขอ้ เสนอแนะ สถานการณท์ ีฝ่ กึ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการประเมนิ ทักษะการปฏิเสธ พฤติกรรมการปฏิเสธ ระดับคุณภาพ ขอ้ เสนอแนะ ดี พอใช้ ปรับปรุง 1. การพูดปฏิเสธใหช้ ัดเจน 2. การบอกความรู้สกึ (ไม่ใช่เหตผุ ล) 369 3. การถามความเหน็ การยืนยันการปฏิเสธเมอ่ื ถกู เซา้ ซี้ พฤติกรรมการปฏเิ สธ ระดบั คุณภาพ ขอ้ เสนอแนะ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 1. การหาทางออก (ทางใดทางหนึง่ ต่อไปน)้ี - ปฏิเสธซ้า - ต่อรอง - ผัดผ่อน 2. การออกจากสถานการณ์ ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม ………………...................................…………………………………………………………………………………………………… ………………...................................…………………………………………………………………………………………………… ………………...................................…………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ผ้ปู ระเมนิ ................................................................
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวที่ 17 หนว่ ยการจดั กิจกรรม ส่วนตัวและสงั คม ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1-3 เรอ่ื ง เราจะดแู ลกันและกนั จานวน 2 ชัว่ โมง ………………………..………………………………………………………………………………………………………………..………………… 1. สาระสาคัญ 370 คนเราทุกคนมีความแตกต่างกัน ท้ังด้านสภาพร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา นักเรียนบางคน อาจมีความแตกต่างจากเพื่อนคนอื่นหรือมีความบกพร่องในด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งจะมีผลกระทบในการอยู่ร่วม กับผอู้ น่ื หากทกุ คนเขา้ ใจและยอมรบั ในความแตกต่างจะสามารถอยูร่ ่วมกนั ได้อย่างมีความสุข 2. สมรรถนะ : ดา้ นสว่ นตวั และสงั คม ข้อท่ี 2 รักและเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผู้อื่น ขอ้ ที่ 4 ปรบั ตวั และดารงชวี ติ ไดอ้ ย่างมีความสุข 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความสาคญั ของความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และวิธีการปฏบิ ตั ิตนในการเป็นเพอื่ นทด่ี ี 4. สาระการเรยี นรู้ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล การยอมรบั ผอู้ ืน่ และการดแู ลชว่ ยเหลือเพื่อน 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 5.1 ใบงานท่ี 1 ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและการยอมรบั ผอู้ ่นื 5.2 ใบงานท่ี 2 การดูแลชว่ ยเหลอื เพื่อน 6. วิธีการจดั กจิ กรรม 6.1 ครูนากระดุมที่มีสี แบบ และขนาดแตกต่างกันมาให้นักเรียนดู และสอบถามนักเรียนว่า กระดุมมี อะไรที่เหมือนหรือแตกต่างกันบ้าง ความเหมือนหรือความต่างมีผลอย่างไร เปรียบเทียบกับคนที่มีความแตกต่าง กันในด้านต่าง ๆ เช่น รูปร่างหน้าตา ฐานะ ความรู้ ความสามารถ บางคนมีความพร้อมในทุกด้าน แต่บางคน อาจจะมคี วามบกพร่องในบางอยา่ ง แตท่ ุกคนสามารถอยูร่ ว่ มกนั ได้ หากเข้าใจและยอมรบั ในความแตกตา่ งนัน้ 6.2 ครูยกตัวอย่างผู้ท่ีมคี วามบกพร่องทางดา้ นร่างกาย หรอื ด้านสตปิ ัญญา แตส่ ามารถสร้างช่ือเสยี งให้กับ ตนเองและประเทศชาตไิ ด้ เชน่ นกั กฬี าคนพิการ เปน็ ตน้ 6.3 ครูสนทนาซักถามนักเรียนว่า หากนักเรียนมีเพื่อนท่ีมีความบกพร่องในด้านใดด้านหนึ่ง เช่น ด้าน ร่างกายหรือด้านการเรียนรู้ นักเรียนจะดูแลและปฏิบัติตนกับเขาเหล่านั้นอย่างไร สุ่มถามนักเรียน 2-3 คนเขียน คาตอบของนักเรยี นบนกระดาน 6.4 นักเรียนแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน ศึกษาใบความรทู้ ี่ 1 เรื่อง “ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล” และใบ ความรู้ ท่ี 2 เรือ่ ง “การยอมรับผ้อู ื่น” ขณะนักเรยี นทากิจกรรม ครสู ังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม 6.5 นักเรียนแต่ละกลุ่ม ทาใบงานที่ 1 “ความแตกต่างระหว่างบุคคลและการยอมรับผู้อ่ืน” สมาชิก ร่วมกันระดมความคิด อภิปรายสรุปตอบคาถามในใบงานและมอบหมายตัวแทนนาเสนอผลการอภิปรายหน้า ชั้นเรียน
6.6 นกั เรียนเข้ากลุม่ เดมิ ศึกษาใบความรู้ท่ี 3 “ลกั ษณะของเพ่ือนที่ดี” สมาชิกรว่ มกันสรุปและตอคาถาม 371 ในใบงานท่ี 2 “การดูแลช่วยเหลือเพื่อน” มอบหมายตัวแทนนาเสนอหน้าช้ันเรียน ครูสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนแต่ละกล่มุ 6.7 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปว่า การเข้าใจและยอมรับในความแตกต่างของบุคคลมีความ จาเปน็ ในการอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ่นื ในสงั คม การแสดงความเปน็ เพอื่ นทีด่ ี การดูแลชว่ ยเหลือเพอ่ื น ทาใหเ้ พือ่ นมี กาลังใจ และเป็นมิตรภาพท่ีย่ังยืน ดังน้ัน จึงควรนาข้อคิดท่ีได้รับจากการจัดกิจกรรมไปใช้ในชีวิตประจาวันและ ดูแลเพ่ือน ให้เหมาะสม หมายเหตุ : หากมีนักเรียนในห้องเป็นผู้ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษหรือมีความบกพร่องในด้านใด ด้านหนึง่ ครูจดั ใหม้ เี พือ่ นช่วยดูแลเป็นพิเศษในเรอ่ื งการเรยี นและการรว่ มกิจกรรม (บัดดี้ ) 7. สอ่ื / อุปกรณ์ 7.1 ใบความรู้ที่ 1 “ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล” 7.2 ใบความรู้ท่ี 2 “การยอมรับผูอ้ ่นื ” 7.3 ใบความรู้ท่ี 3 “ลกั ษณะของเพ่อื นทด่ี ี” 7.4 ใบงานที่ 1 “ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและการยอมรบั ผอู้ ่ืน” 7.5 ใบงานท่ี 2 “การดูแลช่วยเหลอื เพื่อน” 7.6 กระดมุ ท่ีมีขนาด แบบ และสีทแี่ ตกต่างกนั 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารประเมิน 8.1.1 ประเมินผลใบงาน 8.1.2 สังเกตพฤติกรรมนกั เรียนรายกลมุ่ 8.1.3 สังเกตพฤติกรรมนกั เรยี นรายบุคคล 8.2 เกณฑก์ ารประเมิน 8.2.1 ประเมนิ จากการสงั เกตการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของนักเรยี น เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน มีความตั้งใจร่วมกิจกรรม ใหค้ วามร่วมมือกับกลุ่มในการวิเคราะห์ แสดง ความคดิ เห็น การนาเสนอหน้าชัน้ เรยี นและสง่ งานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ไมใ่ ห้ความร่วมมอื กบั กลุม่ หรอื ขาดส่ิงใดสิ่งหนึ่ง 8.2.2 ประเมินจากใบงาน เกณฑ์ ตัวบงช้ี ผา่ น ทาใบงานและแบบบนั ทกึ สง่ ให้ความรว่ มมือในการอภปิ ราย ไม่ผา่ น ไมท่ าส่ิงใดสิ่งหน่งึ
ใบความรู้ท่ี 1 372 “ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล” ทรรศนะของบคุ คลในสังคมนัน้ ยอ่ มมคี วามแตกตา่ งกนั ไดห้ ลายแนวทาง ทัง้ นีเ้ พราะบคุ คลมคี วามแตกต่าง กันใน 2 ประการ คือ 1. คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย์ หมายถึง มนุษย์ทุกคนมีคุณสมบัติที่ติดตัวมาแต่กาเนิดต่างกัน ท้ัง ๆ ทเ่ี ปน็ พีน่ ้องกันก็ตาม คุณสมบัตขิ อ้ นี้ ไดแ้ ก่ สตปิ ัญญา ความฉลาดไหวพรบิ ความถนัด ความมเี ชาวน์ปฏิภาณ 2. อิทธิพลของส่ิงแวดล้อม หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ มนุษย์ย่อมมีส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างกัน สิ่งแวดล้อมในเมือง ในชนบท แม่น้า ทะเล ภูเขา ระบบการศึกษาสิ่งเหล่าน้ีทาให้มนุษย์มีทรรศนะท่ีแตกต่างกัน ความแตกต่างของบุคคลท้ัง 2 ประการ คือ คุณสมบัติตามธรรมชาติของบุคคล ย่อมต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมมา ส่งเสริม สนับสนุน ให้ทุกคนในสังคมได้มีทรรศนะที่ตรงกัน หรือคล้ายคลึงกัน ดังนั้นส่ิงแวดล้อมมีอิทธิพลต่อ มนษุ ย์ ดังนี้ 2.1 ความรูแ้ ละประสบการณ์ บคุ คลทีม่ ีความรแู้ ละประสบการณม์ าก ยอ่ มสามารถแสดงทรรศนะได้อย่างถูกต้อง