Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore To follow in Dad's footsteps : สานต่องานพ่อ

To follow in Dad's footsteps : สานต่องานพ่อ

Published by konmanbong_k3, 2021-10-07 03:47:21

Description: DADFootsteps_Web

Search

Read the Text Version

TO FOLLOW IN FOODTASDT’SEPS สานต่องานพ่อ







TO FOLLOW IN FOODTASDT’SEPS สานต่องานพ่อ

สารบัญ 8 ภมู ิปญั ญาขา้ วพื้นบ้าน เพื่ออนรุ กั ษแ์ บ่งปัน และอนาคตของสาธารณชน 32 วถิ เี กษตรแห่งชาตพิ นั ธุ์ กับการรักษาปา่ ตน้ น�ำ้ ตามรอยพระราชา 50 โครงการหลวง พระอจั ฉริยภาพของพอ่ พลิกฟ้นื ผืนป่า สรา้ งแหล่งนำ้� คนื คณุ คา่ ชีวิตบนดอยสงู 72 จากรากหญา้ คืนผืนดิน การแก้ปญั หาดนิ ตามแนวพระราชดำ�ริ 88 เมือ่ ดินหายโกรธ “แกล้งดนิ ” แนวทางการแกป้ ัญหาดินเปร้ียว 98 มรดกพอ่ นวตั กรรมของโลก ดบั แล้ง คลายทุกข์ ปวงประชา 118 จากผลปาล์ม สพู่ ลังงานทดแทน ด้วยสายพระเนตร 134 ชวี ติ ดี เพราะมนี ้�ำ พพิ ธิ ภัณฑม์ ชี ีวิต ชมุ ชนบา้ นลิม่ ทอง

“...การพัฒนาประเทศจำ�เป็นต้องทำ�ตามลำ�ดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบ้ืองต้นก่อน โ ด ย ใ ช ้ วิ ธี ก า ร แ ล ะ อุ ป ก ร ณ ์ ที่ ป ร ะ ห ยั ด แ ต ่ ถู ก ต ้ อ ง ต า ม ห ลั ก วิ ช า ก า ร เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริม ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงขึ้นโดยลำ�ดับต่อไป...” พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบัตรของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เมือ่ วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2517 7

ภูมิปัญญา ข้าวพื้นบ้าน เพ่ืออนุรักษ์แบ่งปัน และอนาคตของสาธารณชน เรื่อง บงกช ภูษาธร 8

9

10

11

12

13

“ขา้ วตอ้ งปลูกเพราะอกี 29 ปี ประชากรอาจจะ 80 ลา้ นคน ถา้ ลดการปลูก ขา้ วไปเรือ่ ยๆ ขา้ วจะไมพ่ อ เราจะต้องซื้อข้าวจากตา่ งประเทศ เร่อื งอะไร ประชาชนคนไทย ไมย่ อม คนไทยนตี้ อ้ งมขี ้าว แมข้ า้ วท่ปี ลกู ในเมืองไทย จะสู้ข้าวท่ปี ลูกในตา่ งประเทศไมไ่ ดเ้ ราก็ตอ้ งปลกู …” พระราชดำ�รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในโอกาสที่เสด็จพระราชดำ�เนินไปทอดพระเนตรโครงการโคกกูแว จังหวดั นราธิวาส พ.ศ. 2536 กระแสพระราชดำ�รัสน้กี ระทบใจ แกน่ คำ�กล้า พิลาน้อย หรอื ตหุ๊ ล่าง เด็กหนุ่มวัย 17 ปี ผู้กำ�ลังค้นหาตนเองอย่างแรง ทั้งท่ีก่อนหน้านี้ เส้นทางท่ีอยากเดินตามฝันของตนเอง ไม่เคยมีคำ�ว่า ‘ชาวนา’ อยู่ ในหัวเลย แมว้ ่าจะมเี ลอื ดชาวนาแทๆ้  ก็ตามที มแี ตอ่ ยากเปน็ พระ ครู นักวิทยาศาสตร์ และก้าวล�้ำไปถึงขั้นอยากเป็นนายกรัฐมนตรี เลยทีเดียว “ผมเลือกอ่านพระราชดำ�รัสบทนี้ เพราะว่ามันเก่ียวกับวิถีชีวิต เป็นอย่างมากให้แก่พ่อถาวรและแม่ราตรี โดยเฉพาะแม่น้ันต้องทำ�ใจ ของผมด้วย เรื่องทำ�นามันอยู่ในจิตวิญญาณ อยู่ในสายเลือดเรา อยนู่ านถงึ สองปี เพราะลกู ชายเปน็ เดก็ เรยี นดที ไี่ ดร้ บั ทนุ มาโดยตลอด ก็เลยสะกิดเราได้มากกว่า อ่านแล้วก็กลับมาทบทวนตัวเองว่า มีโอกาสท่ีจะมีชีวิตดีกว่าการเป็นชาวนาเหมือนบรรพบุรุษเหมือน เราต้องการอะไร ผมอยากมีความสุข อยากอยู่กับพ่อแม่ อยู่กับ ค่านิยมท่ีฝังรากของเกษตรกรไทยในชนบทอยู่แล้ว โดยหารู้ไม่ว่า ธรรมชาติ ไร่นา ป่าเขา ไม่ได้อยากอยู่ในเมือง ถึงอยากเป็น ในเวลาข้างหน้าลูกชายคนน้ีไม่เพียงแต่จะเป็นกำ�ลังหลักของ นักวิทยาศาสตร์ แต่ถามว่าจะได้อะไร จะช่วยงานปัจจุบันได้ไหม ครอบครัวที่ช่วยทำ�มาหาเลี้ยงชีพเท่าน้ัน แต่ยังได้ทำ�สิ่งอันย่ิงใหญ่ ยิ่งพอมาอ่านพระราชกรณียกิจ ท่ีเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ล้วนแต่ ไปกว่าน้ันคือ เป็นผู้ร่วมพลิกฟื้นและอนุรักษ์ภูมิปัญญาบรรพบุรุษ เก่ียวกับชาวบ้าน วันนั้นอ่านไป ร้องไห้ไป เพราะเราเป็นชาวบ้าน ทจ่ี ะรว่ มสร้างและส่งต่อมรดกใหม่ใหแ้ กแ่ ผ่นดิน นั่นเป็นส่ิงหน่ึงที่ตอกย�้ำว่า เรากลับมาทำ�นาก็ได้” ตุ๊หล่างเล่า อย่างมุ่งมัน่ จากจุดน้ีเองทำ�ให้เขาหันหลังให้กับการศึกษาในระบบอย่างสิ้นเชิง ปฏิเสธทุนทางการศึกษาหลังจากจบช้ัน ม.6  ซ่ึงสร้างความผิดหวัง 14

บนทางเดินนักอนุรักษ์และปรับปรุง ด้วยผลผลิตที่สูงอย่างเพียงพอ แต่กลับหาเป็นเช่นน้ันไม่ ตราบใด ข้าวพันธุ์พ้ืนเมือง ที่ยังเดินอยู่ในวังวนการเกษตรท่ีไม่เน้นการพึ่งตนเอง จึงเหลือ กองไว้แตต่ น้ ทุนท่สี งู มากกว่ารายรบั เดมิ ทนี น้ั ครอบครวั ชาวนาตระกลู พลิ านอ้ ยของพอ่ ถาวรและแมร่ าตรี พร้อมลกู ชายหญิงอกี สองชีวิตแหง่ บ้านโนนยาง อ.กดุ ชมุ จ.ยโสธร จนกระท่ังเม่ือปี 2539 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำ�คัญของครอบครัว ทำ�เกษตรแบบผสมผสานที่ยังใช้สารเคมีไม่ต่างไปจากชาวนาท่ัวไป พิลาน้อย เมื่อเกิดวิกฤติการณ์ภัยแล้งหนัก ผลผลิตข้าวท่ีได้ต่�ำจน และปลูกขา้ วตามความนยิ มหลัก เพียงแคส่ องสายพนั ธ์ุ คือ ขา้ วเจ้า ไม่พอกินตั้งแต่กลางปี ทำ�ให้พอเร่ิมปี 2540 พ่อถาวรได้ตัดสินใจ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 ที่ถูกทำ�ให้เช่ือ เหมือนด่ังเช่นชาวนาไทยทั่วไปในเวลาน้ันว่า ข้าว 2 สายพันธุ์ที่ 15 ปลูกฝังมาแต่ดั้งเดิมนั้นจะช่วยนำ�พาชีวิตของครอบครัวให้ดีข้ึนได้

หันหัวเรือสู่เส้นทางนาอินทรีย์ ซึ่งในพ้ืนที่ อ.กุดชุมก็ได้เริ่มถูก หลังจากนั้นเม่ือปี 2544  สองพ่อลูกได้เปิดโลกทัศน์เรื่องข้าว ปักธงเป็นกลุ่มก้อนอย่างจริงจังบ้างแล้ว ด้วยความตั้งใจเร่ิมแรก ครั้งสำ�คัญ เม่ือทั้งคู่ได้เข้าร่วมอบรมเรื่องการคัดพันธุ์ข้าวกับ ของพ่อถาวรเพียงแค่ให้ครอบครัวมีข้าวพอกินท้ังปี จึงได้เร่ิมเข้า เครอื ข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคอีสาน โดยมี อาจารย์สขุ สรรค์ กลุ่ม ‘ชมรมรักษธ์ รรมชาติ บา้ นโสกขุมปูน’ ท่ี ต.นาโส่ อ.กุดชมุ โดย กันตรี จากมลู นธิ ิขา้ วขวัญ เป็นผู้สอน ซึง่ เปน็ ครู “วิชาข้าว” คนแรก ช่วงน้ันมีผู้เข้าร่วมกลุ่มอยู่ประมาณ 200 ครัวเรือน และได้เร่ิม ของตุ๊หล่างนอกจากพ่อถาวร  โดยการเรียนคร้ังนั้น อาจารย์ ปลกู ขา้ วพนั ธพ์ุ น้ื บา้ นอยา่ ง “ขา้ วเหนยี วพนั ธด์ุ อลาว” กอ่ น แตใ่ นปนี น้ั สขุ สรรคไ์ ด้พดู ถงึ การผสมพนั ธข์ุ ้าว และไดจ้ ดุ ประกายใหแ้ กเ่ ดก็ หนมุ่ กย็ งั ตอ้ งซอ้ื ขา้ วกนิ อยดู่ ี ซง่ึ การขาดแคลนขา้ วอยา่ งหนกั ในชว่ งเวลา เปน็ อยา่ งมาก ติดต่อกันน้ัน กลายเป็นบทเรียนฝังใจของครอบครัวพิลาน้อยว่า “ข้าวเก่าต้องมใี หก้ นิ ถึงเดือนเมษายน” หลังจากน้ันตุ๊หล่างได้ลงมือทดลองผสมพันธุ์ข้าวเป็นคร้ังแรก ในอกี ไมก่ เี่ ดอื นตอ่ มาทนั ท ี โดยเขาผสมพนั ธข์ุ า้ วระหวา่ ง ขา้ วเหนยี ว และจากจุดเล็กๆ ของความมั่นคงทางอาหารนี่เอง ทำ�ให้เกิดคำ�ถาม พันธุ์เล้าแตกกับข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 และกำ�เนิดข้าวเหนียวขาว เชงิ จติ วญิ ญาณมากมายกบั ตหุ๊ ลา่ งวา่  “เราทรยศแมโ่ พสพหรอื เปลา่ สายพันธุ์ใหม่ท่ีชื่อว่า ศรีถาวร  ข้าวที่มีรสสัมผัสนุ่มและอร่อย ท่ีเราท้ิงข้าวพันธุ์พ้ืนบ้าน แล้วหันไปหาข้าวพันธุ์ใหม่”  ในขณะนั้น ความท้าทายต่อมาเมื่อปี 2545 เขาได้ทำ�การผสมพันธุ์ข้าวข้าม เขาเป็นเพียงเด็กวัย 16 ปีท่ีต้องการแก้ปัญหาครอบครัวของเขา สายพันธุ์ซึ่งไม่ค่อยมีใครอยากทำ�มากนัก เน่ืองจากกระบวนการ และเร่ิมคิดว่า การปลูกข้าวพันธุ์พื้นบ้านเพียงแค่ 3-4 สายพันธุ์ คัดพนั ธ์ุนัน้ ทำ�ไดย้ ากและซับซ้อน แตเ่ ขาก็ผสมข้าวข้ามพนั ธุ์ ระหวา่ ง นั้นจะเป็นความมั่นคงทางอาหารฉบับครัวเรือนอย่างท่ีพ่อถาวร ข้าวเหนียวพันธุ์เล้าแตกกับข้าวเจ้าพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 จนได้ คาดหวังไว้จริงหรือ “มันต้องมากกว่าน้ัน ถ้าแค่ความม่ันคงทาง ข้าวเจ้าสายพันธุ์ใหม่ และตั้งช่ือว่า “เวสสันตะระ” มีความหมายว่า อาหาร เราก็ไม่ต่างจากคนทำ�มาหากินครอบครัวอ่ืน แค่มีให้กิน” ‘ผู้ให้’ โดยมีนัยว่า ‘ชาวนาเป็นผู้ให้ส่ิงท่ีดีแก่ผู้คน’ โดยได้คัดและ นี่เองท่ีกลายเป็นจุดเร่ิมต้นของการอนุรักษ์พันธุ์ข้าวพ้ืนบ้าน ปรับปรุงพันธุ์จนน่ิงตามมาตรฐาน ถือเป็นข้าวเจ้าที่มีคุณสมบัติ ของครอบครวั พลิ านอ้ ย โดดเด่นท้ังรสชาติและรสสัมผัส และให้ผลผลิตในปริมาณท่ีสูงมาก โดยเฉลี่ย 600-800 กก. ต่อไร่ ทำ�ให้ข้าวพันธุ์นี้เร่ิมเป็นที่รู้จัก ส่วนพ่อถาแม้จะยังไม่ค่อยเห็นด้วยกับลูกชายนัก แต่เขาก็ยอม แพรห่ ลายขน้ึ  ทง้ั ในหมผู่ บู้ รโิ ภคและชาวนาผตู้ อ้ งการขา้ วสายพนั ธใ์ุ หม่ ปล่อยให้ทดลองทำ� โดยจำ�กัดพ้ืนท่ีให้ทำ�อยู่บนคูสระเท่าน้ัน ไม่ให้ มาทดแทนข้าวสายพันธุ์เดิมๆ และอีกสองปีต่อมาเขาเริ่มสะสม ทำ�ในแปลงนา เพราะเกรงว่าจะไปปนกับข้าวที่ปลูกอยู่ ทำ�ให้ตุ๊หล่าง ข้าวพันธุ์พ้ืนเมืองได้ 11 สายพันธุ์ และแบ่งปันพันธุ์ข้าวให้แก่ผู้อ่ืน ต้องลงมือทำ�ทุกอย่างแต่เพียงผู้เดียว บางครั้งเขาก็เหนื่อยล้าและ เป็นคร้ังแรก แม้จะยังไม่ได้มีสายพันธุ์มากนัก แต่ถือเป็นการเริ่ม แอบเสียใจอยู่บ้าง ในขณะที่ผู้เป็นพ่อและแม่แอบเฝ้าดูอยู่ห่างๆ อนรุ กั ษไ์ วเ้ พอ่ื การพฒั นา และใหค้ นรนุ่ หลงั ไดใ้ ชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งจรงิ จงั เรม่ิ เหน็ ความมงุ่ มน่ั  จรงิ จงั  และเรม่ิ เหน็ ใจ จนเขา้ มาชว่ ยจมหวั ลงแรง ด้วยในท่ีสุด นับเปน็ บททดสอบดา่ นแรกท่ีเขาผา่ นมาได้ 16

“ชาวนากท็ ำ�อะไร “ท้องทุ่งนา” แปลงทดลองบ้าน ๆ ดๆี  เพ่อื ประเทศชาติ ตุ๊หล่าง ต้องการแสดงให้ทุกคนเห็นว่า ภายใต้ข้อจำ�กัดและ และโลกได้เหมือนกนั ดว้ ยการ ความขาดแคลนของเกษตรกรท่ีต้องการเรียนรู้และลงมือทำ�เรื่อง สรา้ งพันธ์ุข้าวพันธใ์ุ หม่ขึ้นมา การผสมพันธุ์ข้าวน้ันสามารถทำ�ให้เป็นจริงได้ โดยไม่จำ�เป็นต้องมี เล้ียงคนทั้งโลก ถ้าเราทำ�ได้น่ี ห้องทดลองโก้หรทู ีต่ ้องใช้ทนุ สร้างมากมาย มันกม็ ีค่ายงิ่ ใหญ่พอๆ กบั นกั วทิ ยาศาสตร์เลย” “ผมก็เลยเร่ิมท่ีตัวเอง แล้วทำ�ให้คนอ่ืนเขาเห็น เขาดูแล้วเข้าใจว่า อาจารยส์ ุขสรรค์กล่าว การมหี อ้ งแลบ็ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ จะตอ้ งเปน็ หอ้ งสเ่ี หลยี่ ม ใชง้ บมาก เราแคอ่ าศยั ทอ้ งทงุ่ นาเปน็ ทที่ ำ�งาน เปน็ แปลงทดลองทำ� โดยใชต้ น้ ทนุ ถูกทส่ี ุด ใชเ้ ครือ่ งมอื ท่ีถกู ทส่ี ุดมาใชใ้ นการพฒั นา” 17

18

ใครจะเชื่อว่าเพียงเคร่ืองมือเรียบง่ายราคาถูก รู้จักเลือกข้าวชนิดใด และลักษณะใด ว่าพันธุ์ไหนควรจะ ที่หาได้ทั่วไปของเขาอย่าง คีมหนีบ กระดาษแก้ว เป็นพันธ์ุพ่อหรอื พนั ธุ์แม่ แป้งเปียก ไม้ปัก จะสามารถทำ�งานแบบนี้ได้จริง แตส่ ่ิงนไี้ ดพ้ สิ ูจนใ์ หเ้ หน็ แล้วว่า มนั เปน็ ไปได้และเห็นผลดีเลยทีเดียว “การผสมพนั ธข์ุ า้ วนน้ั เราตอ้ งเรยี นรพู้ ฤตกิ รรมของขา้ วและลกั ษณะ ลงมือทดลองปลูกให้ออกรวงพร้อมกันท้ังพันธุ์พ่อ และ พันธุกรรมข้าวหลายๆ ชนิดอย่างเข้าใจก่อน เป็นการเรียนรู้จาก พันธุ์แม่ โดยวิธีผสมน้ัน มีท้ังให้ผสมกันเองตามธรรมชาติ หรือ แปลงสาธิตธรรมชาติ อาศัยโลกกว้างเป็นห้องเรียนรู้ แปลงวิจัย ควบคุมการผสม โดยตอนเกสร ซึ่งข้ันตอนน้ีต้องละเอียดอ่อน ทุกๆ คนทำ�ได้ เพียงแต่ต้องมีคุณสมบัติ 4 อย่างเท่าน้ัน คือ ขยัน อย่างมาก และรอให้ดอกข้าวบานตามกำ�หนดเวลา รวมถึงควบคุม พากเพียร อดทน มีปญั ญา และรอบคอบ”  ต๊หุ ล่างเล่าตอ่ ลมและฝนดว้ ย กว่าจะเกิดเป็นข้าวสายพันธุ์ใหม่ การเกบ็ เมลด็ พนั ธท์ุ ไี่ ดจ้ ากการผสมใหมน่ ้ี ตอ้ งเกบ็ ดว้ ยความ ระมัดระวังให้พ้นจากแมลงมากัดกิน เพราะมีเปลือกหุ้มข้าวเพียง กำ�หนดโจทย์คุณสมบัติของข้าวท่ีต้องการอย่างละเอียดและ ครึ่งเมล็ด แมลงจะได้กล่ินง่าย ส่วนข้ันตอนปลูกก็ต้องทำ�ด้วย ครอบคลุมตามความตอ้ งการใหม้ ากทสี่ ุด เชน่ เรากำ�ลงั จะสร้างข้าว ความระมดั ระวงั เชน่ เดียวกนั พนั ธท์ุ อ่ี รอ่ ยใหน้ มุ่ เหนยี ว หอม มลี กั ษณะของเมลด็ ทส่ี วย รวมไปถงึ สสี ันของข้าว ตลอดจนได้ผลผลติ สงู (จำ�นวนหรอื ขนาดเมล็ด/รวง สำ�หรับการคัดเมล็ดพันธุ์จากการผสมข้าวข้ามพันธุ์จะ น�้ำหนักของเมล็ด) มีความต้านทานโรค อัตราการแตกกอ คุณค่า ยากท่ีสุด เพราะต้องใช้เวลานานเพ่ือให้ได้สายพันธุ์ข้าวท่ีน่ิง โดยใช้ ทางโภชนาการ เป็นตน้ ระยะเวลาถึง 8 ปี ยกเว้นกรณีที่ข้าวพันธุ์พ่อและพันธุ์แม่มีความ น่ิงมาก ที่อาจจะใช้เวลาประมาณ 5 ปี ก็สามารถนำ�มาทดสอบเพื่อ ค้นหาลักษณะพันธุกรรมตามโจทย์ที่ถูกกำ�หนดว่ามีอยู่ใน ขยายพนั ธไ์ุ ด้ พันธุกรรมแบบไหนบ้าง แต่ก่อนท่ีจะมาถึงจุดน้ีจะต้องมีพันธุ์ข้าว หลายชนิด หากไม่มีอยู่เองก็ต้องรู้แหล่งที่มีจนสามารถหยิบมาใช้ เปน็ พอ่ แมพ่ นั ธไ์ุ ด ้ และตอ้ งเรยี นรนู้ สิ ยั และลกั ษณะพนั ธกุ รรมของขา้ ว อย่างชัดเจนจากพ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ ก่อนลงมือปลูกเองอย่างน้อย 1-3 ปี  หากไม่รู้ท่ีมาของข้าวอย่างชัดเจน จะทำ�ให้การผสมพันธุ์ เป็นไปได้ยาก โดยเฉพาะเม่ือข้าวกลายพันธุ์ในทางท่ีไม่ดีแล้ว จะทำ�ให้ เสียเวลา โอกาส และทุนในการพฒั นาสายพันธม์ุ าก 19

20

“ผมอยอู่ ยา่ งมากได้ไมเ่ กนิ   100-200 ปี หรอก แต่ว่า สงิ่ เหล่านี้ พนั ธุข์ ้าวหลายพันธนุ์ ้ี ความรู้ พวกนี้ มนั ต้องอยู่คู่โลกต่อไป แล้วผมคิดว่า มนั ไม่จำ�เปน็ ทีจ่ ะตอ้ งให้รุ่นหลงั มาศึกษา และค้นคว้าแบบใหม่ เราควรจะสง่ ต่อไว้ ให้พวกเขาเลย ผมจึงคดิ วา่ ผมจะต้อง ไมเ่ ก็บเรอ่ื งนี้ไวเ้ ป็นของตนเอง ไม่มีอะไร เปน็ ของเราจรงิ ๆ ” 21

คนการแบ่งปันและส่งไม้ต่อ เขามีเป้าหมายที่จะส่งต่อเมล็ดพันธุ์ข้าวพ้ืนเมือง กระบวนการ รุ ่ น เ ก ่ า มั ก เ ก็ บ งำ�ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ภู มิ ป ั ญ ญ า ไ ว ้ องค์ความรู้ เทคนิค วิธกี ารปรับปรุงพนั ธุ์ข้าว วิธกี ารคัดพันธ์ขุ า้ ว กับตนเองจนสิ้นชีพไปด้วยกัน หรือเลือก จากลูกผสม ให้แกผ่ ู้อนื่ ท่มี บี ารม ี และมศี กั ยภาพพอทจ่ี ะทำ�ได้ ถ่ายทอดให้แค่เฉพาะผู้สืบเชื้อสายและลูกศิษย์ ผู้ใกล้ชดิ เท่านนั้   แต่ต๊หุ ล่างน้ัน เขาคดิ ตา่ งอย่างสนิ้ เชิง “ผมยอมรับว่าผมไม่ได้ถ่ายทอดให้กับทุกคน บางคนพูดไปก็เหน่ือย เปล่า บางคนน้�ำเต็มล้นแก้วมา บางคนมีความพยายามมากจริงๆ “ผมอยู่อย่างมากได้ไม่เกิน 100-200 ปีหรอก แต่ว่าสิ่งเหล่านี้ แต่ว่าศักยภาพเขาไม่ได้จริงๆ กับการผสมพันธุ์ข้าว แค่ให้เขา พันธข์ุ ้าวหลายพนั ธุ์นี้ ความรู้พวกนี้ มันต้องอยคู่ โู่ ลกตอ่ ไป แล้วผม คัดพันธุ์ขา้ วให้ได้ กเ็ ป็นเร่อื งลำ�บากแลว้ ” คดิ วา่ มนั ไมจ่ ำ�เปน็ เลย ทจี่ ะตอ้ งใหร้ นุ่ หลงั มาศกึ ษาและคน้ ควา้ แบบใหม่ เราควรจะสง่ ตอ่ ไวใ้ หพ้ วกเขาเลย ผมจงึ คดิ วา่ ผมจะตอ้ งไมเ่ กบ็ เรอื่ งน้ี อีกเง่ือนไขหน่ึงท่ีเขาใช้วัดคน คือ การเห็นคุณค่าและไม่ได้หม่ิน ไวเ้ ปน็ ของตนเอง ไมม่ อี ะไรเปน็ ของเราจรงิ ๆ ”  ตหุ๊ ลา่ งเลา่ อยา่ งมงุ่ มนั่ สง่ิ เล็กน้อย 22

“บางคนผมใหเ้ มลด็ เดยี ว คนทเ่ี ขาจะเอาจรงิ เอาจงั  เขาไมเ่ อาอะไรมาก จ.สกลนคร ท้ังสามแห่งนี้ถือเป็นฐานคลังทรัพยากรเมล็ดพันธุ์ ไมม่ ีขอ้ แม้ เขาเอาไปทำ�เลย” ข้าวพ้ืนบ้านที่ปักธงได้อย่างแข็งแรงแล้ว และแต่ละที่ก็มีความ โดดเด่นและเช่ียวชาญกันคนละด้าน บางคนเด่นเร่ืองการอนุรักษ์ เพราะในอดตี ตนเองกเ็ คยไดม้ าแบบนเ้ี ชน่ กนั และไดน้ ำ�มาตอ่ เชอื้ พนั ธไ์ุ ด้ บางคนเด่นเร่ืองการคัดพันธุ์ และคนหน่ึงก็เชี่ยวชาญเรื่องการ จนถงึ ทกุ วันน้ี ผสมพันธุ์ ซ่ึงล้วนเป็นกำ�ลังสำ�คัญบนเส้นทางการอนุรักษ์และ ปรบั ปรงุ พนั ธ์ขุ า้ วทง้ั สน้ิ ความท้าทายอีกอย่างหนึ่งที่ความมุ่งม่ันจะทำ�ให้ได้ก่อนจากโลกน้ีไป คือ การพัฒนาพันธข์ุ า้ วในพื้นทีน่ าอีสาน ใหไ้ ด้ผลผลิต 2,000 กก. สำ�หรับผู้ท่ีได้รับแจกเมล็ดพันธุ์ไปนั้นต้องนำ�ไปปลูกจริง และเก็บ ตอ่ ไร ่ ซง่ึ  ณ ปจั จบุ นั สามารถทำ�ไดถ้ งึ 1,000 กก. ตอ่ ไรแ่ ลว้ จากการ เมล็ดพันธุ์เอง เพ่ือช่วยกันรักษาพันธุ์ ปจั จบุ นั มคี นรนุ่ ใหมช่ ว่ ยกนั ปลกู ขา้ วเหนียวขาวพนั ธุ์ขาววสิ ทุ ธท์ิ ่ี อ.น�ำ้ เกลย้ี ง จ.ศรีสะเกษ และ อนุรักษ์พันธุ์ข้าวต่างเข้ามาเรียนรู้เร่ืองการปรับปรุงพันธุ์ การคัด อ.ลำ�ปลายมาศ จ.บรุ รี มั ย์ เมล็ดพันธ์ และนำ�กลับไปใช้ได้จริง บ้างก็รับพันธุ์ข้าวไปจากเขา โดยตรง หรอื ไมก่ ็ไปส่งต่อใหผ้ อู้ ืน่ ดอกผลกำ�ลังผลิดอกออกรวง ฝีไม้ลายมือของการปรับปรุงพันธุ์ข้าว ดอกผลจากการแบ่งปันทั้งภูมิปัญญา องค์ความรู้ และเมล็ดพันธุ์ อย่างต่อเน่ืองนับแต่ปี พ.ศ. 2547 ถึงวันน้ี ครอบครัวพิลาน้อย ด้วยปูมหลังในวัยเด็กท่ีชอบและเคยฝันอยากเป็นนักวิทยาศาสตร์ ไดส้ รา้ งและขยายพนั ธมติ ร กลายเปน็ เครอื ขา่ ยครอบคลมุ ทว่ั ประเทศ ซ่ึงเป็นสิ่งท่ียังอยู่ในใจเสมอ ได้เอื้อต่อการทำ�งานด้านปรับปรุง ดังน้ี พันธ์ขุ า้ วของเขาอย่างย่งิ ภาคอีสาน : ชยั ภูมิ นครราชสมี า ร้อยเอ็ด บรุ ีรมั ย์ สรุ ินทร์ ยโสธร “อาจเป็นด้วยความคิดอย่างวิทยาศาสตร์ มันเลยทำ�ให้การผสม อำ�นาจเจริญ อุบลราชธานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น อุดรธานี สกลนคร พันธุ์ข้าว พัฒนาพันธุ์ข้าวของผมก้าวหน้า เพราะว่าอาศัยทักษะ นครพนม มกุ ดาหาร หนองบัวลำ�พู บึงกาฬ เลย แนวคิดวิทยาศาสตร์ตั้งแต่มาใช้ มันต้องมีการตั้งสมมติฐาน มีการ ภาคเหนอื ตอนบน : ลำ�ปาง ลำ�พนู เชยี งใหม่ เชยี งราย แพร่ นา่ น พะเยา คน้ หาข้อมูลเพิ่มเตมิ ต้องมกี ารทดลอง ตอ้ งมีการจดบนั ทึก เรียนรู้ ภาคเหนือตอนลา่ ง : พษิ ณโุ ลก นครสวรรค์ กำ�แพงเพชร พิจารณา และสรุปเหตุผล แล้วถ้ามันยังไม่โอเคเท่าไร ก็พัฒนาต่อ” ภาคกลาง : อยธุ ยา สพุ รรณบรุ ี ชยั นาท อทุ ยั ธานี นครปฐม นครนายก ตหุ๊ ล่างกล่าว ภาคตะวนั ออก : ฉะเชิงเทรา ชลบรุ ี ระยอง ตราด ภาคตะวนั ตก : ราชบรุ ี กาญจนบุรี ตาก นับแต่ปี 2544 ท่ีเขาได้ลงมือทำ�การปรับปรุงพันธุ์ข้าวครั้งแรก ภาคใต้ : ชมุ พร สุราษฏร์ธานี นครศรธี รรมราช สงขลา พัทลุง จนถึงปัจจุบัน เขาสามารถพัฒนาข้าวสายพันธุ์ใหม่ได้มากถึง 14 สายพนั ธ์ุ ไดแ้ ก่ ขา้ วพนั ธศ์ุ รถี าวร เวสสนั ตระระ หอมดำ�สตู ะบตุ ร ในแต่ละพื้นท่ีบ้างก็นำ�ข้าวพื้นเมืองไปปลูกเพื่อการอนุรักษ์เป็น สลี าภรณ์ อสติ ะ ขาววสิ ทุ ธิ์ เพชรราตรี หยกราตรี กนกนารี ปุณณะ บางสายพันธุ์ไปจนถึงมากกว่าหน่ึงร้อยสายพันธุ์ อย่างท่ี อ.น้�ำยืน กสุ มุ า ศรีถาวรแดง มาซรู ดี่ ำ� และศรีถาวรดำ� จ.อุบลราชธานี อ.น้�ำเกล้ียง จ.ศรีสะเกษ และ อ.วานรนิวาส 23

R I C EINDIGENOUS ขา้ วเจ้าหอมกลางโนนสวรรค์ ขา้ วเจ้าซยี ูกันตังขาว ขา้ วเจ้าพวงเงนิ SEEDS ขา้ วเจา้ ของกษตั ริย์ (ขา้ วเจา้ ละอองกษัตริย์) ขา้ วเจา้ สงั ขห์ ยด (พัทลงุ ) ข้าวเจา้ ดอแดง ข้าวพันธุ์ พ้ืน เมือง จากการรวบรวม ของครอบครัว พิลาน้อย ขา้ วเจ้ามาซรู ่ี ข้าวเจ้าจำ�ปาซอ้ น ข้าวเจา้ ฟองเงนิ ข้าวเจา้ ไรเ่ ม็ดฝ้าย ข้าวเจ้าลกู เขือ ขา้ วเจา้ หอมเวสสนั ตะระ ขา้ วเจา้ ผกาอำ�ปลอื ข้าวเจา้ มะลดิ ำ�บญุ กอง ข้าวเจา้ มะลินลิ สุรนิ ทร์ 24

ขา้ วเจา้ ตีหนึ่ง ขา้ วเจา้ หนว่ ยเขอื ขา้ วเจา้ มะลหิ อม ขา้ วเจา้ ขาวดอกมะลเิ ต้ยี ขา้ วเจา้ บักเขือ ขา้ วเจ้าพม่า ขา้ วเจา้ งาช้าง ข้าวเจ้ามะลแิ ดงน้อย ข้าวเจ้ามะลิดำ�โกเมนทร์ ขา้ วเจ้าไรเ่ บาลุง ขา้ วเจ้าเหลอื งโคราช ขา้ วเจา้ กข. 15 ข้าวเจา้ หอมเวสวิสทุ ธิ์ ขา้ วเจา้ หอมดำ�สตู ะบุตร ข้าวเจ้ามาซูรดี่ ำ� ขา้ วเจา้ หอมมะลโิ บราณ ขา้ วเจา้ เหลอื งพนั ธงุ์ าม ขา้ วเจา้ ขาว 3 กอ ขา้ วเจา้ หมากแขก ขา้ วเจ้านางงาม 25

ขา้ วเหนียวนางหก ข้าวเหนียวขาวพอง ข้าวเหนียวดอปลอ้ งแอ้ว ข้าวเหนยี วสนั ปลาหลาดน้อย ขา้ วเหนียวแตงออ่ น ขา้ วเหนียวแหล่โสตาย ขา้ วเหนยี วก�่ำใหญ่ ขา้ วเหนยี วหอมทุง่ ใหญ่ ข้าวเหนยี วดอญวน ข้าวเหนียวกำ่� เปลือกขาว ขา้ วเหนยี วขางหกั ข้าวเหนยี วหอมเสงี่ยม ขา้ วเหนียวก่ำ� มว่ งสามสิบ ข้าวเหนียวสันปลาหลาดใหญ่ ข้าวเหนียวตมพนั ขา้ วเหนยี วบกั อ๋์อ ขา้ วเหนยี วดอด ขา้ วเหนยี วดอโพน ขา้ วเหนียวแกว้ ดอ ข้าวเหนยี วไรล่ ืมผวั ขาว 26

ขา้ วเหนยี วพ่อมุก ขา้ วเหนยี วชอ่ ไผข่ าว ขา้ วเหนยี วเขย้ี วงูก้นจดุ ข้าวเหนียวรวงช้างนวล ข้าวเหนียวแสนสบาย ข้าวเหนียวหอม 3 กอ ขา้ วเหนียวศรถี าวร ขา้ วเหนียวอีด่าง ข้าวเหนียวดำ�อะสิตะ ขา้ วเหนียวอฮี ี ขา้ วเหนียวไรด่ ำ�กวางตุง้ ขา้ วเหนียวหอมทุ่งขาว ข้าวเหนียวแม่ฮา้ ง ขา้ วเหนยี วดำ�อบุ ลเต้ีย ข้าวเหนยี วหมาหอน ข้าวเหนยี วแดงใหญ่ ขา้ วเหนยี วดำ�เมอื งยศ ข้าวเหนยี วแมผ่ ้ึงนา ขา้ วเจ้าเนยี งกวงกะเบดิ มุ ขา้ วเจา้ ป่ินแก้ว 27

ข้าวเหนยี วนาปรงั ขา้ วเหนียวดอฮี ขา้ วเหนยี วขาวใหญ่ ข้าวเหนยี วขาววิสุทธ์ใิ หญ่ ข้าวเหนียวหวิดหนี้ ขา้ วเหนยี วไรล่ ืมผัว ขา้ วเหนยี วดอขาว ขา้ วเหนยี วปลาเข็ง ข้าวเหนียวนางนวล ข้าวเหนียวดวงจันทร์ ข้าวเหนียวหอมพม่า ขา้ วเหนยี วดำ�ไรแ่ มผ่ ง้ึ ขา้ วเหนียวแมฮ่ า้ งเหลอื ง ขา้ วเหนียวแม่หม้าย ข้าวเหนยี วไร่หอมไฮ้ ขา้ วเหนียวอโี งง้ ข้าวเหนยี วศรีถาวรแดง 28 ข้าวเหนียวขตี้ มดอ ข้าวเหนียวขีต้ มใหญ่ ขา้ วเหนียวขงี้ กู น้ ขาว

ข้าวเหนยี วเล้าแตก ข้าวเหนยี วกอเดียว ข้าวเหนยี วหอมภพู าน ข้าวเหนียวหล่ม ข้าวเหนยี วช่อไผ่ดำ� ข้าวเหนียวกุสมุ า ข้าวเหนียวมันเป็ด ขา้ วเหนียวเลา้ แตกปีก ขา้ วเหนยี วไร่แกน่ คณู ขา้ วเหนยี วก่ำ� น้อย ข้าวเหนียวอฐิ ขาว ข้าวเหนียวอีโต่น ข้าวเหนยี วแฝกหอม ขา้ วเหนยี วมะลิ ข้าวเหนยี วสีลาภรณห์ นกั ขา้ วเหนียวหอมข้า ข้าวเหนยี วหวัน 1 ข้าวเหนียวดูกงยู โสธร ขา้ วเหนียวสันปา่ ตองใหญ่ ขา้ วเหนยี วจำ�ปาหวาย 29

ปณิธาน 13 ตุลาคม 2559 ชนิดตัวยาว ปลาดุกอุยพื้นบ้าน รวบรวมคัดและปรับปรุงพันธุ์ ข้าวโพดเหนียวพ้ืนบ้าน ปรับปรุงพันธุ์ผักสลัด และกุยช่ายหวาน เมอื่ วนั ที่ 13 ตลุ าคม พ.ศ. 2559  หลงั จากเหตกุ ารณค์ วามสญู เสยี พื้นบ้าน ครั้งย่ิงใหญ่ของคนไทยทั้งประเทศรวมถึงตุ๊หล่าง ได้กลายเป็นพลัง ขับเคลื่อนอีกวาระในชีวิตของเขากลางเมืองกรุง เหมือนตอนท่ีเขา เปา้ หมายทมี่ ากไปกวา่ นน้ั คอื เรอ่ื งสขุ ภาพ ตามคำ�ของพอ่ ถาวรเคยบอก ได้อ่านกระแสพระราชดำ�รัสในคร้ังนั้น ทำ�ให้เขาเร่ิมทบทวนตนเอง แก่เขาไว้นานแล้วว่าต้องทำ� โดยเฉพาะการเผยแพร่ข้าวสายพันธุ์ใหม่ อีกครง้ั ทง้ั น้ำ� ตา ที่มีคุณสมบัติท่ีสามารถทดแทนข้าวสายพันธุ์กระแสหลักได้ ที่ไม่ก่อ ปัญหาทางสขุ ภาพแก่ผู้บรโิ ภค อยา่ งเช่น ข้าวดัชนนี ำ้� ตาลต่ำ� ทจี่ ะชว่ ย “งานที่เราอยากทำ�จริงๆ คืออะไร ก็ได้คำ�ตอบว่า อนุรักษ์และ ลดความเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวาน เขาต้องการสร้างการรับรู้ พัฒนาพนั ธ์ขุ ้าว เราอยากถวายข้าวพระเจา้ แผน่ ดนิ วา่ ลกู ทำ�ไดแ้ ล้ว ในวงกว้างให้ได้มากที่สุด และอยากให้เกิดเป็นกระแสสังคม เพื่อเขา แตม่ ันไม่ทัน” จะไดส้ ง่ ขา้ วสายพนั ธใ์ุ หมท่ ไ่ี ดป้ รบั ปรงุ พนั ธอ์ุ ยนู่ นั้ ไปถงึ มอื นกั วชิ าการ เพ่ือวิจัยหาคุณค่าทางโภชนาการและมีผลวิจัยรับรองจนถูกนำ�ไปใช้ คืนนั้นเขาก้มลงกราบที่หัวนอน แล้วตั้งจิตอธิษฐานว่า “เราจะกลับ และแก้ปัญหาโรคหลายโรคที่กำ�ลังสร้างความเส่ือมโทรมให้กับผู้คน มายังแผ่นดินอีสานอีกครั้ง และพลิกฟื้นวิถีชีวิตของคนที่ทำ�นา ในสังคม ไม่ใช่ให้แค่มีกิน แต่ให้เขาอยู่รอดมากกว่าน้ันให้ได้ อย่างน้อย เพื่อทดแทนเศษเสี้ยวหน่ึงงานของพระองค์ท่าน ไม่ใช่แค่สานงาน “ผมวางแผนไว้ว่า จะขอยื่นจดทะเบียนพันธุ์กับกรมวิชาการ ตอ่ พระองค์ แต่ตอ้ งทำ�งานตา่ งมอื ต่างเท้าท่านใหไ้ ด้” การเกษตรให้สนิ้ สดุ ก่อน พอขึน้ ทะเบียนแลว้ ทีนใ้ี ครจะเอาไปทำ�อะไร กท็ ำ�ได้ แตถ่ า้ บรษิ ทั หรอื เอกชนจะเอาไปทำ� กต็ อ้ งแบง่ ปนั ผลประโยชน์ ความต้ังใจของเขา คือ ต้องช่วยพัฒนาชาวบ้านให้ได้ โดยการ ใหก้ บั รฐั  ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งแบง่ มาใหค้ นปรบั ปรงุ พนั ธ ์ุ ขอเพยี งอยา่ งเดยี ว ส่งต่อพันธุ์ข้าวท่ีทำ�ขึ้นมาให้แก่ผู้อื่น ให้พ่ึงตนเองให้ได้ และทำ�หน้าที่ ขอใหม้ นั เปน็ สทิ ธปิ ระโยชนข์ องสาธารณะ ของประชาชนใหไ้ ด ้ อยา่ ให้ เป็นครชู าวนา ทจ่ี ะคอยช่วยให้คนอน่ื อยู่รอด ตอ้ งตกเป็นของคนใดคนหน่ึง” “ชีวิตนี้ ผมช่วยคนได้ 100 คน ถือวา่ คุม้ แล้วกับการมีชีวิตอยู่” อีกหนึ่งความตั้งใจของครอบครัวพิลาน้อยคือ สิ่งที่พวกเขาได้ สร้างมาน้ันจะไม่ตกเป็นของผู้ใดผู้หน่ึง แต่ควรเป็นของส่วนรวม จากเปา้ หมายใหญท่ จ่ี ะคอยชว่ ยเหลอื ใหผ้ คู้ นสามารถพง่ึ ตนเองไดแ้ ลว้ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาของแผน่ ดนิ เกดิ  โดยกอ่ นหนา้ น ี้ ไมเ่ คยมคี วามคดิ เขายังขยายงานไปสู่การพัฒนาและสร้างความมั่นคงทางอาหาร ทจ่ี ะตอ้ งไปจดทะเบยี นพนั ธอ์ุ ะไร เพราะตง้ั ใจใหเ้ ปน็ สาธารณประโยชน์ ให้ครบวงจร ด้วยการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลให้เล้ียงง่าย และมีการ อยแู่ ล้ว แต่หลงั จากได้รบั ทราบข้อมูลวา่ ในหลวงรชั กาลท ่ี 9 ไดท้ รง เจริญเติบโตอย่างสม�่ำเสมอจากอาหารธรรมชาติ และกระตุ้น จดลิขสิทธิ์ และสิทธิบัตรงานของพระองค์ไว้ เพ่ือให้เป็นประโยชน์ อาหารผสมให้โตเร็วกว่าปกติ รวมทั้งอีกมากมายหลายชนิดพันธุ์ ของสาธารณชน ทปี่ ระชาชนสามารถนำ�ไปใชไ้ ด้ เขาจึงไดแ้ นวคิดและ อยา่ งเชน่ การทดลองเลย้ี งกงุ้ กา้ มกรามและขยายพนื้ ทเี่ ลย้ี ง ทดลอง เกิดแรงบันดาลใจในการเดนิ ตามรอยพระองคท์ า่ น ปรับปรุงพันธุป์ ลาทับทิม กบ รวมรวมพนั ธุ์ปลาหมอนา ปลาดกุ ด้าน 30

การอนุรักษ์และพัฒนา นอกจากน้ี คณะทำ�งานพันธุกรรมพ้ืนบ้านภาคอีสานยังได้ดำ�เนิน พันธุ์ข้าวพื้นบ้านภาคอีสาน กจิ กรรมพฒั นาแนวคดิ และองคค์ วามรขู้ องเกษตรกร เพอ่ื ใหต้ ระหนกั ถึงความสำ�คญั ของพันธ์พุ ชื พ้ืนบา้ น และการเชอื่ มโยงปรากฏการณ์ เม่ือปี พ.ศ. 2540 การวิเคราะห์บทเรียนขององค์กรชาวบ้าน และ กบั บรบิ ทเชงิ นโยบาย เชน่  ประเดน็ เรอื่ งกฎหมายสทิ ธบิ ตั ร ผลกระทบ องค์กรพัฒนาเอกชนในเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคอีสาน จากสงิ่ มชี วี ติ ตดั แตง่ พนั ธกุ รรม (GMOs)  รวมทงั้ การพฒั นาเทคนคิ ซึ่งดำ�เนินกิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนในภาคอีสานอย่าง การพัฒนาพันธุ์พืชพื้นบ้านโดยผสมผสานความรู้เดิมของเกษตรกร ตอ่ เนอื่ ง  พบวา่ ปญั หาสำ�คญั ประการหนงึ่ ในการสง่ เสรมิ เกษตรกรรม เข้ากับความรู้ทางวิชาการขององค์กรพัฒนาเอกชนและหน่วยงาน ย่ังยืน คือ การที่ชาวบ้านซื้อพันธุ์ไม้มาปลูกในแปลง โดยไม่ได้ใช้ ต่างๆ อาทิ เทคนิคการคัดเลือกและผสมพันธุ์ข้าว เป็นต้น  โดย ความรู้เดิมเก่ียวกับชนิดพันธุ์พืชท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีหรือ ไดเ้ รยี นรกู้ ระบวนการและเทคนคิ วิธจี ากมลู นธิ ขิ า้ วขวญั และมคี วาม ระบบนิเวศ โดยเฉพาะการปลูกข้าว จึงต้องซ้ือเมล็ดพันธุ์ข้าวมา รว่ มมือการพัฒนาพนั ธ์ุขา้ วพ้ืนบา้ นร่วมกบั หนว่ ยงานรัฐ โดยเฉพาะ ปลูกใหม่ทุกฤดูกาล จึงส่งผลให้เหลือพันธุ์ข้าวพ้ืนบ้านเพียงไม่กี่ ศนู ย์วจิ ัยขา้ วอุบลราชธานี จ.อบุ ลราชธานี สายพนั ธ์ุ ทั้งยังมกี ารรกุ เขา้ มาของบรษิ ัทธุรกิจเมล็ดพันธ์ุ ป ี พ.ศ. 2545 เปน็ ต้นมา เครือขา่ ยเกษตรกรรมทางเลือกภาคอีสาน ปรากฏการณเ์ หลา่ นไ้ี มเ่ พยี งแตท่ ำ�ใหเ้ กษตรกรไมส่ ามารถพง่ึ ตนเองได้ ได้จัดเวทีแลกเปล่ียนพันธุ์พืชพ้ืนบ้าน และต่อมาได้จัดต่อเนื่อง ในดา้ นเมลด็ พนั ธ ์ุ แตย่ งั อาจทำ�ใหพ้ ชื ทป่ี ลกู ไมเ่ หมาะสมกบั สภาพพนื้ ท่ี เปน็ ประจำ�ทกุ ปี ผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการทำ�งานดงั กลา่ ว นอกจากจะชว่ ย ด้วย เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคอีสานจึงเห็นความจำ�เป็น ให้มีการร้ือฟื้นการปลูกพันธุ์พืชพื้นบ้านหลายชนิด จากการศึกษา ที่จะต้องดำ�เนินการอนุรักษ์ฟื้นฟูและจัดการพันธุกรรมพ้ืนบ้านโดย รวบรวมพนั ธข์ุ า้ วภาคอสี านมาถงึ ตน้ ป ี พ.ศ. 2553 พบวา่ มพี นั ธข์ุ า้ ว เกษตรกร 223 สายพันธุ์ที่กระจายอยู่ใน 8 พื้นท่ีภาคอีสาน ได้แก่ เทือกเขา เพชรบูรณ์ ทุ่งกุลาร้องไห้ กาฬสินธุ์ อุบลราชธานี มหาสารคาม ในป ี พ.ศ. 2543 เกดิ คณะทำ�งานพันธุกรรมพืน้ บา้ นอสี าน มกี ารเริ่ม ยโสธร สุรินทร์ และขอนแก่น นอกจากน้ีในการทำ�งาน ยังสามารถ สำ�รวจสถานะพันธุ์พืชพื้นบ้าน เริ่มต้นจากข้าวพันธุ์พ้ืนบ้าน เพื่อให้ อาศัยแกนนำ�เกษตรกรทำ�หน้าที่เป็นกำ�ลังหลักในการผลักดันงาน ทราบว่าปัจจุบันมีการเพาะปลูกข้าวพันธุ์พ้ืนบ้านอยู่ในพื้นท่ีต่างๆ ด้านพนั ธ์ุพืชพ้นื บา้ นในพ้นื ที่ตา่ งๆ ในภาคอีสานอกี ด้วย เป็นจำ�นวนเท่าใด รวมทั้งเพ่ือให้ทราบว่ามีปัจจัยใดที่เกี่ยวข้องกับ การคงอยู่และสูญหายไปของพันธุ์ข้าวพ้ืนบ้านในพื้นท่ีภาคอีสาน ข้อมูลอ้างอิง: แหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมข้าวพ้ืนบ้าน ในเครือข่าย การสำ�รวจขอ้ มูลในคร้ังนั้น ยงั ไดด้ ำ�เนินการรวบรวมเมลด็ พันธุข์ า้ ว เกษตรกรรมทางเลือกภาคอีสาน (ขอนแกน่ มหาสารคาม กาฬสินธุ์ พ้ืนบ้านจากพื้นท่ีตา่ งๆ พรอ้ มกบั แจกจา่ ยใหเ้ กษตรกรนำ�ไปปลูกเพ่อื รอ้ ยเอด็ ยโสธร) ขยายพันธุ์ต่อ จากนั้นให้เกษตรกรนำ�พันธุ์ข้าวพ้ืนบ้านของตนเอง มาแลกเปลย่ี นกับเกษตรกรผสู้ นใจรายอ่ืนๆ ตอ่ ไป 31

วิถีเกษตร แห่งชาติพันธุ์ ปกาเกอะญอ กับการรักษาป่าต้นน้�ำตามรอยพระราชา เร่ือง จารยา บุญมาก 32

33

34

ดอยสูงต�่ำทอดทิวสลับซับซ้อนสุดตา พ่ออุ๊ยนานู เป็นชาวปกาเกอะญอ แต่เดิมอยู่ที่ห้วยหยวก ต.แม่วิน สบลาน หมู่บ้านปกาเกอะญอเล็กๆ อ.แม่วาง ก่อนย้ายไปอยู่บ้านป่าคา อ.สะเมิง แล้วจึงย้ายมาอยู่ท่ี ซ่อนตัวอยู่ท่ามกลางป่าเขียวคร้ึม บ้านสบลานเป็นเวลา 15-20 ปี จากน้ันได้ย้ายไปอยู่บ้านหนองปลา ที่แฝงเร้นอยู่ในขุนเขา หมู่บ้านแม่ลานคำ� หมู่ท่ี 6 ตำ�บลสะเมิงใต้ และชุมชนวัดหลวง ทำ�ให้บ้านสบลานร้างไป อำ�เภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ว่ากันว่าดินแดนแห่งนี้เป็นสถานที่ ที่ใครมีโอกาสมาเยือนจะต้องท้ิงหัวใจเอาไว้ พร้อมๆ กันกับอาการ ต่อมา หน่อปูลู, พ่ออุ๊ยโกงะ และครอบครัวของพ่ออุ๊ยหม่อโท ซึ่ง ตกหลมุ รักธรรมชาติ และความเงียบสงบของท่ีน่ี เปน็ ลูก และลูกเขยของพ่ออุ๊ยนานู ไดย้ า้ ยจากบ้านห้วยเฮี๊ยะ กลับมา อยู่ท่ีบ้านสบลานอีกครั้ง กระทั่งเสียชีวิตลง ลูกและญาติพี่น้อง สบลาน พ้ืนที่ธรรมชาติงดงามแล้ว ยังมี “พะตีตาแยะ ยอดฉัตร คนอน่ื ๆ จงึ ไดส้ บื ทอดภมู ปิ ญั ญา และรกั ษาพน้ื ทกี่ ารเกษตรดว้ ยการ มิ่งบุญ” ปราชญ์ปกาเกอะญอ ผู้นำ�ชุมชนบ้านสบลาน ท่ีใช้ชีวิต ทำ�ไรห่ มนุ เวยี นเพอ่ื ยังชีพมาจนถึงปัจจุบัน เรียบง่าย อ่อนน้อมถ่อมตนต่อธรรมชาติและผู้คน ผู้อาวุโสที่เป็น ทเี่ คารพและรกั ใครข่ องผมู้ าเยือน พะตีตาแยะ เล่าว่า ชาวบ้านนิยมตั้งถ่ินฐานในพ้ืนที่ลุ่มก้นกระทะ ล้อมรอบด้วยเนินเขา ที่สำ�คัญต้องอาศัยอยู่ใกล้กับแหล่งน้�ำ และ ชวี ิตสว่ นหนึ่งของพะตไี ดอ้ ทุ ิศใหก้ ับผืนดนิ ต้นไม้ ปา่ เขา สายน�ำ้ และ ป่าเบญจพรรณ มีไม้ไผ่เป็นหลักสลับกับป่าเต็งรังที่มีไม้พลวง ธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ ที่ได้หล่อเล้ียงวิถีชีวิต วิธีคิด และ ซ่ึงสามารถใช้ประโยชน์จากเน้ือไม้ในการใช้สอยต่างๆ และไม่นิยม ภูมิปญั ญาให้พะตไี ดย้ ดึ ถอื และบอกเล่าต่อโลกภายนอก ซ่ึงสว่ นมาก ตั้งหมบู่ ้านบนภเู ขาสูงหรือบนสนั เขา ยังไม่มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของปกาเกอะญอ “โดยเฉพาะ วถิ กี ารทำ�ไรห่ มนุ เวียน เพอื่ ยังชพี ” “ปกาเกอะญอทนี่ ท่ี ำ�ไรห่ มนุ เวยี นเปน็ วถิ กี ารหาอย ู่ หากนิ ทยี่ ดึ ถอื กนั มา ตง้ั แตส่ มยั บรรพบรุ ษุ โดยชาวบา้ นสว่ นมาก ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ก่อนจะเป็นสบลาน ท้ังทำ�ไร่หมุนเวียน ทำ�นา และทำ�สวน ทั้งหมดนั้นทำ�เพื่อบริโภค หมู่บ้านปราชญ์ปกาเกอะญอ ในครัวเรือน หากเหลือจะนำ�ไปแบ่งปันให้กับเพื่อนบ้าน หรือนำ�ไป แลกเปลย่ี นกัน จะมเี พียงสว่ นนอ้ ยเทา่ น้นั ท่ีจะนำ�ผลผลติ ทไี่ ปขาย” พะตตี าแยะ ยอ้ นเลา่ วา่ ในอดตี เมื่อประมาณ 200-300 ปีกอ่ นหนา้ นี้ ก่อนท่ีชาวปกาเกอะญอจะมาต้ังหมู่บ้านสบลาน พื้นที่นี้เคยเป็นที่อยู่ หัวใจสำ�คัญของการทำ�เกษตรที่นี่คือจะเลือกปลูกพืชในลักษณะ อาศยั ของชนเผา่ ลวั๊ ะมากอ่ น แตเ่ นอื่ งจากเกดิ โรคระบาดทำ�ใหช้ าวบา้ น ผสมผสาน โดยจะไม่ใช้สารเคมีเด็ดขาด ขณะเดียวกันยังเลี้ยงสัตว์ ท่ีอาศัยอยู่บริเวณนี้อพยพออกไปตั้งรกรากที่อ่ืน โดยมีหลักฐาน ทงั้ ไก่ หมู ววั และควาย  โดยเลย้ี งไกแ่ ละหมู เพอ่ื ประกอบในพธิ กี รรม ยืนยันวา่ มซี ากวัดเกา่ อยใู่ นที่นาของชาวบ้านในปจั จุบัน อยา่ งเชน่ การเล้ียงผีบรรพบรุ ษุ การแต่งงาน ส่วนวัวและควายนัน้ เล้ยี งไว้เป็นทรัพย์สนิ ของชาวบา้ น ตลอดระยะเวลา 150 ปีที่ผ่านมา มีครอบครัวเข้ามาต้ังถ่ินฐาน อยู่บรเิ วณบ้านสบลาน 2 ครั้ง ครงั้ แรกโดยพอ่ อุ๊ยนานู และภรรยา 35 พรอ้ มดว้ ยลูก 5 คน

วิถีไร่หมุนเวียน วิถีเกษตรอินทรีย์ แม้ปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีเพื่อกำ�จัด ศัตรูพืช เพ่ือเร่งให้พืชผักเติบโตทันกับความต้องการ ตลาด แต่สำ�หรับชาวบ้านสบลานแล้ว พวกเขายังคง ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยฟูมฟักผลผลิตให้งอกงาม และเติบโต ตามความอดุ มสมบูรณ์ของผืนดิน โดยการทำ�ไร่หมุนเวียนแบบปกาเกอะญอนั้น สอดคล้องกับแนวคิด เรื่องเกษตรอินทรีย์ ซ่ึงกำ�ลังเป็นกระแสเกษตรอินทรีย์ท่ีกำ�ลังได้รับ ความสนใจทว่ั โลก สหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ เครือข่ายขององค์กรด้าน เกษตรอินทรีย์ระหว่างประเทศ ท่ีมีสมาชิกกว้างขวางที่สุดในโลก ไดใ้ ห้คำ�จำ�กดั ความของคำ�วา่ เกษตรอนิ ทรยี ์ไว้วา่ “ระบบการผลิตที่ให้ความสำ�คัญกับความยั่งยืนของสุขภาพดิน พะตีตาแยะ ปราชญ์ชาวบ้านที่ให้ความสำ�คัญต่อความศักดิ์สิทธิ์ ระบบนิเวศ และผู้คน เกษตรอินทรีย์พ่ึงพาอาศัยกระบวนการทาง ของผืนป่า ซ่ึงเอ้ือเฟื้อเก้ือกูลต่อวิถีชีวิตมนุษย์ เล่าถึงวิธีการทำ� นิเวศวิทยา ความหลากหลายทางชีวภาพ และวงจรธรรมชาติ ที่มี ไร่หมุนเวียนท่ีสืบทอดมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษว่า ไร่หมุนเวียน ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะพน้ื ที่ แทนทจี่ ะใชป้ จั จยั การผลติ ทม่ี ผี ลกระทบ คอื วิถชี ีวติ  วัฒนธรรมของชาวปกาเกอะญอ ทีท่ ำ�สืบทอดต่อกนั มา ทางลบ เกษตรอนิ ทรยี ผ์ สมผสานองคค์ วามรพู้ น้ื บา้ น นวตั กรรม และ หลายช่วั อายคุ น ทีไ่ หนมีไร่หมุนเวียน ทน่ี ่ันยงั มีป่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และส่งเสริม ความสัมพันธ์ที่เป็นธรรม และคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกผู้คนและ “ในหลวงท่านไม่เคยสอนให้เราทำ�ลายป่านะ ท่านว่ามีป่า ย่อมมีน้�ำดี สง่ิ มีชีวิตต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง” ดินด”ี  เล่าพลางยม้ิ เกษตรอนิ ทรยี ต์ ง้ั อยบู่ นปรชั ญาแนวคดิ ทวี่ า่ การเกษตรทยี่ ง่ั ยนื ตอ้ ง เป็นการเกษตรที่เป็นไปตามครรลองของธรรมชาติ ไม่ใช่การเกษตร ทฝี่ ืนวิถีธรรมชาติ ดงั นน้ั การทำ�เกษตรจึงไม่ใช่การพยายามเอาชนะ ธรรมชาติ หรือการพยายามดัดแปลงธรรมชาติเพื่อการเพาะปลูก แตเ่ ปน็ การเรยี นรจู้ ากธรรมชาตแิ ละปรบั ระบบการทำ�เกษตรใหเ้ ขา้ กบั วิถีแห่งธรรมชาติ 36

โดยเราจะทำ�กินเท่าที่เราเคยทำ� เราจะมีคนละ 7 แปลง หมุนเวียนไป สำ�หรบั ขนั้ ตอนการทำ�ไรห่ มนุ เวยี นนน้ั  พะตตี าแยะ อธบิ ายวา่  การฟน้ื ตวั 7 ปี ในแต่ละแปลงเราจะทำ�แค่ปีเดียว แล้วปล่อยให้ป่าฟื้น 6 ปี ของไร่หมุนเวียนน้ันข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อม และลักษณะพ้ืนท่ี พอปที  ่ี 7 ถงึ จะกลบั ใชพ้ น้ื ทอ่ี กี รอบ ซงึ่ ทำ�ใหป้ า่ ฟน้ื คนื สภาพขน้ึ มาเอง โดยรอบ เช่น บรเิ วณที่มีความอุดมสมบรู ณม์ าก การฟน้ื ตัวของดิน ดินจะสมบูรณ์ ปุ๋ยก็จะสะสมจากใบไม้ และซากพืชท่ีทับถมกันมา และป่า จะเกิดขึ้นได้เร็ว ส่วนบริเวณไหนที่แห้งแล้ง หรืออยู่ห่างไกล อย่างเต็มที่ และท่ีสำ�คัญในทุกขั้นตอนของการทำ�ไร่หมุนเวียนน้ัน จากแหลง่ นำ�้ การฟน้ื ตวั กจ็ ะใชเ้ วลานาน ทว่ั ไปการฟน้ื ตวั ของดนิ และปา่ เราจะไมใ่ ชส้ ารเคมเี พอื่ เรง่ ใหผ้ ลผลติ เตบิ โตเปน็ อนั ขาด ปยุ๋ ของพวกเรา ในระบบไร่หมุนเวียนจะอยู่ท่ี 7 ปีขึ้นไป  โดยไร่หมุนเวียนของหมู่บ้าน จะใชเ้ พยี งขวี้ วั หรอื ขไี้ กเ่ ทา่ นนั้   ซง่ึ การไมใ่ ชส้ ารเคมขี องชาวบา้ นนเ่ี อง จะแยกออกจากป่าใช้สอย ป่าอนุรักษ์ และป่าพิธีกรรม ซ่ึงชาวบ้าน ที่ทำ�ให้ผืนป่ายังคงความอุดมสมบูรณ์ และสามารถทำ�ให้ชาวบ้าน มคี วามเชือ่ ว่าใครละเมิดกฎน้ตี อ้ งมีอันเปน็ ไป หรอื ป่วยหนัก สามารถใช้ผืนดนิ เพ่ือทำ�ไรห่ มนุ เวยี นไดม้ าตงั้ แต่สมัยบรรพบรุ ษุ 37

ในปฏิทนิ การทำ�ไรห่ มุนเวียนของปกาเกอะญอน้นั จะเริ่มต้น แลว้ หยอดเมลด็ พนั ธข์ุ า้ ว รวมทง้ั พชื อาหารอน่ื ลงไปพรอ้ มๆ กนั ทำ�ให้ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี โดยชาวบ้านจะเลือก บริเวณไร่หมุนเวียนมีพืชผักหลากหลายชนิดที่ให้ผลผลิตได้บริโภค พื้นที่ที่เหมาะสมสำ�หรับการปลูกข้าวไร่ และพืชผัก ผลไม้ ตลอดทง้ั ปี ซึ่งขอ้ สำ�คญั ในการเลอื กพื้นทนี่ นั้ จะตอ้ งไม่เป็นพ้นื ทปี่ ่าต้นน้ำ� เพราะ ชาวบา้ นเชอื่ วา่ ปา่ ตน้ นำ้� เปน็ พนื้ ทศ่ี กั ดสิ์ ทิ ธทิ์ ม่ี ขี วญั วญิ ญาณอาศยั อยู่ หลงั การปลกู ขา้ วและพชื ผกั แลว้ เสรจ็ เพอ่ื เปน็ การแสดงความเคารพ เม่ือเลือกพ้ืนท่ีได้แล้วหัวหน้าครอบครัวจะเป็นคนแรกท่ีฟันไร่ และ ต่อธรรมชาติ ผ่านความเช่ือว่าทุกๆ สถานท่ีมีเจ้าท่ีเจ้าทางคอย ในคืนน้ันหากกลับไปบ้านแล้วฝันไม่ดี เช่น ฝันเห็นไฟไหม้เห็ด ปกปักรักษาอยู่ เช่น ในน้�ำมีผีน�้ำ ป่ามีผีป่า ไร่นามีผีไร่ผีนา การใช้ ดอกเอ้ืองสาย ขอนไม้ หรอื ผึ้ง ตอ้ งเลอื กพ้ืนทใี่ หม่ แตห่ ากฝันเห็น ทรพั ยากรเหล่านต้ี ้องทำ�ด้วยความเคารพเสมือนผู้มีพระคณุ ช้างเช่อื วา่ ฝนั ดจี ะไดข้ า้ วมาก การทำ�ไรห่ มนุ เวยี นจะใชเ้ วลาประมาณ 4-5 เดอื น จงึ จะถงึ ฤดเู กบ็ เกย่ี ว เม่ือได้พ้ืนที่ทำ�ไร่แล้ว จึงลงมือถางไร่ หรือริบไร่เพ่ือเตรียมพื้นท่ี ในชว่ งเดอื นตลุ าคมถงึ พฤศจกิ ายน ในกระบวนการเกบ็ เกยี่ วจะเรม่ิ จาก เพาะปลูก ซ่ึงในการถางไร่นั้นจะตัดไม้ยืนต้น ให้เหลือตอไม้ประมาณ การเกี่ยวข้าว ตากข้าว ก่อนจะตีข้าว และขนข้าว รวมถึงผลผลิต 1-2 ศอก เพื่อไม่ให้ไม้ตาย และสามารถแตกกิ่งก้านออกมาได้ใหม่ ที่ได้จากไร่กลับบ้าน นับได้ว่าเป็นการเสร็จส้ินการทำ�ไร่หมุนเวียน แต่ถ้าเป็นไม้ใหญ่จะลิดเฉพาะกิ่งเพื่อไม่ให้บังแสงแดด ส่วนกอไผ่ ในรอบปีนั้น และหลังจากนั้นก็จะพักผืนดินทิ้งเป็นไร่เปล่า รอรอบ จะตัดให้ส้ันที่สุด หรือเหลือตอประมาณ 3 น้ิว แล้วตากเศษไม้ หมนุ เวยี นกลบั มาอกี ครง้ั หน่ึง จนแหง้ สนิท จากน้ันในช่วงประมาณปลายเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน จึงเริ่ม เผาไร่ ก่อนการเผาชาวบ้านจะทำ�แนวกันไฟรอบพื้นท่ีเพ่ือป้องกัน ไมใ่ หไ้ ฟลกุ ลามเขา้ ไปในปา่ ขา้ งเคยี ง การเผาไรม่ กั เลอื กเผาในชว่ งเวลา บ่ายก่อนค�่ำเพราะแดดแรง ไฟลุกไหม้ดี ควันไฟนอ้ ย และใชเ้ วลาเผา ไม่นาน โดยไร่ของพะตีนั้นใช้เวลาเผาประมาณ 30 นาทีเท่านั้น ซ่ึง หลังจากเผาเสร็จประมาณ 1 สัปดาห์ ก็จะเก็บเศษไม้ท่ีเหลือมารวม เผาอกี คร้ัง จนเมื่อล่วงเข้าสู่ฤดูฝน ในช่วงเดือนพฤษภาคม พะตีตาแยะ เล่าว่า ช่วงนี้ถือเป็นช่วงที่สำ�คัญ เพราะเป็นเวลาของการปลูกข้าวและ พืชภัณฑ์ธัญญาหาร โดยวิธีการนั้นพะตีจะเลือกปลูกพืชให้แล้ว เสร็จก่อนถึงจะปลูกข้าว สำ�หรับการปลูกข้าวนั้นจะใช้วิธีแทงหลุม 38

39

ศาสตร์พระราชา เกษตรผสมผสานในไร่หมุนเวียน นอกจากการทำ�ไรห่ มนุ เวยี นจะสอดคลอ้ งกบั วธิ กี ารทำ�เกษตรอนิ ทรยี ์ ให้พะตีไปช่วยเอาแรง พะตีก็สามารถเก็บแตง หรือผักในไร่ของเขา ที่ไม่ใช้สารเคมีแล้ว ภายในไร่หมุนเวียนยังมีพืชผักนานาชนิด และ มากนิ ได้ โดยทเ่ี จา้ ของไมว่ า่ อะไร  เชน่ เดยี วกนั หากวนั ไหนพะตไี หวว้ าน ผลผลิตชนิดอ่ืนๆ ซึ่งตรงตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และ เพื่อนบ้านให้มาช่วยเอาแรงในไร่พะตี เพ่ือนบ้านพะตีก็สามารถเก็บ ทฤษฎีใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผลผลติ ในไร่พะตีไปกนิ ได”้ ทรงให้ความสำ�คัญกับการทำ�การเกษตรผสมผสาน เป็นแนวทาง หรือหลักการในการจัดการทรัพยากรระดับไร่นาคือท่ีดินและน้�ำ “วิธีการเอาแรง วิธีการแบ่งปันผลผลิตของพวกเราน้ันยังมี เพ่ือการเกษตรในที่ดินขนาดเลก็ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลงเหลอื อยู่ มันเปน็ ความงดงามของวิถชี ีวิตที่ยงั มีอยจู่ ริง วันไหน หญา้ ท่ีไร่ยาว ก็ไหวว้ านเอาแรงกัน วันไหนจะเกีย่ วขา้ วกบ็ อกตอ่ กนั สำ�หรบั การทำ�เกษตรทฤษฎใี หมน่ นั้ พระองคท์ รงใหด้ ำ�เนนิ การในพน้ื ท่ี แล้วเม่ือถึงเวลาที่เขาจะเกี่ยวข้าว หรือเกี่ยวหญ้ามาบอกเรา เราก็ ทำ�กินท่ีมีขนาดเล็ก ด้วยวิธีการจัดการทรัพยากรระดับไร่นาอย่าง เอาแรงไปแลกกัน มันเป็นระบบที่ยุติธรรมซ่ึงหาได้ยากแล้วในสังคม เหมาะสม จัดสรรการใช้ประโยชน์ในที่ดินสำ�หรับการทำ�การเกษตร ปจั จุบัน” แบบผสมผสานอย่างได้ผล เพ่ือให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ ใหม้ รี ายไดไ้ วใ้ ชจ้ า่ ย และมอี าหารไวบ้ รโิ ภคตลอดปี ซง่ึ นยิ มดำ�เนนิ การ การทำ�ไร่หมุนเวียนแบบพออยู่พอกินของชาวบ้าน นอกจากทำ�ให้ อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เพื่อการผลิตทางเกษตรกรรมที่ย่ังยืน ไม่เป็นหนี้สินแล้ว ยังทำ�ให้ความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านด้วยกัน สำ�หรับเกษตรกรชาวไทย เนื่องจากทรงเห็นความสำ�คัญของภาค แนน่ แฟน้ กลมเกลยี ว ทสี่ ำ�คญั ยงั สามารถอนรุ กั ษผ์ นื ปา่ ใหอ้ ดุ มสมบรู ณ์ การเกษตรอย่างแท้จริงและทรงสนับสนุนการเกษตรอย่างยั่งยืน ไปดไู ดเ้ ลยรายรอบหมบู่ า้ นของเรามแี ต่ปา่ มแี ตต่ น้ ไมใ้ หญ่ สงสยั ไหม ดังพระราชดำ�รสั ท่ีว่า วา่ ทำ�ไมเราถงึ ชว่ ยกนั อนรุ กั ษป์ า่ เพราะถา้ ไมม่ ปี า่  ไรห่ มนุ เวยี นกจ็ ะหายไป ถ้าเม่ือใดป่าเสื่อมโทรม เราก็ไม่สามารถทำ�ไร่หมุนเวียนได้อีกต่อไป สอดคล้องกับการทำ�ไร่หมุนเวียนตามที่พะตีตาแยะได้อธิบายว่า เกษตรแบบผสมผสานที่เราทำ� และหล่อเลี้ยงชีวิตปกาเกอะญอมา ในไร่หมุนเวียนน้ัน นอกจากจะมีข้าวที่เป็นอาหารหลักแล้ว พวกเรา ต้ังแตบ่ รรพบรุ ษุ กจ็ ะหายไป  พะตตี าแยะ แสดงปณธิ านมุ่งม่นั ยงั ปลกู พชื ทสี่ ามารถเกบ็ ผลผลติ มากนิ ไดอ้ กี หลายชนดิ ทงั้ แตงกวา ผักกาด พริก มะเขือ ขา้ วโพด เผอื ก มนั ผักอหี รือ (คลา้ ยโหระพา) บวบ และฟกั ทอง เราจะทำ�แบบผสมผสาน  ผลผลติ เหลา่ นเ้ี ราจะทำ�ไว้ เพื่อกินกันเองในครอบครัวเป็นหลัก แต่ถ้าปีไหนผลผลิตงอกงาม ข้ึนเยอะจนไมส่ ามารถกนิ หมด ก็จะนำ�ไปแบง่ ใหเ้ พือ่ นบ้านกิน “อย่างบางไร่มีแตงกวาเยอะ แตงข้ึนสวย ถ้าวันไหนเขาไหว้วาน 40

“...การกสิกรรม และอาชีพ ในดา้ น เกษตรทกุ ทุกอยา่ งย่อมตอ้ ง อาศัยปจั จัยสำ�คญั หลายด้าน ด้านหนึ่งก็คือหลกั วชิ าของการ เพาะปลกู เปน็ ตน้   และอีก ดา้ นหนงึ่ ก็เป็นการช่วยให้ เพ่ิมหลกั วชิ าเหลา่ นน้ั และเมอื่ ได้ปฏิบตั แิ ล้วได้ผลิตผลแล้วก็ จะตอ้ งสามารถดดั แปลงและ ขายจำ�หนา่ ยผลิตผลทีต่ นได้ทำ�  ฉะนน้ั ทุกอยา่ งต้องสอดคลอ้ งกัน ความขยันหมน่ั เพยี รในการผลิต ความรู้ในวิชาการผลติ และความรู้ ในการเป็นอยู ่ ท้งั ความรู้ในด้าน จำ�หน่าย ลว้ นเป็นความรทู้ ่จี ะต้อง ประสานกนั หมด...” ความตอนหนงึ่ ในพระราชดำ�รัสของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสทค่ี ณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร สหกรณน์ คิ ม สหกรณป์ ระมง และสมาชิกผู้รบั นมสด เข้าเฝ้าฯ ณ โครงการสว่ นพระองค์ สวนจิตรลดา เมื่อวันท่ี 8 พฤษภาคม 2530 41

พะตตี าแยะ บอกอย่างมุ่งมน่ั ว่า “เราจะยืนหยดั ปกปอ้ ง รักษา ฟ้ืนฟปู ่า เพราะทีน่ เี่ ป็นบา้ นและสิ่งที่บรรพบุรษุ ทิ้งไว้ให้ ตอ้ งสบื สาน และดูแลให้ ลกู หลาน และคนท่อี ยขู่ ้างล่างในเมือง ถา้ พะตแี ละชาวบา้ นไมร่ ักษาไว้ แลว้ ใครจะทำ�” 42

43

ภมู ิปัญญาการทอผา้ แบบกี่เอว ดว้ ยเทคนคิ ท่มี เี อกลกั ษณ์เฉพาะ ของชาวปกาเกอะญอนับเปน็ วิถี ทส่ี ืบสานมายาวนานกวา่ รอ้ ยปี เดก็ ผหู้ ญิงจะเรียนรจู้ ากแมข่ อง พวกเธอ นอกเหนอื จากการทอผา้ ไว้ใชใ้ นครัวเรือน ยังชว่ ยสร้าง รายไดเ้ สรมิ ใหอ้ กี ดว้ ย 44

45

พืชเชิงเด่ียว นโยบายรัฐ ความท้าทายต่อการ อนุรักษ์ไร่หมุนเวียน แม้การทำ�ไร่หมุนเวียนจะพอหล่อเลี้ยงชีวิตชาวบ้านให้อยู่ได้อย่าง ไม่ขัดสน แต่ยังมีชาวบ้านเร่ิมหันไปปลูกพืชเชิงเด่ียวกันมากข้ึน ด้วยเหตุผลเรื่องรายได้ ซึ่งสามารถทำ�เงินได้มากกว่าการทำ�ไร่ หมุนเวยี น พะตีตาแยะ ยอมรับตามตรงในเร่ืองนี้ว่า ไร่หมุนเวียนด้วยตัวของ ไร่แปลงนถ้ี กู เกบ็ เกีย่ วตาม มนั เองนัน้ ดีแน ่ สามารถทำ�ใหช้ าวบา้ นอย่ไู ดโ้ ดยไม่เดอื ดร้อน แต่มันก็ ฤดูกาลเรยี บรอ้ ยแล้ว ยังไม่ตอบโจทย์ในแง่ของรายได้ หากใครจำ�เป็นต้องใช้เงิน หากใคร มีภาระในชีวิตเพ่ิมมากข้ึน ต้องส่งเสียลูกเรียนหนังสือ อยากได้ โดยการทำ�ไรห่ มนุ เวยี นนน้ั สิ่งของท่ีมีราคาแพงขึน้ ก็ตอ้ งพงึ่ เกษตรทส่ี ามารถทำ�เงนิ ได้มากกวา่ จะเริ่มจากเลอื กพน้ื ทีไ่ รท่ ี่ถูกพกั ตัว เกษตรผสมผสานพออยู่พอกินแบบไร่หมุนเวียน ด้วยการปลูกพืช มาแล้ว ซงึ่ จะรกั ษาระยะเวลาของ เชิงเด่ียวอย่างสตรอเบอร่ี หรือกะหล�่ำปลี อย่างที่เห็นกันในหลาย แปลงของหมู่บ้าน การหมนุ เวยี น 5-10 ปี โดยการ เลอื กพ้นื ที่ในการทำ�ไร่แตล่ ะปี “ใช่อยู่ว่าการปลูกพืชเหล่านี้ช่วงแรกๆ ก็ทำ�รายได้ดี แต่เม่ือปลูก ไปนานๆ ด้วยความที่ต้องใช้สารเคมี ใช้ปุ๋ย ก็ทำ�ให้ดินเสื่อมโทรม จะถกู กำ�หนดร่วมกนั และมผี ้อู าวุโส ผลผลติ กไ็ มไ่ ดต้ ามทตี่ อ้ งการ เมอื่ ไมไ่ ดต้ ามเปา้ หมายท่ีวางไว้ ก็ต้อง ของชมุ ชนเปน็ คนให้คำ�แนะนำ� เพ่ิมการใช้สารเคมี แต่ยิ่งเร่งความงอกงามของผลผลิตก็กลับย่ิง ถดถอย ย่ิงใสส่ ารเคมีกย็ งิ่ ทำ�ร้ายธรรมชาต”ิ “ถ้าไปทำ�พืชเชิงเดี่ยว ต้องไปซ้ือปุ๋ยซ้ือยา ต้องพ่ึงพาข้างนอก แต่การทำ�แบบท่ีเป็นอยู่ทุกวันน้ีเราไม่ต้องพ่ึงพาอะไรสักอย่าง เพราะ “บางคนเขาคิดว่าทำ�ไร่หมุนเวียนแล้วไม่สามารถทำ�รายได้ตาม เราพึ่งพาได้แต่ธรรมชาติ หน่วยงานรัฐ หรือภายนอกก็ไม่ต้อง ทีต่ ้องการ ก็หนั ไปปลกู พืชเชงิ เดยี่ ว แตพ่ อนานๆ ไปกต็ ้องเป็นหนเ้ี ขา มาชว่ ยอะไร เรากอ็ ยไู่ ด้ โดยไมต่ อ้ งลงทนุ อะไร” เพราะต้องใช้สารเคมี ซึ่งการทำ�เกษตรในลักษณะน้ีมันมีต้นทุนที่ ตอ้ งจา่ ย ไมใ่ ชไ่ ดม้ าแบบงา่ ยๆ ยงั ไมน่ บั ตน้ ทนุ ทางธรรมชาตทิ เี่ ราตอ้ ง ผู้นำ�ปกาเกอะญอ จากสบลาน ยังบอกอีกว่า นอกจากรายได้จาก สญู เสยี ความอดุ มสมบูรณ์ของพ้ืนทไี่ ป เคยสังเกตไหม ที่ไหนมกี าร พชื เชงิ เดย่ี วทเี่ ขา้ มาทำ�ใหช้ าวบา้ นทำ�ไรห่ มนุ เวยี นนอ้ ยลงแลว้ นโยบาย ปลูกพืชเชิงเด่ียว ท่ีนั้นป่าจะหายไป ภูเขาก็จะกลายเป็นภูเขาหัวโล้น ของรัฐ และความไมเ่ ขา้ ใจของเจ้าหน้าทรี่ ัฐ โดยเฉพาะเจา้ หน้าท่ปี า่ ไม้ ต้นไม้บนเขาหายไปจากภูเขาหลายลูก น่ีคืออันตรายจากการปลูกพืช และเจา้ หน้าทีอ่ ุทยาน กท็ ำ�ใหก้ ารทำ�ไร่หมุนเวยี นยากลำ�บากมากขน้ึ เชิงเดยี่ ว ซ่งึ แตกต่างจากการทำ�ไร่หมนุ เวียนเปน็ อย่างมาก” 46

ในบทความวิจัยเร่ือง “ไร่หมุนเวียน สิทธิทางวัฒนธรรม เพ่ือ เมื่อรัฐประกาศเขตป่าอนุรักษ์ครอบทับพื้นที่ทำ�กินของคนกะเหร่ียง ความเป็นธรรมทางนิเวศและสังคม” ของ กฤษฎา บุญชัย จาก ไร่หมุนเวียน จึงเป็นส่ิงผิดกฎหมาย ถูกห้ามหมุนเวียนทำ�ให้ความ สถาบนั ชมุ ชนท้องถ่ินพฒั นา ระบุไวอ้ ย่างชดั เจนวา่ แมไ้ รห่ มุนเวียน สมบูรณ์พืชพรรณอาหารในไร่ลดลง ชุมชนประสบความไม่มั่นคง จะเป็นระบบผลติ อาหารท่ีมีประสทิ ธภิ าพ แต่เมอ่ื มีการเกิดขึน้ ของรัฐ ทางอาหาร ตอ้ งหันไปทำ�การเกษตรพาณิชยท์ ่ีไม่ยั่งยนื ชาตไิ ทยสมยั ใหม ่ ทน่ี ำ�เอาการจดั การปา่ และเกษตรแผนใหมซ่ ง่ึ มงุ่ เสรมิ อำ�นาจรฐั และใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ยม์ าใช ้ รฐั กลบั มองวา่  ไรห่ มนุ เวยี น โดยปัจจัยทางนโยบายเร่ืองการประกาศเขตป่าอนุรักษ์ซ้อนทับพ้ืนท่ี เป็นระบบการผลิตที่ล้าหลังไม่มีประสิทธิภาพ กระทบต่อป่าไม้ ชุมชน  ชาวกะเหรี่ยงและกลุ่มชาติพันธุ์อ่ืนๆ ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีป่า จะถูก ขัดกบั หลักกรรมสทิ ธ์ทิ ีด่ ินปจั เจก เป็นวถิ ีของกลุ่มชาติพันธบ์ุ นที่สงู เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ควบคุมไม่ให้ทำ�ไร่หมุนเวียนหรืออย่างน้อยท่ีสุดก็จะ ตามแนวชายแดนที่ถูกสงสัยว่าไม่ใช่คนไทย และอาจเป็นภัยต่อ ถูกบังคับให้จำ�กัดพื้นที่และจำ�กัดรอบหมุนเวียน ทำ�ให้ดินเสื่อมโทรม ความม่นั คง เกดิ หญ้ามาก ผลผลิตขา้ วต่อไรต่ ่�ำลง ไดข้ ้าวไมพ่ อกิน 47

“ไม่เพียงแต่เรื่องการประกาศพื้นที่อุทยานทับท่ีอยู่ “แม้มีมติครม. วันที่ 3 สิงหาคม 2553 เรื่องแนวนโยบายฟื้นฟู ทที่ ำ�กนิ ของเราเทา่ นนั้ รฐั บาลยงั พยายามผลกั ดนั วิถชี ีวิตชาวกะเหรย่ี ง ขน้ึ มาคุม้ ครองวถิ ชี วี ิตของพวกเรา แมก้ ระทง่ั การสรา้ งเขอื่ นแมข่ าน ตามแผนบรหิ ารจดั การนำ�้ กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรมประกาศใหพ้ น้ื ทกี่ ารทำ�ไรห่ มนุ เวยี นขนึ้ ทะเบยี น 3.5 แสนลา้ นบาท ซึ่งจะทำ�ให้พ้ืนที่บ้านเราได้รับ เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของชาติต้ังแต่ปี 2556 แต่เอาเข้าจริง ผลกระทบจากการสร้างเขื่อน เราก็ต้องลุกขึ้นมาต่อสู้ และรณรงค์ ในทางปฏิบัติ รัฐก็ยังคงเป็นภัยคุกคามของพวกเราอย่างต่อเนื่อง ให้ความรู้กบั ชาวบา้ น” มีการประกาศ หรือออกกฎหมายมาควบคุมการทำ�ไรห่ มนุ เวียน และ การอยู่อาศยั ของพวกเรา” 48

“แตเ่ รา นอกจากน้ียังรวมถึงปัญหาท่ีเครือข่ายทุนจากภายนอกเข้ามา เหน็ วา่กย็ งั ยนื ยนั และตอ่ สใู้ หร้ ฐั กวา้ นซอื้ ทดี่ นิ ตลอดจนโครงการสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ของรฐั ไดเ้ ปลยี่ น จากระบบเศรษฐกจิ พ่งึ ตนเองให้เปน็ เศรษฐกจิ การคา้ เปน็ แรงกดดัน วถิ กี ารทำ�ไรห่ มนุ เวยี น ให้ชาวบ้านจำ�ต้องเปลยี่ นจากไร่หมุนเวียนไปปลกู พืชเชงิ พาณชิ ย์ นน้ั ไมไ่ ดเ้ ปน็ การทำ�ลายปา่ ในทางตรงกนั ขา้ มนค่ี อื พะตีตาแยะ ให้ความเห็นในเรื่องนี้ว่า รัฐมักเข้าใจว่าส่ิงที่เราทำ�นั้น การอนรุ กั ษป์ า่ เพราะทไ่ี หน คือการทำ�ไร่เลื่อนลอย ซ่ึงเป็นการทำ�ลายทรัพยากร แต่ไม่ใช่เลย มไี รห่ มนุ เวยี น ทน่ี น่ั มปี า่ การทำ�ไรเ่ ลอ่ื นลอยนน้ั เหมอื นกบั การปลกู พชื เชงิ เดยี่ วทท่ี ำ�ซำ้� ๆ อยกู่ บั ที่ เราไมไ่ ดพ้ ดู กนั เองนะ ทำ�ให้ดนิ เสอื่ ม แตไ่ รห่ มุนเวียนนัน้ เปน็ ตรงกันขา้ ม เพราะไรห่ มนุ เวียน มงี านศกึ ษา และผลการวจิ ยั ทำ�ใหป้ า่ คงสภาพดงั เดิม จำ�นวนมากทม่ี าชว่ ยยนื ยนั ถงึ ความสำ�คญั และประโยชน์ ที่บ้านเราก็มีปัญหากับเจ้าหน้าที่รัฐ เขาจะให้เราลดรอบการหมุนวน ของการทำ�ไรห่ มนุ เวยี น”  จาก 7 ปีเหลือเพียง 2-3 ปี ซ่ึงเราทำ�ไม่ได้ เพราะ 3 ปีธรรมชาติ พะตตี าแยะ ยนื ยนั ทง้ิ ทา้ ย ฟน้ื ตวั ไมท่ นั พวกพชื ผกั ทป่ี ลกู ไวก้ จ็ ะไมไ่ ดผ้ ล พวกแตง หรอื ฟกั ทอง ก็จะไม่มีลูก  เคยทำ�มาแล้ว เพราะดินมันยังไม่ฟื้นตัว และอาจต้อง หนั ไปพึงพาสารเคมี หรอื ยาปราบศตั รพู ชื แต่ถา้  7 ปี ดินจะสมบูรณ์ ปุ๋ยก็จะสะสมเต็มท่ีจากใบไม้ และซากพืชท่ีทับถมกันมาอย่างเต็มท่ี ผลผลิตก็จะสมบูรณ์ “เราต่อสู้เรื่องนี้มาเยอะมาก ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535 ท่ีกรมป่าไม้ มีนโยบายเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ โดยเตรียมประกาศเขตป่าอุทยาน แห่งชาติออบขาน ซ่ึงจากเดิมท่ีเป็นพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติสะเมิง ขอบเขตพ้ืนที่อุทยานครอบคลุมพื้นที่อยู่อาศัย ที่ทำ�กิน และพ้ืนท่ี ปา่ ชมุ ชน ทำ�ใหส้ ง่ ผลกระทบตอ่ ชาวบา้ นในบา้ นสบลาน และคนในชมุ ชน บรเิ วณลมุ่ นำ�้ แมข่ าน เราจงึ ตอ้ งรวมตวั กนั ตอ่ สู้ และผลกั ดนั ใหร้ ฐั บาล ยอมรับการดแู ลปา่ ของชุมชน รวมทงั้ ทำ�ความเขา้ ใจกับคนภายนอก ให้รับร้ถู งึ วิถีชวี ิต และการดูแลปา่ ของชุมชนปกาเกอะญอ” 49

โครงการหลวง พระอัจฉริยภาพ ของพ่อ พลิกฟื้นผืนป่า สร้างแหล่งน้�ำ คืนคุณค่าชีวิตบนดอยสูง เรื่อง อุดร คำ�พันธ์ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook