Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565

Published by banpae254, 2022-07-18 07:52:48

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นแพะ อาเภอเมืองปาน จังหวดั ลาปาง สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปีการศึกษา โรงเรยี นบ้านแพะ อาเภอเมอื งปาน จังหวัดลาปาง สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เรื่อง การกระจายอานาจการบริหาร และจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2550 ได้กาหนด เก่ียวกับการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี เป็นภารกิจของโรงเรียนในด้านการวางแผนการบริหารการศึกษา โดยให้ใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาคการปฏิบัติจริง ซึ่งอยู่ในกรอบทิศทางของ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา 5 ปี ของโรงเรียน รวมท้ังยังเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารราชการอย่างมี ประสิทธิภาพให้เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจที่กาหนดเกี่ยวกับการใช้จ่ายงบประมาณการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ ประกอบกับความในข้อ 16(ช) ตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการ ประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ได้กาหนดให้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา ให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์และตัวช้ีวัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นคู่มือในการดาเนินงานตาม ระบบการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนบ้านแพะ จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการน้ีขึ้น โดยผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานแล้ว ขอขอบคุณคณะผู้จัดทาผู้ทีเ่ ก่ียวกับข้องทกุ ฝา่ ยเปน็ อย่างสูงไว้ ณ วนั นี้ คณะผูจ้ ดั ทา

สารบญั หนา้ ความเหน็ ชอบของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 1 คานา 4 ส่วนที่ 1 ภาพรวมของสถานศกึ ษา 5 6 ประวัติ ทต่ี ง้ั /สภาพพนื้ ท่เี ขตบริการและการกาหนดยุทธศาสตร์ตามนโยบาย 7 ปรัชญา /สุภาษิต คาขวญั และสีประจาโรงเรียน 8 ข้อมลู ผูบ้ ริหารโรงเรียนและจานวนบคุ ลากรประจาปีการศึกษา 2565 9 ข้อมูลจานวนนกั เรียนประจาปีการศึกษา 2565 16 แผนผงั โรงเรยี น 17 แผนที่เขตบรกิ าร 19 โครงสร้างการบริหารจัดการศึกษา 19 ผลการทดสอบระดบั ชาติ 20 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคต์ ามหลักสตู รปฐมวัย และเปา้ หมายความสาเร็จ 21 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 38 รายละเอียดงบประมาณ 41 สว่ นที่ 2 ทิศทางการพฒั นาการศึกษา 49 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี 69 นโยบายสพฐ.ปีงบประมาณ 2564-2565 71 กลยุทธห์ น่วยงาน 72 แนวทางการพฒั นา 73 มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัยและระดบั ขัน้ พ้ืนฐาน 75 ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษาโรงเรียนบ้านแพะ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ของสถานศกึ ษา 80 มาตรฐานการศึกษาระดับข้นั พื้นฐานของสถานศึกษา เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ 85 สว่ นท่ี 3 รายละเอียดแผนปฏิบัติการ 89 แผนการจดั สรรงบประมาณตามกลยทุ ธ์ /โครงการ ประจาปงี บประมาณ 2565 92 สว่ นท่ี 4 โครงการกิจกรรม 97 1. โครงการพฒั นาการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 2. โครงการสง่ เสริมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ย (Best Practice ปฐมวัย) 4. โครงการกจิ กรรมวนั สาคัญ

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 6. โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 103 (Excellence) 7. โครงการสง่ เสรมิ การประกวดแขง่ ขัน (Awards) 107 8. สารอง (คา่ สาธารณปู โภคนโยบายของรฐั ) 110 9. โครงการปจั ฉิมนิเทศ 113 10. โครงการสภานกั เรียน 116 11. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 119 12. โครงการพฒั นาเด็กปฐมวัย 122 13. โครงการพฒั นาคณุ ลักษณะด้านดนตรี 126 14. โครงการกีฬา 130 15. โครงการลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ 133 16. โครงการกิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี 136 17. โครงการกิจกรรมทัศนศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ 139 18. โครงการคา่ ยวชิ าการ (โอเนต็ / เอน็ ท)ี 142 19. โครงการพฒั นาบุคลากร 146 20. โครงการจ้างครูอัตราจา้ ง 149 21. โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน 153 22. โครงการพฒั นาระบบธุรการ 157 23. โครงการพฒั นาทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล 160 24. โครงการอนามยั โรงเรียน 164 25. โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 167 26. โครงการพัฒนาภมู ิทัศนแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศึกษา 170 ภาคผนวก สาเนาคาสงั่ โรงเรียนบา้ นแพะ 174

สว่ นท่ี 1 ภาพรวมของสถานศกึ ษา

1 ส่วนท่ี 1 ภาพรวมของสถานศึกษา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ประวัติ ทีต่ ัง้ /สภาพเขตพืน้ ท่ีบริการและกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนานโยบาย โรงเรยี นบ้านแพะ 254 หมู่ที่ 4 ตาบลเมืองปาน อาเภอเมืองปาน จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณยี ์ 52240 โทรศัพท์ (054) 276075 ตง้ั ขึน้ เม่ือวนั ที่ 8 กมุ ภาพันธ์ พทุ ธศกั ราช 2486 โดยใชศ้ าลาวดั บา้ นแพะเปน็ สถานที่จัดการเรยี น การสอนชว่ั คราว ในปัจจุบันเปดิ ให้บริการด้านการเรยี นการสอนให้แก่ประชาชนในเขตบรกิ ารต้ังแต่ระดับ อนบุ าล ถงึ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 มเี นอ้ื ท่ีทง้ั หมด 10 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา พ.ศ. 2489 นายวงค์ ประจกั ษ์ ครูใหญ่ได้จัดหาที่ดินซงึ่ มีเนอ้ื ทีป่ ระมาณ 5 ไร่ (คร่ึงหนงึ่ ของทด่ี ิน ปจั จุบนั ) สร้างอาคารชว่ั คราวเพอ่ื ใช้ทาการสอนจนถึง พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2498 นายใส สมฟอง ครใู หญ่ไดร้ ่วมกับราษฎรบ้านแพะและบา้ นสบปาน ไดส้ ร้างอาคารแบบ ป.1 ก. ของกระทรวงศึกษาธิการ สงู 1 เมตร กว้าง 7 เมตร ยาว 22 เมตร หลงั คามุงกระเบือ้ งไม้สัก พืน้ ฝาเป็นไม้กระดาน ราคาปลกู สรา้ งทัง้ หมด 12,930 บาท พ.ศ. 2512 ได้งบประมาณจากทางราชการ 75,000 บาท ราษฎรสมทบแรงงาน และค่าวสั ดเุ ป็น เงิน 45,000 บาท เพ่ือสร้างอาคารแบบ ป.1 ก. ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 36 เมตร 4 ห้องเรียน พ.ศ. 2513 ราษฎรได้ร่วมบริจาคท่ดี นิ เพิ่มด้านขา้ งอีกจานวน 5 ไร่ พ.ศ. 2514 ไดร้ ับงบประมาณจานวน 10,000 บาท เพ่ือต่อเตมิ เพดาน อาคารแบบ ป.1 ก. 4 หอ้ งเรียน พ.ศ. 2517 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 40,000 บาท เพ่ือสรา้ งบา้ นพักครูแบบไม้ องค์การบริหาร ส่วนจงั หวดั ลาปาง เพ่อื ใช้เป็นทพ่ี ักแก่ขา้ ราชการครู พ.ศ. 2518 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 40,000 บาท เพ่ือสรา้ งบ้านพักครู แบบไม้ องคก์ ารบรหิ าร สว่ นจดั หวดั ลาปาง เพื่อใชเ้ ป็นท่พี ักแก่ข้าราชการครู พ.ศ. 2520 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 250,000 บาท สร้างอาคารเรยี นแบบ ป.1 ก. จานวน 4 ห้องเรยี น ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 36 เมตร เพ่อื ใช้เป็นอาคารเรยี นของเด็ก พ.ศ. 2520 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 13,000 บาท เพื่อสรา้ งสว้ ม จานวน 4 ทีน่ ง่ั พ.ศ. 2520 โรงเรียนได้รบั บริจาค จากราษฎร จานวน 13,000 บาท เพอื่ สร้างรว้ั คอนกรีตบล็อก ความยาว 110 เมตร สงู 1.30 เมตร พ.ศ. 2520 ไดร้ ับงบประมาณจานวน 45,000 บาท เพื่อสรา้ งบ้านพักครู แบบไม้ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดลาปาง เพื่อใช้เป็นท่พี ักแก่ข้าราชการครู พ.ศ. 2523 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 126,400 บาท เพื่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ ขนาดกวา้ ง 7 เมตร ยาว 17 เมตร โครงการหลงั คาเหล็ก พ.ศ. 2523 ได้รับประมาณจานวน 145,000 บาทเพื่อสร้างบ้านพักครู แบบตึก 2 ชัน้ พ.ศ. 2525 ไดร้ บั งบประมาณสร้างสนามบาสเกตบอล จานวน 50,000 บาท ขนาดกว้าง 18 เมตร ยาว 30 เมตร พืน้ คอนกรตี เสาปูน พ.ศ. 2526 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 1,800,000 บาท เพอ่ื สรา้ งบา้ นพักเรือนแถว ตกึ 2 ช้นั โครง เหล็ก จานวน 12 หน่วย เพื่อใช้เปน็ บา้ นพักครทู งั้ อาเภอ พ.ศ. 2528 ไดร้ ับงบประมาณจานวน 648,000 บาท สร้างเปน็ อาคารแบบ สปช. 105/26 ตึก 2 ชั้น ใต้ถนุ โลง่ 3 ห้องเรยี น

2 พ.ศ. 2529 ได้รบั งบประมาณจากกระทรวงสาธารณสขุ จานวน 30,000 บาท สร้างถังเก็บนา้ ฝน แบบ ฝ. 30 จานวน 3 ถัง พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ สปช. 601 จานวน 4 ท่ีนั่ง พ.ศ. 2532 ไดร้ บั งบประมาณจาก ส.ส. จานวน 20,000 บาท สร้างเปน็ หอ้ งผบู้ รหิ ารโรงเรียนแบบ ไม้ ขนาด 4 x 4 เมตร พ.ศ. 2533 ไดร้ ับงบประมาณจานวน 350,000 บาท เพอื่ สรา้ งอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช. 202/26 เปน็ ตกึ ชั้นเดยี ว โครงหลังคาเหล็ก ประตหู น้าต่างเหลก็ ปดิ ทงั้ 2 ดา้ น พ.ศ. 2534 ไดร้ ับงบประมาณจาก สปช. จานวน 77,000 บาท สร้างสว้ มแบบ สปช. 601 จานวน 4 ท่ีนั่ง พ.ศ. 2534 โรงเรียนร่วมกับราษฎรสรา้ งหอ้ งสมดุ ขนาดกวา้ ง 6 เมตร ยาว 8 เมตร เปน็ ตกึ คร่งึ ไมช้ ั้นเดยี ว งบประมาณ 37,600 บาท พ.ศ. 2534 ไดร้ ับบรจิ าคจากราษฎร จานวน 18,000 บาท เพื่อสร้างเปน็ ห้องสหกรณข์ องโรงเรยี น ขนาด 4 x 4 เมตร ตึกช้ันเดียว พ.ศ. 2537 ได้รับบรจิ าคจากราษฎร จานวน 55,000 บาท เพอื่ สรา้ ง เรือนพยาบาลสาหรับ นกั เรียน แบบชาวบ้าน ขนาด 3.50 x 8 เมตร ตกึ ช้นั เดียว พ.ศ. 2539 โรงเรียนได้รับความอนเุ คราะหจ์ ากคณุ สมนึก วงศว์ าน นาเคร่ืองจกั รกลมาปรับสนาม เป็นสนามฟตุ บอลมาตรฐานโดยใชง้ บประมาณ 100,000 บาท พ.ศ. 2540 โรงเรยี นและคณะครู ตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษา และผ้ปู กครองนักเรยี นร่วมกนั สร้างอาคารแบบ 102/26 จานวน 2 ห้องเรยี น ขนาด 6 x 9 เมตร งบประมาณ 310,000 บาท พ.ศ. 2540 โรงเรยี นบา้ นแพะ เป็นโรงเรยี นเข้าร่วมโครงการปฏิรปู การศึกษา เป็นโรงเรียนหนึ่ง ใน จานวน 57 โรงเรียน ของสานักงานการประถมศึกษา จังหวดั ลาปาง โรงเรียนบ้านแพะจงึ ไดร้ บั การปรับปรงุ พัฒนาทุก ๆ ด้าน พ.ศ. 2542 ไดร้ ับงบประมาณจาก สปช. จานวน 81,000 บาท สรา้ งถงั น้าซีเมนตเ์ ก็บนา้ ฝนแบบ ป.30 พิเศษ ขนาด 4.95 x 4.95 เมตร จานวน 4 ถงั พ.ศ. 2545 ได้รบั งบประมาณจาก อบจ. สรา้ งพนงั ก้ันดินและถนนหน้าอาคารเรยี น พ.ศ. 2546 สรา้ งศูนย์เด็กเล็กโดยรบั บริจาคจาก คุณประสทิ ธิ คณุ พรรณี จริ ะพงศว์ ฒั นา งบประมาณ 430,000 บาท พ.ศ. 2547 สร้างป้ายโรงเรียน งบประมาณจากกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศษิ ยเ์ ก่า ผู้ปกครองและผ้มู ีอุปการะคุณ พ.ศ. 2548 สรา้ งสนามเด็กเล่น งบประมาณสนบั สนุน โรงเรียนปฐมวัยต้นแบบประจาอาเภอ พ.ศ. 2548 สร้างสว้ ม อนุบาล จานวน 2 ท่ีน่งั งบประมาณสนบั สนนุ โรงเรียนปฐมวัยตน้ แบบ ประจาอาเภอ พ.ศ. 2549 ได้รับคัดเลอื กให้เป็นโรงเรยี นเครอื ขา่ ยพัฒนาการเรียนการสอนประจาอาเภอ (ERIC) พ.ศ. 2550 ได้ปรบั ปรงุ สื่อศูนย์เดก็ ปฐมวัยตน้ แบบ ให้เป็นห้องสื่อและนันทนาการศูนยเ์ ดก็ ปฐมวยั ตน้ แบบประจาอาเภอ สรา้ งสนามตะกร้อ(ลานกฬี ารว่ มใจ) สวนสขุ ภาพ และโรงรถ ปรบั ปรงุ ห้องเรยี นอาคาร แบบ ป.1 ก โดยการปกู ระเบ้ือง ปรับปรงุ โรงอาหารให้ไดม้ าตรฐานโดยการติดตาขา่ ยปอ้ งกันสัตวร์ บกวน พ.ศ. 2550 ได้รับเลือกให้เป็นโรงเรียนคณุ ธรรมชั้นนา และโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธต้นแบบ อาเภอเมอื งปาน พ.ศ. 2551 ไดร้ บั คดั เลอื กให้เปน็ โรงเรยี นต้นแบบสง่ เสรมิ นิสยั รักการอา่ น พ.ศ. 2552 - 2560 โรงเรียนบ้านแพะมี นายเดชา ตุลาสืบ เป็นผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแพะ ไดร้ ับคัดเลอื กให้เป็นโรงเรียนดีประจาตาบล รุ่นท่ี 2 และได้รับคัดเลือกเข้าร่วมเป็นโรงเรียนประชารัฐ ปัจจุบัน

3 มีนักเรียนทั้งหมดจานวน 83 คน ครูประจาการ 5 คน ครูอัตราจ้าง 4 คน นักการภารโรง 1 คน เป็น โรงเรยี นขนาดเล็ก เปดิ ทาการสอน 2 ระดับ คือ ระดับกอ่ นประถมศึกษา และ ระดบั ประถมศึกษา พ.ศ. 2561 - 2563 โรงเรียนบ้านแพะมี นายอัษฎาวุธ ฆบูชา เป็นผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแพะ ได้รับคดั เลือกให้เปน็ โรงเรยี นดีประจาตาบล ร่นุ ท่ี 2 ไดร้ บั คดั เลือกเข้าร่วมเป็นโรงเรียนประชารัฐ ได้รับคัดเลือก เขา้ รว่ มโครงการโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล (1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ) ปจั จุบัน มีนักเรียนท้ังหมดจานวน 81 คน ครปู ระจาการ 4 คน ครอู ตั ราจา้ ง 5 คน ธรุ การโรงเรยี น 1 คน และนกั การภารโรง 1 คน เป็นโรงเรียนขนาดเลก็ เปดิ ทาการสอน 2 ระดบั คือ ระดับกอ่ นประถมศึกษา และระดบั ประถมศึกษา พ.ศ. 2564 – ปัจจุบัน โรงเรียนบ้านแพะมี นายโชคอนันต์ อนันตสิทธิโชติ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน บ้านแพะ มีนักเรียนทั้งหมดจานวน 102 คน ครูประจาการ 5 คน ครูอัตราจ้าง 3 คน ธุรการโรงเรียน 1 คน และนักการภารโรง 1 คน เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เปิดทาการสอน 2 ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา และระดบั ประถมศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นแพะมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ บา้ นดอนแก้ว หมูท่ ี่ 2 ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ บา้ นหลวงเมอื งปาน หมูท่ ่ี 9 ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ บ้านขว่ งกอม ตาบลแจซ้ อ้ น ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ บ้านทุง่ โป่ง หมทู่ ี่ 1

4 2. ปรชั ญา/สุภาษิต คาขวัญและสีประจาโรงเรียน ปรัชญาโรงเรยี น โยคา เว ชายเต ภูริ 321“ปัญญายอ่ มเกิดเพราะการฝกึ ฝน” คาขวญั โรงเรยี นบ้านแพะ เรยี นดี มีวนิ ยั ใฝ่คณุ ธรรม สเี ขียว หมายถึง ความสุข ความรม่ เยน็ เป็นสงา่ สขี าว หมายถงึ ความสะอาด บริสุทธิ์ สกุ ใสแหง่ ชีวิต อกั ษรยอ่ โรงเรียน บ.พ.

