Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานทวิศึกษา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

หลักสูตรสถานทวิศึกษา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Published by Titharat, 2019-09-03 04:32:30

Description: หลักสูตรสถานทวิศึกษา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Search

Read the Text Version

หลักสูตรทวิศึกษา(ฉบับปรบั ปรงุ ) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๘ ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๒ ประกาศโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ เรื่อง การใช้หลักสูตรโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ .......................................................................... อนุทินคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕5๑ เรื่องให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน สอดคล้องกับสภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการเปน็ การสรา้ งกล ยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลสังคมไทย ผู้เรียนมี ศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นสังคมโลก ปลูกฝังใหผ้ ู้เรียนมีจิตสำนึกในความเปน็ ไทย มี ระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ เป็นไปตามเจตนารมณม์ าตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉะนั้นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จึงได้จัดทำหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้เป็นไปดงั นี้ ปีการศึกษา ๒๕๕8 ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕8 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รายวิชาสาระเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 หลักสตู รเรยี นรว่ มอาชีวศึกษาและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย(ทวิศกึ ษา) ทง้ั นี้หลักสูตรโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน เมือ่ วนั ท่ี ๒ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จงึ ประกาศใชห้ ลักสูตรโรงเรยี นตง้ั แต่บัดน้ีเป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒ เดือน มนี าคม พุทธศักราช ๒๕60 (นายประมวล ฟองตา) (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๓ สารบญั หนา้ คำนำ ประกาศโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เร่ืองการใชห้ ลักสตู รโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ 2 ความนำ 4 วสิ ัยทัศน์ 7 หลกั การ 7 จุดหมาย 8 สมรรถนะหลกั ของผเู้ รียน 8 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 9 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย 10 โครงสร้างเวลาเรยี นระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) สาขาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กจิ 18 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดบั ชัน้ ม. ๔ (สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ) 20 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดบั ชัน้ ม.๕ (สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ) 21 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดับชั้นม. ๖ (สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ ) 22 สาระและมาตรฐานการเรียนรรู้ ายวิชาพ้ืนฐาน 27 คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน 36 คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ บังคบั เลือก 87 คำอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม 94 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 122 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และการส่งเสริมการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ 125 ระเบยี บโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ วา่ ดว้ ยการประเมินผลการเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ 129 เกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 15 ภาคผนวก

๔ ความนำ สบื เนอ่ื งจากกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการผลิตผู้เรียนด้านอาชีวศึกษาให้มากข้ึน เพื่อรองรับ การจ้างงาน ท้ังภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาชีพที่เป็น ความต้องการของตลาดแรงงานท่ีกำลังขยายตัวในทุกภาคส่วน กระทรวงศึกษาธิการซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีผลิต กำลงั คนจำเป็นอย่างย่ิงต้องเร่งประชาสัมพันธ์ สรา้ งความเข้าใจ ใหน้ กั เรียนได้หันมาสนใจเรยี นทางด้านอาชพี ซ่ึง มีตลาดรองรับอย่างแน่นอนให้มากขึ้น แต่เนื่องจากสภาพปัจจุบันค่านิยมของผู้ปกครองและผู้เรียนมุ่งที่จะ สนับสนุนให้มีการเรียนสายสามญั เพื่อเข้าสู่ระดับอุดมศกึ ษา สง่ ผลให้ขาดกำลังคนในภาคแรงงานเป็นอย่างมาก รฐั บาลจึงมีนโยบายที่จะใหม้ กี ารจัดการศึกษาหลักสตู รเรยี นร่วมอาชวี ศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายควบคู่กัน ไป เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความรู้พื้นฐานด้านอาชีพและสามารถเข้าสู่ ตลาดแรงงานได้ทันที การจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพถือเป็นอีกช่องทางหน่ึงท่ีสอดคล้องและ สัมพันธ์กับตลาดแรงงาน สามารถผลิตกำลังคนในระดับฝีมือท่ีได้มาตรฐาน สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาไดต้ ระหนักถึงความสำคญั ดังกล่าว จึงจัดให้มกี ารจัดการอาชวี ศึกษาอย่างหลากหลายยิ่งข้ึน ท้ังน้เี พ่ือ เป็นการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาด้านวชิ าชีพให้แก่ประชาชนวยั เรยี นและวัยทำงานตามความถนัด ความสนใจ และสามารถเข้าถึงการอาชีวศึกษาได้ง่ายข้ึน โดยการขยายวิชาชีพและกลุ่มเป้าหมายเข้าสู่ระบบการจัดการ อาชีวศึกษาให้ชัดเจน ทั่วถึง และรวดเร็วขึ้น เพื่อเป็นทางเลือกสำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีมี ความประสงคจ์ ะเรียนควบคกู่ ันไปทั้งสายสามญั และสายอาชพี เมอ่ื เรียนครบตามหลกั สูตร ผ้เู รียนสามารถสำเร็จ การศึกษาทั้งหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและหลักสูตรสายอาชีพไปพร้อมกัน ท้ังนี้ได้มีการ ก ำห น ดก าร จัด ก าร เรีย น การ ส อน โด ยก าร ท ำคว าม ต กล ง ร่ว มมื อ กัน ใน ก าร จัด ก าร เรีย น การ ส อน ร ะ หว่ าง สถานศึกษาท่ีเปิดสอนมธั ยมศกึ ษากับสถานศกึ ษา ท่ีเปิดสอนหลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)

๕ วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื เพมิ่ โอกาสทางการศึกษาดา้ นอาชวี ศกึ ษาแก่ประชาชนวยั เรยี นและวัยทำงานตามความถนัด และความสนใจ ๒. เพอื่ ขยายกล่มุ เปา้ หมายไปสูน่ กั เรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายในการเขา้ สู่หลกั สตู รอาชีวศึกษา ๓. เพอ่ื เป็นทางเลือกสำหรบั ผู้เรยี นในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายทมี่ ีความประสงคจ์ ะเรียนควบคู่ ไปกบั หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี • การจดั การศึกษาวชิ าชีพในสถานศกึ ษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ซ่ึงดำเนนิ การปฏิรูปการศึกษาทงั้ ด้านการบริหารจดั การและการจัดการเรียนการสอน โดยเนน้ ให้ผู้เรียน มี โอกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตตามความถนัด ความสนใจ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ เพื่อนำมาใช้ป้องกันและแก้ปัญหา จดั กิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ฝึกการปฏบัตใิ หท้ ้ทำได้ คิดเป็น ทำเปน็ รกั การอ่าน และเกิด การใฝ่รู้อยา่ งต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอน โดยสดั ส่วนสมดุลกนั รวมท้ังปลูกฝงั คา่ นิยมที่ดงี าม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งระดับและประเภท การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เปน็ ๓ ระดับ คือ ๑. การศึกษาระดบั ก่อนประถมศึกษา ๒. การศึกษาระดับประถมศึกษา ๓. การศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษา แบ่งเป็น ๒ ระดบั คอื ๓.๑ การศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ๓.๒ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย แบง่ ระดบั เป็น ๒ ประเภท คือ ๓.๒.๑ ประเภทสามญั ศกึ ษา ๓.๒.๒ ประเภทอาชีวศกึ ษา สำหรับการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้ถูกแบ่งการศึกษาออกเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ประเภทสามัญศึกษา หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ คือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และประเภท อาชีวศึกษา หน่วยงานท่ีรัผิดชอบ คือสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จากสภาวะการณ์ปัจจุบันที่ต้อง เผชิญการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้ทุกคนในสังคมต้องพยายาม ปรับตัวให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ จึงทำให้สังคมหันมาให้ความสนใจกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการศึกษา มากขึ้นโดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านอาชีวศึกษา ทั้งนี้ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการทั้งในการศึกษาต่อและการ ประกอบอาชีพ กอปรกับรัฐบาล โดยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือ ตอ้ งการใหน้ ักเรียนสนใจเรียนสายอาชีพมากขึ้น เมอื่ สำเร็จการศกึ ษาแลว้ สามารถทำงานได้ทันที ดังนัน้ เพ่ือเป็น การสนองนโยบายดงั กล่าวข้างตน้ จึงกำหนดใหด้ ำเนนิ การเปิดสอนหลักสตู ร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ใน โรงเรยี นมธั ยม สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ใน ๓ ลักษณะ คือ

๖ ลกั ษณะที่ ๑ ขึ้น ท ะ เบี ยน เป็ น นั ก เรียน ของ สถาน ศึก ษ าสัง กั ดส ำนั ก ง าน ค ณ ะ ก รร ม ก ารก าร ลักษณะท่ี ๒ อาชีวศึกษาเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จบแล้วได้วุฒิประกาศนียบัตร ลกั ษณะที่ ๓ วชิ าชพี (ปวช.) คอื รูปแบบที่ ๑ บุคลากรจากสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษา ไปสอนทโ่ี รงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน รูปแบบท่ี ๒ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานส่ง นักเรยี นมาเรียนท่สี ถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ข้ึนทะเบียนเป็นนักเรียนของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐานเรียนหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย แต่เน้นวิชาชีพตามหลักสูตรจบแล้วได้วุฒิ มธั ยมศึกษาตอนปลายมี ๒ รูปแบบ คอื รูปแบบที่ ๑ นักเรียนเรียนรายวิชาเพ่ิมเติมจากรายวิชาชีพหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชพี (ปวช.) เพ่ือเทียบโอนเขา้ สู่หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ และต้อง ลงทะเบยี นเป็นนกั เรียนของสถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพอ่ื เรยี น ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อีกอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน จึงจะได้วุฒิ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ รปู แบบท่ี ๒ นักเรียนเรียนรายวิชาเพิม่ เตมิ จากรายวิชาตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั ร วิชาชพี (ปวช.) เพ่ือเปน็ พน้ื ฐานการเรียนต่อระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ข้นึ ทะเบียนเป็นนักเรียนของสถานศึกษาสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน แต่นำหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ มาจัดการเรยี นการสอน จบ แล้วได้วุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยให้สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาเป็นสถานศึกษาพี่เล้ียง ทั้งน้ี ในการเปิดสอนนั้นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การขอเปิด สอนหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