และกว้างขวางมากกวา่ 2.2 ความเช่อื ความเชอื่ ของบุคคลมาจากพ้ืนฐานของครอบครัว การอบรม และสงิ่ แวดล้อมที่อย่รู อบตัว ความเชื่อ ท่แี ตกตา่ งกันยอ่ มจะทาใหก้ ารแสดงทรรศนะแตกตา่ งกนั ไปดว้ ย 2.3 ค่านิยม หมายถึง ความรู้สึกท่ีมีอยู่ใจจิตใจของแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่ม ต่อการกระทาสิ่งหน่ึงสิ่งใดอย่างมี คุณค่า หรือมีความสาคัญ ค่านิยมเป็นเคร่ืองกาหนดพฤติกรรมของกลุ่มหรอื ของบุคคล และมีอิทธิพลต่อการแสดง ทรรศนะของบคุ คลดว้ ย ท่ีมา : http://gotoknow.org/blog/janasak/34439
ใบความรู้ที่ 2 “การยอมรบั ผู้อนื่ ” เทคนคิ อยา่ งหน่งึ ทีจ่ ะชว่ ยกระตนุ้ ให้ผอู้ นื่ เปดิ เผยตนเองและเสรมิ สรา้ งความเป็นกันเอง ได้มากขนึ้ ทาใหง้ านสาเร็จได้ตามเปา้ หมาย คอื การยอมรับผู้อื่นซึง่ อาจจะแสดงไดด้ ังน้ี ฟงั อย่างเขา้ ใจ ถ้าผู้ฟังมิไดต้ ัง้ ใจฟงั จะไม่สามารถสนองตอบในลักษณะท่เี ปน็ การยอมรบั ได้ การตั้งใจฟังและการรบั ฟัง นอกจากจะเปน็ การแสดงออกถึงความสนใจ และความจริงใจท่มี ีตอ่ เรื่องนน้ั ๆ แลว้ จะทาใหผ้ ู้พดู รสู้ ึกวางใจผู้ฟังมากย่งิ ขึน้ ดว้ ย แสดงความรสู้ กึ ชนื่ ชอบ คนเรามกั ชอบใหค้ นอนื่ นยิ มชมชอบตน และเห็นตนเป็นคนสาคญั และมคี ุณคา่ การแสดงความนยิ มชมชอบอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ผ้อู ่นื เกดิ ความรู้สกึ พงึ พอใจ อน่ึงการยอมรบั ท่ีไมจ่ ากัดขอบเขต พร่าเพร่ือและไม่มคี วามหมายจะเป็นการยอมรบั ท่ีไมเ่ ปน็ ผลดี ในการดารงชวี ิตอยรู่ ่วมกันตง้ั แตใ่ นวงแคบท่ีสดุ กระทั่งขยายวงกวา้ งออกไปสู่สงั คมเพ่ือนฝงู ถ้าสมาชกิ ในกลมุ่ น้นั ๆ ใหก้ ารยอมรบั เป็นส่วนมาก ความสงบสขุ ความเข้าใจกนั และความ เหน็ ใจกันและกันกจ็ ะตามมา 373
ใบความรู้ท่ี 3 “ลักษณะของเพื่อนท่ดี ี” 1. ไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน คนที่มีนิสัยชอบทาให้คนอ่ืนเดือดร้อน เช่น ชอบหาเรื่องทะเลาะวิวาท ข้องเก่ียวกับ 374 อบายมขุ ที่ผดิ กฎหมาย ฯลฯ คนเหล่านจ้ี ดั อยใู่ นกลุ่มคนพาลทีจ่ ะนามาแต่ความเดือดเน้ือรอ้ นใจ 2. รู้จักทามาหากิน พ่ึงพาตนเอง บุคคลที่ขยันขันแข็ง สู้การสู้งาน ทามาหากิน เลี้ยงชีพด้วยการพ่ึงพาตนเอง เป็นบุคคลที่น่ายกย่อง ไม่สาคัญว่างานทเี่ ขาทาจะมตี าแหนง่ ใหญ่โตหรอื ไม่ เพยี งแคเ่ ป็นงานสจุ รติ ก็น่าช่ืนชมแล้ว 3. พัฒนาตนเองอยู่เสมอ คนท่ีรู้จักเพ่ิมความสามารถให้ตนเอง เป็นบุคคลท่ีควรคบหาสมาคม เพราะจะทาให้เรา กา้ วหนา้ ตามไปดว้ ย 4. รับฟังความคิดเห็น เพื่อนที่ดีย่อมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกันได้ แม้ว่าบางคร้ังความเห็นอาจจะไม่ตรงกัน ก็สามารถท่ีจะแลกเปลี่ยนความคิดกันด้วยหลักเหตุและผล ถ้าติดตามข่าวจะเห็นว่าเพื่อนบางคนมีความเห็นทาง การเมอื งตา่ งกนั กฆ็ า่ กนั ตายเสยี แลว้ แบบนเ้ี ป็นมิตรในระดบั ทีเ่ ลวมาก 5. ชว่ ยเหลือในยามเดอื ดร้อน เพ่อื นทเ่ี ป็นมิตรแทส้ ามารถพิสจู น์กันไดใ้ นยามลาบาก แตท่ ้ังน้ตี อ้ งดดู ว้ ยวา่ ส่ิงที่ เรา ต้องการให้เพ่ือนช่วยเหลือเกินกาลังของเขาหรือไม่ บางคนไปยืมเงินเพ่ือนสนิท พอเพื่อนไม่ให้ก็ไปกล่าวหาว่าเขา ไม่ใชเ่ พ่อื น โดยไมพ่ จิ ารณาเลยวา่ เพอื่ นคนน้นั มภี าระตอ้ งรบั ผดิ ชอบอยู่มากมาย 6. มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ลักษณะประการหนึ่งของเพ่ือนที่ดี คือ ต้องน่าคบหา อยู่ใกล้แล้วสบายใจ สามารถพูดคุย ปรกึ ษาปญั หาได้ 7. ให้คาแนะนา ชักจูงไปในทางที่ถูกต้อง หากเพ่ือนของคุณแนะนาให้คุณเข้าสู่หนทางของสิ่งไม่ดี ไม่ว่าจะเป็น งานผิดกฎหมาย ยาเสพตดิ แสดงว่าเขาไมไ่ ดป้ รารถนาดตี อ่ คณุ เลย http://www.healthcarethai.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%9 3%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E 0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B 8%B5/
ใบงานท่ี 1 “ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลและการยอมรบั ผู้อืน่ ” ชอ่ื กลุ่ม ........................................................................................ สมาชกิ กลุ่มประกอบด้วย 1. …………………………………………….. 4. ……………………………………… 2. ……………………………………………... 5. ……………………………………… 3. ……………………………………………... 6. ……………………………………… คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง ความแตกต่างระหว่างบุคคลและการยอมรับผู้อ่ืน อภิปรายและสรุปตามหัวขอ้ ต่อไปนี้ 1. บคุ คลมคี วามแตกต่างกันในดา้ นใด..................................................................................................... ............................................................................................ .................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................ ..................................................... ............... ............................................................................................ .................................................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................ .................................................................... 375 2. ยกตวั อย่างพฤติกรรมทเี่ ป็นการแสดงการยอมรบั ผอู้ นื่ ................................................................................................... ............................................................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................ .................................................................... ................................................................................................... ............................................................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................ ............................................................... ..... 3. การยอมรับในความแตกต่างระหวา่ งบุคคลมีผลดตี ่อการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื อย่างไร .......................................................................................................... ..................................................... ..................................................................................................................................... .......................... .............................................................................................. ................................................................. ................................................................................................ ............................................................... ..................................................................................................................................... .......................... .............................................................................................. ................................................................. ................................................................................................ ...............................................................
ใบงานที่ 2 “การดูแลชว่ ยเหลือเพื่อน” ช่ือกลุ่ม ........................................................................................ สมาชิกกลุ่มประกอบด้วย 1. …………………………………………….. 4. ……………………………………… 2. ……………………………………………... 5. ……………………………………… 3. ……………………………………………... 6. ……………………………………… คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ศึกษาใบความรู้ เรอื่ ง “ลักษณะของเพอื่ นท่ีดี” อภปิ รายและสรุปตามหวั ข้อตอ่ ไปนี้ 1. การมเี พื่อนมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ................................................. .............................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... 2. แนวทางในการดูแลชว่ ยเหลือเพ่ือน 376 ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... 3. ข้อดีของการดูแลชว่ ยเหลอื เพ่ือน ............................................................................................................................. ...................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................................................. ...................................... .................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................
บรรณานกุ รม ธรี ะ ชยั ยุทธยรรยงและวราภรณ์ หงษด์ ิลกกลุ . กจิ กรรมแนะแนว ม. 1. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน,์ 2548. นริ มติ ชาวระนอง. กลมุ่ สัมพนั ธใ์ นการจัดกจิ กรรมแนะแนวช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ต้นอ้อ 1999 จากดั , 2542. http://.gotoknow.org/blog/janasak/34439 http://www.healthcarethai.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%9 3%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E 0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B 8%B5/ 377
คณะทางาน แผนพฒั นาการแนะแนวและแนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ********************************* ที่ปรกึ ษา วชิ ยานวุ ัติ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 1. นายอานาจ รัตนวิจติ ร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 2. นายพีระ ชิตยวงษ์ ขา้ ราชการบานาญ 3. นายสเุ ทพ ยอดเพชร ข้าราชการบานาญ 4. นายบญุ รกั ษ์ งามบรรจง ข้าราชการบานาญ 5. นางสุกญั ญา อภินนั ทาภรณ์ ขา้ ราชการบานาญ 6. นางสาวนจิ สดุ า คณะทางาน ใจแกว้ ข้าราชการบานาญ 378 1. นางสาววไิ ลวรรณ อุสาหะ ข้าราชการบานาญ 2. นายวีระ ชสู กุล ขา้ ราชการบานาญ 3. นางเนาวรตั น์ สมานมติ ร ข้าราชการบานาญ 4. นางสาวพชั นีพร มหาวรรณ ข้าราชการบานาญ 5. นางสาวณฐั กานต์ คเชนทรเ์ ดชา ขา้ ราชการบานาญ 6. นางธญั สมร มีแกว้ เจรญิ หัวหน้าฝา่ ยการตลาด วทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ยาม 7. นายอนุชา ศรเี หรา อาจารย์ประจาฝา่ ยการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยสี ยาม 8. นายสุนทร ณ พิกุล อาจารยค์ ณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เชียงราย 9. นายประภาส ถุงแก้ว อาจารยม์ หาวิทยาลยั ราชภฎั บรุ รี มั ย์ 10. นางสาวพัชรี บญุ มาโฮม อาจารย์มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครปฐม 11. นายเจษฎา นวชีวนิ มยั อาจารยม์ หาวิทยาลยั ราชภฎั นครปฐม 12. นายนววชิ มะรัตน์ ผู้อานวยการกลมุ่ นโยบายและแผน สพป.หนองบวั ลาภู เขต 1 13. ว่าทรี่ อ้ ยโทพรี ะพนั ธ์ ศรสี ังข์ ผู้อานวยการกลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผล สพม.เขต 2 14. นายวรี ะศักด์ิ ชนิ ภักดี ผอู้ านวยการกล่มุ นโยบายและแผน สพม.เขต 20 15. นางพรพมิ ล อาจจุฬา ผอู้ านวยการโรงเรยี นเสนสริ ิอนสุ รณ์ สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1 16. นางจวงจันทน์ พนมพร ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดดอนยอ สพป.นครนายก 17. นางสาวรตนพร กุลบตุ รดี ผู้อานวยการโรงเรยี นวัดเขาวนาพทุ ธาราม สพป.ชลบรุ ี เขต 2 18. นางกันธอร พพิ ัฒนเ์ สถียรกลุ 19. นายศริ โิ ชค สีลาดเลา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหว้ ยก้าง”รัฐประชาสงเคราะห์” สพป.เชียงราย เขต 4 20. นายปฐมสขุ ปล้มื อารมณ์ 21. นายบญั ชา สิงหส์ ุวรรณ ผู้อานวยการโรงเรยี นเมืองยาง “ครุ รุ าษฎรอ์ ุทศิ ” สพป.นครราชสมี า เขต 7 22. นางสายชล ฐาวริ ัตน์ ผ้อู านวยการโรงเรยี นวัดขนอนบา้ นกรด สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต 2 23. นายจริ กร วงคเ์ รอื ง ผู้อานวยการโรงเรยี นเทศบาลบ้านศรีฐาน เทศบาลนครขอนแก่น 24. นายกฤศ ชนชอบธรรม รองผอู้ านวยการโรงเรยี นบญุ เหลือวทิ ยานุสรณ์ สพม.เขต 31 25. นางชเนตตี พันธว์ ัน รองผอู้ านวยการโรงเรยี นแม่จันวทิ ยาคม สพม.เขต 36 26. นางสาวปลดิ า ดอนวจิ ารณข์ จร ศึกษานิเทศก์ สพป.ตรงั เขต 1 27. นายจีรัฐติกลุ พร้งิ เพราะ ศึกษานิเทศก์ สพป.บุรรี มั ย์ เขต 1 28. นางสาวศิรวิ ัฒนาพร ศกึ ษานิเทศก์ สพม.เขต 25 ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.เขต 32
29. นางธนวรรณพร สังข์พชิ ัย ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.เขต 9 379 30. นางสาวจารุนนั ต์ หมูอ่ าพนั ธ์ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.กาแพงเพชร เขต 1 31. นางดรณุ จติ มว่ งมงคล ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ระยอง เขต 1 32. นางพัชรา แย้มสาราญ ศึกษานเิ ทศก์ ศกึ ษาธิการจังหวดั เพชรบรุ ี 33. นางกชวมิ ล ไชยะโสดา ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณุโลก เขต 1 34. นางพวงพร นลิ นยิ ม ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.เชียงราย เขต 1 35. นางอภศิ ญารัศมิ์ ประราศี ศึกษานเิ ทศก์ สพม.เขต 27 36. นางรดีวันต์ ปน่ิ แก้วเกียรติ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 37. นางยินดี คงทน ศกึ ษานิเทศก์ สพม.เขต 12 38. นางเพญ็ ประภา ซยุ กระเดือ่ ง ครู โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน 2 (สมาน สเุ มโธ) สพม.เขต 25 39. นางเพญ็ ศรี ทองนพเก้า ครู โรงเรียนบา้ นซบั สนนุ่ สพป.สระบุรี เขต 2 40. นายสุทธิสันต์ ลาโพงเหนอื ครู โรงเรยี นบ้านโป่งแดง สพป.เชยี งราย เขต 2 41. นางสุทิศา จารุเดชา ครู โรงเรียนบา้ นยาวี-หว้ ยโป่ง สพป.เพชรบูรณ์ เขต 1 42. นางสาวนิยม อยู่รมั ย์ ครู โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 55 จงั หวดั ตาก 43. นางธญั ยธรณ์ ธารงกลุ ไพบลู ย์ ครู โรงเรยี นโสตศึกษา สพป.นครปฐม 44. นางสาวอุทุมพร เมืองใจ ครู โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนอื ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ จังหวดั เชยี งใหม่ 45. นางรชั ฎาพร ศกั ด์เิ ศรณี ครู โรงเรียนสนั ทรายหลวง สพป.เชียงใหม่ เขต 2 46. นายศักดนิ าณนั พ์ อัครเสนากลุ ครู โรงเรียนสตรีวทิ ยา 2 สพม.เขต 2 47. นางเครือวลั ย์ พนมหิรญั ครู โรงเรยี นนครขอนแกน่ สพม.เขต 25 48. นายอภเิ ชษฐ์ จนั ทนา ครู โรงเรียนทงุ่ โพธ์ิทะเลพิทยา สพม.เขต 41 49. นางพัชรนิ ทร์ รตั นวงษ์ ครู โรงเรยี นวดั จนั ทร์ตะวันออก สพป.พิษณโุ ลก เขต 1 50. นางรัชนี เต็มแก้ว ครู โรงเรยี นชุมชนวัดไทรนอ้ ย สพป.นนทบุรี เขต 2 51. นางจรญิ ญา ปยิ ะมิตร ครู โรงเรยี นชมุ ชน 8 ราษฎร์อุทศิ พิทยา สพป.พษิ ณุโลก เขต 3 52. นางกาญจนา บวั คา ครู โรงเรียนนารรี ตั น์ จังหวดั แพร่ สพม.เขต 37 53. นางวไิ ลลักษณ์ ชสู กุล ครู โรงเรยี นแก่นนครวทิ ยาลัย สพม.เขต 25 54. นางเพลินพิศ ศรีสวุ รรณ ครู โรงเรียนสรรพวทิ ยาคม สพม.เขต 38 55. นางพชั รินทร์ กองสนิ แกว้ ครู โรงเรียนศรฐี านกระจายศกึ ษา สพม.เขต 28 56. นางกรรณานชุ มูลคา ครู โรงเรียนนวมินทราชูทิศ พายัพ สพม.เขต 34 57. นายภัทรวรี ์ คณุ โท ครู โรงเรียนเบตง “วรี ะราษฎร์ประสาน” สพม.เขต 15 58. นางกาญจนา โทขนั ธ์ ครู โรงเรียนศลิ าทองพทิ ยาสรรค์ สพม.เขต 28 59. นางสาวสวติ ตา ปัจจัย ครู โรงเรยี นสองห้องพิทยาคม สพม.เขต 32 60. นางจริ าพรรณ เพียนอก ครู โรงเรียนบญุ เหลือวทิ ยานสุ รณ์ สพม.เขต 31 61. นางทวีสิน กฤษสุวรรณ์ ครู โรงเรียนบญุ เหลอื วิทยานสุ รณ์ สพม.เขต 31 62. นางสาวภณชิ ชา อุดมเลศิ ปรีชา ครู โรงเรยี นชลราษฎรอารุง สพม.เขต 18 63. นางสาวรงุ่ ทพิ ย์ เสาสูง ครู โรงเรียนสริ ินธร สพม.เขต 33 64. นางจรสั พักตร์ ชพู ิพฒั น์ นักวชิ าการศึกษา สพป.นครปฐม เขต 1 65. นางลักษณา ต้ังจรูญชัย นักวชิ าการศกึ ษา สพป.นครราชสมี า เขต 1 66. นางอบุ ล วงศท์ บั แกว้ นักวชิ าการศกึ ษา สพม.เขต 9 67. นางอุไรวรรณ อนิ ทะสะ นกั วชิ าการศึกษา สพม.เขต 6 68. นางสาวลดา เย็นใจ นักวิชาการศึกษา สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ 69. นายสามารถ รัตนสาคร นกั วิชาการศึกษา สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
70. นางเกษศริ ินทร์ สวุ รรณสนุ ทร ผอู้ านวยการกลุ่มพัฒนาระบบการแนะแนว สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 71. นางสาวเปรมวดี ศรธี นพล สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 72. นางสาวชุลกี ร โชตดิ ี สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 73. นางสาวสุรยี ์ เนตรมณสี ขุ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 74. นางศรินทร ตง้ั หลักชยั สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 75. นางสาวบญุ กณั ฐพนั ธ์ วลั ย์มาลี สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 76. นางสาวสุภาพร คงช่วยชาติ ผู้อานวยการกลุม่ พฒั นาระบบการแนะแนว สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 77. นางสาววภิ าวรรณ์ กนั ธา สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 78. นายวงศกร มาระวงค์ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา 79. นายจิตตกร ศรที ร ผู้อานวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการแนะแนว คณะบรรณาธกิ าร สุวรรณสุนทร สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา 1. นางเกษศริ ินทร์ ครู โรงเรยี นศรฐี านกระจายศกึ ษา สพม.เขต 28 2. นางสาวเปรมวดี ศรธี นพล 3. นางสาวสภุ าพร คงชว่ ยชาติ 4. นางสาววภิ าวรรณ์ กนั ธา 5. นายวงศกร มาระวงค์ ออกแบบปกและรูปเลม่ 380 1. นางเกษศิรินทร์ สุวรรณสุนทร 2. นางพชั รินทร์ กองสินแก้ว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384