3. ข้อมูลผู้บรหิ ารโรงเรยี นบ้านแพะ 5 ที่ ชอ่ื - นามสกุล ระยะเวลาที่ดารงตาแหนง่ 1 นายอมุ้ หนา้ อ่อน 2486 - 2489 2 นายวงศ์ ประจักษ์ 2489 - 2498 3 นายไม้ สมฟอง 2498 - 2501 4 นายบุญลัย พานธงรกั ษ์ 2501 - 2509 5 นายชัยชาญ พานธงรักษ์ 2509 - 2516 6 นายสพุ รรณ ยอดดี 2516 –2525 7 นายอานวย เดชะบญุ 2526 - 2527 8 นายบรรจบ กันตะ๊ มา 2528 - 2548 9 นายเดชา ตุลาสืบ 2548 – 2560 10 นายอัษฎาวธุ ฆบชู า 2561 – 2564 11 นายโชคอนนั ต์ อนนั ตสิทธิโชติ 2565 - ปัจจุบนั 4. ขอ้ มลู บุคลากร ประจาปีการศกึ ษา 2565 ระดับการศึกษา ตา่ กว่า ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ประเภทบคุ ลากร เพศ รวม ปรญิ ญาตรี ชาย หญงิ - -1 ผอู้ านวยการโรงเรียน 1- 1 - 33 ครปู ระจาการ -6 6 1 -- นกั การภารโรง 1- 1 - 3- ครอู ตั ราจา้ ง 12 3 - 1- ครสู นบั สนนุ การสอน -1 1 1 74 3 9 12 รวม

6 5. ข้อมูลนักเรียนระดับชั้นอนบุ าล ปกี ารศกึ ษา 2565 ช้นั จานวนหอ้ งเรยี น จานวนนักเรยี น ครูประจาชน้ั ชาย หญิง รวม นางสาววารุณี ธรรมขนั ท์ อนบุ าลปีท่ี 2 1 459 นางสาววลยั พร พรมจินา อนบุ าลปที ่ี 3 1 10 7 17 รวม 2 14 12 26 5. ขอ้ มูลนกั เรยี นระดับช้ันประถมศกึ ษา ปีการศึกษา 2565 (ต่อ) ชัน้ จานวนหอ้ งเรียน จานวนนักเรยี น ครปู ระจาชนั้ ชาย หญงิ รวม นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ ประถมศึกษาปีท่ี 1 1 7 8 15 นางสาวแวววรรณ ถอื สตั ย์ นางสาวรักษิณา สุวาท ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1 5 7 12 นายทิวตั ถ์ แสนปญั ญา นางสาวชรนิ ดา วงั มลู ประถมศึกษาปีท่ี 3 1 3 8 11 นางสาวจนิ ดา เครอื อินตา ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1 12 8 20 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 1 2 6 8 ประถมศึกษาปที ี่ 6 1 9 3 12 รวม 6 38 40 78 6. อาคารสถานท่ี โรงเรยี นมอี าคารสถานที่ เพื่อดาเนินการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ดงั นี้ 1. อาคารเรยี น จานวน 3 หลัง 14 หอ้ งเรียน 2. อาคารประกอบ - อาคารอเนกประสงค์ (โรงอาหาร) 1 หลัง - หอ้ งประชุม 1 หลงั - อาคารร่วมใจ 1 หลัง (จดั สรา้ งเอง) (จานวน12 ที่) - หอ้ งน้าห้องสว้ ม 3 หลัง (จดั สร้างเอง) - โรงเลย้ี งไก่ 1 หลงั (จัดสรา้ งเอง) (จดั สรา้ งเอง) - แปลงสาธติ เกษตร 1 ไร่ (บา้ นพักครเู ดมิ ) (จัดสร้างเอง) - โรงจอดรถ 2 หลงั - บ่อเล้ียงกบ – ปลา 2 บอ่ - แหล่งเรียนรู้สมุนไพรและภูมิปญั ญา 1 หลัง - อาคารโครงการรีไซเคลิ 1 หลัง 7 . พืน้ ที่ของโรงเรียน โรงเรียนบ้านแพะ มีพื้นที่ทง้ั หมด 10 ไร่ 3 งาน 29 ตารางว

7 8. แผนผังโรงเรยี น 93 14 น 20 6 23 1126 27 28 24 13 === === 2 83 5 10 4 25 29 19 21 17 22 7 16 1 1=5 === === 30 12 18 ถนนเมืองปาน – แจ้ห่ม 1. อาคารเรยี น ป.1 ก 2. อาคารเรียน ป.1 ข 3. อาคารเรยี น สปช 105/26 4. อาคารเรียน(แบบราษฎร์) 5. อาคารเอนกประสงค์ สปช.202/26 6. อาคารเอนกประสงค์ 7,8,9 หอ้ งนา้ 10. ลานกฬี าเอนกประสงค์ 11. บ้านพกั เรือนแถว 12. เสาธง 13. สนามเดก็ เลน่ 14,15,16,17 ถังเกบ็ น้าฝน 18. ฐานพระพุทธรปู 19. สภานกั เรยี น 20. โรงจอดรถ 21. ศูนยภ์ มู ิปญั ญาท้องถน่ิ 22. โครงการรไี ซเคลิ 23. หอ้ งดรุ ิยางค์ 24. ศาลาพักผ่อน 25. เรอื นเพาะชา 26. หอ้ งธุรการ 27.หอ้ งพยาบาล 28. โรงจอดรถ 29. เล้าไก่ 30. แปลงผัก

9. แผนทเี่ ขตบรกิ าร 8 ทศิ เหนอื โรงเรยี นบา้ นดอนไชย โรงเรียนบา้ นนา้ จา โรงเรยี นบ้านทุง่ โป่ง โรงเรียนบา้ นดอนแก้ว วดั บ้านแพะ หมู่ 4 บ้านแพะ หมู่ 4 บ้านสบปาน หมู่ 7 วัดสบปาน หมู่ 7 ถนนไปอาเภอเมืองปาน

9 10 . โครงสร้างการบริหารจดั การศกึ ษา แผนภมู ิการบริหารจดั การศึกษาโรงเรียนบ้านแพะ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ผ้อู านวยการโรงเรียน คณะคร/ู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรฯ คณะกรรมการเครือข่ายผ้ปู กครอง สมาคมศิษย์เก่า สภานักเรยี น แผนงานวชิ าการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบริหารท่ัวไป นางแววดาว ขัดธะสีมา นางปทุมพร ไพรพนา นายโชคอนนั ต์ อนนั ตสิทธิโชติ นางสาวรักษณิ า สุวาท นางสาวจินดา เครอื อนิ ตา พฤกษ์ 1. การวางแผน นางสาววลัยพร พรมจินา นางสาววลัยพร พรมจินา นางแววดาว ขดั ธะสีมา 1. การพฒั นาหรือการ 1.การจดั ทาแผน อตั รากาลัง ดาเนนิ การเกยี่ วกับการให้ งบประมาณและคาขอตัง้ นางสาวชรนิ ดา วงั มลู ความเห็นการพัฒนาสาระ งบประมาณ เพ่ือเสนอต่อ 2. การจดั สรรอัตรากาลัง นายทวิ ัตถ์ แสนปญั ญา หลักสูตรท้องถ่ิน เลขาธกิ ารสานกั งาน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากร นางสาววารุณี ธรรมขนั ท์ 2. การวางแผนด้านการ คณะกรรมการศึกษาขั้น ทางการศกึ ษา วิชาการ พืน้ ฐาน 1. การพัฒนาระบบ 3. การจัดการเรยี นการสอน 2.การจดั ทาแผนการใช้ 3. การสรรหาและบรรจุ เครือข่ายข้อมลู สารสนเทศ ในสถานศึกษา จ่ายเงิน ตามท่ีไดร้ ับ แต่งต้ัง 2. การประสานงานและ 4. การพัฒนาหลกั สูตรใน จัดสรรงบประมาณจาก 4. การเปลีย่ นตาแหน่งให้ สถานศึกษา สานักงานคณะกรรมการ สงู ข้ึน การยา้ ยขา้ ราชการ พฒั นาเครือขา่ ย 5. การพัฒนากระบวนการ ศึกษาข้ันพนื้ ฐานโดยตรง ครแุ ละบุคลากรทางการ สถานศึกษา เรียนรู้ ศึกษา 3. การวางแผนการ 6. การวัดผล ประเมินผล บรหิ ารงานการศึกษา และดาเนินการเทยี บโอนผล 5. การดาเนินการเก่ียวกบั 4. งานวจิ ัยเพอื่ การพฒั นา การเรียน การเลื่อนข้นั เงนิ เดือน นโยบายและแผน 5. การจดั ระบบการ บรหิ ารและพฒั นาองคก์ ร 6. การพัฒนามาตรฐาน การปฏิบตั งิ าน 7.งานเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา

10 โครงสร้างการบริหารจดั การศกึ ษา(ต่อ) แผนงานวชิ าการ แผนงานงบประมาณ แผนบคุ ลากร แผนงานบรหิ ารท่วั ไป 7. การวจิ ัยเพื่อพัฒนา 3. การอนุมัติการจ่าย 6. การลาทุกประเภท 8. การดาเนนิ งานธรุ การ 7. การประเมินผลการ 9. การดูแลอาคารสถานท่ี คณุ ภาพการศึกษาใน งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร ปฏิบตั ิงาน และส่งิ แวดลอ้ ม สถานศึกษา 4. การขอโอนและการขอ 8. การพัฒนาและ เปลย่ี นแปลงงบประมาณ 8. การดาเนินการทางวินัย 10. การจัดทาสามะโน ส่งเสรมิ ใหม้ แี หล่งเรยี นรู้ 5. การรายงานผลการเบกิ จา่ ย และการลงโทษ ประชากร 9. การนิเทศการศกึ ษา งบประมาณ 9. การส่งั พักราชการและ 11. การรับนกั เรยี น 10. การแนะแนว 6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและ การสง่ั ใหอ้ อกจากราชการไว้ 12. การเสนอความ 11. การพฒั นาระบบ รายงานการใช้งบประมาณ ก่อน คิดเห็นเก่ียวกบั การจดั ตง้ั ประกันคุณภาพภายใน 7. การตรวจสอบ ติดตาม 10. การรายงานการ ยุบ รวมหรอื เลิก และมาตรฐานการศึกษา และรายงานการใช้ผลผลติ ดาเนนิ การทางวินัยและการ สถานศกึ ษา 12. การส่งเสริมชมุ ชน จากงบประมาณ ลงโทษ 13. การประสานงานจัด ใหม้ ีความเข้มแข็งทาง 8. การระดมทรัพยากรและ 11.การอุทธรณ์และการรอ้ ง การศกึ ษาในระบบ นอก วชิ าการ การลงทุนเพื่อการศึกษา ทกุ ข์ ระบบและตามอธั ยาศัย 14. การระดมทรัพยากร 13. การประสานความ 9. การปฏบิ ัตงิ านอ่นื ใดตามที่ 12.การจดั ระบบและการ เพื่อการศึกษา ร่วมมอื ในการพฒั นา ได้รับมอบหมายเก่ยี วกบั จัดทาทะเบยี นประวัติ วิชาการกบั สถานศึกษา กองทนุ เพื่อการศึกษา 13.การจดั ทาบัญชีรายชอื่ 15. การทัศนศึกษา และการให้ความเหน็ 16. การสง่ เสรมิ งาน และองคก์ รอน่ื 10. การการบรหิ ารจดั การ เกย่ี วกบั การเสนอขอ กิจการนกั เรยี น 14. การส่งเสรมิ และ ทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา สนับสนนุ งานวชิ าการแก่ 11. การวางแผนพสั ดุ พระราชทาน 17.การประชาสัมพันธง์ าน บุคคล ครอบครัว องค์กร 12. การกาหนดรูปแบบ เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ การศึกษา หน่วยงาน สถานศึกษา รายการ หรือคุณลกั ษณะ 14. การส่งเสรมิ การประเมิน 18. การสง่ เสริม และสถานประกอบการ เฉพาะของครภุ ัณฑห์ รือ วิทยฐานะขา้ ราชการครแู ละ สนบั สนุนและประสานงาน อน่ื ทจ่ี ัดการศึกษา สงิ่ กอ่ สรา้ งท่ีใช้งบประมาณ บุคลากรทางการศึกษา การจดั การศกึ ษา ของ 15. การจดั ทาระเบยี บ เพ่ือเสนอต่อเลขาธิการ 15. การสง่ เสริมและยกย่อง บคุ คล องค์กร หนว่ ยงาน และแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับ คณะกรรมการการศึกษาขน้ั เชิดชเู กยี รติ และสถาบนั สังคมอ่นื ทจี่ ดั งานดา้ นวิชาการของ พืน้ ฐาน 16. การสง่ เสริมมาตรฐาน การศกึ ษา สถานศึกษา 13. การพฒั นาระบบข้อมลู วิชาชีพและจรรยาบรรณ 19. งานประสานราชการ สว่ นภูมภิ าคและส่วน สารสนเทศเพ่ือการจดั ทาและ วชิ าชีพ ทอ้ งถนิ่ จัดหาพัสดุ 17. การสง่ เสริมวนิ ัย 14. การจัดหาพัสดุ คุณธรรมจริยธรรมสาหรับ 20. การรายงานผลการ 15. การควบคุมดูแล ข้าราชการครแู ละบุคลากร ปฏบิ ตั งิ าน บารงุ รกั ษาและจาหนา่ ยพสั ดุ ทางการศกึ ษา

11 โครงสรา้ งการบริหารจดั การศึกษา(ตอ่ ) แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบรหิ ารท่วั ไป 16. การคดั เลอื กหนังสือ 16. การจดั หาผลประโยชน์จาก 18. การริเรม่ิ ส่งเสรมิ การ 21. การจดั ระบบการ แบบเรยี นเพื่อใชใ้ น ทรัพย์สนิ ขอรับใบอนุญาตประกอบ ควบคุมภายในหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา 17. การรบั เงิน การเก็บรกั ษา วชิ าชพี ครแู ละบุคลากร 22. แนวทางการจดั 17. การพัฒนาส่ือ และ เงิน และการจา่ ยเงิน ทางการศึกษา กิจกรรมเพอ่ื ปรบั เปลย่ี น ใชส้ ื่อเทคโนโลยเี พื่อ 19. การจัดทาบญั ชีการเงนิ 19. การพัฒนา พฤติกรรม การศกึ ษา 20. การจัดทารายงานทางการ ขา้ ราชการครแู ละ ในการลงโทษนักเรยี น เงนิ และงบการเงนิ บคุ ลากรทางการศึกษา 21. การจดั ทาหรือจัดหาแบบ พมิ พ์บญั ชี ทะเบยี นและ รายงาน 11. ด้านการจัดการศกึ ษา โรงเรียนบา้ นแพะจัดการศึกษากอ่ นระดบั ประถมศกึ ษา ในหลกั สูตรสาหรับเด็กปฐมวัย เพ่ือใหเ้ ด็กกอ่ น วัยเรียนได้มีการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ที่จะเข้าเรียนในชั้น ประถมศึกษา ตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพ่ิมเติม) ในเขตบริการได้ เข้าเรยี นอย่างทว่ั ถึง รอ้ ยละ 100 โรงเรยี นบ้านแพะจัดการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา ให้เด็กท่ีมีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับตาม ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 (แก้ไขเพม่ิ เตมิ ) ได้เข้าเรียนทุกคน ร้อยละ 100 โรงเรียนบ้านแพะจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไข เพมิ่ เติม) การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้มี คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โรงเรียนบ้านแพะจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โรงเรยี นบ้านแพะจัดการเรียนการสอนแกเ่ ด็กปกติ เดก็ พิการ เดก็ ด้อยโอกาส เด็กที่บกพร่องทางการ เรยี นรู้ และเดก็ ท่ีมคี วามสามรถพเิ ศษให้ไดเ้ รยี นร่วมกัน โรงเรียนบ้านแพะจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริม ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนาความรู้ตาม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนบ้านแพะสนับสนุนและส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยนักเรียน โดยการจัดบริการอาหาร กลางวันแก่นักเรียนครบ 100 % จัดบริการอาหารเสริม (นม) บริการตรวจสุขภาพประจาปีทุกปี จัดบริการ ตรวจ และรกั ษาดา้ นทนั ตกรรมและสุขภาพประจาปี โรงเรียนบ้านแพะสนับสนุนและส่งเสริมด้านการพัฒนาสุนทรียภาพทางกาย อารมณ์ จิตใจ และ สงั คมแกน่ ักเรียน โดยการจัดและส่งเสริมด้านศิลปะ ดา้ นดนตรี การกฬี า และสง่ เสรมิ วฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน 12. ด้านปริมาณงานของโรงเรยี น ในปีการศกึ ษา 2565 ทางโรงเรียนบา้ นแพะไดเ้ ตรยี มความพร้อมในชนั้ อนบุ าลปที ่ี 1 – 2 เพ่ือให้ครู

