Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา กศน.อ.น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา กศน.อ.น

Published by วิทูลย์ ยอดคีรี, 2019-12-20 01:23:53

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา กศน.อ.น

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอนาวงั อาเภอนาวงั จังหวัดหนองบัวลาภู สานักงาน กศน. สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กาหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สาหรับ สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ท่ีอาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึ่งแห่งราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ซึ่งกาหนดให้ สถานศึกษาต้องดาเนินการการ ดังนี้ 1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ กาหนด 2) จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี 3) ดาเนินงานตามแผนพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัติการประจาปี 4) จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5) จัดใหม้ กี ารประเมิน คณุ ภาพภายในมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปี 7) เสนอรายงาน การประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อ สาธารณชน 8) นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษ า โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 9) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 10) ยึด หลกั การมีส่วนร่วมของสถานศกึ ษา บคุ ลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคีเครอื ข่าย และผู้รับบริการ ในการนี้ เพ่ือเป็นการดาเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงฯ ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวัง จึงได้ดาเนินการแต่งตั่งคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพ่ือ ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวัง โดย คณะกรรมการการประเมินตนเองของสถานศึกษา วิเคราะห์จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการ ประจาปรี ว่ มกบั ผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา และร่วมกันกาหนดแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาต่อไป (นายเสกสรร สงวนนาม) ผู้อานวยการการศูนยศ์ ึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวงั

คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2560 ระหว่างวันที่ 23-26 เดือน กันยายน พ.ศ. 2562 และจัดทารายงานการประเมินตนเอง ประจาปีงบประมาณ 2561 เสร็จสนิ้ เปน็ ท่เี รยี นรอ้ ยแลว้ ........................................................ประธานคณะกรรมการ (นายเสกสรร สงวนนาม) .....................................................กรรมการ (นายวรวฒุ ิ ไชยพรมมา) .....................................................กรรมการ (นายบุญ ผยุ มอ่ ง) .....................................................กรรมการ (นายวิทลู ย์ ยอดคีรี) .......................................................กรรมการและเลขานกุ าร (นางวาสนา เดชแก้ว)

ท้ังน้ี คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นที่เรียนร้อยแล้ว และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าสถานศึกษาจะนาข้อมูลผลการประเมินนี้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศกึ ษาต่อไป .................................................ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นายสยาม ศลิ า) วันท่ี.............เดือน ........................พ.ศ.2562

สารบญั หน้า คานา ก สารบญั ง บทสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร และข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา จ บทท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา.............................................................................................1 บทที่ 2 ทิศทางและผลการดาเนนิ งานของสถานศึกษา................................................................17 บทที่ 3 ผลการประเมินตนเอง.......................................................................................................36 ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน............................................................................36 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน/ผู้รับบรกิ าร..................................................................36 มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บรกิ าร.....................................................51 มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การศึกษา.........................................................69 บทท่ี 4 สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา.....................................77 สรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา.........................................................................77 เกณฑร์ ะดับคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั .........79 สรปุ ผลการวิเคราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา.......................80 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา...............................................................................81 ภาคผนวก แบบขอความเหน็ ชอบค่าเปา้ หมาย เอกสารแนบทา้ ยแบบเสนอขอความเห็นชอบการกาหนดค่าเปา้ หมาย คาสง่ั ปฏบิ ตั งิ าน คณะผู้จดั ทา

บทสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวัง ต้ังอยู่เลขที่ 28 หมู่ 13 ตาบลนาเหล่า อาเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลาภู รหัสไปรษณีย์ 39170 สานักงาน กศน.จังหวัดหนองบัวลาภู สังกัดสานักงาน สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมี บุคลากรจานวน 14 คน มผี ูเ้ รยี น ผู้เขา้ รับการอบรม และผู้รบั บริการ จานวน 6,266 คน ท้ังนี้ คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ตั้งแต่วนั ท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2562 ซง่ึ จากการประเมินคณุ ภาพการ จดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา สามารถสรุปผลการประเมินได้ ดงั น้ี ผลการประเมินตนเองในภาพรวม เท่ากับ 86.25 คะแนน ซ่ึงอยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก .และเม่ือ พจิ ารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบวา่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ 29.50 คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับ คณุ ภาพ ดมี าก มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ 37.75 คะแนน ซ่ึงอยู่ใน ระดับคุณภาพ ดีมาก มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ 19.00 คะแนน ซ่ึงอยู่ใน ระดบั คุณภาพ ดมี าก

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี น้าหนกั ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผ้เู รียน/ผู้รบั บรกิ าร คะแนนทีไ่ ด้ ระดับคุณภาพ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 35 29.50 ดีมาก ตัวบงชี้ที่ 1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมีคุณธรรม 5 5 4.50 ดมี าก ตวั บงชี้ท่ี 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานมที กั ษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหา 5 3.50 ดี ความรู้ เรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่ือง และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ ในการดารงชีวิต 3.00 พอใช้ 5 ตัวบงช้ีที่ 1.3 ผ้เู รียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี วามร้พู ื้นฐาน 4.00 ดี 5 การศึกษาต่อเนอ่ื ง 5 5.00 ดมี าก 4.50 ดีมาก ตัวบงช้ีท่ี 1.4 ผเู้ รียนหรือผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะใน 5 การประกอบอาชีพ 5.00 ดีมาก 45 ตวั บงช้ีท่ี 1.5 ผเู้ รยี นหรอื ผู้เข้ารับการอบรมปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของ 37.75 ดีมาก เศรษฐกิจพอเพยี ง 5 5 4.00 ดี ตัวบงช้ีท่ี 1.6 ผเู้ รยี นหรือผูเ้ ขา้ รบั การอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ย่างเหมาะสม 5 4.00 ดี 5 4.00 ดี การศกึ ษาตามอัธยาศยั 3.75 ดี 5 ตวั บงชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการไดร้ บั ความรู้และ/หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรม/ 5 3.50 ดี โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย 5 5.00 ดีมาก 4.00 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพจัดการศกึ ษา/การให้บรกิ าร 5 ดี การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 5 4.50 5.00 ดีมาก ตัวบงชี้ท่ี 2.1 คุณภาพครูการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 20 19.00 ดีมาก ดมี าก ตวั บงชี้ที่ 2.2 คณุ ภาพของหลกั สตู รสถานศึกษา 5 5.00 5 ดมี าก ตวั บงชี้ท่ี 2.3 คณุ ภาพสื่อตามหลักสูตรสถานศึกษา 5 5.00 5 5.00 ดีมาก ตวั บงช้ีท่ี 2.4 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนร้ตู ามหลักสูตรสถานศึกษา 4.00 ดีมาก 100 86.25 การศกึ ษาต่อเนือ่ ง ดี ดีมาก ตวั บงชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ตวั บงช้ีท่ี 2.6 คณุ ภาพหลกั สูตรและสอื่ การศึกษาตอ่ เนือ่ ง ตัวบงชี้ที่ 2.7 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตอ่ เนื่อง การศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั บงช้ีท่ี 2.8 คณุ ภาพผจู้ ัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตัวบงชี้ท่ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบริหารจดั การศกึ ษา ตวั บงช้ีที่ 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ หลักธรรมาภบิ าล ตัวบงชี้ท่ี 3.2 การส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การศกึ ษาของภาคีเครือขา่ ย ตวั บงชี้ที่ 3.3 การมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบงช้ีที่ 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา รวม

ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพ่ือการพัฒนาการศึกษา สามารถสรุป จดุ เด่น จุดท่ีควรพัฒนา และวธิ ีปฏิบตั ิทด่ี ี หรือนวัตกรรม หรอื ตัวอย่างทีด่ ี หรือตน้ แบบของสถานศึกษา ไดด้ งั น้ี สรุปผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพอื่ การพฒั นา จุดเด่น - - ผ้เู รียนหรือผเู้ ขา้ รบั การอบรมปฏิบัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ - พอเพียงและสามารถไปใชใ้ นการดารงชีวิตได้ - ผรู้ ับบริการได้รบั ความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม/ โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย - คณุ ภาพหลกั สตู รและสื่อการศึกษาต่อเน่ือง - คุณภาพผจู้ ดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย - คุณภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั - การส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาของภาคีเครือข่าย - การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา - การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ หลกั ธรรมาภิบาล จดุ ทีค่ วรพฒั นา - ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิดทกั ษะการแสวงหา ความรู้ เรยี นร้อู ย่าง ต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ ดารงชีวติ - ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีความรู้พนื้ ฐาน - คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนรูต้ ามหลกั สูตรสถานศกึ ษา - คณุ ภาพวทิ ยากรการศกึ ษาต่อเน่อื ง - การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา วธิ ีปฏิบัติที่ดี หรือนวัตกรรม คือ นางจันทร์เพ็ญ สิงห์สุวรรณ ซึ่งเป็นแม่ค้าขายอาหารตามสั่ง เป็น ห รื อ ตั ว อ ย่ า ง ท่ี ดี ห รื อ ผู้รับบริการที่ได้รับความรู้และประสบการณ์จากการเข้าใช้บริการห้องสมุดจน ตน้ แบบ สามารถนาความรู้จากการอ่านหนังสือมาช่วยส่งเสริมด้านการประกอบอาชีพของ ตนเองและสามารถพัฒนาคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าของสินค้า โดยใช้เทคนิคและ ความรู้จากการอ่านหรือการศึกษาข้อมูลเรื่องการประกอบอาชีพเสริมรายได้ของ ตนเองจนทาใหม้ ยี อดขายเพมิ่ ขึ้น นางพัชรินทร์ จงสาราญ ครู กศน. ตาบลวังปลาป้อม มีการออกแบบและจัด กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ั นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดีในการออกแบบในการจัดการเรียนการสอนที่ สง่ ผลสัมฤทธ์ขิ องผ้เู รียนสงู ขึ้น

เตาชีวมวล เป็นนวัตกรรมท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ซ่ึง เป็นการลดการใชพ้ ลังงานในครวั เรือน กิจกรรมจิบกาแฟแลหนังสือ เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชน/ ผรู้ ับบริการในอกี รูปแบบหน่ึงที่ให้บริการแก่ประชาชน/ผู้รบั บริการ ท่ีออกบริการถึง ที่ ถึงกลมุ่ เป้าหมาย นายสยาม ศิลา ตาแหน่งประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงท่านได้ให้ คาแนะนาในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของ กศน.อาเภอนาวัง ท่านยังเป็นประธานใน การจัดกิจกรรมตา่ งๆ ของ กศน.อาเภอนาวงั

1 บทท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา ช่อื สถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอนาวงั ท่ีตง้ั สถานศกึ ษา ถนนอุดร – เลย เลขที่ ๒๘ หมู่ท่ี ๑๓ ตาบลนาเหล่า อาเภอนาวงั จงั หวัดหนองบวั ลาภู ๓๙๑๗๐ โทรศัพท/์ โทรสาร ๐๔๒-004146 E-mail: [email protected] สังกดั สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัด หนองบัวลาภู สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ ประวตั คิ วามเปน็ มาของสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอนาวงั สถานภาพเป็นสถานศึกษาในราชการ บริหารส่วนกลาง สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จดั ต้ังโดย กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้ง โดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๓๑ ข้อ ๖ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง จัดตั้งศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอ/กงิ่ อาเภอ วันท่ี ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศรายชื่อสถานศึกษา ให้ใช้ชื่อ “ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวัง” ช่ือย่อ “กศน.อาเภอนาวัง” สังกัด สานักงาน ส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดหนองบัวลาภู มีผลบังคับใช้ต้งั แต่วันท่ี ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นมา โดย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวัง โดย มีบทบาท หน้าที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในพ้ืนที่อาเภอนาวัง จานวน ๕ ตาบล ๕๑ หมู่บ้าน และ ๑ เทศบาล รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

2 สภาพของชุมชน ประวตั ิอาเภอนาวัง ๑.๑ อาณาเขต ภาพแสดงแผนท่ี อาเภอนาวัง อาเภอนาวงั ตัง้ อย่ทู างทิศตะวันตกสุดของจังหวดั หนองบัวลาภู ทต่ี งั้ ของศูนย์ราชการอาเภอ นาวัง ตั้งอยู่ท่ีพิกัด SE ๙๐๕๑๗๑ ห่างจากจังหวัดหนองบัวลาภู ๔๒ กิโลเมตร โดยมีทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๒๑๐ ผ่านเพอ่ื เชื่อมต่อจงั หวัดเลย ๑.๒ พืน้ ที่ อาเภอนาวังมีพ้ืนที่โดยประมาณ ๓๓๓.๑๖๒ ตารางกิโลเมตร โดยมีพื้นท่ีอยู่ในเขตป่าสงวน แห่งชาติ ๒ แห่ง คือ ป่าเก่ากลอย-นากลาง ด้านทิศเหนือ และป่าหนองเรือ ทางด้านทิศใต้ พื้นที่ส่วน ใหญ่เปน็ พน้ื ทร่ี าบสลับภูเขาหนิ น้อยใหญ่ ๑.๓ ลกั ษณะภูมิประเทศ พ้นื ท่ีสว่ นใหญ่เปน็ พ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเนินเขาสลับท่ีราบสูง มีภูเขาหินและป่าโปร่งสลับกันเป็นแห่งๆลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินปนหินและดินเหนียวปนทรายพ้ืนท่ี บางแห่งบริเวณริมห้วยสายหลักของอาเภอมีความอุดมสมบูรณ์มากสามารถทานาได้ในฤดูฝนและปลูกพืช ในฤดแู ลง้ ได้ รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

3 ๑.๔ ลกั ษณะภูมิอากาศ ลกั ษณะภมู อิ ากาศของอาเภอนาวังแบง่ ออกเปน็ ๓ ฤดู ดงั น้ี ฤดูรอ้ น ระหวา่ งเดอื น กมุ ภาพนั ธ์ – เมษายน ฤดฝู น ระหวา่ งเดือน พฤษภาคม – ตลุ าคม ฤดูหนาว ระหว่างเดอื น พฤศจิกายน - มกราคม อากาศในฤดูร้อนจะร้อนจัด ในฤดูหนาวจะหนาวเยน็ เนื่องจากอิทธิพลของสภาพพื้นทเ่ี ป็นภูเขา และมพี ้ืนท่ตี ดิ ตอ่ กบั จังหวัดเลย จงึ ทาใหภ้ มู ิอากาศคล้ายคลงึ กบั จงั หวัดเลย ๑.๕ อาณาเขตการปกครอง ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ อาเภอนาด้วง จังหวดั เลย ทศิ ใต้ ติดตอ่ อาเภอศรีบุญเรือง และอาเภอนากลาง จงั หวัดหนองบัวลาภู ทิศตะวนั ออก ติดต่ออาเภอนากลาง จังหวดั หนองบวั ลาภู ทศิ ตะวันตก ติดต่ออาเภอเอราวณั จังหวดั เลย ๑.๖ การแบง่ เขตการปกครอง อาเภอนาวัง ประกอบด้วย ๕ ตาบล ๕๑ หมู่บ้าน ๑ เทศบาล ๕ องค์การบริหารส่วน ตาบล โดยแยกตาบลตา่ งๆดงั นี้ ๑. ตาบลนาเหลา่ จานวน ๘ หมู่บ้าน จานวน ๓,๙๓๐ คน ๒. ตาบลนาแก จานวน ๑๐ หมู่บา้ น จานวน ๗,๙๓๒ คน ๓. ตาบลวงั ทอง จานวน ๑๒ หมู่บา้ น จานวน ๘,๖๕๘ คน ๔. ตาบลวังปลาปอ้ ม จานวน ๘ หมู่บา้ น จานวน ๖,๗๗๘ คน ๕. ตาบลเทพคีรี จานวน ๘ หมบู่ ้าน จานวน ๒,๗๕๐ คน ๖. เทศบาลตาบลนาเหล่า จานวน ๑๐ หมบู่ ้าน จานวน ๔,๙๔๔ คน ประชากร ( สานักงานบรหิ ารทะเบียน กรมการปกครอง เดือน มีนาคม ๒๕61 อาเภอนาวัง มีประชากรทั้งสิน้ ๔๔,๙๙๒ คน จานวน ๗,๓๓๔ หลังคาเรือน ) แยกเปน็ ชาย ๒๒,๕๙๒ คน แยกเป็นหญิง ๒๒,๔๐๐ คน ความหนาแน่นเฉลย่ี ๙๐ คน / ๑ ตารางกิโลเมตร รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

4 ๑.๗ สภาพเศรษฐกจิ โดยรวมของอาเภอนาวัง ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพทานา ทาไร่ ทาสวนผลไม้ และรับจ้าง โดยมี พื้นท่ีถือครองเพ่ือการเกษตร จานวน ๑๔๘,๗๕๕ ไร่ ทานา ๓๖,๑๕๓ ไร่ ทาไร่ ๕๑,๙๑๒ ไร่ สวนผลไม้ ๗,๖๒๓ ไร่ รายไดเ้ ฉล่ียต่อครอบครัว ๒๗,๒๒๕ บาท / ปี ๑.๘ ดา้ นการศกึ ษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติได้แบ่งเขตการศึกษาออกเป็นเขตการศึกษาพื้นที่ต่างๆ โดย สถานศึกษาในพ้ืนท่ีอาเภอนาวังจัดอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษา เขต ๒ ประกอบด้วย สถานศึกษาของรัฐ และเอกชน รวม ๒๗ แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา จานวน ๒๔ แห่ง โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา จานวน ๒ แหง่ ระบบการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จานวน ๑ แหง่ การศึกษาอืน่ ๆ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรม จานวน ๕ แห่ง ศูนย์อบรมเด็กกอ่ นเกณฑ์ จานวน ๑๕ แหง่ หนว่ ยอบรมประชาชน จานวน ๕ แหง่ ๑.๙ การศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ประชาการส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาพุทธ ประมาณ ๙๙ % ศาสนาอน่ื ประมาณ ๑ % มีสถาบันหรือองค์กรศาสนา วัด ทพ่ี ักสงฆ์ ๕๔ แห่ง มีสถานท่ีทอ่ งเท่ียวที่สาคญั ได้แก่ ถา้ เอราวณั , ถา้ ผาเวยี ง, ถ้าผาเจาะ,วัดปา่ ภฝู าง และอ่างผาวัง ด้านสาธารณสุข สถานอี นามยั จานวน ๖ แห่ง คลินิกแพทย์ จานวน ๓ แหง่ รา้ นขายยา จานวน ๓ แหง่ อัตราการมสี ้วมและใช้สว้ ม ๑๐๐ % รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

5 ๑.๑๐ การคมนาคมขนส่ง อาเภอนาวังติดต่อกับจังหวัดตามเส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข๒๑๐(อุดร–เลย) ลาดยาง แอสพัลท์ทาง รพช. ลาดยาง จานวน ๑ สาย ๑๒ กม. ถนนลูกรัง เชื่อมการคมนาคมระหว่างหมู่บ้าน ตาบล อาเภอใกลเ้ คยี ง ๑.1๑ การติดตอ่ สื่อสาร มโี ทรศัพทใ์ ห้บรกิ ารในเขตพน้ื ท่อี าเภอนาวัง ๑.๑๒ ด้านสาธารณปู โภคและสาธารณูปการ การไปรษณยี ์โทรเลข มีท่ีทาการไปรษณยี ์ จานวน ๑ แหง่ การประปา มีการประปาหมู่บ้าน การไฟฟ้า มหี น่วยบรกิ ารของผ้ใู ช้ไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค จานวน ๑ แห่ง ๑.๑๓ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรดิน ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินปนหิน และดินเหนียวปนทราย มีบางพื้นท่ีบางแห่ง บรเิ วณรมิ หว้ ยสายหลกั ของอาเภอมคี วามอุดมสมบรู ณม์ ากสามารถทานาและปลูกพชื ผักในฤดูแลง้ ได้ ทรัพยากรน้า แหล่งนา้ ธรรมชาตทิ สี่ าคัญที่ไหลผ่านพืน้ ที่อาเภอนาวัง ๑. ลาห้วยพะเนียง ความยาวประมาณ ๓๔ กม. ๒. ลาห้วยดาน ความยาวประมาณ ๑๒ กม. ๓. ลาหว้ ยเดื่อ ความยาวประมาณ ๑๐ กม. ๔. ลาห้วยมะนาว ความยาวประมาณ ๑๖ กม. ๕. ลาหว้ ยปา่ น ความยาวประมาณ ๑๐ กม. ๖. อ่างเกบ็ นา้ ๒ แหง่ คือ อา่ งผาวงั และห้วยลาดกว่ั ทรัพยากรปา่ ไม้ อาเภอมีพืน้ ที่ป่าไม้ที่สาคญั ได้แก่ ๑. ปา่ เกา่ กลอย – นากลาง ๒. ปา่ หนองเรือ รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