๗ • การเรยี นแบบสะสมหนว่ ยกติ การจัดการอาชีวศกึ ษาและฝกึ อบรมวชิ าชพี เป็นการจดั การศกึ ษาวิชาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ตลาดแรงงาน ใหส้ ามารถผลติ กำลงั คนไดต้ ามเปา้ หมายของประเทศรวมทัง้ มที ักษะฝมี ือทีไ่ ด้มาตรฐาน สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงเห็นสมควรปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาให้มีความหลากหลาย เหมาะสม เพ่อื เพม่ิ โอกาสในการศกึ ษาด้านวชิ าชพี สำหรับประชาชนวยั เรยี นและวัยทำงานตามความถนัดและความสนใจ ในการเข้าถึงการศึกษาอาชีวศึกษาได้ง่ายมากขึ้นต้องขยายวิธีการและกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเพิ่มโอกาสให้สามารถเข้าสู่ ระบบการจัดการศึกษาอาชวี ศึกษาไดอ้ ย่างชดั เจน ท่วั ถงึ และรวดเรว็ นับเป็นทางเลอื กสำหรบั ประชาชนผสู้ นใจ นักเรยี น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม. ๑-๓) และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม. ๔-๖) ทีม่ ีความประสงค์จะเพ่ิมพูนหรอื สะสม ความรู้ ทักษะและเตรยี มตัวท่จี ะเขา้ ศกึ ษาในระดบั อาชีวศกึ ษาตอ่ ไป การเรยี นรายวิชาสะสมหน่วยกิต ซ่งึ ประกอบด้วยรายวชิ าระยะส้ัน รายวิชาเตรยี ม ปวช. และรายวิชาเตรียม ปวส. จะเป็นแนวทางหน่งึ ในการเพ่ิมโอกาสทางด้านอาชวี ศกึ ษาในกบั ผสู้ นใจ นกั เรียนท่ีเรียนในระดับตำ่ กวา่ มธั ยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ไดม้ โี อกาสศึกษาในหลักสตู รอาชีวศึกษาตามความถนัดและความสนใจ โดยสามารถ นำผลการเรียนจากรายวิชาดังกลา่ ว มาขอโอนเพื่อนับจำนวนหน่วยกิตสะสมภายหลังจากที่ได้สมัครเข้าเรียน และข้ึน ทะเบียนเป็นนักเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเป็นนักศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.) กับสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิสยั ทศั น์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มุ่งจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสที่มีคุณภาพและมาตรฐาน พัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นบุคคลทีม่ ีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะอาชีพและทกั ษะการดำรงชีวิตที่ดีและเปน็ สถานศึกษา ตน้ แบบแหล่งเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งภายในปี ๒๕๕๘ หลักการ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มีหลกั การที่สำคญั ดงั น้ี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคกู่ ับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของทอ้ งถ่นิ ๔. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทม่ี ีโครงสรา้ งยดื หย่นุ ทงั้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้ ๕. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุม่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

๘ จุดหมาย หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน การศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเป็นจดุ หมายเพือ่ ใหเ้ กิดกับผู้เรยี น เมอื่ จบการศกึ ษาตามหลกั สูตร ดงั นี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ ๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นิสัย และรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนรุ ักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะทีม่ งุ่ ทำประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ทด่ี งี ามในสังคม และอย่รู ว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๑ มุ่ง พัฒนาผเู้ รียนให้มีสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการตามเจตนารมณข์ องหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ดังนี้ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไม่รับข้อมูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผล และความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใช้ วธิ กี ารส่ือสารทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสรา้ งองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศ เพอื่ การตดั สินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ทีเ่ ผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สนิ ใจท่มี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ต่อตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง การทำงานและการอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ ปรับตัวใหท้ ันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ มและการรู้จกั หลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ ี่ สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อนื่ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีด้านตา่ งๆ และ มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

๙ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๘ ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถ อย่รู ว่ มกบั ผู้อน่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลกดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต ๓. มีวินยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ

๑๐ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วย โครงสรา้ งเวลาเรียนและโครงสรา้ งช้นั ปี ดงั น้ี 1. โครงสรา้ งเวลาเรียน เป็นโครงสร้างท่ีแสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ ใช้เป็นเวลาเรียนพ้ืนฐาน เวลาเรียนเพิ่มเติมและเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำแนกแต่ละชน้ั ปี โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กจิ กรรม เวลาเรียน ม.๔ ม.๕ ม.๖ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๘๐ ๘๐ ๘๐ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ศลิ ปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาองั กฤษ ๔๐ ๔๐ - รวมรายวิชาพ้นื ฐานทง้ั หมด ๔๐ ๔๐ ๔๐ รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ชุมนมุ / นศท./ ผูบ้ ำเพญ็ ประโยชน์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๓. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕๖๐ ๕๖๐ ๕๒๐ รวมกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑,๖๔๐ ชว่ั โมง ไม่เกนิ กว่า ๑,๖๐๐ ช่วั โมง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ ชวั่ โมง

๑๑ โครงสร้างหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และ โครงสร้างหลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โครงสรา้ งหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า หนว่ ยกติ รายวชิ า หนว่ ยกติ ๑.รายวิชาพ้ืนฐาน ๔๑ นก. ๑.หมวดวิชาทกั ษะชีวิต ไม่น้อยกวา่ ๒๒ นก. ๑.๑ ภาษาไทย ๖ นก. ๑.๑ กลุ่มวิชาภาษาไทย ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ นก. ๑.๒ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ๖ นก. ๑.๒ กลุ่มวชิ าภาษาตา่ งประเทศ ไมน่ ้อยกว่า ๖ นก. ๑.๓ วิทยาศาสตร์ ๖ นก. ๑.๓ กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์ ไม่นอ้ ยกว่า ๔ นก. ๑.๔ คณติ ศาสตร์ ๖ นก. ๑.๔ กล่มุ วชิ าคณติ ศาสตร์ ไม่น้อยกว่า ๔ นก. ๑.๕ สงั คมศกึ ษาฯ ๘ นก. ๑.๕ กลุ่มวิชาสังคมศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ นก. ๑.๖ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๓ นก. ๑.๖ กลุ่มวิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ นก. ๑.๗ ศิลปศกึ ษา ๓ นก. ๑.๘ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๓ นก. ๒.รายวิชาเพมิ่ เติม ไมเ่ กินกว่า ๔๐ นก. ๒.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมน่ อ้ ยกว่า ๗๑ นก. ๒.๑ กลุ่มทกั ษะวชิ าชพี พ้ืนฐาน ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๘ นก. ๒.๒ กลมุ่ ทกั ษะวิชาชีพเฉพาะ ๒๔ นก. ๒.๓ กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชีพเลอื ก ไม่น้อยกวา่ ๒๑ นก. ๒.๔ ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชพี ๔ นก. ๒.๕ โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชพี ๔ นก. ๓.หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ ้อยกว่า ๑๐ นก. ๓.กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๓๖๐ ช่ัวโมง ๔.กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร ๒ ช่วั โมงต่อสัปดาห์ รวม ไม่น้อยกว่า ๘๑ นก. รวม ไม่น้อยกว่า ๑๐๓ นก.

๑๒ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชียงใหม่ โครงสรา้ งรายวชิ าที่เปิดสอนสำหรบั นักเรียนรายวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 หมายเหตุ รหสั วิชา รายวชิ า นน./นก ชม.ท่ี รหสั วิชา รายวชิ า นน./นก ชม.ทีส่ อน/ สอน/ สปั ดาห์ กลุ่มรายวิชาพน้ื ฐาน 1.0(60) สัปดาห์ ท31102 ภาษาไทย 1.0(60) 1.0(60) ค31102 คณิตศาสตร์ 1.0(60) 2 ท31101 ภาษาไทย 1.0(60) 2 ว31102 วิทยาศาสตร์ 1.0(60) 2 ค31101 คณิตศาสตร์ 1.0(40) 2 ส31103 สังคมศกึ ษาฯ 1.0(40) 2 ว31101 วทิ ยาศาสตร์ 0.5(20) 2 ส31104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5(20) 2 ส31101 สังคมศกึ ษาฯ 0.5(20) 2 พ31102 สขุ ศึกษาพลศึกษา 0.5(20) 1 ส31102 ประวตั ิศาสตร์ 0.5(20) 1 ศ31102 ศลิ ปศกึ ษา 0.5(20) 1 พ31101 สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 0.5(20) 1 ง31102 การงานอาชพี 0.5(20) 1 ศ31101 ศิลปศึกษา 1.0(40) 1 อ31102 ภาษาอังกฤษ 1.0(40) 1 ง31101 การงานอาชพี 1 2 อ31101 ภาษาองั กฤษ 7.0(280) 2 รวมกลมุ่ รายวชิ าพนื้ ฐาน 7.0(280) 14 รวมกลมุ่ รายวิชาพื้นฐาน 14 กลมุ่ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ กลมุ่ วชิ าเลอื ก (คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ) เรียนร่วม ปวช.สาขาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ง31270 พิมพ์ดีดองั กฤษเบอื้ งตน้ 1 1.5 3 ง31292 พิมพ์ไทยเบื้องต้น 1.5 3 การบัญชเี บอ้ื งตน้ 2 1.5 3 ง31268 คอมพิวเตอร์และ 1.5 3 ง31281 ง31267 การขายเบื้องต้น 2 1.5 3 สารสนเทศเพ่อื งานอาชพี โปรแกรมตารางคำนวณ 2.0 4 โปรแกรมมลั ติมีเดียเพ่ือการ 2.0 4 ง31278 คอมพวิ เตอรใ์ นงานธรุ กิจ 1.5 3 นำเสนอ ง31269 โปรแกรมประมวลผลคำ 1.5 3 การบญั ชีเบ้อื งตน้ 1 1.5 3 การขายเบ้อื งต้น 1 1.0 2 รวมกลุม่ วชิ าเพมิ่ เติม (20) รวมกลุม่ วชิ าเพมิ่ เติม (20) กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (20) (20) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 1.กิจกรรมแนะแนว (20) (20) 2.กจิ กรรมนักเรียน 1.กิจกรรมแนะแนว -ชมุ นมุ /นศท./ผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ (60) 2.กิจกรรมนักเรยี น (60) -ชุมนมุ /นศท./ผ้บู ำเพ็ญ 3.กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ประโยชน์ 3.กจิ กรรมเพ่อื สังคมและ รวมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น สาธารณประโยชน์ รวมทงั้ หมด รวมกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น รวมทั้งหมด

๑๓ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่ โครงสรา้ งรายวิชาท่เี ปดิ สอนสำหรับนักเรียนรายวิชา คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 หมายเหตุ รหสั วิชา รายวชิ า นน./นก ชม.ท่ี รหสั วชิ า รายวชิ า นน./นก ชม.ทสี่ อน/ สอน/ สปั ดาห์ สปั ดาห์ กล่มุ รายวิชาพนื้ ฐาน 1.0(60) ท32102 ภาษาไทย 1.0(60) 2 1.0(60) 2 ค32102 คณติ ศาสตร์ 1.0(60) 2 ท32101 ภาษาไทย 1.0(60) 2 ว32102 วิทยาศาสตร์ 1.0(60) 2 ค32101 คณิตศาสตร์ 1.0(40) 2 ส32103 สังคมศึกษาฯ 1.0(40) 2 ว32101 วทิ ยาศาสตร์ 0.5(20) 2 ส32104 ประวัตศิ าสตร์ 0.5(20) 1 ส32101 สังคมศกึ ษาฯ 0.5(20) 1 พ32102 สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 0.5(20) 1 ส32102 ประวัติศาสตร์ 0.5(20) 1 ศ32102 ศลิ ปศกึ ษา 0.5(20) 1 พ32101 สุขศึกษาพลศกึ ษา 0.5(20) 1 ง32102 การงานอาชีพ 0.5(20) 1 ศ32101 ศิลปศกึ ษา 1.0(40) 1 อ32102 ภาษาอังกฤษ 1.0(40) 2 ง32101 การงานอาชีพ 2 อ32101 ภาษาอังกฤษ 7.0(280) รวมกล่มุ รายวชิ าพืน้ ฐาน 7.0(280) 14 14 รวมกล่มุ รายวิชาพ้นื ฐาน ส32105 หนา้ ที่พลเมือง 0.5(20) 1 กลุ่มรายวชิ าเพม่ิ เติม กลมุ่ วิชาเลือก (คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ) เรยี นรว่ ม ปวช.คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ง32277 ระบบปฏิบตั ิการเบอื้ งตน้ 2.0 4 ง32291 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบ้อื งต้น 1.5 3 ง32290 คอมพิวเตอร์และการบำรงุ รกั ษา 2.0 4 ง32276 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 1.5 3 ง32292 โปรแกรมกราฟฟิก 2.0 4 ง32278 พ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรม 2.0 4 2.0 4 คอมพวิ เตอร์ ง32279 โปรแกรมจัดการฐานขอ้ มลู 2.0 4 ง32293 การเขยี นโปรแกรมโดยใช้ เคร่ืองมือกราฟฟคิ โหมด ง32271 เศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น 1.0 2 รวมกลมุ่ วชิ าเพ่ิมเติม (20) รวมกลุ่มวิชาเพมิ่ เตมิ (20) กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น (20) กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน (20) 1.กจิ กรรมแนะแนว (20) 1.กจิ กรรมแนะแนว (20) 2.กิจกรรมนักเรยี น 2.กิจกรรมนักเรียน -ชมุ นมุ /นศท./ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ (60) -ชุมนมุ /นศท./ผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ (60) 3.กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 3.กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น รวมท้งั หมด รวมกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น รวมท้ังหมด

๑๔ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อำเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ โครงสรา้ งรายวิชาท่ีเปิดสอนสำหรบั นกั เรียนรายวชิ า คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 หมายเหตุ รหัสวิชา รายวชิ า นน./นก ชม.ที่ รหัสวิชา รายวิชา นน./นก ชม.ท่ีสอน/ สอน/ สปั ดาห์ กลุม่ รายวิชาพื้นฐาน 1.0(60) สัปดาห์ ท33102 ภาษาไทย 1.0(60) 1.0(60) ค33102 คณติ ศาสตร์ 1.0(60) 2 ท33101 ภาษาไทย 1.0(60) 2 ว33102 วิทยาศาสตร์ 1.0(60) 2 ค33101 คณติ ศาสตร์ 1.0(40) 2 ส33103 สังคมศกึ ษาฯ 1.0(40) 2 ว33101 วทิ ยาศาสตร์ 0.5(20) 2 ส33104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5(20) 2 ส33101 สังคมศกึ ษาฯ 0.5(20) 2 พ33102 สุขศกึ ษาพลศึกษา 0.5(20) 1 ส33102 ประวัตศิ าสตร์ 0.5(20) 1 ศ33102 ศิลปศกึ ษา 0.5(20) 1 พ33101 สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 0.5(20) 1 ง33102 การงานอาชพี 0.5(20) 1 ศ33101 ศลิ ปศึกษา 1.0(40) 1 อ33102 ภาษาองั กฤษ 1.0(40) 1 ง33101 การงานอาชพี 1 2 อ33101 ภาษาอังกฤษ 7.0(280) 2 รวมกล่มุ รายวชิ าพ้นื ฐาน 7.0(280) 14 รวมกล่มุ รายวิชาพน้ื ฐาน 14 หน้าทพี่ ลเมือง 0.5(20) กลุ่มรายวชิ าเพ่ิมเตมิ 1 โครงการ 2 2.0 กลุ่มวิชาเลือก (คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ) เรียนร่วม ปวช.คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ โปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถิติ 1.5 4 3 ง33264 โครงการ 1 2.0 4 ความรู้เกีย่ วกบั งานอาชพี 1.0 ธรรมาภิบาลเทคโนโลยี 1.5 2 ง33265 การเขียนโปรแกรมบน 2.0 4 สารสนเทศในองคก์ ร 3 การเป็นผปู้ ระกอบการ 1.0 มาตรฐานเปดิ 2 ง33266 การสร้างเว็บไซต์ 2.0 4 ง33267 การผลิตสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ 2.0 4 ฝกึ งาน 4.0 * รวมกลุ่มวิชาเพมิ่ เติม รวมกลุ่มวชิ าเพ่ิมเตมิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 1.กิจกรรมแนะแนว 2.กิจกรรมนักเรยี น (20) 1.กจิ กรรมแนะแนว (20) -ชมุ นมุ /นศท./ผูบ้ ำเพญ็ ประโยชน์ (20) 2.กิจกรรมนักเรียน (20) 3.กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ (20) -ชมุ นุม/นศท./ผู้บำเพ็ญ รวมกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน (60) รวมท้งั หมด ประโยชน์ 3.กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ (20) สาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (60) รวมทงั้ หมด

๑๕ โครงสรา้ ง หลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๕๘ ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๕๘ จะต้องศึกษา รายวิชาจากหมวดวิชาต่างๆ ตามกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้รวม ๓ ปี จำนวน ๑,๖๔๐ ชัว่ โมง (๔๑ หน่วยกิต) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๓๖๐ ช่ัวโมง และรายวิชา/กิจกรรมท่ีสถานศกึ ษาจัดเพ่ิมเติมตาม ความพร้อมและจุดเน้นปีละไม่นอ้ ยกวา่ ๑,๖๐๐ ช่ัวโมง (๔๐หน่วยกิต) รวม ๓ ปีไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ช่ัวโมง ดัง โครงสรา้ งต่อไปน้ี ๑.รายวิชาพนื้ ฐาน ไม่น้อยกว่า ๔๑ หน่วยกิต ๑.๑ กลุ่มวิชาภาษาไทย (ไม่น้อยกวา่ ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๒ กลมุ่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๓ กล่มุ วิชาวทิ ยาศาสตร์ (ไมน่ ้อยกว่า ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๔ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๕ กล่มุ วชิ าสงั คมศึกษาฯ (ไม่น้อยกวา่ ๘ หน่วยกิต) ๑.๖ กล่มุ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (ไมน่ ้อยกว่า ๓ หนว่ ยกติ ) ๑.๗ กลุ่มวิชาศิลปศกึ ษา (ไม่น้อยกวา่ ๓ หน่วยกิต) ๑.๘ กลมุ่ วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต) ๒.รายวชิ าเพิ่มเตมิ ไม่น้อยกวา่ ๔๐ หนว่ ยกิต ๓.กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น (๓๖๐ ชวั่ โมง) ๘๑ นก. รวมไม่น้อยกว่า ๑.รายวชิ าพ้นื ฐาน ไมน่ ้อยกวา่ ๔๑ หนว่ ยกิต ให้เรียนรายวิชาลำดับแรกของกลุ่มวิชา หรือตามที่กลุ่มวิชากำหนด และเรียนรายวิชาส่วนที่เหลือ ตามท่กี ำหนดในแต่ละกลมุ่ วิชา ให้สอดคลอ้ งหรอื สมั พันธก์ ับสาขาวิชาที่เรียนอกี รวมไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๑ หน่วยกิต ๑.๑ ภาษาไทย (ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกิต) ชือ่ วิชา หนว่ ยกิต ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) รหสั วชิ า ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๒๑๐๑ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ภาษาไทย ๑.๐(๖๐)

๑๖ ๑.๒ กลุ่มวิชาภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต) รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า หน่วยกติ อ๓๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๔๐) อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๔๐) อ๓๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๔๐) อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑.๐(๔๐) อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ภาษาองั กฤษ ๑.๓ วทิ ยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า ๖ หนว่ ยกิต) ช่อื วชิ า หน่วยกติ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) รหสั วิชา วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ว๓๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ว๓๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ว๓๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ว๓๒๑๐๒ ว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๔ คณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกติ ) ช่ือวิชา หนว่ ยกิต รหสั วิชา คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๕ สงั คมศกึ ษาฯ (ไม่นอ้ ยกว่า ๘ หนว่ ยกติ ) ช่อื วชิ า หนว่ ยกิต รหสั วิชา สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๑๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๒๑๐๓ สังคมศกึ ษาฯ ๑.๐(๔๐) ส๓๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕(๒๐) ส๓๑๑๐๒

๑๗ ส๓๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ส๓๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ส๓๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ส๓๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ประวัติศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑.๖ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกติ ) รหสั วชิ า ชื่อวิชา หน่วยกติ พ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๒๑๐๒ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) สุขศึกษาพลศึกษา ๑.๗ ศลิ ปศึกษา (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หนว่ ยกติ ) ชอ่ื วิชา หน่วยกิต รหัสวชิ า ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๑๑๐๑ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๑๑๐๒ ศิลปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๒๑๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๓๑๐๑ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑.๘ การงานอาชพี และเทคโนโลยี (ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ หน่วยกติ ) รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกติ ง๓๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี

๑๘ ๒.รายวชิ าเพ่มิ เติม ไมน่ อ้ ยกว่า ๔๐ นก. รหสั วชิ า ชื่อวิชา หน่วยกติ หน้าทพี่ ลเมอื ง ๐.๕(๒๐) หน้าทพ่ี ลเมอื ง ๐.๕(๒๐) หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ๐.๕(๒๐) หน้าทพ่ี ลเมือง ๐.๕(๒๐) หน้าท่พี ลเมอื ง ๐.๕(๒๐) หน้าทพ่ี ลเมอื ง ๐.๕(๒๐) ๓.กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น (๓๖๐ ช่วั โมง) รหสั วิชา ชอื่ วิชา หนว่ ยกติ กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ช่วั โมงตอ่ ปี ๒๐ชั่วโมงต่อปี กิจกรรมนกั เรยี น ๒๐ชัว่ โมงต่อปี -ชมุ นุม/นศท./ผู้บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์

๑๙ สาระและมาตรฐานการเรียนรรู้ ายวชิ าพ้ืนฐาน สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดสาระและมาตรฐานการ เรียนรู้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดคุณภาพของผู้เรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซึ่งกำหนดไว้ ดังรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี ภาษาไทย สาระที่ ๑ : การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ : ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดำเนินชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน สาระท่ี ๒ : การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ : ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอื่ สาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรือ่ งราว ในรูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สาระที่ ๓ : การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ : สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ : หลกั การใชภ้ าษา มาตรฐาน ท ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ สาระที่ ๕ : วรรคดี และวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ : เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่าและนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจริง

๒๐ คณิตศาสตร์ สาระท่ี ๑ : จำนวนและการดำเนนิ การ มาตรฐาน ค ๑.๑ : เขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใชจ้ ำนวนในชวี ิตจริง มาตรฐาน ค ๑.๒ : เขา้ ใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนนิ การของจำนวนและความสัมพันธร์ ะหวา่ งการ ดำเนินการตา่ ง ๆ และสามารถใชก้ ารดำเนนิ การในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ : ใช้การประมาณคา่ ใจการคำนวณ และแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค ๑.๔ : เขา้ ใจในระบบจำนวน และสามารถนำสมบัติเก่ยี วกับจำนวนไปใช้ สาระท่ี ๒ : การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ : เข้าใจพน้ื ฐานเกยี่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี ้องการวัด มาตรฐาน ค ๒.๒ : แก้ปญั หาเกยี่ วกับการวดั สาระท่ี ๓ : เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ : อธบิ ายและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิตสองมติ แิ ละสามมิติ มาตรฐาน ค ๓.๒ : ใช้การนึกภาพ (visualization) ใชเ้ หตุผลเกยี่ วกบั ปรภิ ูมิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระท่ี ๔ : พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ : อธบิ ายและวิเคราะห์แบบรปู (pattern) ความสัมพนั ธ์ และฟงั กช์ ันตา่ ง ๆ มาตรฐาน ค ๔.๒ : ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณติ ศาสตร์ (Mathematical model) อืน่ ๆ แทนสถานการณต์ ่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา สาระท่ี ๕ : การวิเคราะห์ขอ้ มูลและความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค ๕.๑ : เขา้ ใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวเิ คราะหข์ ้อมูล มาตรฐาน ค ๕.๒ : ใช้วธิ กี ารทางสถติ แิ ละความรู้เกย่ี วกบั ความน่าจะเป็นในการคาดการณไ์ ด้อยา่ ง สมเหตุสมผล มาตรฐาน ค ๕.๓ : ใช้ความรเู้ กีย่ วกบั สถิตแิ ละความน่าจะเปน็ ช่วยในการตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา สาระท่ี ๖ : ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ : มีความสามารถในการแกป้ ัญหา การให้เหตผุ ล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณติ ศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรูต้ ่าง ๆ ทางคณิตศาสตรแ์ ละ เชอ่ื มโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตร์อ่นื ๆ และมีความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์

๒๑ วทิ ยาศาสตร์ สาระที่ ๑ : สิ่งมชี วี ติ กบั กระบวนการดำรงชีวติ มาตรฐาน ว ๑.๑ : เขา้ ใจหนว่ ยพนื้ ฐานของสิ่งมีชีวติ ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ งและหน้าที่ของ ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชวี ติ ทีท่ ำงานสมั พันธก์ ัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่อื สารส่ิงท่ีเรยี นรู้ และนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชวี ิตของตนเอง และดแู ล สิง่ มีชีวติ มาตรฐาน ว ๑.๒ : เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพ ท่มี ีผลกระทบตอ่ มนุษย์ และสง่ิ แวดลอ้ ม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และ จิตวิทยาศาสตร์ สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรยี นร้แู ละนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๒ : ชีวิตกับส่ิงแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๒.๑ : เข้าใจสง่ิ แวดล้อมในท้องถ่นิ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสิง่ แวดลอ้ มกบั สง่ิ มีชวี ติ ความ สัมพันธร์ ะหว่างสิ่งมชี วี ิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจติ วทิ ยาศาสตร์ ส่อื สารส่งิ ทเ่ี รียนรแู้ ละนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ : เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติในระดบั ทอ้ งถิ่น ประเทศ และโลก นำความรู้ไปใช้ในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มในท้องถ่ินอย่างยง่ั ยนื สาระที่ ๓ : สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ : เข้าใจสมบตั ิของสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบัติของสารกบั โครงสรา้ งและแรง ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารส่ิงทีเ่ รยี นรู้และนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกดิ สารละลาย การเกดิ ปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งที่ เรยี นรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระท่ี ๔ : แรงและการเคลอ่ื นท่ี มาตรฐาน ว ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาตแิ ละแรงแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า แรงโนม้ ถ่วง และแรงนวิ เคลยี ร์ มี กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่อื สารสิ่งทเ่ี รียนรูแ้ ละนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ อย่างถกู ตอ้ งและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ : เข้าใจลกั ษณะการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวตั ถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สบื เสาะหาความร้แู ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่อื สารส่งิ ทเ่ี รียนรู้ และนำความร้ไู ปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี ๕ : พลงั งาน มาตรฐาน ว ๕.๑ : เข้าใจความสมั พันธร์ ะหวา่ งพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปล่ียนรปู พลงั งาน ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลงั งานตอ่ ชวี ติ และ สงิ่ แวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งท่เี รยี นรู้และนำความรไู้ ป ใชป้ ระโยชน์

๒๒ สาระที่ ๖ : กระบวนการเปลีย่ นแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ : เข้าใจกระบวนการตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ บนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พันธ์ของ กระบวนการตา่ ง ๆ ทม่ี ีผลต่อการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ ภมู ิประเทศ และสณั ฐาน ของโลก มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สือ่ สารส่งิ ที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๗ : ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๑ : เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแลก็ ซีและเอกภาพ การปฏิสมั พนั ธภ์ ายใน ระบบสรุ ิยะและผลตอ่ สิง่ มีชวี ิตบนโลก มีกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละ จติ วทิ ยาศาสตร์ ส่อื สารสิ่งท่ีเรียนรแู้ ละนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ : เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศทน่ี ำมาใชใ้ นการสำรวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและการสอ่ื สาร มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และ จติ วทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสงิ่ ทีเ่ รยี นร้แู ละนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ อยา่ งมคี ณุ ธรรมต่อชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม สาระที่ ๘ : ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ : ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหา รูว้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ีเ่ กดิ ขึน้ ส่วนใหญม่ ีรปู แบบที่ แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมลู และเครอื่ งมอื ทมี่ อี ย่ใู นชว่ ง เวลาน้ัน ๆ เขา้ ใจว่าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม มีความ เกยี่ วข้องสัมพนั ธก์ นั

๒๓ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระท่ี ๑ : ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ : รแู้ ละเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนับถอื และศาสนาอน่ื มศี รัทธาท่ถี กู ต้อง ยึดมน่ั และปฏิบัติตาม หลักธรรมเพ่อื อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ : เข้าใจ ตระหนักและปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ี และธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื สาระที่ ๒ : ชีวติ กับสิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐาน ส ๒.๑ : เข้าใจและปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทข่ี องการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านิยมทีด่ ีงาม และธำรง รกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยูร่ ่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอยา่ งสนั ติสขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ : เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจุบัน ยึดมนั่ ศรทั ธา และธำรง รักษาไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ สาระที่ ๓ : เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ : เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ ทรพั ยากรทม่ี อี ยจู่ ำกัดไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและค้มุ ค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจอย่างพอเพยี ง เพือ่ การดำรงชวี ติ อยา่ งมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ : เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระที่ ๔ : ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ : เขา้ ใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถ ใช้วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ : เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถงึ ปัจจุบนั ในดา้ นความสัมพนั ธ์ และ การเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์อย่างตอ่ เนอ่ื ง ตระหนักถงึ ความสำคญั และสามารถ วเิ คราะหผ์ ลกระทบทเี่ กิดขนึ้ มาตรฐาน ส ๔.๓ : เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย มีความรกั มีความ ภมู ใิ จ และธำรงความเป็นไทย สาระท่ี ๕ : ภมู ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ : เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธข์ องสรรพสง่ิ ซงึ่ มผี ลต่อกนั และกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่ี และเครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ในการค้นหา วเิ คราะห์ สรุปและใชข้ อ้ มูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ : เขา้ ใจปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างมนุษยก์ ับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วฒั นธรรม มีจิตสำนกึ และมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยง่ั ยนื

๒๔ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สาระท่ี ๑ : การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ : เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโต และพฒั นาการของมนุษย์ สาระที่ ๒ : ชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ : เข้าใจและเห็นคุณคา่ ของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดำเนนิ ชีวติ สาระท่ี ๓ : การเคลอื่ นไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ : เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า มาตรฐาน พ ๓.๒ : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบตั ิเปน็ ประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวนิ ัย เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มนี ำ้ ใจนกั กีฬา มีจิตวิญญาณในการ แข่งขนั และชน่ื ชมในสนุ ทรียภาพของการกฬี า สาระที่ ๔ : การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ : เหน็ คุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกนั โรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ สาระที่ ๕ : ความปลอดภยั ในชวี ติ มาตรฐาน พ ๕.๑ : ป้องกันและหลกี เล่ียงปัจจยั เส่ยี ง พฤตกิ รรมเสยี่ งตอ่ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรนุ แรง

๒๕ ศิลปะ สาระที่ ๑ : ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทศั นศิลปต์ ามจินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิดตอ่ งานศลิ ปะ อยา่ งอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งทศั นศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา่ งานทัศนศิลป์ท่เี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล สาระท่ี ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ : เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดต่อดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ : เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คณุ ค่าของ ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ ๓ : นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ : เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิต ประจำวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ : เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวตั ิศาสตร์และวฒั นธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศลิ ป์ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

๒๖ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระท่ี ๑ : การดำรงชีวิตและครอบครวั มาตรฐาน ง ๑.๑ : เขา้ ใจการทำงาน มคี วามคดิ สร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการ จัดการ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทักษะการทำงานรว่ มกันและทกั ษะการแสวงหา ความรู้ มคี ุณธรรมและลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน มีจติ สำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มเพือ่ การดำรงชีวติ และครอบครวั สาระที่ ๒ : การอาชพี มาตรฐาน ง ๒.๑ : เข้าใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิง่ ของเครอ่ื งใช้ หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยอี ยา่ งมคี วามคดิ สร้างสรรค์ เลอื กใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ตอ่ ชีวติ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และมสี ่วนร่วมในการ จดั การเทคโนโลยที ี่ยง่ั ยืน สาระที่ ๓ : เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร มาตรฐาน ง ๓.๑ : เข้าใจ เหน็ คุณคา่ และใช้กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูล การเรยี นรู้ การส่ือสาร การแก้ปญั หา การทำงาน และอาชพี อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธิผล และมคี ณุ ธรรม สาระท่ี ๔ : การอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ : เขา้ ใจ มีทกั ษะท่จี ำเปน็ มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชพี ใช้เทคโนโลยเี พอ่ื พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมเี จตคติที่ดีต่ออาชีพ

๒๗ ภาษาต่างประเทศ สาระที่ ๑ : ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ : เข้าใจและตีความเรื่องทีฟ่ ังและอา่ นจากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ : มีทกั ษะการสื่อสารทางภาษา ในการแลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสาร แสดงความร้สู กึ และ ความคดิ เห็นอย่างมปี ระสิทธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ : นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรือ่ งตา่ ง ๆ โดยการ พูดและการเขยี น สาระท่ี ๒ : ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ : เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ : เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาและวฒั นธรรมของเจา้ ของ ภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม สาระท่ี ๓ : ภาษากับความสัมพันธก์ บั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ : ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชือ่ มโยงความรกู้ บั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื และเป็น พืน้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระท่ี ๔ : ภาษากบั ความสัมพนั ธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ : ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทง้ั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชนและสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ : ใช้ภาษาตา่ งประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพ และการแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ บั สงั คมโลก

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ๒๘ ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ประเภทโคลง ได้อย่างถูกต้อง จับใจความสำคัญ วิเคราะหว์ ิจารณ์ และตอบคำถามจากเรื่องทอ่ี ่านอย่างมีเหตผุ ล เขยี นกรอบแนวคิด ผงั ความคิดจากเร่ืองที่อ่าน เขียนบันทึก ย่อความ เรียงความ สังเคราะห์ความรู้จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เขียนสื่อสาร เขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ มีข้อมูลและสาระสำคัญ รวมถึงมมี ารยาทในการเขียน วิเคราะหแ์ นวคดิ การใช้ภาษาและความนา่ เช่ือถือจากเรื่องที่ฟงั ดู และพดู อธิบาย มคี วามรู้ความเข้าใจหลักการแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง ศึกษาวิเคราะห์ วิจารณ์ อธบิ ายธรรมชาติ พลังและ ลกั ษณะของภาษา เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และตาม ความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น การฟัง การดู การพูดและการเขียน โดยใช้กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทกั ษะการใช้ภาษา ทักษะการสอ่ื สาร การสืบค้นข้อมลู บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ หลักการอ่าน ออกเสียงร้อยแก้ว ร้อยกรอง พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินค่า สรุปลักษณะเด่นและ ประเด็นสำคัญของวรรณคดีและวรรณกรรม สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ส่ือ อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆในชุมชน บทความ เขียนสรุปความเขียนบันทึก ย่อความ เรยี งความ จาก ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เขียนส่ือสาร เขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ย่อความ ฝกึ ฝนทักษะการฟงั การพดู การเลา่ เรอื่ ง และการแสดงความคดิ เหน็ ตามเจตนารมณ์ท่ีตอ้ งการสื่อสาร สามารถ นำความรู้ทไ่ี ดร้ บั ไปสือ่ สารได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เห็นคุณค่าวิถีชีวิตของคนไทยในอดีต มีความภาคภูมิใจในวรรณคดีและวรรณกรรมอันเป็นมรดก ของชาติ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจและการดำเนินชีวิตประจำวัน มีจิตสาธารณะ ตระหนักถึง คุณค่าของคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การมีคา่ นิยมอันพงึ ประสงค์ ใช้ความรู้ภาษาไทยเพ่ือการจรรโลงจิตใจ ธำรงและ พัฒนาสังคมได้เตม็ ศักยภาพของผเู้ รยี น รหสั ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๗ , ม.๔/๙ ท ๒.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๔ , ม.๔/๕ , ม.๔/๗ , ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม.๔/๔ , ม.๔/๕ , ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๔ , ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม. ๕/๑ , ม.๕/๖ รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชี้วัด

๒๙ คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ กลอน ตีความ แปลความ ขยายความ วเิ คราะห์วิจารณ์ และตอบคำถามจากเร่ืองที่อ่านอย่างมีเหตุผล เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิดจากเร่ืองที่อ่าน เขียนรายงาน สังเคราะห์ความรู้จากสอ่ื ส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ เขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ การกรอกแบบรายการต่างๆ ได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ มีข้อมูลและสาระสำคัญ รวมถึงมีมารยาทในการ เขียน วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษาและความน่าเชื่อถือจากเรื่องท่ีฟัง ดู และพดู อภิปราย มีความรคู้ วามเขา้ ใจ หลักการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ กลอน ศึกษาวิเคราะห์วิจารณ์ เสียงในภาษา ส่วนประกอบของ ภาษาองค์ประกอบของพยางค์และคำ และเห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ท่องจำบทอาขยาน ตามทก่ี ำหนด และตามความสนใจ มมี ารยาทในการอา่ น การฟัง การดู การพดู และการเขียน โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการคดิ ทักษะการใช้ ภาษา ทักษะการส่ือสาร การ สบื ค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปราย เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ หลักการอา่ นออก เสียงร้อยแก้ว รอ้ ยกรอง พฒั นาทักษะการคิด วเิ คราะหว์ ิจารณ์ ประเมินค่า สรุปลักษณะเดน่ และประเด็น สำคัญของวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บ้านทีแ่ สดงถงึ ภาษากับวัฒนธรรม ภาษาถ่ิน อธบิ าย ภูมิปัญญาทางภาษา สังเคราะห์ความรู้จากการอ่านข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ ตา่ งๆในชุมชน บทความ เขียนรายงาน จากสอ่ื สิ่งพิมพ์ ส่อื อิเล็กทรอนิกสแ์ ละแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ เขียนจดหมาย กิจธุระ การกรอกแบบรายการต่างๆ เขียนรายงานเชิงวิชาการ การใช้คำ การเรียบเรียงประโยคถูกต้อง เหมาะสมตามระดบั ภาษา ฝึกฝนทกั ษะการฟัง การพูด การพูดต่อท่ีประชุมชน การพูดอภิปราย การเล่าเรื่อง และการแสดงความคิดเหน็ ตามเจตนารมณ์ท่ีต้องการส่ือสาร สามารถนำความร้ทู ีไ่ ด้รบั ไปใช้ภาษาส่ือสารได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพ เห็นคุณค่าวิถีชีวิตของคนไทยในอดีต มีความภาคภูมิใจในวรรณคดีและวรรณกรรมอันเป็นมรดกของ ชาติ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจและการดำเนินชีวติ ประจำวัน มีจิตสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่า ของคุณธรรมจริยธรรม การมีค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ ใช้ความรภู้ าษาไทยเพ่ือการจรรโลงจติ ใจ ธำรงและพัฒนา สังคมไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพของผ้เู รยี น รหสั ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๙ , ท ๒.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๔ , ม.๔/๖ , ม.๔/๗ , ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๒ , ม.๔/๓ , ม.๔/๔ , ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๔ , ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม.๕/๑ , ม.๕/๓ , ม.๕/๕ , ม.๕/๖ รวม ๒๐ ตัวช้ีวดั

๓๐ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศกึ ษาการอา่ นออกเสยี งท้งั ร้อยแกว้ ประเภทบทความ นวนยิ าย และความเรียง รอ้ ยกรองประเภท รา่ ย และลิลิต ตีความ แปลความ และขยายความเร่อื งสนั้ นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบา้ น วรรณคดีใน บทเรียน บทโฆษณา คำขวญั รวมถงึ การวเิ คราะห์และวจิ ารณ์ การเขยี นผงั ความคดิ การบันทกึ หลกั การ เขียนเชิญชวน โครงการ เรียงความ ยอ่ ความ ผลิตงานเขียนในรูปแบบสารคดี บนั เทงิ คดี ประเมนิ งานเขยี น ของผ้อู นื่ การสรปุ แนวคิดแสดงความคดิ เหน็ ประเมินการฟังการดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรือ่ งจากการฟงั และดู หลกั การพูดอภิปราย โนม้ นา้ วใจ ด้วยภาษาทถี่ ูกต้อง การใช้คำและกลุม่ คำสร้างประโยค หลกั การแตง่ คำประพันธป์ ระเภท ร่าย อิทธพิ ลของภาษา ตา่ งประเทศและภาษาถ่ิน หลักการสรา้ งคำในภาษาไทย หลกั การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ การใชภ้ าษาและส่ือสงิ่ พมิ พ์อิเล็กทรอนิกส์ หลักการวิเคราะห์วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมการประเมนิ คุณค่าวรรณคดี การทอ่ งบทอาขยาน โดยใชก้ ระบวนการด้านทกั ษะทางภาษา การสื่อสารในรูปแบบการเชญิ ชวน โครงการ เรยี งความ ยอ่ ความ ผลิตงานเขยี นในรูปแบบสารคดี บันเทงิ คดี ประเมนิ งานเขียนของผอู้ น่ื บนั ทึก สรปุ แนวคิดแสดง ความคิดเหน็ ประเมินการฟงั การดมู ีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองจากการฟงั และดู พูดอภปิ ราย โนม้ น้าวใจ ดว้ ยภาษาที่ถูกต้อง ใชค้ ำและกลุม่ คำสร้างประโยคตรงตามวตั ถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาสและ กาลเทศะ แต่งคำประพันธป์ ระเภท ร่าย วเิ คราะห์อทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิน่ อธบิ ายและ วิเคราะหห์ ลกั การสร้างคำในภาษาไทย ตลอดจนวเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาและสอ่ื สิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนกิ ส์ ประเมินคณุ คา่ วรรณคดี ท่องบทอาขยาน มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟังการดู และการพูด และเหน็ คุณค่าของการใช้ภาษาไทยเพือ่ การสอื่ สาร นำความรู้จากวรรณคดี วรรณกรรม ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ตลอดจนมีความรักและ ภาคภูมิใจในภาษาไทย อันเปน็ ภาษาของชาติ รหัสตัวช้ีวดั ท๑.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๕ ม.๕/๗ ม.๕/๙ ท๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ ม.๕/๗ ม.๕/๘ ท๓.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๕ ม.๕/๖ ท๔.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๔ ม.๕/๕ ม.๕/๗ ท๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๗ รวม ๒๖ ตวั ชว้ี ัด

๓๑ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาการอ่านออกเสียงบททั้งร้อยแก้วประเภทบทความ นวนยิ าย และความเรียง รอ้ ยกรองประเภท ร่าย และลิลิต ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์และวิจารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ ตอบคำถาม ผงั ความคิด บันทึก ย่อความ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน การเขยี นส่ือสารในรูปแบบประกาศ จดหมายกิจ ธุระ เรียงความ ย่อความการเขียนรายงาน เขียนโครงงาน และเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า การสรปุ แนวคิด แสดงความคิดเห็น ประเมินการฟังการดู มีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองจากการฟังและดู หลักการพูด อภิปราย โน้มน้าวใจ แล้วใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ แนวคิด การใช้ภาษาและความน่าเชื่อถือ และประเมิน จากเร่ืองท่ีฟังและดูแล้วนำกำหนดแนวทางไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การใช้คำและกลุ่มคำสรา้ งประโยค การสรา้ งคำในภาษาไทย ตลอดจนวิเคราะห์ และประเมินการใช้ภาษาและสื่อสง่ิ พมิ พ์อิเล็กทรอนิกส์ ประเมินคณุ ค่าด้านวรรณศิลป์ ขอ้ คดิ จากวรรณคดแี ละ วรรณกรรม เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ตลอดจนรวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทาง ภาษา โดยใช้กระบวนการด้านทักษะทางภาษา การส่ือสารในรูปแบบการเชิญชวน โครงการ เรียงความ ยอ่ ความ ผลิตงานเขียนในรูปแบบสารคดี บันเทิงคดี ประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน บันทึก สรุปแนวคิดแสดง ความคิดเห็น ประเมินการฟังการดูมีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองจากการฟังและดู พูดอภิปราย โน้มน้าวใจ ด้วยภาษาท่ีถูกต้อง ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสและ กาลเทศะ แต่งคำประพันธ์ประเภท ร่าย วเิ คราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน อธิบายและ วิเคราะห์หลักการสร้างคำในภาษาไทย ตลอดจนวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาและสื่อสิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ ประเมินคุณค่าวรรณคดี ทอ่ งบทอาขยาน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดู และการพูด ตลอดจนมีความรักและภาคภูมิใจใน ภาษาไทย อนั เปน็ ภาษาของชาติ รหัสตวั ช้ีวดั ท๑.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕ ม.๕/๖ ม.๕/๗ ม.๕/๘ ม.๕/๙ ท๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๖ ม.๕/๗ ม.๕/๘ ท๓.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๕ ม.๕/๖ ท๔.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ท๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕ ม.๕/๖ รวม ๒๗ ตัวช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ๓๒ ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ศึกษาหลักการอ่านร้อยแก้วประเภทปาฐกถา เทศนา บทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย การอ่านจับใจความสำคัญ การตีความ การแปลความ และการขยายความ การอ่านวิเคราะห์ การวิจารณ์ การประเมินค่า และการแสดงความคิดเห็นวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ การสรุปเป็นแผนผัง ความคิด บนั ทึก ย่อความ รายงาน ความรู้จากการอ่านส่ือส่งิ พิมพ์ สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ และแหลง่ เรียนรู้ การ เขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ การโต้แย้งได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรยี บเรียง ถูกต้อง และมีข้อมูลสาระสำคัญชัดเจน การเขียนเรียงความ ย่อความจากสื่อที่หลากหลาย และการเขียน บันเทิงคดี การเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้าเร่ืองที่สนใจ การฟัง การดู ข่าว เหตุการณ์ การอภิปราย การใหค้ วามรู้ การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ การประเมินค่าโดยใชว้ ิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์ การศึกษาบริบท ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา การใช้คำ กลุ่มคำ เพ่ือสร้างประโยคในการ สื่อสาร การแต่งบทร้อยกรองประเภทฉันท์ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การศึกษากวนี ิพนธ์ กลอน บทละคร วรรณกรรม วรรณคดี และการรวบรวมวรรณกรรมพืน้ บ้านทเ่ี ป็น ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา การทอ่ งจำบทอาขยานทน่ี า่ สนใจ โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการ สื่อสาร การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ท่ีได้รับน้ันไปใช้สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ เห็นคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม มี คุณธรรมในการใช้ภาษา และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดู และการพูด ตลอดจนมีความรักและภาคภูมิใจใน ภาษาไทย อันเปน็ ภาษาของชาติ รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ท ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ท ๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗, ท ๕.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖ รวม ๓๒ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ๓๓ ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ศกึ ษาหลักการอ่านรอ้ ยแก้วประเภทพระบรมราโชวาท บทร้อยกรองประเภทกลอน ร่าย ร้อยกรอง ร่วมสมัย และบทอาเศียรวาท การจับใจความสำคัญ การตีความ การแปลความ และการขยายความ การ อ่านวิเคราะห์ วิจารณ์ การประเมินค่า และการแสดงความคิดเห็นวรรณกรรมประเภทต่างๆ การสรุปเป็น แผนผังความคิด ย่อความ รายงาน การสังเคราะห์ความรู้จากการอ่านส่ือสิ่งพมิ พ์ สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์และแหล่ง เรียนรู้ การเขียนโน้มน้าวใจเชิญชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ และการรายงานการประชุมได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง และมีข้อมูลสาระสำคัญชัดเจน การเขียนสารคดี การเขียน รายงานจากการศึกษาค้นคว้าที่สนใจ เพ่ือพัฒนาตนเอง การฟัง การดสู ารคดี โฆษณาทางสื่อ การวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าโดยใช้วิจารณญาณอย่างสร้างสรรค์ โดยการพูดแสดงความรู้ พูดแสดงทรรศนะ และพูด โน้มน้าวใจ การศึกษาการใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ บุคคล พร้อมที่จะใช้ระดับของภาษาเป็น ตัวกำหนด การใช้คำราชาศัพท์ และประเมนิ คา่ การใช้ภาษาจากสอื่ สงิ่ พิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การศกึ ษากวี นพิ นธ์ กลอนบทละคร วรรณกรรม วรรณคดี และการรวบรวมขอ้ คิดจากวรรณคดี วรรณกรรมมาประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวติ จรงิ โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคิด ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการ ส่ือสาร การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ที่ได้รับนั้นไปใช้ส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ เห็นคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม มี คุณธรรมในการใช้ภาษา และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดู และการพูด ตลอดจนมีความรักและภาคภูมิใจใน ภาษาไทย อนั เป็นภาษาของชาติ รหสั ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ท ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ท ๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗, ท ๕.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖ รวม ๓๒ ตวั ชี้วัด

๓๔ คำอธิบายรายวิชาคณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค๓๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง / ภาค จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ คำอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษา เรอ่ื ง เซต การดำเนินการของเซต แผนภาพเวนน์- ออยเลอร์ และการแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล แบบอปุ นัยและแบบนิรนยั และการอ้างเหตผุ ล โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดย การปฏิบัติจริง สรุป รายงาน และนำเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะ กระบวนการทไี่ ด้ไปใชใ้ นการเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ งๆ และในชวี ิตประจำวนั อย่างสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคตทิ ่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง มีความซอื่ สัตย์สจุ ริต มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มคี วามม่งุ มั่นในการ ทำงาน และมีจิตสาธารณะ รหสั ตวั ช้ีวัด ค๔.๑ ม.๔ /๑ , ค๔.๑ ม.๔ /๒ , ค๔.๒ ม.๔ /๑ , ค๔.๒ ม.๔ /๒ , ค๖.๑ ม.๔/๑ , ค๖.๑ ม.๔/๒ , ค๖.๑ ม.๔/๓ , ค๖.๑ ม.๔/๔ , ค๖.๑ ม.๔/๕ , ค๖.๑ ม.๔/๖ รวม ๑๐ ตัวช้ีวัด

๓๕ คำอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ รหสั วชิ า ค ๓๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง / ภาค จำนวน ๑ หน่วยกิต คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเรอื่ ง จำนวนจริง สมบัติของจำนวนจริงเก่ียวกับการบวก และการคูณ สมบัติการเท่ากันและ การไมเ่ ทา่ กัน สมการกำลงั สองตัวแปรเดียว อสมการตวั แปรเดียว คา่ สมั บรู ณ์ เรอื่ ง เลขยกกำลงั ทม่ี เี ลขชก้ี ำลังเปน็ จำนวนตรรกยะ รากท่ี n ของจำนวนจรงิ โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดย การปฏิบัติจริง สรุป รายงาน และนำเสนอ เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะ กระบวนการทไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และในชีวิตประจำวันอยา่ งสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคตทิ ่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเช่ือมั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ รู้จักใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพียง มคี วามม่งุ ม่ันในการทำงาน รกั ความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ รหัสตัวชวี้ ัด ค๑.๑ ม.๔ /๑ , ค๑.๑ ม.๔/๒ , ค๑.๑ ม.๔/๓ , ค๑.๒ ม.๔/๑ , ค๑.๓ ม.๔/๑ , ค๑.๔ ม.๔/๑ , ค๔.๒ ม.๔/๓ , ค๖.๑ ม.๔/๑ , ค๖.๑ ม.๔/๒ , ค๖.๑ ม.๔/๓ , ค๖.๑ ม.๔/๔ , ค๖.๑ ม.๔/๕ , ค๖.๑ ม.๔/๖ รวม ๑๓ ตัวชี้วัด

๓๖ คำอธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตร์ รหสั วิชา ค๓๒๑๐๑ กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาค จำนวน ๑ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๑ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษา เร่ือง ความสมั พันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน กราฟของความสมั พันธ์ และ ฟังก์ชนั โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดย การปฏิบัติจริง สรุป รายงาน และนำเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะ กระบวนการทีไ่ ด้ไปใชใ้ นการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และในชวี ิตประจำวันอยา่ งสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ งเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมน่ั ในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตรยิ ์ มคี วามซ่อื สัตย์สุจริต มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ รู้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง มีความมุ่งม่ันในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ รหัสตวั ชี้วัด ค๔.๑ ม.๕/๓ , ค๔.๒ ม.๕/๔ , ค๔.๒ ม.๕/๕ , ค๖.๑ ม.๕/๑ , ค๖.๑ ม.๕/๒ , ค๖.๑ ม.๕/๓ , ค๖.๑ ม.๕/๔ , ค๖.๑ ม.๕/๕ , ค ๖.๑ ม.๕/๖ รวม ๙ ตวั ชี้วดั

๓๗ คำอธบิ ายรายวิชาคณติ ศาสตร์ รหัสวิชา ค ๓๒๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง / ภาค จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ คำอธิบายรายวิชา ศึกษา เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติและการนำไปใช้ และ ลำดับและอนุกรม ลำดับ ลำดับเลข คณติ ลำดับเรขาคณติ อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต การหาผลบวก n พจน์แรกของอนกุ รมเลขคณิตและ อนุกรมเรขาคณติ โดยจดั ประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณใ์ นชีวติ ประจำวันทใ่ี กลต้ วั ใหผ้ ู้เรียนไดศ้ ึกษา คน้ คว้าโดยการ ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการที่ ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ คณติ ศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบ ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และเชอ่ื มน่ั ใน ตนเอง การเห็นคุณค่าและมีเจตคตทิ ี่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมน่ั ในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษตั ริย์ มีความซื่อสตั ย์สุจริต มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ร้จู กั ใชช้ ีวิตอย่างพอเพยี ง มีความมงุ่ มน่ั ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ รหสั ตัวช้วี ดั ค๒.๑ ม.๕/๑ , ค๒.๒ ม.๕/๑ , ค๔.๑ ม.๕/๔ , ค๔.๑ ม.๕/๕ , ค ๔.๒ ม.๕/๖ , ค๖.๑ ม.๕/๑ , ค๖.๑ ม.๕/๒ ค๖.๑ ม.๕/๓ , ค๖.๑ ม.๕/๔ , ค๖.๑ ม.๕/๕ , ค๖.๑ ม.๕/๖ รวม ๑๑ ตัวชว้ี ัด

๓๘ คำอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค๓๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง / ภาค จำนวน ๑ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๑ คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาเรอื่ งความนา่ จะเปน็ กฎเกณฑ์เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกับการนับและแผนภาพต้นไม้ ทดลองสมุ่ เหตกุ ารณ์ และหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ นำความรูเ้ ก่ียวกับความน่าจะเป็นไปใช้ในการคาดการณ์ และช่วยในการ ตัดสินใจ รวมถงึ การเสริมทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ โดยการปฏิบตั ิ สรุปและรายงานผลการเรยี นรู้โดยการวัดและประเมินผล ด้วยวิธกี าร ทห่ี ลากหลาย ตามสภาพความเป็นจรงิ ใหส้ อดคล้องกบั เนอ้ื หาและทกั ษะท่ีตอ้ งการวัด เพื่อพฒั นาทกั ษะ / กระบวนการในการ คิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ไี ด้ไปใช้ในการเรียนรู้ ส่งิ ตา่ ง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคตทิ ี่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเช่ือม่ันในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มี วินยั ใฝเ่ รียนรู้ รู้จกั ใชช้ วี ติ อย่างพอเพียง มคี วามมุ่งมัน่ ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย และมีจติ สาธารณะ รหัสตวั ชีว้ ัด ค๕.๒ ม.๖/๒ , ค๕.๓ ม.๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม.๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๓ , ค๖.๑ ม.๖/๔ , ค๖.๑ ม. ๖/๕ , ค๖.๑ ม.๖/๖ รวม ๘ ตวั ชีว้ ัด

๓๙ คำอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตร์ รหสั วิชา ค ๓๓๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ช่วั โมง / ภาค จำนวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษา เรือ่ ง สถิติเบอ้ื งต้น รวมถงึ การเสรมิ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยการปฏิบัตสิ รุปและรายงานผลการเรียนรู้โดยการวดั และประเมนิ ผลดว้ ยวิธีการ ท่หี ลากหลายตาม สภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะท่ีต้องการวัดเพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิด คำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทกั ษะกระบวนการทีไ่ ดไ้ ปใช้ในการเรยี นรู้ ส่งิ ตา่ ง ๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเช่ือมั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วินยั ใฝ่เรียนรู้ รู้จกั ใชช้ ีวติ อย่างพอเพยี ง มคี วามมุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ รหัสตวั ช้ีวัด ค๕.๑ ม.๖/๑ , ค๕.๑ ม.๖/๒ , ค๕.๑ ม.๖/๓ , ค๕.๒ ม.๖/๑ , ค๕.๓ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม. ๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๓ , ค๖.๑ ม.๖/๔ , ค๖.๑ ม.๖/๕ , ค๖.๑ ม.๖/๖ รวม ๑๑ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ า ๔๐ รหสั วชิ า ว๓๑๑๐๑ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาคเรยี น จำนวน ๑ หน่วยกิต อธิบายการรักษาดุลยภาพของส่ิงมีชีวติ การเคล่ือนที่ของสารผ่านเข้าออกจากเซลล์ การลำเลียงสาร โดยวธิ ีการแพร่ การออสโมซิส การลำเลยี งแบบฟาซลิ เิ ทต และการลำเลยี งแบบใช้พลงั งาน การลำเลยี งสารขนาด ใหญ่เข้าและออกจากเซลล์ การลำเลียงของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ กลไกในการรักษาดุลยภาพของ น้ำในพชื การคายนำ้ ผ่านปากใบ การดดู นำ้ ท่ีราก โครงสร้าง หนา้ ที่ การำงานในการขับของเสียจากกระบวนการ เมแทบอลิซึมของไต การกำจัดน้ำและของเสียของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ การรกั ษาดุลยภาพของน้ำ แร่ธาตุของปลาน้ำจืดและปลาน้ำเค็ม กลไกการควบคุมอุณหภูมิในร่างกายของสัตว์และมนุษย์ ระบบภูมิคุ้มกัน และการรักษาดุลยภาพในร่างกายของมนุษย์ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบ ของ DNA การเกิดมิวเทชัน การแปรผันทางพันธกุ รรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยชี ีวภาพ ผลทเ่ี กิดจากการใช้ เทคโนโลยีทางชีวภาพ ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ประโยชน์ของความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมีชีวิต ระบบนิเวศ สมดุลของระบบนิเวศ การเปล่ียนแปลงแทนที่ ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ ระหว่างส่ิงมีชีวิต และสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ผลที่เกิดจากการเพ่ิมของประชากรมนุษย์ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่า แนวทางป้องกันแก้ไขฟื้นฟูสภาพแวดล้อม การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งย่ังยืน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอ สื่อสารส่ิงที่ เรยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันมี จติ วิทยาศาสตร์ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม รหสั ตัวชี้วดั ว๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/ ๓ ม.๔-๖/๔ ว๑.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ว๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ว๒.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ว๘.๑ ม.๔-๖/๑ - ๑๒

๔๑ คำอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ว๓๑๑๐๒ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง / ภาคเรียน จำนวน ๑ หนว่ ยกิต สืบค้นขอ้ มลู วเิ คราะห์ อภปิ รายและอธบิ าย โครงสร้างอะตอมเกีย่ วกบั สัญลกั ษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตุ การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอม ความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในระดับพลงั งานนอกสดุ กับสมบตั ิของธาตุ และการเกดิ ปฏิกิริยา การจัดเรยี งธาตแุ ละทำนายแนวโนม้ สมบัตขิ องธาตใุ นตารางธาตุ การเกิดพนั ธะเคมใี น โครงผลกึ และในโมเลกุลของสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งจุดเดือด จดุ หลอมเหลว และสถานะของสารกบั แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาคของสาร ทดลองและเขยี นสมการของปฏกิ ิรยิ าเคมที ่ัวไปทพ่ี บในชวี ิตประจำวนั รวมทงั้ อธบิ ายผลของสารเคมีที่มผี ลตอ่ ส่ิงมชี วี ิตและส่งิ แวดล้อม อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ปัจจัยทีม่ ีผลต่ออตั ราการ เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมแี ละการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ การเกดิ ปิโตรเลียม กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติและการ กลั่นลำดบั ส่วนนำ้ มันดิบ การนำผลติ ภัณฑ์ที่ไดจ้ ากการแยกแก๊สธรรมชาติและการกลัน่ ลำดับส่วนนำ้ มันดบิ ไปใช้ ประโยชน์รวมท้ังผลของผลติ ภณั ฑ์ตอ่ สิง่ มีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม การเกิดพอลิเมอร์ สมบัติของพอลิเมอร์ การนำพอ ลเิ มอรไ์ ปใชป้ ระโยชนร์ วมท้งั ผลที่เกดิ จากการผลติ และใช้พอลเิ มอรต์ ่อส่ิงมชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบ ประโยชน์ และปฏิกริ ยิ าบางชนดิ ของคารโ์ บไฮเดรต ไขมันและนำ้ มนั โปรตนี และกรดนวิ คลีอิก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทกึ จดั กลุม่ ข้อมูลและการอภปิ รายเพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสอ่ื สารสง่ิ ที่ เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ เหน็ คุณคา่ ของการนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน มจี ิต วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ มที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว ๓.๑ ม.๔-๖/๑-๕ ,ว ๓.๒ ม.๔-๖/๑-๙ . ว ๘.๑ ม.๔-๖/๑-๑๒

๔๒ คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ว๓๒๑๐๑ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง / ภาคเรยี น จำนวน ๑ หน่วยกติ ศึกษาความสัมพันธ์ของแรงกับการเคล่ือนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์ แรงไฟฟา้ ระหวา่ งอนภุ าคในนิวเคลียส การเคลื่อนท่ีในแนวเส้นตรง การเคลือ่ นท่ีแบบโพรเจคไทล์ แบบวงกลม แบบฮารม์ อนิกส์อย่างง่าย ประโยชน์ของการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจคไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์ มอนิกสอ์ ย่างง่าย คลนื่ และสมบัตขิ องคล่ืน คล่ืนเสยี ง บีตสข์ องเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ ยิน คุณภาพของเสียง มลพิษของเสียง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ปฏกิ ิริยานิวเคลียร์ ผลกระทบของปฏิกิริยานวิ เคลยี ร์ ต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ธาตุกัมมันตรังสี วีธีการตรวจสอบกัมมันตภาพรังสี ผลกระทบ ของกมั มันตภาพรงั สที ี่มีผลตอ่ สิง่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอ ส่ือสารสิ่งที่ เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม รหสั ตวั ช้ีวดั ว ๔.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ - ๖ /๔ ว ๔.๒ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๓ ว ๕.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๙ ว ๘.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๑๒

๔๓ คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วิชา ว๓๒๑๐๒ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง / ภาคเรยี น จำนวน ๑ หน่วยกติ ศึกษาวเิ คราะห์โครงสรา้ งทางธรณวี ิทยาของโลก แผ่นเปลือกโลก การเคลื่อนท่ขี องแผ่นเปลือกโลก การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ เปลอื กโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี การหาอายุของหิน ลักษณะและอายุของซากดกึ ดำ บรรพ์ เปรยี บเทยี บลำดบั ชน้ั หินและอายุของหิน เพื่อศึกษาความเป็นมาของโลก การเกิดและวิวฒั นาการ ของ ระบบสรุ ยิ ะ กาแลกซแี ละเอกภพ พลงั งานของดาวฤกษ์ ปฏิกิริยาฟิชชนั ตำแหนง่ ของโลกในระบบสุริยะ กาแลก ซแี ละเอกภพ การใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศในการศกึ ษาปรากฏการณต์ ่าง ๆ บนโลกและในอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ สังเกตสบื คน้ ขอ้ มลู การอภปิ ราย และการสรปุ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอ่ื สารสง่ิ ท่ีเรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ นำ ความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นิยม รหัสตวั ชี้วดั ว ๖.๑ ม๕/๑, ม๕/๒, ม๕/๔, ม๕/๕, ม๕/๖ ว ๗.๑ ม๕/๑, ม๕/๒ ว ๗.๒ ม๕/๑, ม๕/๒, ม๕/๓

๔๔ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมรหัสวชิ า ส ๓๑๑๐๑ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาและอธิบายประวัติพระพุทธเจ้า พระมุฮัมมัด พระเยซู ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและศา สนิกชนตัวอย่าง ชาดก หลักของพระพุทธศาสนากบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาประเทศยัง่ ยืนตาม หลักศาสนาทตี่ นนบั ถือ ลกั ษณะสงั คมชมพูทวปี และคตคิ วามเชื่อทางศาสนาสมยั ก่อนพระพุทธเจา้ หรือสังคมสมัย ของศาสดาที่ตนนับถือ มีความรู้ความเข้าใจในพระรัตนตรัย อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิต โดยเห็น ความสำคัญของการสังคายนาประไตรปิฎกหรอื คัมภีร์ทางศาสนาทต่ี นนับถือ การเป็นชาวพุทธท่ีดีและข้อควรรู้ ในการแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ ศกึ ษากฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเอง และครอบครวั กฎหมายแพ่งเก่ียวกับนติ กิ รรม สัญญา กฎหมายอาญา ศึกษาการกำหนดราคาและค่าจ้างในระบบธุรกจิ ระบบเศรษฐกิจของโลกปัจจุบนั ประเภทของ ตลาด การกำหนดราคาตามอุปสงค์-อุปทาน การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ วิวัฒนาการของการเปิดเสรีทาง เศรษฐกจิ ศกึ ษาถงึ ผลกระทบของการเปดิ เสรีทางเศรษฐกจิ มีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ซึ่งทำให้เกิดปัญหาทาง กายภาพ หรอื ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ในประเทศไทย และภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทำการสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งท่เี รยี นรู้ มาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมทง้ั เห็นคุณคา่ ของการปฏิบัติตนเพื่อใหม้ ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรทู้ มี่ ีคณุ ภาพ รหสั ตัวช้วี ดั ส๑.๑ม.๔/๑, ส๑.๑ม.๔/๑๑, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๕, ส๑.๑ม.๔/๑๗, ส๑.๒ ม.๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๓,ส ๓.๑ ม.๔/๑,ส ๓.๒ ม.๔/๒,ส ๕.๑ม ๔/๑,ส ๕.๑ม ๔/๒ มี ๑๒ ตัวช้ีวดั

๔๕ คำอธบิ ายรายวิชา กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวชิ า ส ๓๑๑๐๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๒ อธิบายความสำคญั ของพระพุทธศาสนากับการศึกษา การเมอื ง สนั ติภาพ ศึกษาประวตั ิพระพุทธเจ้า ในฐานะเป็นมนุษย์ท่ีฝึกตนได้อย่างสูงสุด(การตรัสรู้) การก่อต้ังพระศาสนาวิธีการสอนและการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา พุทธจริยา พระรัตนตรัย อริยสัจ ๔และมงคล ๓๘ ประการ ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต ประวัติพุทธสาวก พุทธ สาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่างและผลท่ีจะเกิดทำความดี ความชั่ว ตามหลักธรรมและจริยธรรม หลักโยนิโส มนสิการโดยการกำหนดเป้าหมายบทบาทการดำเนินชีวิตเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและอยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉนั ท์ นำหลกั การเจริญปัญญาสตปิ ฏั ฐานหรอื ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถอื ไปปฏิบัติ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว สังคม ศึกษาโครงสร้างทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม สถาบันทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม การแกป้ ัญหาและแนวทางการพัฒนาทาง สังคม ศกึ ษาการกำหนดค่าจา้ ง กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจา้ งแรงงาน การคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศ มีความรู้ความเข้าใจบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกเรียนรู้สถานการณ์และวิกฤตการณ์ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ของประเทศไทยและโลก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทำการสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอส่อื สารส่งิ ที่เรยี นรู้ มาปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั พร้อมทั้งเห็นคุณคา่ ของการปฏิบตั ิตนเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ และเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรทู้ ี่มีคณุ ภาพ รหสั ตัวชีว้ ดั ส๑.๑ม.๔/๒, ส๑.๑ม.๔/๑๒, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๖, ส๑.๑ม.๔/๒๐, ส๑.๒ ม.๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๔,ส ๓.๑ ม๔/๑,ส ๓.๒ ม๔/๒,ส ๕.๒ม๔/๑ มี ๑๑ ตัวช้วี ัด

๔๖ คำอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วิชา ส ๓๑๑๐๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๑ ศึกษาและอธิบายประวัติพระพุทธเจ้า พระมุฮัมมัด พระเยซู ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและศา สนิกชนตัวอย่าง ชาดก หลักของพระพุทธศาสนากบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในการพัฒนาประเทศยั่งยืนตาม หลกั ศาสนาท่ตี นนบั ถือ ลกั ษณะสงั คมชมพูทวปี และคตคิ วามเช่ือทางศาสนาสมัยกอ่ นพระพุทธเจ้าหรอื สังคมสมัย ของศาสดาท่ีตนนับถือ มีความรู้ความเข้าใจในพระรัตนตรัย อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิต โดยเห็น ความสำคัญของการสังคายนาประไตรปิฎกหรอื คัมภีร์ทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ การเป็นชาวพุทธทด่ี ีและขอ้ ควรรู้ ในการแสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ ศกึ ษากฎหมายแพง่ เก่ยี วกบั ตนเอง และครอบครวั กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับนิตกิ รรม สญั ญา กฎหมายอาญา ศึกษาการกำหนดราคาและค่าจ้างในระบบธุรกจิ ระบบเศรษฐกิจของโลกปัจจุบัน ประเภทของ ตลาด การกำหนดราคาตามอุปสงค์-อุปทาน การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ วิวัฒนาการของการเปิดเสรีทาง เศรษฐกิจ ศกึ ษาถึงผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ มีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ซึ่งทำให้เกิดปัญหาทาง กายภาพ หรอื ภยั พิบตั ิ ทางธรรมชาติ ในประเทศไทย และภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทำการสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสอ่ื สารส่งิ ทีเ่ รียนรู้ มาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั พร้อมทั้งเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ และเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรทู้ ีม่ คี ณุ ภาพ รหัสตวั ชวี้ ัด ส๑.๑ม.๔/๑, ส๑.๑ม.๔/๑๑, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๕, ส๑.๑ม.๔/๑๗, ส๑.๒ ม.๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๓,ส ๓.๑ ม.๔/๑,ส ๓.๒ ม.๔/๒,ส ๕.๑ม ๔/๑,ส ๕.๑ม ๔/๒ มี ๑๒ ตัวช้วี ัด

๔๗ คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส ๓๑๑๐๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๒ อธบิ ายความสำคัญของพระพุทธศาสนากบั การศกึ ษา การเมอื ง สนั ติภาพ ศึกษาประวตั ิพระพุทธเจ้า ในฐานะเป็นมนุษย์ที่ฝึกตนได้อย่างสูงสุด(การตรัสรู้) การก่อตั้งพระศาสนาวิธีการสอนและการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา พุทธจรยิ า พระรัตนตรัย อริยสัจ ๔และมงคล ๓๘ ประการ ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต ประวัติพุทธสาวก พุทธ สาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่างและผลท่ีจะเกิดทำความดี ความช่ัว ตามหลักธรรมและจริยธรรม หลักโยนิโส มนสิการโดยการกำหนดเป้าหมายบทบาทการดำเนินชีวิตเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและอยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉนั ท์ นำหลกั การเจริญปัญญาสติปัฏฐานหรือตามแนวทางของศาสนาท่ตี นนบั ถอื ไปปฏิบัติ ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว สังคม ศึกษาโครงสร้างทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม สถาบันทางสังคม การขดั เกลาทางสังคม การเปล่ียนแปลงทางสงั คม การแกป้ ญั หาและแนวทางการพัฒนาทาง สงั คม ศกึ ษาการกำหนดคา่ จ้าง กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับการจา้ งแรงงาน การคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศ มีความรู้ความเข้าใจบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกเรียนรู้สถานการณ์และวิกฤตกา รณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ของประเทศไทยและโลก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทำการสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสอ่ื สารสิง่ ทเ่ี รยี นรู้ มาปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั พร้อมทั้งเห็นคุณคา่ ของการปฏิบตั ิตนเพื่อใหม้ ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรทู้ ี่มคี ุณภาพ รหสั ตวั ช้วี ัด ส๑.๑ม.๔/๒, ส๑.๑ม.๔/๑๒, ส๑.๑ม.๔/๑๓, ส๑.๑ม.๔/๑๔, ส๑.๑ม.๔/๑๖, ส๑.๑ม.๔/๒๐, ส๑.๒ ม.๔/๑, ส๑.๒ม.๔/๔,ส ๓.๑ ม๔/๑,ส ๓.๒ ม๔/๒,ส ๕.๒ม๔/๑ มี ๑๑ ตัวชี้วัด

๔๘ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส ๓๓๑๐๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๑ ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจในพุทธประวัติด้านการบริหารและการธำรงรักษาพระพุทธศาสนาท่ีเป็น ศาสตรแ์ ห่งการศกึ ษา ศกึ ษาหลักการฝึกตนไม่ประมาท มุ่งประโยชน์และสันตภิ าพบคุ คล สังคมและโลก ศึกษา พระรัตนตรยั อริยสัจ ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสภุ าษติ ประวตั ิพุทธสาวก พุทธสาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่าง ชาดก นำมาเปน็ แบบอย่างในการดำเนนิ ชีวติ ศึกษาหลกั ธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ และมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในพธิ ีบรรพชา อุปสมบท ศึกษาปัญหาการเมืองสำคัญท่ีเกิดข้ึนภายในประเทศ สถานการณ์การเมืองการปกครองของสังคมไทย อิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองท่ีมีผลต่อการดำเนินชีวิต การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่าง ประเทศ การแลกเปล่ยี นเพ่อื ช่วยเหลือและสง่ เสริมด้านวฒั นธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ สงั คม ศึกษาความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีผลต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ การ ประยกุ ต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตของตนเองและครอบครัว การประยุกต์ใชเ้ ศรษฐกิจพอเพียงใน ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การค้าและบรกิ าร ศึกษาการเปลี่ยนแปลงธรรมชาตใิ นโลกว่าเป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์และหรือธรรมชาติ การ ใช้ประโยชน์จากส่ิงแวดล้อม ในการสร้างสรรค์วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ทั้งในประเทศไทยและ โลก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทำการสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอสื่อสารส่งิ ท่เี รียนรู้ มาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั พร้อมท้ังเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ และเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ที่มีคุณภาพ รหัสตัวชี้วดั ส๑.๑ม.๖/๓, ส๑.๑ม.๖/๙,ส๑.๑ม.๖/๑๐, ส๑.๑ม.๖/๑๓, ส๑.๑ม.๖/๑๔, ส๑.๑ม.๖/๒๑, ส๑.๒ม. ๕/๒, ส๑.๒ม.๕/๕ ส ๒.๒ ม ๖/๑,ส ๒.๒ ม ๖/๒,ส ๓.๑ ม๖/๑,ส ๕.๑ ม ๖/๔,ส ๕.๒ ม ๖/๔ มี ๑๓ ตัวชี้วดั

๔๙ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส ๓๓๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๒ ศึกษาหาความรู้เก่ียวกับทฤษฎีและวิธีการของพระพุทธศาสนาท่ีเป็นสากล ศกึ ษาข้อปฏิบัติท่ยี ึดทาง สายกลางพระรัตนตรยั ศึกษาพระรัตนตรยั อริยสจั ๔ มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิตประวัติพุทธสาวก พทุ ธ สาวิกาและศาสนิกชนตัวอย่าง ชาดก นำมาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต ศึกษาปัญหาในชุมชนและสังคม พรอ้ มทัง้ เสนอแนวทางในการจดั กิจกรรมความร่วมมือของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาในชุมชนและสังคม ศึกษา และปฏบิ ตั ติ นใหถ้ ูกตอ้ งในศาสนพธิ ี บุญพธิ ี ทานพธิ ี กุศลพธิ ีและบอกประโยชนข์ องศาสนพิธีได้ ศึกษาระบบการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข รปู แบบของรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย ฉบับปจั จบุ ันท่ีมผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม ศึกษาความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจท่ี สำคัญในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีนำไปสู่การพ่ึงพา การแข่งขันการขัดแย้งและการประสาน ประโยชน์ทางเศรษฐกิจไทยกบั ต่างประเทศ ตวั อย่างเหตุการณ์ที่นำไปสู่การพ่ึงพาทางเศรษฐกิจ ผลกระทบจาก การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศปัจจัยต่าง ๆ ท่ีนำไปสูก่ ารพ่งึ พาการแข่งขัน การขัดแย้ง และ การประสานประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และกีดกนั ทางการคา้ ร้แู ละเข้าใจการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหาเหตุและผล แล้วทำการสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถนำเสนอสอ่ื สารสิ่งที่เรยี นรู้ มาปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั พร้อมท้ังเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหน ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และเป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรูท้ ี่มีคณุ ภาพ รหสั ตวั ชีว้ ดั ส๑.๑ม.๖/๔, ส๑.๑ม.๖/๑๓, ส๑.๑ม.๖/๑๔, ส๑.๑ม.๖/๒๒, ส๑.๒ม.๖/๒ส ๒.๒ ม ๖/๓,ส ๒.๒ ม ๖/๔,ส ๓.๒ ม๖/๓,ส ๕.๒ม ๖/๕ มี ๙ ตวั ชีว้ ดั

๕๐ คำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชาประวัติศาสตร์ รหสั รายวิชา ส ๓๑๑๐๓ กลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๒๐ ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ ๑ ศึกษาหาความรูใ้ นเรื่อง เวลา/ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรต์ ามหลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ทยและสากล เหน็ ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ ศึกษาองค์ความร้ใู หมท่ างประวตั ิศาสตร์เพ่ือนำไปใชป้ ระโยชน์ในขั้นตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ศกึ ษาอารยธรรมของโลกโบราณและการตดิ ตอ่ ทางวัฒนธรรมท่มี ตี ่อกนั ของโลกตะวันตกและตะวันออก โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดหาเหตุและผลทางประวัติศาสตร์เพื่อ ประกอบการสำรวจข้อมูล การสบื คน้ และเหน็ คณุ ค่า ประโยชน์ของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ เห็นคณุ ค่าและความสำคัญของการศกึ ษาประวัติศาสตร์ไทยและประวตั ศิ าสตร์สากล ตัวชว้ี ัดท่ี ส๔.๑ ม.๔/๑, ส๔.๑ ม.๔/๒ , ส๔.๒ ม.๔/๑ มี ๓ ตัวช้ีวัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook