Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เงื่อนเชือก

เงื่อนเชือก

Published by สิทธาทร สครรัมย์, 2022-06-23 06:59:40

Description: เงื่อนเชือก

Search

Read the Text Version

คมู ือการฝกอบรมผูบ ังคับบญั ชาลกู เสอื เรอื่ ง เง่อื นเชอื ก สาํ นกั ลูกเสือ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2 สารบัญ เรอื่ ง หนา บทท่ี 1 การจัดคา ยพกั แรม บทที่ 2 ประวัตเิ ง่อื นเชอื ก บทท่ี 3 เชอื กและการเก็บรกั ษา บทท่ี 4 เงือ่ นเชอื ก ๑ - การฟน เชือก - การพนั หวั เชือก - การแทงเชือก - ปมปลายเชือก (STOPPER KNOTS) บทที่ 5 เง่ือนเชอื ก ๒ - เงอ่ื นประเภทผกู ดวยเชอื กเสน เดยี ว - เง่อื นประเภทผกู ดว ยเชือกเสนเดยี วประเภทบวง - เง่ือนประเภทผูกดว ยเชือกสองเสน ประเภทตอ เชือก บทท่ี 6 เง่อื นเชอื ก ๓ - เงือ่ นประเภทผูกกบั วตั ถุ - การทาํ โมเดลตามรปู แบบทก่ี าํ หนดให บทท่ี 7 การจดั ทาํ และการใชส่ือการสอน บทท่ี 8 เงือ่ นเชอื ก ๔ - เงอื่ นประเภทผูกแนน บทท่ี 9 เงอ่ื นกับงานบกุ เบิก บทท่ี 10 การสรางงานบุกเบกิ ประยกุ ตใ นเวลากลางคืน บทท่ี 11 เงือ่ นเชอื ก ๖ - เคร่ืองผอ นแรง - สมอบกประเภทตาง ๆ บทท่ี 12 การสรางงานบกุ เบิก บทที่ 13 เงอ่ื นเชอื ก ๕เงอื่ นพิเศษ - วอกเกิล 4 เหล่ียม - วอกเกิล 5 เหลย่ี ม - วอกเกิล 7 เหล่ียม - การถกั สายยงยศ - สายยงยศลกู เสือสามญั รนุ ใหญ - สายยงยศเนตรนารี - สายยงยศลูกเสือสามัญ - สายนกหวดี - บันไดเชือก

3 บทที่ 1 การจดั คา ยพกั แรม วธิ ปี ฏบิ ัตเิ มอื่ ถึงคา ยพักแรม การเลือกที่ต้ังคา ยพักแรมเปน เร่ืองสาํ คญั เน่อื งจากอาจจะมฝี นจก ฟา คะนอง มพี ายุ ลมพดั แรง หรือภยั จากธรรมชาตอิ นื่ ๆ ตอ งคํานึงถงึ ลกั ษณะพ้ืนท่ีใหม าก ๆ หากเปน ท่ีลมุ ฝนตกน้ํา จะขัง เปน ตน เปน เรือ่ งทีค่ วรคํานึง 1. สถานทท่ี เี่ หมาะกบั การตง้ั คาย สถานทท่ี ีเ่ หมาะกบั การตง้ั คา ยควรมีลกั ษณะดังตอไปน้ี 1. ควรเปนทาํ เลท่เี หมาะอยใู นท่โี ลง มีเน้อื ทพี่ อทีจ่ ะฝกลกู เสือได 2. หา งไกลจากหมบู า นพอประมาณ เพื่อกนั คาํ ครหานนิ ทาจากชาวบา น เนอ่ื งจากลูกเสือตองมี กจิ กรรมในเวลากลางคืน อาจสรา งความราํ คาญหรอื รบกวนชาวบาน แตช าวบา นมาชมกิจกรรมได 3. มีทวิ ทัศนท ี่สวยงาม มตี นไมใ หค วามรม เยน็ พอสมควร 4. มสี ถานีอนามยั โรงพยาบาล ไมไกลจนเกนิ ไป ท้ังนเี้ มือ่ ลูกเสือเจบ็ ปว ยหรอื มอี บุ ัตเิ หตจุ ะได นาํ สง ไดส ะดวก 5. หา งจากตลาดพอสมควร ในระยะทเ่ี ดนิ ไปซ้อื อปุ กรณห รือเสบียงอาหารได แตไมไ กลจนเกนิ ไป เพือ่ ปองกนั ลกู เสอื ออกไปซอ้ื ของทไี่ มจ าํ เปน หรอื ของกนิ ท่ไี มเ หมาะสมทาํ ใหเ สีย สขุ ภาพและไมมีประโยชน 6. หา งจากถนนใหญ ทางรถไฟ หรอื ถนนทม่ี ยี วดยานพาหนะผานมาก ๆ เพอื่ ปอ งกันมิใหเกดิ อุบตั เิ หตทุ างรถไฟ หรอื รถยนต 7. ควรเปนทที มี่ นี ้าํ ดมื่ นาํ้ ใชพ อเพยี ง และตองเปน นาํ้ ทสี่ ะอาด หา งจากลาํ ธาร หว ยหนอง คลอง บึง ทะเลพอประมาณเพื่ออาศัยนา้ํ แตเ พอื่ มิใหลูกเสือไดล งเลน นาํ้ ไดส ะดวกอาจเกดิ อุบติ ิเหตุได และการท่มี แี หลงนํ้า จะไดทาํ กิจกรรมทางนา้ํ ไดด วย 8. อยบู นดอน เวลามฝี นตกสามารถระบายนาํ้ ออกไดอ ยา งรวดเร็ว ไมมนี า้ํ ขังอยูบ ริเวณในคาย 9. สถานทคี่ วรเปน ดนิ ปนทราย เวลาเทนาํ้ ลงไปจะไดดูดซมึ ลงไปอยา งรวดเรว็ ไมค วรเลือกบรเิ วณ ทเ่ี ปน ดนิ เหนยี ว เพราะฝนตกน้าํ จะซมึ ลงใตพ ื้นชา จะทําใหบ ริเวณทพ่ี ักเปนโคลน 10. ไมใ กลตนไมใ หญ หรอื อยูใตตนไมใหญ เม่ือเวลามฝี นตกนา้ํ ฝนจะไหลจากใบไมล งสเู ตน็ ท ทาํ ให เตน็ ทเปย กเปน เวลานาน และอาจไดรบั อนั ตรายจากฟา ผาหรอื พายพุ ดั หักโคนลงมาทับเต็นทได 11. เปนปา ละเมาะเต้ีย ๆ หรอื อยใู กลป า ไม สามารถหาฟน มาทําเช้ือเพลิงในการหงุ อาหาร หรือตดั ไมม าทาํ เพงิ พกั สวนใบใชม งุ หลงั คาได และสามารถใชเปนสถานทปี่ ฏบิ ัติกิจกรรมได เชน การสรางฐานผจญภัย สรา งสะพาน และทําอปุ กรณที่จําเปน เชน สรางสวม ทําท่คี วาํ่ จาน ทําราวตากผา ทาํ รัว้ คา ย เปน ตน 12. ควรพจิ ารณาทศิ ทางลมในการกางเตน็ ท ภพยายามใหด านขา งของเต็นทห นั เขา หาลม

4 2. การวางผังบรเิ วณท่ีตงั้ คา ยพกั แรม เมื่อลูกเสือเดนิ ทางมาถงึ สถานท่ีต้ังคายพกั แรม นายหมูส่ังใหล กู เสือทุกคนนําอปุ กรณเ ครือ่ ง ใชม ามาวางกองรวมกนั ไวเปน หมู แลววางผังเตน ทท ี่พกั ซง่ึ นายหมลู ูกเสอื ไดเคยดสู ถานทีจ่ ากแผนทท่ี ่ี ติดประกาศไวท ่ตี ง้ั กองแลว ถายงั ไมเคยดเู ลย จะตองเลอื กทแ่ี ละวางผงั สําหรับตง้ั เตน็ ทในขณะนนั้ ขอ เสนอแนะในการวางผัง 1. ใหแ ตละหมตู ง้ั เต็นทท พ่ี กั ของตนเองอยาใหใกลกนั จนเกนิ ไป ถา คิดวา ฝนจะตกใหข ดุ รางระบายนาํ้ ดวย 2. เตน็ ทของผูบ งั คบั บัญชาลูกเสืออยูตรงกลาง (เตน็ ทห มูลกู เสืออยรู อบๆ เปน ครงึ่ วงกลมหรอื รูปเกือกมา รูปสเ่ี หล่ยี มก็ได) 3. ตัง้ เสาธงประจําคาย และสถานทช่ี ุมนุมรอบกองไฟ 4. ตงั้ ทท่ี ําครัวของหมใู หอยูใกลก บั ทพ่ี กั ของหมนู น้ั ๆ ควรใชพ นื้ ทที่ าํ ครวั ประมาณหมลู ะ 3 - 4 ตารางเมตร สว มควรจัดสรา งใหสะดวกทสี่ ดุ อยา อยูใ ตล ม และไมค วรใหใกลเ กนิ ไป กลางคืน ควรมีโคมไฟ หรอื ตะเกยี งแขวนไว 5 เต็นทเก็บวัสดอุ ุปกรณแ ละเตน็ ทพ ยาบาล ควรต้งั อยใู กลผ บู งั คับบัญชา 6. หลุมเทนา้ํ (หลมุ เปยก)หลมุ ทงิ้ ขยะ หรอื เศษอาหาร (หลมุ แหง) ควรอยใู ตล มและมฝี าปดดี 7. ท่ีลางภาชนะ จาน ชาม และน้ําสาํ หรบั ด่มื ควรอยใู กลเ ตน็ ทท พ่ี กั แตระวงั อยา ใหเ ปย กชื้น การดําเนินงานขัน้ ตอ ไป 1. ใหลูกเสอื แตละหมตู งั้ เตน็ ทก บั ที่ สวนผูบ งั คับบญั ชากางเตน็ ทท พี่ กั ของตนเองและเตน็ ทพ ยาบาล 2. ลกู เสือในหมูใหแ บง งานกนั ทํา เชน สรา งสว มพรอมดว ยฉากกน้ั ทาํ ทล่ี า งภา ชนะขดุ หลมุ เปยก หลุมแหง ทาํ ท่ปี กธงหมู กางเตน็ ทเ กบ็ วสั ดุ ทาํ ทค่ี วา่ํ จาน ทว่ี างแกว ท่แี ขวนหมวก ทาํ ทแ่ี ขวนอปุ กรณครวั เปน ตน 3. เม่ือลกู เสอื กางเต็นทเ สรจ็ แลว มอบหมายใหล ูกเสือขนพสั ดุอปุ กรณเ ขาท่ีและไปหาฟน หานา้ํ มาหุงตม ประกอบอาหาร ตวั อยา งการวางผงั บรเิ วณทีต่ ั้งคายพกั แรม

5 ตัวอยางการวางผังบรเิ วณที่ตงั้ คายพกั แรม

ตัวอยางการวางผังบรเิ วณที่ตง้ั คายพกั แรม 3. การสรา งสวมทีป่ สสาวะทีล่ า งมอื ทที่ าํ ครัว และอื่นๆ การสรา งสว ม ทป่ี ส สาวะ ทลี่ า งมอื ทท่ี ําครัว เปน ตน เปน ส่งิ จาํ เปน ตองจดั ทาํ ใหถกู ตอ ง ตามหลกั สุขาภิบาล และมจี ํานวนใหม ากพอกบั ความตอ งการตอ จาํ นวนลูกเสือที่ไปอยูคายพกั แรม สวม ควรขุดหลุมยาวประมาณ 1 เมตร กวาง ¼ เมตร ลึก ¼ เมตร ไมส าํ หรบั รองเทา ไมจาํ เปน ตอ งมี มี กระดาษชาํ ระและกองทรายอยูใกลๆหลมุ พรอมกับพลั่วสาํ หรับแซะทรายกลบเมื่อถา ยอุจจาระเสรจ็ มปี ูนขาวโรย เพื่อดบั กลิน่ มฉี ากกน้ั อาจจะทาํ ดว ยกงิ่ ไม หรือกน้ั ดวยผา ใบ ผาพลาสตกิ ความสงู ของฉากกน้ั สงู ประมาณ 6 ฟตุ ควรก้นั เปน ชอ งๆ สวมชนิดนส้ี รา งขน้ึ สาํ หรบั ลกู เสือใช 2 วนั ตอจาํ นวนลูกเสือ 10 คน

7 ลกั ษณะของสว ม ท่ปี สสาวะ ควรสรางใกลๆ สว ม ใหข ดุ ลกึ พอสมควร เอาหนิ หรือกรวดรองกนหลมุ แลว ขดุ รองระบายนา้ํ ปสสาวะใหมที ี่ไหลออกไปได หากใชห ลายวนั จะมีกลน่ิ เหม็นกก็ ลบดนิ แลว ทําใหม ทสี่ ําหรับลา งมอื ประกอบดว ยอา งนา้ํ ต้ังบนสามขา สามขาทาํ ดว ยไม ควรมที แี่ ขวนสบู และผา เช็ดมอื นา้ํ ท่ใี ชแลว ก็ เทลงหลุมเปย ก

8 ทีท่ าํ ครวั ควรสรา งใหม ขี อบเขตทําครวั โดยเฉพาะ ควรเลือกพนื้ ทจ่ี ะเปน เหตุใหพ ้นื ทเี่ สียหายนอยท่สี ดุ ถามี หญา ขึ้นอยูต อ งแซะหญา ออกใหติดดินหนาประมาณ 10 เซนตเิ มตร แลว จงึ ต้ังไฟ หญาท่แี ซะออกตอ ง รดนาํ้ ไว เมอ่ื สน้ิ สดุ การอยคู ายพกั แรมแลวใหปลูกหญา ไวท เ่ี ดิม หากขดุ หลมุ เปนเตา เมื่อเสร็จการอยูค าย ตอ งกลบเหมอื นเดิม เตาไฟ มีหลายแบบ เชน แบบขดุ เปน ราง แบบใชอ ิฐ หรอื กอนหินวางบนสามเสา แบบเตา ยนื หรือเตา ลอยจะทาํ แบบไหนกแ็ ลว แตค วามสะดวกในการประกอบอาหาร เตาไฟแบบตา งๆ

9 กองฟน ควรจัดฟนใหเ ปนระเบียบ อยูไมหางจากเตาไฟ ถา ฝนตกจะตองมหี ลงั คาดว ย ถา ใชเตาลอยก็เอา ฟนวางเรียงไวใ ตเ ตาใหเรียบรอ ย หลุมเปย ก ควรขดุ ขนาดลงั ใหญลึกพอสมควร ที่ปากหลมุ ใชกิ่งไมใบไมส านเปน แผงปด ใชใ สส าํ หรับเทน้าํ ท่ี ไมใ ชสิ่งตางๆ จะติดอยทู ีฝ่ าปด จะตอ งเปลย่ี นใบไมว นั ละคร้ัง เปน อยางนอ ย เอาเศษทตี่ ิดฝาปดไปเคาะเทในหลุม แหง หลุมแหง ควรขดุ อีกหลุมหนง่ึ ใกลๆ หลมุ เปยก เม่อื ทง้ิ เศษอาหารแลว จะตอ งเอาดนิ กลบ ถาเปน กระปอ งตองทบุ ใหแบน เมอื่ กลบดินแลว ตองเหยียบใหแ นน เพ่ือปอ งกนั สนุ ัขมาคุยเขย่ี หาอาหาร

10 ทป่ี ระกอบอาหารและที่รบั ประทานอาหาร ควรมีหลงั คากนั แดด กนั ฝุนละออง อาจใชผ าใบหรือสรา งเพงิ คลมุ ดว ยก่งิ ไม ใบไม โตะอาหาร และมา นง่ั จัดทาํ อยา งงายๆ เครอ่ื งใชอ ื่นๆ ท่คี วรจัด เชน ประตู และรว้ั ปา ยประกาศ ที่แขวนของใช ราวตากผา ตะเกยี งปา ที่วางรองเทา ท่ี นง่ั พักผอ น ท่เี กบ็ มีด ที่เก็บกระบอกนาํ้ ทคี่ วํา่ จาน ท่ีเกบ็ ชอน ทเ่ี กบ็ ถงั นา้ํ ท่เี ก็บกะละมัง ทาํ ไมแ ขวนเสอ้ื และอืน่ ๆ ที่จาํ เปน ตองจดั ทําขนึ้ 4. การอาบนาํ้ หากจาํ เปน จะตองลงไปอาบน้าํ ในแมน าํ้ ลําคลอง หนอง บงึ หรือสระนํ้า นายหมจู ะตอ งสํารวจ เสียกอนวา 1. ภายในหมมู ีผวู ายน้าํ เปนกคี่ น คนวา ยนาํ้ ไมเ ปนไมอนุญาตใหลงอาบนาํ้ ใหตดั ขนึ้ มาอาบบนฝง 2. บรเิ วณนน้ั มตี อไมใตน ํ้า หรอื มสี ตั วท ีเ่ ปน อนั ตรายหรอื ไม 3. บริเวณนน้ั นา้ํ ลกึ หรอื ไม ถา มตี องปกเสาเปน เขตอนั ตรายไวและหา มออกไป 4. บริเวณท่เี ราจะลงอาบนา้ํ ตลิง่ จะพงั หรือไม ถา หากจะทําใหตลงิ่ พงั ลงไดจ ะตอ งระมัดระวัง ปอ งกันอนั ตราย นอกจากน้ี หา มทกุ คนดาํ นา้ํ เพราะมองไมเหน็ อาจนกึ วา เขาดาํ อยูเรอ่ื ยๆ ท่ีแทเ ขาจมนํ้าไปแลว และนายหมตู อ งเปน ผูอาบนาํ้ หลงั สุด จะตอ งคอยดวู าเขาลงอาบก่ีคน ขึ้นมาครบหรอื ไม 5. การทต่ี อ งกระทาํ ใหข ณะอยคู า ยพักแรม 1. ตองมกี องรักษาการณ จัดเวรยาม 2. จัดหนว ยบริการ ทาํ ความสะอาดรกั ษาสถานที่ใชรว มกนั เชน สว ม หอ งนา้ํ สถานทอี่ บรม สานมฝก

11 3. ตรวจชือ่ ตอนเชา เมื่อทราบจาํ นวน และตรวจความทุกขส ุขของลกู เสอื 4. สรางเครอ่ื งใชข นึ้ ใชใ นขณะท่ีอยคู ายพักแรม 6. หนาท่ยี ามรกั ษาการณ 1. รักษาทางเขาออกในบรเิ วณคา ยพกั แรม 2. ทําสญั ญาบอกฝา ย – รหัสประจําวนั 3. คอยใหส ญั ญาณโมงยาม และบอกภัยใหท ราบ 4. ลงบนั ทกึ รายวนั และเหตุการณประจําวนั 5. ใครออกนอกบริเวณ จะตอ งไดรบั อนญุ าตกลับมาตอ งรายงานใหท ราบ 7. การปฏบิ ตั ใิ นเรือ่ งอนามยั 1. ดม่ื น้าํ แตเ ฉพาะท่กี าํ หนดให 2. ถายอุจจาระ ปส สาวะ ในคา ยตามทกี่ าํ หนด ไมถา ยปสสาวะใกลก ระโจมหรอื เตนทท ีพ่ กั 3. ระวังรักษาสขุ ภาพ นอนแตห วั คา่ํ ตามเวลาท่ีกาํ หนด เวลานอนตองมผี าปด หนาอก และระวัง อยาใหลมโกรก 4. รอใหเหง่ือแหง จึงอาบนาํ้ 5. ในทพ่ี ัก ตองสวมเสอื้ และหมวกตลอดเวลา เพราะรอน 6. ภายในเตน ท และบรเิ วณทพี่ ัก ตองสะอาด 7. อยา นอนบนหญาทม่ี กี ลน่ิ ผดิ ปกติ 8. ควรมใี บไมปรู องนอน เอาผา ปูนอนปทู ับ 9. กลางวันตอ งเปด เตนทใหอากาศผา น แสงแดดสองเขาไปไดตามสมควร 10. อยา นอนกลางแดดหรอื นอนในเตน ท เวลาแดดรอ นจะเปนไข 11. อยา อาบน้าํ ในเวลาแดดรอนจดั 8. การประกอบอาหารขณะอยคู ายพักแรม การประกอบอาหาร (ปรุงอาหาร) หมายถงึ การทาํ อาหารตางๆ ใหน ารบั ประทาน มรี สอรอ ยซงี่ รวมถงึ การประกอบอาหารโดยใชความรอน ซง่ึ กระทาํ ไดห ลายวิธี เชน หงุ นง่ึ ลวก ตม ตนุ ผดั เผา ปง เปน ตน และการประกอบอาหารจะตองคํานึงถงึ การรกั ษาคณุ คา ทางอาหารดว ย ตลอดจนความสะอาดดวย จะใชว ิธกี ารใดๆ ประเภทอาหารนนั้ ตองประกอบดว ยปจ จยั หลาย ๆ อยาง เชน อปุ กรณท ่ีใชชนดิ ของอาหาร สถานท่ี เปน ตน การประกอบอาหาร แบง เปน ประเภทใหญๆ มี 2 ประเภท 1. การประกอบอาหารตามปกติในครัวเรอื น ซงึ่ เปน การปรุงอาหารทส่ี ะดวกและงา ย เพราะมี อปุ กรณพรอมอยูแลว สามารถประกอบไดส ะดวกสบายและถูกหลกั อนามยั 2. การประกอบอาหารในขณะอยคู า ยพักแรม เปนการประกอบอาหารแบบชาวปา ไมม เี ครอ่ื งมอื เครอื่ งใชครบทกุ อยา ง จําเปน ตองหาสงิ่ ทีม่ ตี ามธรรมชาตมิ าชว ย เชน ใชเตาหลมุ เตาสามเสา เตารางแทน เตาไฟท่ี ถาวร ใชมะพราวออ น หรือกระบอกไมไผแทนหมอ ขา ว ใชด นิ พอกแทนการปง การทอด หรอื การตม

12 บทท่ี 2 ประวตั ิการผลิตเชือกและการผูกเง่อื น ยอนกลบั ไปในอดตี กาล การผกู เง่ือนและการผลติ เชอื ก ไดม ีบทบาทสาํ คัญตอ การดําเนนิ ชวี ิตของมนษุ ย เปนอยา งมาก เนือ่ งจากมนษุ ยม ีความจาํ เปนจะตองใชเ ชอื กในกิจกรรมตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยง่ิ การใชเชอื กเพอ่ื ดึง ลาก หรอื ปอ งกนั ดังนน้ั จงึ คาดวา มนษุ ยนา จะรูจ กั วธิ ใี นการผกู เงอื่ นบางเงอื่ นมาตงั้ แตโ บราณแลว จากขอ มลู ทางประวตั ศิ าสตรไดชว้ี า เชอื กในยคุ แรก ๆ นนั้ ทํามาจากเถาวลั ย เสน ใยทมี่ ลี กั ษณะคลา ยเชอื ก จากพชื และหนังสตั ว แตต อมาเชือกทที่ าํ มาจากเถาวัลย หนงั สตั ว และเสนใยพชื ไมส ามารถตอบสนองความ ตองการของมนษุ ยได ดงั นน้ั คนจงึ รูจกั ใชว ธิ กี ารสาน ถกั และพันเสน ใยใหเปน เกลียว เพอ่ื เพมิ่ ความยาวและความ แข็งแรงของเชอื ก จากบนั ทกึ ขอมูลนไี้ ดชี้ใหเหน็ วา อาณาจกั รทเ่ี จรญิ รงุ เรืองตา ง ๆ ในยุคโบราณประสบความสาํ เรจ็ ในการ ผลติ เชอื ก เชน เดียวกบั ชนเผา ปาเถ่ือนตา ง ๆ บนโลก ซงึ่ รจู ักใชวัสดทุ ง่ี ายตอการนาํ มาทําเปน เชือก เชนเสน ใยจาก พชื บางชนิด ผวิ หนงั และเอน็ สตั วรวมถงึ ขนและเสนผมของคนและสัตว ตวั อยา งของเชอื กทพ่ี บภายในสุสานตาง ๆ เปนฝม อื การทําของคนอยี ปิ ตใ นยคุ ตน ซง่ึ ทาํ มาจากปา น Papyrus และหนงั ทยี่ ังไมไดฟ อก และมอี ายรุ าว 3500 ป ในขณะทโี่ ดยทั่วไปจะเปน ทร่ี ูจักกันอยา งแพรห ลายวา ได เรม่ิ มกี ารผลติ เชือกในประเทศจนี ต้งั แตสมยั โบราณ มนุษยใ นระยะสุดทายของยคุ หินไดเ ร่ิมมกี ารผลติ เชือกและผกู เปน เงอื่ นงา ย ๆ มนษุ ยยุคหนิ ทอี่ าศัยใน บรเิ วณทะเลสาบและชาวเผา อนิ คาในประเทศเปรู ไดใชเ ง่อื นพริ อดในการทาํ ตาขา ย นอกจากนชี้ นเผา อินคายังได มรี ะบบเลขทศนยิ ม โดยอาศยั รากฐานของการผูกเงอ่ื นทผ่ี กู เปน ปมตา ง ๆ โดยท่ีตําแหนง ตา ง ๆ ของปมจะแสดงถงึ เลขฐานตา ง ๆ ในระบบทศนยิ ม ส่ิงทนี่ า สนใจตา ง ๆ ของชนเผา อินคาได รวมถงึ Quipus หรือบันทึกเง่อื น ไดแ สดงใหเหน็ ถงึ การพยายามสรางเง่อื นตาง ๆ เพอื่ พฒั นาเลขระบบ ทศนยิ ม ซง่ึ การสรา งปมตา ง ๆ สามารถใชเ ปน สัญลักษณแทนคา การบวกทมี่ ีจาํ นวนมากหรือเพ่อื ใช ในการคํานวณคา ทางคณิตศาสตรท ่ียากแตยังไมมีการ รบั รองแนชดั ในขอสนั นิษฐานน้ี การผูกเง่อื นของชน เผาน้โี ดยสว นมากจะมีลกั ษณะดงั น้ี คอื การนาํ เชอื กจาํ นวนมากมาผูกตดิ กบั แกนเชอื กในแนวนอนท่เี รยี กวา Quipus ซ่ึงในแตละเสน แนวด่งิ จะมกี ารผูกเงือ่ นไวซ ่ึงเงื่อนตายหนง่ึ ปม จะแสดงสญั ลักษณหนงึ่ เง่อื นบวงสายธนู สองทบ จะแสดงสญั ลักษณส อง ดงั น้ีไปเรอ่ื ย ๆ จนถงึ เกา ดังรปู เงอ่ื นจาํ นวนตาง ๆ ทปี่ ลายสดุ ของเชือกแสดงถึง ตาํ แหนง ของหลักหนว ย ถัดขนึ้ ไปเปนหลักสบิ หลักรอ ย และหลกั พันตามลําดบั นอกจากนี้ ตงั้ แตมกี ารผลิตเชอื กสี ขนึ้ ไดมกี ารนาํ เชือกสีมาใชใ นการบนั ทกึ สง่ิ ตาง ๆ ท่เี กดิ ขึ้น กอนทจี่ ะมีประดษิ ฐต วั อักษรขึน้ เชน การบนั ทึก ทางดา นดาราศาสตร รวมถงึ การบนั ทกึ จาํ นวนแกะของคนเลี้ยงแกะในประเทศเปรแู ละจีน ซงึ่ หลกั ฐาน Quipus ได

13 จัดแสดงอยใู น American Museum of National History และ The Museum of the American Indian ในรฐั New York คนอยี ปิ ตและเปอรเ ซยี ไดม ีการนําเชอื กและการผกู เงอ่ื นมาใชในการสรา งสะพานและการเดนิ เรือ เชอื กได มีบทบาทสาํ คัญอยางมากในเหตกุ ารณตา ง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ ในประวตั ศิ าสตร ในชว งสมยั สงครามการรุกรานของกรกี (480 ปกอนคริสตการ) Xerxes ไดเดนิ ขบวนทัพนําเหลา ทหารขาม Heliport โดยใชเรือหลายลาํ เปน สะพานขาม ซ่งึ ใชเ ชอื กขนาดใหญผกู ยึดเรอื ทกุ ลาํ ไวด ว ยกนั จากฝง หนงึ่ ไปยังอกี ฝง หนึง่ ซงึ่ เชอื กเหลา น้ที าํ มาจากปา น และ Papyrus มีขนาดของเสน รอบวง 28 นว้ิ จากบนั ทกึ ทางประวัติศาสตรในยุคสมัยกรกี และโรมนั ตอนตน ไดมกี ารคน พบหลักฐานในการใชเชือก มากมาย เชน ภาพทสี่ ลกั อยบู นประตูชยั (Triumphal arch) ทีเ่ มือง Orange (ป ค.ศ. 41) และใน bas-relief มี รูปมว นเชือก มลู ่ี และสมอเรืออยู นอกจากน้ียงั มหี ลกั ฐานแสดงการใชเชอื กในยุคตน คอื ภาพวาดบนถว ยนาํ้ ภายใน British Museum ซึง่ เปน ภาพของการเดนิ เรือ Attic ทม่ี ีการใชเชอื กผูกยึดใบเรือในสมยั ศตวรรษท่ี 6 ชนเผาอนิ เดยี แดงในทวีป อเมริกาเหนอื ไดมีการทาํ เชือกและเง่ือน ตา ง ๆ เพ่ือใชในการบนั ทกึ วนั ซึ นอกจากนนี้ ักเดินเรือชาวเผา Nootka และ Clayoquot ในแถบบริเวณเกาะ Vancouver และบริเวณชายฝงของรฐั Washington ไดนาํ เชอื กมาใชใ นการลา ปลาวาฬโดยใชก ่งิ ตน สนจาํ พวก Cedrus มาถกั เปนเชอื กสามเกลยี ว ซง่ึ มี เสน รอบวงประมาณ 4-5นิ้ว หนง่ึ ในจาํ นวนเชอื กเหลา นมี้ คี วามยาว 1200 ฟตุ และไดมีการใช lanyard ที่ทํามาจากเสน เอ็นของ ปลาวาฬโดยการถักเปน สามเกลียวเพอ่ื ตอกบั ฉมวก ยังไมเปน ที่แนช ดั วา ศิลปะของการผลติ เชอื กและการผกู เงือ่ นไดม ีการถายทอดจากคนกลมุ หนง่ึ ไปสคู นกลุมหนง่ึ โดยผา นทางเสน ทางการคา หรอื ความสมั พันธร ะหวา งกลมุ คนหรอื ไมแ ตก เ็ ปน ทีแ่ นช ดั วาเชือกไดม บี ทบาทสาํ คญั ตอการดําเนนิ ชวี ิตของมนษุ ยม าต้งั แตย ุคตน ๆ ในงานเขียนของ Cyrus Lawrence ท่ีมีชอ่ื วา “Sailors Knot” ไดม ี

14 การกลา วไวว า จากภาพถา ยของประตูทน่ี าํ ไปสแู ทน บชู าในสสุ านของ Tutakhamen ซึง่ มีเชือกท่ใี ชใ นการปดประตู อยู แตเ ชือกทผี่ กู ดวยเงอ่ื นลกั ษณะแปลก ๆ และไมน าจะใชไ ดผ ลเทา ท่คี วร ซงึ่ เปน ผลงานของชาวอยี ปิ ตทไ่ี มใชน ัก เดนิ เรือ ดงั นนั้ จงึ แสดงใหเ หน็ วา ววิ ฒั นการของการใชเ ชอื กและการผูกเงื่อนของนกั เดินเรอื ชาวอยี ปิ ตนัน้ สงู กวา เปน ท่ีแปลวาในบรรดาภาพวาดและผลงานทางศลิ ปะตาง ๆ ในสมยั อยี ปิ ตตอนตน กรกี และโรมนั ไมได แสดงภาพของการใชเงื่อนในจดุ ทค่ี นในยคุ ปจ จบุ ันใชก นั เชน สายผกู เอวและสายลากสตั ว ซงึ่ มีแตเชอื กท่ีคลองกัน เปน วงเทา น้นั จากสาเหตุนน้ี กั ประวัตศิ าสตรไดใหเหตุผลวาเปน ความเช่อื ทีม่ ีตอสง่ิ เหนอื ธรรมชาติ และศาสนา ที่วา ถานักวาดรูปวาดภาพเงอ่ื นหรอื ปมท่ไี มส ามารถคลายได จะนาํ ภยั พบิ ัติมาสูคนหรือสัตวในภาพวาดนนั้ ถงึ แมน กั ประวตั ศิ าสตรจะใหเ หตผุ ลการไมป รากฎภาพของเงอ่ื นในบรรดาภาพวาดทคี่ วรจะมปี มหรอื เงือ่ น อยู ซงึ่ ในความเปน จรงิ แลว จิตรกรในสมยั โบราณใหค วามสาํ คญั กบั รายละเอยี ดของภาพวาดของตน แตก ไ็ มมี หลักฐานแนชดั วา สาเหตทุ ี่แทจรงิ น้ันมาจากเจตนาของจติ รกรในการไมวาดภาพปมและเงอื่ นตา ง ๆ หรอื ไม ในตํานานทางประวัตศิ าสตร ไดแ สดงใหเ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ลของเชอื กและเงอ่ื นท่ีมตี อ การไดมาซึง่ อาณาจักร ตาง ๆ ยกตัวอยา งเชน ตาํ นานทางประวัตศิ าสตรข องพระเจาอเลก็ ศานเดอรมหาราช (Alexander the Great)

15 บทที่ 3 เชือกและการเก็บรักษา

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28 บทท่ี 4 เงือ่ นเชือก เงอื่ นเชือก 1 การฟนเชอื ก (The Construction of Ropes) ประกอบดว ยโครงสรา งดังนี้ การฟน เชือก 1. เชอื กเกลียวสามเสน (Three Strands Rope หรอื A Hawser – liad Rope) เปนเชือกขนาดเล็กทป่ี ระกอบดว ยเกลยี วเชอื ก 3 เกลยี ว ฟน รวมเปน เชอื กเสนเดียว เกลยี วคลน่ื จากซา ยไปขวา (รปู 1) 2. เชอื กเกลียวส่เี สน (Four Strands Rope หรือ A Shroud – liad Rope) เปน เชือกเกลยี วขนาดใหญก วาชนดิ แรก ประกอบดว ยเกลียวเชอื กสเ่ี กลยี วฟน รวมเปน เสน เดียว เกลยี วเชอื กคล่ี ออกไปทางขวามอื และมีเกลียวเชือกเสน หนงึ่ อยูตรงกลาง ทาํ หนา ที่คลายแกนเชอื ก (รูปที่ 2) 3. เชอื กขนาดใหญ หรอื เรยี กวา เชือกเกลยี วเกา เสน หรือเชอื กเคเบลิ (A Cable – laid Rope) ประกอบดว ยเชือก 3 เกลียว (Hawser – liad Rope) จาํ นวน 3 เสน ฟน รวมกนั เปน เสนเดยี ว เกลยี ว เชอื กไป ทางซายมือ (รูป 3 ) ใชเชือก 3 เกลยี ว มากกวา 3 เสนก็ได การฟนเชือก มีหลายวธิ ี 1. การฟนเชอื กดว ยนิ้วมือ ( To Make Cord By Spinning With the Fingers) การฟน ดวยนว้ิ สวนมากเปนการฟนเชือกขนาดเล็ก 2 เกลียว ฟนทวนเข็มนาฬิกาตามรูปใชมือขวาฟน เกลยี ว มือซายฟน เชือก ใหเ กลียวบิดรวมกัน (Laying up)

29 เชอื กที่ฟน เสร็จแลวเกลยี วเชือกทีด่ ีตอ งมีขนาดสมาํ่ เสมอกนั เกลียวเชอื กที่ไมดตี ัวเชอื กจะมขี นาดไมเทากัน ดังรูป 2. การฟน เชือกโดยใชเครื่องมือชว ย จะฟนก่ีเกลียวก็ได (setting up a rope walk) โดยเพ่ิมขอฟนเกลียว ( wide Hook) ตามจํานวนเกลียว เชน เชือก 3 เกลียวใชข อฟนเกลียว 3 ตัว เปนตน เคร่ืองมือฟน เชือกสาํ เรจ็ รูปทุกชนิ้ น้ี ทําดวยไมเนือ้ แข็ง มีความหนา 1 / 2 ขอฟน เกลยี วเชอื กทาํ ดว ยเหลก็

30 อุปกรณใ ชฟน เกลยี วเชือกประกอบดว ย 3 เกลยี ว 3 ร)ู 1. มือหมุนสําหรบั ฟน เกลียวเชือก (Handle) เจาะรูตามจํานวนเกลียวเชือก (สว นมาก 2. ขอสําหรบั คลอ งเชอื กฟน เกลียวเชอื ก (Hooks) 3. แผน ไมบังคบั เกลียวเชอื กฟน ( Rope Wrench 3- Strand ) 4. เคร่ืองมอื ทีจ่ ับรวบเกลยี วเชือกท่ฟี น เสรจ็ แลว (AWL) อปุ กรณฟ นเชือกอาจใชว สั ดธุ รรมชาติมาดดั แปลงก็ได เชน ใชกิ่งไม

31 สว นตา ง ๆ ของเชือก สว นตา ง ๆ ของเสน เชอื กท่ีใชใ นการผกู (Knots Bends และ Hitches) แบง เปน 3 สวน สวนตา ง ๆ ของเสน เชอื ก 1. สว นปลายเชอื ก (Running End) คือ สวนปลายของเสนเชอื กท่เี รานํามาใชง านผูกตอ 2. สวนตนเชอื ก (Bight หรอื Loop) เปนสวนท่ีอยตู อ ปลายเชือกเขา มา สามารถนํามาขด งอ ทาํ ใหเปนบว ง (Bight) ได 3. สว นของตวั เชือก (Standing part) เปน สวนยาวของตวั เชอื กทีต่ อ จากสว นที่ใชท ําบว ง หรือ ขด งอ หรือสว นของตัวเชือกทน่ี าํ มาผูกตดิ กบั วตั ถอุ ื่น ๆ ไมส ามารถนาํ มาใชประโยชนในการผูกไดอ กี (ดูรปู ที่ 4) บวง ( Bight หรือ Loop) มี 3 ประเภท Bight Running Standing End Partt Overhand Underhand Loop Loop

32 Overhand Knot 1. Overhand Loop คือ การขมวดปลายเชือก โดยใหปลายเชอื ก (Running End) ทบั กับตวั เชอื ก standing part) ดงั รูป 2. Underhand Loop คอื การขมวดปลายเชือก โดยใหป ลายเชือก (Running End) อยูใ ตต ัวเชอื ก (standing part) ดงั รูป การผกู เง่ือน เรารสู ึกวา มีสวนตางๆ ซบั ซอ นกนั ไมร จู กั หมดส้ิน และดยู งุ ยากมาก แตส ว นใหญเงอื น ตา ง ๆ ทีเ่ ราใชผ กู กัน ประกอบดวยพนื้ ฐานเบอ้ื งตนของการผูกเงอื น 3 ประการ (Three Basic Turn) ดังนี้ 1. Bight การทบสว นของปลายเชือกเขา หมาตัวเชอื ก หรือ บวงปลายเปด 2. Loop การขดปลายเชอื กใหเปน บวงปลายปด 3. Overhand หรือ Underhand คอื การขมวดปมเชือกเพอ่ื ผกู เงื่อน Bight Overhand Loop Underhand Loop A Bight หรือ Open Loop หรอื Simple Bight B Underhand Loop C Overhand Loop

33 การพนั เชือก การพนั เชอื กเพอ่ื ใชใ นการผกู เชือกตา ง ๆ ทีค่ วรทราบ Single Turn Round Turn Two Round Turn แสดงการขดพนั เชอื ก 1. Single Turn คอื การขดพนั เชอื กใหเปน วงกลม 1 รอบ (ดงั รปู ) 2. Round Turn คือ การขดพนั เชอื กใหเปนวงกลม 2 รอบ (ดงั รปู ) 3. Two Round Turn คอื การขดพนั เชือกใหเปน วงกลม 4 รอบ (ดังรูป)

34 การผูกเงอ่ื น (Knotting) จัดแบง ออกเปน หลายชนิด ตามลกั ษณะการผูก ไดแก 1. เง่อื นพวก Hitch เปน เงอ่ื นทีใ่ ชเชือกผูกกับวัตถตุ าง ๆ เชน ผกู กบั หลกั กับเสา และอนื่ ๆ เพอื่ การโยงยดึ ไดแ ก เงอื่ น กระหวดั ไม (Clove Hitch) 2. เงือ่ นพวก Bend เงอ่ื นขัดสมาธิ เปนเงือนท่ีใชเ ชือกเสนหนงึ่ ผกู ตอ กบั เชือกเสน อน่ื ๆหรอื ผูกกับหว ง ไดแ ก (Sheet Bend) ใชเ ชอื กเล็กผกู ตอกับเชอื กใหญก วา 3. เงื่อนพวก Knot คือ การผกู เงือ่ นในเชอื กเสน เดยี วกนั หรือ ตอ เชือกขนาดเดียวกนั เชน เง่ือนพริ อด (Reef Knot) เงือ่ นบว งคนกลาง (Middleman’s Knot) การพนั หัวเชอื ก (Whipping) เสน เชือกท่คี ดั ลอกมา ปลายเชอื กเก็บไมด จี ะคลายเกลยี วทาํ ใหเ ชือกใชงานไมไ ด ผใู ชจ ึง จาํ เปนตอ งพนั หวั เชอื กเพ่ือปอ งกันไมใหป ลายเชือก ( Running End) คลายเกลยี ว มหี ลายวิธี ดังน้ี 1. การพนั หวั เชอื กแบบงา ย ๆ (Simple Whipping) ก ขก ก ขข เอาเชือกเสน เล็ก ๆ ทบงอปลายเชือกขา งหนง่ึ เขาหาตัวเชือกใหปลายเชือก ก ยาวพอสมควร เอาตวั เชอื ก ข พันรอบปลายเชือกเกลยี วและทบั ปลายเชอื กเล็ก ใหป ลายเชอื กเล็กโผลเหนือสว นทพ่ี นั พอสมควร (จบั ดึงได) เม่ือ พันปลายเชอื กเกลียวไดก วา งพอประมาณ ยาวกวาเสน ผา ศนู ยกลางขนาดเชอื กเกลยี ว เอาปลายเชือก ข สอดเขา ไปในบว งของปลายเชือก ก,ข ทที่ บงอไว ดึงใหต งึ แลว จับปลายเชอื กดึงใหบว ง ก ข เขาไปอยกู ึ่งกลางเชอื กทพี่ นั แลว ตัดปลายเชือก ก,ข ออก

35 2. การพนั หัวเชอื กแบบชาวเรือ (Sail maker’s Whipping) เปน วธิ ีพนั หวั เชอื กทน่ี ิยมกนั มากในหมกู ลาสเี รือ ชาวประมง เพราะหนาแนนดี หลุดยาก ใช รอ ยรอกได เพราะปลายเชอื กไมมีปม กขค ง วิธีพนั กอ นอื่น เอาเชือกเกลยี วมาคล่ีเกลียวออก ใหย าวพอสมควร เอาเชอื กเลก็ ทจ่ี ะใชพ นั หัวเชอื ก ทบปลายขา งหนึง่ ใหเปนบว ง คลอ งเกลียวเชอื ก (X) ดงั รปู ก,ข เอาตวั เชอื ก ปลายดา นยาว พนั รอบตวั เชือกเหนือบว ง ใหห นาประมาณเทา กับความกวา งของขนาดเชือก แลว เอาบว งเชอื กเล็กไปคลอ งเกลียวเชอื ก แลว เอาบว งเชอื กเลก็ ยกขนึ้ ไปคลองเกลียวเชอื ก (X) ดึงปลายเชือกดา นสน้ั ใหบ วงรดั เชอื กทพี่ นั แนน ดังรูป ค ดงึ ปลาย เชือกทง้ั สองขา งทีเหลือผา นไปตามรอ งเกลยี วของแตล ะเสน แลวเอาปลายผกู ติด กันตรงกลางระหวา งเกลยี วเชอื ก ดว ยเงื่อนพิรอด ดังรปู ง ตัดปลายเชือกทพี่ ันท้งิ กลงึ เกลยี วใหแนน 3. การพนั หวั เชอื กโดยวธิ ีผูกมัดรอบหวั เชอื ก ( West Country Whipping) หรอื การพนั หวั เชอื กแบบชาวตะวันตก กข ค การพนั หัวเชอื กโดยวธิ ีมดั รอบตัวเชอื ก ง เอาเชือกเล็กที่จะใชพันปลายเชือกเกลียวทบครึ่ง เปนบวงคลองตัวเชือกท้ัง 2 ขาง ใหตึงผูกมัด เชือก ดังรปู ก,ข (Simple Thumb Knot) แลวดึงปลายเชือกท้ัง 2 ขางไปทาง ดานตรงขาม ผูกเชนเดียวกันแลว

36 กลับมาผูกดานหนาสลบั การผกู เชน นเ้ี รื่อยๆ จนไดข นาดกวาง เทากับขนาดของเชอื ก เอาปลายเชอื กผกู ดว ยเงอ่ื น พริ อด (Reef Knot) ดงั รูป ค,ง 4. พนั หวั เชือกดวยการซอนปลายเชอื กดว ยเขม็ เยบ็ (Palm And Needle Whipping) กข คง เอาเชอื กเลก็ ๆสอดเขา ไปในรูเข็ม เอาเขม็ แทงเขาไปตามเกลยี วเชือก ดงึ เชอื กออกใหเ หลือปลาย เชอื กไวย าวพอสมควร เอาเขม็ แทงสอดไปตามเกลียว ดงั รปู ก,ข,ค,ง แลวดึงใหต ึง สอดเชือกเกบ็ ซอ นไวในเชือก เกลียว การพนั แบบนี้ ทําใหเกลยี วเชอื กทแ่ี ตกหรอื แยกจะกลบั พนั กนั แนน และอยใู นสภาพดี แขง็ แรง คงทน เหมาะสาํ หรบั เชือกขนาดใหญ 5. การพนั หัวเชอื กแบบพันสอดปลายเชอื ก การพนั หวั เชือกแบบสอดปลายเชอื ก

37 6. การพนั ปลายเชอื กแบบไขวท ะแยง (Snaking Whipping) การพนั ปลายเชอื กแบบน้ี เหมาะสาํ หรบั เชอื กเกลียวขนาดใหญพ ันเสร็จแลวมีความหนาแนนและ สวยงาม ใชเข็มขนาดใหญรอยเชือกพัน พันรอบเสนเชือกขนาดหนาพอสมควร แลวเอาเข็มแทงสอดทแยงไขวไป มาดเู ปนเกลียวสวยงาม ชางไฟฟาใชพันเก็บสายไฟฟาในเคร่ืองใชไฟฟาท่ีมีสายไฟมากๆ แทนการใช Tape ปดพันซึ่งไม ทนทาน และไมเรียบรอย การแทงเชอื ก (Splices) ประโยชน 1. เพือ่ ใชต อ เชือกใหยาว 2. เพอื่ ทาํ บว งปลายเชือก 3. ถักปลายเชอื กปอ งกันปลายเชอื กลยุ หรือคลายเกลยี ว 1. การแทงเชอื กแบบตอ ส้ัน (Short Splice) 12 34 12 3

38 ใชตอ เชอื กท่ีมขี นาดเทา กนั และมีเกลียวจาํ นวนเทากัน ตอแลว ปมตอโตกวาขนาดเดิมเลก็ นอ ย ตอ แลวมี ความคงทนถาวรใชง านไดตามปกติ 2. แทงกลบั (Back Splice) 3 เปนวธิ เี ก็บรักษาปลายเชอื กขนานใหญ 1 2 มเี กลียวหนาใหญ ทําใหเชอื กแข็งแรง แต ปมปลายเชือกหนาสอดเขาไปในเรอื น รอกไมได จงึ เหมาะกบั การเก็บปลาย 45 6 เชอื กท่ีใช ลาก จูง ดึง ฉดุ Back Splice 8. Stopper Knot หมายถงึ การถกั ทาํ ปมเชือกท่ีปลายเชือกเกลียวขนาดใหญ เพ่ือปองกันเชือกคลายเกลยี วลุย มี หลายวิธี ไดแ ก 8.1 Single Wall Knot จ กข คง คล่เี กลยี วเชือกออกยาวพอสมควร จบั เชอื กดว ยมอื ซา ย (รปู ท่ี ก ) แยกปลายเชอื ก a,b,c จบั เชอื ก ตรงคอเกลยี วทีค่ ลี่ ใหปลายเชอื ก ช้ีขนึ้ สังเกตเกลียว (X) ตามรูปท่ี 1 จบั ปลายเกลยี ว a ดงึ ออ มลงมาทางใต เกลยี วที่คล่ีไว ผา นใตเ กลยี ว b ไปวางพาดไวเ หนอื เกลยี ว C เกดิ บว ง e จบั ปลายเกลียว b ออ มใตเ กลียว c จบั ปลายเกลียว c ออมปลายเกลียว b เอาปลาย c สอดเขาใตบ วง e ของเกลียว a ดึงปลาย เกลยี วทัง้ 3 ทําปมใหแ นน จับปลายเกลียวรวมไวดวยกนั เอาเชอื กเลก็ ๆพนั รอบมัดใหแนน

39 8.2 Double Wall Knot ใหถ กั ปลายเกลียวเชือกเชนเดียวกับ Single Wall Knot แลวเอาปลายเกลยี วเชือกถกั ตามเสน เดมิ อกี รอบหนงึ่ กจ็ ะไดป ม Double Wall Knot การถกั แบบนจ้ี ะไดป มเชอื กทใ่ี หญข้นึ ถักรอบสองคลายถกั สอดวอกเกิล (Woggle) โดยเอาปลายเชอื กเกลยี วของแตล ะเกลยี วแทงลงไปตามแนวเสน เดมิ อกี รอบหนง่ึ เสร็จ แลวดงึ เกลยี วใหแนน รวบปลายเกลยี วรวมกนั เอาเชือกเล็กๆ มัดใหแ นน ดังรูป การถักปลายเชือกกนั ลยุ 1. Crown Knot เปน การถักปลายเชือกกนั ลยุ เชนเดียวกนั แตเ รมิ่ ตน ดวยการถกั เกลยี วแบบแทงกลับ (Black Splice) ดงั รูป วิธถี กั คล่ีเกลยี วออกใหยาวพอสมควร โดยงอเรยี บ b ลงมา เอาปลายเกลียว c ทับปลายเกลียว b เอา ปลายเกลยี ว a ทบั ปลายเกลยี ว c แลว เอาปลาย b แทงเขาไปในบวงของปลาย แลว ดงึ ปลายเกลยี วทงั้ 3 ใหแ นน ขอ เสีย ปลายเชือกมปี ม ใชร อ ยรอกไมได 2 Double Crown Knot ถัก Crowning Knot แลว ถักซาํ้ ใตป มอกี รอบ ดึงปมใหแนนเอาปลายเชือกถักสอดอีกข้นั จะได Double – Double Crowning Knot

40 3. A Double Matthew Walker 4. เงือ่ นปุมเพชรชัน้ เดียว A Single Diamond Knot เมื่อถักเสรจ็ ดังรปู 2 ดงึ ปลายเชอื กท้งั 3 ข้ึงขางบน รูป 3 ถักช้ันเดียว รูป 4สอดขัด 2 ช้ันคลายวอก เกลิ เสร็จแลวดึงปลายเกลียวข้ึนไปขวนั้ ไวเ หนือปมเง่อื น ( Double with Three Strands ) 5. A Manrope Knot เริ่มถักใหคล่ีเกลียวออกแลวถัก เปน Single wall Knot กอนดึงปมให แนนแลวถัก Crown Knot ดึง ปมให แนน แลวถกั สอดไปเปนเสน คู ดงั รปู 2 6. เง่ือนขมวดหวั เชอื ก หรอื เงอ่ื นขเ้ี กียจ (An Overhand Knot Or Thumb Knot) ประโยชน 1. ใชข มวดปลายเชอื กใหเ ปนปมกันลยุ คลายเกลยี ว 2. ใชขมวดปลายดา ย เวลาเยบ็ สอย หรอื ปก 3. ใชทาํ ปมปองกันการเล่อื นหลดุ

41 7. เงื่อนขมวดปมหลายชน้ั (Multiple Overhand Knot) ประโยชน 1. ทําใหเ กดิ ปมใหญ 2. ใชข มวดปมปลายเชอื กปองกนั เชือกคลายเกลยี ว 8. เงื่อนขีเ้ กยี จ 2 ชน้ั (Double Overhand Knot or Double Thumb Knot) ประโยชน ใชต อ ปลายเชอื ก 2 ปลาย ทีล่ ุยเขาดว ยกนั หรือใชตอ ดายสองเสน เขา ดว ยกนั 1. ใชทําบว ง (Loop) ท่ปี ลายเชอื ก หรอื ทําบว งเสน เชือกไดต ามตอ งการ 2. ใชผูกใหแนน ไดร วดเรว็ แตแกย าก ถา ไมม เี หลก็ แหลม สาํ หรบั คลายเชอื ก (Marline Spike หรอื 3. Fid) ถาเชอื กดึงแนนมาก เมื่อแกแ ลว เชอื กกจ็ ะเส่อื มคณุ ภาพลง ใชแทนบว งสายธนไู ด แทนบว งคนกลาง แตแ ขง็ แรงปลอดภัย กวา บว งคนกลางใชไดดตี องานหนกั 4. 9. เงอื่ นเลข 8 หรือ ปมตาไก (A Figure of Eight Knot) เอาตวั เชือกทาํ เปนบว ง C ทบั ปลาย a แลว ออ มเชอื ก หลงั ปลายเชือก a ออ มออกมาทบั บวง c สอดปลาย b เขาในบว ง c ดงึ ปลาย a และ b จะเกดิ ปมเชือก ประโยชน 1. ใชผูกปลายเชอื กใหเปน ปม 2. ใชผกู แทนการพนั หวั เชอื กช่วั คราว

42 9. ปมุ เพชร (Diamond Knot) ประโยชน ใชท ําสายนกหวดี (Land yard) สายมดี พก 11. การขมวดปมเชือกแบบตอเนอื่ ง (Overhand Knots in Series) ประโยชน 1. ใชผ กู ปลายเชอื กใหเปน ปม 2. ใชผูกแทนการพนั หัวเชอื กชัว่ คราว 3. ใชท ําบนั ไดปมเชือก

43 การแทงเชือก ประโยชน 1. เพ่อื ตอ เชือกใหย าว 2. ทําบวงปลายเชือก 3. ถักปลายเชือกปอ งกันปลายเชือกลยุ หรอื คลายเกลยี ว การแทงเชือกมีหลายวิธี 1. ตอ สัน้ (Short Splice) 2. ตอยาว (Long Splice) 3. แทงบว ง (Eye Splice) 4. การแทงกลบั หรอื แทงปลายเชอื ก (back splice) การตอสั้น (Short Splice) ใชตอเชือกที่มีขนาดเทากัน และมีเกลียวจํานวนท่ีเทากัน ตอแลวปมตอโตกวาขนาดเดิมเล็กนอย แตแลวใชร อ ยรอกไมได แตตอแลวเชอื กมคี วามคงทนถาวร

44 การแทงกลบั ( Back Splice) เปนการถักหัวเชอื ก เพือ่ ปอ งกนั เชือกคลายเกลียว วิธถี กั 1. คล่ีเกลียวเชือกออกยาวพอสมควร แลว เอาเชอื กเลก็ ๆ พันหวั เกลียวเชือกทกุ เกลยี ว ปอ งกันเชือกลุย 2. แยกเกลียวเชอื กออกใหเ กลยี วกางออกไปจบั เสน กลางหรือเสน ท่ี 1 พับลงหาตวั เชือก 3. จบั ปลายเกล่ียวเชือกทางซา ยมือพบั งอปลายเกลยี วเชอื กแรก 4. จับปลายเชือกเกลียวท่ี 3 พับทับเกลียว 2 แลวสอดปลายเชือกเกลียวที่ 3 ใหเขาไปในบวงขวาเชือก เกลยี ว (เสน แรก) คอยๆดงึ ปลายเกลียวเชือกท้งั 3 ใหเชือกรัดแนน 5. จับเชือกคอ ย ๆ ปดเชือกใหเกลียวคลายออกเล็กนอย เอาปลายเชือกเกลียวแรกแทงสอดขัดกับเกลียว ของตวั เชือก (แทงยอนกับทศิ ทางของเกลียว) 6. ใหแทงเชนน้ีทุกเกลียว เมื่อครบทุกเกลียวแลว ก็เร่ิมตนแทงใหมโดยแทงขัดเกลียวเวนเกลียว จนเห็นวา แนนดี และขดั ยาวพอสมควร แลว คอย ๆ บิดตัวเชือกใหเ กลียวเขม็งแนน จงึ คอ ยๆตัดปลายเชือกท่ีแทงเหลอื ทิ้ง 7. ควรแทงสดั 3 – 4 รอบ แลว คอ ยๆ เอามอื คลึงตวั เชอื กใหแ นน Eye Splice แทงบว งปลายเชือก เชือกโดยมากมี 3 เกลยี ว 4 เกลียว วธิ แี ทงคลา ย ๆ กนั

45 วิธีแทง 1. ใหคลายเกลียวปลายเชือกที่จะทําบวงยาวพอสมควร แลวทบปลายที่คลายน้ันเขาหาตัวเชือก ทําเปน บว งโตเทา ทต่ี องการคว่ําใหเกลียวอันกลางทาบอยบู นเสนเชือกอีก 2 เกลยี วอยูท างขวาและดานซา ยขางละเกลียว 2. จับตรงรอยบรรจบกันดวยมือซายใหแนน เอามือขวาจับปลายเกลียวเชือกท่ีคลายไวนั้น แทงสอดขัด เกลียวกับตวั เชือก โดยแทงสอดเกลยี วตามลําดับ ดงั น้ี ก. เอาเกลยี วกลาง แทงสอดใตเ กลียวบนของเสนเชือกจากขวาไปซาย ข. ตอไปเอาเกลียวซายแทงสอดจากขวาไปซาย เหนือเกลียวท่ีแทงครั้งแรก แตใหคลอมทับ เกลียวกลาง ค. เมื่อแทงเกลียวซายมือแลว พลิกเชือกไปทางซายมือ จนเกลียวท่ีเหลือยังไมไดแทงน้ันขึ้นอยู ขางบน เอาปลายเกลยี วสอดแทงใตเ กลียวตนเชอื กทีเหลอื น้นั (แทงเกลยี ว 3 ) โดยสอดจากขวาไปซายเชน เดยี วกัน ง. เมอ่ื แทงสอดครบ 3 เกลียวแลวใหเร่ิมตนเกลียวแรกใหม โดยขัดเกลียวเวนเกลียว แตกอนท่ีจะ เริ่มแทงรอบใหมท ุกรอบ ใหแบงเกลยี วลดทกุ ครั้งท่แี ทง เพอื่ ใหรอยตอเรียวเล็กลงไปเรื่อยๆ จนมีขนาดเทาเสนเชือก เดิม เสรจ็ แลว คลึงเชอื กใหแ นน A cut splice ใชปลายเชือก 2 เสน ตอ ทาํ บวง ใชปลายเชอื ก 2 เสน วางซอ นขนานกัน โดยซอ นกนั ยาวตามตองการ (สุดแตข นาดของบวง) คลายเกลียวท้ัง 2 ปลายออก แลววางทาบไปกับตัวเชือก ถักเชนเดียวกับทําบวงท่ีปลายเชือก ( eye splice) เพ่อื ความหนาแนน ใหเ อาเชอื กเลก็ ๆ พันมัดปมท่ตี อ อีกชั้นหน่งึ

46 A Long splice การตอยาว เปน การตอ ท่ีไมเกดิ ปมเชอื ก ตอ แลวขนาดเชือกเทาเดิม เปนการตอเชือกเพอ่ื รอ ยรอก การตอยาวมีวิธีตอหลายวิธี การตอยาวเหมาะสําหรับตอเชือกขนาดใหญทีมีขนาดเทากัน โดยใช เกลียวเชือกเกลียวหน่ึงพันซอนแทนเกลียวกัน ใหซอนแทนกันประมาณ 12 -14 รอบ (เชือกเสนหนึ่งคลายเกลียว ออก เอาเกลียวอีกเสนหน่ึง ขว้ันซอนแทนกัน เกลียวใดขว้ันแทนกันจนหมดปลาย ใหตัดเกลียวท่ีถูกแทนออก เมื่อ สอดเกลียวหมดทุกเกลยี ว ใหคลงึ เชอื กใหเกลียวเขม็งกันแนน หรือจะใชวิธีแทงเชือกสลับกันไปตามความยาวของ เสนเชือกทต่ี องการ โดยการสอดสลบั เกลยี วเชือก เหมาะสําหรับเชือกขนาดใหญ ประโยชน 1. ใชรอ ยรอก 2. ใชร กั ษาเชอื กใหค งทน ซอมสวนของเชอื กท่ีสกึ หรอ อนั เกดิ จากการเสยี ดทาน 3. ตอ เชือกใหม คี วามยาวเพิ่มขึน้

47 การตอเชอื กทีไ่ มม ปี มเงื่อน (Tucked Splice) ใชตอเชือกขนาดเล็กเพ่ือเพิ่มความยาว ใชงานช่ัวคราว ไมตองการความแข็งแรงมากนัก เปนการตอเชือก โดยวธิ แี ทงเชือกสอดเกลียว สลบั เสน กนั ดงั รูป เอาเชอื กท่จี ะตอ กันนน้ั วางปลายเชือกซอนและสลับปลายกนั โดยเอาปลายเชือกของแตละเสน สอดผาน เขาไปในเกลียวเชือกอกี เสน หนงึ่ โดยสอดเปน ชวงๆ หางกนั พอสมควร เพ่ือความแข็งแรงพอประมาณ ใหแทงสอด สัก 2-3 ชว ง ดงั รปู Tucked Eye Splice or Marline Eye splice ใชทาํ บวงปลายเชอื กแบบงา ยๆ สําหรับเชือกขนาดเลก็ ๆ เสนผาศนู ยก ลางไมย าวนกั ดงั รปู ประโยชน - ใชคลองวัตถุกลม หรือวงรี - ทาํ บวงพันรอบเสา Cringle การแทงปลายเชือก

48 ใชกับเชือกเสนใหญ โดยใชเชือกเสนเล็กทําบวงบนเสนใหญ หรือทําบวงบนริมขอบผาใบเรือ หรือทําบวง พันรอบหวงโลหะ เพ่ือการเกีย่ วแขวนใชง านกลาสี และนักเดินทางเรอื การถักหว งวงแหวน (To Make a Grommet ) ตัดเกลียวเชือกมา 1 เกลียว ยาวตามตองการ ยาวขนาดพันได 3 รอบ เอาเกลียวเชือกขดกันตามเกลียว 3 รอบ แลวเอาปลายเชอื กทง้ั 2 แทงเขาไปในเกลยี วแบบตอ ยาว ( Long splice)

49 บทท่ี 5 เงอ่ื นเชอื ก 2 บว งและการตอเชือก 1. เงื่อนประเภทผูกดวยเชอื กเสนเดยี ว 1.1 เงอ่ื นเลข 8 หรอื ปมตาไก (A Figure of Eight Knot) แบบ 1 แบบ 2 เอาตวั เชอื กทาํ เปน บว งปลายเปดบดิ ตัวเชอื กทบั ปลายเชอื กแลว ออ มเชอื กหลงั ปลายเชอื ก ออ มออกมา ทบั บวง สอดปลาย เขาในบว ง ดงึ ปลาย และ จะเกิดปมเชอื ก ประโยชน 1. ใชผกู ปลายเชอื กใหเปน ปม 2. ใชผ กู แทนการพนั หวั เชือกชวั่ คราว

50 1.3 เง่ือนเลขแปดกระทกหาง (Slipped Figure Eight) แบบ 1 แบบ 2 เอาตัวเชอื กทาํ เปนบว งปลายเปดบิดตัวเชอื กทับปลายเชอื กแลว ออมเชือกหลงั ปลายเชอื ก ออมออกมา ทบั บวง สอดปลาย เขา ในบว ง ดงึ ปลาย และ จะเกิดปมเชือก นําปลายเชือเปน สอดกลบั เขาในบว งเลขปดเพอ่ื ให สามารถกระตกุ กลบั ได ประโยชน 1. ใชผูกปลายเชอื กใหเปน ปม 2. ใชผกู แทนการพันหวั เชอื กช่ัวคราว 3. เพอื่ ใหก ารแกเงื่อนเลขแปดแกง า ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook