¤‹ÁÙ Í× ¡Ô¨¡ÃÃÁÊè§Ô áÇ´ÅŒÍÁÈ¡Ö ÉÒ กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 1ปฏิบัตกิ ารขยะเหลือศูนย์
คู่มือกจิ กรรมสิง่ แวดลอ้ มศกึ ษา z(H)ero Waste: ปฏบิ ตั กิ ารขยะเหลอื ศูนย์ ISBN 978-616-316-308-0 สงวนลขิ สทิ ธ์ิ โดยกรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม หา้ มการลอกเลยี น ท�าซ�้า หรือดดั แปลง เพอ่ื จัดจ�าหน่ายโดยมิไดร้ ับอนญุ าต แตส่ ามารถท�าซ�า้ เพ่ือเผยแพรเ่ ปน็ วิทยาทาน โดยการขออนญุ าตจากเจา้ ของลิขสิทธ์ิ พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 : พฤษภาคม พ.ศ. 2559 จา� นวนพมิ พ์ 3,000 àÅ‹Á จดั ท�าโดย กรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม บรรณาธกิ ารบริหาร นางสาวภาวิณี ปณุ ณกนั ต,์ นายสากล ฐนิ ะกุล, นายเสริมยศ สมมั่น บรรณาธกิ ารที่ปรึกษา นายบรรพต อมราภิบาล กองบรรณาธกิ าร นายอลงกต ศรีวิจิตรกมล, นางเรไร เท่ียงธรรม, นางสาวนชุ นารถ ไกรสวุ รรณสาร นางสาวจุฑา กีฬา, นายสราวุธ ชาวพุฒ,ิ นายหริ ัณย์ จันทนา นางสาวเฟ่ืองลัดดา ดวนขนั ธ์, นายกนั ต์ธีร์พัฒน์ อย่แู กว้ , นางสาวมะลิ เกือบสนั เทียะ นายเอกรัฐ ธิมาชยั , นางสาวจารุวรรณ ผายทอง, นางสาวสุภัค ไชโย นางสาวหทัย ทองใส, นางสาวฤดีวรรณ พุทธประเสิรฐ เรียบเรียง หม่อมหลวงเมธริ า เกษมสันต์ ภาพประกอบ นางสาวพริ ดา สุมานนท์ ศลิ ปกรรมและออกแบบรปู เลม่ นายเกยี รตภิ ูมิ แกว้ ปลง่ั พมิ พท์ ี่ โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ากดั 2 Z(H)ero Waste
คำ� นำ� แนวทางส�าคัญในการด�าเนนิ งานตาม Road Map การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ให้ประสบความส�าเร็จและเกิดความย่ังยืน ก็คือ “การสร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ย่ังยืน” โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การสรา้ งจิตสา� นกึ และวินยั ในการจัดการขยะมลู ฝอยใหแ้ กน่ กั เรียนและเยาวชนโดยใหม้ ี การปฏบิ ตั เิ ปน็ รปู ธรรมในโรงเรียนและสถานศกึ ษาทกุ แหง่ เปน็ ตวั อยา่ ง ซงึ่ ถอื เปน็ หนา้ ที่หลกั ของกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร และกรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จึงจัดท�าคู่มือกิจกรรมสิ่งแวดล้อมศึกษา “Z(H)ero Waste: ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์” ข้ึน เพื่อเผยแพร่ให้แก่โรงเรียนท่ัวประเทศ น�าไปใช้เป็นแนวทางในการจัด กจิ กรรมการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั แตล่ ะชว่ งชนั้ เพอ่ื สรา้ งจิตส�านกึ และวินยั ในการจัดการขยะมลู ฝอย ใหแ้ กน่ กั เรียนและเยาวชนในทกุ ระดับ โดยยดึ หลัก 3Rs: Reduce Reuse Recycle ในการจัดการขยะ มูลฝอยในโรงเรียนให้เหลือน้อยท่ีสุดและเกิดเป็นพฤติกรรมการบริโภคท่ี ไม่สร้างขยะติดตัวนักเรียนและ เยาวชนไป คมู่ อื กจิ กรรมสง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษา “z(H)ero Waste: ปฏบิ ตั กิ ารขยะเหลอื ศนู ย”์ เลม่ นี้ ใชก้ ระบวนการ จัดทา� อยา่ งมสี ว่ นรว่ มในทกุ ขน้ั ตอน โดยคณุ ครทู ี่มปี ระสบการณด์ า้ นการจัดกจิ กรรมเกยี่ วกบั ขยะเหลอื ศนู ย์ (Zero Waste) ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย จากทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มาร่วม น�าเสนอกิจกรรม แลกเปล่ียนและเติมเต็มให้คู่มือเล่มนมี้ ีความสมบูรณ์ สามารถใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียนได้อย่างรอบดา้ น ทั้ง Head - Heart - Hand และดว้ ยความเช่ือมั่นว่า เดก็ และเยาวชน ทกุ คนมคี วามเป็น “ฮโี ร”่ (Hero) อยู่ในตัวเอง ขอเพียงแคค่ ณุ ครชู ่วยกระต้นุ หรือดึงความเปน็ “ฮโี ร่” ของ พวกเขาออกมา การจะบรรลุเป้าหมายขยะเหลือศูนย์ หรือ Zero Waste ในโรงเรียนหรือชุมชน กค็ งไม่ใช่ เร่ืองที่ยากจนเกนิ ไป ขอขอบพระคุณ คณะผู้ร่วมจัดท�าทุกท่านท่ีกรุณาสละเวลามาร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท�า ค่มู ือกิจกรรมสิ่งแวดล้อมศกึ ษา “z(H)ero Waste: ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลอื ศูนย์” จนเสร็จส้นิ สมบูรณ์ ขอ ขอบพระคุณคุณจีรนันท์ ชะอุ่มใบ เลขาธิการสมาคมสร้างสรรค์ไทย ท่ี ให้เกียรติมาเป็นผู้จัดกระบวนการ ในการท�าค่มู อื ครั้งนี้ และขอขอบพระคณุ ม.ล.เมธริ า เกษมสันต์ เจ้าของเพจ Nature Toon การ์ตนู สอื่ ความหมายธรรมชาติ ที่ ใหเ้ กยี รตเิ ป็นทีมบรรณาธิการและภาพประกอบ นางสาวภาวิณี ปณุ ณกันต์ อธบิ ดีกรมส่งเสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม 3ปฏิบัตกิ ารขยะเหลือศูนย์
สารบญั บทน�า 8• ส่งิ แวดล้อมศกึ ษาคอื อะไร > 10• แนวคิดขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) และหลัก 3Rs > 12• ประเภทของขยะ และการคดั แยกขยะ > 14• วัตถุประสงคห์ ลัก 5 ดา้ น ที่ควรคา� นงึ ถงึ ส�าหรับการจัดการเรียนร้ขู ยะเหลอื ศูนย์ > ความร้เู บ้อื งต้น 18 • ก่อนจะมาเปน็ ขยะ : ท่ีมาของพลาสตกิ โฟม กระดาษ และอื่นๆ • > • ปสภ‘สกHาถือ่า๊ลeพซทิตาrเยชี่ทินรoวทือา่่ีนนWาสนา่คงนกสaขดิ รใsนอจtะง>ใeจจข>’กย3>ตะ4ภ8วั 3า:อ2วยท2ะา่้งิโงลแสกลรร้ว้า้อไงปนสไหรแรนลคะ์ข?รออ>งยนเ2ักทจ2า้ ัคดากราบ์รขอยนะ>>2385 • • • • กจิ กรรมสกู่ ารปฏบิ ตั ิในโรงเรียนและชมุ ชน สัญลกั ษณ์แทนกิจกรรมสา� หรับแตล่ ะช่วงชนั้ อนบุ าล ประถมต้น ประถมปลาย มัธยมตน้ มัธยมปลาย Head - ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ และความตระหนกั • เกมแยกขยะ ลดมลพิษ > 6>>>0644648 • บิงโกคัดแยกขยะ • หรรษา 3Rs รักษ์โลก • มองหาคุณคา่ จากวัสดุเหลอื ใช้ 4 Z(H)ero Waste
Heart - ด้านเจตคติ > 72 • ห่อถั่ว • ปฏิบตั กิ าร Shop for life > 76 • ปฏบิ ตั ิการ Think Eat Save รวมพลังเพ่ือความหวงั ไรม้ ลพษิ > 82 • ปฏิเสธซะ ถงุ พลาสตกิ และโฟม 88 • ยดื อายุมอื ถือ ยืดอายุโลก > > 92 Hand - ดา้ นทักษะ และการลงมือปฏิบตั เิ พื่อสิ่งแวดลอ้ มที่ดีขึ้น • หนนู อ้ ยพอเพียง > 98 • กระดาษนมี้ ีค่า หนูๆ จา๋ มาแยกกัน > 1>01612 • แกะ ตดั ลา้ ง เกบ็ กล่องเครื่องด่ืม • กระดาษคนื ร่าง 11>33>>12611122882 • ป้นั กระดาษเป็นเงิน > • ไสเ้ ดอื นดินรักษ์โลก > • ตลาดนดั ท�ามือ • ตลาดนัดไร้ขยะ การประยกุ ต์ใช้กจิ กรรมกบั ช่วงชั้นอนื่ ๆ > 140 ค�าอธบิ ายมาตรฐานการเรียนรู้ > 144 ภาคผนวก • กกกาาารรรทเทล�าา� ้ยี ปนง�า้ยุ๋ ไหสห้เมมดกัักือชอนีวินดภทานิ รพีย>์ >>114155812 • > 154 • • กว่าจะมาเปน็ … คมู่ อื Z(H)ero Waste • คณะผจู้ ัดทา� >>115568 • บรรณานกุ รม 5ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์
6 Z(H)ero Waste
บทนÓ 7ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์
ส่งิ แวดลอ้ มศกึ ษำ (Environmental Education) ความหมาย สงิ่ แวดล้อมศกึ ษา เปน็ ‘กระบวนการ’ ให้การศกึ ษากบั ประชาชนเพ่ือใหเ้ กดิ ความตระหนกั ในความ ส�าคัญและปัญหาของส่ิงแวดล้อม ให้มีเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาและป้องกัน มิให้เกิดปญั หาสิง่ แวดลอ้ มข้นึ ท้ังในปจั จุบันและอนาคต เพ่อื พัฒนาให้เกิดสงั คมและเศรษฐกจิ ท่ีย่งั ยนื ให้ ประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตที่ดจี นถึงรุน่ ลกู หลานในอนาคต ซ่งึ หมายถงึ การพัฒนาคนใหต้ ระหนักว่า ส่ิงแวดลอ้ มนัน้ มีความส�าคญั อย่างไร กา� ลงั มปี ัญหาอะไร และทา� ไมจงึ ตอ้ งใหค้ วามสนใจ การมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มกค็ อื มคี วามรสู้ กึ หว่ งใย เออื้ อาทรและมคี วาม รับผิดชอบตอ่ ส่งิ แวดล้อม นอกจากนี้ สิง่ แวดล้อมศึกษาจะสอนคนให้รูจ้ ักปญั หา รวู้ ิธแี กป้ ัญหา สามารถ ตัดสินใจในการพิจารณาปัญหาต่างๆ รวมทั้งหาแนวทางในการแก้ปัญหาท่ีถูกต้องเหมาะสม ที่ส�าคัญ กระบวนการสิ่งแวดลอ้ มศกึ ษาจะเปล่ยี นพฤติกรรมของคนให้หันมาดแู ลสง่ิ แวดล้อมร่วมกัน สง่ิ แวดล้อมศึกษา จงึ เปน็ เสมอื น ‘เคร่ืองมอื ส�าคัญ’ ของการพัฒนาคณุ ภาพคน ใหส้ ามารถน�าพา ประเทศและโลกของเราบรรลุสเู่ ป้าหมายการพัฒนาท่ียงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDG) ร่วมกัน วตั ถปุ ระสงค์ของสง่ิ แวดล้อมศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (SDG) ควรก�าหนด วตั ถุประสงคส์ �าหรับการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้ครอบคลมุ 5 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ดา้ นความตระหนกั ใหร้ บั รแู้ ละรสู้ กึ ไวตอ่ ปญั หาของสงิ่ แวดลอ้ ม เหน็ คณุ คา่ ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 2. ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ สงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมถงึ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั ส่ิงแวดลอ้ ม 3. ด้านทกั ษะ ใหม้ ีทักษะการชี้บง่ ปัญหา การแกป้ ัญหา (ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) การปอ้ งกนั ปัญหา การสือ่ ความหมาย การตดั สนิ ใจ การประนปี ระนอม การสรา้ งความรว่ มมอื การแสวงหาหุน้ สว่ น การเรียนร้ซู ง่ึ กันและกัน 4. ดา้ นเจตคติ ใหม้ ีความเอือ้ อาทร ห่วงใยและรับผิดชอบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม มีค่านยิ มที่ถูกตอ้ งเหมาะสมในการปฏบิ ตั ติ ่อส่งิ แวดล้อม 8 Z(H)ero Waste
5. การมีส่วนรว่ มและลงมือปฏิบัติ ให้อทุ ิศตนในการร่วมลงมอื อนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ มเพอื่ ทา� ปัจจุบันให้ดีข้ึน และเพือ่ อนาคตของคนรุน่ ต่อไป เปา้ หมายของส่งิ แวดล้อมศกึ ษา การจัด ‘กระบวนการสิง่ แวดลอ้ มศึกษา’ จะตอ้ งมงุ่ เนน้ ให้กล่มุ เป้าหมายได้รับการพัฒนาใน 3 ดา้ น หลกั คอื พทุ ธิพสิ ัย – จติ พสิ ยั – ทกั ษะพิสยั (หรือ Head – Heart – Hand) ซึ่งในท้ายท่ีสุด พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายจะต้องเปล่ียนแปลงไปในทิศทางที่ดีข้ึน ห่วงใยและ ใส่ใจต่อสังคมและสงิ่ แวดล้อมมากขึ้น 9ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์
แนวคิดขยะเหลอื ศนู ย์ (Zero Waste) ‘ขยะเหลอื ศนู ย’์ เปน็ แนวคดิ ในการสง่ เสริมการหมนุ เวยี นทรัพยากรกลบั มาใช้ ใหม่ เพอ่ื ใหท้ รัพยากร ถกู ใช้อยา่ งมีประสิทธิภาพสงู สดุ และลดขยะให้เหลือนอ้ ยที่สดุ โดยใช้หลกั การ 3Rs (Reduce - Reuse - Recycle) รวมทั้งการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ให้สามารถน�ากลบั มาใช้ ใหม่ได้ หัวใจส�าคัญของแนวคิดขยะเหลือศูนย์คือ ‘การจัดการขยะที่ต้นทาง’ คือเน้นการลดขยะ การใช้ซ�้า การคัดแยกเพอ่ื น�ากลบั มารีไซเคลิ กอ่ นนา� ไปก�าจัด ซงึ่ แตกต่างจากการจัดการขยะในปัจจุบนั ที่เนน้ ‘การ ก�าจัด’ หรือ ‘จัดการขยะท่ีปลายทาง’ มากกว่าการแกไ้ ขที่ตน้ ทาง ขน้ั ตอนส่กู ำรจดั กำรขยะเหลอื ศูนย์ คือหลักการ 3Rs (Reduce - Reuse - Recycle) ซึ่งมคี วามหมายดงั น้ี Reduce (ลดการใช้) เชน่ ปฏเิ สธการรับถุงพลาสตกิ , ใชผ้ า้ เช็ดหนา้ แทนกระดาษทิชช,ู ใช้ปิ่นโตหรือกลอ่ งข้าวแทน กล่องโฟม, ทานอาหารท่ีร้านแทนการซื้อ กลับบ้าน, พกกระติกนา้� แทนการซอื้ น�า้ จาก ขวดพลาสติก, น�ากระตกิ ไปใหแ้ มค่ า้ ใสก่ าแฟ แทนการรับแกว้ แบบใชแ้ ลว้ ทงิ้ , เลือกซอื้ สินค้าท่ีมบี รรจุภณั ฑเ์ ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม เชน่ เลือกร้านที่ ใชก้ ลอ่ งบรรจุอาหาร ท่ีทา� มาจากชานออ้ ยแทนร้านท่ี ใช้กลอ่ งโฟม, ไมซ่ ้ือสนิ คา้ เกนิ ความจ�าเปน็ เปน็ ตน้ ซึง่ การ ‘ลดการใช’้ คือจุดเร่ิมต้นท่ี ส�าคัญท่ีสุดของการจัดการขยะใหเ้ หลอื ศูนย์ (หรือเหลือน้อยที่สดุ ) 10 Z(H)ero Waste
Reuse (ใช้ซา้� ) คือการน�าส่งิ ของท่ี ใชแ้ ลว้ มาใช้ประโยชน์ ให้ค้มุ คา่ ที่สดุ เช่น ใชก้ ระดาษสองหน้า, ลา้ งช้อนพลาสติก เพอ่ื นา� กลบั มาใช้ ใหม,่ ลา้ งกลอ่ งคกุ ก้ีมาใชเ้ ปน็ กลอ่ งใสข่ อง, ซอ่ มรองเทา้ ท่ีขาด, นา� เสอ้ื ผา้ เกา่ ไปเยบ็ กระเปา๋ , ทา� สง่ิ ประดิษฐจ์ ากของเหลอื ใช,้ น�าขวดน�้าพลาสติกไปเป็นภาชนะปลูกผกั , เลอื กซ้ือสนิ คา้ ที่สามารถใช้ซ้�าได้ แทนสนิ คา้ ท่ี ใช้คร้ังเดียวท้งิ เชน่ ถ่านไฟฉายแบบชาร์ตไฟได้ Recycle (นา� กลบั มาใช้ใหม่) คือการนา� ขยะบางประเภท เช่น แกว้ กระดาษ พลาสติก โลหะ หมุนเวยี นกลบั ไปเข้าสกู่ ระบวนการ ผลติ ผ่านกระบวนการแปรรปู เพ่อื น�ากลับมาใชป้ ระโยชน์ ใหม่ เช่น กระดาษใช้แล้วน�าไปผลิตเปน็ กระดาษ รีไซเคลิ , กลอ่ งนมน�าไปผลิตเป็นแผน่ กรีนบอร์ด, กระปอ๋ งอะลูมเิ นยี มน�าไปผลิตขาเทียม, ขวดน�้าพลาสตกิ นา� ไปผลติ เปน็ เส้นใย ส�าหรับทา� เส้อื กันหนาวหรือพรม, เหล็กน�าไปผลิตเปน็ วัสดุกอ่ สรา้ ง หัวใจส�าคัญท่ีจะท�าให้เกิดการรีไซเคิลได้ คือการ ‘คัดแยกขยะ’ ต้ังแต่ต้นทาง แล้วน�าไปขายให้ ร้านรับซ้ือของเก่าหรือซาเล้ง ซ่ึงจะน�าไปขายต่อให้โรงงานรีไซเคิลอีกที ตัวอย่างกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เกิด การคัดแยกขยะ ได้แก่ ธนาคารขยะรีไซเคิล ตลาดนัดขยะรีไซเคิล ตลาดนัดสินค้ารีไซเคิลมือสอง ผ้าป่า ขยะรีไซเคลิ ขยะแลกไข่ หรือขยะแลกของ เป็นต้น ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์ 11
ประเภทของขยะ องคป์ ระกอบของขยะ โดยเฉล่ียแลว้ คนไทย 1 คนสรา้ งขยะประมาณวันละ 1 กิโลกรัม ซงึ่ มีสัดสว่ นของขยะแต่ละประเภท ดงั นี้ ** จริงๆ แลว้ พลาสติกทุกชนดิ สามารถรีไซเคลิ ได้ รวมท้งั ถุงพลาสติก หลอดพลาสติก พลาสตกิ ชนดิ บาง เพยี งแต่ซาเล้งมกั ไมร่ ับซอ้ื แต่หาก รวมไว้ในปริมาณมากกอ็ าจสง่ ขายเพ่ือ รีไซเคลิ ได้เช่นกนั 12 Z(H)ero Waste
กำรคัดแยกขยะ การก�าจัดขยะไมว่ ่าจะดว้ ยการเผาหรือการฝัง ล้วนก่อให้เกิดมลพิษต่อสง่ิ แวดลอ้ ม แตถ่ ้าหากเรามี การคัดแยกขยะตัง้ แตต่ น้ ทาง ปริมาณขยะที่ต้องนา� ไปก�าจัดจะลดลงอยา่ งมาก สามารถบริจาคคอมพวิ เตอร์ สอบถามข้อมลู เพิม่ เตมิ เครื่องเล่นซีดี และเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เกา่ เกย่ี วกับขยะอันตรายไดท้ ี่ : เพอื่ น�ามาแยกชนิ้ ส่วนเป็นสินคา้ รีไซเคลิ ไดท้ ่ี สว่ นของเสียอันตราย สา� นกั จัดการกากของเสยี สมาคมคนพิการทางการเคลือ่ นไหวสากล และสารอนั ตราย กรมควบคุมมลพิษ 802/410 หมู่ท่ี 12 ต.คคู ต อ.ลา� ลูกกา จ.ปทมุ ธานี 12130 โทรศพั ท์ 0-2298-2427, 0-2298-2436 โทร. 0-2990-0331 และ 08-1735-2316 E-mail : [email protected] หรือ [email protected] ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 13
วัตถุประสงคห์ ลกั 5 ด้ำนทคี่ วรคำ� นงึ ถงึ ส�ำหรับกำรจดั กำรเรียนรเู้ รอ่ื ง ‘ขยะเหลอื ศนู ย์’ คมู่ ือการจัดการเรียนรู้เรื่อง Z(H)ero Waste เลม่ นี้ ไดก้ �าหนดวตั ถุประสงคห์ ลักที่คุณครูหรือผู้นา� กิจกรรมควรค�านึงถึง ในการ ‘เลอื กใช’้ กจิ กรรม เพ่ือใหก้ ารจัดการเรียนรูค้ รอบคลุมสง่ิ ที่ผ้เู รียนควรเรียนรู้ และบรรลุเป้าหมาย ‘ขยะเหลือศูนย’์ ซง่ึ ประกอบด้วย 1. ด้านความตระหนกั (1) รถู้ งึ คุณคา่ ของอาหารและสิง่ ของเคร่ืองใชต้ ่างๆ (2) รับรู้ถงึ ปัญหาขยะ และแนวโน้มของปัญหาในอนาคต (3) ตระหนกั ถึงผลกระทบท่ีกา� ลงั เกิดขึ้น 2. ดา้ นความรู้ (1) สถานการณ์ขยะ (ปัญหาและผลกระทบ) (2) สาเหตขุ องปัญหาขยะ (3) ก่อนจะมาเปน็ ขยะ (ของกินของใชท้ ุกอยา่ งล้วนผลติ จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีคา่ ) (4) ขยะไปที่ ไหน (การกา� จัดขยะรปู แบบตา่ งๆ ลว้ นมคี ่าใชจ้ า่ ย และกอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษ ท่ีส่งผลตอ่ สุขภาพและส่งิ แวดลอ้ ม) (5) ประเภทของขยะ/ ปริมาณขยะแตล่ ะประเภท (ขยะยอ่ ยสลายได,้ ขยะยงั ใชป้ ระโยชน์ได,้ ขยะท่ัวไป, ขยะอนั ตราย) (6) ลดการใช้ (Reduce) (7) ใชซ้ ้า� (Reuse) (8) นา� กลับมาแปรรูปใช้ ใหม่ (Recycle) (9) การยอ่ ยสลายตามธรรมชาติ (Compost) 3. ดา้ นเจตคติ (1) เหน็ คณุ ค่าของอาหารและส่งิ ของเครื่องใชต้ า่ งๆ (2) มีความห่วงใยตอ่ ปัญหาขยะ (3) มีความมงุ่ ม่ันท่ีจะลงมือป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา (ตามศักยภาพของผูเ้ รียน) 4. ดา้ นทกั ษะ (1) สงั เกตและจดบนั ทึก (2) รวบรวมขอ้ มลู (3) คดิ วิเคราะห์ (4) คาดการณ์ (5) ชี้บง่ ปญั หา (6) การตดั สนิ ใจ (7) การวางแผน (8) กระบวนการกลุ่ม 14 Z(H)ero Waste
5. ด้านการมีส่วนรว่ ม และลงมือปฏบิ ัติเพื่อสง่ิ แวดล้อมที่ดีขน้ึ (1) ท้งิ ขยะเปน็ ที่เปน็ ทาง (2) คัดแยกขยะ (3) เปลย่ี นพฤติกรรมการกินและการใช้ เพอื่ ลดปริมาณขยะ ( โดยยึดหลกั 3Rs) (4) วางแผนและลงมือปอ้ งกนั แก้ปญั หาขยะที่พบในโรงเรียน (ท่ีบ้าน / ในชุมชน) (5) ชกั ชวนคนใกลต้ ัว (คนในชุมชน) ให้ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมการกนิ และการใช้ เพอ่ื ลดปริมาณขยะ ปฏิบัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 15
รู้ไหÁเอย่ ? เนเธอร์áลน´์นบั เป็นประเทศทีÁ่ กี าร¨´ั การขยะไ´้´ีทส่ี ´ุ áหง่ หนง่Ö ของâลก คนเนเธอรá์ ลน´์¨ะนา� ¶งุ ผา้ Áาใสข่ องท่«ี ้ือ¨าก«เู ปอร์Áาร์เกต áละทกุ บา้ น¨ะÁีการค´ั áยกขยะ ร¶ขยะทÁ่ี ารับขยะตาÁบา้ น ¨ะÁีร¶ขยะเปย‚ กáละร¶ขยะáหง้ áยกกนั ไÁ่ไกล¨ากบ้าน¨ะÁี ‘ศูนย¨์ ั´การขยะ’ หรอื ‘Recycle Shop’ «งÖ่ Áี¶งั รองรบั ขยะประเภทตา่ งๆ กวา่ 18 ¶งั อาทิ พลาสตกิ áกว้ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ต้น â´ยÁáี ต่ละองค์กรÁา¨´ั การขยะáตล่ ะประเภท â´ยขยะรอ้ ยละ 80 ¨ะ¶กู รไี «เคลิ ทเ่ี หลอื ¶ูกเผาáปลงเปน็ พลงั งาน ผู้ผลติ สินค้าตอ้ ง¨่ายคา่ รไี «เคิลขยะ «่งÖ ¨ะ¶กู บวกไปในราคาสนิ คา้ ข้อมูลจาก : www.manager.co.th และ dutchthingy.wordpress.com 16 Z(H)ero Waste
ความรู้ เบอ้ื งต้น ปฏิบัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 17
ก่อนจะมำเป็นขยะ พลาสติกมาจากไหน • กระบวนการขุดเจาะน้�ามันหรือก๊าซธรรมชาติ ก่อให้เกิดสารเคมีอันตรายหลายชนดิ ปนเปื้อนใน อากาศ เช่น เบนซนี , โทลอู ีน, คารบ์ อนมอนอกไซด,์ โอโซน, ซลั เฟอร์ไดออกไซด์, มีเทน รวมถึงฝนุ่ ละออง นอกจากน้ัน ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษระบุว่า ตะกรันที่เกิดจากกระบวนการผลิตก๊าซธรรมชาติมีสาร ปรอทเจือปนอยู่ แม้แตน่ �้าท้ิงท่ีผา่ นการบ�าบัดเบ้ืองตน้ แล้วยงั พบว่ามสี ารปรอทเจือปนอยู่ถึงรอ้ ยละ 4 ซง่ึ หากไมม่ กี ารจัดการอยา่ งถกู วิธจี ะทา� ใหส้ ารปรอทปนเปอ้ื นสทู่ ะเล แมจ้ ะไมเ่ กนิ คา่ มาตรฐาน แตม่ นั กส็ ามารถ สะสมในห่วงโซอ่ าหาร และสง่ ต่อมาถึงเราได้ • กระบวนการผลิตพลาสติก เกิดจากกระบวนการทางเคมีภายใต้ความร้อนและความดันสูง ใน การผลิตจะตอ้ งมีสารเตมิ แต่งหลายชนดิ รวมทั้งโลหะหนกั ซง่ึ ล้วนแต่เปน็ พิษต่อร่างกาย ถา้ หากโรงงาน ก�าจัดไม่ถูกวิธี สารเหล่านก้ี ็จะปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อมก่อให้เกิดอันตราย หรือสะสมในห่วงโซ่อาหาร และ กลบั มาถึงเรา ตัวอย่างเช่นในปี 2547 กรีนพีซพบว่าโรงงานพลาสติกแห่งหน่ึงในจังหวัดสมุทรปราการปล่อย นา�้ เสยี ลงสู่แม่น้�าเจ้าพระยา ซึง่ ตรวจพบว่ามสี ารเคมีท่ีมคี วามเปน็ พิษสงู หลายชนดิ และในดินตะกอนใกล้ ท่อปล่อยน้�าเสียพบสารเคมี 2 ชนดิ ท่ีสหภาพยุโรปจัดให้เปน็ สารที่มีความเป็นพษิ ต่อระบบสืบพันธ์ุ เชน่ เดียวกบั ในปี 2557 ที่จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ชาวบ้านไดร้ อ้ งเรียนว่าโรงงานอัดเม็ดพลาสติก ไดป้ ลอ่ ยนา�้ เสยี ลงคลอง รวมท้ังส่งกลิ่นเหม็น ท�าใหร้ ะคายเคืองตอ่ ระบบหายใจ เจ็บคอ มนึ ศีรษะ อาเจยี น เด็กเลก็ ๆ ปว่ ยเปน็ จ�านวนมาก 18 Z(H)ero Waste
โฟมมาจากไหน โฟม คอื พลาสตกิ ประเภทโพลสี ไตรีน (Polystyrene หรือ PS) ท่ีผา่ นกระบวนการใช้สารขยายตัว และกระบวนการข้นึ รปู ในรปู แบบต่างๆ โฟมกับสขุ ภาพ หากน�าโฟมไปบรรจอุ าหารทร่ี อ้ นจดั หรืออาหารทอดทมี่ นี า�้ มัน จะทา� ใหเ้ กิด สารอันตรายแตกตัวออกมาปนเป„œอนกับอาหาร ได้แก่ สไตรีนและเบนซีน โดยสไตรีนมีพิษท�าลายไขกระดูก ตับ ไต ท�าให้ความจ�าเส่ือม มีผลต่อ การเต้นของหัวใจ เป็นสารก่อมะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งต่อมน�้าเหลือง สว่ นเบนซนี ถา้ ได้รบั ในปริมาณสูงจะท�าใหป้ วดทอ้ ง เนือ่ งจากกระเพาะถูก กัดกรอ่ น เวยี นศรี ษะ คล่ืนไส้ และอาจถงึ ข้นั เสยี ชวี ิตได้ กระดาษมาจากไหน กระบวนการผลติ กระดาษตอ้ งใชท้ รพั ยากรธรรมชาตมิ ากมาย แมป้ จั จุบนั ตน้ ไมท้ ่ีนา� มาผลติ กระดาษ จะเป็นไมป้ ลกู หรือตน้ ยูคาลิปตสั แต่ความต้องการกระดาษท่ีสูงข้ึน ก็ท�าให้พื้นท่ีปา่ จา� นวนมากถกู เปลย่ี น เป็นพ้ืนที่เกษตรเพื่อท�าการปลูกต้นยูคาลิปตัส ดังน้ัน จึงไม่จัดว่าพื้นที่แห่งน้ันเป็นพื้นที่ป่าอีกต่อไป เนื่องจากไม่มคี วามหลากหลายทางชีวภาพ อกี ทั้งตน้ ยคู าลิปตสั ยงั ทา� ลายความอุดมสมบูรณ์ของดนิ ยงั ไม่ นับปยุ๋ หรือสารเคมีทางการเกษตรท่ี ใสล่ งไปซ่ึงกอ่ ให้เกิดการปนเปื้อนของสารเคมี ในดินและแหลง่ น�า้ ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์ 19
นอกจากน้ัน น�้าเสียจากกระบวนการผลิตกระดาษมีสาร ‘ไดออกซิน’ ซ่ึงเป็นสารก่อมะเร็งในคน ถ้าหากปนเปื้อนสู่แหล่งน�้าธรรมชาติจะตกค้างยาวนาน และสามารถส่งต่อสู่พืชและสัตว์ สะสมในห่วงโซ่ อาหาร ถ้ามปี ริมาณมากจะสง่ ผลกระทบต่อสัตวน์ ้�า ตวั อยา่ งกรณที ่ีเปน็ ขา่ วเมอื่ ตน้ ปี 2557 ที่อา� เภอนา้� พอง จังหวดั ขอนแกน่ โรงงานผลติ เยอ่ื กระดาษ ปล่อยน้�าเสียลงสู่ล�าห้วยสาธารณะ ไหลลงสู่นาข้าวและไร่มันส�าปะหลัง ท�าให้ผลผลิตเสียหาย อีกทั้ง โรงงานได้ส่งกลิ่นเหม็นรุนแรง ท�าให้ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ คล่ืนไส้ ปวดหัว มตี มุ่ คันตามผิวหนงั เถ้าฝนุ่ ละอองจากโรงงานเกาะตามหลงั คาบา้ น ท�าใหไ้ ม่สามารถกรองน้�าฝนไวด้ มื่ ได้ กระป๋องโลหะ มาจากไหน กระปอ๋ งอะลมู ิเนยี ม (บีบดว้ ยมอื แลว้ บุบ เช่น กระปอ๋ งน้�าอัดลม) หรือ กระป๋องดีบุก (บีบดว้ ยมือ แลว้ ไมบ่ บุ เช่น ปลากระปอ๋ ง ผลไม้กระป๋อง) ลว้ นมที ี่มาจากการท�าเหมอื ง ตอ้ งสูญเสียพ้ืนท่ีปา่ อีกท้ังยัง ตอ้ งผ่านกระบวนการถลุง ขนส่งเข้าสู่โรงงาน เข้าสกู่ ระบวนการแปรรูป ซึ่งล้วนแตต่ ้องใช้พลังงาน สารเคมี และปลอ่ ยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม 20 Z(H)ero Waste
โทรศัพท์มือถอื และอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ มาจากไหน ชน้ิ สว่ นสา� คญั ของโทรศพั ทม์ อื ถอื และอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สห์ ลายชนดิ มที ี่มาจากแร่ ‘โคลแทน’ หรือ ‘โคลมั ไบต-์ แทนทาไลต’์ ซง่ึ แรช่ นดิ นสี้ ่วนใหญม่ าจากประเทศคองโก ทวปี แอฟริกา เพราะรอ้ ยละ 80 ของ แร่บนโลกนอ้ี ยู่ที่น่ี แต่ปัญหาคือในการท�าเหมืองเพื่อขุดแร่โคลแทนต้องท�าลายพื้นที่ป่า ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น ปา่ อนรุ กั ษ์ และเปน็ ท่ีอยขู่ องกอริลลาภเู ขา ซงึ่ ปจั จุบนั เหลอื ไมเ่ กนิ 880 ตวั ที่ผา่ นมามกี ารประมาณการกนั วา่ เราสูญเสียช้างไปแล้วกว่า 3,700 ตัว กอริลลาอกี กว่า 8,000 ตัว และระหวา่ งปี 2535-2543 คองโก เสียพ้นื ท่ีปา่ ไปแลว้ 56,875,000 ไร่ ท�าใหจ้ า� นวนกอริลลาลดลงรอ้ ยละ 90 นอกจากน้ัน การท�าเหมืองเพื่อหาแร่โคลแทน ว่ากันว่าร้อยละ 30 ของคนงานในเหมืองเป็น แรงงานเด็ก และถูกใช้แรงงานอย่างทารุณ เด็กชาวคองโกจ�านวนมากต้องออกจากโรงเรียนเพื่อไปท�างาน ในเหมอื ง แรท่ ี่ ไดม้ าบางครั้งกม็ กี ารขายตอ่ กนั หลายทอด จงึ เปน็ เร่ืองยากท่ีจะบอกวา่ แรจ่ ากมอื ถอื เคร่ืองน้ี มาจากเหมอื งท่ี ใช้แรงงานเดก็ หรือไม่ ขวดแก้วมาจากไหน ? ล(Nะaล2าCยOใ3จน)าโแกรงนลงะ้ันาหจนนิึงผเปขลนู้าิตสแ(ู่กCกรa้วะCบOจวนะ3)นก�าาแทรลขร้วึ้นาเขรยาู้ปหสรเู่ ตืโอดาซยหิลอลิกาออจมนมทไีกดี่อาอณุรอเหตกภิมไซูมสดปิ า์รระ(ปSมรiาOุงณแ2)ต1่ง,ม4คา0ุณผ0สสมมอกบงศับัตาโิตซเซ่าเลดงๆเียซมยี เคสชา่นรจ์บนตทอะเรกนาั่วตย, บอแรกซ,์ โพแทสเซยี มคาร์บอเนต, สารที่ท�าใหเ้ กดิ สี รวมถึงเศษแกว้ เกา่ ท่ีคนสง่ มารีไซเคิลด้วย ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์ 21
ปลำยทำงของขยะ - ทิง้ แลว้ ไปไหน ? ฝงั หรือ กองไว้ วิธนี เ้ี ป็นวิธที ่ี ใช้กนั มากที่สุด จากการส�ารวจปี 2556 ของกรมควบคมุ มลพษิ พบว่า ประเทศไทยมี บอ่ ฝังกลบขยะทั่วประเทศกว่า 2,496 แห่ง โดยในจ�านวนน้ี มบี ่อฝงั กลบขยะท่ี ไม่ไดร้ ับการจัดการอย่าง ถูกวิธี (ไมถ่ กู ตอ้ งตามหลักสุขาภบิ าล) ถึง 2,030 แห่ง ผลที่เกดิ ขนึ้ จากบอ่ ฝงั กลบขยะที่ ไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั สขุ าภบิ าลเหลา่ น้ี คอื เมอ่ื ฝนตกลงมา น้�าฝนจะ ซึมลงไปในบอ่ ขยะ ละลายสารบางชนดิ ออกมา เกิดเป็นของเหลวท่ีเรียกว่า ‘น้�าชะขยะ (Leachate)’ ท่ีเตม็ ไปดว้ ยสารพษิ และเช้ือโรค มนั จะซมึ ลงสู่ดิน สู่น้�าใตด้ ิน และอาจไปปนเปอื้ นน้�าบนผิวดนิ สง่ ผลกระทบต่อ ชีวิตในแหลง่ น�้า สารพิษสะสมอยู่ในกุ้ง หอย ปู ปลา เมือ่ เราจับขนึ้ มาบริโภค เราก็ไดส้ ารพิษนน้ั โดยไมร่ ูต้ ัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าในบ่อฝังกลบน้ันมีขยะอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงจะเสื่อมสภาพและปลดปล่อย โลหะหนักออกมา เช่น แคดเมยี ม สารตะกว่ั นกิ เกิล ฯลฯ ลว้ นแตเ่ ป็นพิษและท�าลายระบบประสาท จาก การส�ารวจตัวอย่างดินในพ้ืนท่ีคัดแยกขยะอิเล็กทรอนกิ ส์หลายแห่งพบว่า มโี ลหะหนักอันตรายปนเปื้อน เกินคา่ มาตรฐาน นอกจากน้ัน บ่อขยะยังก่อให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งเก็บความร้อนในช้ันบรรยากาศได้ดีกว่าก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ 23 เท่า อกี ท้ังเช้ือโรคและกลิ่นเหมน็ ที่สรา้ งผลกระทบใหช้ ุมชนใกลเ้ คยี ง และสดุ ทา้ ย คือการสูญเสยี พื้นที่ฝังกลบมากขึ้นเร่ือยๆ ในทุกๆ ปี 22 Z(H)ero Waste
เผา การเผาขยะไม่ใชเ่ รื่องท่ี ใครๆ กส็ ามารถท�าได้ เพราะในขยะอาจมสี ารเคมอี นั ตรายเปน็ องคป์ ระกอบ ซงึ่ การเผาจะท�าใหเ้ กดิ ก๊าซพษิ หลายชนดิ เชน่ กา๊ ซเรือนกระจก เชน่ คาร์บอนไดออกไซด์ ซ่งึ ก่อใหเ้ กิดภาวะโลกรอ้ น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ เกดิ จากการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ ซง่ึ กา๊ ซนส้ี ามารถรวมตัวกบั ฮโี มโกลบินในเม็ดเลอื ดแดงได้ดีกวา่ ออกซเิ จน 200 เทา่ ลดความสามารถของเลือดในการเป็น ตวั น�าออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ ไนโตรเจนออกไซด์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เปน็ ก๊าซกรด ซึง่ เมือ่ สูดเขา้ ไป ก๊าซนจ้ี ะท�าปฏิกิริยา กับความชื้นในทางเดนิ หายใจ กลายเปน็ กรดท�าลายเน้ือเยอ่ื ทางเดนิ หายใจและปอด การเผาขยะอิเล็กทรอนกิ ส์หรือขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม จะกอ่ ใหเ้ กิดไอของโลหะหนัก เชน่ ไอปรอท ไอตะก่วั ไอสังกะสี ซึง่ เป็นอนั ตรายมาก การเผาพลาสติกที่มีธาตคุ ลอรีนเปน็ สว่ นประกอบและเผาไหมไ้ มส่ มบรู ณ์ จะเกิดสารไดออกซิน ซง่ึ เปน็ สารกอ่ มะเรง็ และตกคา้ งยาวนานในสง่ิ แวดลอ้ ม รวมถงึ กา๊ ซโอโซนที่ระคายเคอื งตอ่ ระบบ ทางเดินหายใจ ดังเช่นเหตกุ ารณ์ไฟไหม้บ่อขยะแพรกษาเมื่อปี 2557 มรี ายงานว่า ในชุมชนรัศมี 1 กโิ ลเมตรจาก บอ่ ขยะ มีคา่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ในบรรยากาศเกินมาตรฐาน 20-40 เท่า สารไดออกซินและฟิวแรนเกนิ มาตรฐาน 15 เทา่ (มาตรฐานแคนาดา) และสารปรอทในน้�าผิวดินเกินมาตรฐาน 3 เทา่ นอกจากน้นั ยงั มี สารอนิ ทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศอกี หลายชนดิ รวมถงึ ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ เกนิ มาตรฐาน 30 เทา่ ส่วนเตาเผาขยะหรือโรงไฟฟ้าจากขยะ ก็ไม่ใช่สงิ่ ท่ีจะท�าได้ง่ายๆ เพราะการสรา้ งโรงไฟฟ้าจากขยะ หรือเตาเผาขยะที่ ได้มาตรฐานโดยไม่ปล่อยสารพิษออกมาน้ัน ต้องใช้งบประมาณสูงมาก และต้องน�าเข้า เทคโนโลยจี ากต่างประเทศ เพราะเตาเผาขยะท่ี ไม่ดีพอจะปลดปล่อยสารไดออกซิน ประมาณกันว่าสาร ไดออกซินกว่าร้อยละ 75 ในบรรยากาศมาจากเตาเผาขยะ ซึ่งสารน้ี ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น คนที่อยู่รอบ โรงงานจะไม่สามารถรู้ได้เลยวา่ มสี ารนห้ี รือไม่ ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 23
เตาเผาขยะท่ีก�าจัดไดออกซินได้ ต้องเผา ท่ีอณุ หภมู สิ งู มาก (1,000-1,500 องศาเซลเซยี ส) แต่ต่อให้เดินเครื่องได้ความสูงเท่าน้ีตลอดเวลา ก็ใชว่ า่ จะปลอดภยั เพราะเมอื่ ไอรอ้ นท่ีปลอ่ ยออกมา เย็นตัวลง มันสามารถก่อรูปไดออกซินขึ้นได้อีก ครั้ง ดงั น้ัน จึงจ�าเป็นตอ้ งมีเตาเผา 2 ห้อง เพ่ือ เผาไอที่ ได้จากห้องที่หนึ่งอีกที อีกทั้งยังต้องมี ตัวกรองฝุน่ ละออง เพื่อดักจับขี้เถ้าท่ีปนเปอ้ื นสาร ไดออกซนิ และข้ีเถา้ นตี้ อ้ งฝงั กลบอยา่ งถกู วิธี หรือ ในบางประเทศจะน�าข้ีเถ้ามาอัดแท่งก่อนเพ่ือให้ ไมป่ นเปอ้ื นสู่ส่ิงแวดลอ้ มได้ง่าย ผลกระทบของขยะต่อสตั ว์ป่า 1 23 45 1 - สตั ว์ป่า เช่น ลงิ กวาง เกง้ ช้าง จะมาคยุ้ กินเศษอาหาร ซงึ่ เส่ียงต่อการตดิ เชื้อ ยงั ไม่นับบางตัวท่ีกินถุงพลาสติกเขา้ ไปและไปติดในล�าไส้ 234 - เทา้ ของกวางไปติดในกระปอ๋ ง ท�าใหถ้ กู บาดและเปน็ แผล โชคดีท่ีเจ้าหน้าที่ชว่ ยไดท้ ัน - หวั ของกวางไปติดในฝาพลาสตกิ - ลกู หมที ่ีฟลอริดา ซ่ึงหัวตดิ อยู่ในขวดโหลนานกว่า 10 วัน มเิ ชน่ นัน้ มันคงขาดอาหารและน้�าตาย 5 - เตา่ ซง่ึ ไปติดในห่วงพลาสติกต้ังแตต่ ัวยังเลก็ ๆ ท�าให้เม่ือโตขนึ้ กระดองไมส่ ามารถขยายตามได้ บีบทั้งปอดและล�าไส้ ท�าใหห้ ายใจลา� บาก ระบบย่อยอาหารทา� งานล�าบาก 24 Z(H)ero Waste
ขยะทถี่ ูกท้ิงตามชายหาด / ท้ิงลงทะเล / ทิ้งในแมน่ �้าแลว้ ไหลลงทะเล 12 34 56 12 - สงิ โตทะเลไปติดอยู่ในพลาสติก - Hawaiian Monk Seal แมวน้�าสายพันธ์หุ ายาก และใกลส้ ญู พันธ์ุ กา� ลงั ไดร้ ับความชว่ ยเหลอื ใหห้ ลดุ จากขยะใต้ทะเล 3 - ถุงพลาสตกิ ในทะเลมลี ักษณะคล้ายแมงกะพรุน 7 ทา� ใหเ้ ตา่ ทะเลไมส่ ามารถแยกแยะได้ มกี ารประเมนิ ว่าเต่าทะเลร้อยละ 50-80 ตายเพราะกินถงุ พลาสติกเข้าไป 45 - นักวิจัยทางทะเลกา� ลงั ชว่ ยดงึ หลอดพลาสติกออกจากจมูกของเต่าทะเล - กระแสน้า� วนในมหาสมทุ รได้พัดพาขยะต่างๆ ให้ลอยมารวมกนั บริเวณท่ีขยะมารวมกนั มากท่ีสุด เรียก ‘แพขยะใหญ่แปซฟิ ิก’ (Great Pacific Garbage Patch) อยทู่ ่ีบริเวณมหาสมทุ รแปซิฟิกเหนอื ซง่ึ พ้นื ท่ีของขยะนก้ี �าลงั ขยายตัวขนึ้ เรื่อยๆ บางข้อมูลกลา่ ววา่ มพี ื้นท่ีประมาณ 2 เท่าของรัฐเทกซัส หรือพอๆ กับประเทศไทย บ้างก็ว่ามีพ้นื ที่ 700,000-15,000,000 ตารางกโิ ลเมตร 6 - นกอลั บาทรอส ซง่ึ เปน็ นกที่ทา� รังบนเกาะใกลแ้ พขยะใหญแ่ ปซฟิ กิ พวกมนั จา� นวนมากตอ้ งตายเนอ่ื งจาก กนิ เศษขยะเขา้ ไปดว้ ยนึกวา่ เป็นอาหาร บางตัวคาบเศษพลาสติกมาป้อนลูกของมนั ภายในท้องของ พวกมันเตม็ ไปดว้ ยขยะ 7 - ซากวาฬหัวทุยล�าตวั ยาว 10 เมตร ที่ถูกคล่ืนซัดมาเกยฝง่ั ทางใตข้ องสเปน คนท่ีผา่ ท้องมนั พบวา่ ในทอ้ งของวาฬตวั นี้ เตม็ ไปดว้ ยขยะพลาสตกิ ที่แตกตา่ งกนั ถงึ 59 ชน้ิ น้�าหนกั รวมมากกวา่ 17 กโิ ลกรัม มที ้ังแผน่ พลาสตกิ ใส กระเปา๋ พลาสตกิ กระปอ๋ งสเปรย์ สายยาง เชือกยาว 9 เมตร และกระถางตน้ ไม้ ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์ 25
อนภุ าคพลาสตกิ ในห่วงโซ่อาหาร จากการทดลองในห้องแลบ็ พบวา่ อนภุ าคพลาสติกมผี ลกระทบตอ่ ระบบย่อยอาหาร ระบบภมู คิ มุ้ กนั และระบบสืบพันธ์ขุ องสตั ว์ทะเล นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ได้ทา� การวิจัยเพรียงคอหา่ นท่ีเกาะอยู่กบั แพขยะใหญ่แปซฟิ กิ พบว่า หนึ่งในสามของเพรียงที่ท�าการวิจัย มีอนภุ าคพลาสติกอยู่ในระบบทางเดนิ อาหาร บางตัวมีมากถงึ 30 ชนิ้ นกั วิจัยจากประเทศจีนไดท้ �าการส�ารวจเกลอื ท่ีวางขายในซูเปอร์มาร์เก็ต พบวา่ เกลอื สมุทร 1 กิโลกรัม มอี นภุ าคพลาสตกิ ถงึ 2,645 อนภุ าค ส่วนเกลอื จากแหลง่ อื่นๆ เช่น เกลอื จาก ทะเลสาบ บอ่ เกลือ เหมอื งเกลอื (เกลือสินเธาว์) อยรู่ ะหวา่ ง 33-1,764 อนภุ าคตอ่ เกลือ 1 กิโลกรัม 26 Z(H)ero Waste
นานแคไ่ หน กวา่ ขยะจะย่อยสลาย ? ปฏบิ ัติการขยะเหลือศูนย์ 27
ก๊ำซเรือนกระจก ภำวะโลกรอ้ น และรอยเท้ำคำร์บอน ก๊าซเรือนกระจก ‘ก๊าซเรือนกระจก’ คือก๊าซในชั้นบรรยากาศท่ีมีคุณสมบัติกักเก็บความร้อนไว้ ท�าให้แสงอาทิตย์ที่ สอ่ งมา ไม่สะท้อนกลับออกไปนอกโลกท้ังหมด การที่โลกเรามสี งิ่ มีชีวิตอาศยั อยไู่ ด้ กเ็ พราะโลกเรามกี า๊ ซเรือนกระจกในชนั้ บรรยากาศในระดบั ท่ีพอดี ถ้าเปรียบเทียบกับเพื่อนบ้านอย่างดาวอังคาร บรรยากาศที่นั่นบางเบามาก จนท�าให้แสงอาทิตย์ ที่ส่องลงมาสะทอ้ นกลบั ไปหมด ไม่มีอะไรกกั เก็บไว้ ท�าให้พืน้ ผิวดาวอังคารเยน็ จัดถึงข้นั อณุ หภูมติ ิดลบ ในขณะท่ีชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์มีความหนาแน่นมาก โดยมีองค์ประกอบหลักคือก๊าซ คคาวราบ์มอรน้อนไดไอว้ไอมก่ใไซหด้ส์ ะ(CทO้อน2)กแลลับะอชนั้อกเมไฆปซลัพเ้ืนฟผอิรว์ไดดาอวอศกุกไรซ์จดึง์ (เSปO็น2เ)หหมนือานทเบึ ตาซอง่ึ บชน้ั ทบี่อรุณรยหาภกูมาิสศูงดถงั ึงกล4า่ ว7จ0ะกอกั งเกศบ็ า เซลเซียส ซึ่งสามารถท�าใหต้ ะกัว่ หลอมละลายได้ ภาวะโลกรอ้ น ทกุ วันน้ี ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของโลกท่ีเคยอยู่ในระดบั ที่พอดี ก�าลงั ถูกเปลีย่ นแปลงด้วยน้�ามือ มนษุ ย์ ต้ังแต่หลังยคุ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมเปน็ ตน้ มา เราปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกข้ึนสูบ่ รรยากาศจ�านวนมาก โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงของยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม และการเผาไหม้อ่ืนๆ เช่นการเผาขยะ ในขณะท่ีผืนป่าซ่ึงมีหน้าท่ีดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตาม ธรรมชาติกลบั ถกู ท�าลายลงเร่ือยๆ 28 Z(H)ero Waste
ถ้าดูจากกราฟ จะเห็นว่าในประวัติศาสตร์โลก 800,000 ปีท่ีผ่านมา ไม่มียุคไหนเลยท่ี คาร์บอนไดออกไซด์ ในชั้นบรรยากาศสูงเท่ายุคปัจจุบัน (ข้อมูลจากการวิเคราะห์แกนน�้าแข็งท่ีข้ัวโลกใต้ ใน ปี ค.ศ. 2008) ภาพดา้ นขวามือคอื ซากหมีข้ัวโลก ซึ่งชา่ งภาพที่ช่ือ Sebastian Copeland ไดถ้ ่ายไว้ท่ีเขตอาร์กตกิ ประเทศแคนาดา คาดว่ามนั อดอาหารจนตาย อีกท้ังเขายงั พบว่าหมขี ั้วโลกในบริเวณนม้ี รี ่างกายที่ผอมแหง้ เน่ืองจากแผ่นน้�าแข็งบริเวณน้ี ได้ละลายไปอย่างรวดเร็ว ท�าให้อาหารของหมีข้ัวโลกอย่างแมวน้�าได้อพยพ ไปที่อื่น รอยเทา้ คารบ์ อน (Carbon Footprint) นยิ าม ‘รอยเทา้ คารบ์ อน’ หมายถงึ ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกที่ปลดปลอ่ ยออกมาจากกจิ กรรมหรือการผลติ สินคา้ และผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ มที ัง้ หมด 6 ชนดิ ตามขอ้ ตกลงของพิธสี ารเกียวโต ดังนี้ ชนดิ ก๊าซเรือนกระจก ศกั ยภาพในการท�าใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ น ( ในชว่ งเวลา 100 ป)ี (จ�านวนเท่าของคารบ์ อนไดออกไซด์) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 1 มีเทน (CH4) 23 ไนตรัสออกไซด์ (N2O) 296 ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) 140-11,700 เพอร์ฟลอู อโรคาร์บอน (PFCs) 6,500-9,200 ซัลเฟอร์เฮกซะฟลอู อไรด์ (SF6) 22,000 โดยรอยเทา้ คารบ์ อน ซมง่ึ เหี ปนน็ ่วกยาเรปค็น�านkวgณCศOกั 2ยeภqาพ(kในiloกาgรrทamา� ใหCเ้ กOดิ 2ภาeวqะuโลivกaรlอ้eนnขt)องอกา่ า๊ นซวเรา่ ือนกกโิ ลรกะรจัมก คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทียบเทา่ แตล่ ะชนดิ เทียบกบั คารบ์ อนไดออกไซดต์ ัวเดียว เพ่อื ความสะดวกในการส่อื สาร ปฏบิ ัติการขยะเหลือศูนย์ 29
เชน่ จากการผลติ ผลิตภัณฑ์ A ปลอ่ ยกา๊ ซมเี ทน 2 กโิ ลกรัม และ ไนตรัสออกไซด์ 3 กิโลกรัม (ซง่ึ มีศักยภาพในการท�าใหเ้ กิดโลกร้อน 23 เท่า และ 296 เท่า ตามล�าดับ) ดังนนั้ รอยเท้าคารบ์ อน = (2 x 23) + (3 x 296) = 934 kgCO2eq วธิ กี ารคา� นวณ ในการคา� นวณรอยเทา้ คารบ์ อนของการผลติ สินคา้ หรือผลิตภณั ฑห์ นงึ่ ๆ คอื การค�านวณการปลอ่ ย กา๊ ซเรือนกระจก ตง้ั แต่ จัดหาวัตถุดิบ >> ขนสง่ >> ผลิต >> จ�าหน่าย >> ใช้งาน >> ก�าจัดซาก การคา� นวณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกในแตล่ ะขน้ั ตอนมคี วามซบั ซอ้ น จงึ มกี ารกา� หนดคา่ กลางของ โลกเพอื่ ใช้ ในการค�านวณ เรียกว่า ‘สัมประสิทธิก์ ารปล่อยก๊าซเรือนกระจก’ (emission factor) ซงึ่ เป็น ตวั เลขแสดงวา่ การผลิตสนิ ค้าหรือผลิตภัณฑ์นน้ั 1 หน่วย ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทา่ ใด เช่น ผลติ ภณั ฑ์ ˹‹Ç สมั ประสทิ ธิ์การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq / ˹‹ÇÂ) กระดาษ A4 kg พลาสติกและโฟม kg 1.0597 0.0277 ** อ้างอิงจาก IPCC 2006 จากตาราง เราเหน็ ว่าชอ่ งกลางเป็นหนว่ ย ‘กิโลกรัม หรือ kg’ xk1g.0C5O927eq= ซงึ่ หมายความว่า การผลติ กระดาษ A4 1 กิโลกรัม ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 1.0597 ดงั นั้น ถ้าเราใช้กระดาษ A4 5 กโิ ลกรัม เรากเ็ ปน็ ผทู้ �าให้มกี ารเกิดก๊าซเรือนกระจก 5 5.2985 kgCO2eกqจ็ ะสไู่บดร้สรูตยรากาศ ปริมาณก๊าซเรือนกระจก = ปริมาณการใช้ สมั ประสทิ ธกิ์ ารปล่อย ( kgCO2eq ) ผลติ ภัณฑ์ X ก๊าซเรือนกระจก ( ˹‹Ç ) ( kgCO2eq / ˹‹Ç ) หนว่ ยเดียวกนั และหนว่ ยเดียวกับชอ่ งที่ 2 ในตาราง ( ในที่นค้ี ือ kg) ตัวอยา่ ง ในหน่ึงเดือนโรงเรียน A มขี ยะจากขวดน้�าพลาสติกขนาดบรรจุ 500 มลิ ลลิ ติ ร จ�านวน 2,500 ใบ จะทา� ใหเ้ กดิ กา๊ ซเรือนกระจกเทา่ ใด (กา� หนดใหข้ วดพลาสตกิ ขนาดบรรจุ 500 มลิ ลลิ ติ ร 1 ใบ หนกั 13 กรัม) 30 Z(H)ero Waste
วธิ ีทา� จากตารางสัมประสิทธ์ิการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นหน่วยกิโลกรัม ดังนั้นต้องใช้หน่วยกิโลกรัม ในการคิด ขวดพลาสติก 1 ใบ หนัก 13 กรัม = 0.013 กิโลกรัม ขวดพลาสติก 2,500 ใบ หนัก 2,500 x 0.013 = 32.5 กโิ ลกรัม ดังน้ัน ปริมาณก๊าซเรือนกระจก = ปริมาณขวดน้�าพลาสติกที่ ใช้ (กิโลกรัม) x สัมประสทิ ธ์ิ การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก = 32.5 x 0.0277 = 0.90025 kgCO2eq อยา่ งไรก็ตาม คา่ ที่ ได้จากการค�านวณน้ี บอกเพียงผลกระทบตอ่ การท�าใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อนเท่านัน้ โดยไม่ได้รวมถึงผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมด้านอ่ืนๆ เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) การเกดิ ฝนกรด (Acidification) ปรากฏการณน์ �้าเปล่ียนสี (Eutrophication) ความเปน็ พษิ (Toxicity) เป็นตน้ ดงั นั้นการผลติ และใช้งานผลิตภัณฑห์ นงึ่ ๆ จงึ มีผลกระทบมากกว่าตัวเลขท่ีเห็นอยนู่ ้ี ฉลากบนผลิตภณั ฑข์ องประเทศไทย ฉลากคารบ์ อนฟตุ พร้ินท์ : ตัวเลขบนฉลากแสดงถึงปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกที่ ผลติ ภณั ฑน์ ้นั ปลอ่ ยออกมา ต้งั แตก่ ารจัดการวัตถดุ ิบจนถึงการก�าจัดซาก ฉลากคาร์บอน : ตวั เลขบนฉลากแสดงถึงปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกท่ีลดลงได้ ภายในกระบวนการผลิต ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 31
สถติ ิทน่ี ำ่ สนใจ ขยะในประเทศไทย ในหน่งึ ปี ประเทศไทยมขี ยะประเภทตา่ งๆ ดงั น้ี เปน็ ซากโทรศพั ทม์ อื ถอื 1,658 ตนั = น�้าหนักชา้ ง 500 ตวั และคาดว่าในปี 2559 ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์จะล้นประเทศ โดยเฉพาะซากโทรศัพท์มือถือจะมีมาก ถึง 11 ลา้ นเครื่อง ซ่ึงถา้ ตวี า่ ทั้งหมดเปน็ สมารท์ โฟนขนาดท่ัวไป กส็ ามารถวางเรียงในสนามฟุตบอลได้ถงึ 6 สนามครึ่ง 32 Z(H)ero Waste
คนไทยใชถ้ งุ พลาสติกเฉลยี่ คนละ 8 ใบตอ่ วัน หากน�าถุงพลาสติกท้ังหมดที่คนไทยใช้ ใน 1 ปี มาเรียงตอ่ กนั สามารถพันรอบโลกได้ 4 รอบ พลังงานท่ี ใช้เพอ่ื การผลติ ถงุ พลาสติก 8.7 ใบ เทียบเทา่ ได้กบั ปริมาณเชื้อเพลงิ (นา้� มัน) ที่สามารถ ท�าให้รถว่ิงไดไ้ กล 1 กิโลเมตร ขยะในมหาสมุทร จากข้อมูลปี 2553 ระบวุ ่า ขยะพลาสติกที่ถูกทิง้ ลงมหาสมทุ รมีมากถงึ 8 ลา้ นตนั และมีแนวโนม้ วา่ จะเพิ่มกว่า 10 เท่า ในอีกรอ้ ยปขี า้ งหน้า ผลวิจัยท่ีตพี ิมพ์ ในนติ ยสาร Science ระบวุ ่า ประเทศไทย ตดิ อันดับ 6 ของประเทศที่ ทิง้ ขยะพลาสตกิ ลงสู่มหาสมุทร มากที่สดุ ในโลก ขณะนมี้ สี ตั ว์ทะเลกวา่ 700 ชนดิ ท่ีตกอยู่ในอันตรายเพราะการกินพลาสตกิ ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 33
รีไซเคิล ประหยดั ได้เทา่ ไหร่ (เทยี บกบั ผลติ จากวัตถดุ บิ ใหม่) วสั ดทุ ่ีน�ามา ลดการใช้ หรือประหยดั ได้ รีไซเคลิ 1 ตัน ลดการใชท้ รัพยากร ประหยัดนา้� มนั ประหยัดน้า� ประหยัด ลดมลพษิ ลดพน้ื ท่ี ต้งั ต้น (ลติ ร) (ลิตร) พลังงาน ทางอากาศ ฝงั กลบ (กิโลวัตต์ (กโิ ลกรัม) (ลบ.ม.) ช่วั โมง) กระดาษ ตน้ ไม้ 12 ตน้ 269 26,498 601 27.2 3.5 หนังสอื พิมพ์ กระดาษ ตน้ ไม้ 24 ตน้ 1,753 26,498 3,000-4,000 - 2.3 สา� นกั งาน พลาสติก น�า้ มัน 1,943.6 ลติ ร - 5,774 - 23 แก้ว หนิ ปูน, ทราย, 14.3 - 42 3.4 1.5 โซเดียมคาร์บอเนต, รวม 1 ตัน กระป๋อง แรบ่ อกไซด์ 4 ตัน 4,769.6 - 14,000 - 7.6 อะลูมเิ นยี ม (ถอื ว่าประหยัด ได้ถงึ 95% ) ** แต่ไม่วา่ อยา่ งไร กระบวนการรีไซเคลิ กย็ งั คงต้องใชพ้ ลงั งานและสิน้ เปลอื งทรัพยากรธรรมชาติ เชน่ น�้า น�า้ มัน ดังน้นั วิธีแก้ปัญหาขยะที่ดีกว่าการรีไซเคลิ ก็คือ ‘ลดการสร้างขยะ’ (Reduce) ต้งั แต่ต้นทาง 34 Z(H)ero Waste
‘Hero Waste’ ตวั อยำ่ งสรำ้ งสรรค์ของนกั จัดกำรขยะ 1. ซูเปอร์มารเ์ ก็ต ‘ไร้หบี หอ่ ’ ณ กรุงเบอรล์ ิน ประเทศเยอรมัน มซี เู ปอรม์ ารเ์ กต็ สุดเก๋ที่ชื่อ Original Unverpackt (Original Unpackaged) ซึง่ มเี อกลกั ษณ์เด่น 2 ประการ คอื 1. ไร้หีบห่อ โดยธัญพชื จะถกู บรรจุอยู่ในหอคอยแก้ว ซงึ่ ลกู ค้าจะต้องเตรียมภาชนะมาใสเ่ อง (หรือ ใช้ถุงกระดาษจากทางร้าน) รวมทั้งผักตา่ งๆ ก็ไมม่ ีพลาสตกิ ห่อหมุ้ ยกเวน้ บางสิ่งที่จ�าเปน็ จริงๆ เช่น ชีส ทางรา้ นก็จะใชพ้ ลาสตกิ ที่รีไซเคิลได้ 2. เปน็ อาหารออร์แกนกิ ทั้งหมด นอกจากจะช่วยลดขยะจากบรรจุภัณฑ์แล้ว ยังถือเป็นการลดขยะจากอาหารเหลือท้ิงด้วย เพราะ ลกู คา้ ไมต่ อ้ งซ้อื ทั้งหอ่ แต่ซ้อื เท่าท่ีต้องกิน 2. กลุ่ม Trash Hero Thailand ในปี 2556 คนกลมุ่ เลก็ ๆ กล่มุ หนง่ึ เหน็ ถงึ ปญั หาขยะจ�านวนมากบนเกาะหลีเป๊ะ พวกเขาจงึ เริ่มตน้ ชกั ชวนนกั ทอ่ งเท่ียวและชุมชนทอ้ งถ่ิน มารว่ มกนั เปน็ ‘Trash Hero Thailand’ เพอื่ ชว่ ยกนั ตระเวนเกบ็ ขยะ โดยมกี ารนัดหมายกนั เปน็ ประจ�า รวมท้ังท�าคลิปไปเปิดตามร้านอาหาร ตามบาร์ เพือ่ ชกั ชวนนกั ทอ่ งเท่ียว กลุ่มใหม่ให้มาเป็นอาสาสมคั ร ซึง่ ตลอด 2 ปที ี่ผ่านมา พวกเขาเกบ็ ขยะไปแล้วกว่า 95 ตัน ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 35
นอกจากเกบ็ ขยะแลว้ พวกเขายงั มองไปถงึ การแก้ปัญหาต้งั แต่ต้นทาง คือลดการใชข้ วดพลาสติก โดยการจัดท�า ‘ขวดสแตนเลส-Love Koh Lipe’ เพ่ือจา� หนา่ ย และผทู้ ี่ซอ้ื ขวดก็สามารถไปเติมนา�้ ดื่มได้ แบบฟรีๆ ในรา้ นอาหาร ร้านค้า บาร์ หรือโรงแรมที่เขา้ ร่วมโครงการท่ัวประเทศไทย และจากการลงมือท�าจริงของพวกเขา ได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดกลุ่มอย่างนข้ี ้ึนในแห่งอื่นๆ เชน่ กลุ่ม Keep Koh Chang Clean!! (เกาะช้าง จังหวดั ตราด), Clean The Beach Boot Camp (หาด ราไวย์ จังหวดั ภเู ก็ต), Trash Hero Chiangmai (จังหวัดเชียงใหม)่ , Trash Hero Koh Tao (เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธาน)ี , Trash Hero Songkhla (จังหวัดสงขลา) และอื่นๆ อีกมากมาย 3. ทะเลจร – จากขยะส่รู องเท้า ร้อยละ 10 ของขยะที่เก็บได้ตามชายหาดคือ ‘ขยะรองเท้า’ ซึ่งขยะเหล่านี้ ไม่สามารถส่งรีไซเคิล หรือขายได้ จงึ เกดิ แนวคดิ น�าขยะพวกนมี้ าสับเป็นช้นิ เลก็ ๆ แล้วแปรรปู เป็นรองเท้าใหม่ในยหี่ อ้ ‘ทะเลจร’ นอกจากจะชว่ ยกา� จัดขยะในทะเลแลว้ ผลติ ภณั ฑน์ ย้ี งั เปน็ รายไดเ้ สริมใหก้ ลมุ่ แมบ่ า้ นในพนื้ ท่ี 3 จังหวดั ชายแดนภาคใตด้ ว้ ย แถมบรรจุภณั ฑย์ งั เปน็ ผา้ ทอ้ งถ่ิน หรอื ผา้ ปาเตะ๊ ปาตานี (ปตั ตาน)ี สว่ นกา� ไรกห็ มนุ เวยี น มาใช้ ในกจิ กรรมเพื่อสิ่งแวดลอ้ มเกีย่ วกบั การกา� จัดขยะในทะเลต่อไป 4. เศษอาหาร แลก อาหารสด ขยะเศษอาหาร คอื ปญั หาใหญท่ ่ีทา� ใหก้ องขยะสง่ กลิ่นเหมน็ อกี ทั้งเปน็ ขยะที่มปี ริมาณมาก ในประเทศ เม็กซโิ กจงึ มโี ครงการหนง่ึ ที่คิดจัดการกับปัญหานี้ ... แต่จะท�ายงั ไงนะ? ที่จะให้ทุกบา้ นน�าเศษอาหารมาเท รวมกนั ได้ พวกเขาจึงคิดโครงการที่ชื่อ Hello Compost ซ่ึงมีกตกิ าว่า ใครน�าเศษอาหารมาให้ที่จุดรวม ก็ จะได้ส่วนลดสา� หรับซื้ออาหารสดจากฟารม์ ท้องถ่ิน โดยมีนักเรียนดีไซนส์ องคนช่วยออกแบบถุงท่ีเกบ็ กล่ิน สว่ นเศษอาหารที่รวบรวมได้ ก็น�าไปหมกั เปน็ ปยุ๋ ใหช้ ุมชน ซ่งึ ช่วยลดต้นทนุ การผลติ และได้ผกั ผลไม้ปลอด สารเคมดี ้วย โดยพวกเขาทงิ้ ทา้ ยในคลปิ ไว้วา่ “Food waste is valuable.” 36 Z(H)ero Waste
5. กฎหมายลดขยะ ฝร่ังเศส : ประกาศเป็นประเทศท่ีปราศจากกล่องโฟมและถุงพลาสติก อีกทั้งออกกฎหมายห้าม ซูเปอร์มารเ์ กต็ ทง้ิ อาหารเหลอื แต่ให้บริจาคท้ังหมด กรงุ บวั โนสไอเรส อารเ์ จนตนิ า : ประกาศหา้ มใชถ้ ุงพลาสตกิ ชนดิ ย่อยสลายไมไ่ ด้ ในปี 2551 โดยให้ เวลา 2 ปกี ่อนบังคับใชจ้ ริง แคนาดา : หลายเมืองเก็บภาษีถุงพลาสติกและหา้ มใช้กล่องโฟม เม็กซิโก : หา้ มใช้ถุงพลาสติกชนดิ ย่อยสลายไมไ่ ด้ตงั้ แตป่ ี 2552 สหรฐั อเมริกา : ซานฟรานซสิ โกประกาศหา้ มใชก้ ลอ่ งโฟมบรรจุอาหารตงั้ แตป่ ี 2550 และเปน็ เมอื งแรก ของสหรัฐอเมริกาที่ห้ามร้านค้าปลีกใช้ถุงพลาสติกแบบย่อยสลายไม่ได้ ส่วนนครนวิ ยอร์กได้ประกาศห้าม ใช้โฟมประเภทโพลีสไตรีนส�าหรับใส่อาหาร รวมทั้งห้ามไม่ให้ร้านค้าและโรงงานจ�าหน่ายต้ังแต่กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป แอฟริกาใต้ : ออกกฎหมายห้ามผลิต จ�าหน่าย และใชถ้ ุงพลาสตกิ ชนดิ บาง ต้งั แตป่ ี 2545 ไต้หวนั : ประกาศงดใช้กล่องโฟมบรรจุอาหาร ในปี 2548 กานา : ปี 2547 รัฐบาลใหผ้ ผู้ ลติ ถงุ พลาสตกิ ตอ้ งชว่ ยจ่ายเงินแกแ่ รงงานท่ีเกบ็ ขยะถุงพลาสตกิ เพอ่ื นา� ไปรีไซเคิล เยอรมนี : ลูกค้าตอ้ งจา่ ยเงินสงู สดุ 25 ยูโรเซนต์หากตอ้ งการถงุ พลาสติกจากรา้ นค้า พม่า : ประกาศให้พื้นท่ี ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองมิตจีนาและเมืองสะกายเป็นพ้ืนที่ ปลอดถงุ พลาสติก และประเทศอ่ืนๆ อกี มากมายก็มีกฎหมายคลา้ ยๆ กนั นี้ ส�าหรับประเทศไทยในปัจจุบัน แม้จะยังไม่มีกฎหมายบังคับในเร่ืองของการใช้ถุงพลาสติก แต่ก็มี การรณรงคง์ ดใช้ถงุ พลาสติกตามรา้ นค้าต่างๆ ในวนั ที่ 15 และวนั ที่ 30 ของทุกเดอื น (ซึ่งเร่ิมด�าเนนิ การ ตงั้ แตว่ นั ที่ 15 สงิ หาคม 2558) โดยเปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และภาคเอกชน โดยเฉพาะผคู้ ้าปลีก แบบสมคั รใจ ไดแ้ ก่ บริษัท สรรพสินคา้ เซน็ ทรัล จ�ากดั และบริษัท ในเครือเซ็นทรัล, บริษทั เดอะมอลล์ กรุป๊ จา� กดั , บริษทั เอก-ชยั ดีสทริบิวชั่น ซสิ เทม จ�ากัด หรือเทสโก้ โลตัส, บริษทั บ๊ิกซซี ุปเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท ซีพี ออลล์ จา� กัด (มหาชน) เปน็ ตน้ โดย มงุ่ หวงั เพอ่ื การสรา้ งสา� นกึ ความรับผิดชอบรว่ มกนั และสรา้ งสงั คมปลอดขยะใหเ้ กดิ เปน็ รปู ธรรมอยา่ งจริงจัง ปฏบิ ัติการขยะเหลือศูนย์ 37
ภำพชวนคดิ ช่างนา่ ประหลาดนกั ที่สังคมเรามาถงึ จุดที่ความพยายามในการขุดน้�ามนั จากใตด้ นิ สง่ ไปยงั โรงกล่ัน ผลิต ให้เป็นเม็ดพลาสตกิ ขึ้นรปู ใหเ้ ป็นช้อน ขนสง่ มาเก็บยงั คลังสนิ คา้ วางขายในรา้ น ซอ้ื มนั และน�ากลับบ้าน มมี ากกว่าความพยายามในการลา้ งช้อนหลังใชเ้ สร็จ (ไม่ทราบที่มา) ขอ้ ความ : “Less paper, more trees. Be responsible.” บริษัทโฆษณา : Pomato Asia ประเทศอินโดนเี ซยี 38 Z(H)ero Waste
ขอ้ ความ : save paper – save the planet บริษทั โฆษณา : Saatchi & Saatchi Copenhagen ขอ้ ความ : Forest for life บริษัทโฆษณา : Ogilvy & Mather, ประเทศไทย ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์ 39
ขอ้ ความ : Rubbish can be recycle. Nature cannot. เจ้าของผลงาน : WWF ข้อความ : Unfortunately the beach doesn’t clean up itself. เจ้าของผลงาน : Surfrider Foundation 40 Z(H)ero Waste
เจ้าของผลงาน : Surfrider Foundation Europe ข้อความ : You don’t want to tell this story to your children, do you ? (คุณคงไม่อยากที่จะเลา่ นทิ านแบบน้ี ให้ลกู ฟังใชไ่ หม ?) เจ้าของผลงาน : Greenpeace ปฏิบัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 41
สอื่ ท่นี ่ำสนใจ (ใน Youtube) เกดิ อะไรขนึ้ กบั ขวดพลาสติกท่ีคณุ ทง้ิ ไป (การต์ นู แอนเิ มช่ัน 4 นาทีของ TED-ed เลา่ เรื่องการเดนิ ทาง ของขวดนา้� พลาสตกิ 3 ใบ) ชอื่ คลปิ : What really happens to the plastic you throw away - Emma Bryce (มบี ทบรรยายไทย) มลภาวะพลาสตกิ (คลิปการพดู สร้างแรงบนั ดาลใจ 5 นาที จาก Ted talk) ชื่อคลิป : Dianna Cohen: Tough truths about plastic pollution (มีบทบรรยายไทย) อันตรายจากโฟม (จากรายการ ‘กิน อยู่ คอื ’) (นาทีท่ี 17.37 มีการสาธิตการเทน้�ามนั ร้อนๆ ลงบน กลอ่ งโฟม) ชื่อคลิป : กิน อยู่ คอื - อนั ตรายจากโฟม เก็บขยะในหวั ใจคน (หนังสัน้ 8.28 นาที ท่ีจะบอกว่าเราท�าอะไรกบั สงิ่ แวดล้อม ส่ิงนนั้ ก็จะย้อนกลบั มาถงึ ตวั เรา) ชื่อคลปิ : หนังสน้ั เกบ็ ขยะในหัวใจคน ขยะจัดการได้ (จากรายการ ‘กบนอกกะลา’ ซ่งึ จะพาไปดตู ัวอย่างการจัดการขยะอยา่ งถกู วิธี) ชอ่ื คลิป : กบนอกกะลา : ขยะ จัดการได้ คลิปรวมภาพสะเทือนใจเกยี่ วกับปัญหาส่งิ แวดล้อม ชื่อคลปิ : 30 ภาพสะเทอื นใจ ปัญหาสง่ิ แวดล้อม… เตือนใหเ้ ราชว่ ยกลับมาใส่ใจส่งิ แวดลอ้ มกนั อีกครั้ง ท่ีมาของกระดาษ (วิดโี อความรูอ้ ินโฟกราฟกิ 2.15 นาที) ชื่อคลปิ : Educational video for kids: How Paper Is Made มลพษิ จากเหตไุ ฟไหมบ้ อ่ ขยะแพรกษา (จากงานเสวนาโดยอาจารย์มหาวิทยาลยั มหิดล) ชอ่ื คลิป : มหันตภัยควนั ไฟบ่อขยะ - ย�้า! รัศมี 5 กม. เสีย่ งรับสารพิษเตม็ ๆ นักวิทย์ฯ มหดิ ลแนะการแก้ ปัญหาแบบยงั่ ยนื จากแซนวิชปลาถึงอนภุ าคพลาสติกมหาศาลในทะเล ชอ่ื คลิป : รายการ เกา้ นาทีครึ่ง ตอน ทะเลขยะพลาสติก ฤามหาสมุทรจะกลายเป็นที่ทิง้ ขยะ คณุ กินพลาสตกิ เป็นอาหารเย็นหรือเปลา่ ? (แอนเิ มชัน 4.39 นาที ของ National Geographic) ชื่อคลิป : Are You Eating Plastic for Dinner? ดนิ แดนแหง่ ขยะ (รวมภาพปลายทางของขยะท่ีมนษุ ย์ทงิ้ ) ชอื่ คลิป : Marine Debris PSA Raising Careness ซูเปอรม์ ารเ์ ก็ตไร้ขยะ (ตวั อยา่ งซเู ปอร์มารเ์ กต็ ท่ีออกแบบให้มีบรรจุภณั ฑน์ ้อยที่สุด) ชอ่ื คลปิ : Zero Waste Grocery Shopping 42 Z(H)ero Waste
กจิ กรรมสู่การปฏิบตั ิในโรงเรียนและชมุ ชน Head ปฏิบัติการขยะเหลือศูนย์ 43
กจิ กรรม เกมแยกขยะ ลดมลพิษ ช่วงชั้น : ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ระยะเวลาที่ใช้ : 1-2 ช่วั โมง สถานท่ี : ลานกวา้ ง มาตรฐานการเรียนรู้ : ส 3.1, ส 5.2 แนวคดิ ในชีวิตประจ�าวนั เราสรา้ งของเสียและขยะจ�านวนมาก ซึง่ ก่อใหเ้ กดิ มลพิษและภาวะโลกรอ้ น เราทกุ คนจงึ ควรมีส่วนชว่ ยในการลดปริมาณขยะ ซง่ึ หน่งึ ในวิธีการเหล่านัน้ คือการคดั แยกขยะ ต้งั แตต่ ้นทาง เพือ่ น�าไปรีไซเคลิ วตั ถุประสงค 1. เพ่ือใหน้ ักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะท่ีถูกวิธี 2. เพอ่ื ให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า ขยะท�าใหเ้ กดิ มลพษิ และภาวะโลกร้อนไดอ้ ยา่ งไร และการคัดแยกจะชว่ ยลดปญั หาไดอ้ ย่างไร 44 Z(H)ero Waste
อุปกรณ ถงั หรือภาชนะส�าหรับแยกประเภทขยะ ภาพขยะต่างๆ จา� นวน 32 แผ่น (หรืออาจใชข้ ยะจริงก็ได)้ ขั้นตอนการดำเนนิ กิจกรรม อย่าลืมย้�านักเรยี นว่า 1. ก่อนดา� เนนิ กจิ กรรม ที่มาของขยะมาจากเราทุกคน และเราทุกคนสามารถช่ วย 1.1 ครูใชค้ �าถามนา� ลดมลพิษและโลกร้ อนได้ กระตนุ้ ให้นักเรียนคิดเรื่องท่ีมาของขยะ ความเกีย่ วข้องกบั มลพษิ และภาวะโลกร้อน เชน่ “ทราบหรือไม่ว่าขยะมาจากไหน” “ขยะก่อใหเ้ กิดมลพษิ อยา่ งไร” “ขยะเกีย่ วข้องกับโลกร้อนอย่างไร” 1.2 ครูใหค้ วามรู้ เช่น ท่ีมาของขยะ, ปัญหาท่ีเกดิ ข้นึ จากขยะ, การแยกขยะเพ่ือน�าไปรีไซเคลิ , การลดขยะดว้ ยวิธกี ารอื่นๆ (ดขู ้อมูลที่หน้า 10-13 / 18-27) ปฏบิ ัตกิ ารขยะเหลือศูนย์ 45
2. เร่ิมต้นเกม ‘แยกขยะ ลดมลพิษ’ 22..12 แบง่ ผู้เลน่ เป็น 2 กล่มุ ใหเ้ วลาแต่ละกลุม่ 5 นาที น�าแผ่นปา้ ยภาพขยะวางไวบ้ นพืน้ ในการมาดแู ละปรึกษากนั วา่ ขยะเหล่านเี้ ปน็ ประเภทใดบ้าง 22..34 ท้ัง 2 กลมุ่ มายืนเป็นแถวตอนลกึ เมื่อได้ยนิ เสยี งนกหวดี ใหห้ วั แถวว่ิงไปหยบิ ภาพขยะหนึ่งชนดิ แลว้ มาใส่ในถังแยกขยะของกลุ่มตนเอง 2.5 คนแรกวิ่งมาแตะมอื คนท่ีสอง แล้วไปตอ่ ทา้ ยแถว คนที่สองว่ิงต่อ ท�าเชน่ นจ้ี นครบทุกคน 2.6 ครตู รวจความถกู ตอ้ ง ถ้าแยกถกู ได้ภาพละ 1 คะแนน ถ้าแยกผิดโดนหกั ภาพละ 1 คะแนน สรปุ กิจกรรม 1. ใชค้ า� ถามนา� เพอ่ื กระตนุ้ ความตระหนัก เชน่ - การคดั แยกขยะมปี ระโยชน์หรือไม่ อยา่ งไร - มกี ระบวนการในการคดั แยกขยะอยา่ งไร - ถ้าไม่มกี ารคดั แยกขยะ จะสง่ ผลกระทบกับเราอย่างไร - การคดั แยกขยะช่วยลดมลพิษและลดภาวะโลกรอ้ นอย่างไร 2. ใหน้ กั เรียนร่วมกันออกแบบกจิ กรรมเกี่ยวกบั การคัดแยกขยะ เพอื่ ท�าจริงในชีวิตประจ�าวัน (ถ้ามเี วลา ควรเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้ท�ากิจกรรมนนั้ จริง พรอ้ มท้ังมีการสรุปผล และพดู คยุ เกย่ี วกบั ปัญหาอปุ สรรคที่เกดิ ขน้ึ ) 46 Z(H)ero Waste
สามารถบูรณาการ กับวชิ าคณติ ศาสตร โดยใหน กั เรยี นนำจำนวนชน้ิ ของขยะประเภทตางๆ มาเขียน เปน แผนภมู ิวงกลม การประเมินผล 1. สังเกตจากการมีส่วนร่วมของนกั เรียน 2. ประเมินจากคะแนนการเล่นเกม กอ่ นและหลังการใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั การคดั แยกขยะ 3. สงั เกตจากกจิ กรรมหรือโครงการเร่ืองการคดั แยกขยะในชวี ิตประจ�าวนั ท่ีนักเรียนน�าเสนอ ความสอดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคส ิง่ แวดลอมศึกษา ความตระหนกั ความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ ทักษะ การมีสว่ นรว่ ม (ลงมอื ท�าเพือ่ สิ่งแวดล้อมทด่ี ีขึ้น) แนวทางการตอ ยอดสูการปฏบิ ัติในโรงเรียนหรอื ชุมชน จัดกิจกรรมในชมุ ชน เช่น เกมสันทนาการในวนั ประชมุ หมู่บา้ น เพ่ือชักชวนให้ชมุ ชนเห็น ถงึ ความส�าคญั ของการคัดแยกขยะ ผลกระทบของปัญหาขยะตอ่ สงิ่ แวดล้อม และคณุ ภาพชีวิต รวมท้งั อาจสง่ เสริมหรือผลกั ดนั ให้มกี ารจดั ต้งั ธนาคารขยะในชมุ ชน ปฏบิ ัติการขยะเหลือศูนย์ 47
กิจกรรม บิงโกคดั แยกขยะ ชว่ งช้ัน : ทุกระดับช้นั ระยะเวลาท่ีใช้ : 20-30 นาที สถานที่ : ในห้องเรียน หรือบริเวณที่รม่ รอบๆ โรงเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ : ส 3.1, ส 5.2, ว 2.2 แนวคิด การจัดการขยะใหป้ ระสบความส�าเรจ็ ได้ นกั เรียนจ�าเป็นต้องมีความรพู้ น้ื ฐาน เก่ยี วกบั การแบง่ แยกประเภทขยะ เพือ่ ใหส้ ามารถคดั แยกขยะไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง กอ่ นน�าไปจัดการดว้ ยวิธกี ารท่ีเหมาะสมต่อไป วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื สร้างความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ประเภทของขยะ ประโยชนข์ องการลดและคดั แยกขยะ และหลักการ 3Rs 2. เพอ่ื เสริมสร้างทัศนคติและความม่งุ ม่ันท่ีจะลดและคดั แยกขยะก่อนท้งิ 3. เพอ่ื ส�ารวจขยะที่พบเหน็ ในบ้านเรือนของนักเรียน อปุ กรณ ไพบ่ ิงโกคัดแยกขยะ (หน้า 51-54) การ์ดบิงโกคดั แยกขยะ (หน้า 55-58) 48 Z(H)ero Waste
ขัน้ ตอนการดำเนนิ กจิ กรรม 1. ถามคา� ถามกระตุน้ นกั เรียน เราเคยมองดูถงั ขยะในบา้ นของเราหรือไม่ นักเรียนคดิ วา่ ถงั ขยะในบา้ นของนกั เรียนมขี ยะอะไรอยู่บ้าง นักเรียนคิดว่า ขยะท่ีพบท่ีบา้ นของเราแบ่งออกได้เปน็ กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง 2. ครูใหข้ ้อมลู เพ่ิมเติมเกี่ยวกับประเภทของขยะ พรอ้ มยกตัวอยา่ งขยะแต่ละประเภท และสขี องถงั ขยะประเภทตา่ งๆ (อาจใช้ ‘ไพ่บิงโกคดั แยกขยะ’ ในการยกตัวอย่างขยะแต่ละประเภท) 3. ครูแจก ‘การด์ บิงโกคดั แยกขยะ’ ใหน้ กั เรียน ซ่ึงการด์ ของแต่ละคนจะมี 4 ชอ่ งประเภทขยะ และแต่ละช่องจะมรี ูปขยะอยู่ 4. ครอู ธบิ ายวิธีเลน่ 5. เริ่มเล่นเกมบิงโกคดั แยกขยะ โดยมีข้นั ตอนดังนี้ ครสู ับไพบ่ ิงโกคัดแยกขยะ นักเรยี นคนใดมรี ปู ขยะในกำรด์ ตรงกบั ขยะท่ีครหู ยบิ ได้ แลว้ สมุ่ หยบิ ออกมำ 1 ใบ ใหพ้ ับมุมนั้นของกำร์ดไว้ ว่ำไดข้ ยะประเภทอะไร และมนั คอื ขยะอะไร ครูควรใช้ค�าถามกระตุ้นหรือใช้ค�าใบ้ เช่น ครจู ะสุ่มหยบิ ไปเร่ือยๆ จนกระทัง่ มนี กั เรยี นได้รปู ให้นักเรียนทายว่า “ไพ่ ที่จับได้คือขยะอะไร” ตรงกับทีค่ รหู ยิบขึ้นมำครบทง้ั 4 รปู (พบั ครบ 4 มมุ ) “ใครใกล้บิงโกแล้วบ้าง” “อยากให้ครูหยิบรูปอะไร” “ต้องการขยะประเภทอะไร” “ใครยังไม่ ได้สักรูปเลย” ใหน้ กั เรียนคนนั้นตะโกนคำ� วำ่ “บงิ โก” ดังๆ เพ่ือเป็ นการกระตุ้นการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง ปฏบิ ัติการขยะเหลือศูนย์ 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166