6 โครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา - งานธุรการและสารบรรณ - การส่งเสรมิ การศึกษาขน้ั - งานส่งเสรมิ สนับสนุนภาคี - งานการเงินและบญั ชี พ้นื ฐาน เครือข่าย - งานพัสดุ - งานบุคลากร - งานการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง - งานกิจกรรมพเิ ศษ - งานแผนและโครงการ - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย - งานโครงการเน่ืองมาจาก - งานประชาสัมพันธ์ - การส่งเสรมิ การรหู้ นังสือ - งานขอ้ มลู สารสนเทศ - กศน.ตาบล พระราชดารฯิ - งานนิเทศและตดิ ตามผล - งานทะเบยี นและวดั ผล - งานปอ้ งกนั แก้ไขปัญหายาเสพ - งานประกันคุณภาพ - งานกจิ กรรมนักศกึ ษา - งานอาคารสถานที่ ติด/โรคเอดส์ - งานส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย - งานสนบั สนนุ นโยบายจังหวดั / อาเภอ รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

7 จานวนผเู้ รยี น/ผู้เขา้ รบั การอบรม/ผู้รบั บริการ และจานวนครู/วิทยากร/ผู้จัดกจิ กรรม หลกั สตู ร/ประเภท จานวนผู้เรยี น (คน) รวม จานวนครู/วิทยากร/ผู้ ชาย หญงิ จัดกิจกรรม (คน) การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน - ระดับประถมศึกษา 15 28 43 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 126 96 222 10 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 134 128 262 275 252 527 รวมจานวน การศึกษาตอ่ เนื่อง 98 163 261 6 คน การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ 91 123 214 6 คน การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน 44 76 120 6 คน การจัดการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 233 362 595 รวมจานวน - - 5 (แหง่ ) 5 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 674 932 1,605 14 โครงการจดั สรา้ งแหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชน 344 397 741 14 โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นหอ้ งสมดุ ประชาชน 222 306 528 14 โครงการบ้านหนังสอื ชุมชน 43 117 160 14 โครงการหน่วยบริการเคลอ่ื นทร่ี ถโมบาย 363 567 930 14 โครงการอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น 1,646 2,319 3,965 โครงการหอ้ งสมดุ เคลือ่ นที่สาหรับชาวตลาด รวมจานวน จานวนบคุ ลากร ประเภท/ตาแหนง่ จานวน (คน) ผู้อานวยการ ตา่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจานวน ขา้ ราชการครู - 1 บุคลากรทางการศึกษา - -1- 1 ลูกจ้างประจา - - พนักงานราชการ - 1- - - ครศู นู ย์การเรยี นชุมชน - 10 อัตราจา้ ง - --- - ครผู สู้ อนคนพกิ าร - - บรรณารักษ์จา้ งเหมา - --- 1 - 1 รวมจานวน - 10 - 14 --- --- 1- 1- 13 1 - รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

8 งบประมาณ ประเภทงบประมาณ งบประมาณที่ได้รบั งบประมาณทใี่ ช้ จานวน (บาท) คิดเปน็ ร้อยละ เงินงบประมาณ 1,990,552 1,990,552 100 เงนิ นอกงบประมาณ 0.00 0.00 0.00 รวม 1,990,552 แหล่งเรยี นรู้และภาคีเครอื ขา่ ย 1,990,552 100 กศน.ตาบล ทตี่ ัง้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ กศน.ตาบลนาเหลา่ กศน.ตาบลเทพคีรี เทศบาล ต.นาเหล่า ม. 13 ต.นาเหลา่ นายโสภณ ทิง้ โคตร กศน.ตาบลนาแก กศน.ตาบลวังทอง บ้านเทพครี ี ม.๗ ต.เทพครี ี นางบัวพา ฝา่ ยแสนยอ กศน.ตาบลวังปลาป้อม บ้านนาแก ม.๗ ต.นาแก นายวทิ ลู ย์ ยอดครี ี รวมจานวน ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน วัดถ้าเอราวณั ม.3 ต.วงั ทอง นายบญุ ผยุ มอ่ ง ศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชนตาบลวงั ทอง ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนบ้านนาแก บ้านโคกเจรญิ ม. 2 ต.วังปลาป้อม นางพัชรินทร์ จงสาราญ ศูนยก์ ารเรียนชุมชนบา้ นเทพคีรี ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนตาบลนาเหล่า 5 แห่ง ศูนย์การเรียนชุมชนบา้ นโคกสะอาด ทต่ี งั้ ผ้รู ับผิดชอบ รวมจานวน แหล่งเรียนรอู้ ืน่ บ้านโนนภทู อง ต.วังทอง นายชยั ณรงค์ หงษบ์ ินมา ถ้าผาเวียง บา้ นนาแก ม.๒ ต.นาแก นางสาวนริศรา บุญเสนาะ ถ้าผาเจาะ บา้ นเทพคีรี ม. ๗ ต.เทพครี ี นายเอกลักษณ์ เมอื งแสง ถา้ เอราวัณ บ้านหนองหนิ ต้ัง ม.๑๐ ต.นาเหลา่ นายจีระพงษ์ คาสามารถ อ่างเก็บนา้ ห้วยผาวัง บ้านวงั ปลาป้อม ม.๑ ต.วังปลาปอ้ ม นางพชั รนิ ทร์ จงสาราญ วัดป่าภูฝางสนั ติธรรม 5 แห่ง ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ทีต่ ง้ั ธรรมชาติ ถ้าผาเวยี งอยใู่ นเขตบา้ นผาเวียง ต.นาแก อ.นาวงั จ.นภ. ถา้ ผาเจาะอยู่ในเขตบา้ นผา ธรรมชาติ เจาะ ต.เทพคีรี อ.นาวัง จ. หนองบัวลาภู ธรรมชาติ ถา้ เอราวณั อยูใ่ นเขตบ้านผาอนิ ทร์ แปลง ต.วงั ทอง อ.นาวงั จ. หนองบวั ลาภู ธรรมชาติ ต้งั อยู่ในเขตพ้นื ท่ี ต.นาเหลา่ และ ต.วังทอง ธรรมชาติ ก่อต้ังเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๑๙ โดย รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

9 พระอาจารย์เกรยี งไกร โฆสะธัม โม อยทู่ ีบ่ ้านไทยสามคั คี ต.วัง ทอง อ.นาวงั จ.หนองบวั ลาภู ปรากฏการณบ์ ง้ั ไฟพญานาคเทพครี ี ธรรมชาติ ต้ังอยทู่ ีบ่ ้านผาเจาะ ต.เทพคีรี อ.นาวงั จ.หนองบวั ลาภู บ้านโคกสวา่ ง หม่ทู ่ี ๘ ตาบล วังปลาปอ้ ม อาเภอนาวงั กลุ่มถ่านอัดแท่งจากซังขา้ วโพด ภมู ปิ ัญญาชาวบ้าน จังหวดั หนองบวั ลาภู (๓๙๑๗๐) โทรศัพท์ ๐๘๑-๐๕๐๕๒๗๘ ศูนยว์ ัฒนธรรมไทยสายใยชมุ ชน วดั ทรงธรรมบรรพต บ้านวงั ตาบลวังทอง ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ สาราญ ม.๑ ตาบลวงั ทอง อ.นา วัง จ.หนองบวั ลาภู รวมจานวน 8 แห่ง ภาคเี ครอื ขา่ ย ที่อยู่/ท่ตี ั้ง ปกครองอาเภอนาวงั ศูนย์ราชการอาเภอนาวัง หมู่ที่ ๑๓ ต.นาเหล่า อ.นาวงั จ.หนองบวั ลาภู โรงพยาบาลอาเภอนาวงั หมทู่ ่ี ๑๓ ต.นาเหลา่ อ.นาวัง จ.หนองบวั ลาภู เกษตรอาเภอนาวัง ศนู ย์ราชการอาเภอนาวงั หมู่ท่ี ๑๓ ต.นาเหลา่ อ.นาวงั จ.หนองบวั ลาภู สถานีตารวจอาเภอนาวงั ศนู ยร์ าชการอาเภอนาวงั หมู่ท่ี ๑๓ ต.นาเหลา่ อ.นาวงั จ.หนองบวั ลาภู ศนู ยป์ ่ารักษ์นา้ เลขที่ ๕๕ บา้ นหนองหนิ ตัง้ ม.๑๐ ต.นาเหล่า อ.นาวงั จ.หนองบัวลาภู สาธารณะสุขอาเภอนาวัง ศูนย์ราชการอาเภอนาวัง หมู่ที่ ๑๓ ต.นาเหลา่ อ.นาวงั จ.หนองบวั ลาภู อบต.นาแก บา้ นหนองสิม ม.๑ ต.นาแก อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู อบต.วังทอง บ้านโนนภูทอง ม.๑ ต.วังทอง อ.นาวัง จ.หนองบวั ลาภู อบต.วังปลาป้อม บา้ นวังปลาปอ้ ม หมู่ ๑ ต.วงั ปลาปอ้ ม อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู อบต.นาเหลา่ บ้านนาสมหวงั ม.๘ ต.นาเหลา่ อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู อบต.เทพคีรี บา้ นวงั มว่ ง ม.๓ ต.เทพครี ี อ.นาวัง จ.หนองบวั ลาภู เทศบาลตาบลนาเหล่า หมู่ ๑๓ ต.นาเหล่า อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู โรงเรียนนาวงั ศกึ ษาวิช หมู่ ๑๓ ต.นาเหลา่ อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู ทดี่ นิ อาเภอนาวงั ศูนยร์ าชการอาเภอนาวงั หมู่ท่ี ๑๓ ต.นาเหล่า อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู พัฒนาชมุ ชนอาเภอนาวัง ศูนยร์ าชการอาเภอนาวงั หมู่ท่ี ๑๓ ต.นาเหลา่ อ.นาวัง จ.หนองบัวลาภู รวมจานวน 15 แห่ง รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

10 รางวลั เกยี รติบัตร เกยี รติยศ และผลงานดเี ด่นของสถานศกึ ษา - กศน.อาเภอนาวงั ไดส้ ง่ บคุ ลากร และนกั ศกึ ษาเข้าร่วมมหกรรมประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาขอนแกน่ ในวนั ที่ 12 กรกฎาคม 2561 - กศน.ตาบลเทพคีรี ได้รบั รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 2 ในการประกวด ศูนยส์ ง่ เสริมประชาธปิ ไตยระดับ ตาบล รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

11 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในและภายนอกที่ผ่านมา ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน สถานศกึ ษาไดร้ บั การประเมนิ คุณภาพภายใน ระหวา่ งวันที่ ๒๕ – ๒๖ เดอื น กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรฐาน นา้ หนัก(คะแนน) ผลการประเมินคุณภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผูเ้ รียน/ผู้รบั บรกิ าร ๓๕ สถานศึกษาโดยตน้ สังกดั คะแนนทีไ่ ด้ ระดับคณุ ภาพ ๒๙.๒๖ ดี ตวั บ่งช้ีท่ี ๑.๑ ผเู้ รียนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทดี่ ี ๓.๐๐ ๒.๗๖ ดีมาก ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๒ ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะท่พี ึง ๓.๐๐ ๒.๘๕ ดีมาก ประสงค์ ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑.๓ ผูเ้ รยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง ๓.๐๐ ๒.๗๖ พอใช้ ตวั บ่งชี้ท่ี ๑.๔ ผเู้ รียน คิดเปน็ ทาเปน็ ๓.๐๐ ๒.๖๓ ดมี าก ตัวบ่งช้ที ่ี ๑.๕ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรยี นการศกึ ษา นอกระบบ ๑๐.๐๐ ๖.๐๕ ดีมาก ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑.๖ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รยี นการศึกษา ๕.๐๐ ๔.๙๒ ดีมาก ตอ่ เน่ือง ดี ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑. ๗ ผเู้ รยี นมีงานทาหรอื มีรายไดเ้ สรมิ มีทกั ษะในการ ดี ดี ทางาน สามารถทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนไดแ้ ละ มเี จตคติ ๕.๐๐ ๔.๖๕ ดีมาก ดีมาก ทด่ี ตี ่ออาชพี สจุ รติ ดมี าก ดมี าก ตัวบง่ ชี้ที่ ๑.๘ ความพึงพอใจตอ่ การใหบ้ ริการการศกึ ษาตาม ๓.๐๐ ๒.๗๓ ดีมาก อธั ยาศยั ดมี าก มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๒.๖๕ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๒.๑ คุณภาพของหลกั สตู ร ๔.๐๐ ๓.๕๙ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๒.๒ คณุ ภาพของครู ๔.๐๐ ๓.๓๖ ตัวบ่งชที้ ่ี ๒.๓ คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และผสู้ อนทีเ่ น้น ๔.๐๐ ๓.๕๐ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ตวั บง่ ชี้ที่ ๒.๔ คณุ ภาพผสู้ อน/วทิ ยากร การศึกษาตอ่ เน่ือง ๓.๐๐ ๒.๖๕ ตวั บ่งช้ที ี่ ๒.๕ คณุ ภาพสอ่ื ที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี นและ ๓.๐๐ ๒.๙๐ ผู้รับบริการ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๒.๖ คุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ๔.๐๐ ๓.๘๐ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๒.๗ การสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ๓.๐๐ ๒.๘๕ มาตรฐานท่ี ๓ การบรหิ ารการศึกษา ๑๐ ๙.๘๐ ตัวบ่งชี้ที่ ๓.๑ คณุ ภาพของการบรหิ ารสถานศึกษา ๒.๐๐ ๒.๐๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

12 ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๓.๒ ระบบฐานข้อมลู เพอ่ื การบริหารจดั การ ๒.๐๐ ๒.๐๐ ดมี าก ๒.๐๐ ๑.๙๐ ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓.๓ ผลการบรหิ ารความเส่ียง ๒.๐๐ ๒.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งช้ที ่ี ๓.๔ ผลการปฏิบตั ิหน้าท่ขี องผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ๒.๐๐ ๑.๙๐ ดมี าก ตวั บง่ ช้ีที่ ๓.๕ ผลการปฏบิ ตั ติ ามบทบาทของคณะกรรมการ ๑๐ ๘.๑๓ ดี สถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๔.๐๖ ดี มาตรฐานที่ ๔ การประกันคณุ ภาพการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๔.๒ การประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษาโดยตน้ สงั กดั ๕.๐๐ ๔.๐๗ ดี มาตรฐานที่ ๕ อตั ลกั ษณ์ของสถานศึกษา ๑๐ ๙.๕๐ ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๕.๑ ผลการพัฒนาใหบ้ รรลุเป้าหมายตามปรชั ญา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก พนั ธกิจ และวตั ถุประสงค์การจดั ตัง้ สถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี ๕.๒ ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเด่นทสี่ ะทอ้ น ๕.๐๐ ๔.๕๐ ดีมาก เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา ๑๐ ๙.๐๐ ดมี าก มาตรฐานที่ ๖ มาตรการสง่ เสริม ตัวบ่งช้ีที่ ๖.๑ ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดบั ๕.๐๐ ๔.๕๐ ดีมาก มาตรฐาน รกั ษามาตรฐานและพฒั นาส่คู วามยง่ั ยนื ๕.๐๐ ๔.๕๐ ดมี าก เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายทางศกึ ษาของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ตัวบง่ ชี้ที่ ๖.๒ ผลทเ่ี กิดจากการส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในชุมชน รวมคะแนน ๑๐๐ ๘๘.๓๔ ดี ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาจากผลการประเมนิ ตนเอง 1. สถานศกึ ษาควรกาหนดตวั บง่ ชีแ้ ละเกณฑ์การประเมนิ ความสาเร็จของโครงการไว้อยา่ งชดั เจน 2. สถานศกึ ษาควรจัดการเรยี นรูท้ ี่หลากหลายตรงตามความต้องการของผเู้ รียน 3. คร/ู ผสู้ อนยังขาดความสามารถในการใช้ส่ือและเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาในการพัฒนาการเรยี นรู ของตนเองและผู้เรียน 4. จานวนผูจ้ บตามเกณฑ์ที่กาหนด (๔ ภาคเรียน) และผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักศึกษา 5. สถานศึกษาควรมีการจัดทาสอื่ ทห่ี ลากหลายและตรงตามความต้องการของผู้เรยี น 6. สถานศึกษาต้องมีแนวทางในการกระต้นุ ส่งเสริมใหป้ ระชาชนเหน็ ความสาคญั ของการเรยี น และ กจิ กรรมต่างๆ ของสถานศึกษา 7. สถานศกึ ษาควรจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษา หลักสูตรท้องถ่นิ ใหม้ ีความหลากหลายตรงตามความ รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

13 ต้องการของผู้เรยี นและผรู้ ับบริการ 8. สถานศกึ ษาควรมีการตดิ ตามผลและประเมินผล เพอ่ื ให้การดาเนนิ งานของสถานศึกษาบรรลุ เปา้ หมายทุกมาตรฐาน และนาผลการประเมินมาปรับปรุงพฒั นาอย่างต่อเนื่อง 9. สถานศึกษาควรจัดให้บุคลากรมีการพฒั นาตนเองอยเู่ สมอ เพือ่ ให้การดาเนนิ งานมีคุณภาพ 1. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอก สถานศกึ ษาไดร้ บั การประเมินคุณภาพภายนอก ระหวา่ งวันท่ี ๒๘-๓๐ เดอื น มิถนุ ายน และวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสามของสถานศึกษา ตวั บง่ ช้ี น้าหนกั คา่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ (คะแนน) กลมุ่ ตัวบง่ ชี้พื้นฐาน ๑. ผู้เรียนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ี ๑๐.๐๐ ๙.๒๐ ๑.๑ ผเู้ รียนมสี ุขภาพร่างกายแข็งแรงตามวยั รวมท้ังรจู้ ักดูแล ๕.๐๐ ๔.๔๘ ดีมาก ตนเองให้มคี วามปลอดภยั ๑.๒ ผ้เู รยี นมสี ุนทรยี ภาพ ๕.๐๐ ๔.๗๒ ๒. ผู้เรียนคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๐๒ ๒.๑ ผ้เู รียนเปน็ สมาชิกที่ดขี องครอบครัวหรอื ชมุ ชน ๔.๐๐ ๓.๕๕ ดีมาก ๒.๒ ผเู้ รยี นเปน็ นกั ศึกษาทด่ี ขี องสถานศกึ ษา ๒.๓ ผเู้ รยี นมีการบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อสงั คม ๔.๐๐ ๓.๗๒ ๓. ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้และเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง ๒.๐๐ ๑.๗๕ ๑๐.๐๐ ๘.๓๔ ๓.๑ ผเู้ รยี นค้นคว้าหาความรจู้ ากการอ่านและใช้เทคโนโลยี ๕.๐๐ ๔.๐๗ ดี สารสนเทศ ๕.๐๐ ๔.๒๗ ดี ๑๐.๐๐ ๘.๖๓ ๓.๒ ผู้เรียนเรยี นรู้ผา่ นประสบการณต์ รงรว่ มกับผู้อ่นื ทง้ั ในและ นอกสถานศกึ ษา ๔. ผู้เรียนคดิ เปน็ ทาเป็น ๔.๑ ผู้เรยี นมคี วามสามารถดา้ นการคิด ๕.๐๐ ๔.๐๖ ๔.๒ ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการปรบั ตัวเขา้ กบั สงั คม ๕. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รียน ๕.๐๐ ๔.๕๗ ๒๐.๐๐ ๑๔.๘๑ ๕.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรยี นการศึกษาพนื้ ฐาน ๑๐.๐๐ ๔.๘๑ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๒ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเนอ่ื งท่ี สามารถจบการศึกษาตามหลักสตู ร/โครงการ รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

๕.๓ ผ้เู รียนการศึกษาต่อเน่ืองทนี่ าความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ๕.๐๐ ๕.๐๐ 14 ๑๐.๐๐ ๘.๖๗ ๖. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดี ๕.๐๐ ๓.๖๗ ๖.๑ ประสิทธผิ ลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ๕.๐๐ ๔.๘๐ ดี ๖.๒ กระบวนการจดั การเรยี นรูข้ องครู ๕.๐๐ ๓.๕๑ ดมี าก ๗. ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและพฒั นาสถานศึกษา ๘๐.๐๐ ๖๖.๙๘ พอใช้ ๘. พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตน้ สังกดั ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดมี าก ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของตวั บ่งชพ้ี ื้นฐาน: ดีมาก ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดี กลมุ่ ตัวบ่งชี้อตั ลกั ษณ์ ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี ๙. ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ และวตั ถุประสงค์ของการจดั ตงั้ สถานศกึ ษา ๑๐.๐๐ ๘๕.๙๘ ใช่ ๑๐. ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ท่ีส่งผลสะทอ้ นเป็น ใช่ เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา ใช่ ผลรวมคะแนนการประเมินของตวั บ่งชีอ้ ตั ลกั ษณ:์ กลุม่ ตวั บง่ ชม้ี าตรการสง่ เสริม ๑๑. ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่อื ส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา ๑๒. ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพัฒนาสคู่ วามเป็นเลิศทส่ี อดคล้องกบั แนว ทางการปฏริ ปู การศกึ ษา ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของตัวบง่ ช้มี าตรการสง่ เสรมิ : ผลรวมคะแนนการประเมนิ ของทกุ ตัวบง่ ชี้: ผลรวมคะแนนการประเมินของทุกตัวบ่งช้ี มคี า่ ตงั้ แต่ ๘๐.๐๐ คะแนนขึ้นไป: มตี วั บ่งชี้ทไี่ ดร้ ะดบั ดขี ้ึนไปอย่างน้อย ๑๐ ตัวบง่ ช้ี จาก ๑๒ ตวั บง่ ชี้: ไมม่ ีตวั บง่ ชใี้ ดทม่ี รี ะดบั คุณภาพตอ้ งปรับปรงุ หรอื ต้องปรับปรงุ เร่งดว่ น: สรุปผลการจัดการศึกษาในภาพรวม:  สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาสถานศกึ ษา รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

15 ดา้ นผลการจดั การศึกษา ๑. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอนาวงั ควรจดั กจิ กรรมรณรงคใ์ ห้ ผู้เรียนยังสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงท่ีมีงานประเพณีในท้องถิ่น ให้ละลด เลิก และส่งเสริมการออกกาลัง กายอย่างสม่าเสมอในทุกตาบล โดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเป็นผู้นาคิด วางแผน การกาหนดโครงการ กิจกรรมในการรณรงค์ และการออกกาลังกายทีเ่ หมาะสม ตามความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล และควร สง่ เสริมความสามารถในด้านสนุ ทรียภาพในทุกด้านและรว่ มอนุรกั ษศ์ ิลปะพื้นบา้ นของแต่ละตาบล สนับสนุนให้เข้า รว่ มแขง่ ขนั กับหนว่ ยงานตา่ งๆเพอ่ื แลกเปลย่ี นเรียนรู้เพิ่มมากข้ึน ๒. สถานศกึ ษาควรจัดกจิ กรรมเสริมหลักสตู รใหก้ ับผ้เู รียนทม่ี เี วลามาพบกลุ่มน้อย ดว้ ยการสอนเสริม ออกไปเยย่ี มบา้ น จดั กลมุ่ เพ่อื นช่วยเพอื่ น หรือใช้ website เพอ่ื สอ่ื สารระหวา่ งกลมุ่ ใหไ้ ด้รับข่าวสารการเรียนรู้ จัดกิจกรรมต่างๆ นอกเหนือจากเวลาท่ีกาหนด และใหผ้ ู้เรียนกลุ่มดงั กลา่ วได้ปฏิบตั ิตนตามอย่างเคร่งครัด ๓. ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอนาวัง ควรจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ผู้เรยี น ให้มีนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเน่ืองและติดตามประเมินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่างเป็นระบบเก็บข้อมูล ของผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรยี นในกจิ กรรมบ้านอัจฉรยิ ะ ห้องสมุดเคล่ือนท่ี คนพนั ธ์ LR อาสาสมคั ร กศน. (Leader of Reading) ควรส่งเสริมผูท้ ่ีปฏิบตั ติ นจนเปน็ แบบอยา่ ง และให้ขวัญกาลังใจ ด้วยการประกาศเกียรติคณุ ใหก้ ับผรู้ กั การอา่ น ควร จดั หาคอมพวิ เตอรม์ าใหผ้ ู้เรียนไดใ้ ช้ค้นควา้ หาข้อมูล ใหเ้ พยี งพอกับความตอ้ งการในแต่ละตาบล ๔. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอนาวัง ควรสง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นกลมุ่ อาชีพให้ คิดต่อยอดผลิตภัณฑ์สินค้า คิดออกแบบบรรจุผลิตภัณฑ์ให้น่าใช้ทนั สมยั รู้จักวางแผนจัดหาตลาดการจาหน่ายเพ่ือ เพ่มิ ช่องทางในการจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ เพอื่ เพ่ิมรายไดใ้ ห้กบั ครอบครัว ชุมชน ๕. ผู้เรียนการศึกษาขัน้ พื้นฐานควรได้รบั การพฒั นาในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ความรพู้ ้ืนฐาน กลมุ่ สาระ ทักษะการดาเนินชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้ทักษะการเรียนรู้ และสาระการพัฒนาสังคม โดย นาข้อเสนอแนะจาก รายงานการทดสอบ (N-NET) ของ สทศ.มาวิเคราะห์หาความสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้และมาตรฐานการ เรียนรู้ จัดทาแผนการเรียนรู้รายวิชา กาหนดกิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สื่อ จัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนเสริมใน รายวิชาท่ีไม่ผ่านเกณฑ์ มีการวดั ผลประเมินผลท่ีสอดคล้องกับสภาพจริง และมีการดาเนินการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ ๖. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอนาวงั มีผลการดาเนินงานทแี่ สดงถึง การพัฒนาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจดั ต้งั สถานศกึ ษาที่คุณภาพดี มากแต่ถ้ามกี ารส่งเสรมิ พัฒนาคุณภาพผลผลิตและการออกแบบบรรจุผลติ ภัณฑ์ท่ีทันสมัย และจัดทาแผนการตลาด เพ่ิมช่องทางการจาหน่ายสินค้าทางออนไลน์ Website จะเป็นการส่งเสริมอัตลักษณ์ และผลิตภัณฑ์ตามโครงการ “OTOP MINI MBA” ให้เป็นท่ีรู้จกั เพ่ิมมากขนึ้ ๗. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอนาวัง มผี ลการดาเนนิ งานท่แี สดงถงึ การพัฒนาให้บรรลุตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีดีมากอยู่แล้ว ถ้ามีการพัฒนาส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถ ขับเคลื่อนการดาเนินงานกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและดาเนินโครงการชุมชนร่วมจิต ปลูกแนวคิดสู่วิถีความพอเพียง โครงการฝึกอบรมอาชีพอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วย ชุมชนเองและมีการปฏิบัตทิ ยี่ ่งั ยืน และพัฒนาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนร้ใู ห้กับสถาบนั องค์กรอ่ืนๆ ตอ่ ไป รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

16 ๘. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอนาวงั มีผลการดาเนนิ งานที่แสดงถึง การพัฒนาการดาเนินโครงการชุมชนร่วมจิตปลกู แนวคิดสู่วิถีความพอเพียง เพื่อแก้ปัญหาความยากจนในชุมชนท่ีดี มากอยู่แล้ว แต่ถ้ามีการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกกลุ่มให้ทันกบั การเปลี่ยนแปลงท้ังการดารงชพี การ สื่อสารและความรใู้ นเร่ืองการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ช่องทางการจดั จาหน่ายผลิตภัณฑ์ รวมทงั้ กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ ง เพิ่มมากขึ้น ก็ส่งผลให้กลุ่มอาชีพ (วิสาหกิจชุมชน) เป็นท่ีรู้จักและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น เป็นการสร้างงาน ในทอ้ งถ่นิ และมีรายได้ที่มัน่ คง ด้านการบรหิ ารจัดการ ๑) สถานศึกษามีผลการดาเนินงานทแี่ สดงถึงประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการ และการพฒั นาผล การดาเนินงานให้มีความก้าวหน้าและพัฒนาในระดับดีมาก และเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนสถานศึกษาควร พัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารจัดการม าตรฐานการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาใหค้ รบถว้ นสมบูรณ์ สะดวกในการนามาใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการพฒั นางาน ๒) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอนาวงั ควรพัฒนาแนวทางในการ ประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการ โดยกาหนดแนวทางในการประเมิน การสร้างเครื่องมือในการประเมิน ท่ี ชัดเจนและนาผลการประเมินไปวางแผนและกาหนดเป้าหมายในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และ สอดคล้องกับการพัฒนามาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา วตั ถปุ ระสงค์ และสภาพจริงของการ จัดกิจกรรม ด้านการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ๑) สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ พัฒนาครทู ม่ี ีอยู่ให้ได้รบั การพัฒนาเทคนิคการสอนกลมุ่ สาระความรู้ พื้นฐาน(ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ ) ให้มากขึ้น โดย จัดการพัฒนาอบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ จัดทาคู่มือการสอน ขอคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้เก่ียวกับการจัดทาแผนรายวิชา พัฒนาเทคนิคการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ความรู้พน้ื ฐาน ๒) ครคู วรได้รบั การพฒั นาใหม้ อี งคค์ วามรู้และสามารถในการจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ การกาหนดโครงการและกิจกรรมท่ีเช่ือมโยงไปสู่เป้าหมายหลักของการ ปฏิบัตงิ านการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษาตามกรอบ ๖ มาตรฐาน ๒๖ ตัวบ่งช้ี ดา้ นการประกนั คณุ ภาพภายใน ๑) สถานศึกษาควรมีดาเนินงานประเมินตนเองโดยนาข้อมลู จากผลการประเมนิ ตามสภาพจริง ของแต่ละศูนย์การเรียนรู้มาเป็นภาพรวมของสถานศึกษาท่ีสะท้อนคุณภาพผู้เรียน ครู สถานศึกษาลงไปในเกณฑ์ ตัวบ่งช้ี มาตรฐานใหเ้ ปน็ ข้อมูลในการพัฒนาใหเ้ กิดคณุ ภาพตามความคาดหวงั ๒) สถานศกึ ษาควรให้ความสาคัญกบั การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานท่เี ป็นการสะทอ้ นพฤติกรรม กิจกรรมท่ีส่งผลต่อคณุ ภาพให้ชดั เจนในภาพรวมของสถานศึกษาและเชิงประจกั ษ์ รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

17 บทท่ี 2 ทิศทางและผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนาวัง ได้กาหนดทิศทางการ ดาเนนิ งาน ตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา และแผนปฏิบัติการประจาปโี ดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา ปรัชญา การศกึ ษาพัฒนาอาชีพ สูค่ วามพอเพียง วิสยั ทศั น์ กศน.อาเภอนาวงั จดั การศึกษาเพื่อผเู้ รยี น ผรู้ บั บริการมีความรู้ มีอาชีพเพื่อการมีงานทา โดยยึด หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพยี ง พนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา ๑. ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ๒. พัฒนาและส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา นอกระบบและการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้มปี ระสิทธิภาพ ๓. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบเข้าสู่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและ พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ๔. สง่ เสริมการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ ครู กศน.และภาคเี ครอื ข่ายใหท้ าหน้าทีไ่ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๕. มุง่ มั่นพัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลและสร้างภาพลักษณ์ท่ีดี ขององค์กร รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

18 เป้าประสงค์ และตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ ๑. มีระบบประกันคุณภาพ เพ่อื พฒั นาคุณภาพและ คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษามี มาตรฐานการศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท ทกุ ผลผลติ โดย ประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ เปน็ ไปตามมาตรฐานการจดั ถือว่าการประกันคุณภาพเป็นสว่ นหนึง่ ของการบรหิ าร การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การศกึ ษาที่ต้องดาเนนิ การอย่างต่อเนื่อง เพ่ือรองรับการ ประกันภายนอก ๒. มีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ สถานศึกษามรี ะบบข้อมลู สารสนเทศที่ เหมาะสมสะดวกต่อการนาไปใชเ้ พือ่ การบริหาร จัดการ ๓. มีระบบการพฒั นาบุคลากรอยา่ งต่อเนอ่ื ง บคุ ลากรได้รบั การพัฒนาทกั ษะความรู้อย่าง เหมาะสมเพอ่ื การจัดกระบวนการเรียนรู้ สามารถจัด กระบวนการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔. มีข้อมลู สารสนเทศทส่ี มบรู ณเ์ พื่อการตัดสนิ ใจและการ มีฐานข้อมูลความต้องการของประชาชนใน พัฒนา ชุมชนท่ีมีความถูกต้อง ชัดเจน เป็นปัจจุบัน และมีการ นาข้อมลู มาใชใ้ นการกาหนดทิศทางการบริหารจัดการ ๕. นักศกึ ษาทุกหลักสตู ร ทกุ ผลผลิต ทกุ กิจกรรม เมื่อ ผู้เรยี น ผู้รับบรกิ าร เมื่อจบหลกั สตู ร สามารถ เรียนจบหลักสตู รไปแลว้ สามารถนาความรู้ไปใชเ้ พื่อ พฒั นาชวี ติ ความเป็นอยู่ให้ดีข้ึนได้ การศึกษา การประกอบอาชพี และมีทักษะชีวิตทีด่ ี ๖. มยี ุทธศาสตร์ถูกต้อง มที ี่มาทไ่ี ป และมีความสัมพนั ธก์ ับ แผนปฏบิ ตั ิการ แผนยุทธศาสตร์ มีความชัดเจน ผลที่จะตามมาจากการดาเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ท้งั หลาย สอดคลอ้ งต่อการตอบสนองเปา้ หมายในการดาเนนิ งาน และสะดวกตอ่ การนาไปใช้ กลยุทธ์ กลยุทธท์ ี่ ๑ เคาะประตูบ้าน เปดิ ประตูใจ (ลุยถึงที)่ กลยุทธ์ที่ ๒ เรยี นไดห้ ลายวธิ ี ใชว้ ธิ เี ทยี บโอนการศกึ ษา (ตอบโจทยใ์ นใจผ้เู รยี น) กลยุทธ์ที่ ๓ อยู่ที่ไหนใกล้ ไกล เรียนไดท้ ัว่ ถึง (ขยายและพัฒนาแหล่งการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย) กลยทุ ธท์ ี่ ๔ รวมพลังเป็นหนึง่ เดยี ว ผกู เส่ียวพนั ธมิตร (ผนึกกาลงั ภาคเี ครอื ข่าย) กลยทุ ธท์ ี่ ๕ ทว่ั สารทศิ ต่างชื่นชม (บริการเปี่ยมคุณภาพ) รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกร ๑. ยกระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๑. เคาะประตูบ้าน เปิด ๑. จัดการศึกษานอกระบบ และสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาทม่ี ี ประตใู จ (ลุยถึงท)่ี ๒. พัฒนาคุณภาพการจดั ก คุณภาพอยา่ งทว่ั ถงึ ครอบคลมุ ๒. เรียนได้หลายวิธี ใช้วิธี เรียนร/ู้ คณุ ภาพบุคลากร และเป็นธรรม เทียบโอนการศึกษา (ตอบ ๓. สง่ เสริมการรหู้ นังสือ โจทยใ์ นใจผูเ้ รยี น) ๒. ประชาชนไดร้ บั การศึกษา ๓. อยทู่ ไ่ี หนใกล้ ไกล เรียน ๑. จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒน อาชพี เพื่อพัฒนาอาชพี ๒. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พ หลักสตู ร ช่างพืน้ ฐาน ได้ทั่วถึง (ขยายและพัฒนา แ ห ล่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ ๑. การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนา ส ๓. เพือ่ พฒั นาสงั คม และชมุ ชน หลากหลาย) สู่การเป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ให้ ชุมชน เกิดความรักสามัคคี ปลูกฝงั ๔. รวมพลังเป็นหนึ่งเดียว ๒. โครงการหมบู่ า้ นเรยี นร ความมีจิตอาสา จิตสาธารณะ ผูกเส่ียวพันธมิตร (ผนึก พระยคุ ลบาท นาไปสสู่ งั คมแหง่ ความเข้มแข็ง มี กาลงั ภาคีเครอื ขา่ ย) ความสุข ๕. ทั่วสารทิศต่างช่ืนชม ๔. เพื่อพฒั นากระบวนการ (บรกิ ารเปยี่ มคุณภาพ) ๑. จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒ เรียนรู้ ตามแนวปรัชญา “การคิด ชีวติ เปน็ ” ๕. เพ่ือส่งเสรมิ การจัดการศึกษา ๑. ประกนั คุณภาพการ นอกระบบและการศกึ ษาตาม ๒. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ อัธยาศัยเพ่อื ให้เกิดสงั คม - ห้องสมดุ ประชาชน ฐานความรู้ - บา้ นหนงั สือชุมชน

๑๙ รรม เป้าหมายปีงบประมาณ ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ ๒๕62 บขั้นพ้ืนฐาน ผู้เรยี นสาเรจ็ การศึกษาข้นั พนื้ ฐานอย่างมีคุณภาพ กระบวนการ 625 (คน) 13 (คน) นาอาชพี พัฒนาอาชีพ 40 (คน) - ประชาชนมีอาชพี เกดิ รายไดล้ ดการยา้ ยถิ่นฐาน 260 (คน) เพอื่ การมงี านทา สังคม และ 250 (คน) - มีศนู ย์ฝกึ อาชพี ที่มีความเหมาะสมในชุมชน รู้ตามรอย ๕ แหง่ - สถานศกึ ษามหี ลักสูตรทีเ่ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั 10 หลกั สตู ร ความต้องการของผูเ้ รยี นและชมุ ชน 250 (คน) - เปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ - ขับเคลอื่ นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ ๑๐๐ (คน) อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ฒนาทักษะ ๒๕๐ (คน) ผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ าร เกดิ ทักษะทด่ี ีในการดาเนนิ ชวี ิต รศกึ ษา 1 แห่ง ประชาชนชาวอาเภอนาวังอ่านหนังสอื เพื่อ รอา่ น พัฒนาคุณภาพชวี ิตมากขนึ้ น 1,650 (คน) น 670 (คน) รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

๖. ส่งเสรมิ ภาคเี ครือขา่ ยเข้าร่วม - หนว่ ยบริการเคลือ่ นท - อาสาสมคั รส่งเสรมิ จดั การศกึ ษานอกระบบและ - หอ้ งสมดุ เคลื่อนที่ส การศึกษาตามอธั ยาศัย ตลาด ๑. ส่งเสริมภาคีเครือข่า จัดการศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย ๒. พัฒนาแหล่งการเรยี ชมุ ชน

๒๐ ท่ี (รถโมบาย) 500 (คน) 150 (คน) มการอ่าน 840 (คน) สาหรับชาว ายเขา้ ร่วม 40 (เครือข่าย) -เกดิ เครือข่ายร่วมจดั กิจกรรมการศกึ ษานอก บและ ๑๖ (แหง่ ) โรงเรยี นอยา่ งมีประสิทธภิ าพ -เกิดแหลง่ เรียนร้ทู ี่เหมาะสมในชุมชน ยนรูใ้ น รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

แผนปฏบิ ัติการประจาปี ที่ ชอ่ื งาน/โครงการ วัตถุประสงค์ กจิ กรรมหลัก ๑. โครงการส่งเสรมิ การรู้ เพ่ือจดั กิจกรรมส่งเสริม 1. สารวจและประเมินระดบั ผู้ไ หนังสอื การร้หู นังสือ การคง หนงั สือ สภาพการรู้หนังสือ การ 2. จัดทาหลักสูตรและรูปแบบ พฒั นาทักษะการรหู้ นงั สือ กจิ กรรมที่เหมาะสมกับ ใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 3. จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การรู้หน ใหส้ ามารถอ่านออกเขียนได้ 4. นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ๒. โครงการงานจดั เพอ่ื จดั การศึกษานอก จัดการศึกษาสาหรับผู้ไมจ่ บการศ การศกึ ษานอกระบบ ระบบ ระดับการศึกษาข้นั ข้นั พื้นฐานนอกระบบโรงเรยี น ระ ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 1. ประถมศึกษา พน้ื ฐาน (กลุ่มเปา้ หมาย 2. มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ครู กศน.ตาบล/ครู 3. มัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช.)

๒๑ ตัวชี้วัดความสาเร็จ เปา้ หมาย งบประมาณ ประเภท จานวน ดาเนินงาน งบรายจ่ายอ่นื ไม่รู้ 1.รอ้ ยละของ กลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ข้า ประชาชน เรยี นรู้ตามหลักสูตร ท่ัวไปทไ่ี มร่ ู้ สามารถอ่านออก หนังสือ หรือ เขยี นได้ ลืมหนังสอื 36 19,800 นังสือ 2.คา่ เฉลยี่ ความพึง ล พอใจของผรู้ บั บริการท่ี อยู่ในระดบั ดี ศกึ ษา 1. รอ้ ยละการคงอยู่ ประชาชนวยั 43 ะดับ ของ การลงทะเบียน แรงงาน 222 อายุ 15-59 262 เรยี น ปี 2.รอ้ ยละของผ้เู รียนที่ เข้าสอบปลายภาค เรยี น รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

๓. หลกั สตู รระยะสัน้ หนึ่ง เพอ่ื จดั กิจกรรมพัฒนา 1. สารวจความต้องการ อาเภอ หนง่ึ อาชพี (ไม่ ทักษะอาชีพให้กับกลมุ่ 2. จัดทาโครงการหลกั สตู รอบร เกิน 30 ชม.) กลมุ่ สนใจ สนใจ 3. จดั กิจกรรมอบรมหลักสูตรร ส้ัน (กล่มุ สนใจ) 4. ติดตาม และประเมนิ ผล ๔. การจดั การศึกษาเพ่ือ เพอื่ จดั กระบวนการเรยี นรู้ 1. สารวจความตอ้ งการ พัฒนาทักษะชีวิต ให้กลุ่มเปา้ หมายให้มี 2. จัดทาโครงการหลักสตู รอบร ทกั ษะในการดารงชวี ิต 3. จดั กิจกรรมอบรมหลักสตู ร พฒั นาทกั ษะชวี ิต 4. ติดตาม และประเมินผล

๒๒ 3.รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ี จบหลักสตู ร 4. ร้อยละของผูเ้ รียน ทจ่ี บหลักสูตรมผี ลการ เรียนเฉลี่ย 2.5 ขึ้นไป 5. คา่ เฉลยี่ ระดบั ความ พึงพอใจของ ผูร้ ับบรกิ ารที่อยู่ใน ระดบั ดี รอ้ ยละของผู้เรียน ประชาชนวัย 98 88,200 รม ผู้รบั บริการที่มี แรงงาน ระยะ ผลสมั ฤทธิต์ าม อายุ 15-59 จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ ปี ของแตล่ ะหลกั สตู ร/ กิจกรรม 1. ร้อยละของผเู้ ขา้ รบั ประชาชน 250 28,750 รม การอบรมทม่ี ี ทว่ั ไป คน ผลสัมฤทธิต์ าม จุดมุ่งหมายการเรยี นรู้ ของแต่ละหลักสูตร/ รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

๕. การจดั การศึกษาเพ่ือ 1. เพื่อให้กลมุ่ เป้าหมายมี 1.ประชุมชแี้ จงหาแนวทางการ พัฒนาสงั คมและชุมชน ความรู้ ความเขา้ ใจในหลัก ดาเนินงานการจัดกิจกรรมพัฒน ปรชั ญาของเศรษฐกิจ สังคมและชมุ ชน พอเพียง 2.จัดกจิ กรรมอบรมหลกั สูตร 2. เพ่ือให้กลมุ่ เป้าหมาย พัฒนาสงั คมและชมุ ชน สามารถนาความรู้ทไี่ ด้มา 3. ตดิ ตาม และรายงานผลการ ประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ดาเนนิ งาน ชีวิตประจาวนั ได้ ๖. การศึกษาเพื่อเรียนรู้ เพื่อจดั กระบวนการเรยี นรู้ 1. สารวจความต้องการ หลกั ปรัชญาของ ด้านหลักปรัชญาของ 2. จัดทาโครงการ/หลกั สตู ร เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี งและ 3. จดั กจิ กรรม หลักสูตร กลมุ่ ส เกษตรทฤษฎใี หม่ใหก้ ับ 4. ตดิ ตาม และประเมินผล ประชาชน

๒๓ กิจกรรม 2. ผ้เู ข้ารบั การอบรมมี ความพงึ พอใจในระดบั ดีข้ึนไป ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ย ละ 80 ร 1.ร้อยละของผเู้ ข้ารบั ประชาชน 150 60,000 นา การอบรมผลสัมฤทธิ์ ทั่วไป ตามจุดมุ่งหมายการ เรียนร้ขู องแตล่ ะ หลักสตู ร/กิจกรรม ร 2.ผเู้ ข้ารับการอบรมมี ความพงึ พอใจในระดบั ดีข้นึ ไปไมต่ ่ากวา่ รอ้ ย ละ 80 1. ร้อยละของผูเ้ รยี น/ ประชาชน 6๐ 24,000 ผรู้ ับบริการท่มี ี ท่ัวไป สนใจ ผลสมั ฤทธ์ติ าม จดุ มุง่ หมายการเรยี นรู้ ของแตล่ ะหลกั สตู ร/ กิจกรรม 2. ผเู้ รียน/ผูร้ บั บรกิ าร รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

7. โครงการพัฒนาทักษะ เพ่อื จดั กิจกรรมพัฒนา 1. สารวจความต้องการ 2. จัดทาโครงการ/หลกั สตู ร อาชพี หลักสตู รระยะส้ัน ทักษะอาชีพใหก้ ับ 3. จดั กิจกรรมอบรม หลักสตู ร ระยะสนั้ ชา่ งพื้นฐาน กลุม่ เปา้ หมาย 4. ติดตาม และประเมินผล 8. โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพ เพ่ือจดั กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะ 1. สารวจความตอ้ งการ ชุมชน หลกั สตู รพฒั นา อาชพี ใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมาย 2. จัดทาโครงการหลักสตู รอบรม อาชพี 3. จัดกจิ กรรมอบรมหลกั สตู รระยะ 4. ตดิ ตาม และประเมนิ ผล

๒๔ มีความพึงพอใจใน ระดับดขี น้ึ ไป ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 80 1. ร้อยละของผู้เรยี น/ ประชาชนวัย 150 135,000 ผรู้ ับบริการท่มี ี แรงงาน ผลสัมฤทธ์ติ าม อายุ 15-59 จุดมงุ่ หมายการเรียนรู้ ปี ของแต่ละหลักสูตร/ กิจกรรม 2. ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจใน ระดบั ดีขึ้นไป ไม่ตา่ กว่า รอ้ ยละ 80 1. รอ้ ยละของผู้เรียน/ ประชาชนวัย 196 137,200 ผ้รู ับบรกิ ารทม่ี ผี ลสัมฤทธิ์ แรงงาน ะสั้น ตามจดุ ม่งุ หมายการเรียนรู้ อายุ 15-59 ของแต่ละหลกั สตู ร/ กจิ กรรม ปี 2. ผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ ารมี ความพึงพอใจในระดบั ดี ขึน้ ไป ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 80 รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

9. โครงการเสริมสรา้ ง เพื่อจดั กระบวนการเรียนรู้ 1. สารวจความต้องการ คุณภาพชวี ติ ผู้สงู อายุ ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายให้มี 2. จัดทาโครงการพัฒนาคณุ ภา ทักษะในการดาเนินชวี ติ ชีวติ ผสู้ ูงอายุ 10. โครงการจดั ต้ังแหล่ง 3. จัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพช เรยี นรชู้ มุ ชนในตาบล 1.เพอ่ื เปน็ แหล่งบริการ ผู้สูงอายุ (จัดซ้อื หนังสือพิมพ์/สื่อ ด้านความรู้ วิทยาการ 4. ตดิ ตาม และประเมินผล สาหรับ กศน.ตาบล) และเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. สารวจความตอ้ งการ กับผู้เรียน ผสู้ อน และ 2. จดั ซ้ือหนังสือพิมพ์/สื่อ ประชาชนทว่ั ไป 3. นิเทศ ติดตาม และรายงานผ 2. เพือ่ เปน็ การส่งเสริม การดาเนินงาน และสนับสนุนให้ผู้เรยี น ผสู้ อน และประชาชน ท่ัวไปได้ศึกษาดว้ ยตนเอง ตามความเหมาะสมและ ความสามารถของแตล่ ะ บุคคลเพื่อพัฒนาการด้าน สตปิ ัญญาและอารมณ์ 3. เพ่อื เปน็ การให้บรกิ าร แนะแนว ใหค้ วามรู้แก่

ผูเ้ ขา้ รับการอบรมมี ประชาชน - ๒๕ าพ ความพึงพอใจในระดบั ท่ัวไป อายุ 60 ปีข้นึ ไป - ดขี ้นึ ไป ชีวติ ไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 80 ค่าเฉล่ยี ความพงึ พอใจ กศน.ตาบล 5 10,932 ของผู้รับบริการอยูใ่ น ผล ระดับดขี ึ้นไปไมต่ า่ กว่า รอ้ ยละ 80 รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

ประชาชนทวั่ ไป เก่ยี วกบั การอา่ นและการศกึ ษา ตลอดชีวิต 11. โครงการสง่ เสริมบา้ น 1.เพ่ือจดั ตั้งบา้ นหนังสือใน 1.จดั ตั้งบา้ นหนังสือในชุมน/ หนงั สือชมุ ชน ชุมน/หมู่บา้ นและจดั หา หมู่บา้ นและจดั หาหนังสือสาหร 12. โครงการชุมชนรกั การ อ่าน หนงั สือสาหรับบา้ น บา้ นหนงั สือของกลุ่มเป้าหมาย หนงั สอื ของกล่มุ เป้าหมาย 2.จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นเ 2.เพ่อื จัดกิจกรรมส่งเสริม สร้างนสิ ัยรักการอ่านของประช การอ่านเพื่อสร้างนิสัยรัก การอา่ นของประชาชน 1.เพอ่ื ดาเนินการส่งเสริม 1.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ การอ่านให้กับเด็กเยาวชน ประชาชนในตาบลทราบ ประชาชนทวั่ ไปในตาบล. 2.จัดโครงการกจิ กรรม 2. เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน “ส่งเสรมิ นสิ ยั รักการอ่าน” ใหป้ ระชาชนรักการอ่าน 3. นิเทศ ตดิ ตาม และราย 3. เพือ่ สรา้ งเครือขา่ ยใน ผลการดาเนินงาน การแลกเปล่ยี นเรียนร้แู ละ สมั พันธท์ ีด่ ีต่อการใช้ บรกิ าร 4. เพอ่ื ปลูกฝังคุณสมบัติ ของการเป็นผู้เรียนรูด้ ว้ ย

๒๖ 1.ร้อยละของจานวน บ้านหนังสือ 20 แหง่ รับ ชมุ ชน/หมู่บ้านทีต่ ้ัง ชุมชน 685 คน บา้ นหนังสือ ประชาชน เพอ่ื 2.บา้ นหนงั สือและ ท่ัวไป ชาชน หนงั สอื ครบทุกชุมชน/ หมบู่ ้าน ค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจ พ้ืนทตี่ าบล 5 10 ของผู้รบั บริการอยใู่ น แหง่ แหง่ ระดับดขี นึ้ ไปไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 80 ยงาน รายงานการประเมนิ ตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

ตนเองท่ยี ่ังยืนและรณรงค์ ให้คนในชมุ ชน 13. โครงการจดั ทาฐานข้อมูล 1.เพอ่ื สง่ เสรมิ และพัฒนา 1.ประชุมชีแ้ จงแนวทางการดาเนนิ ง การจัดฐานข้อมลู กศน.ตาบล เครือข่าย กศน.ตาบลทาง กศน.ตาบล การศกึ ษาทสี่ นองต่อความ ต้องการผเู้ รียน 2 . สารวจหมูบ่ า้ นในระดบั ตาบล 2.มุ่งเน้นการส่งเสรมิ การใช้ 3. วางแผนการดาเนินโครงการ เทคโนโลยเี พื่อจดั ทา 4. ลงพน้ื ที่เพ่อื หาข้อมลู เบ้ืองตน้ ฐานขอ้ มลู กศน.ตาบล 5. รวบรวมข้อมูล 3. เพ่อื ให้มคี วามพร้อมใน 6. นเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม และรายง การศึกษาเรยี นรู้ อย่างท่วั ถงึ ผลการดาเนินงาน 4.เพอื่ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมลู ขา่ วสาร กศน.ตาบลให้เปน็ ท่ี รู้จัก 14. กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน 1. เพือ่ จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การ 1.ห้องสมุดประชาชน 1,650 คน อ่านในชมุ ชน 2.บ้านหนงั สือชมุ ชน 685 คน 2. เพ่อื ปลูกฝังและสรา้ งนสิ ยั 3.หน่วยบริการเคล่ือนท่ี (รถโมบาย รักการอ่าน 463 คน 3. เพอื่ สรา้ งสงั คมแห่งการ 4.อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอา่ น 14 เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ คน 5.หอ้ งสมดุ เคล่ือนทส่ี าหรบั ชาวตลา ตามพระราชดารสิ มเด็จพระเทพฯ 837 คน

๒๗ งาน 1.รอ้ ยละของหน่วยงาน กศน.ตาบล 5 แห่ง และสถานศึกษา กศน.ที่มี การใช้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และการ สือ่ สารในการจัดทา ฐานข้อมลู ชมุ ชน และการ บริหารจดั การ งาน 2.เพือ่ สนบั สนุนการ ดาเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ขององคก์ าร น 1. ร้อยละของจานวน ประชาชนท่ัวไป 3,775 ผรู้ ับบริการ ย) 2. คา่ เฉลยี่ ความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ อยใู่ น 40 ระดับดขี น้ึ ไปไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 80 าด รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

15. โครงการเพิ่ม 1.เพอ่ื สง่ เสรมิ การจดั การ 1. ประชมุ วางแผนการดาเนินงาน ประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร เรียนรสู้ รา้ งจิตสานึกและวินยั 2. ดาเนนิ กจิ กรรม การบรหิ ารจดั ก จัดการขยะมูลฝอย ในชุมชน ขยะมลู ฝอยในตาบล 2. เพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพการ 3. นิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผลกา บรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยของ ดาเนินงาน ชมุ ชน 16. จดั การเรียนรขู้ องศูนย์ เพอื่ พฒั นา กศน.ตาบลให้ 1.ประชุมจดั ทาแผน แนวทางก การเรียนรูป้ รชั ญาของ เปน็ ฐานการขบั เคลื่อนการ ดาเนินงาน เศรษฐกิจพอเพยี งและ จัดการศกึ ษาศนู ย์เรยี นรู้ 2.ดาเนินการตามแผน เกษตรทฤษฎใี หม่ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. นิเทศ ตดิ ตามผลการดาเนิน พอเพียงและเกษตรทฤษฎี ใหม่ประจาตาบล 17. โครงการบรรณสญั จร เพอ่ื จัดหาส่ือให้มีความ 1.วางแผนการรบั บรจิ าคหนงั ส (Book Voyage) พรอ้ มสนับสนุนการอ่าน 2.ดาเนินการออกรับบรจิ าคหน และการจดั กจิ กรรม 3.กระจายหนงั สือท่ีไดร้ บั บรจิ า ส่งเสรมิ การอา่ น บ้านหนงั สือชุมชน 4.นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลกา กิจกรรม 18. จัดการเรยี นรขู้ องศูนย์ 1.เพือ่ พัฒนา กศน.ตาบล 1.ประชุมจดั ทาแผน/แนวทางก สง่ เสริมและพัฒนา ให้เปน็ ฐานการขบั เคลือ่ น ดาเนินงาน ประชาธิปไตยประจา การจัดการศึกษา 2.ดาเนนิ งานตามแผน

๒๘ ค่าเฉลยี่ ความพงึ พอใจของ กศน.ตาบล 5 แห่ง การ ผ้รู ับบริการอยู่ในระดบั ดี ข้นึ ไปไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 80 าร การ 1.ร้อยละของชมุ ชนทีม่ ี ประชาชน 300 ส่วนรว่ มในกจิ กรรม ทัว่ ไป 2.ผู้รบั บรกิ ารมีความ นงาน พึงพอใจไม่ต่ากวา่ รอ้ ย ละ 80 สอื ดาเนินการรับบริจาค หนังสอื ท่ีได้รบั 5,000 นังสอื หนังสือไดต้ าม บรจิ าค เลม่ าคสู่ เป้าหมายทกี่ าหนด ารจัด การ 1.ร้อยละของชมุ ชนทม่ี ี ประชาชน 300 สว่ นรว่ มในกจิ กรรม ท่ัวไป 2.ผู้รับบริการมีความ รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวงั ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

ตาบล 2.เพ่ือสร้างจติ สานึกความ 3. นิเทศ ติดตาม และราย 19. การจัดการเรยี นรู้ของ เป็นประชาธิปไตยความ ผลการดาเนินงาน ศนู ยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน เป็นพลเมืองดี เพื่อพฒั นา กศน.ตาบลให้ 1.ประชมุ ช้แี จงแนวทางการ เป็นฐานการขบั เคลื่อนการ ดาเนินงาน จดั การศกึ ษา 2. ดาเนนิ งานตามแผน 3. นเิ ทศ ติดตาม และรายง ผลการดาเนินงาน 20. โครงการ การแขง่ ขัน 1.เพ่ือเสริมสร้างความ 1.ประชาสมั พนั ธ์โครงการให้ กีฬา กศน.อาเภอนาวัง เข้มแข็งให้กบั นักศึกษา นักศกึ ษาในตาบลทราบ เกมส์ กศน. 2.จดั โครงการกจิ กรรมพฒั นา 2. เพอ่ื สรา้ งความสมัคร ผู้เรียน “การแขง่ ขนั กีฬาตา้ นย สมานสามัคคี เสพติด” ตามกาหนดการแข่งข ความสัมพนั ธ์อันดีระหวา่ ง 3.รายงานผลการดาเนนิ งาน นกั ศึกษา กศน. 3. เพื่อเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพ ที่แขง็ แรงสมบรู ณใ์ ห้กบั นกั ศึกษา กศน.

๒๙ ยงาน พึงพอใจไม่ต่ากวา่ รอ้ ย ละ 80 ร 1.รอ้ ยละของชมุ ชนท่มี ี ประชาชน 155 สว่ นร่วมในกจิ กรรม ทว่ั ไป 2.ผู้รบั บริการมคี วาม งาน พึงพอใจไม่ต่ากวา่ ร้อย ละ 80 1.ผู้เรยี น/ผู้รับบรกิ าร นกั ศึกษา 100 มีความร้คู วามเข้าใจ กศน.ตาบล 5 เจตคติ ตาม แหง่ ยา จุดมงุ่ หมายของ ขัน กจิ กรรมที่กาหนด 2.รอ้ ยละความพงึ พอใจของผู้เรียน/ ผรู้ ับบรกิ ารอยใู่ นระดบั ดีข้ึนไปไมต่ ่ากวา่ รอ้ ย ละ 80 รายงานการประเมินตนเอง กศน.อาเภอนาวัง ปี ๒๕๖2( Self Assessment Report : SAR )

21. โครงการพัฒนาวชิ าการ 1.ผลสมั ฤทธิ์ทางการ 1. ประชมุ วางแผนเพื่อจัดกจิ ก 22. ICT พฒั นาความรู้ ศกึ ษาของผู้เรียนเพม่ิ ขึ้น พฒั นาวิชาการในรายวชิ าทม่ี ีเน ความสามารถด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ ยาก ให้กบั นักศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ของผเู้ รยี นอยู่ในระดับดี 2. สารวจและวเิ คราะห์ รายวิช ขึ้นไปไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 มีเน้ือหายาก 3. จัดกิจกรรมการสอนเสรมิ ใน รายวชิ าทีม่ ีเน้อื หายาก “โครงก ติวเขม้ เติมเต็มความรู้” 1.เพื่อให้นักศึกษาได้รับการ 1.ประชาสัมพันธโ์ ครงการให้ พัฒนาคณุ ภาพการเรยี นโดยไม่ นกั ศึกษาในตาบลทราบ ต้ อ งเป็ น ภ า ร ะ ค่ าใช้ จ่ า ย 2.จัดโครงการกจิ กรรมพฒั นา เพ่มิ เตมิ 2.เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษ า เกิ ด ผู้เรียน “โครงการสอนการใช้ ความรู้ ความเข้าใจในการใช้ คอมพวิ เตอร์พ้นื ฐาน ” ตามกา คอมพิ วเตอร์พ้ื นฐานและ 3.รายงานผลการดาเนินงาน สามารถนาไป ใช้ได้จริงใน ชีวิตประจาวนั 3.เพ่อื ใหน้ ักศึกษานาความรู้ ท่ีไดร้ ับไปพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตนเอง และพัฒนาสังคมและ ชุมชนต่อไป