12 ได้จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้กับเด็กให้พร้อมที่จะเรียนในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ในปีการศึกษา 2565 ตามกจิ กรรมการพฒั นาสมองของเด็กปฐมวัย การเกณฑเ์ ดก็ ในเขตบรกิ ารเข้าเรียนโรงเรียนบา้ นแพะ สามารถเกณฑ์ได้รอ้ ยละ 100 การพัฒนายกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีการศึกษา 2564 โดยนักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตง้ั แต่ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 แยกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี ระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6 ประจาปีการศกึ ษา 2564 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ชั้น เฉลี่ย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย 79.67 73.20 77.70 91.11 60.83 88.78 78.55 คณติ ศาสตร์ 80.00 71.20 77.00 91.00 61.83 81.22 77.04 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 74.67 71.70 77.70 92.67 59.92 83.61 76.71 สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม 72.33 73.80 76.45 91.89 66.00 90.22 78.45 ประวตั ิศาสตร์ 76.08 72.90 77.95 91.67 66.33 85.27 78.37 สุขศึกษา และพลศกึ ษา 84.33 80.80 82.05 92.89 73.25 93.67 84.50 ศิลปะ 82.75 79.10 81.45 93.11 68.50 92.11 82.84 การงานอาชีพ 80.25 72.90 80.05 91.67 70.50 92.11 81.25 ภาษาต่างประเทศ 78.75 71.90 77.55 87.22 59.42 89.67 77.42 สาระเพิม่ เติม 79.58 70.50 76.65 92.33 63.08 89.00 78.52 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 13. สภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ในปกี ารศึกษา 2564 ท่ีผา่ นมาโรงเรยี นบ้านแพะจัดการศึกษาเด็กระดบั ปฐมวัยอายุ 5 – 6 ปี เพื่อ เตรียมความพร้อมในการเข้าเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 รอ้ ยละ 100 การจดั การศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา ในปีการศึกษา 2565 โรงเรยี นบา้ นแพะ ได้ดาเนินการจัดการศกึ ษาให้กบั นกั เรยี นระดับประถมศึกษา ตามจานวน ดงั นี้

13 จานวนเดก็ นกั เรียน ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 – 6 ปีการศกึ ษา 2565 ชนั้ จานวน จานวนนกั เรียน ครปู ระจาช้ัน ห้องเรียน ชาย หญงิ รวม อนบุ าลปีที่ 2 นางสาววารณุ ี ธรรมขนั ท์ อนบุ าลปที ่ี 3 1 45 9 นางสาววลัยพร พรมจินา รวมปฐมวัย ประถมศึกษาปีท่ี 1 1 10 7 17 นางปทมุ พร ไพรพนาพฤกษ์ ประถมศึกษาปีท่ี 2 นางสาวแวววรรณ ถือสตั ย์ ประถมศึกษาปที ี่ 3 2 14 12 26 นางสาวรกั ษณิ า สวุ าท ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 นายทวิ ัตถ์ แสนปัญญา ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 1 7 8 15 นางสาวชรนิ ดา วงั มลู ประถมศึกษาปที ่ี 6 นางสาวจนิ ดา เครอื อินตา รวมประถมศกึ ษา 1 5 7 12 รวมท้ังส้นิ 1 3 8 11 1 12 8 20 1 26 8 1 9 3 12 6 38 40 78 8 52 52 104 จานวนเดก็ ออกกลางคันแยกเป็นรายชน้ั เรียน ปีการศกึ ษา 2565 ชน้ั จานวนนักเรียนทอี่ อกกลางคัน หมายเหตุ ชาย หญงิ รวม ประถมศึกษาปีท่ี 1 - -- ประถมศึกษาปีที่ 2 - -- ประถมศึกษาปที ี่ 3 - -- ประถมศึกษาปีที่ 4 - -- ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 - -- ประถมศึกษาปีท่ี 6 - -- รวมท้ังสน้ิ ---

14 จานวนเดก็ พิการ แยกตามประเภท ปีการศกึ ษา 2564 ประเภทของความพกิ าร ชั้น เพศ ที่ ีมความบกพร่องทางการเห็น ท่ีมีความบกพร่องทางการไ ้ดยิน ท่ีมีความบกพร่องทางสติ ัปญญา ่ีท ีมความบกพร่องทางร่างกาย/สุขภาพ ท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ที่ ีมความบกพร่องทางการ ูพดจา/ภาษา ี่ทมีปัญหาทางพฤ ิตกรรม/อารม ์ณ ออทิสติก ิพการซ้าซ้อน รวมท้ัง ิ้สน อนบุ าลปที ี่ 2 ชาย - - - - - - - - - - หญงิ - - - - - - - - - - อนุบาลปที ี่ 3 ชาย - - 1 - - - - - - 1 หญงิ - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปีท่ี 1 ชาย - - - - - - - - - - หญงิ - - - - - - - - - - ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ชาย - - - - - - - - - - หญงิ - - - - 1 - - - - 1 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ชาย - - - - - - - -- หญงิ - - - - 2 - - - - 2 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ชาย - - - - 1 - - - - 1 หญงิ - - - - 1 - - - - 1 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ชาย - - - - 1 - - - - 1 หญงิ - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปที ่ี 6 ชาย - - - - 3 - - - - 3 หญิง - - - - - - - -- รวมท้ังสนิ้ ชาย - - 1 - 5 - - - -6 หญิง - - - - 4 - - - -4

15 จานวนเดก็ ทีม่ ีความสามารถพิเศษ แยกตามความสามารถแต่ละดา้ น ปีการศกึ ษา 2564 ความสามารถพเิ ศษด้าน ชั้น เพศ วิทยาศาสตร์ ค ิณตศาสตร์ ภาษา ดนตรี กีฬา ัทศนศิล ์ป ศิลปะการแสดง อนุบาลปที ่ี 1 ชาย - - - - - - - อนุบาลปีที่ 2 หญงิ - - - - - - - ประถมศึกษาปที ่ี 1 ชาย - - - - - - - ประถมศึกษาปีที่ 2 หญงิ - - - - - - - ประถมศึกษาปที ่ี 3 ชาย - - - - - - - ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หญิง - - - - - - - ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ชาย - - - - - - - ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หญิง - - - - - - - ชาย - - - - - - - รวมท้ังสน้ิ หญงิ - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญิง - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญงิ - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญงิ - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญิง - - - - - - - จานวนเดก็ ในเขตบรกิ ารของโรงเรียนทไี่ ม่ไดร้ บั บริการทางการศึกษา -ไมม่ ี- สถานศึกษา 1.โรงเรยี นเป็นแบบอย่างท่ีดีในการพฒั นาการจดั การเรียนการเรยี นรจู้ นมีผลการทดสอบทางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (O-Net) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2564 คะแนนสงู กวา่ ระดับประเทศ 2. โรงเรียนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีในการพฒั นาการจดั การเรยี นการเรยี นรจู้ นมผี ลการทดสอบทางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 คะแนนสงู ข้นึ

16 2. ผลการทดสอบระดับชาติ ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน เพือ่ การประกันคณุ ภาพผูเ้ รยี น (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ดา้ นการประเมนิ ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา ผลต่างจาก ลาดับท่ีต้อง 2563 2564 ปกี ารศึกษา 2563 พัฒนา 1 ความสามารถด้านภาษาไทย 66.87 71.47 +4.99 2 ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 60.12 62.44 +2.32 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพอ่ื การประกันคณุ ภาพผเู้ รยี น (O-Net) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ผลตา่ งจาก 2563 2564 ปีการศึกษา 2563 ภาษาไทย 45.55 57.67 +13.12 คณติ ศาสตร์ 30.00 43.08 +13.08 วิทยาศาสตร์ 36.20 30.42 -5.78 ภาษาองั กฤษ 35.50 43.23 +7.73 เฉล่ียทัง้ หมด 33.90 43.60 +9.70

17 14. ผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จาก สมศ. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน : การศึกษาปฐมวัย (2-5 ปี) ประเภทโรงเรียน ชื่อตวั บง่ ชี้ น้าหนกั คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คณุ ภาพ กลุ่มตวั บ่งชีพ้ น้ื ฐาน ตัวบ่งชี้ท่ี 1 เดก็ มีการพัฒนาด้านรา่ งกาย 5.00 4.50 ดมี าก ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เด็กมีการพัฒนาด้านอารมณ์และจิตใจ 5.00 5.00 ดีมาก สมวัย ตัวบ่งช้ที ่ี 3 เด็กมกี ารพฒั นาด้านสังคมสมวยั 5.00 4.50 ดีมาก ตัวบง่ ชี้ท่ี 4 เดก็ มีการพัฒนาด้านสติปญั ญาสมวัย 10.00 8.00 ดี ตวั บ่งชี้ที่ 5 เด็กมีความพร้อมศึกษาตอ่ ในขนั้ ต่อไป 10.00 9.00 ดีมาก กลุ่มตัวบง่ ชอี้ ตั ลกั ษณ์ ตวั บ่งช้ีท่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรชั ญา 2.50 2.00 ดี ปณธิ าน/วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ และวตั ถุของการจัดต้งั สถานศึกษา ตวั บง่ ช้ที ี่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจดุ เด่นที่ 2.50 2.00 ดี สง่ ผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุม่ ตวั บง่ ช้มี าตรการส่งเสริม ตัวบง่ ชท้ี ่ี 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือ 2.50 2.00 ดี เสรมิ สรา้ งบทบาทของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานท่ีว่าดว้ ยการจัดการศึกษา กลมุ่ ตัวบง่ ชพ้ี นื้ ฐาน ตัวบ่งชท้ี ่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและ 15.00 14.00 ดมี าก การพฒั นาการศึกษา กลุ่มตวั บ่งชี้มาตรการสง่ เสริม ตัวบ่งชที้ ี่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อ 2.50 2.00 ดี ยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสคู่ วาม เปน็ เลศิ ที่สอดคล้องกบั แนวทางการปฏิรปู การศึกษา มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานท่วี ่าด้วยการจัดการเรยี นการ สอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั กลุ่มตวั บง่ ชพ้ี น้ื ฐาน ตวั บ่งชที้ ่ี 6 ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจัดการและ 35.00 32.00 ดีมาก การพฒั นาการศึกษา มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานทีว่ ่าดว้ ยการประกันคุณภาพ กลมุ่ ตัวบง่ ชพ้ี ้นื ฐาน ตวั บ่งชีท้ ่ี 8 ประสทิ ธิผลของระบบการประกนั คุณภาพ 5.00 4.71 ดมี าก ภายใน ผลรวมคะแนนท้งั หมด 100.00 89.71 ดี

18 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน : ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน น้าหนกั (คะแนน) คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คณุ ภาพ 9.67 ดีมาก กลุม่ ตัวบ่งชพี้ ้ืนฐาน 9.39 ดมี าก 9.43 ดมี าก ตวั บ่งชี้ที่ 1 ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพกายและ 10.00 8.55 ดี 9.17 พอใช้ สุขภาพจติ ท่ดี ี 8.00 ดี 5.00 ดมี าก ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 10.00 4.69 ดมี าก และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ 4.00 ดี ตวั บง่ ช้ที ่ี 3 ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรยี นรู้ 10.00 5.00 ดมี าก อยา่ งต่อเน่ือง 4.00 ดี ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4 ผเู้ รียนคิดเปน็ ทาเป็น 10.00 5.00 ดมี าก 81.87 ดี ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของ 10.00 ผูเ้ รียน ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสทิ ธผิ ลของการจัดการ 10.00 เรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตัวบ่งช้ที ่ี 7 ประสิทธิภาพการบริหาร 5.00 จดั การและการพฒั นาสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 8 พฒั นาการของการประกัน 5.00 คณุ ภาพภายในสถานศึกษาและต้นสังกัด กลุ่มตัวบ่งชอ้ี ัตลักษณ์ 5.00 ตวั บ่งชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ าม ปรัชญา ปณธิ าณ พันธกจิ และ วัตถปุ ระสงค์ของการจัดตัง้ สถานศึกษา ตัวบ่งชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ 5.00 และจดุ เด่นที่ส่งผลสะทอ้ นเป็นเอกลกั ษณ์ ของสถานศกึ ษา กลุม่ ตัวบ่งชม้ี าตรการสง่ เสริม 5.00 ตวั บง่ ชท้ี ี่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการ 5.00 พเิ ศษเพ่ือส่งเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา 100.00 ตวั บง่ ชที้ ี่ 12 ผลการสง่ เสริมพฒั นา สถานศกึ ษาเพื่อยกระดบั มาตรฐานรักษา มาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศ ท่ี สอดคล้องกบั แนวทางการปฏิรูปการศึกษา คะแนนรวม

19 15.คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั และเปา้ หมายความสาเร็จ รายการ เป้าหมาย(ร้อยละ) พฒั นาการทางด้านรา่ งกาย 80.00 5.1 ร่างกายเจรญิ เตบิ โต ตามวยั และมีสขุ นสิ ัยท่ีดี 80.00 5.2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนอ้ื เลก็ แข็งแรง ใชไ้ ดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ และ ประสานสัมพนั ธก์ นั 80.00 พัฒนาการทางดา้ น อารมณ์ จิตใจ 80.00 5.3 มีสขุ ภาพจิตดีและมีความสขุ 80.00 5.4 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจทด่ี ีงาม 5.5 ชื่นชมและแสดงออก ทางศิลปะ ดนตรี การเคลอ่ื นไหว และรักการออกกาลงั 80.00 กาย 80.00 80.00 พฒั นาการทางด้านสงั คม 5.6 ช่วยเหลอื ตนเองให้เหมาะสมกับวัย 80.00 5.7 รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย 80.00 5.8 อยูร่ ่วมกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ีดขี องสังคมและ 80.00 ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นพระประมขุ 80.00 พฒั นาการทางดา้ นสตปิ ญั ญา 5.9 ใชภ้ าษาส่ือสารไดเ้ หมาะสมกับวยั 5.10 มี ความสามารถ ในการคดิ แก้ปัญหาไดเ้ หมาะสม 5.11 มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ 5.12 มี เจตคติท่ดี ตี ่อการเรียนรู้และมีทักษะในการแสวงหาความรู้ 16. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สมรรถนะสาคญั ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานและเปา้ หมาย ความสาเร็จ รายการ เปา้ หมายร้อยละ 100 1.รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 100 2.ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต 100 3.มีวนิ ัย 100 4.ใฝเ่ รียนรู้ 100 5.อยู่อย่างพอเพยี ง 100 6.ม่งุ มน่ั ในการทางาน 100 7.รกั ความเปน็ ไทย 100 8.มจี ิตสาธารณะ

20 17. งบประมาณดาเนนิ การ ปกี ารศึกษา รายรบั งบประมาณ ปกี ารศกึ ษา 2564 ปีการศึกษา 2565 คงเหลอื ยอดยกมา 1. ค่าจดั การเรียนการสอนรายหวั 2. คา่ อดุ หนุนปจั จัยพ้ืนฐานนักเรียนยากจน 2,441.30 244,400 3. ค่าหนังสือเรียนและแบบฝึกหัด 4. ค่าอปุ กรณก์ ารเรียน 00 5. คา่ เครือ่ งแบบนักเรียน 6. คา่ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 0 61,239 7. คา่ อาหารกลางวนั 8. เงินรายไดส้ ถานศึกษา 0 25,620 0 25,880 55,728.80 48,620 0 436,000 0 123,000

สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษา

21 ส่วนที่ 2 ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาตามแนวทาง เปาู หมาย อุดมการณ์ของกฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการจดั การศกึ ษา ทั้งยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ ตลอดจนพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ กาหนดให้หน่วยงาน ท่ี เกีย่ วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาและสถานศกึ ษา ดาเนนิ การจดั ทาแผนพฒั นาการจัดการศึกษาท่ียึดแนวคิดพื้นฐาน หลักการ ให้สอดคล้องกับการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ การเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ตลอดกระบวนการดาเนินการ การใช้สารสนเทศสาหรับการพัฒนาคุณภาพ การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพของ สถานศึกษา และการจัดทาระบบการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาดาเนินการพัฒนาเพ่ือมุ่งสร้าง คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาตามที่ระบุไว้ในข้อ 3 ของกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยการจดั ทาแผนพฒั นาการจัดกาศึกษาของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสาเร็จ อยา่ งชัดเจนตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเรื่อง แนวปฏบิ ัติการดาเนินงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2561 โรงเรยี นบา้ นแพะ ไดจ้ ดั ทาปฏบิ ัติการประจาปีการศึกษา พ.ศ. 2565 ใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และนโยบายสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 และมาตรฐานการศกึ ษาชาติ ระดับปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ดังน้ี 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘-) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตาม รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ \"ประเทศ ไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง \" ภายในชว่ งเวลาดังกล่าว เพอ่ื ความสขุ ของคนไทยทกุ คน ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและ ภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความม่ันคงใน ทุกมิติ ท้ังมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และการเมือง เช่น ประเทศมีความม่ันคงในเอกราช และอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์มคี วามเขม้ แข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคง เป็นกลไกที่นาไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเน่ืองและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและ ความสามัคคี สามารถผนกึ กาลังเพ่ือพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมี ความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่ม่ันคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ ความม่ันคง ของอาหาร พลงั งาน และนา้ มีที่อยูอ่ าศยั และความปลอดภยั ในชีวติ ทรัพยส์ นิ ความมั่งค่ัง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืนจนเข้าสู่ กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์จาก การพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานของ องค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง

22 ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ( ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพอื่ ให้สามรถสร้างรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่ง อนาคตเพื่อให้สอดรับกับบรบิ ทการพัฒนาท่ีเปลย่ี นแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญในเวทีโลก และมี ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟูนกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของก าร เช่ือมโยงในภูมิภาค ท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ เพ่ือให้เป็นพลังในการ พัฒนา นอกจากน้ี ยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามรถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ทุนทาง ปัญญา ทุนทางการเงนิ ทุนท่ีเป็นเคร่ืองมือเครอ่ื งจักร ทนุ ทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ความย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพ่ิมขึ้น อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษาและการฟื้นฟูฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกิน ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและ สอดคล้องกับเปูาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมี คุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมี นโยบายทีม่ ุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยงั่ ยนื และใหค้ วามสาคัญกับการมีสว่ นร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วน ในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างสมดุล มีเสถียรภาพและ ย่ังยืนโดยมีเปูาหมายการพัฒนาประเทศ คือ \"ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน\" โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ ประโยชนส์ ว่ นรวม โดยการประเมินผลการพฒั นาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ ประกอบดว้ ย ๑) ความอย่ดู ีมีสขุ ของคนไทยและสงั คมไทย ๒) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ ๓) การพฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ ๔) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสังคม ๕) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม และความยั่งยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ ๖) ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการและการเข้าถงึ การให้บริการของภาครฐั 1.1 ประเดน็ ยุทธศาสตรช์ าติ เพื่อใหป้ ระเทศไทยสามารถยกระดบั การพัฒนาให้บรรลตุ ามวิสัยทัศน์ \" ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มั่งค่ัง ยัง่ ยนื เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง\" และเปูาหมาย การพฒั นาประเทศขา้ งต้น จงึ จาเป็นต้องกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาวที่จะทาให้ประเทศไทย มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงจากปัจจัยภายในและภายนอกประเทศใน ทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศได้รับการ พัฒนายกระดับไปสู่การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิ่ม และพัฒนากลไกที่สาคัญในการ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจใหม่ท่ีจะสร้างและเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐานรายได้ของ ประชาชนในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปสู่ภาคส่วนต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม คนไทยได้รับการพัฒนา ให้เป็นคนดี เกง่ มีวนิ ยั คานึงถงึ ผลประโยชน์สว่ นรวม และมีศักยภาพในการคดิ วิเคราะห์ สามารถ \"รู้ รับปรับใช้\" เทคโนโลยใี หมไ่ ด้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง สามารถเข้าถึงบรกิ ารพื้นฐาน ระบบสวสั ดกิ าร และกระบวนการยุติธรรมได้อย่าง เทา่ เทยี มกัน โดยไม่มใี ครถกู ทงิ้ ไว้ข้างหลงั การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตรช์ าติ จะมุ่งเน้นการ สร้างสมดลุ ระหวา่ งการพัฒนาความมนั่ คง เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

23 ในรปู แบบ \"ประชารัฐ\" โดยประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการ เติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครฐั โดยแต่ละยุทธศาสตร์มเี ปูาหมายและประเด็นการพฒั นา ดังน้ี 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มเี ปา้ หมายการพัฒนาทีส่ าคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคงประชาชน มีความสขุ เน้นการบริหารจดั กรสภาวะแวดลอ้ มของประเทศให้มคี วามมน่ั คง ปลอดภัย เอกราช อธปิ ไตย และ มีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตงั้ แตร่ ะดับชาติ สงั คม ชมุ ชน มงุ่ เน้นการพัฒนาคน เครอื่ งมือเทคโนโลยี และ ระบบฐานข้อมลู ขนาดใหญ่ให้มคี วามพร้อมสามารถรับมือกับภยั คุกคามและภยั พิบัตไิ ด้ทุกรปู แบบ และทุกระดบั ความรุนแรง ควบคู่ไปกับการปอู งกันและแก้ไขปญั หาดา้ นความมน่ั คงที่มอี ยู่ในปัจจบุ นั และท่อี าจจะเกิดข้นึ ใน อนาคต ใชก้ ลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทง้ั กับสว่ นราชการ ภาคเอกชนประชาสังคม และองค์กรที่ไมใ่ ช่ รฐั รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมติ รประเทศท่วั โลกบนพื้นฐานของหลกั ธรรมาภบิ าล เพอ่ื เอื้ออานวยประโยชน์ ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านอ่นื ๆ ให้สามารถขบั เคล่ือนไปไดต้ ามทิศทางและเปูาหมายที่กาหนด 2) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน มเี ปาู หมายการพัฒนาทีม่ ุ่งเน้น การยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพน้ื ฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) \"ต่อยอดอดตี \" โดยมองกลบั ไปทรี่ ากเหงา้ ทางเศรษฐกจิ อัตลกั ษณ์ วฒั นธรรม ประเพณี วถิ ชี ีวิต และจดุ เด่นทางทรพั ยากร ธรรมชาติทห่ี ลากหลาย รวมทั้งความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรยี บเทียบของประเทศในด้านอนื่ ๆ นามาประยุกต์ ผสมผสานกับเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพ่อื ให้สอดรับกบั บริบทของเศรษฐกจิ และสังคมโลกสมยั ใหม่ (2) \"ปรับปัจจุบัน\" เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่าย ระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจทิ ลั และ การปรับสภาพแวดล้อมให้ เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) \"สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต\" ด้วยการเพิ่มศักยภาพ ของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกบั ยทุ ธศาสตร์ทีร่ องรับอนาคต บนพ้ืนฐานของการตอ่ ยอดอดตี และปรับปัจจบุ นั พร้อมท้ังการส่งเสริม และสนับสนุนจากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้า และการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับร้ายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มข้ึนของคนช้ันกลาง และลดความเหลอื่ มล้าของคนในประเทศไดใ้ นคราวเดียวกนั 3) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ มเี ปูาหมายการพัฒนาที่ สาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคมและ ผู้อ่ืน มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินยั รักษาศลี ธรรม และเปน็ พลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้องมีทักษะ ท่ีจาเปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สามและอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการ เรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นัก คิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอนื่ ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนดั ของตนเอง 4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มเี ปูาหมายการพฒั นาที่สาคัญ ทีใ่ หค้ วามสาคัญกบั การดึงเอาพลงั ของภาคสว่ นตา่ ง ทัง้ ภาคเอกชน ประชาสงั คม ชมุ ชนทอ้ งถ่ินมารว่ ม ขบั เคล่อื น โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการรว่ มคิดร่วมทาเพือ่ ส่วนรวม การกระจายอานาจ และความรบั ผิดชอบไปสู่กลไกบรหิ ารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็ง

24 ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และ สงั คมใหน้ านท่สี ุด โดยรัฐให้หลกั ประกันการเขา้ ถงึ บริการและสวสั ดกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพอยา่ งเป็นธรรมและทั่วถึง 5) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม มเี ปูาหมาย การพัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือนาไปสู่การบรรลุเปูาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนในทุกมิติ ท้ังด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง บูรณาการ ใช้พ้ืนที่เป็นตัวต้ังในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝุายท่ีเกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วน รว่ มในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ โดยเป็นการดาเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะ เปน็ ทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง ๓ ด้าน อันจะนาไปสู่ ความย่ังยืนเพ่อื คนรุ่นตอ่ ไปอย่างแท้จรงิ 6) ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ มเี ปาู หมาย การพัฒนาทส่ี าคญั เพอ่ื ปรบั เปล่ียนภาครฐั ท่ียึดหลกั \"ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน สว่ นรวม\" โดยภาครฐั ตอ้ งมขี นาดท่เี หมาะสมกบั บทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหนว่ ยงานของรัฐที่ทาหนา้ ท่ี ในการกากบั หรอื ในการใหบ้ ริการในระบบเศรษฐกิจทม่ี ีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภบิ าล ปรบั วัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนส์ ว่ นรวม มีความทนั สมยั และพร้อมทจี่ ะปรบั ตวั ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาด ใหญ่ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความ ต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม ความซอื่ สตั ย์สุจรติ ความมัธยสั ถ์ และสร้างจติ สานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤตชิ อบ อย่างสิน้ เชิง นอกจากน้นั กฎหมายต้องมีความชัดเจน มเี พียงเทา่ ทีจ่ าเป็น มีความทันสมัย มีความเปน็ สากล มปี ระสทิ ธิภาพ และนาไปสกู่ ารลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เปน็ ธรรม ไม่เลือกปฏบิ ตั ิ และการอานวยความยตุ ธิ รรมตามหลักนติ ธิ รรม 1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 1.2.1 แผนแม่บทท่ี 12 ประเดน็ \"การพัฒนาการเรยี นรู้\" (เจา้ ภาพหลัก) 1) เปาู หมายระดับประเดน็ \"การพัฒนาการเรยี นรู้\" - เปูาหมายที่ 1 คนไทยมีการศึกษาทมี่ ี คุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขน้ึ มีทักษะที่จาเป็นของโลก ศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ญั หา ปรบั ตวั สือ่ สาร และทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้อย่างมีประสิทธผิ ลเพมิ่ ขึน้ มี นสิ ยั ใฝุเรยี นรอู้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิต - การบรรลุเปูาหมาย ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพ ทกั ษะ และสมรรถนะการเรียนรูท้ ่จี าเป็นในศตวรรษท่ี 21 2) แผนยอ่ ยที่ 3.1 \"การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรทู้ ี่ตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษ ที่ 21\" - แนวทางการพัฒนา (1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สาหรับศตวรรษท่ี 21 (1.1) พฒั นากระบวนการเรยี นร้ทู ุกระดับชนั้ ทใี่ ชฐ้ านความรแู้ ละระบบคิดในลกั ษณะ สหวทิ ยาการ (1.2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียนทุกระดับการศึกษา รวมถึงจัดกจิ กรรมเสรมิ ทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษท่ี 21

25 (1.3) พัฒนาระบบการเรยี นรู้เชิงบูรณาการที่เนน้ การลงมือปฏบิ ัติ รวมถึงมที ักษะดา้ นวชิ าชีพ และทักษะชวี ิต (1.4) พัฒนาระบบการเรยี นร้ทู ่ใี ห้ผเู้ รยี นสามารถกากับการเรยี นรู้ของตนได้ (2) เปล่ียนโฉมบทบาท \"ครู\" ให้เป็นครูยคุ ใหม่ (2.1) วางแผนพัฒนาและปรบั บทบาท \"ครยู คุ ใหม่\" ให้เป็น \"ผอู้ านวยการ การเรยี นร\"ู้ (2.2) ปรับระบบการพัฒนาครู ต้ังแตก่ ารดึงดดู คดั สรร ผูม้ คี วามสามารถสูงเข้ามาเปน็ ครู (2.3) ส่งเสริมระบบการพฒั นาศกั ยภาพและสมรรถนะครอู ย่างตอ่ เน่ือง ครอบคลมุ ทั้งเงินเดอื น สายอาชพี และระบบสนับสนุนอน่ื ๆ (3) เพ่ิมประสิทธภิ าพระบบบริหารจัดการ ศึกษาในทุกระดับ ทกุ ประเภท (3.1) ปฏิรูปโครงสรา้ งองค์กรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ (3.2) จดั ให้มมี าตรฐานขนั้ ตา่ ของโรงเรียนในทุกระดับ (3.3) ปรบั ปรงุ โครงสร้าง การจดั การศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพและเพ่มิ คุณภาพการศึกษา (3.4) เพ่มิ การมสี ว่ นรว่ มจากภาคเอกชนในการจดั การศกึ ษา (4) พัฒนาระบบการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต (4.1) จัดใหม้ รี ะบบการศกึ ษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคณุ ภาพสงู และยืดหยุ่น (4.2) พฒั นาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจทิ ลั และดจิ ิทลั แพลตฟอรม์ ส่ือดิจทิ ัลเพอ่ื การศึกษาใน ทุกระดับ ทุกประเภทการศกึ ษาอย่างทว่ั ถงึ และมปี ระสิทธิภาพ (4.3) พฒั นาโปรแกรมประยกุ ต์หรือสอ่ื การเรียนรูด้ จิ ทิ ัลทมี่ ีคุณภาพท่ีนักเรยี น นกั ศึกษา และ ประชาชนสามารถเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์ในการเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเอง - เปาู หมาย คนไทยไดร้ ับการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพตามมาตรฐาน มที ักษะ การเรียนรู้ และทักษะท่ีจาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ ดีข้นึ - การบรรลุเปูาหมาย 1) พฒั นาการจดั การศึกษาโดยบูรณาการองค์ความรแู้ บบ สะเต็มศึกษา 2) สร้างเสริมและพฒั นาทกั ษะการเรยี นรทู้ ่ีสมวัย ทักษะอาชีพ และทักษะชวี ติ ที่ เท่าทันและ สามารถอย่รู ว่ มในสังคมศตวรรษที่ 21 3) สรา้ งแพลตฟอรม์ ดิจทิ ลั รองรับการเรียนรูร้ ปู แบบใหม่ 4) พฒั นาสมรรถนะที่จาเปน็ ของผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาในศตวรรษที่ 2 1.2.2 แผนแมบ่ ทที่ 11 ประเดน็ \"ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต\"(เจ้าภาพร่วม) (1.) เปาู หมายระดบั ประเดน็ \"ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ \"- เปูาหมาย คนไทยทุกชว่ งวยั มีคุณภาพ เพิ่มขนึ้ ไดร้ บั การพัฒนาอย่างสมดลุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกายสตปิ ัญญาและคุณธรรม จริยธรรม เป็นผ้ทู ม่ี ีความรู้ และ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 รักการเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวติ - การบรรลุเปาู หมาย คนทุกชว่ งวัยได้รบั การพฒั นาอยา่ งสมดุล โดยสรา้ งเสรมิ และพฒั นาทกั ษะการ เรยี นรทู้ ี่สมวัย ทักษะอาชีพและทักษะชีวติ ทเ่ี ท่าทนั และสามารถอยู่ร่วม ในสงั คมศตวรรษที่ 21 (2.) แผนยอ่ ยที่ 3.2 \"การพัฒนาเดก็ ต้งั แตช่ ่วงการตง้ั ครรภ์จนถึงปฐมวัย\" - แนวทางพัฒนา จัดใหม้ ีการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยให้มีพฒั นาการ สมรรถนะและคุณลกั ษณะทีด่ ีทส่ี มวยั ทกุ ดา้ น

26 - เปูาหมาย เด็กเกิดอยา่ งมคี ุณภาพ มีพฒั นาการสมวัย สามารถเข้าถึงบรกิ ารทม่ี ีคุณภาพมากขึ้น - การบรรลเุ ปูาหมาย ปรบั ปรุงสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับ ปฐมวัย พ.ศ.2561 ในมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก ประกอบด้วย 1) พฒั นาการด้านรา่ งกาย 2) พัฒนาการด้าน อารมณ์ 3) พัฒนาการด้านสงั คม 4) พัฒนาการดา้ นสติปัญญา (3.) แผนยอ่ ยท่ี 3.3 \"การพัฒนาชว่ งวยั เรยี น/วัยรุ่น\" - แนวทางพัฒนา 1) พฒั นาทักษะท่สี อดรับกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะ ด้านการคิด วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ความสามารถในการแกป้ ัญหาที่ซบั ซ้อน ความคิดสร้างสรรค์ การทางาน ร่วมกับผู้อนื่ - เปูาหมาย วัยเรยี น/วยั ร่นุ มคี วามรู้ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถว้ น รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสานึกพลเมือง มีความกลา้ หาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการ แก้ปัญหาปรบั ตวั ส่ือสาร และทางานร่วมกับผอู้ ื่นได้ อย่างมปี ระสทิ ธผิ ลตลอดชวี ิตดีขึ้น - การบรรลุเปาู หมาย พฒั นาทักษะการเรียนรู้และทักษะอาชีพแก่ผ้เู รยี นใหส้ อดรบั กับ ทักษะในศตวรรษที่ 21 (4.) แผนยอ่ ยท่ี 3.4 \"การพฒั นาและยกระดบั ศักยภาพวัยแรงงาน\" - แนวทางพัฒนา 1) ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในชว่ งวยั ทางานให้มี คณุ ภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการของตลาดแรงงานรวมทง้ั เทคโนโลยสี มยั ใหม่ - เปูาหมาย 1) แรงงานมศี กั ยภาพในการเพิม่ ผลผลิต มที ักษะ อาชพี สูง ตระหนักในความสาคญั ท่จี ะ พัฒนาตนเองใหเ้ ต็มศกั ยภาพ สามารถปรับตวั และเรียนรู้สงิ่ ใหมต่ ามพลวัตของโครงสรา้ งอาชพี และ ความตอ้ งการของตลาดแรงงานเพมิ่ ขึ้น - การบรรลุเปูาหมาย ยกระดับศกั ยภาพ ทักษะ และสมรรถนะของคนในช่วงวยั ทางานใหม้ คี ุณภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบคุ คล (5.) แผนยอ่ ยที่ 3.5 \"การสง่ เสรมิ ศักยภาพผู้สงู อายุ\" - แนวทางพฒั นา 1) สง่ เสริมการมงี านทาของผู้สูงอายุให้พ่งึ พาตนเองได้ทางเศรษฐกจิ และร่วมเป็นพลงั สาคัญตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจ ชมุ ชนและประเทศ - เปาู หมาย ผ้สู งู อายมุ คี ุณภาพชวี ติ ทดี่ ี มีความมั่นคงในชีวิต มที กั ษะการดารงชีวิตเรยี นรูพ้ ฒั นา ตลอด ชีวติ มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมสังคม สรา้ ง มูลคา่ เพิ่มให้แก่สงั คมเพิ่มข้ึน - การบรรลเุ ปูหมาย ส่งเสรมิ กามงี านทาของผสู้ งู อายใุ ห้พ่ีงพาตนองไดท้ างเศรษฐกจิ 1.2.3. แผนแมบ่ ทท่ี 10 ประเดน็ \"การปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม\" (1) เปาู หมายระดบั ประเด็น \"การปรับเปลย่ี นคา่ นิยมและวัฒนธรรม\" - เปูาหมาย คนไทยมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มท่ดี งี าม และมคี วามรัก และ ภมู ิใจ ในความเปน็ ไทยมากขึ้น นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การดารงชีวติ สงั คมไทยมีความสขุ และเปน็ ทย่ี อมรับของนานาประเทศมากขึน้ - การบรรลเุ ปาู หมาย การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรมในการจัดการ เรียนการสอนในสถานศกึ ษาเอกชน และการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (2) แผนย่อยที่ 3.1 \"การปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้างจิตสาธารณะ และการ เป็นพลเมืองท่ีด\"ี - แนวทางพัฒนา 2 บูรณาการเรอ่ื งความซ่ือสัตย์ วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และ ดา้ น ส่งิ แวดล้อม ในการจัดการเรยี นการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดใหม้ ีการเรียนการสอนตาม

27 พระราชดารแิ ละปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษา ส่งเสริมกิจกรรมสรา้ งความตระหนกั รู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ให้รองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งในระเทศและ ต่างประเทศ 4) ปลกู ฝังค่านยิ มและวฒั นธรรมโดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน สง่ เสริมชมุ ชนให้เปน็ ฐานการสรา้ ง วถิ ีชวี ติ พอเพยี ง - เปาู หมาย คนไทยเปน็ มนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์ มคี วามพร้อมในทุกมติ ิตามมาตรฐานและสมดลุ ทั้ง ด้านสตปิ ญั ญา คุณธรรมจรยิ ธรรม มจี ติ วญิ ญาณท่ีดี เขา้ ใจในการปฏิบัติตนปรบั ตวั เขา้ กับ สภาพแวดล้อมดีขน้ึ - การบรรลเุ ปาู หมาย บรู ณาการจดั กระบวนการเรียนรทู้ เี่ สริมสรา้ งหลักคดิ และทัศนคติท่ี ถูกต้องด้านระเบยี บ วนิ ยั คณุ ธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ ความเปน็ พลเมือง ส่งเสรมิ กิจกรรมสรา้ ง ความรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนกั ในการจัดการคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยกระบวนการมีส่วนรว่ ม 1.2.4. แผนแม่บทที่ 1 ประเดน็ \"ความมนั่ คง\" (1) เปาู หมายระดบั ประเดน็ \"ความมั่นคง\" - เปาู หมายท่ี 2 ประชาชนอยู่ดี กนิ ดีและมคี วามสขุ ดีข้นึ - การบรรลเุ ปูาหมาย พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรยี นรทู้ ่ี จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งเหมาะสมกบั การเสริมสรา้ งความมั่นคงในแตล่ ะบริบท (2) แผนย่อย 3.1 รกั ษาความสงบภายในประเทศ - แนวทางพัฒนา 2 เสริมสร้างความมนั่ คงของสถาบนั หลักของชาติ ภายใต้การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข โดยปลูกฝงั และสรา้ งความ ตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรกั และภาคภมู ิใจในความ เปน็ คนไทยและชาติไทย ผา่ นทางกลไกตา่ ง ๆ รวมถงึ การศึกษาประวตั ศิ าสตรใ์ นเชงิ สร้างสรรค์ น้อมนา และเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดารติ า่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้และนาไปประยุกต์ปฏิบตั ใิ ช้อย่างกวา้ งขวาง จัดกจิ กรรมเฉลิมพระเกยี รติ และพระราชกรณียกิจอย่างสมา่ เสมอ - เปาู หมายท่ี 2) คนไทยมีความจงรักภกั ดี ซื่อสตั ย์ พร้อมธารงรกั ษาไว้ซงึ่ สถาบนั หลกั ของชาติ สถาบนั ศาสนาเป็นทีเ่ คารพ ยดึ เหน่ยี วจติ ใจของคนไทยสงู ข้ึน - การบรรลุเปูาหมาย 1 ปลกู ฝังค่านิยมและหลักคิดท่ี ถกู ต้อง เพื่อเสริมสร้างเสถยี รภาพ สถาบันหลกั ของชาติ ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับและ สร้างโอกาสการเข้าถงึ การศึกษาทม่ี ีคุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้ /วิขาชีพ ในเขตพฒั นา พเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพืน้ ทพ่ี เิ ศษ (พ้ืนทีส่ งู พ้นื ท่ีตามตะเข็บชายแดน และ พ้ืนท่เี กาะแก่ง ชายฝง่ั ทะเล ทั้งกล่มุ ชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กล่มุ ชนชายขอบ และ แรงงานต่างด้าว) (3) แผนยอ่ ย 3.2 การปอู งกันและแก้ไขปัญหาที่มผี ลกระทบต่อความมนั่ คง(ยาเสพติด, ไซเบอร์, ความไม่สงบ จชต.) - แนวทางพฒั นา 1) ปูองกันและปราบปรามยาเสพตดิ 2) ปูองกนั และแก้ไขปัญหา ความมัน่ คงทางไซเบอร์ 9 ปูองกนั และแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ - เปาู หมายที่ 1) ปัญหาความมัน่ คงที่มีอยูใ่ นปจั จุบัน เช่น ปญั หายาเสพตดิ ความ มน่ั คงทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์ ฯลฯ ได้รับการแก้ไขดีขนึ้ จนไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหาร และพฒั นาประเทศ

28 - การบรรลเุ ปาู หมาย พฒั นากลไกบรู ณาการระบบบริหารจัดการการปูองกันและแกไ้ ขปัญหา ยาเสพตดิ หรอื ภยั คุกคามรปู แบบใหม่ 1.2.5. แผนแมบ่ ทที่ 6 ประเดน็ \"พืน้ ทแ่ี ละเมอื งน่าอยู่อจั ฉรยิ ะ\" (1) เปูาหมายระดับประเดน็ \"พื้นทแี่ ละเมืองน่าอยู่อจั ฉรยิ ะ\" - เปาู หมายท่ี 1) ประเทศไทยมขี ีดความสามารถในการแข่งขนั สูงข้นึ เกิดศูนยก์ ลาง ความเจรญิ ทางเศรษฐกิจและสงั คมในทุกภมู ภิ าคของประเทศ เพื่อกระจายความเจรญิ ทางด้าน เศรษฐกจิ และสังคม - การบรรลเุ ปาู หมาย ผู้เรยี น ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะ ที่ ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการแข่งขนั ของประเทศ (2) แผนยอ่ ย 3.1 การพฒั นาเมอื งน่าอยู่อจั ฉริยะ - แนวทางพฒั นา 2 พฒั นาเมืองขนาดกลาง 2.1) พฒั นาเมืองขนาดกลางทางเศรษฐกิจใหเ้ ปน็ เมอื งอจั ฉรยิ ะท่มี ีความนา่ อยู่ 2.1 (4) พฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานทางสงั คมให้สามารถยกระดบั คุณภาพ ชีวิตและส่งเสรมิ ศกั ยภาพของประชาชนอย่างเต็มรูปแบบ - เปาู หมาย เมืองในพ้นื ที่เปาู หมายทไ่ี ดร้ บั การพัฒนา เพื่อกระจายความเจรญิ และลดความ เหล่ือมล้าในทุกมิติ - การบรรลุเปูาหมาย พฒั นาทกั ษะแรงงานฝีมอื ตรงกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานในพืน้ ที่ และภูมิภาค (อาทิ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม ทอ่ งเท่ียว พื้นทเ่ี มืองน่าอยู่อัจฉริยะ) 1.2.6. แผนแม่บทที่ 17 ประเด็น \"ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม\" (1) เปูาหมายระดบั ประเดน็ \"ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสงั คม\" -เปาู หมาย คนไทยทกุ คนไดร้ ับการคมุ้ ครองและมหี ลักประกันทางสงั คมเพิ่มข้นึ - การบรรลุเปาู หมาย ผ้เู รียนได้รบั โอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพ อยา่ งท่วั ถงึ และเสมอภาคด้วยรูปแบบหลากหลาย (2) แผนย่อย 3.1 การคมุ้ ครองทางสังคมขนั้ พน้ื ฐานและหลักประกนั ทางเศรษฐกิจสังคม และ สุขภาพ - แนวทางพัฒนา 1) ขยายฐานความคมุ้ ครองทางสงั คม โดยการจดั โครงข่ายการ คมุ้ ครองทางสังคม สาหรบั ผดู้ ้อยโอกาสและคนยากจนใหส้ ามารถเข้าถึงบรกิ ารพน้ื ฐานของ ภาครฐั ไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ 2) สรา้ งหลกั ประกันสวสั ดิการสาหรับแรงงาน โดยสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการ พัฒนาทักษะแรงงานให้สามารถประกอบอาชีพและมรี ายได้ตามศักยภาพ รวมถงึ สง่ เสริมใหม้ ีการจ้าง งานผูส้ ูงอายุเพื่อให้ผู้สงู อายุสามารถพง่ึ ตนเองดา้ นรายได้ รวมท้ังเปน็ ทางเลือกที่สาคัญชว่ ยบรรเทา ปัญหาจากการลดลงของประชากรวยั แรงงาน - เปูาหมาย คนไทยทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบางได้รับการคุ้มครอง และมีหลักประกนั ทางสังคมเพ่มิ ขน้ึ - การบรรลุเปูาหมาย 1) เพม่ิ และกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเข้าถงึ โอกาสทางการเรยี นท่ีมคี ุณภาพได้อยา่ งหลากหลาย ครอบคลุมทกุ พน้ื ที่และกลุ่มเปูาหมาย 2) ส่งเสริมพัฒนาโปรแกรมประยกุ ต์และสือ่ การเรียนรู้ ผา่ นระบบดจิ ทิ ลั ออนไลนแ์ บบเปิดทเี่ หมาะสมต่อการเข้าถึงและพัฒนาการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ 1.2.7. แผนแมบ่ ทที่ 18 ประเดน็ \"การเติบโตอยา่ งยัง่ ยืน\" (1) เปาู หมายระดับประเดน็ \"การเติบโตอย่างยั่งยนื \" - เปูาหมาย สภาพแวดลอ้ มของประเทศไทยมีคณุ ภาพดีขนึ้ อย่างยัง่ ยนื

29 - การบรรลุเปาู หมาย หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษามีกจิ กรรมส่งเสริมคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์และ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมใหเ้ ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม (2) แผนยอ่ ย 3.5 การยกระดับกระบวนทัศนเ์ พ่ือกาหนดอนาคตประเทศ - แนวทางพฒั นา 1) สง่ เสรมิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคด์ ้านสง่ิ แวดล้อมและ คุณภาพชวี ิตที่ดีของคนไทย สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ การตระหนกั รู้ และการมสี ่วนรว่ มด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้รองรับการเปลีย่ นแปลงทัง้ ในระดับประเทศและระดบั สากล โดย สอดแทรกในหลกั สตู รการศกึ ษาและ/หรือการจดั การเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตทง้ั ในระบบและนอกระบบ - เปาู หมาย คนไทยมีคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมท่พี ึงประสงคด์ ้านสิ่งแวดล้อมและคณุ ภาพชีวิต ที่ดี - การบรรลเุ ปาู หมาย สง่ เสรมิ กิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในการจัดการ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม 1.2.8. แผนแมบ่ ทที่ 20 ประเด็น \"การบรกิ ารประชาชนและประสิทธภิ าพภาครฐั \" (1) เปาู หมายระดบั ประเดน็ \"การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั \" - เปาู หมายท่ี 1) บริการของรัฐมีประสิทธภิ าพและมคี ุณภาพเปน็ ทีย่ อมรับของผู้ใช้บรกิ าร - การบรรลุเปูาหมาย หนว่ ยงานมรี ะบบการบริหารจดั การท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพตอบสนองความ ต้องการของผูร้ บั บรกิ ารได้อย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส ตามหลักธรรมาภบิ าล (2) แผนย่อย 3.1 การพฒั นาบรกิ ารประชาชน - แนวทางพัฒนา 1) พฒั นารูปแบบบรกิ ารภาครัฐเพอื่ อานวยความสะดวกในการใหบ้ รกิ าร ประชาชน 2) พัฒนาการใหบ้ รกิ ารภาครัฐผ่านการนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาประยกุ ต์ใช้ 3) ปรบั วิธีการ ทางาน เพื่อสนบั สนนุ การพัฒนาบริการภาครฐั ทมี่ ีคุณค่าและได้มาตรฐานสากล - เปูาหมาย งานบริการภาครัฐทปี่ รบั เปลยี่ นเปน็ ดจิ ทิ ัลเพ่มิ ขึน้ - การบรรลปุ าู หมาย ส่งเสรมิ และพฒั นาการนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาประยุกตใ์ ช้ ในการบริหารราชการ/บริการประชาชน (3) แผนย่อย 3.2 การบริหารจดั การการเงนิ การคลงั - แนวทางพัฒนา 1) จดั ทางบประมาณตอบสนองต่อเปูาหมายตามยุทธศาสตรช์ าติ 2) กาหนดให้มีการตดิ ตามประเมินผลสัมฤทธ์กิ ารดาเนนิ การตามยุทธศาสตรช์ าติและผลสมั ฤทธข์ิ อง แผนงาน/โครงการ - เปาู หมาย หนว่ ยงานภาครฐั บรรลุผลสัมฤทธ์ติ ามเปาู หมายยุทธศาสตรช์ าติ - การบรรลเุ ปูาหมาย สรา้ งและพฒั นากลไกการบริหารจดั การศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพใน การบูรณาการเช่อื มโยงทุกระดับ และการมีสว่ นรว่ มกับทุกภาคส่วนในพืน้ ท่นี วัตกรรมการศึกษา (4) แผนย่อย 3.4 การพัฒนาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ - แนวทางพัฒนา 1) พฒั นาหนว่ ยงานภาครฐั ให้เปน็ \"ภาครัฐทนั สมยั เปิดกว้างเปน็ องค์กรขดี สมรรถนะสูง\" 2) กาหนดนโยบายและการบรหิ ารจดั การที่ต้งั อยู่บนข้อมูล และหลักฐานเชงิ ประจักษ์ 3) ปรบั เปลี่ยนรูปแบบการจดั โครงสรา้ งองค์การและออกแบบระบบการบรหิ ารงานใหม่ ใหม้ ีความ ยดื หยนุ่ คล่องตวั กระชบั ทนั สมยั - เปาู หมาย ภาครฐั มีขีดสมรรถนะสูงเทยี บเทา่ มาตรฐานสากลและมีความคล่องตัว - การบรรลุเปาู หมาย 1) พฒั นาระบบฐานข้อมลู ของจงั หวัด ภาค และฐานข้อมลู กลางด้าน การศึกษา ให้เป็นเอกภาพ เชื่อมโยงกัน เปน็ ปจั จบุ นั และทันต่อการใช้งาน 2) ปรบั ปรุง โครงสรา้ งและ

30 อานาจหนา้ ท่ีของหนว่ ยงานให้มีความยดื หยุ่น คล่องตัว ไม่ซา้ ซอ้ น และทนั สมยั เออ้ื ต่อการพฒั นา ประสทิ ธิภาพและขดี สมรรถนะองค์กร (5) แผนยอ่ ย 3.5 การสรา้ งและพัฒนาบุคลากรภาครฐั - แนวทางพัฒนา 1) ปรับปรงุ กลไกในการกาหนดเปาู หมายและนโยบายกาลังคนในภาครัฐให้มี มาตรฐานและเกิดผลในทางปฏบิ ัติไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 2 เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ในการบริหารงาน บคุ คลในภาครัฐให้เปน็ ไปตามระบบคณุ ธรรมอยา่ งแท้จริง 3 พฒั นาบคุ ลากรภาครัฐ ทุกประเภทให้มี ความรคู้ วามสามารถสูง มที ักษะการคดิ วเิ คราะหแ์ ละการปรับตวั ใหท้ ันตอ่ การเปลย่ี นแปลง - เปูาหมาย บุคลากรภาครฐั ยึดคา่ นยิ มในการทางานเพ่ือประชาชนยดึ หลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มจี ติ สานกึ มคี วามสามารถสูง มุง่ ม่ัน และเป็นมอื อาชีพ - การบรรลเุ ปาู หมาย พฒั นาระบบงานการบริหารงานบคุ คลของข้าราชการ ครแู ละบุคลากร ทางการศึกษา เพื่อยกระดับสมรรถนะการปฏบิ ตั ิงาน 1.2.9. แผนแมบ่ ทท่ี 21 ประเดน็ \"การต่อต้านการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ\" (1) เปาู หมายระดบั ประเด็น การตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ\" - เปาู หมาย ประเทศไทยปลอดการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ - การบรรลเุ ปาู หมาย หนว่ ยงานมีระบบการบรหิ ารจดั การที่มปี ระสิทธิภาพตอบสนองความ ต้องการของผรู้ ับบริการไดอ้ ย่างสะดวก รวดเร็วโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล (2) แผนย่อย 3.1 การปูองกันการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ - แนวทางพฒั นา 1) ปลูกและปลกุ จิตสานกึ การเปน็ พลเมืองที่ดี มีวฒั นธรรม สุจริต และการปลกู ฝงั และหลอ่ หลอมวฒั นธรรมในกล่มุ เด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทกุ ระดบั 2) ส่งเสรมิ การปฏิบตั ิหน้าที่ของขา้ ราชการและเจา้ หน้าท่ขี องรฐั ให้มีความใสสะอาด ปราศจาก พฤติกรรมทสี่ ่อไปในทางทจุ ริต 5) ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรทเ่ี อ้ือต่อการลดการใช้ดลุ พนิ จิ ใน การปฏบิ ัติงานของเจา้ หนา้ ที่ - เปาู หมายที่ 1) ประชาชนมวี ัฒนธรรมและพฤตกิ รรมซื่อสตั ย์สุจริต - การบรรลเุ ปูาหมาย พัฒนาเครอื ข่ายต่อต้านการทจุ ริตประพฤติมชิ อบให้มสี ว่ นร่วม จดั กจิ กรรมรณรงค์ เฝูาระวงั และตดิ ตามพฤตกิ รรมเสี่ยงการทจุ รติ 1.2.10. แผนแม่บทที่ 22 ประเด็น \"กฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม\" (1) เปูาหมายระดบั ประเด็น \"กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม\" - เปูาหมายที่ 1) กฎหมายเป็นเคร่ืองมอื ให้ทกุ ภาคส่วนไดป้ ระโยชน์จากการพัฒนาประเทศ อยา่ งเท่าเทยี มและเปน็ ธรรม - การบรรลุเปูาหมาย หนว่ ยงานมีระบบการบรหิ ารจดั การทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผรู้ บั บริการได้อย่างสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส ตามหลกั ธรรมาภิบาล (2) แผนยอ่ ย 3.1 การพัฒนากฎหมาย - แนวทางพฒั นา 1) พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการตา่ ง ๆใหส้ อดคล้อง กบั บริบทและเอ้ือต่อการพฒั นาประเทศ 2) มวี ธิ กี ารบญั ญตั กิ ฎหมายอยา่ งมีสว่ นรว่ ม 3) พัฒนาการ บังคับใช้กฎหมาย 4) สง่ เสริมเทคโนโลยีดจิ ิทัล และนวตั กรรมในกระบวนการกฎหมาย - เปูาหมาย กฎหมายไม่เป็นอุปสรรคตอ่ การพฒั นาภาครัฐ และภาคเอกชนอยู่ภายใตก้ รอบ กฎหมายทม่ี ุ่งให้ประชาชนในวงกว้างได้รบั ประโยชนจ์ ากการพัฒนาประเทศโดยทั่วถึง - การบรรลุเปูาหมาย เร่งรดั ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอ้ บังคับ

31 ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทที่เปลยี่ นแปลง 1.2.11. แผนแม่บทท่ี 23 ประเดน็ \"การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม\" (1) เปูาหมายระดับประเดน็ \"การวิจยั และพัฒนานวตั กรรม\" - เปาู หมายท่ี 1) ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งฐานทางเทคโนโลยแี ละดา้ น โครงสรา้ งพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ของประเทศเพ่ิมสงู ขนึ้ - การบรรลุเปาู หมาย 1) ผู้เรียน ขา้ ราชการ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษามีสมรรถนะที่ ตอบสนอง ความต้องการของตลาดแรงงานและการแข่งขนั ของประเทศ (2) แผนย่อย 3.4 การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมด้านองค์ความรพู้ ื้นฐาน - แนวทางพัฒนา 2) พัฒนา องคค์ วามรู้พืน้ ฐานทางสังคมและความเปน็ มนุษย์ - เปาู หมาย ประเทศไทยมีขดี ความสามารถของเทคโนโลยีฐานทั้ง 4 ด้านทัดเทียมประเทศที่ กา้ วหน้าในเอเชยี - การบรรลเุ ปาู หมาย ส่งเสริมการวจิ ยั และนวตั กรรมการบริหารและจัด การศึกษา และพัฒนาบุคลากรวิจัยทางการศึกษา 1.3. แผนการปฏิรปู ประเทศ 1.3.1 แผนปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา เร่อื งท่ี 1 การปฏริ ปู ระบบการศึกษาและการเรยี นรโู้ ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษา แห่งชาตฉิ บบั ใหม่และกฎหมายลาดบั รอง (สอดคลอ้ ง 3 ประเด็น) ประเดน็ ที่ 1.1) การมีพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. และมีการทบทวนจัดทา แกไ้ ข และ ปรับปรงุ กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง (สอดคล้อง 1 กิจกรรม)กิจกรรม จดั ทาแก้ไขและปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้อง กับ พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.... เปูาหมายกจิ กรรม ไมน่ ้อยกว่า 2 ฉบับ ประเดน็ ท่ี 1.2) การสร้างความร่วมมือระหวา่ งรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ และ เอกชน เพ่ือการจดั การศึกษา (สอดคล้อง 5 กจิ กรรม) กจิ กรรม - 3. จดั ทาข้อเสนอว่าดว้ ย แผนความรว่ มมอื ในการจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั ครอบคลุมการ จัดการทางการคลงั และผู้จัดการศึกษา - 4. จัดทาข้อเสนอวา่ ด้วย แนวทางสนบั สนนุ งบประมาณและงบลงทนุ ใหส้ ถานศึกษาเอกชนในรปู แบบ ความรว่ มมอื รฐั และเอกชน สาหรับเด็กท่ีมีความสามารถพเิ ศษ - 5. ปรับปรงุ แก้ไขกฎหมายที่เก่ียวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ท่เี กีย่ วข้องกับการศึกษาตาม ขอ้ เสนอว่าด้วยบทบาทขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในการจัดกรศึกษา - 6.ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกบั การจัดการศึกษาโดยภาคเอกชนตามข้อเสนอวา่ ด้วยการเพ่ิม บทบาทของภาคเอกชนในการจัดการศึกษาในรปู แบบตา่ ง ๆ การกากบั ดแู ลทเ่ี หมาะสม - 7. จัดทาและขับเคลื่อนตามขอ้ เสนอแนวทางการสร้างและเพิ่มสัดส่วนของความรว่ มมือระหว่างรัฐ เปูาหมายกจิ กรรม มีสว่ นร่วมดาเนนิ การกับหนว่ ยงานรับผิดชอบหลัก แตล่ ะกจิ กรรม ประเดน็ ที่ 1.3) การขับเคลอ่ื นการจัดการศึกษาเพื่อการพฒั นาตนเองและการศึกษาเพื่อการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ เพอื่ รองรับการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต (สอดคล้อง 2 กจิ กรรม) กิจกรรม - 2. จดั ทาดัชนีการศกึ ษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของการศึกษาไทย (Thailand Lifelong Education Index : TLEI) เปาู หมายกิจกรรม รว่ มสร้างตัวช้ีวดั เก่ยี วกบั การศึกษาเพื่อการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของ ประเทศไทย (Thailand Lifelong Education Indicators) กบั สกศ.

32 กจิ กรรม - 3. บูรณาการการดาเนนิ งานร่วมกันของหน่วยงานทเี่ กยี่ วข้องกับการศึกษาเพ่ือการพัฒนา ตนเอง และการศึกษาเพ่ือการเรยี นร้ตู ลอดชีวิตในลกั ษณะเครือขา่ ยความรว่ มมือเปาู หมายกจิ กรรม บูรณาการ การดาเนนิ งานรว่ มกนั กบั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องกบั การศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาตนเองและการศกึ ษาเพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ในลกั ษณะเครือขา่ ยความรว่ มมอื สรา้ งโอกาสการศึกษากบั กลมุ่ ผู้ทอี่ ยู่นอกระบบโรงเรยี นโดยเรียน ผ่านทางไกล หรอื รปู แบบอื่นที่เหมาะสมกบั สภาพของกลุม่ เปูาหมาย ปรับบทบาท กศน. เป็นศนู ย์ส่งเสริม สนับสนุน มากกวา่ การเป็นผจู้ ัด ทบทวน ศกั ยภาพและการดาเนินงานของหนว่ ยปฏิบตั ิในสังกดั กศน. ให้เปน็ องค์กรท่ีมีประสทิ ธภิ าพในการจัดกิจกรรมท่ี ตอบสนองความต้องการของกลุม่ เปูาหมายจดั การศกึ ษาเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ในแหลง่ เรยี นรู้และศนู ยก์ าร เรยี นเพ่ิมข้ึน มีแนวทางการดาเนนิ งานสง่ เสริม และสนบั สนุนการจดั การศึกษาเพ่ือการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ กาหนด คุณภาพการพฒั นาวชิ าการและการพฒั นาบคุ ลากร พัฒนาบทบาทของสถานโี ทรทัศน์และวิทยเุ พ่ือการศกึ ษาให้ มปี ระสทิ ธิภาพย่งิ ขึน้ รวบรวมและผลิตสอ่ื และเทคโนโลยสี าหรับการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ของประชาชนทว่ั ไป จดั ทา แผนท่ี สถานศกึ ษา และศนู ย์การเรยี นรู้ เพื่อจดั สรรใหเ้ หมาะสมและมคี วามเชอื่ มโยงตามบริบทและความ ต้องการ เรื่องที่ 2 การปฏิรปู การพฒั นาเด็กเลก็ และเดก็ วัยเรียน (สอดคลอ้ ง 2 ประเดน็ ) ประเดน็ ท่ี 2.1) การพฒั นาระบบการดแู ล พฒั นา และจัดการเรียนรเู้ พ่ือใหเ้ ด็กปฐมวยั ได้รบั การพัฒนา ร่างกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาให้ สมกับวัย (สอดคล้อง 5 กิจกรรม) กิจกรรม - 2. จดั ทาแนวทางการคัดเลือกเด็กเขา้ เรยี นระดบั ชน้ั ประถม ศึกษาปีท่ี 1ดว้ ยวธิ กี ารที่ เหมาะสมกบั ชว่ งวัยเปาู หมายกิจกรรม ร่วมจัดข้อเสนอแนวทางการคดั เลือกเดก็ เขา้ เรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษา ปีท่ี 1 ท่เี หมาะสมกับช่วงวยั กิจกรรม - 3. จดั ทาระบบคัดกรอง และกลไกการตดิ ตามและประเมนิ ผลสาหรับเด็กทมี่ ีความต้องการ จาเป็นพิเศษ เปูาหมายกิจกรรม รว่ มจัดทาข้อเสนอวา่ ดว้ ยระบบการคดั กรอง และ ร่วมสง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย และเดก็ ที่มีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษในหน่วยให้บริการ กจิ กรรม - 4. จัดทาแนวทางการพฒั นาในชว่ งรอยเช่ือมต่อ (transition period) ระหว่างวยั 2 - 6 ปี เปูาหมายกิจกรรม จัดทาข้อเสนอแนวทางการพฒั นาในชว่ งรอยเช่ือมต่อ (transition period) ระหวา่ งวัย 2 - 6 ปี กิจกรรม - 5. จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารรว่ มกนั ระหวา่ งกระทรวงหลัก 4 กระทรวงทเ่ี กี่ยวข้องเพ่ือพัฒนาเด็ก ปฐมวยั เปูาหมายกจิ กรรม ร่วมจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารร่วมกันระหว่างกระทรวงหลัก 4 กระทรวงท่เี กี่ยวข้องเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มพ่อแมผ่ ู้ปกครอง และพัฒนาเด็กปฐมวัยใหม้ ีความพร้อมรอบดา้ น กิจกรรม - 6. จดั ทาข้อเสนอแผนปฏบิ ัตกิ ารว่าด้วยการยก ระดับคุณภาพของศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ และ ศูนย์เลี้ยงเด็ก เปูาหมายกจิ กรรม ร่วมยกรา่ งขอ้ เสนอแผนปฏิบตั ิการว่าด้วยการยกระดบั คุณภาพของศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กและศูนยเ์ ล้ยี งเด็ก รวมทั้งสง่ เสริมครู พเ่ี ลี้ยงเด็ก และบุคลากร ที่เกยี่ วข้อง เข้ารับการอบรมพัฒนาใหม้ ีทักษะ ความเช่ยี วชาญในศาสตร์การดูแลและพฒั นาเด็กเล็ก ประเด็นที่ 2.2) การสอ่ื สารสังคมเพื่อสร้างความเขา้ ใจในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั (สอดคล้อง 1 กิจกรรม) กจิ กรรม - 1. สร้างความรูค้ วามเข้าใจในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั เปาู หมายกิจกรรม รว่ มจัดทาแนวทางการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ ผลติ สื่อประชาสมั พันธ์ และรา่ งคู่มอื การเตรียมความพร้อมพ่อแม่ ก่อนการต้ังครรภ์ การเลย้ี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย อยา่ งต่อเน่ือง

33 เรือ่ งที่ 3 การปฏริ ปู เพอื่ ลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา (สอดคล้อง 2 ประเดน็ ) ประเด็นที่ 3.1) การดาเนนิ การเพือ่ ลดความเหลอ่ื มล้าทางการศึกษา (สอดคล้อง 5 กจิ กรรม) กจิ กรรม - . ส่งเสริมโอกาสและพัฒนาคุณภาพนักเรยี น เพ่ือบรรเทาอปุ สรรคการมาเรียนของนักเรียน ยากจนพเิ ศษและยากจนใหม้ ีความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา จนสาเรจ็ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานและตาม ศกั ยภาพ เปูาหมายกจิ กรรม นักเรียนยากจนพเิ ศษและยากจน ไดร้ ับเงนิ อุดหนนุ ปัจจัยพนื้ ฐานนักเรียน ยากจนแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) เพอื่ บรรเทาอปุ สรรคการมาเรยี น ในปีการศึกษา 2/2563 และ 2/2564 กิจกรรม - 4. สนบั สนุนใหเ้ ดก็ เยาวชนนอกระบบการศึกษา กลับเขา้ ส่รู ะบบการศึกษาและพฒั นา ทักษะอาชีพ เปาู หมายกจิ กรรม สนับสนุนใหเ้ ด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาให้กลบั เข้าศกึ ษาตอ่ หรือไดร้ บั การ พัฒนาทักษะอาชีพ กจิ กรรม - 5. สง่ เสริมการพัฒนาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพครู เปูาหมายกจิ กรรม ครนู อกระบบ ได้รบั การเสรมิ สร้างและพัฒนาคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ กจิ กรรม - 6. พัฒนาองคค์ วามรูเ้ พื่อการจดั การเชิงระบบเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษาทมี่ ี ประสทิ ธิภาพยิ่งขึน้ เปาู หมายกจิ กรรม พฒั นาฐานขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) ของกลุ่มเปาู หมายเดก็ และเยาวชนผู้ขาด แคลนทนุ ทรัพย์และดอ้ ยโอกาสทั้งในและนอกระบบการศึกษา จากเลขประจาตวั ประชาชน 13หลกั ท่เี ชื่อมโยง และบรู ณาการ 6 กระทรวง เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องแม่นยา และสนบั สนุนการวเิ คราะหเ์ พื่อใช้ประโยชน์ใน การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา กิจกรรม - 7. สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น เพือ่ สรา้ งสังคมแหง่ โอกาสและความเสมอภาคทาง การศึกษาท้งั ในและตา่ งประเทศ เปาู หมายกจิ กรรม สารวจสถานะความเหล่ือมลา้ และคณุ ภาพทรพั ยากรมนุษย์ระดับจังหวดั (School Readiness, Career Readiness, Workforce Competencies, SDGS) ประเดน็ ที่ 3.3) การยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาในพื้นท่หี ่างไกล หรือในสถานศกึ ษาท่ีตอ้ งมีการ ยกระดับคุณภาพอย่างเร่งด่วน (สอดคล้อง 1 กิจกรรม) กิจกรรม - 3. พฒั นาระบบสอบบรรจแุ ละแตง่ ตั้งครู ใหก้ ระจายตวั ออกไปในพ้ืนที่ทมี่ คี วามขาดแคลนครู เปูาหมายกจิ กรรม ระบบสอบบรรจุและแต่งต้ังครู ท่กี ระจายตัวออกไปในพื้นที่ท่มี คี วามขาดแคลนครู เรอ่ื งที่ 4 การปฏริ ูปกลไกและระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวชิ าชพี ครอู าจารย์ (สอดคล้อง 5 ประเดน็ ) ประเด็นท่ี 4. 1) การผลติ ครู และการคดั กรองครู เพื่อใหไ้ ด้ครูทม่ี คี ุณภาพ ตรงกับความต้องการของ ประเทศ และมจี ิตวญิ ญาณของความเป็นครู (สอดคล้อง 2 กิจกรรม) กิจกรรม - 2. กาหนดอัตราบรรจคุ รทู ีจ่ บการศึกษาโดยผ่านแผนการผลิตและพัฒนาครู เปาู หมายกจิ กรรม วเิ คราะห์อัตรากาลังในการผลิตและพฒั นาครู เพื่อขอจัดสรรทุนกับกองทนุ เพื่อความ เสมอภาคทางการศกึ ษา กิจกรรม - 3. จดั ทาระบบข้อมลู ครูทร่ี วบรวมขอ้ มลู การผลิต การใช้ และการคาดการณ์อัตรากาลังครูใน สาขาทขี่ าดแคลน เปูาหมายกิจกรรม มรี ะบบข้อมลู ครู ท่สี ามารถสบื คันข้อมูลเก่ียวกบั การผลิต การใช้ และการคาดการณ์ อัตรากาลงั ครใู นสาขาท่ขี าดแคลนอยา่ งมีประสิทธิภาพ

34 ประเด็นที่ 4.2) การพฒั นาวชิ าชีพครู (สอดคลอ้ ง 4 กิจกรรม) กิจกรรม - 1. จดั ต้งั หนว่ ยงานกลางในการบรหิ ารจัดการ การพฒั นาทางวชิ าชพี ให้กับครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา เปูาหมายกจิ กรรม มีหนว่ ยงานกลางในการบรหิ ารจัดการการพฒั นาทางวชิ าชีพให้กบั ครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาอย่างเปน็ ระบบ กจิ กรรม - 5. จดั ทาระบบและกลไกใหมเ่ พื่อใหค้ รูมกี ารพฒั นาตนเองหรือวิชาชีพอย่างต่อเนอื่ ง เปาู หมายกิจกรรม ออกแบบระบบพัฒนาครตู ามหลักสูตรสาระที่กาหนด โดยเน้นผา่ นระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือใหค้ รูได้มโี อกาสในการเขา้ ถงึ ข้อมูลได้งา่ ย กจิ กรรม - 10. จัดทาระบบในการประเมินการปฏิบตั ิงานเละสมรรถนะหลกั สาหรบั ครูชานาญการ เปูาหมายกิจกรรม ครชู านาญกามคี วามเชย่ี วชาญในกรปฏิบัตหิ น้าทแี่ ละเปน็ ไปตมมาตรฐาน กิจกรรม - 11. จัดทาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขบั เคล่ือนเครอื ข่ายครู National Professional Teacher Platform (NPTP) เปูาหมายกิจกรรม ออกแบบและพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขบั เคล่ือนเครือข่ายครู National Professional Teacher Platform (NPTP) ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ประเด็นท่ี 4.3) เส้นทางวิชาชีพครูเพือ่ ให้ครมู คี วามก้าวหนา้ ไดร้ ับค่าตอบแทนและสวสั ดิการทีเ่ หมาะสม (สอดคล้อง 2 กจิ กรรม) กิจกรรม - 1. กาหนดมาตรฐานวิชาชพี ครูในการปฏบิ ัตงิ านครู เปูาหมายกิจกรรม มาตรฐานในการปฏิบัตงิ านของครู กจิ กรรม - 2. แก้ไขปรับปรุงหลกั เกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทน การเลอื่ นวทิ ยฐานะ และการคงวทิ ย ฐานะของครู เปูาหมายกจิ กรรม ครูมีคุณภาพในการจัดการศึกษาและพัฒนาผูเ้ รียน โดยได้รับค่าตอบแทนที่ เหมาะสม รวมทัง้ มกี ารเล่ือนและการคงวิทยฐานะ ทีส่ อดคล้องกบั คุณภาพในการปฏบิ ัติงาน ประเดน็ ท่ี 4.4) การพัฒนาผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษาในสถานศกึ ษา (สอดคล้อง 3 กิจกรรม) กจิ กรรม - 1. จัดทาข้อกาหนดสมรรถนะหลัก และมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของผูบ้ ริหาร เปาู หมายกจิ กรรม ข้อกาหนดสมรรถนะหลกั และมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของผูบ้ รหิ ารเป็นเกณฑ์หนึ่ง สาหรบั การประเมินผู้บรหิ าร กจิ กรรม - 3. จัดทาแผนอัตรากาลงั และการพฒั นาศักยภาพของผบู้ รหิ าร เปูาหมายกจิ กรรม การบริหารอัตรากาลงั และการพฒั นาศักยภาพของผูบ้ ริหารมปี ระสทิ ธิภาพ และ ผู้บริหารมสี มรรถนะตามข้อกาหนดสมรรถนะหลกั และมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน กิจกรรม - 4. ระบบคัดกรองและพฒั นาผ้บู รหิ าร ใหม้ ีสมรรถนะหลกั และได้มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ของผบู้ รหิ าร เปาู หมายกจิ กรรม ผู้บริหารสถานศกึ ษามีคุณสมบัติตามข้อกาหนดสมรรถนะหลกั และมาตรฐานการ ปฏบิ ัติงาน ประเดน็ ท่ี 4.5) องค์กรวชิ าชพี ครู และปรบั ปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง (สอดคล้อง 2 กจิ กรรม) กจิ กรรม - 3. กาหนดบทบาทหนา้ ทแ่ี ละอานาจของ ก.ค.ศ. โดยเนน้ ระบบคณุ ธรรมในการ เปูาหมายกิจกรรม บทบาทและอานาจหน้าท่ขี อง ก.ค.ศ.ที่มีความชดั เจน และสอดคล้องกับภารกิจ กิจกรรม - 5. ยกรา่ งพระราชบญั ญัตริ ะเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.... เปาู หมายกิจกรรม พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.....

35 เรือ่ งที่ 5 การปฏริ ปู การจดั การเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (สอดคล้อง 5 ประเดน็ ) ประเด็นท่ี 5.1) การปรบั หลักสตู รพร้อมกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการประเมนิ เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้เป็นหลักสตู รฐานสมรรถนะ (สอดคล้อง 3 กจิ กรรม) กิจกรรม - 2. พัฒนาครูในการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก และการวดั ประเมินผล เพือ่ พัฒนาผู้เรียน รวมท้ัง การพัฒนาความรู้ และสมรรถนะดา้ นเน้ือหาสาระทีส่ อน ดา้ นศาสตรก์ ารสอน ดา้ นการใช้สือ่ และเทคโนโลยีใน การเรยี นร้แู ละการสอนดา้ นการพฒั นาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และด้านบทบาทของครูในยุคใหม่ เปูาหมายกจิ กรรม ครูมีความรู้ ความเขา้ ใจสามารถจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ได้ ศึกษานเิ ทศก์มคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจสามารถให้คาแนะนาหรือชว่ ยเหลือครอู อกแบบรายวิชาเพิ่มเตมิ หรือกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน และการนาไป จัดการสอนหรือจัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี น กิจกรรม - 3. สนบั สนุนชดุ การสอน สอ่ื ตวั อย่างรายวิชา สนบั สนนุ ชดุ การสอน สอ่ื ตวั อย่างรายวิชา เพิ่มเติม และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนรายวิชาเพ่มิ เตมิ เปูาหมายกจิ กรรม จดั ตง้ั คลงั ชุดการสอนสาเร็จรูป รายวิชาเพมิ่ เติม และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนท่ีผา่ น การคัดกรองจากผู้เชยี่ วชาญ ใหค้ รูเข้าถงึ เพ่ือนาไปใช้และเรียนรเู้ พื่อพฒั นา ขน้ึ เองได้ สถานศกึ ษามีรายวิชา เพม่ิ เติม หรือกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนท่พี ฒั นาขึ้นเอง สอดคล้องกบั จดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร ความพรอ้ ม จุดเน้น ของสถานศกึ ษา และเกณฑ์การจบหลกั สตู ร กจิ กรรม - 4. จดั ใหม้ ศี ูนยร์ วบรวมส่อื และเทคโนโลยีการศกึ ษา เปูาหมายกิจกรรม ศนู ย์รวบรวมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา เพ่ือให้ ครูและนักเรยี นเลือกใชไ้ ด้อยา่ ง เหมาะสมกบั สถานการณ์การเรียนรู้ ประเดน็ ที่ 5.2) การจัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งคุณธรรมและจริยธรรม (สอดคล้อง 2 กิจกรรม) กิจกรรม - 2. ปรับปรงุ และพัฒนาแนวทางการจดั การเรียนการสอนเพ่ือสง่ เสริมคุณธรรมและจริยธรรม ให้แก่ผเู้ รียน เปาู หมายกจิ กรรม ปรบั ปรุงรูปแบบ กิจกรรม และสาระการเรียนการสอน เพ่ือเสริมสรา้ งคุณธรรมและ จริยธรรมใหแ้ กผ่ ู้เรยี น กิจกรรม - 3 จดั ทาจรรยาบรรณ (Code of conduct) ทีม่ ุ่งส่งเสรมิ การประพฤตปิ ฏบิ ัติอยา่ งมี คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดบั สถานศึกษา เปาู หมายกิจกรรม จรรยาบรรณ (Code of conduct) ของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในระดบั สถานศกึ ษา ประเดน็ ที่ 5.3) การประเมนิ คุณภาพการจัดการศึกษาระดับชาตแิ ละระบบคัดเลอื กเข้าศึกษาตอ่ (สอดคล้อง 2 กิจกรรม) กจิ กรรม - 1. จัดทาข้อเสนอว่าด้วยการปรบั ระบบการทดสอบระดบั ชาติ เปาู หมายกจิ กรรม ร่วมปรับปรงุ การทดสอบระดบั ชาติ และพัฒนาแบบทดสอบ ใหว้ ดั สมรรถนะตาม หลักสูตรไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ โดยเนน้ ความสอดคลอ้ งระหว่างสมรรถนะ ที่คาดหวังตามหลักสูตรกบั เครื่องมือ/ข้อ คาถามทใ่ี ช้วัดหลากหลาย กจิ กรรม - 2. จัดทาข้อเสนอให้มีการทบทวนและปรับปรุงวิธีการในการจดั สรรโอกาสและการคัดเลือก เข้าศึกษาต่อและประกาศใช้ เปูาหมายกจิ กรรม ผ้เู รยี นไดร้ ับการจัดสรรโอกาสและไดเ้ ขา้ ศกึ ษาต่อดว้ ยดว้ ยวิธีการท่ี ประเดน็ ท่ี 5.4) การพัฒนาคุณภาพระบบการศึกษา (สอดคลอ้ ง 3 กจิ กรรม)

36 กจิ กรรม - 1. จัดทาข้อเสนอว่าดว้ ยการพฒั นาคุณภาพของการจดั การศึกษาผ่านการประกันคณุ ภาพ การประเมินคุณภาพ และการรบั รองคุณภาพ เปาู หมายกิจกรรม สถานศึกษาสามารถจัดการศกึ ษาได้อยา่ งมีคณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ มีธรรมาภบิ าล เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง ตามปรัชญาและ เปาู หมายของสถานศกึ ษาและมีระบบ ความรบั ผิดชอบทางการศึกษา (Educational Accountability) บนพน้ื ฐานสมรรถนะหลักของผเู้ รยี น กจิ กรรม - 2. ประกาศ/กฎกระทรวงว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และข้อกาหนดด้านคณุ ภาพของการจัด การศึกษาสาหรบั การประกันคุณภาพและการประเมนิ คุณภาพการศึกษา ใหส้ ถานศึกษานาไปปฏบิ ตั ิ เพ่ือพฒั นา คณุ ภาพการจัดการศึกษา เปาู หมายกิจกรรม สถานศึกษามแี นวปฏบิ ัตกิ ารประกนั คุณภาพการประเมิน คุณภาพและการรบั รอง คณุ ภาพการศึกษาเป็นระบบที่มีความเชื่อมโยงสอดคลอ้ ง ไม่สร้างภาระต่อสถานศึกษา และการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีการ จดั การเรยี นของครู กจิ กรรม - 3. จดั สรรงบประมาณ และมีระบบสนบั สนุนการดาเนนิ งานเพ่ือพัฒนาระบบคุณภาพ การศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง เปูาหมายกิจกรรม สถานศึกษาได้รับการพฒั นาคุณภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง สามารถสร้างความเช่อื ม่นั ให้ผู้มี สว่ นเกี่ยวขอ้ งและสาธารณชนได้ และเกิดวฒั นธรรมคณุ ภาพในการจัดการศึกษาของครูผู้บริหาร และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ประเดน็ ท่ี 5.5) ระบบความปลอดภัยและระบบสวสั ดิการของผู้เรียน (สอดคลอ้ ง 4 กจิ กรรม) กิจกรรม - 2 พัฒนาระบบการคุม้ ครองผูเ้ รยี นในสถานศกึ ษาทม่ี ีความทันสมัยและรวดเรว็ เพื่อใหค้ รู ผเู้ รยี น และผู้ปกครอง เข้าถึงข้อมูลและแกไ้ ขปัญหาฉุกเฉินได้รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพ เปูาหมายกิจกรรม แอพพลเิ คชัน่ สาหรบั การตดิ ตาม ดแู ล คุ้มครองผู้เรยี นในสถานศึกษา กจิ กรรม - 3. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในการใชร้ ะบบการคมุ้ ครอง ผเู้ รยี นในสถานศึกษา เปาู หมายกจิ กรรม ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีศกั ยภาพในการปฏบิ ัติตามมาตรการการคุม้ ครอง ผเู้ รยี นในสถานศึกษา กจิ กรรม - 4. จัดบรกิ ารการดแู ลคมุ้ ครองผ้เู รียน ทง้ั ในดา้ นความปลอดภัย สขุ ภาพและสวสั ดิภาพ ครอบคลุมสถานศึกษาทกุ สังกัดทัว่ ประเทศ เปูาหมายกิจกรรม ผเู้ รียนได้รับการชว่ ยเหลอื ดแู ล และคุ้มครองท้งั ด้านความปลอดภยั สขุ ภาพ และ สวัสดภิ าพ กิจกรรม - 5 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ระบบการค้มุ ครองผู้เรยี นให้มีประสทิ ธภิ าพต่อเนื่องและยั่งยนื เปูาหมายกิจกรรม สถานศึกษามีระบบคมุ้ ครองผูเ้ รยี นที่มปี ระสทิ ธภิ าพ เรือ่ งที่ 6 การปรบั โครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่อื บรรลเุ ป้าหมาย ในการปรบั ปรงุ การ จดั การเรียนการสอนและยกระดบั คุณภาพของการจดั การศึกษา (สอดคล้อง 2 ประเด็น) ประเดน็ ท่ี 6.1) สถานศกึ ษามีความเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษา (สอดคลอ้ ง 1 กิจกรรม) กจิ กรม- 1. จดั ทารา่ งกฎหมายเกีย่ วกบั การกระจายอานาจการบรหิ ารจัดการทง้ั 4 ดา้ น (วิชาการ งบประมาณ บคุ คล และบริหารงานท่ัวไป เปาู หมายกิจกรรม สถนศกึ ษาไดร้ ับการกระจายอานาจในการบรหิ าร จัดการสถานศึกษาใน 4 ด้าน ตามความเหมาะสมและบรบิ ทของพืน้ ที่ และการบริหารจัดการมีประสทิ ธิภาพ ยงิ่ ขึ้น ประเดน็ ที่ 6.3) การปรบั ปรงุ โครงสร้างของกระทรวงศึกษาธกิ าร (สอดคล้อง 1 กจิ กรรม)

37 กิจกรรม - จดั ทาขอ้ เสนอการปรบั ปรุงบทบาทหน้าทแี่ ละอานาจท่ีสอดคล้องกับบทบัญญัตขิ องกฎหมาย การศึกษาแหง่ ชาติฉบับใหม่ เปาู หมายกจิ กรรม กระทรวงศกึ ษาธิการมกี ารแบ่งหน้าท่ีและอานาจท่ีชดั เจนระหว่างหน่วยงานนโยบาย หนว่ ยงานการกากบั หน่วยงานการสนับสนุน และหน่วยงานการปฏิบัติการ เรอื่ งที่ 7 การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลกิ โฉมดว้ ยระบบดิจิทัล (Digitalization for Educational and Learning Reform) (สอดคล้อง 3 ประเดน็ ) ประเดน็ ท่ี 7.1) การปฏริ ูปการเรียนร้ดู ว้ ยดิจทิ ัลผ่านแพลตฟอรม์ การเรียนรู้ ดว้ ยดิจทิ ลั แหง่ ชาติ (สอดคล้อง 2 กิจกรรม) กจิ กรรม - 2. นาผลการใชส้ อ่ื ดจิ ทิ ัลและนวตั กรรมท่ไี ด้รบั มาประมวล และดาเนนิ การผูกรวมและนามา พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของแพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ด้วยดิจทิ ัล เปาู หมายกิจกรรม ร่วมพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานของแพลตฟอร์มการเรยี นรดู้ ้วยดจิ ิทัล กจิ กรรม- 3 ขยายเครือข่ายแพลตฟอร์มการเรียนร้ดู ว้ ยดิจิทลั โดยการสรา้ งความรว่ มมือของภาคสว่ นท่ี เกีย่ วขอ้ ง (PPP) เปาู หมายกจิ กรรม ผเู้ รียน ครู และคนทุกช่วงวยั เขา้ ถงึ ทรัพยากรการเรียนรู้ และสื่อการจดั การเรยี น การสอนรปู แบบต่าง ๆ ท่ีมีคุณภาพสงู ผ่านแพลตฟอรม์ การเรยี นรดู้ ว้ ยดจิ ิทัลแหง่ ชาติ และ ไดร้ บั การแนะแนว (Consulting) ให้สามารถพัฒนาได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพตามความถนัดและความสนใจ จนสามารถประกอบอาชีพและดารงชวี ติ อยูใ่ นสังคมได้อย่างยัง่ ยนื ประเดน็ ที่ 7.2) ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Big Data for Education) (สอดคล้อง 2 กจิ กรรม) กิจกรรม - 1. จดั ทาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา (Big Data In Education) .เปาู หมายกิจกรรม ระบบข้อมลู และสารสนเทศเพ่ือการบริหารจดั การศกึ ษา (Education Management Information System : EMIS) ซ่งึ มีฐานข้อมูลกลางรายบุคคล ที่อ้างอิงจากเลขบตั รประจาตัว ประชาชน 13 หลัก เปน็ รปู แบบเดยี วกันของทุกหนว่ ยงานที่จัดการศึกษาทัง้ ในและนอก กระทรวงศึกษาธกิ าร และสามารถเช่ือมโยงข้อมูลได้ กิจกรรม - 2. จัดทากฎหมายการบรหิ ารข้อมลู และสารสนเทศทางการศึกษา เปูาหมายกจิ กรรม ประกาศกฎหมายการบริหารข้อมูลและสารสนเทศทางการศึกษา จัดโครงสร้าง องค์กรศูนยข์ ้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาแห่งชาติ ประเดน็ ที่ 7.3) การพฒั นาความเป็นพลเมืองดิจิทลั (digital citizenship) ในดา้ นความฉลาดรูด้ ิจิทัล (digital literacy) ความฉลาดรสู้ ารสนเทศ (information literacy) ความฉลาดรู้สื่อ (media Literacy) เพ่ือ การรวู้ ิธกี ารเรียนรู้ (earning how to learn) ในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ตลอดจนการมีพฤตกิ รรมท่ี สะท้อนการรกู้ ติกา มารยาท จริยธรรมเกย่ี วกับการใชส้ ่อื และการสอ่ื สารบนอนิ เทอรเ์ น็ต (สอดคล้อง 3 กจิ กรรม) กจิ กรรม - 1. จดั ทาข้อเสนอว่าด้วยการเสริมสรา้ งสมรรถนะด้านดจิ ิทลั และการรเู้ ท่าทนั สอื่ ของ ประชาชน เปูาหมายกิจกรรม ข้อเสนอว่าดว้ ยการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการรูด้ ิจทิ ลั และการรู้เทา่ ทันสื่อของประชาชน, กาหนดสมรรถนะด้านดิจทิ ัลและการรเู้ ท่าทันส่อื (Digital and media literacy) ท่ีปรับตามความจาเป็นในแต่ ละชว่ งวัยทีเ่ หมาะสม กิจกรรม - 2. เสรมิ สรา้ งสมรรถนะดา้ นดิจิทัลและการรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ

38 เปูาหมายกิจกรรม บูรณาการหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องในการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะด้านดจิ ทิ ลั และการรู้เท่า ทนั สอ่ื , ค่มู ือความรู้เกี่ยวกบั สมรรถนะด้านดิจทิ ลั และการรู้ เทา่ ทนั ส่ือ สาหรับผู้ปกครอง นักเรยี น วัยทางาน ผสู้ ูงอายุ, ดาเนินงานรว่ มกบั ศูนยก์ ารเรียน และศนู ย์ดิจิทัลชุมชน ในการพัฒนาทักษะดิจิทัลใหก้ ับประชาชน เนน้ กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ กจิ กรรม - 3. ประเมนิ สมรรถนะดา้ นดิจิทัลและการรู้เท่าทันสอ่ื ของคนไทย เปูาหมายกจิ กรรม นารอ่ งการประเมินระดับสมรรถะดา้ นดิจิทลั และการรู้เท่าทันส่ือแตล่ ะช่วงวัย และ ทบทวนแก้ไข ปรับปรงุ ประชาชนในวยั เรยี นและผสู้ ูงอายมุ ีระดบั สมรรถนะดา้ นดิจิทัลและการรเู้ ท่าทันส่ืออยูใ่ น ระดับดมี าก 2. นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ตระหนักถึงนโยบายด้านการศึกษา ซ่ึงถือเป็น ส่วน สาคัญย่ิงในการพัฒนาประเทศให้บรรลุเปูาหมาย อย่างยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในทุกด้าน ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินการเกิดผลสัมฤทธิ์และสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ โดยเฉพาะกิจกรรม ปฏิรูป ประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock) ท่ีมีความสาคัญ เร่งด่วน และสามารถดาเนินการและวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในช่วงปี พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2565 ซึ่งเก่ียวข้อง กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้แก่ (1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางการศึกษา ต้ังแต่ระดับปฐมวัย (2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพ่ือตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และ (3) การสร้างระบบการผลิตและพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาที่มี คณุ ภาพ จึงกาหนดนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2565 ดงั นี้ ๑. ดา้ นความปลอดภยั พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และ สถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการมีสุขภาวะท่ีดี สามารถปรบั ตัวต่อโรคอุบตั ใิ หมแ่ ละโรคอุบตั ิซา้ ๒. ดา้ นโอกาส ๒.๑ สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา ใหส้ มกบั วัย ๒.๒ ดาเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อย่างมีคุณภาพ ตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพื่อการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ ตรง ตามศักยภาพและความถนดั ของตนเอง รวมทัง้ ส่งเสรมิ และพฒั นาผ้เู รียนที่มีความสามารถพิเศษ สู่ความเป็นเลิศ เพอ่ื เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ๒.๓ พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปูองกัน ไม่ให้ออก จากระบบการศึกษา รวมท้ังช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อย่างเท่า เทียมกนั ๒.๔ ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีทักษะในการ ดาเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง

39 ๓. ด้านคณุ ภาพ ๓.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจาเป็น ของโลกใน ศตวรรษที่ ๒๑ อยา่ งครบถ้วน เป็นคนดี มวี นิ ยั มคี วามรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มที ศั นคติท่ีถกู ต้องต่อบา้ นเมือง ๓.๒ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีดจิ ิทลั และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเลือก ศึกษาตอ่ เพ่ือการมีงานทา ๓.๓ ปรบั หลกั สตู รเปน็ หลกั สูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จาเป็น ในแต่ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมท้ังส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้าน ส่งเสริมการ จัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาพหุปญั ญา พฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลผูเ้ รยี นทกุ ระดับ ๓.๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสตู รฐานสมรรถนะ มที ักษะในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ไดด้ ี มีความรคู้ วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มี การพฒั นาตนเองทางวิชาชพี อยา่ งตอ่ เน่อื ง รวมท้งั มจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู ๔. ดา้ นประสิทธภิ าพ ๔.๑ พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อน บน ฐานข้อมลู สารสนเทศทถ่ี กู ต้อง ทนั สมยั และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น ๔.๒ พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนที่ สามารถดารงอย่ไู ดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยง่ั ยนื สอดคลอ้ งกับบรบิ ท ของพน้ื ท่ี ๔.๓ บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจานวนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ ๑ - ๓ น้อยกว่า ๒๐ คน ใหไ้ ด้รบั การศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับนโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน ๔.๔ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษา ท่ีต้ัง ในพ้ืนทีล่ ักษณะพเิ ศษ ๔.๕ สนับสนุนพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และการเพ่ิม ความคล่องตัวในการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ๔.๖ เพ่ิมประสิทธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ังนี้ ตั้งแต่บัดน้ีเป็นต้น ไป โดยสรุปแล้ว ความสอดคล้องของแผนในระดับต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับภารกิจของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนระดับที่ 1 ยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีเป็นเปูาหมายการพัฒนาประเทศ อย่าง ย่ังยนื โดยมยี ทุ ธศาสตรท์ ่ีเก่ยี วข้องหลักในด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากร ส่วนแผน ระดับท่ี 2 ซ่ึงเป็นแนวทางการขับเคลื่อนประเทศในมิติต่างๆ เพื่อบรรลุตามเปูาหมายของยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงประกอบไป ด้วย แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจาก สถานการณ์โควิด-19 พ.ศ. 2564 – 2565 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ กิจกรรมปฏิรูปท่ีจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock) ในแผนการปฏิรูป ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) และนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ และแผนระดับท่ี 3 เป็น แผนท่ีจัดทาขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อถ่ายทอดเปูาหมายและประเด็นการพัฒนาของแผนระดับที่ 1 และ 2 ไปส่กู ารปฏิบตั ิ โดยมีสว่ นทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 แผนปฏิบัติการด้านการจัดการศึกษาปฐมวัย ของกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2563 – 2565) แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.

40 2564 - 2565) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากน้ี ยังพิจารณานโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 และนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - พ.ศ. 2565 ในการจัด ทาแผนปฏิบัตกิ ารดงั กล่าว เช่นเดยี วกบั แผนปฏิบตั ิราชการอกี ดว้ ย วิสัยทัศน์ “สร้างคุณภาพทนุ มนุษย์ สู่สังคมอนาคตท่ียั่งยืน” พันธกิจ 1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข 2. พฒั นาผู้เรยี นให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวชิ าการเพอื่ สร้างขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขนั 3. พฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21 4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างท่ัวถึง และเท่าเทียม 5. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ มอื อาชีพ 6. จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และเปาู หมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยืน )Sustainable Development Goals : SDGs) 7. ปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศกึ ษาทกุ ระดบั และจดั การศกึ ษาโดยใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั เป้าหมาย 1. ผเู้ รียนมคี วามพร้อมในการรับมือกับภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ทกุ รูปแบบ รวมถงึ ผ้เู รยี น ในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดร้ บั การศึกษาสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพชวี ิตท่ีมีคุณภาพ และส่งเสริมทกั ษะทจี่ าเป็นใน ศตวรรษท่ี 21 3. ประชากรทกุ กลุม่ เปาู หมายได้รบั โอกาสในการเข้าถงึ บริหารการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานที่มคี ุณภาพและมี มาตรฐานอย่างเสมอภาคและเท่าเทยี มกัน 4. ผเู้ รียนไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีความรู้ มที กั ษะ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ เพอ่ื ตอบสนอง ความตอ้ งการ ของประเทศ 5. พฒั นาระบบบริหารจัดการเพอื่ เพ่มิ ประสิทธภิ าพใหส้ ูงข้ึน กลยุทธห์ นว่ ยงาน กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาใหผ้ ู้เรียนมีความปลอดภัยจากภยั ทกุ รปู แบบ กลยุทธท์ ่ี 2 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหก้ บั ประชากรวัยเรยี นทุกคน กลยุทธ์ท่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 กลยทุ ธ์ท่ี 4 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา

41 กลยุทธห์ น่วยงาน กลยุทธท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาใหผ้ ู้เรียนมคี วามปลอดภยั จากภยั ทุกรูปแบบ 1. เป้าหมาย ผเู้ รียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศกึ ษา ได้รบั การดูแลความปลอดภัยจากภยั พิบตั ิและ ภยั คุกคามทกุ รปู แบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอบุ ตั ใิ หม่ โรคอบุ ัติซา้ และรองรบั วิถีชวี ติ ใหม่ รวมถงึ การจัด สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมีสขุ ภาวะทีด่ ี 2. ตัวชวี้ ดั ค่าเป้าหมาย ท่ี ตัวช้วี ดั หน่วย ค่า นบั เป้าหมาย 1. รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่เี ข้าร่วมกิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ สนับสนนุ ในการสร้างภูมิคุม้ กัน พร้อมรบั มอื การเปลย่ี นแปลงและภัยคกุ คามแบบใหมท่ ุกรปู แบบ รอ้ ยละ 85 2. รอ้ ยละของสถานศึกษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ไดร้ ับ ร้อยละ 80 การพฒั นาการจัดการศึกษาตามบรบิ ท 80 3 ร้อยละของครูบุคลากรทางการศึกษาดาเนินการตามแนวทาง ในการจัดการภัย ร้อยละ 80 พบิ ตั ิ และภัยคุกคามทุกรูปแบบใหส้ ามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้า รองรับวถิ ชี ีวติ ใหม่ (New Normal) 4 ร้อยละของสถานศึกษาที่มแี ผน/มาตรการในการจัดการภยั พิบตั ิ ภยั คกุ คามทุก รอ้ ยละ รูปแบบ โรคอบุ ัติใหม่และโรคอุบตั ซิ า้ รองรับวถิ ชี ีวติ ใหม่ (New Normal) 5 ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจเรอ่ื งการจดั ระบบความ ร้อยละ 80 ปลอดภัยต่าง ๆ สามารถนาความรู้ ไปถา่ ยทอดสโู่ รงเรียนได้

42 3. รายละเอยี ดตัวช้ีวดั รายละเอยี ด ประเด็น ตวั ชีว้ ดั 1 รอ้ ยละของผูเ้ รียนทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรมทสี่ ่งเสริมสนับสนนุ ในการสร้างภมู ิค้มุ กัน พร้อมรบั มอื การ เปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามแบบใหม่ ทุกรูปแบบ ค่าเปูาหมาย รอ้ ยละ 85 คาอธิบาย 1. ผู้เรียน หมายถงึ นกั เรยี นในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ขอ้ มลู ท่ีใช้ 2. รูปแบบภยั คกุ คาม ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพตดิ ภยั ความรนุ แรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สนิ การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติตา่ งๆ อุบัตเิ หตุ โรคอบุ ัติใหม่ (โควิด-19) ฝนุ PM วิธีการ 2.5 วิเคราะห์ 3.จานวนนกั เรียนเข้าร่วมกิจกรรมการสร้างภมู ิคุ้มกันและปูองกันการเขา้ ไปเกยี่ วข้องกับยาเสพ ขอ้ มลู ตดิ และภยั คุกคามทุกรูปแบบ และเข้าร่วมโครงการตามมาตรฐานโรงเรยี นความปลอดภัย แหล่งขอ้ มลู A จานวนผู้เรยี นที่เข้ารว่ มกจิ กรรมทสี่ ่งเสริมสนบั สนนุ ในการสร้างภมู คิ ุ้มกนั พรอ้ มรับมือกับการ เปลีย่ นแปลงและภยั คุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ B จานวนผเู้ รยี นในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานทั้งหมด (A / B) * 100 ฉก.ชน. ตวั ชีว้ ดั 2 ร้อยละของสถานศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดน ภาคใตไ้ ดร้ ับ การ ค่าเปูาหมาย พัฒนาการจดั การศึกษาตามบรบิ ท คาอธบิ าย รอ้ ยละ 80 ขอ้ มลู ที่ใช้ 1.สถานศกึ ษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ หมายถึง สถานศกึ ษาทตี่ ้งั อยู่ในเขตพัฒนาพเิ ศษ เฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ซง่ึ ตง้ั อยูใ่ นจงั หวัดยะลา จังหวัดปตั ตานี จังหวดั นราธิวาส จังหวดั สตูลและส่อี าเภอจังหวัดสงขลา ไดแ้ ก่อาเภอจะนะ อาเภอนาทวี อาเภอสะบา้ ย้อยและ อาเภอเทพา 2. การไดก้ ารพฒั นาการจัดการศึกษา หมายถงึ การได้รับการจดั โอนสรร งบประมาณตาม พระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 A จานวนสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดน ภาคใต้ได้รับการพัฒนาการ จดั การศึกษาตามบริบท B จานวนสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

43 ประเด็น รายละเอยี ด วธิ ีการวเิ คราะห์ (A / B) * 100 ข้อมลู แหลง่ ข้อมลู สพก.จชต. ตวั ชี้วัด 3 ร้อยละของครูบคุ ลากรทางการศึกษา ดาเนนิ การตามแนวทางในการจดั การภัยพบิ ตั ิและภยั คุกคามทุกรูปแบบ ให้สามารถปรบั ตวั ตอ่ โรคอุบตั ิใหม่และโรคอบุ ัติซ้า รองรบั วิถีชวี ิตใหม่ (NEW NORMAL) ค่าเปาู หมาย ร้อยละ 80 คาอธิบาย 1. รปู แบบภยั คุกคาม ได้แก่ ภยั ยาเสพตดิ ภยั ความรนุ แรง การคุกคามในชีวติ และทรพั ย์สนิ การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภยั พบิ ัตติ ่างๆ อบุ ตั ิเหตุโรคอุบัติใหม่ (โควดิ -19) ฝนุ PM 2.5 2. แนวทางในการจดั การภัยพิบัตไิ ด้แก่ .... ขอ้ มลู ท่ีใช้ A จานวนครบู คุ ลากรทางการศกึ ษาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพตามแนวทางการจัดการ ภยั พบิ ตั ิและภัยคุกคามทุกรปู แบบ ให้เกิดการเสรมิ สร้างภมู ิคุ้มกนั และสามารถปรับตัวต่อโรค อุบัติซา้ รับรองวถิ ีชีวิตใหม่ (NEW NORMAL) B จานวนครูบุคลากรทางการศึกษาสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน วิธกี ารวิเคราะห์ (A / B) * 100 ข้อมลู แหล่งข้อมูล ฉก.ชน. / ฉก.คส. ตวั ช้ีวดั 4 รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการในการจัดการภัยพิบตั ภิ ยั คุกคามทุกรูปแบบ โรค อบุ ัตใิ หม่และโรคอบุ ตั ซิ ้า รองรบั วิถชี ีวิตใหม่ (NEW NORMAL) ค่าเปูาหมาย ร้อยละ 80 คาอธิบาย 1. รปู แบบภัยคุกคาม ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพตดิ ภัยความรนุ แรง การคุกคามในชวี ิต และทรพั ย์สนิ การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบตั ติ ่างๆ อบุ ัติเหตุโรคอุบตั ิใหม่ (โควิด-19) ฝนุ PM 2.5 ข้อมูลท่ีใช้ A สถานศึกษามีการจดั ทาแผนเพื่อรับรองมาตรการการจดั การภยั คกุ คามทุกรูปแบบเพอ่ื ให้ นกั เรียนได้รับการสร้างภูมคิ ุ้มกนั และปูองกนั ภัยคุกคามทุกรูปแบบ B จานวนสถานศกึ ษาในสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook