Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ปก มหาวิทยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย-ผสาน

1 ปก มหาวิทยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย-ผสาน

Description: 1 ปก มหาวิทยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย-ผสาน

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน พทุ ธปรัชญาเถรวาท รหัสวิชา PH1001 เตชทัต ปกสงั ขาเนย์ ศน.บ.(พุทธศาสตร)์ ศน.ม(พุทธศาสน์ศกึ ษา) สาขาวชิ าพุทธศาสตรเ์ พือการพัฒนา คณะศาสนาและปรชั ญา) มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตศรลี ้านชา้ ง

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท (Theravada Buddhist Philosophy) รหัสวชิ า PH1001 นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ รวบรวมเรียบเรยี ง ภาควิชาพทุ ธศาสตร์ คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตศรีลา้ นชา้ ง

คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา PH1001 พุทธปรัชญาเถรวาท เล่มนี้ ได้จัดทาข้ึนเพ่ือประกอบการ เรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จังหวัดเลย ซ่ึงเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยท่ีสนับสนุนส่งเสริมให้อาจารย์ผู้สอนได้ผลิตตาราผลงานทางวิชาการ เพื่อให้ นกั ศึกษาได้ใช้ประกอบการเรียนการสอนตามรายวชิ า วิชาพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นหนึ่งรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะสาขา กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนา ที่ นักศึกษาสาขาวิชาพุทธศาสตร์ต้องเรียน ซ่ึงประกอบด้วยโครงสร้าง เน้ือหาตามสังเขปรายวิชาท่ีกาหนดให้ ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า และให้ตรงตามกรอบคุณลักษณะที่กาหนด ตามที่ปรากฏในแต่ละบท โดยมีจานวน ๘ บทดว้ ยกัน โดยอาศัยตาราเอกสารหลักจากห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง และเอกสารทีเ่ กยี่ วข้องอืน่ ประกอบเขา้ จนเปน็ เอกสารประกอบการสอนนี้ ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิเจาของเอกสารตาราทางวิชาการ บทความ เว็บไซตต่างๆตลอดจนหนังสือ ตาราเรยี นดงั ทีป่ รากฏในบรรณานุกรมของเอกสารประกอบการสอนเล่มน้ีซึ่งผู้เรียบเรียงไดใช้เป็นแนวทางและ ขอ้ มูลในการเรียบเรยี งจนสาเร็จลุล่วงไปไดดว้ ยดี หวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่ เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี จะสาเร็จประโยชน์แก่ผู้ท่ีเก่ียวข้องขอขอบคุณท่าน ท่ีมีส่วนร่วมในการตรวจเอกสารและให้คาแนะนาเพ่ิมเติมเพ่ือให้เอกสารประกอบการสอนน้ีสาเร็จลุล้วงไป ด้วยดี หากมขี ้อบกพร่องผดิ พลาดประการใดที่เกิดขน้ึ ในสว่ นใดส่วนหน่งึ ต้องขออภยั มา ณ โอกาสนีด้ ว้ ย นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ รวบรวมเรยี บเรยี ง

พทุ ธปรชั ญำเถรวำท (Theravada Buddhist Philosophy) ผ้เู รยี งเรยี ง : นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ที่ปรึกษำ : พระมหาวเิ ชยี ร ธมฺมวชโิ ร,ดร. รองอธิการบดี มมร.วข.ศรีลา้ นชา้ ง พระมหาวัฒนา สุรจติ ฺโต,ดร. ผอ.ศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการ มมร.วข.ศรลี า้ นชา้ ง พระครพู สิ ุทธธิ รรมาภรณ์ ผอ.วิทยาลยั ศาสนศาสตร์ มมร.วข.ศรลี า้ นชา้ ง พระมหาจิณกมล อภริ ตโน ผอ.สานักงานวิทยาเขต มมร.วข. ศรีล้านชา้ ง ผูท้ รงคณุ วุฒิตรวจสอบทำงวิชำกำร พระศรรี ัชมงคลบณั ฑติ รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร ดอกจันทร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชษิ ณพงศ์ ศรจันทร์ มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ หอมหวล บวั ระพา มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ กองบรรณำธกิ ำร : นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ นายธนวฒั น์ ชาโพธ์ิ นายทวศี ักด์ิ ใครบุตร นางสาวพรพิมล เพง็ ประพา ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แห่งชาติ นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ พุทธปรชั ญำเถรวำท –เลย :สารวยก๊อปปบี้ ้านใหม,่ 2563 197 หน้า 1. พระพุทธศาสนา—พทุ ธปรัชญาเถรวาท I.ชื่อเรือ่ ง ISBN พิมพค์ ร้งั ที่ 1 : พ.ศ. 2563 จานวน 200 เลม่ ลิขสิทธ์ิ ของนายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ห้ามลอกเลยี นแบบไม่ว่าสว่ นใดของหนงั สอื เล่มน้ี นอกจากได้รับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อักษรกับนายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ จดั พิมพ์ : นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ พมิ พท์ ี่ : โรงพิมพ์สารวยก๊อปปี้ 37/6 ถ.วสิ ทุ ธิเทพ ต.กุดป่อง อ.เมอื ง จ.เลย 42000 [email protected]

สารบญั คานา ก สารบัญ ข เร่ือง หนา้ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๑ .......................................................................... ๑ บทท่ี ๑ พุทธปรัชญาเถรวาท ……………………………………………………………….……… ๓ ความนา ความรู้เบอ้ื งต้นเกยี่ วกับปรชั ญา.................................................................. ๔ ๑.๑ ปรชั ญา............................................................................................................... ๔ ๑.๒ พุทธปรชั ญา หรอื ปรัชญาตามแนวพระพทุ ธศาสนา............................................ ๖ ๑.๓ บทสรุปสาระสาคัญประจาบทที่ ๑ .................................................................... ๙ ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๑ ............................................................................ ๑๐ ๑.๕ เอกสารอ้างองิ ประจาบทท่ี ๑ ……………………………………………………….............. ๑๑ ๑.๖ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๑.................................................................................... ๑๑ แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี ๒............................................................................ ๑๔ บทที่ ๒ โลก................................................................................................................ ๑๖ ความนา...................................................................................................................... ๑๖ ๑.๑ โลก ........................................................................................................ ๑๗ ๑.๑.๑ ความหมายของโลก............................................................................ ๑๗ ๑.๑.๒ กาเนิดโลก.......................................................................................... ๑๘ ๑.๑.๓ โครงสร้างภายในของโลก ................................................................... ๑๙ ๑.๑.๔ โครงสร้างภายในของโลกแบง่ ตามองค์ประกอบทางเคมี .................... ๒๑ ๑.๑.๕ สนามแม่เหลก็ โลก.............................................................................. ๒๓ ๑.๒ โลกในทัศนะทางพระพุทธศาสนา........................................................................ ๒๔ ๑.๒.๑ โอกาสโลก............................................................................................ ๒๕ ๑.๒.๒ สังขารโลก............................................................................................ ๒๖ ๑.๒.๓ สตั วโ์ ลก............................................................................................... ๓๒

๑.๓ บทสรปุ สาระสาคัญประจาบทท่ี ๒ ................................................................... ๔๑ ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๒ ........................................................................... ๔๑ ๑.๕ เอกสารอ้างองิ ประจาบทที่ ๒ ............................................................................. ๔๑ ๑.๖ แบบทดสอบท้ายบทท่ี ๒..................................................................................... ๔๕ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๓ ........................................................................... ๔๖ บทท่ี ๓ มนุษย์ ........................................................................................................ ๔๘ ความนา...................................................................................................................... ๔๘ ๑.๑ ความหมายของมนุษย์ ........................................................................................ ๔๘ ๑.๒ มนุษย์ในทัศนะทางพระพทุ ธศาสนา.................................................................... ๔๙ ๑.๒.๑ ความหมายของคาวา่ “มนษุ ย์”........................................................... ๔๙ ๑.๒.๒ มนุษยใ์ นทศั นะพุทธอภิปรชั ญา......................................................... ๕๑ ๑.๒.๓ ธรรมชาตพิ เิ ศษเฉพาะของมนุษย์......................................................... ๕๓ ๑.๒.๔ มนุษย์มาจากไหน ............................................................................... ๕๔ ๑.๒.๕ องคป์ ระกอบของมนุษย.์ ..................................................................... ๕๖ ๑.๒.๖ ธรรมชาตทิ างกายของมนุษย์............................................................... ๕๙ ๑.๒.๗ ธรรมชาติทางจิตของมนุษย์ ............................................................... ๖๑ ๑.๒.๘ กาเนิดชีวิตมนษุ ย์ ............................................................................... ๖๒ ๑.๒.๙ ฐานะของมนุษย์ในเอกภพ................................................................... ๖๗ ๑.๒.๑๐ เอกภาพของมนุษย์ทางชีววิทยา........................................................ ๖๘ ๑.๓ บทสรุปสาระสาคญั ประจาบทท่ี ๓ ..................................................................... ๖๙ ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๓ ............................................................................ ๗๐ ๑.๕ เอกสารอ้างองิ ประจาบทท่ี ๓ ............................................................................... ๗๐ ๑.๖ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๓ .................................................................................... ๗๒ แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี ๔.............................................................................. ๗๔ บทท่ี ๔ ปฏจิ จสมุปบาท .............................................................................................. ๗๖ ความนา........................................................................................................................ ๗๖ ๑.๑ ความหมายของปฏิจจสมุปบาท........................................................................... ๗๗

๑.๑.๑ ความหมายของคาวา่ ปฏิจจสมุปบาท................................................. ๗๗ ๑.๑.๒ ปฏจิ จสมุปบาทคืออะไร .................................................................... ๗๙ ๑.๑.๓ การจัดกลุ่มปฏจิ จสมปุ บาท.................................................................. ๘๐ ๑.๑.๔ ปฏิจจสมปุ บาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา....................................... ๘๐ ๑.๑.๕ ปฏจิ จสมุปบาทในฐานะปัจจยาการทางสงั คม..................................... ๘๑ ๑.๑.๖ หลักการหรือคาสอนแหง่ พระพทุ ธศาสนา............................................ ๘๑ ๑.๒ บทสรุปสาระสาคัญประจาบทที่ ๔ ...................................................................... ๘๓ ๑.๓ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๔ ............................................................................ ๘๔ ๑.๔ เอกสารอ้างอิงประจาบทที่ ๔ .............................................................................. ๘๔ ๑.๕ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๔ ..................................................................................... ๘๕ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ ๕ ............................................................................ ๘๖ บทท่ี ๕ กรรม ............................................................................................................. ๘๘ ความนา....................................................................................................................... ๘๘ ๑.๑ ความหมายของกรรมหรอื กฎแหง่ กรรม.............................................................. ๘๙ ๑.๒ กรรมในทางพระพทุ ธศาสนา............................................................................... ๙๐ ๑.๒.๑ กรรม ๒ ประการ................................................................................... ๙๐ ๑.๒.๒ การจาแนกประเภทของกรรม................................................................ ๙๑ ๑.๒.๓ จาแนกตามเวลาการใหผ้ ลของกรรม..................................................... ๙๑ ๑.๒.๔ จาแนกตามหนา้ ท่ีของกรรม.................................................................. ๙๑ ๑.๒.๕ จาแนกลาดบั การให้ผลของกรรม........................................................... ๙๓ ๑.๒.๖ จาแนกตามฐานที่ใหเ้ กิดผลของกรรม..................................................... ๙๓ ๑.๒.๗ กรรมดา /กรรมขาว.............................................................................. ๙๔ ๑.๒.๘ กฎแหง่ กรรม........................................................................................ ๙๔ ๑.๓ เปรียบเทยี บกรรมในศาสนาอืน่ ๆ...................................................................... ๙๕ ๑.๓.๑ ศาสนาที่มีลักษณะเปน็ แบบเทวนยิ ม.................................................. ๙๖ ๑.๓.๒ ศาสนาที่มีลักษณะเปน็ แบบเทวนยิ มท่ปี รากฏในโลกตะวนั ตก............ ๙๖

๑.๓.๓ ศาสนาทมี่ ีลกั ษณะเปน็ แบบอเทวนิยมทีป่ รากฏในโลกตะวันอออกที่มคี วาม เช่อื กรรม ..................................................................................................... ๙๗ ๑.๔ บทสรปุ สาระสาคัญประจาบทท่ี ๕ .................................................................... ๙๙ ๑.๕ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๕ ........................................................................... ๑๐๐ ๑.๖ เอกสารอา้ งองิ ประจาบทที่ ๕ ........................................................................... ๑๐๐ ๑.๗ แบบทดสอบท้ายบทท่ี ๕ ................................................................................... ๑๐๑ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ ๖.......................................................................... ๑๐๔ บทท่ี ๖ สงั สารวัฏ ................................................................................................... ๑๐๖ ความนา.................................................................................................................... ๑๐๖ ๑.๑ ความหมายสงั สารวฏั ........................................................................................ ๑๐๖ ๑.๑.๑ วัฏสงสาร ๓๑ ภูมิ......................................................................................... ๑๐๗ ๑) มหานรก ๘ ขมุ ................................................................................... ๑๐๗ ๒) ยมโลกนรก ............................................................................................ ๑๐๘ ๓) อุสสทนรก .............................................................................................. ๑๐๙ ๔) เดรจั ฉานภูมิ............................................................................................ ๑๐๙ ๕) เปรตภูมิ.................................................................................................. ๑๑๐ ๖) อสุรกายภมู ิ ............................................................................................ ๑๑๑ ๗) โลกเบอ้ื งกลาง......................................................................................... ๑๑๑ ๘) เทวภูมิ ๖ ................................................................................................ ๑๑๔ ๑.๒ บทสรปุ สาระสาคญั ประจาบทท่ี ๖ .................................................................... ๑๒๑ ๑.๓ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๖ ........................................................................... ๑๒๑ ๑.๔ เอกสารอ้างองิ ประจาบทที่ ๖............................................................................. ๑๒๒ ๑.๕ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๖ .................................................................................. ๑๒๓ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ ๗ .......................................................................... ๑๒๖ บทท่ี ๗ ไตรลักษณ์ ................................................................................................... ๑๒๘ ความนา..................................................................................................................... ๑๒๘

๑.๑ ความหมายของไตรลกั ษณ์............................................................................... ๑๒๘ ๑.๑.๑ ไตรลักษณ์ แปลว่า \"ลกั ษณะ ๓ อยา่ ง\" ........................................... ๑๒๘ ๑.๑.๒ สามัญลักษณะ.................................................................................. ๑๒๙ ๑.๑.๓ หลกั การกาหนดไตรลกั ษณ์............................................................... ๑๓๑ ๑.๑.๔ อนิจจงั กับ อนิจจตา เป็นตน้ ไม่เหมอื นกนั ...................................... ๑๓๕ ๑.๑.๕ อรรถกถา-ฏกี า ใช้ภาษารดั กมุ เขยี นเน้ือเรอ่ื งไมส่ ับสน..................... ๑๓๗ ๑.๒ บทสรปุ สาระสาคญั ประจาบทที่ ๗ ................................................................... ๑๓๘ ๑.๓ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๗ .......................................................................... ๑๓๘ ๑.๔ เอกสารอ้างองิ ประจาบทที่ ๗ ............................................................................ ๑๓๙ ๑.๕ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๗................................................................................... ๑๔๑ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๘.......................................................................... ๑๔๓ บทที่ ๘ นพิ พาน ..................................................................................................... ๑๔๕ ความนา.................................................................................................................... ๑๔๕ ๑.๑ ความหมายของพระนพิ พาน.............................................................................. ๑๔๕ ๑.๒ พระนพิ พานในทางพระพุทธศาสนา ................................................................. ๑๔๖ ๑.๓ การดาเนนิ เสน้ ทางเพ่ือบรรลพุ ระนิพพาน ........................................................ ๑๔๙ ๑.๔ นิพพานมี ๒ ประเภท ....................................................................................... ๑๕๘ ๑.๔.๑ สอปุ าทิเสสนพิ พาน .......................................................................... ๑๕๘ ๑.๔.๒ อนปุ าทิเสสนพิ พาน ........................................................................... ๑๕๘ ๑.๔.๓ สัทธรรมอนั ตรธาน ............................................................................ ๑๗๒ ๑.๕ บทสรุปสาระสาคญั ประจาบทท่ี ๘ ................................................................... ๑๗๕ ๑.๖ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๘ .......................................................................... ๑๗๖ ๑.๗ เอกสารอ้างองิ ประจาบทที่ ๘ .......................................................................... ๑๗๖ ๑.๘ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๘ .................................................................................. ๑๗๘

สังเขปรายวิชา PH1001 พทุ ธปรชั ญาเถรวาท 3(3-0-6) Theravada Buddhist Philosophy แนวคิดพุทธปรชั ญาเถรวาททเ่ี กี่ยวกบั เรือ่ งโลก สังสารวัฏ มนษุ ย์ กรรม ศรัทธา ทาน ปฏจิ จสมปุ บาท ไตรลักษณ์ นพิ พาน การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ พทุ ธปรัชญาเถรวาทในชวี ิตประจาวนั Dhamma doctrines on the world, Samsaravatta (the process of Birth and Death), man, Kamma (action), Faith, Charity, Paticcasamuppada (the dependent origination), Tilakkhana (three characteristics), Nibbana (the extinction of all defilements and sufferings) and application of Theravada Buddhist Philosophy in daily life. การพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา (มคอ. 2) 1. คุณธรรม จริยธรรม กลยุทธ/์ วิธีการสอน กลยุทธ์/วธิ กี ารประเมนิ ผล สถานะ ผลการเรยี นรู้  จิตสานกึ และตระหนกั ศึกษา - นาสวดมนต์ -ส่งงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายตามขอบเขตทใี่ ห้ ในการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณ - อภิปรายกลมุ่ และพฤตกิ รรมการเขา้ เรยี นและตรงเวลา ทางอาชพี - ไมล่ อกขอ้ สอบ - ประเมนิ งานไมม่ ีการติด ลอกเชน่ ไมเ่ ลน่ ไม่พุ คยุ ขณะทสี่ อน ไมเ่ ล่นโทรศพั ท์ฯ -ประเมนิ ผลการศึกษาจากการทางานกลุ่ม - ไมล่ อกงานเพอ่ื น  วินัย ซ่อื สัตย์ และรับผดิ ชอบ -เชค็ ชือ่ เขา้ ชน้ั เรียน -สังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ ตอ่ ตนเองและสงั คม -จัดอภปิ รายกลุ่ม ได้รับมอบหมายตามขอบเขตท่ีให้และตรงเวลา -ตรงตอ่ เวลา ซื่อสตั ยส์ จุ ริต และ จากระยะเวลากาหนดส่งงาน (ตามข้อตกลง รับผิดชอบต่อตนเองและสงั คม เบื้องตน้ ก่อนเรยี น)  จิตสาธารณะ รกั และ -ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเปรียบเทียบ -สังเกตพฤติกรรมการส่งงานที่ไดร้ บั มอบหมาย ภาคภูมิใจในท้องถน่ิ สถาบัน สภาพสังคมท่ีมีพระพุทธศาสนาเป็น ตามขอบเขตทใ่ี หแ้ ละตรงเวลา และประเทศชาติ ศาสนาท่ีคนในเอเชียนบั ถอื เป็นจานวน -ประเมินผลการศกึ ษาจากการทางานกลมุ่ โดย มาก อภปิ ราย พร้อมสรปุ ผล สุ่มถามเนื้อหาท่ีเรยี นเป็นรายบุคคล 2. ความรู้ สถานะ ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ/์ วธิ ีการสอน กลยุทธ์/วิธกี ารประเมนิ ผล  ความรู้ความเข้าใจในหลกั การ - คน้ คว้าเอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง และทาใบ - ประเมินจากการค้นคว้าการทางานจากใบ และทฤษฎีสาคญั ในสาขาวชิ า งาน งาน พุทธศาสตรเ์ พอื่ การพัฒนา  ทักษะและประสบการณ์การ - คน้ ควา้ เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง และทาใบ - ประเมินจากการค้นคว้าการทางานจากใบ เรยี นรู้ในสาขาวชิ าพุทธศาสตร์ งาน งาน

เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า ส า ม า ร ถ ปฏิบัติงานในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้  มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น - มอบหมายใบงานใหค้ น้ ควา้ เรอื่ ง - สอบปลายภาค ดว้ ยแบบทดสอบท่ีเน้นเร่ือง พฒั นาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชา บรรยาย ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การวดั ความร้คู วามเขา้ ใจและการนาไปใช้ พุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนา อภปิ ราย การเรียนรู้ดว้ ยวธิ กี ารเรยี น - ประเมินจากการทางานและความสามารถใน รวมถึงงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ แบบ Mimd map การนาเสนองาน การแก้ไขปัญหาและการต่อ - มอบหมายงานกลุ่มเพื่อศึกษาข่าว ยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วนามา พุทธศาสตรเ์ พอ่ื การพัฒนา วิเคราะห์ส่ือออนไลน์ เช่น Facbook เป็นต้น - ความรู้ในการแก้ปัญหาการดาเนิน ชีวิตตามแนวพระพุทธศาสนา รู้จัก มองโลกมองชีวติ ในดา้ นท่เี ป็นความคิด สร้างสรรค์มากยิ่งขึน้ - ซักถามในประเดน็ สาคญั  ตระหนักศึกษาในธรรมเนียม - คน้ ควา้ เอกสารที่เกยี่ วข้อง และทาใบ - ประเมนิ จากการคน้ คว้าการทางานจากใบ ปฏิบัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ งาน งาน ที่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม สถานการณ์  ความรดู้ ้านพระพุทธศาสนา - ค้นคว้าเอกสารท่เี กย่ี วข้อง และทาใบ - ประเมนิ จากการคน้ ควา้ การทางานจากใบ เพอ่ื การพัฒนา งาน งาน การทดสอบ 3. ทักษะทางปญั ญา สถานะ ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธ์/วิธกี ารสอน กลยุทธ/์ วธิ ีการประเมินผล สามารถค้นหา ตีความ และ -อภิปรายร่วม โดยอาจารยต์ ั้งประเดน็ - ประเมินจากการค้นคว้าการทางานจากใบ ประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ หัวข้อคาถาม งาน  ในการพัฒนาความรแู้ ละการ สอดแทรกเนือ้ หากรณีตวั อยา่ งเข้าช่วย - การปฏิบัติและผลการปฏิบัติที่ให้อธิบาย แก้ปัญหาทางอาชีพได้อย่าง ในการเรียนรู้ ผลการปฏิบัติท่ีได้รับ วิธีการที่สามารถนาไป สรา้ งสรรค์ ปรับประยุกต์ใช้ได้จริงตามสถานการณ์นั้น ในชีวิตประจาวัน สามารถคิดวิเคราะห์และ -อภิปรายรว่ ม โดยอาจารยต์ งั้ ประเด็น ริเร่ิมสร้างสรรค์ โดยใช้ หัวขอ้ คาถาม สอดแทรกเนอื้ หากรณี  ความรู้และประสบการณ์ ตัวอยา่ งเข้าชว่ ยในการเรยี นรู้ ของตนในการแก้ปัญหาการ ทางานได้  สามารถวางแผนการทางาน -ร ะ ด ม คว าม คิด ล ง ใน กร ะ ด า ษ - การนาเสนอแนวคดิ ทส่ี ร้างสรรคแ์ ละให้

และการบริหารจัดการงาน แสดงผลด้วยแผนผงั ความคดิ อภิปราย สรุปเน้ือ ได้ ร่วม โดยอาจารย์ต้ังประเด็นหัวข้อ คาถาม สอดแทรกเนือ้ หากรณีตัวอย่าง เข้าชว่ ยในการเรียนรู้ 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ สถานะ ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธ/์ วิธกี ารสอน กลยทุ ธ์/วิธีการประเมินผล  มีภาวะผู้นา รู้จักการใช้เหตุผล สอดแทรกเน้อื หากรณีตัวอย่างเขา้ ช่วย ใบงาน รายงาน วางตนได้อย่างถูกต้องตาม ในการเรียนรใู้ นการวิเคราะหป์ ญั หา กาลเทศะ เชน่ ขา่ ว วารสาร เว็บไซดฯ์ นามาเพ่อื เปน็ กรณตี ัวอย่าง  มีความเสียสละ บาเพ็ญ - ให้เสนอรูปแบบวิธีการหลักการใน -ประเมินจากงานที่นาเสนอและพฤติกรรม ประโยชน์ต่อส่วนรวม การปฏิบัติโดยจัดเป็นกลุ่ม ตาม การทางานเป็นกลุ่ม อิริยาบถทั้ง 4 และวิเคราะห์สภาพ สงั คมทมี่ ีความแตกตา่ งกัน สรุปผลเพ่อื หาความชัดเจนในเน้อื หารายวิชา  มกี ารสอดส่อง และป้องกันไม่ให้ - อภปิ รายรว่ ม โดยอาจารยต์ ง้ั ประเดน็ เ กิด ก า ร ป ร ะ พฤติ มิ ชอบ ใ น หวั ขอ้ สอบถาม องค์กรและสงั คม สอดแทรกเนือ้ หากรณตี ัวอย่างเข้าช่วย ในการเรยี นรู้ในการวเิ คราะหป์ ญั หา เชน่ ข่าว วารสาร เว็บไซดฯ์ นามาเพอ่ื เป็นกรณตี ัวอย่าง 5. ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สถานะ ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ/์ วธิ กี ารสอน กลยุทธ/์ วิธีการประเมนิ ผล  (1) มีความสามารถในการวิ - การนาวารสารมาศกึ ษาและการเขียน ใบงานทม่ี อบหมายใหท้ าแลว้ นาสง่ เ ค ร า ะ ห์ เ ชิ ง ตั ว เ ล ข ใ น บทความ - เขียนใบงาน ถกู ตอ้ งภามหลกั ภาษา ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น แ ล ะ ใ น ก า ร สอดแทรกเนื้อหากรณีตวั อยา่ งเข้าช่วยในการ ปฏิบัตงิ านในสาขาอาชพี ได้ เรียนรูใ้ นการวเิ คราะห์ปญั หา เชน่ ข่าว  (2) มีทักษะการใช้ภาษาไทยและ วารสารฯ ภาษาอังกฤษในการส่ือสารอย่าง สรา้ งสรรค์ สารสนเทศไดด้ ี  (3) มีความสามารถในการใช้ คอมพิวเตอร์และสารสนเทศใน การส่ือสาร การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง การจัดเก็บและ ประมวลผลข้อมลู และการนาเสนอ ขอ้ มลู สารสนเทศ

หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล (กระจายจากคาอธบิ ายรายวิชา) 1. แผนการสอน สปั ดาห์ หัวขอ้ /รายละเอยี ด จานวน กิจกรรมการเรียนการสอน/สือ่ ท่ี ผูส้ อน ที่ ชัว่ โมง ใช้ 1 ขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ กอ่ นเรยี น แนะนาสงั เขป 3 -บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต รายวิชา เวอร์พอ้ ยและเอกสาร ปักสงั ขาเนย์ บทที 1 ความร้เู บื้องต้นเกยี่ วกับปรัชญา ประกอบการสอน - ซกั ถามประเด็นสงสยั - ให้นกั ศึกษาสรปุ 2 - แนะนาสงั เขปรายวชิ า 3 -บรรยายโดยใชง้ านนาเสนอพาว นายเตชทตั - กาหนดข้อตกลงก่อนเรียน - ศึกษาหลักปรชั ญาของนักคดิ ตา่ ง ๆ เวอรพ์ ้อยและเอกสาร ปักสงั ขาเนย์ ประกอบการสอน -ซกั ถามประเด็นสงสัย -ใหน้ ักศกึ ษาสรุป ทดสอก่อนเรยี น 3 - พุทธปรัชญา หรือปรัชญาตามแนว 3 -บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทตั พระพุทธศาสนา แนวคิดปรัชญาของนัก เวอรพ์ อ้ ยและเอกสาร ปกั สงั ขาเนย์ ปรัชญาทางพระพทุ ธศาสนา ประกอบการสอน -ซกั ถามประเดน็ สงสยั -นาเสนองานพรอ้ มสรุป 4 - ความหมายของโลก 3 -บรรยายโดยใชง้ านนาเสนอพาว นายเตชทัต - สภาวการณข์ องโลก เวอร์พ้อยและเอกสาร ปกั สังขาเนย์ - กาเนดิ โลก ประกอบการสอน -ซกั ถามประเดน็ สงสัย -นาเสนองานพรอ้ มสรปุ 5 - โลกในทศั นะทางพระพุทธศาสนา 3 -บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทตั - แนวคดิ เรอื่ งโลกในพระสูตร เวอรพ์ อ้ ยและเอกสาร ปกั สังขาเนย์ - โลก 3 อยา่ ง ประกอบการสอน -ซักถามประเดน็ สงสัย -นาเสนองานพรอ้ มสรปุ 6 - ความหมายของมนุษย์ 3 -บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต - มนษุ ย์ยุคเริม่ ตน้ เวอรพ์ อ้ ยและเอกสาร ปกั สงั ขาเนย์ - มนษุ ย์ยคุ กลาง ประกอบการสอน - มนษุ ยย์ คุ ปจั จบุ ัน -ซกั ถามประเดน็ สงสัย -นาเสนองานพรอ้ มสรุป 7 - มนุษย์ในทัศนะทางพระพุทธศาสนา 3 บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต

- การเกิดข้นึ ของมนุษย์ เวอรพ์ อ้ ยและเอกสาร ปกั สังขาเนย์ - มนษุ ยแ์ ละลักษณะมนุษยใ์ นทาง ประกอบการสอน -ซักถามประเดน็ สงสยั พระพทุ ธศาสนา -นาเสนองานพร้อมสรปุ - สรุป 3 บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต 8 - ความหมายของปฏิจจสมุปบาท - หลกั การของเหตแุ ละผลทไ่ี ด้ เวอร์พอ้ ยและเอกสาร ปกั สงั ขาเนย์ จากปฏจิ จสมปุ บาท - ปฏิจสมปบาทคอื หลักพุทธปรชั ญา ประกอบการสอน สรุปประเดน็ สาคัญของปฏิจจสมปุ บาท -ซักถามประเดน็ สงสัย 9 สอบกลางภาค -นาเสนองานพรอ้ มสรปุ 10 - ความหมายของกรรม - กรรมในทางพระพุทธศาสนา นายเตชทตั - ลักษณะของกรรม 4 อย่าง - แนวคดิ ปรัชญาเปรียบเทยี บเรื่อง ปักสังขาเนย์ กรรม 3 บรรยายโดยใชง้ านนาเสนอพาว นายเตชทตั 11 - ลกั ษณะของการทีก่ รรมใหผ้ ล - กรรมดี –กรรมชัว่ เวอรพ์ ้อยและเอกสาร ปักสังขาเนย์ - กรรมดา –กรรมขาว - การกระทากรรม ประกอบการสอน - เปรยี บเทียบกรรมในศาสนาอ่ืน ๆ - สรุป -ซกั ถามประเด็นสงสยั 12 ความหมายสังสารวัฏ -นาเสนองานพรอ้ มสรุป - กฎของการเวยี นวนในวฏั สงสาร - กฎของโลก 3 บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต - สรปุ เวอร์พอ้ ยและเอกสาร ปักสังขาเนย์ 13 ความหมายของไตรลักษณ์ - ไตรลกั ษณห์ รอื สามญั ลักษณ์ ประกอบการสอน - ความสาคญั และการนาหลักไตรลกั ษณ์ มาปรบั ใช้ -ซกั ถามประเด็นสงสัย - แนวคิดปรัชญาทนี่ ามาอธิบายกฎไตร ลกั ษณ์ -นาเสนองานพรอ้ มสรุป 14 - การเปล่ยี นแปลงของโลก 3 บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต เวอรพ์ ้อยและเอกสาร ปักสงั ขาเนย์ ประกอบการสอน -ซกั ถามประเด็นสงสัย -นาเสนองานพร้อมสรุป 3 บรรยายโดยใชง้ านนาเสนอพาว นายเตชทัต เวอร์พ้อยและเอกสาร ปักสังขาเนย์ ประกอบการสอน 3 บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทัต

- การก้าวล้วงไตรลกั ษณไ์ มม่ ีในโลก เวอรพ์ อ้ ยและเอกสาร ปักสังขาเนย์ - สรปุ ประกอบการสอน 15 - ความหมายของนิพพาน 3 บรรยายโดยใชง้ านนาเสนอพาว นายเตชทัต - นพิ พาน 2 ลักษณะ และในลักษณะ เวอร์พอ้ ยและเอกสาร ปักสงั ขาเนย์ ต่าง ๆ ประกอบการสอน - การไปสนู่ พิ พาน 16 - นพิ พานทางโลก 3 บรรยายโดยใช้งานนาเสนอพาว นายเตชทตั - การดับ การสูญสนิ้ อันไหนคอื เวอร์พอ้ ยและเอกสาร ปกั สงั ขาเนย์ นพิ พาน ประกอบการสอน - สรปุ การวัดประเมนิ รายการ อตั ราสว่ นคะแนน รวม ใบงาน 6/5 30 10 รายงาน 10 10 กิจกรรมในช้ันเรียน 10 20 สอบกลางภาค 20 30 ปลายภาค 30 100 รวม ค่าระดับคะแนน ระดบั คะแนน ระดบั ผลตามเกณฑก์ ารผ่านของรายวิชา เกรด ความหมาย ๘๐-๑๐๐ A ดเี ยี่ยม (Excellent) ๔.๐๐ ๗๕-๗๙ B+ ดีมาก (Very good) ๓.๕๐ ๗๐-๗๔ B ดี (good) ๓.๐๐ ๖๕-๖๙ ๒.๕๐ ๖๐-๖๔ C+ คอ่ นข้างดี (Aboveaverage) ๒.๐๐ ๕๕-๕๙ C พอใช้ (Average) ๑.๕๐ ๕๐-๕๔ ๑.๐๐ D+ ออ่ น (Below average) ๐-๔๙ D ออ่ นมาก (Poor) ๐ F ตก (Pall)

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๑ ๑. บทที่ ๑ ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับปรัชญา ๑.๑ ความนา ๑.๒ เนือ้ หาสาระสาคัญทุกหวั ข้อในบทท่ี ๑ - ปรัชญา - พทุ ธปรชั ญา หรอื ปรัชญาตามแนวพระพุทธศาสนา ๑.๓ บทสรุปสาระสาคญั ประจาบทที่ ๑ ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๑ ๑.๕ เอกสารอ้างอิงประจาบทท่ี ๑ ๑.๖ แบบทดสอบท้ายบทท่ี ๑ ๒. วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เมือ่ ศึกษาบทที่ ๑ จบแลว้ นักศึกษาสามารถ ๒.๑ อธบิ ายความหมายของพุทธปรชั ญาได้ ๒.๒ สามารถนาเอาหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนามาวเิ คราะห์แนวทางการปฏิบัติตนได้ ๒.๓ สามารถนาเอาหลกั การทางปรัชญาทางพระพุทธศาสนามาเรยี นร้ใู หเ้ กดิ ความรใู้ หม่เพม่ิ เติม และ ตอ่ ยอดความรเู้ ดิมท่ีมีอย่ใู หด้ ียง่ิ ขึ้น ๓. วิธีการสอน และกจิ กรรม ๓.๑. นักศึกษา ต้ังประเด็นปัญหา สอบถาม เร่ืองมุมมองการเกิดข้ึนของศาสนาต่างๆ รวมถึง พระพทุ ธศาสนาในอดตี การแตกแยกทางความคดิ และข้อปฏิบตั ิ ๓.๒. ให้นักศึกษาทาใบงาน ในคาถามท้ายบทที่กาหนดให้ หรือ ผู้สอนคิดข้ึนมานอกเหนือจากท่ีมีใน เอกสาร ๓.๓. นาใบงานมาตรวจแล้วสรุปความคิดเห็นที่นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเพ่ือเพิ่มเติมความเข้าใจ และนาประเดน็ สาคัญมาหาข้อสรปุ ท่ถี ูกต้องตามหลักวิชาการ ๔. สื่อการสอน ๔.๑. เอกสารประกอบการสอนวชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท และอ่ืนๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๑

๔.๒. ใบงาน หน้าท่ี ๔ ๔.๓. คอมพิวเตอรโ์ ปรแกรม Microsoft Power Point หน้าที่ ๔ ๕. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น หน้าที่ ๖ ๕.๑. สงั เกตจากการมีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรม ๕.๒. สังเกตจากความสนใจฟังและซักถาม ๕.๓. จากการตรวจใบงานทใ่ี ห้ทาในช้นั เรียน ๖. แนะนาเน้ือหาสาระประจาบทท่ที รงคุณค่าควรศึกษา ดงั น้ี ๖.๑ ความหมายของปรชั ญา ๖.๒ ปรัชญาเบ้อื งตน้ ๖.๓ พุทธปรชั ญา หรอื ปรชั ญาตามแนวพระพุทธศาสนา เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๒

บทที่ ๑ พุทธปรชั ญาเถรวาท ความนา ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับปรชั ญา พุทธปรัชญาเถรวาทเป็นความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา ค้นคว้า ค้นหาความจริง ในทางปรัชญาเป็น การค้นหาความจริง เรียนรู้ศึกษา เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ตามความชอบใจ และสร้างสรรค์ประโยชน์จาก ความร้นู นั้ ใหป้ รากฏทั้งในทางท่เี ป็นรูปธรรม และนามธรรม ปรัชญาเป็นสาขาหนง่ึ ที่เราต้องศกึ ษาเพราะหลักปรัชญานั้น มีปรากฏอยู่ในหลักการต่าง ๆ โดยเฉพาะ ปรัชญาในทางศาสนาซึ่งจะเป็นหลักการเพ่ือช่วยให้หลักธรรมเกิดความสมบูรณ์ในเรื่องของวิเคราะห์ตีความ ขยายความ วิภาษ วจิ ารณ์ จนเกิดความรทู้ ีแ่ ท้จริง จากการคน้ หาจากหลักธรรมน้นั พระพุทธศาสนานั้น ได้มีนักปรัชญาผนวกเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักปรัชญาเพราะ สาเหตุคือ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักธรรมที่น่าค้นหา และบางประการยังเป็นหลักการที่ ประกอบด้วยเหตุและด้วยเหตุที่สมดุลกัน เช่นหลักของอริยสัจ ๔ ท่ีเป็นหัวใจหลักทาให้พระพุทธศาสนา แตกต่างจากศาสนาอ่ืนโดยสิ้นเชิง ท้ังยังเป็นหลักการที่เป็นวิทยาศาสตร์ สามารถพิสูจน์ได้ด้วยการทดลอง ปฏบิ ตั ิ รบั ร้เู หตทุ มี่ า และผลทจี่ ะไดร้ ับผ่านกระบวนพสิ ูจน์ในหลกั ธรรมนัน้ ๆ อีกประการหนึ่ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนานั้น จัดได้ว่าเป็นปรัชญาที่ยิ่งกว่าปรัชญาท่ัวไป เพราะ สืบเนื่องถึงลักษณะภาวะทางจิตวิญญาณ ไม่ใช่เฉพาะในรูปลักษณะแบบรูปธรรม แต่ยังสืบเนื่องเข้าไปถึง ลักษณะของนานธรรมอันเป็นสภาวะทางจิตใจ ท่ีสามารถทาให้เกิดความรู้สึกท่ีดีออกมา และเอ้ืออานวย ประโยชนแ์ กส่ งั คมไดอ้ กี ดว้ ย จงึ เรยี กวา่ เปน็ ลกั ษณะแห่งอภิปรชั ญา ดงั น้นั การศึกษาปรัชญาจงึ มคี วามจาเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน เพราะกระบวนการท่ีมีอยู่ในปรัชญา สามารถนามาปรบั ประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด ในชวี ติ สงั คม การศกึ ษา เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ได้อย่างเหมาะสม เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๓

๑.๑ ปรชั ญา ๑.๑.๑ ปรชั ญาเบ้อื งต้น ๑. ความหมาย เสถียร พันธรังสี กล่าวไว้ว่า \"ปรัชญา ได้แก่หลักฐานแห่งความรู้ ,หลักวิทยาการหรือหลักประพฤติ ปฏิบตั ิ หรอื หมายถงึ ความเช่อื อันใดอนั หน่ึง เป็นความร้คู วามคดิ ที่ไม่เกย่ี วข้องกับสงิ่ ศักด์ิสิทธ์ิ หรือเทพเจา้ ใดๆ\" หลวง วิจิตรวาทการ กล่าวไว้ว่า \"ปรัชญา หมายถึงหลักความดีท่ี สามารถสอนกันเองได้ คิดค้นมาใหม่ได้ ซ่ึงมีจดจารึกกันไว้เพ่ือศึกษากันต่อมา ไม่เก่ียวกบั ความศกั ดิ์สิทธ์ิใดๆ ไมไ่ ดม้ าจากเทพเจ้า หรอื สวรรค์ชน้ั ใด\" พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายไว้ ว่า \"ปรัชญาเป็นวิชาว่าด้วยหลักความรู้และความ จรงิ \" เพลโต นักปรัชญากรีกผู้ย่ิงใหญ่ กล่าวไว้ว่า \"ปรชั ญาหมายถึง การศึกษาหาความรู้เร่ืองส่ิงนิรันดรและธรรมชาติแท้จริงของ ส่ิง ทงั้ หลาย\" อริสโตเตลิ กล่าวไว้วา่ \"ปรชั ญาคือศาสตร์ ที่ สื บ ค้ น ถึ ง ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ส่ิ ง ท่ี มี อ ยู่ โ ด ย ตั ว เ อ ง ตลอดจนคุณลกั ษณะตามธรรมชาติของสิง่ น้นั \" กองต์ กล่าวไว้วา่ \"ปรชั ญาคือศาสตร์ของศาสตรท์ งั้ หลาย (Science of Science)\" วุนต์ กล่าวไวว้ า่ \"ปรชั ญา คือการรวบรวมความรู้ที่ได้จากวิทยาศาสตร์ สาขาตา่ งๆ มาไว้ในท่ีเดยี วกัน\" สรปุ ความหมายของปรัชญา ปรชั ญา โดยกว้างๆทัว่ ไป กพ็ ูดถึงความจริงทสี่ นิ้ สุด ความจริงที่สงู สดุ ความจรงิ ขัน้ สุดท้าย เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๔

รวมท้ังวิธีการท่ีจะนาไปสู่ความจริงนั้น ล้วนเป็นผลรวมแห่งประสบการณ์เดิมท่ีได้ผ่านการพิจารณาหรือ ไตร่ตรอง รวมท้ังพิสูจน์ทดลองมาอย่างรอบคอบถี่ถ้วนครบทุกข้ันตอน จนเป็นท่ียอมรับว่าเป็นทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติที่ดีทสี่ ดุ Philosophy คือ Science Principles (ความรู้เร่ืองหลัก) เช่น หลักจิตศาสตร์ หลักรัฐศาสตร์ หลัก วิทยาศาสตร์ แต่ปรัชญาตะวันตกยังหาข้อยุติเร่ืองหลักดังกล่าวไม่ได้ และด้วยเหตุนี้ Philosophy จึงเป็นเร่ือง โลกียะ ไม่เก่ียวกับโลกุตตระ จึงเป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหาท่ีว่า โลกน้ีคืออะไร? โลกนี้เพราะอะไร? โลกน้ีเป็น อย่างไร ปรชั ญา (ของตะวันออก) หมายถึง ความรู้อันประเสริฐอันได้แก่ ความรู้อันสุดท้ายซึ่งเม่ือบรรลุถึงแล้ว ความอยากจะรู้จะหมดไป เพราะไมม่ ีอะไรเหลอื ให้อยากรอู้ ีกต่อไป เป็นความรู้ท่ีตัดความสงสัยได้อย่างเด็ดขาด (อคถ กถ)ี ความรู้เกดิ จากความอยากรู้ ความอยากร้เู กดิ จากความไมร่ ู้ (๑) ประเภทของปรัชญา โดยท่ัวไปมีการแบ่งปรชั ญาออกเป็นสองประเภท คือ ปรัชญาบริสทุ ธิ์ (Pure philosophy) กับปรัชญา ประยุกต์ (Applied philosophy) (Mariano, ๑๙๙๐) ๑.๑ ปรัชญาบริสุทธิ์ หมายถึง การศึกษาปรัชญาท่ีเป็นเนื้อหา สาระของปรัชญาโดยตรง ไม่ใชศ่ กึ ษาเพื่อ การอ่ืน ๆ ท้ังน้ี โลกตะวันตกแบ่งปรัชญาออกเป็นสาม สาขาใหญ่ ๆ (ยึดเนื้อหา/ปัญหาพื้นฐาน เป็นหลัก) โดย การมุ่งตอบปัญหาใดปัญหาหนึ่ง (ในขณะท่ี ปรัชญา ตะวนั ออก ไมม่ กี ารแบ่งยอ่ ย) ไดแ้ ก่ ๑.๑.๑ อภิปรชั ญา (Metaphysics) อะไรคอื ความจรงิ ? ๑.๑.๒ ญาณวทิ ยา (Espistemology) เรารู้ความจรงิ ได้อย่างไร? ๑.๑.๓ คณุ วิทยา/อัคฆวทิ ยา (Axiology) ศกึ ษาเก่ยี วกบั คณุ ค่า โดยแยกได้สองประเภท คือ ก. จรยิ ศาสตร์ (เอาอะไรมาตัดสนิ การกระทาว่า ดหี รือช่วั ) ข. สนุ ทรียศาสตร์ (เอาอะไรมาตดั สนิ ความงาม) เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๕

มีการศึกษาโดยแบ่งเป็นยุคต่าง ๆ ข้ึนกับว่าในยุคสมัยน้ัน ๆ “ประเด็นร้อน” หรือความสนใจของ ประชาชนในสมัยน้ัน อยู่ที่ปัญหาเรื่องอะไร? (ความจริง ความรู้ คุณค่า) ดังนั้น จึงต้องศึกษาประวัติความคิด ของนกั ปรัชญาเพ่ือศกึ ษา “คาตอบทเ่ี ป็นไปไดต้ ามหลกั เหตผุ ล” ของแต่ละยคุ สมยั (วิทย์ วิศวเวทย์, ๒๕๓๘) ๑.๒ ปรชั ญาประยกุ ต์ หมายถึงการนาปรัชญาบริสุทธิ์ไปประยุกต์ใช้ตอบปัญหาโดยยึดการตอบสนองความปรารถนาท่ีจะรู้ ของมนษุ ย์ ท่ีปรารถนารู้ “หลักการ” เพื่อนาไปปฏิบัติ หรือปรารถนาท่ีจะรู้ “พื้นฐาน” เพื่อนาไปเป็นแนวทาง ตอบปญั หาในเรอ่ื งนั้น ๆ ได้แก่ ก. ปรัชญาศาสนา ข. ปรัชญาสังคมการเมอื ง ค. ปรัชญาคณติ ศาสตร์ ง. ปรัชญาการศกึ ษา จ. ปรัชญาวทิ ยาศาสตร์ ฉ. ปรัชญากฎหมาย (นติ ปิ รชั ญา) เปน็ ต้น ๑.๒ พุทธปรัชญา หรอื ปรชั ญาตามแนวพระพุทธศาสนา ๑.๒.๑ ลกั ษณะพทุ ธปรชั ญา พระพทุ ธเจ้ามีลกั ษณะเปน็ นักเหตผุ ล พยายามพสิ จู น์สรรพส่ิง โดยใช้กระบวนการทางเหตผุ ลเพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ถึงความจรงิ ท่ีมอี ยู่ แต่กบั ปัญหาทางอภิปรชั ญา พระองคจ์ ะน่ิงเฉย และบางคราวปฏิเสธท่จี ะ ถกเถียง พทุ ธปรัชญาอาจเรียกได้อีกอยา่ งวา่ ปฏิฐานนิยม เพราะมที ศั นะว่า คนเราควรจะพฒั นาชีวติ ใหด้ ใี น โลกปจั จบุ นั นี้ ๑.๒.๒ พุทธปรชั ญาในลักษะทางปรากฏการณ์นยิ ม ลกั ษณะพทุ ธปรัชญาท่ีกล่าวว่าเป็นปรากฏการณ์นิยม เพราะมีทัศนะว่า เรามีความรู้ที่แน่นอน เฉพาะ ในวตั ถทุ ปี่ รากฏตอ่ ประสบการณเ์ ชงิ ประจักษ์เทา่ นน้ั กลา่ วคือความจริงที่แสดงหรือปรากฏตามความเป็นจริงท่ี สามารถพสิ จู นแ์ ละมองเห็นเปน็ รปู ธรรมที่ชัดเจนตอ่ สายผูต้ ้องการรับรู้ ศกึ ษาในทางพระพุทธศาสนา ๑.๒.๓ พทุ ธปรัชญาเป็นประจักษน์ ยิ ม ลักษณะพทุ ธปรชั ญาที่กล่าวว่าเป็นประจักษ์นิยม เพราะมีทัศนะว่า ประสบการณ์เป็นสิ่งเดียวท่ีพิสูจน์ ความรู้ เมอ่ื กลา่ วถึงความจริงสูงสดุ นกั ปรัชญาบางคนได้ตีความหมายท่าทีของพระพุทธเจา้ ในรูปแบบตา่ งๆ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๖

ดว้ ยเหตุผลดังกลา่ วมาแล้วนี้ ๑.๒.๔ พทุ ธปรชั ญาเปน็ แบบ อไญยยนยิ ม(ความรอู้ นั ลึกซงึ้ ) ลักษณะพุทธปรัชญาที่กล่าวว่าเป็นอไญยยนิยมด้วยเหตุผลว่า ด้วยหลักของประสบการณ์นิยมท่ีว่า ความรู้เกย่ี วกบั สิง่ ทไ่ี มอ่ าจจะรับรู้ได้ทางประสาทสัมผัสเป็นสิ่งท่ีเป็นไปไม่ได้ ซึ่งบางคราวพระพุทธเจ้าระบุถึง ความรเู้ ช่นน้ีวา่ “ธรรมะ เปน็ ส่งิ ทล่ี กึ ซง้ึ เห็นยาก รไู้ ด้ยาก ละเอยี ด ประณีต เป็นสิ่งที่ไม่อาจจะรู้ได้โดยวิธีการ ถกเถียงดว้ ยเหตผุ ล ต้องคนทีเ่ ปน็ บณั ฑิตเท่าน้นั จะพงึ รู้ได”้ ๑.๒.๕ พุทธปรชั ญาเป็นแบบ โลกตุ ตรนยิ ม (Transcendentalism)” ลกั ษณะพทุ ธปรชั ญาท่กี ล่าวว่าเป็นแบบโลกุตตรนยิ มเพราะ พุทธปรัชญายอมรับว่า ปัญญาเป็นความรู้ สูงสุด เพราะปัญญาเป็นความรู้ท่ีล่วงเลยผัสสะออกไป และอยู่เหนือปุถุชนท่ีไม่ผ่านกระบวนการศึกษาปฏิบัติ ขดั เกลาจนชานาญและเห็นแจง้ ๑) สานักพุทธปรชั ญาทีโ่ ดดเด่น นิกายเถรวาท หรอื สัพพตั ถกิ วาทิน แบ่งออกเป็น ๒ สานัก คอื ๑. ไวภาษิกะ (Vaibhasika) ๒. เสาตรนั ติกะ (Sautrantika) พุทธปรัชญา ๒ สานักแรก ยอมรับความเป็นจริงของวัตถุและจิตใจว่ามีอยู่ตลอดกาลจึงเรียกอีกชื่อ หนึง่ วา่ “สพั พตั ถิกวาทิน” หรือ “สรวาสติวาทิน” นกิ ายเถรวาท แบ่งออกเป็น ๒ สานกั คอื ๑. โยคาจาร (Yogacara) หรือ วิญญาณวาทะ ๒. มาธยมกิ ะ(Madhyamika) หรอื ศูนยวาทะ พุทธปรัชญา ๒ นิกายหลัง มีความเห็นแตกต่างกันในปัญหาเรื่องความมีอยู่ของวัตถุภายนอก โดย สานักโยคาจาร ลดฐานะของวัตถุลงไปเป็นเพียงสิ่งท่ีจิตสร้างข้ึน ไม่มีตัวจริง ส่วนสานักมาธยมิกะ กลับเห็นว่า สรรพสงิ่ ว่างเปลา่ จงึ มชี อื่ ว่า ศูนยวาทะ ๒) จดุ เร่มิ ปรชั ญานกิ ายสพั พัตถกิ วาทนิ นกิ ายเถรวาท สพั พตั ถิกวาทิน มีความเช่ือวา่ วัตถแุ ละจิตมอี ยู่จรงิ ประกอบดว้ ยธาตตุ า่ งๆ ท่เี รยี กวา่ \"ธรรมะ\" ๗๕ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๗

อยา่ ง (ธรรมธาตุ ๖๔ มนะ ๑ และ ธาตุ ๑๐) ต้นเดิมของธรรมะเหล่านี้เรียกว่า \"สังขตะ\" สังขตะของ จิตมี ๔๖ ชนดิ มธี รรม ๓ ชนดิ ท่ีไม่เป็นสงั ขตะ คือ อากาศ ปฏิสงั ขยานิโรธ และอปฏิสังขยานโิ รธ ปรมาณู (Atom) เป็นหน่วยที่เล็กท่ีสุดของวัตถุ มี ๔ ชนิด คือ ดิน น้า ไฟ และ ลม ในร่างกายของ มนษุ ย์นน้ั ระบบประสาทสมั ผัสทั้ง ๕ ถูกสรา้ งดว้ ยปรมาณูพิเศษ ๕ ชนิด ตัวปรมาณูเราไม่อาจจะสัมผัสได้ แต่ เพราะการรวมตัวของปรมาณูหลายชนิดสร้างสิ่งที่หยาบกว่าให้ปรากฏขึ้นมา เราอาจจะรับรู้ได้สรรพสิ่งอยู่ใน สภาพท่ีเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา และเมอ่ื ผูใ้ ดบรรลุนิพพาน ปรมาณูกจ็ ะหมดสภาพไปเอง ๓) จุดเริ่มปรัชญานกิ ายสัพพัตถกิ วาทนิ อรรถกถาอภิธรรมก็เกิดข้ึนมามากมาย จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการตีความพระพุทธพจน์ในเชิงปรัชญา นับแต่นนั้ มา และเมอื่ เกิดความคดิ เหน็ แตกต่างกนั กโ็ ตแ้ ย้งกันเพ่อื ช้ีแจงความจริง และตอนใดท่ีตนเองเข้าใจดี จะเขียนเป็นสูตรอธิบายออกมา เม่ือมีผู้เช่ือตามมากขึ้น ก็เกิดสานักปรัชญาต่างๆ ซึ่งจะช้ีแจงโดยสังเขป ตามลาดับ (๑) สานักไวภาษิก (Vaibhasika School) คาว่า \"ไวภาษิกะ\" เป็นชือ่ คมั ภรี อ์ รรถกถาอภิธรรมปฎิ ก ชือ่ \"มหาวิภาษา\" หรือภาษาวิเศษสานักไวภา- ษิกะ กลา่ ววา่ ภาษาของสานักอื่น ๆ ผดิ พลาด เรียกวา่ \"วิรุทธภาษา\" และปฏเิ สธความน่าเชอ่ื ถือของพระ สตุ ตนั ตปิฎก แต่ยอมรบั \"พระอภิธรรมปฎิ ก\" ว่าเปน็ ของลึกซ้งึ นา่ เช่ือถือกวา่ (๒) สานกั ไวภาษิกะ เป็นสาขาหนึ่งของสัพพัตถิกวาทิน สืบเนื่องมาจากการทาสังคายนาที่แคชเมียร์ อรรถกถา พระไตรปิฎกได้รับการแต่งและจารึกเป็นภาษาสันสกฤต โดยการอานวยการของท่านวสุมิตร คัมภีร์ชื่อ \"อภิธรรมมหาวิภาษาศาสตร์\" ที่อธิบายคัมภีร์อภิธรรมชญาณปรัศฐานะ (Objecctivist Trend) แต่ต้นฉบับ ภาษาสันสกฤตสูญหายไป คงเหลือแต่ฉบับที่แปลสู่ภาษาจีน ของสมณะ ฮวน จัง (Hsuan Tsang) และอีก คัมภีร์หนึ่งช่ือ \"อภิธัมมโกศะ\" รจนาโดยท่านวสุพันธุ อาศัยฐานจากอรรถกถามหาวิภาษาศาสตร์ อันเป็นที่ ยอมรบั กนั ว่าเป็นวรรณกรรมทางศาสนาท่ียอดเยีย่ มทสี่ ุดใช้อธิบายสรปุ เน้ือหาพระอภธิ รรมปฎิ ก ๑.๒.๖ ทศั นะทางปรัชญา ไวภาษิกะ ถือว่า สิ่งท่ีมีอยู่จริง มีท้ังร่างกาย(วัตถุ) และจิตใจ (นามธรรม) แต่ละอย่างที่อยู่เป็นอิสระ แยกจากกันไม่ขน้ึ แก่กัน และสภาวะทั้ง ๒ อย่างคือ วัตถุ และนามธรรม ต่างก็มีส่วนประกอบหลายอย่าง ไม่มี ส่งิ ใดเลยทจี่ ะมีสภาพเปน็ อมตะ สรรพส่งิ มกี ารผนั แปรเปล่ียนแปลงเสมอ นอกจาก สภาวะ ๓ อย่างคืออวกาศ และนิพพาน ๒ อย่าง ซ่ึงคงท่ีไม่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนประกอบที่เล็กท่ีสุดของวัตถุคือปรมาณู เม่ือปรมาณู เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๘

รวมตัวกัน วัตถุก็ก่อเป็นรูปร่างข้ึนมา แต่ภาวะของปรมาณูเราไม่อาจสัมผัสได้ นอกจากจะสัมผัสกลุ่มที่ได้ รวมตวั กนั แลว้ ของปรมาณูทีป่ รากฏเปน็ รูปร่างออกมาเท่านนั้ [๑] สภาวะของปรมาณูไมม่ รี ูปรา่ ง ไม่มีเสียง ไม่มีรส และไร้สี ไม่อาจจะแบ่งย่อยลงไปได้อีกแล้ว และก็ไม่ สามารถจะละลายตัวเข้าไปอยู่ในปรมาณูอื่นได้ ปรมาณูมี ๙ อย่างคือ ธาตุ ๔ สี กลิ่น รส สัมผัส และกรรม ธาตุ ๑.๒.๗ ทัศนะทางอภิปรชั ญา ธรรมะ (Dharmas) มาแทนคาว่า ความเป็นจริง(Reality) เพราะคาว่า ธรรมะ (Dharmas) นี้มี ความหมายกว้างมากในพุทธปรัชญา ธรรมะใช้หมายความถึงธาตุที่ละเอียดที่สุดท่ีเป็นวัตถุธาตุ และจิต ธาตุ ซึ่งกิริยาและปฏิกิริยาของธาตุเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการรังสรรค์จักรวาลทั้งหมดกล่าวได้ว่า โลกคือ การรวมตวั ของธรรมะท้ังหลาย ธรรมะทุกอย่างมีการเกิดเนื่องมาจากสาเหตุ แต่ละอย่างมีอยู่อย่างอิสระ ธรรมะมีลักษณะ เปลี่ยนแปลงทุกขณะจากขณะหน่ึงไปสู่อีกขณะหน่ึง เพราะโลกประกอบด้วยธรรมะท่ีมีลักษณะเปล่ียนแปลง เป็นโครงสร้าง โลกจึงจาเป็นต้องมีสภาพเปลี่ยนแปลงไปด้วย เพื่ออธิบายให้เห็นภาพความจริงของโลกที่ สรา้ งมาจากธรรมะ ๑.๓ บทสรุปสาระสาคัญประจาบทที่ ๑ แนวทางการศึกษาหลักปรัชญาต่างๆ จาเป็นต้องเรียนรู้หลักการของนักปรัชญา ท่ีและมาของปรัชญา ต้ังแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เพ่ือที่จะนาหลักการเหล่าน้ันมาเปรียบเทียบกระบวนแนวความคิด วิเคราะห์ ลักษณะแนวคิด ปรับเปลี่ยนแนวความคิดและสามารถนาเอาหลักการเหล่านั้นให้เป็นประโยชน์ในด้าน การศึกษาตอ่ ไป ในทางพระพุทธศาสนาน้ัน มีหลักปรัชญาหลากหลายรูปแบบอันเกิดจากการนาเอาหลักปรัชญามา ปรับให้เข้ากับหลักธรรม มีท้งั ปรัชญาแบบดั้งเดมิ ท่เี รยี กวา่ ปรัชญาบริสุทธิ์ และปรัชญาประยุกต์ เป็นการแยก และปรบั แนวคิดโดยอาศัยพื้นฐานเดิมของหลักปรัชญาดั้งเดิมจนเกิดเป็นแนวคิดใหม่ ซึ่งคาดว่า หลักปรัชญา ประยุกต์น้ี จะยังคงดาเนินต่อไป ตราบเท่าท่ีมีนักคิด นักแสวงหาความรู้ ใคร่ท่ีจะเรียนรู้ ซ่ึงจะทาให้แนวคิด หลักการทางปรชั ญาในรปู แบบใหม่และสามารถนามาพฒั นาสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๙

๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๑ ๑. ปรัชญามีความหมายว่า อยา่ งไร จงอธบิ าย ๒. อภปิ รชั ญา เปน็ การศกึ ษาเรื่องใด จงอธบิ าย ๓. ปรัชญาบริสทุ ธ์ิ หมายถงึ ปรชั ญาแบบใด จงอธบิ าย ๔. พทุ ธปรชั ญาเปน็ ลักษณะปรัชญาแบบใด จงอธบิ าย พร้อมแสดงหลักการและเหตผุ ลประกอบ ๕. ปรัชญาประยุกต์ หมายถึงปรัชญาแบบใด จงบอกลกั ษณะของปรชั ญาประยุกตม์ าให้ครบ ๖. พทุ ธปรัชญาแบ่งแยกออกเปน็ แต่ละสาขา ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง จงอธบิ าย ๗. สรุปปรชั ญา มีความหมายวา่ อยา่ งไร ในทัศนะของนักศึกษา ปรชั ญาเปน็ เนื้อหาการศึกษาแบบใด จงแสดงเหตุผล ๘. “โลกทัศน์ ใหม่ มีแนวคิดใหม่ คนทมี่ ีใจรักการศกึ ษาค้นควา้ จะเป็นบุคคลทที่ นั ต่อโลก ทนั ตอ่ ยุค สมยั และเสรมิ สรา้ งสิง่ ใหม่ๆ เพอื่ มนษุ ย์ชาติ” จากขอ้ ความน้ีเป็นลักษณะแนวคิดแบบปรัชญาใด จงให้เหตุผล ๙. รากฐานปรัชญา และการเกิดขึน้ ของปรัชญาเกิดจากอะไร ๑๐. ให้นกั ศกึ ษา คิด หัวขอ้ เก่ียวกบั พุทธปรัชญาที่คิดว่าน่าจะเปน็ ประโยชน์ ต่อตนเอง และตอ่ สงั คม ยกตัวอย่างเช่น “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ของในหลวง พรอ้ มบอกหลกั การตามหัวข้อธรรมท่สี ามารถนามา ประยกุ ตใ์ ช้ได้ (รายงาน / โครงงาน) ๑.๕ เอกสารอ้างองิ ประจาบทที่ ๑ ภาษาไทย เดือน คาดี (ดร)., ปญั หาปรัชญา; โอเดยี นสโตร.์ กรงุ เทพฯ , ๑๕๓๔. สเุ มธ เมธาวทิ ยากูล (ผศ)., ปรัชญาเบื้องตน้ (Introduction to Philosophy); พิมพ์คร้งั ที่ ๑ , โอ. เอส.พริ้นติ้ง เฮ้า, ๒๕๓๔. พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์, อธิบายคา “ปรชั ญา” และ “อภิปรชั ญา” , ในสมุดท่ี ระลกึ วันราชบณั ฑิตยสถาน, ๓๑ มนี าคม ๒๔๘๖. อาจารย์ บัณฑิต รอดเทยี น, Dhammaca, Vol. ๔ May – Oct ๒๐๐๑. แสง จนั ทร์งาม, วิธสี อนของพระพุทธเจ้า, พิมพ์ครงั้ ท่ี ๑ ; กรุงเทพฯ : กมลการพิมพ์ ๒๕๒๖. ___________, พุทธศาสนาวิทยา ,พิมพ์ครง้ั ท่ี ๓ .กรงุ เทพฯ : สร้างสรรคบ์ ๊กุ ค.์ ๒๕๓๕. เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๑๐

ภาษาอังกฤษ E.G. Spaulding in the New Rationalism (New york : Holty, ๑๙๑๘ ). เอกสารอ่ืนๆ แหลง่ ท่ีมา (ออนไลน์) http://wirotephilosophy.blogspot.com/ ค้นควา้ วันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๔ แหลง่ ทมี่ า (ออนไลน์) http://franciswut๐๑-๑-๒.blogspot.com/ ค้นควา้ วนั ท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๔ แบบทดสอบทา้ ยบทที่ ๑ ความหมายพทุ ธปรชั ญาเถรวาท จานวน ๑๕ ข้อ ๑. ข้อใดอธบิ ายความหมาย Philosophy ได้ถกู ตอ้ งทส่ี ุด ก. ตา่ งศกึ ษาหาความร้เู พื่อเกิดศรัทธา ข. โดง่ ศกึ ษาหาความรเู้ พื่อเกียรตยิ ศ ค. เดน่ ศกึ ษาหาความรูเ้ พ่อื ความรู้ ง. ดาศึกษาหาความรู้เพ่ือความศรัทธา เกียรตยิ ศ และความรู้ ๒. ทา่ ทที างปรัชญาท่ีจะช่วยให้เรามีปัญญาเข้าถึงความรู้ความจรงิ คอื ข้อใด ก. เหตผุ ล ข. ความศรทั ธา ค. จินตนาการ ง. ถกู ทกุ ข้อ ๓. ข้อใดคือลกั ษณะของการตอบคาถามของนกั ปรชั ญา ก. ปัญหาเดยี วกนั นักปรัชญาคนเดยี วกนั มหี ลายคาตอบ ข. ปัญหาเดียวกัน นกั ปรัชญาหลายคนมีคาตอบคาตอบเดยี ว ค. ปญั หาเดยี วกัน นักปรชั ญาหลายคนมคี าตอบตา่ งกนั ง. ปัญหาเดยี วกัน มีหลายคาตอบ แต่เปน็ ไปได้คาตอบเดยี ว ๔. ปรัชญากรกี เรมิ่ ตน้ จากนักปรชั ญาสสารนยิ ม คือ ธาเลส และพฒั นาไปถึงนกั ปรชั ญาจติ นิยม คอื เพลโต เราสามารถอธบิ ายปรัชญากรกี ได้วา่ ก. ปรชั ญากรกี เรม่ิ ตันต้ังแตข่ นั้ หยาบสุด คอื ความร้ทู อ่ี าศยั อายตนะภายนอกแท้ ๆ ไปจนถึงขนั้ ที่ใช้ เหตผุ ลล้วน ๆ ข. เริ่มต้นมองหาความจริงจากภายนอกแลว้ ย้อนมองหาความจริงจากภายใน ค. มนุษย์มปี ญั ญาเข้าถึงความจรงิ ง. ถูกทุกขอ้ ๕. ขอ้ ใดอธิบายความหมายอภปิ รัชญาได้ถูกต้องที่สดุ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๑๑

ก. โลกที่ปรากฏเปน็ จรงิ หรอื ไม่ หรอื มคี วามจรงิ แท้ที่อยเู่ บอ้ื งหลงั ข. ความรนู้ าไปสคู่ วามจริง ค. แบบแหง่ การประพฤตนิ าไปสู่ความจรงิ ง. การศึกษาปรชั ญาหลังปรัชญา ๖. ข้อใดแสดงถึงความคดิ ลทั ธิจิตนยิ ม ก. คุณคา่ เกดิ ขึ้นจากมนษุ ย์ ข. จติ เกิดขน้ึ จากวิวัฒนาการอนั ยาวนานของโลก ค. จกั รวาลมกี ฎ มรี ะเบียบแบบแผน ง. ความดี ความงามสัมพันธ์กบั สภาพแวดลอ้ มและสังคม ๗. เพลโตมแี นวความคดิ ตามขอ้ ใด ก. แบบเปน็ ส่ิงช่วั คราว ข. แบบเป็นสิ่งไม่เปลย่ี นแปลง ค. มนษุ ย์คดิ ค้นเรอื่ งโลกของแบบ ง. แบบอยูภ่ ายในโลกน้ี ๘. ธรรมชาตนิ ยิ มให้ความสาคญั กับส่งิ ใด ก. จติ ข. สสาร ค. สิ่งอยู่ในอวกาศและเวลา ง. ทฤษฎีการทอนลง ๙. พระพทุ ธศาสนามลี ักษณะเป็นเชงิ ประจกั ษใ์ นท่ีนห้ี มายถึงขอ้ ใด ก. มุมมองเพยี งการเห็นเท่านัน้ ข. การฝึกประสบการณ์ ค. ทุกสงิ่ คือสสาร ง. ประสาทสมั ผัสทง้ั ๕ คอื ตัวรับรู้ ๑๐. เสรีภาพของมนุษยเ์ กดิ จากเหตุใด ก. จติ ข. กาย ค. กลไกทางานของสมองและระบบประสาท ง. ผลพวงวิวัฒนาการของจติ และกาย ๑๑. พระเจา้ มอี ยู่จริงเพราะดลใจใหม้ นุษยผ์ ูเ้ ป็นสง่ิ จากัดคิดถึงพระเจ้าท่ีเป็นส่ิงไร้จากัด ทฤษฎีท่ีพิสูจน์การ มีอยขู่ องพระเจ้านคี้ อื ทฤษฎีใด ก. ทฤษฎีเชิงเอกภพ ข. ทฤษฎเี ชงิ วัตถุประสงค์ ค. ทฤษฎีเชงิ ภววิทยา ง. ทฤษฎีเชิงจริยธรรม ๑๒. ในท่าทีของพทุ ธปรัชญาเถรวาท เมื่อเราพบคนถกู แทง เราจะทาอยา่ งไรกับคนเจบ็ ก. ตามหาผรู้ า้ ย ข. ตรวจดูอาวุธว่าทาจากวสั ดอุ ะไร ค. รีบพาผบู้ าดเจบ็ ไปหาหมอ ง. อ่านตาราเพ่อื ช่วยคนเจ็บ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๑๒

๑๓. ขอ้ ใดอธิบายหลักการอริยสจั สไี่ ด้ถกู ตอ้ งทส่ี ดุ ก. อรยิ สัจส่คี อื ความจรงิ ทห่ี ลีกเล่ียงการสดุ โตง่ ทั้งสองทาง ข. อริยสจั ส่ีคอื ความจริงผ่านการพสิ จู น์ทางเหตุผล ค. อริยสัจส่ีคอื ความจริงเหนือเหตุผล ง. อรยิ สัจสี่คือทางสายกลางเพอ่ื ประนปี ระนอมทางสดุ โต่งทั้งสองทาง ๑๔. ตามหลักพทุ ธศาสนาความทุกข์เกดิ จาก ก. สงั คมและสิ่งแวดล้อม ข. ความยากจน ค. ความอยากมี อยากเปน็ ง. ความเปลย่ี นแปลงของสรรพสิ่ง ๑๕. “ฉนั ไม่อยากมตี ีนกาเลย” จัดวา่ เปน็ ตณั หาแบบไหน ก. กามตัณหา ข. ภวตณั หา ค. วภิ วตณั หา ง. ผิดทุกขอ้ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๑๓

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี ๒ ๑. หัวข้อประจาบทที่ ๒ โลก ๑.๑ ความนา ๑.๒ ความหมายของโลก ๑.๒.๑ ความหมายของโลก ๑.๒.๒ กาเนดิ โลก ๑.๒.๓ โครงสรา้ งภายในของโลก ๑.๒.๔ โครงสรา้ งภายในของโลกแบง่ ตามองค์ประกอบทางเคมี ๑.๒.๕ สนามแมเ่ หลก็ โลก ๑.๓ โลกในทศั นะทางพระพทุ ธศาสนา ๑.๓.๑ โอกาสโลก ๑.๓.๒ สังขารโลก ๑.๓.๓ สัตว์โลก ๑.๔ สรปุ สาระสาคญั ประจาบทท่ี ๒ ๑.๕ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๒ ๑.๖ เอกสารอ้างองิ ประจาบทท่ี ๒ ๑.๗ แบบทดสอบท้ายบทที่ ๒ ๒. วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม เมอื่ ศึกษาบทที่ ๒ จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ ๒.๑ อธิบายความหมายของโลกท้งั ทางธรณีวิทยา ๒.๒ สามารถวิเคราะห์โลกโดยการเปรียบเทยี บกับหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาได้ ๒.๓ สามารถนาเอาหลักการทางธรณีวิทยาที่เก่ียวกับโลกมาปรับเข้ากับหลักธรรม และปรับใช้ในชีวิต ทางสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสมตามสภาพความเป็นจริง โดยผ่านทางการนาเสนองาน การเผยแผห่ ลักธรรม เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๑๔

๓. วิธีการสอน และกจิ กรรม ๓.๑. นักศึกษา ต้ังประเด็นปัญหา สอบถาม เร่ืองโลก ท้ังทางธรณีวิทยาและทางธรรม โดยตั้งคาถาม ให้นกั ศกึ ษาแสดงความคิดเห็นตามความต้องการของตนเอง แล้วสรุปโดยภาพรวม พร้อมท้ังต้ังคาถามปัญหาให้ นักศกึ ษาไปคน้ ควา้ เพ่มิ เติม ๓.๒. ให้นักศึกษาทาใบงาน ในคาถามท้ายบทท่ีกาหนดให้ หรือ ผู้สอนคิดข้ึนมานอกเหนือจากท่ีมีใน เอกสาร ๓.๓. นาใบงานมาตรวจแล้วสรุปความคิดเห็นที่นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเพื่อเพิ่มเติมความเข้าใจ และนาประเดน็ สาคญั มาหาขอ้ สรุปท่ีถกู ต้องตามหลักวชิ าการ ๔. สื่อการสอน ๔.๑. เอกสารประกอบการสอนวิชาพทุ ธปรชั ญาเถรวาท และอน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้อง ๔.๒. ใบงาน ๔.๓. คอมพวิ เตอร์โปรแกรม Microsoft Power Point ๕. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียน ๕.๑. สงั เกตจากการมสี ว่ นรว่ มในการทากิจกรรม ๕.๒. สังเกตจากความสนใจฟังและซักถาม ๕.๓. จากการตรวจใบงานทใ่ี ห้ทาในชั้นเรยี น ๖. แนะนาเน้ือหาสาระประจาบททที่ รงคุณคา่ ควรศึกษา ดังนี้ ๖.๑ ความหมายของโลก หน้าท่ี ๑๗ - กาเนดิ โลก หน้าที่ ๑๘ - โครงสร้างภายในของโลก หนา้ ที่ ๑๙ - โครงสรา้ งภายในของโลกแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมี หน้าท่ี ๒๑ - สนามแมเ่ หล็กโลก หนา้ ท่ี ๒๓ ๖.๒ โลกในทศั นะทางพระพุทธศาสนา หน้าท่ี ๒๔ - โอกาสโลก หนา้ ที่ ๒๕ - สังขารโลก หน้าท่ี ๒๖ - สัตว์โลก หน้าท่ี ๓๒ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๑๕

บทท่ี ๒ โลก (The Wrold) ความนา โลก คือ สรรพสิ่งที่ก่อตัวเป็นมวลก้อน อาศัยระยะเวลายาวนานกว่าที่จะรวมตัวและอยู่ในสภาวะที่ เหมาะสมกับการให้กาเนิดส่ิงมีชีวิตได้ โลกประกอบด้วย พื้นดิน พื้นน้า อากาศ แสงสว่างห่อหุ้มอยู่ เป็นเคร่ือง ดาเนนิ ชีวติ ใหส้ ่ิงมชี ีวิตดารงอยไู่ ด้ ในทางวิทยาศาสตรย์ ังมอี ีกหลากหลายองค์ประกอบท่ีประกอบรวมตัวกันเข้า เป็นโลก เหล่านี้เป็นทฤษฎีหลักการทางธรณีวิทยา และทางวิทยาศาสตร์ และอีกหลายสาขา วิชาการท่ี เก่ยี วขอ้ งกับโลก ในทางศาสนาอาจแบ่งได้ ๒ ประเภทคือ ๑.ประเภทความเช่ือแบบเทวนิยม มีความเชอื่ วา่ โลกเกดิ ข้ึนได้เพราะมีผู้สร้าง ผู้ท่ีจะสร้างโลกได้ต้องมี อานาจเหนอื ส่ิงอ่นื ใด คานยิ ามของผู้ทีเ่ ชอ่ื คอื พระเจา้ สูงสุด ซง่ึ เปน็ ผู้สร้างโลก อยเู่ หนือโลก อยู่เหนือ กฎเกณฑ์ ของโลก จะดลบนั ดาลให้เกดิ ภัยพิบัติ หรือสมดุลทางธรรมภายในโลกได้ ทาลายได้หากไมพ่ อใจ เป็นต้น ๒. ประเภทที่มีความเช่ือในรูปแบบอเทวนิยม เชื่อว่า โลกเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติไม่มีใครสร้าง เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ตามกฎของไตรลักษณ์ (ตามความเช่ือทางพระพุทธศาสนา) โลกอาจมีทั้งส่วนที่ เป็นสิ่งมีชีวิต (สัตว์โลก) และธรรมชาติทั่วไป (โอกาสโลก) หรือสิ่งที่กาเนิดขึ้นมาแล้วถึงคราวของส่ิงนั้น ก็ จะต้องแตกสลายไป (สงั ขารโลก) ดังนั้น คาว่าโลก จงึ เปน็ ทง้ั ส่วนท่มี นุษย์คิดว่า เกดิ ข้นึ เอง และ ถกู สร้างขนึ้ จากผู้ท่ีมีอานาจ มีฤทธิ์ หรือ ผู้นัน้ คือพระเจ้า สรา้ งขน้ึ มา การศึกษาเร่ืองโลก จึงเป็นอีกเนื้อหน่ึงในการศึกษาปรัชญาทางพระพุทธศาสนา เพราะมีเน้ือหาที่เป็น ส่วนท่ีต้องพิจารณา ทาความเข้าใจเป็นอย่างยิ่ง ในบางเรื่องมีส่วนที่เก่ียวข้องปรากฏในพระไตรปิฎกกล่าวถึง เร่อื งโลก ท่มี ีทัง้ ทัศนะคติวา่ มผี ู้สร้าง และ เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซึ่งดูขัดแย้งกัน จึงควรทาความเข้าใจ และ ตีความให้ถกู ต้อง เพอื่ เปน็ การรกั ษาหลักธรรมและทาใหเ้ กดิ ความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง เปน็ อันหนึ่งอนั เดียว เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๑๖

๑.๑ ความหมายของโลก ๑.๑.๑ ความหมายของโลก โลก (บาลี: loka; อังกฤษ: world) มีความหมาย โดยปริยายหมายถึงหมู่มนุษย์ รวมท้ังอารยธรรมมนุษย์ โดยรวมทั้งหมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัตศิ าสตร์ หรอื สภาพของมนษุ ยโ์ ดยทว่ั ๆ ไป คาว่า ท่ัว โลก หมายถึงท่ใี ด ๆ ในโลก (ดาวเคราะห์) ใ น ท า ง ป รั ช ญ า โ ล ก อ า จ ห ม า ย ถึ ง เ อ ก ภ พ ท า ง กายภาพทั้งหมด หรือโลกในแบบภววิทยา ในทางเทววิทยาโลกหมายถึงโลกแบบวัตถุหรือภพภูมิท่ีเป็นโลกิยะ ซึ่งต่างจากสภาพท่ีเป็นจิตวิญญาณ อุตตรภาพ หรือศักดิ์สิทธิ์ คาว่า โลกาวินาศ หมายถึงสภาพการณ์ท่ีเช่ือว่า เปน็ จุดสน้ิ สดุ ของประวตั ศิ าสตรม์ นษุ ยชาติ แนวคิดนีม้ กั พบในศาสนาต่าง ๆ ประวัติศาสตรโ์ ลก หมายถึง พัฒนาการทางภูมริ ฐั ศาสตร์หลัก ๆ ในช่วง ๕ สหัสวรรษตั้งแต่อารยธรรม แรกมาจนปจั จุบัน ประชากรโลก หมายถงึ จานวนรวมประชากรมนุษย์ท้ังหมดในช่วงเวลาหน่ึง ๆ และเช่นเดียวกันคาว่า เศรษฐกจิ โลกก็หมายถึงสภาพเศรษฐกิจของสงั คมทง้ั หมดทกุ ประเทศ โดยเฉพาะในบริบทของโลกาภิวตั น์ คาว่า โลกในศาสนาโลก ภาษาโลก และ สงครามโลก เน้นถงึ ขอบข่ายระหว่างประเทศหรือระหว่าง ทวีป โดยไม่ได้หมายความวา่ เกี่ยวกบั โลกโดยรวมทั้งหมด ส่วนคาว่า โลกในแผนท่ีโลก ภูมิอากาศโลก มิได้ หมายถึงโลกในเชิงวัฒนธรรมหรืออารยธรรมมนุษย์ แต่ หมายถึงโลกทเ่ี ป็นดาวเคราะห์ (ดทู ่ี โลก (ดาวเคราะห)์ ๑ ๑ http://th.wikipedia.org/ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๑๗

๑.๑.๒ กาเนิดโลก เม่ือประมาณ ๔,๖๐๐ ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซในเอกภพบริเวณน้ี ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชื่อว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่า หมอกเพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มก๊าซยุบตัวและ หมุนตัวเป็นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชั่น กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ช่ือว่าดวง อาทติ ย์ ส่วนวัสดุทอ่ี ยู่รอบๆ มอี ุณหภมู ติ ่ากวา่ รวมตัวเปน็ กลมุ่ ๆ มมี วลสารและความหนาแน่นมากขึ้นเป็นชั้นๆ และกลายเปน็ ดาวเคราะหใ์ นทีส่ ดุ (ภาพท่ี ๑) ภาพท่ี ๑ กาเนิดระบบสรุ ยิ ะ โลกในยุคแรกเป็นของเหลวหนืดร้อน ถูกกระหน่าชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลา องค์ประกอบซ่ึงเป็น ธาตุหนัก เช่น เหล็ก และนิเกิล จมตัวลงสู่แกนกลางของโลก ขณะที่องค์ประกอบซ่ึงเป็นธาตุเบา เช่น ซิลิกอน ลอยตัวข้ึนสู่เปลือกนอก ก๊าซต่างๆ เช่น ไฮโดรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ พยายามแทรกตัวออกจากพื้นผิว กา๊ ซไฮโดรเจนถกู ลมสรุ ยิ ะจากดวงอาทติ ย์ทาลายให้แตกเป็นประจุ ส่วนหน่ึงหลุดหนีออกสู่อวกาศ อีกส่วนหน่ึง รวมตัวกับออกซิเจนกลายเป็นไอน้า เมื่อโลกเย็นลง เปลือกนอกตกผลึกเป็นของแข็ง ไอน้าในอากาศควบแน่น เกิดฝน น้าฝนไดล้ ะลายคาร์บอนไดออกไซด์ลงมาสะสมบนพ้ืนผิว เกิดทะเลและมหาสมุทร สองพันล้านปีต่อมา การววิ ัฒนาการของสงิ่ มีชีวิต ได้นาคาร์บอนไดออกไซด์มาผ่านการสังเคราะห์แสง เพ่ือสร้างพลังงาน และให้ผล ผลิตเป็นก๊าซออกซิเจน ก๊าซออกซิเจนที่ลอยขึ้นสู่ช้ันบรรยากาศช้ันบน แตกตัวและรวมตัวเป็นก๊าซโอโซน ซึ่ง เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๑๘

ช่วยปูองกันอันตรายจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ทาให้ส่ิงมีชีวิตมากขึ้น และปริมาณของออกซิเจนมากข้ึนอีก ออกซิเจนจึงมบี ทบาทสาคัญต่อการเปลยี่ นแปลงบนพืน้ ผวิ โลกในเวลาต่อมา (ภาพที่ ๒) ภาพท่ี ๒ กาเนดิ โลก ๑.๑.๓ โครงสร้างภายในของโลก โลกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางยาว ๑๒,๗๕๖ กิโลเมตร (รัศมี ๖,๓๗๘ กิโลเมตร) มีมวลสาร ๖ x ๑๐๒๔ กิโลกรัม และมีความหนาแน่นเฉล่ีย ๕.๕ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (หนาแน่นกว่าน้า ๕.๕ เท่า) นัก ธรณวี ทิ ยาทาการศึกษาโครงสร้างภายในของโลก โดยศึกษาการเดินทางของ “คลื่นซิสมิค” (Seismic waves) ซึ่งมี ๒ ลักษณะ คือ ภาพท่ี ๓ คลน่ื ปฐมภูมิ (P wave) และคลน่ื ทุตยิ ภูมิ (S wave) คล่ืนปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของ ตัวกลางน้ันเกิดการเคล่ือนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คล่ืนน้ีสามารถเคล่ือนท่ีผ่าน เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๑๙

ตัวกลางที่เปน็ ของแขง็ ของเหลว และก๊าซ เป็นคลนื่ ทส่ี ถานีวัดแรงสนั่ สะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอ่ืน โดยมี ความเรว็ ประมาณ ๖ – ๘ กิโลเมตร/วินาที คลืน่ ปฐมภมู ทิ าใหเ้ กดิ การอัดหรอื ขยายตัวของชน้ั หิน ดงั ภาพที่ ๓ คล่ืนทุติยภูมิ (S wave) เป็นคล่ืนตามขวางท่ีเกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของ ตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีท้ังแนวตั้งและแนวนอน คล่ืนชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางท่ี เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุติยภูมิมีความเร็วประมาณ ๓ – ๔ กิโลเมตร/ วนิ าที คลืน่ ทตุ ิยภูมทิ าใหช้ ้นั หินเกดิ การคดโค้ง ภาพที่ ๔ การเดินทางของ P wave และ S wave ขณะเกิดแผ่นดนิ ไหว ขณะที่เกิดแผ่นดินไหว (Earthquake) จะเกิดแรงส่ันสะเทือนหรือคลื่นซิสมิคขยายแผ่จากศูนย์เกิด แผน่ ดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทกุ ทาง เนือ่ งจากวสั ดภุ ายในของโลกมคี วามหนาแน่นไมเ่ ท่ากัน และมีสถานะ ต่างกนั คล่ืนท้ังสองจงึ มคี วามเรว็ และทศิ ทางที่เปลี่ยนแปลงไปดังภาพท่ี ๔ คลื่นปฐมภูมิหรือ P wave สามารถ เดินทางผ่านศูนย์กลางของโลกไปยังซีกโลกตรงข้ามโดยมีเขตอับ (Shadow zone) อยู่ระหว่างมุม ๑๐๐ – ๑๔๐ องศา แต่คลื่นทุติย ภูมิ หรือ S wave ไม่สามารถเดินทางผ่านชั้นของเหลวได้ จึงปรากฏ แต่บนซีกโลกเดียวกับจุดเกิดแผ่นดินไหว โดยมีเขตอับอยู่ท่ีมุม ๑๒๐ องศาเปน็ ตน้ ไป เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๒๐

๑.๑.๔ โครงสรา้ งภายในของโลกแบง่ ตามองค์ประกอบทางเคมี นักธรณีวิทยา แบ่งโครงสร้างภายในของโลกออกเป็น ๓ ส่วน โดยพิจารณาจากองค์ประกอบทางเคมี ดังน้ี (ภาพที่ ๕) เปลือกโลก (Crust) เปน็ ผวิ โลกชน้ั นอก มีองคป์ ระกอบสว่ นใหญ่เป็นซิลิกอนออกไซด์ และอะลูมิเนียม ออกไซด์ แมนเทิล (Mantle) คือส่วนซึ่งอยู่ใต้เปลือกโลกลงไปจนถึงระดับความลึก ๒,๙๐๐ กิโลเมตร มี องค์ประกอบหลักเป็นซิลิคอนออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์ และเหล็กออกไซด์ แก่นโลก (Core) คือส่วนที่อยู่ ใจกลางของโลก มอี งค์ประกอบหลัก เป็นเหล็ก และนิเกลิ ตามลาดับทปี่ รากฏตามภาพประกอบ ภาพท่ี ๕ องคป์ ระกอบทางเคมีของโครงสรา้ งภายในของโลก เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๒๑

ภาพท่ี ๖ โครงสร้างภายในของโลก โครงสรา้ งภายในของโลกแบง่ ตามคุณสมบตั ิทางกายภาพ นักธรณีวทิ ยา แบง่ โครงสรา้ งภายในของโลกออกเปน็ ๕ ส่วน โดยพิจารณาจากคุณสมบัติทางกายภาพ ดงั นี้ (ภาพที่ ๖) ลิโทสเฟียร์ (Lithosphere) คือ ส่วนช้ันนอกสุดของโลก ประกอบด้วย เปลือกโลกและแมนเทิลช้ัน บนสดุ ดงั น้ี - เปลอื กทวีป (Continental crust) ส่วนใหญ่เป็นหนิ แกรนติ มคี วามหนาเฉลย่ี ๓๕ กิโลเมตร ความ หนาแน่น ๒.๗ กรัม/ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร - เปลือกสมุทร (Oceanic crust) เป็นหินบะซอลต์ความหนาเฉล่ีย ๕ กิโลเมตร ความหนาแน่น ๓ กรมั /ลกู บาศก์เซนติเมตร (มากกว่าเปลือกทวปี ) - แมนเทิลชั้นบนสุด (Uppermost mantle) เป็นวัตถุแข็งซึ่งรองรับเปลือกทวีปและเปลือกสมุทรอยู่ ลึกลงมาถงึ ระดับลึก ๑๐๐ กิโลเมตร แอสทีโนสเฟียร์ (Asthenosphere) เป็นแมนเทลิ ชน้ั บนซึ่งอยใู่ ตล้ โิ ทสเฟียรล์ งมาจนถงึ ระดบั ๗๐๐ กโิ ลเมตร เป็นวัตถุมีเนื้ออ่อนอุณหภูมิประมาณ ๖๐๐ – ๑,๐๐๐C เคลื่อนทด่ี ้วยกลไกการพาความร้อน (Convection) มคี วามหนาแน่นประมาณ ๓.๓ กรัม/เซนติเมตร เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๒๒

เมโซสเฟียร์ (Mesosphere) เป็นแมนเทิลช้ันล่างซึ่งอยู่ลึกลงไปจนถึงระดับ ๒,๙๐๐ กิโลเมตร มี สถานะเป็นของแข็งอุณหภูมิโดยประมาณ ๑,๐๐๐ – ๓,๕๐๐ C มีความหนาแน่นโดยประมาณ ๕.๕ กรัม/ เซนติเมตร แก่นชั้นนอก (Outer core) อยู่ลึกลงไปถึงระดับ ๕,๑๕๐ กิโลเมตร เป็นเหล็กหลอมละลายมีอุณหภูมิ สูง ๑,๐๐๐ – ๓,๕๐๐ C เคลื่อนตัวด้วยกลไกการพาความร้อนทาให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก มีความหนาแน่น ๑๐ กรัม/ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร แกน่ ชั้นใน (Inner core) เป็นเหล็กและนิเกิลในสถานะของแข็งซ่ึงมีอุณหภูมิสูง ถึง ๕,๐๐๐ C ความหนาแน่น ๑๒ กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จุดศูนย์กลางของโลกอยู่ที่ระดับลึก ๖,๓๗๐ กิโลเมตร ๑.๑.๕ สนามแมเ่ หล็กโลก แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็นเหล็ก แก่นโลกช้ันใน (Inner core) มีความกดดันสูงจึงมีสถานะเป็น ของแข็ง ส่วนแก่นชั้นนอก (Outer core) มีความกดดันน้อยกว่าจึงมีสถานะเป็นของเหลวหนืด แก่นช้ันในมี อุณหภูมิสูงกวา่ แกน่ ช้นั นอก พลังงานความร้อนจากแกน่ ช้ันใน จงึ ถา่ ยเทข้นึ สแู่ ก่นช้ันนอกด้วยการพาความร้อน (Convection) เหล็กหลอมละลายเคลื่อนที่หมุนวนอย่างช้าๆ ทาให้เกิดการเคล่ือนที่ของกระแสไฟฟูา และ เหนีย่ วนาใหเ้ กดิ สนามแมเ่ หล็กโลก (The Earth’s magnetic field) ภาพที่ ๗ แกนแม่เหลก็ โลก อยา่ งไรก็ตามแกนแม่เหล็กโลกและแกนหมุนของโลกมิใช่แกนเดียวกัน แกนแม่เหล็กโลกมีขั้วเหนืออยู่ ทางด้านใต้ และมีแกนใต้อยู่ทางด้านเหนือ แกนแม่เหล็กโลกเอียงทามุมกับแกนเหนือ-ใต้ทางภูมิศาสตร์ (แกน หมุนของโลก) ๑๒ องศา ดังภาพท่ี ๗ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๒๓

ภาพที่ ๘ สนามแม่เหล็กโลก สนามแม่เหล็กโลกก็มิใช่เป็นรูปทรงกลม (ภาพท่ี ๘) อิทธิพลของลมสุริยะทาให้ด้านท่ีอยู่ใกล้ดวง อาทิตย์มีความกว้างน้อยกว่าด้านตรงข้ามดวงอาทิตย์ สนามแม่เหล็กโลกไม่ใช่สิ่งคงท่ี แต่มีการเปลี่ยนแปลง ความเข้มและสลับข้ัวเหนือ-ใต้ ทุกๆ หนึ่งหมื่นปี ในปัจจุบันสนามแม่เหล็กโลกอยู่ในช่วงท่ีมีกาลังอ่อน สนามแมเ่ หล็กโลกเป็นส่ิงที่จาเป็นที่เอื้ออานวยในการดารงชีวิต หากปราศจากสนามแม่เหล็กโลกแล้ว อนุภาค พลงั งานสงู จากดวงอาทติ ย์และอวกาศ จะพงุ่ ชนพ้ืนผิวโลก ทาให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดารงอยู่ได้ (ดูรายละเอียด เพม่ิ เติมในบทท่ี ๓ พลังงานจากดวงอาทติ ย)์ เกร็ดความรู้: ทิศเหนือที่อ่านได้จากเข็มทิศแม่เหล็ก อาจจะไม่ตรงกับทิศเหนือจริง ด้วยเหตุผล ๒ ประการคอื ข้ัวแม่เหล็กโลก และข้ัวโลก มิใช่จุดเดียวกัน ในบางพื้นที่ของโลก เส้นแรงแม่เหล็กมี ความเบี่ยงเบน (Magnetic deviation) มิไดข้ นานกบั เส้นลองจิจูด (เส้นแวง) ทางภูมิศาสตร์ แต่โชคดีที่บริเวณ ประเทศไทยมีคา่ ความเบย่ี งเบน = ๐ ดังน้นั จงึ ถือว่า ทิศเหนอื แมเ่ หลก็ เป็นทิศเหนอื จริงได้๒ ๑.๒ โลกในทศั นะทางพระพุทธศาสนา “โลกในศาสนาพุทธ” พูดถึงเร่ืองโลก ศาสนาทุกศาสนา พยายามที่จะอธิบายโลกอยู่เสมอ โลกนั้น ก็ หมายถึงโลกท่ีเรามองเห็นด้วยตา หรือรู้สึกได้ด้วยใจ คือ สิ่งแวดล้อมท้ังหลายท้ังปวงท่ีเราประสบพบเห็นใน ชีวิตของเรานี้ ความจริงบุคคลแต่ละคนก็มีความรู้เร่ืองโลกและมีทรรศนะเกี่ยวกับโลกไปในทิศทางที่แตกต่าง ๒ แหล่งท่ีมา(ออนไลน)์ Http://www.lesa.in.th เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๒๔

กัน ท่ีมีทัศนะตรงกันหมดเห็นจะไม่มี เพราะต่างคนต่างก็มีประสบการณ์ จากพ้ืนฐานของการศึกษา แหล่ง ความรทู้ ม่ี า ขึน้ อยกู่ ับวา่ จะแสดงเหตุผลให้ปรากฏไดช้ ดั เจนมากกว่ากนั ศาสนาทเ่ี ช่อื ว่า มพี ระผ้เู ป็นเจ้า ก็อธิบายว่า โลกน้ันเป็นสิ่งท่ีพระผู้เป็นเจ้าสร้างข้ึน และมีพระเป็นเจ้า เปน็ ใหญ่เหนอื โลก แต่ศาสนาพุทธเป็นศาสนาท่ีไม่ยึดถอื ในพระผเู้ ป็นเจา้ องค์ใดองค์หน่ึง โลกในความหมายของ ศาสนาพทุ ธ แปลตามศพั ทห์ มายถงึ สงิ่ ซึ่งต้องทรดุ โทรมเปลีย่ นแปลงไป หรืออาจจะแปลในลักษณะหนึ่งว่า เป็น สว่ นที่เป็นอยู่ในความรู้ของเรา หมายความว่า เมื่อเราลืมตาดู หูได้ยิน จมูกได้กล่ิน ล้ินรู้รส โลกก็ปรากฏแก่เรา เท่าท่ีเรามองเห็น ได้ยิน ได้สัมผัส ได้กล่ิน แต่ถ้าหากเราไม่มีการเห็น การสัมผัส การรู้รส รู้กลิ่น เหล่านั้นแล้ว โลกมนั ก็หายไปทนั ที หมายความว่า เรารจู้ กั โลกด้วยสมั ผัสตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ทางตา ทางกาย ทางใจ นี่คือโลก ศาสนาพุทธถือว่า โลกเป็นโลกธรรมชาติ คือเป็นส่ิงท่ีไม่มีพระเจ้าองค์ใดสร้างข้ึน แต่ว่าเกิดเป็นขึ้นเอง โดยธรรมชาติ คือ ธรรมชาติเป็นผู้ปรุงแต่งให้บังเกิดขึ้นเป็นโลกข้ึน และเกิดข้ึนด้วยการเข้ามาประกอบกันของ สิง่ ตา่ ง ๆ ศาสนาพุทธแบง่ โลกเราท่ีเหน็ ออกเปน็ ๓ ทศั นะ แลว้ แต่จะมองในทางใด ทศั นะท่ี ๑ เรยี กว่า โอกาสโลก ทัศนะที่ ๒ เรยี กวา่ สงั ขารโลก ทศั นะท่ี ๓ เรียกว่า สตั วโลก ๑.๒.๑ โอกาสโลก กล่าวถงึ โอกาสโลก ก่อน โอกาสในท่ีนี้ไม่ได้หมายถึงโอกาสท่ีเป็นระยะเวลา หรือช่วงเวลาท่ีเราจะทา สิ่งหนงึ่ ส่ิงใด เชน่ คาว่า โอกาสในภาษาไทย คือ ไม่ได้หมายถงึ โอกาสทจ่ี ะทาดที าชว่ั หรือโอกาสที่จะไปเท่ียว คา ว่า โอกาสนี่เป็นภาษาบาลี ซ่ึงตรงกับภาษาไทยว่า อวกาศ คือหมายความถึง ช่องว่าง โลกในทรรศนะนี้น้ัน ศาสนาพุทธมองเห็นว่า เป็นช่องว่างซ่ึงมีธาตุอ่ืน ๆ เข้ามาประกอบ ทาให้เกิดสิ่งต่าง ๆ ที่เรารู้จากท่ีเราประสบ พบเหน็ มากมายหลายอย่างในโลกนี้ พรรณนาไม่ได้ครบถ้วน ธาตุต่าง ๆ ที่มาประกอบกันน้ัน ศาสนาพุทธว่า มี กล่าววา่ มี ๔ อยา่ ง และเม่ือมาประกอบกับอากาศธาตุ หรือ อวกาศธาตุ เป็น ๕ อย่าง และประกอบข้ึนเป็นสิ่ง ต่าง ๆ ขึน้ ธาตุท่ีหนง่ึ คือ ปฐวีธาตุ คือ ธาตุดิน หมายถึง ของแข็ง หรือของข้นที่จับตัวกันอยู่ ทาให้เราจับต้องได้ โต๊ะ เกาอี้ ดิน กิ่งไม้ ก้อนหิน เหล่านี้อยู่ในประเภทปฐวีธาตุ คือ ประกอบด้วยปฐวีธาตุมาก เป็นของแข็งท่ีเรา จบั ตอ้ งได้ เพราะมันจับตวั กันอยู่ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๒๕

ธาตทุ ี่สอง คือ อาโปธาตุ คอื ธาตนุ ้า หมายถงึ ธาตุอันเหลวและไหลซึมซาบไปได้ ระเหยได้ จะเป็นน้า หรือเป็นอะไรก็ได้ ถ้ามันเหลวและมันไหลได้ ซึมซาบไปได้ ระเหยได้แล้ว ท่านถือว่าเป็นอาโปธาตุ หรือธาตุน้า ทัง้ สนิ้ ธาตุทสี่ าม คือ เตโชธาตุ คอื ธาตุไฟ หมายถึงธาตุท่ีมีความร้อนในตัว และให้ความร้อนแก่ส่ิงอ่ืนได้ ไฟ กเ็ ป็นเตโชธาตุ แสงแดดกเ็ ป็นเตโชธาตุ แก๊สบางอย่างท่ีมีความร้อนในตัวเองก็เป็นเตโชธาตุ ร่างกายมนุษย์และ สตั วต์ อ้ งมีเตโชธาตุประกอบ เพราะจบั แลว้ มคี วามร้อนอย่ใู นตัว ธาตทุ ส่ี ี่ คือ วาโยธาตุ คือ ธาตลุ ม หมายถึง ธาตุที่มีลักษณะพัดไปมา หรือข้ึนลงได้ เมื่อมีความเปล่ียน แปลงในอุณหภูมิ หมายความว่า เม่ือถูกร้อน เย็น หรือตั้งอยู่สงบได้ ในอุณหภูมิอย่างใดอย่างหน่ึง ยกตัวอย่าง เช่น แก๊สไฮโดรเจน ถ้ามันอยู่ในอุณหภูมิอันมีกาหนดอย่างหนึ่งแล้ว มันก็ทรงตัวอยู่ได้ สงบอยู่ได้ แต่ถ้าไปถูก ความร้อนเข้า มันจะพองตัวแล้วลอยข้ึน เหล่านี้เรียกได้ว่า เป็นวาโยธาตุ หรือธาตุลม ลมพัดไปไหนมาไหนก็ เกี่ยวกับการเปลยี่ นแปลงของอณุ หภูมิทงั้ ส้นิ ธาตทุ หี่ ้า ทถ่ี ือวา่ เปน็ ธาตุของโลก ก็คอื อากาศธาตุ อากาศนีไ่ ม่ไดห้ มายถึง ลมหายใจ ไม่ได้หมายถึง แก๊สออกซิเจน แต่ความจริงในศัพท์พุทธศาสนา อากาศ หมายถึงช่องว่าง หรือท่ีภาษาฝรั่งเรียกว่า Space แปลว่า ชอ่ งว่าง ธาตทุ ั้งสที่ ่ีกลา่ วถงึ แลว้ มาประกอบกันรวมกับชอ่ งวา่ งตา่ ง คือ ช่องว่างอีกเป็นอันมากก็เกิดเป็น มนุษย์ เป็นสัตว์ เป็นสรรพสิ่งต่าง ๆ เป็นต้นไม้ เป็นภูเขา เป็นทุกอย่างที่เราเห็นในโลกน้ี นี่เป็นลักษณะของ โอกาศโลกในทรรศนะของศาสนาพุทธ ตวั มนษุ ยน์ ี้ ลักษณะทแี ท้จริง มธี าตุอื่น ๆ มากมาประกอบกนั เป็นตวั ตน แตอ่ ากาศธาตุ คือ ช่องว่าง นั้นมากท่ีสุด ในตาราแพทย์ กล่าวว่า ตัวตนน้ี ถ้าระเหยเอาน้าออกให้หมดแล้วก็เอาช่องว่าง เอา space ออก ให้หมดแล้ว จะเหลืออะไรกองอยู่ขนาดหัวเข็มหมุดเท่าน้ัน ที่จะเหลือเป็นพวกปัถวีธาตุ ซ่ึงเป็นส่วนท่ีเป็น ของแข็ง คนเราความจริงเป็นช่องว่างเสียเป็นส่วนมาก เติบโตข้ึนเป็นผู้เป็นคนได้ เพราะมีช่องว่างอยู่ระหว่าง ธาตุที่ข้นแข็ง ๆ มากมายเหลือเกิน แล้วมีน้าเข้าไปบวกด้วย น่ีเป็นโอกาสโลก ประกอบด้วยธาตุต่าง ๆ อย่างที่ กลา่ วมาแลว้ ๑.๒.๒ สังขารโลก กลา่ วถึงโลกซึง่ ศาสนาพุทธ ได้แสดสงทรรศนะในอีกนัยหน่งึ คอื สงั ขารโลก คาว่า สงั ขาร ในความ หมายที่แท้ จริง ไม่ได้แปลว่า รูปร่างกายของเรา คือ ภาษาไทยเราใช้ สังขาร หมายถึงร่างกายหรือภาวะแห่ง ร่างกาย ยกตัวอย่างคนอายุเท่าผม ถ้าไปทาอะไรโลดโผนแล้ว มันเป็นอะไรไปหัวร้างข้างแตกไป คนเขาก็จะ สมน้าหน้าว่า ดีแล้ว อยากไม่เจียมสังขาร น่ีคือสังขารในภาษาไทยเรา แต่สังขารในความหมายที่ถูกต้องใน ศาสนาพุทธน้ัน แปลความว่า “การปรุงแต่ง” หมายถึงสรรพส่ิงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นคน เป็นสัตว์ ตลอดจนส่ิง เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๒๖

อื่น ๆ ที่เรามองเห็นได้ จับต้องได้ เช่นภูเขา แม่น้า ต้นไม้ ผลไม้ ดอกไม้ พืชพันธ์ุธัญญาหารต่าง ๆ เกิดข้ึนได้ ด้วยการปรุงแต่ง หมายความว่า เอาหลายส่ิงหลายอย่างมาปรุงแต่งประกอบเข้าด้วยกัน และของต่าง ๆ ใน สังขารโลกนี้ เกิดจากการปรุงแตง่ ไดด้ ว้ ย ๒ วธิ ี คือ ๑. ปรงุ แตง่ มาด้วยธรรมชาตนิ ั้นอย่างหนง่ึ น้าเกดิ การเป็นน้าขนึ้ ไดด้ ้วยการปรุงแตง่ ด้วย ธรรมชาติ คือ ปรุงแต่งจากไฮโดรเจน ๒ ส่วน ออกซิเจน ๑ ส่วน มันก็เกิดเป็นน้าข้ึนมา น้าก็เป็นสังขาร คือ การปรุงแต่งตามธรรมชาติ นเี่ ปน็ สงั ขาร หรือการปรุงแตง่ อย่างหนง่ึ ๒. อกี ประการหนง่ึ คือสงั ขารที่ถกู ปรุงแตง่ ขนึ้ ด้วยมนษุ ย์ หรือดว้ ยสตั ว์ ตามใจและตามกรรม คือ หมายความวา่ ตามใจของมนุษย์หรือตามการกระทาของมนุษย์สัตว์ ยกตัวอย่างเช่น โต๊ะ เก้าอ้ี ก็ดี บ้านช่องท่ี เราอาศัยอยนู่ ั้นเปน็ สังขารทม่ี นษุ ย์ปรงุ แต่งขน้ึ ตามใจตน เพือ่ ความสะอาดสะอ้าน เพ่ือประโยชน์ของตนตามแต่ จะปรารถนา เรียกวา่ เป็นสังขารที่ปรุงแต่งข้ึนตามใจมนุษย์ นกทารัง เอาก่ิงไม้มาทารัง ก่ิงไม้ก็กลายเป็นอีกส่ิง หน่ึงซ่ึงเรียกว่า รังนก เป็นสังขารอย่างหนึ่งซึ่งถูกปรุงแต่งข้ึนตามใจนก เพราะนกมันทารัง นกมันต้องการจะมี รังสาหรับจะฟักฟอง ก็ต้องเอากิ่งไม้มาประกอบกันเป็นรังขึ้น รังนกก็เป็นสังขารอีกอย่างหนึ่ง ซ่ึงปรุงแต่งข้ึน ตามใจสัตว์ หรือ ตามกรรม หมายความถึง สังขารที่เกิดข้ึน ถูกปรุงแต่งขึ้นด้วยการกระทาของมนุษย์หรือสัตว์ อาจจะไม่ได้เป็นไปด้วยตามใจ แต่มันก็เกิดขึ้นจากการกระทาน้ันเอง ยกตัวอย่าง อย่างความสกปรกต่าง ๆ Pollution ท่ีเขาต่อต้านกันทุกวันนี้ น้าเน่าในแม่น้าเจ้าพระยาก็เป็นสังขารอย่างหน่ึง ซ่ึงถูกปรุงแต่งขึ้นด้วย กรรมของมนุษย์ คอื ด้วยการกระทาต่าง ๆ ของมนุษย์ มันก็บังเกิดเป็นน้าเน่าขึ้นมา หรือเกาะในทะเลก็เกิดจาก กลุ่มปะการงั ตวั ปะการังนั้นมันเปน็ สตั วเ์ ล็ก มองเหน็ ด้วยตาก็ไม่ได้ แต่มันจับอยู่เป็นกลุ่มในท้องทะเล แล้วงอก เงยข้ึนเรื่อย ๆ จนกลายเป็นกลุ่มปะการังใหญ่โต งอกข้ึนมาเรื่อย ๆ จนเกือบจะถึงผิวน้า มีดิน มีทราย มาเกาะ กลายเปน็ เกาะขน้ึ มาได้ เกาะใหญ่ ๆ ในทะเลหลายเกาะก็เกิดข้ึนจากปะการังน้ี เกาะเหล่าน้ันก็เรียกได้ว่า เป็น สงั ขาร คือ ปรุงแตง่ ข้ึนด้วยกรรมของสัตว์ชนดิ หนงึ่ ทเ่ี รียกว่า ตัวปะการัง เพราะฉะน้นั สง่ิ เหลา่ น้ีคือ สังขารต่าง ๆ เหลา่ น้ี ตลอดจนผลแห่งสงั ขารต่าง ๆ เหลา่ นว้ี า่ มนั จะมี ผลดีผลร้ายอย่างใดกต็ าม ก็เป็นมาเพราะปัจจัยท่ีปรุงแต่ง ปัจจัยท่ีทาให้ส่ิงต่าง ๆ มาประกอบกันเป็นสังขารได้ ปัจจัยท่ีปรุงแต่งนั้น อาจเป็นธรรมชาติก็ได้ หรือคน หรือสัตว์ก็ได้ ตลอดจนของต่าง ๆ ท่ีเก็บเอามาปรุงแต่ ง ออกมารวมกัน เรียกว่าปัจจัย เกิดเป็นสังขารข้ึนได้ และจะมีผลไปได้ย่างไร ขึ้นอยู่ท่ีปัจจัยท่ีมาปรุงแต่ง ทาให้ เกิดเป็นสังขารขึ้น และเม่ือเกิดข้ึนแล้ว ไม่ว่าจะเป็นสังขารเช่นใด ก็จะต้องอยู่เพียงช่ัวคราว ไม่ที่อยู่ย่ังยืน ตลอดไปได้ อยู่เพียงช่ัวคราว เร็วบ้าง หรือช้าบ้าง ตามกาลังของเหตุที่มีมาก่อนท่ีจะมีการปรุงแต่งขึ้นและตาม เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๒๗

กาลังของเหตุภายหลงั ซ่งึ จะเป็นไปในทางอปุ ถัมภท์ ช่ี ่วยสงเคราะห์ให้อยู่ต่อไป หรือในทางตัดรอน หมายความ ว่า เหตุท่ีอาจจะทาให้ถูกทาลายลงเร็วเข้า ที่พูดอย่างน้ีก็ฟังยังกับพระเทศน์อ่อนใจเหมือนกัน ต้องยกตัวอย่าง เช่น ภูเขา ปัจจัยที่ทาให้เกิดภูเขานั้น ก็คือ ความร้อนข้างในพิภพของเราน้ี ในสมัยหน่ึงท่ีโลกยังไม่ข้นตัว ยัง เหลว ยังเป็นความร้อนอยู่ภายใน เกิดการระเบิด เกิดแผ่นดินไหว หินละลายข้ึนมาจากภายในพิภพ ถูกความ ร้อนเย็นภายนอกก็แข็งตัวเป็นแก่นงอกเงยข้ึนมาเป็นภูเขา นี่เป็นปัจจัยเป็นเหตุเบ้ืองต้น ต่อมามีฝุนดินมาจับ และกม็ ตี ้นไมง้ อกเงยขึน้ บนภูเขา เหลา่ นี้เปน็ เหตอุ ุปถัมภ์ในภายหลงั ตราบใดท่ียังมดี นิ มาจับภูเขาอยู่เรื่อย ๆ ยัง มีต้นไม้อยเู่ รอื่ ย ๆ ภูเขาก็จะมีอายอุ ยู่ไปนาน ท้งั ทเี่ ป็นของชว่ั คราว แต่ก็เป็นช่ัวคราวอย่างนาน อยู่ไปได้เร่ือย ๆ ก่อน แต่ถ้ามีคนมาตัดต้นไม้ลง หรือทาการอื่น ๆ บนภูเขาในทางทาลาย แผ่นดินบนภูเขาก็จะเกิดรั่วไหลไป ท่ี ฝรั่งเรียกว่า Erotion หรือแผ่นดินจะหมดไป ผิวดินของภูเขาก็ค่อย ๆ ทลาย หรือถ้ามีคนมาระเบิดภูเขา เพื่อ เอาไปทาถนน หรือไปถมทะเล หรือไปทาอ่ืน ๆ ตามประโยชน์ของตน ภูเขานั้นก็จะอยู่ได้ไม่นานนัก ย่อมจะ หมดไปในทส่ี ุด การตัดต้นไม้บนภูเขาหรือการระเบิดภูเขาน้ี เรียกว่าเหตุตัดรอน เพราะฉะน้ัน สังขารท่ีเกิดขึ้นนั้น ก็ เกิดขึ้นได้ด้วยปัจจัย ภูเขาก็มีปัจจัยมาจากความร้อน การละลายของหิน แผ่นดินไหวเม่ือสมัยยุคแรกเมื่อโลก เกดิ ขน้ึ ใหม่ ๆ ทาให้เกดิ เปน็ ภเู ขา ทวิ เขา เป็นเทือกเขาขึ้น และอยู่ต่อมาด้วยเหตุอุปถัมภ์ต่าง ๆ ถ้าเหตุอุปถัมภ์ ไม่หมดไป ก็มีอยู่ต่อไปอีก แต่ถ้ามีเหตุตัดรอนมา เช่นคนขึ้นไปตัดไม้บนภูเขา หรือระเบิดภูเขา ภูเขาก็มีอายุ ต่อไปไม่ได้ ผลของภูเขาก็เช่นเดียวกัน เม่ือมีภูเขาแล้ว ก็ย่อมเป็นต้นแม่น้าลาธารที่ไหลลงมาจากภูเขา ท่ีเป็น ประโยชนแ์ ก่คนท้ังปวง เปน็ ผลของสงั ขารท่ีเรียกว่า ภูเขา ผลท่ีเกิดขึ้นมานั้น ก็มาจากปัจจัยเดียวกับที่ปรุงแต่ง ภูเขาขึน้ และผลนน้ั จะมตี ่อไป จะช้าหรอื เรว็ อย่างไร ก็อยู่ที่เหตุอุปถัมภ์และเหตุตัดรอน อย่างท่ีได้กล่าวมาแล้ว ถ้าคนไปตัดตน้ ไม้บนภูเขามาก ๆ ภเู ขากเ็ ปน็ เขาหัวโล้น น้ากจ็ ะแห้ง น่ีก็เป็นเรื่องของเหตุตัดรอน ถ้าคนช่วยกัน ปลูกต้นไมบ้ นภูเขามาก ๆ หรอื ตน้ ไม้ทม่ี ีอยู่ไมไ่ ปตดั มันลง ผลคอื ลาธารกจ็ ะมอี ย่เู รอ่ื ยไป กเ็ ปน็ เหตอุ ุปถัมภ์ ทีน้สี ังขาร คือ สงิ่ ทีไ่ ด้ปรงุ แตง่ ขน้ึ ตามท่ีไดก้ ล่าวมาแล้วนัน้ ศาสนาพุทธแบง่ ออกเปน็ ๒ ชนดิ ชนิดท่หี นึง่ เรียกว่า อปุ าทนิ กสังขาร ชนิดทส่ี อง เรียกวา่ อนุปาทินกสังขาร อปุ าทนิ กสังขาร น้นั เท่าทที่ ่านศกึ ษากนั มาพอเข้าใจว่า สังขารมีใจครอง อนุปาทนิ กสังขาร ท่านแปลกันมาว่า สงั ขารไม่มใี จครอง เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๒๘

อธิบายสังขารอย่างที่สอง คืออนุปาทินกสังขาร คือ สังขารท่ีไม่มีใจครอง หมายถึงสังขารที่ไม่มีผู้เข้า ไปแทรกหรืออาศัยอยู่ในตัว เช่น ภูเขา ก้อนหิน โต๊ะ เก้าอี้ต่าง ๆ สมุด ดินสอ ท่ีเราเห็นอยู่อย่างนี้ หอประชุม ใหญ่ หอประชุมเล็ก ไมม่ ีผเู้ ข้าไปแทรกสิงอยู่ในตัว และทาอะไรให้สาเร็จด้วยตัวเองไม่ได้ เช่น โต๊ะ จะตั้งท่ีไหน กต็ อ้ งมคี นมาต้งั ให้ คือ เลือกท่ีตั้งของมันเองไม่ได้ เก้าอี้ก็เช่นเดียวกัน เป็นเก้าอี้ขึ้นมาแล้ว มันก็เป็นสังขาร แต่ ถ้ากล่าวว่า เมื่อไม่มีใจครอง มันก็ทาอะไรไม่ได้ จะต้ังกันทั้งที ก็ต้องมีคนมาตั้งให้ นอกจากนั้น สังขารท่ีไม่มีใจ ครองน้ี ก็ไมก่ ิน ไม่มีการขบั ถา่ ยอย่างใดทงั้ สิ้น บางอย่างถึงจะมี เช่น รถยนต์ คือ กินน้ามันแล้วถ่ายออกมาเป็น ไอเสีย และเมื่อเปิดเคร่ือง ก็เดินได้ ก็จริง ถือว่า เป็นอนุปาทินกสังขาร เพราะเหตุว่า แม้จะมีเครื่อง มีพลัง ทา ให้วิ่งไปได้ แต่ถ้าไม่มีใครเข้าครอง คือไม่มีคนขับแล้ว มันก็ว่ิงเรื่อยไป ไม่รู้จักผิดถูก พูดง่าย ๆ ว่า ไม่รู้จักกฎ จราจร น่ี ท่านก็บอกว่า เปน็ อนปุ าทินกสังขาร สาหรับอุปาทินกสังขาร คือ สังขารท่ีมีผู้ครอง หมายความว่า มีผู้เข้าแทรกสิงอาศัยอยู่ในตัว เช่น ร่าง กายของสัตว์ ของมนุษย์นี่ ก็เกิดมาได้ด้วยปัจจัยปรุงแต่งทั้งสิ้น โดยธาตุต่าง ๆ มาผสมกัน แต่ว่า มีใจ ครอบครองบังคับให้เป็นไปได้ ทาอะไรสาเร็จด้วยตนเองได้ มีการกิน การขับถ่าย มีจิต มีใจ รู้ดี รู้ชอบ หรือ อยา่ งนอ้ ย กใ็ ห้รจู้ ักรกั ษาตัวให้ดารงอยู่ตอ่ ไปได้ เพราะฉะนั้น สาหรบั มนุษย์และสัตว์ ขณะท่ียังมีชีวิตอยู่ท่านถือ ว่า เป็นอุปาทินกสังขาร คือ สังขารท่ีมีใจครอง เม่ือตายลงแล้ว ซากศพท่ีเหลืออยู่ ก็เป็นอนุปาทินกสังขาร คือ สังขารที่ไมม่ ใี จครอง มมุ มองแหง่ สงั ขารทง้ั ๒ คอื ต้นไมเ้ ปน็ อนุปาทินกสงั ขาร คือ ไมม่ ใี จครอง ซ่ึงจากการศึกษาชีววิทยาใน ปัจจุบันน้ี เราเห็นว่า มันไม่ตรงทีเดียว เพราะต้นไม้ ท้ังกิน ท้ังขับถ่าย ทั้งหายใจ แล้วก็มีสติปัญญา หรือ สัญชาตญาณ รู้จักหันเหตัวเองออกไปหาแสงแดด ออกไปหาอากาศ ทั้ง ๆ ที่มันเดินไม่ได้ แต่ถ้าเอาต้นไม่ไป ปลูกไว้ในท่ีๆ บังแดด มันจะพยายามงอกกิ่งก้านออกไปรับแดดจนได้ ก็จะต้องคิดกันไปว่า ต้นไม้นั้นมีใจครอง หรอื ไม่มีใจครอง ตามที่ท่านสอนกันมา ทา่ นบอกวา่ ต้นไมไ้ ม่มใี จครอง จึงเกิดปัญหาอย่างนี้ ถ้าเราจะถืออย่างที่ พูดกนั มาแลว้ ปัญหาตา่ ง ๆ เกิดขน้ึ มาก ปญั หาประการแรกคือผู้ทเ่ี ข้าไปครอง หรือไปแทรกสิงอยู่ในอุปาทนิ กสงั ขารนนั้ อะไรเปน็ ผูเ้ ข้าไป ครอง ถ้าเม่ือคนหรือสัตว์ตายลงไปแล้ว ที่บอกว่าสิ่งท่ีเหลือซากศพ เป็นอนุปาทินกสังขารนั้น ผู้ครองเม่ือยังมี ชวี ิตอยู่ หายไปไหน ตายแลว้ ไปไหน เกิดปัญหาอีก และหากจะตอบว่า สัตว์และคนเมื่อยังมีชีวิตอยู่ มีวิญญาณ ครองอยู่ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๒๙

วิญญาณในศาสนาพุทธแปลแต่เพียงว่า ความรู้สึก เป็นภาษาอังกฤษเรียกว่า consciousness คาว่า soul ในภาษาอังกฤษที่เราแปลว่า วิญญาณ น้ัน ศาสนาพุทธเรียกกันว่า อัตตา คือ ตัวของตัวเอง ถ้าถือตาม ความหมายเช่นน้ี ก็จะต้องยอมรับต่อไปว่า อุปาทินกสังขารนั้น มีส่ิงหน่ึงซึ่งอาจจะเป็น วิญญาณ หรือเป็น อตั ตา ครองอย่ใู นระหวา่ งที่ยังมีชวี ิต และอัตตาน้ันเป็นสิ่งที่รู้เรื่องราว รู้ผิดรู้ถูก บังคับสังขารคือร่างกายน้ัน ทา ให้ในส่ิงที่เป็นประโยชน์ต่อตนได้ ถ้าถือว่าอุปาทินกสังขารมีใจครองแล้ว ก็ต้องยอมรับว่า ใจ หรือ วิญญาณ หรือ อัตตานั้นมี การยอมรับอย่างน้ี ขัดต่อหลักพระพุทธศาสนาโดยตรง ในศาสนาพุทธสอนอยู่เสมอว่า “ทุก อย่างเป็นอนัตตา” ตัวตนนั้นไม่มี ใครเชื่อว่ามีอัตตา หรือมีวิญญาณ ผู้นั้นยังมีท่ีท่านเรียกว่า สักกายทิฐิ คือ ปถุ ชุ นธรรมดา ไม่ใช่สาเรจ็ พระโสดาบัน ยังอยใู่ นทิฐิอันผดิ ไม่ใช่สัมมาทิฐิ การเช่ือว่า มีตัวตน มีวิญญาณ วิ่งเข้า ว่งิ ออกในร่างกายเรานน้ั ถา้ มองในแงน่ ้ี กเ็ ป็นมจิ ฉาทฐิ ิอย่างหน่งึ เปน็ การเช่ือท่ผี ดิ ในศาสนาพทุ ธ จากลา่ วถึงคาวา่ “สมั มาทฐิ ”ิ และ “มจิ ฉาทฐิ ิ” ใครมีสัมมาทิฐิก็มักจะดีใจ ถ้าไปว่าเขา มีมิจฉาทิฐิ เขาก็โกรธเอา คล้าย ๆ กับเป็นการดูถูกกันอย่างแรง ซ่ึงความจริงไม่น่าเป็นแบบนั้น เพราะทิฐิเป็น ภาษาบาลี ตรงกับศัพท์ในภาษาสันสกฤตว่า ทฤษฎี ตรงกับศัพท์ในภาษาอังกฤษว่า Theory ดังน้ัน สัมมาทิฐิ ก็แปลว่า ทฤษฎีที่ถูก (Right Theory) มิจฉาทิฐิ ก็แปลว่า ทฤษฎีอันผิด (Wrong Theory) ในภาษาไทยเรา มักจะถือกันว่า ถ้าบอกว่าใครเป็นคนมีทิฐินี้ เขาก็เคืองอีก หาว่าเขาเป็นคนมีทิฐิหนา แต่ถ้าบอกว่า คน ๆ น้ีมี ทฤษฎีมาก เขาก็ออกจะปล้ืมใจ ความจริงแล้วมันคาเดียวกันน่ันเอง แขกเมืองมคธในสมัยพระพุทธเจ้าพูด ร กล้าไม่เป็น เหมือนกับคนไทยทุกวันนี้ คา ทฤษฎี ออกไม่ได้ ออกได้แต่คา ทิฐิ เช่นเดียวกับคนไทยทุกวันน้ี คา วา่ “กรฺม” เขาออกเสียงกลา้ ไมไ่ ด้ เขาออกว่า “กม” หรืออน่ื ๆ อีกมาก นน่ั เปน็ ปญั หา คอื ถ้าเชอ่ื วา่ เป็นอปุ าทินกสงั ขาร เป็นส่งิ ท่ีมีใจครองแล้ว จะต้องคิดอีกมากว่า สิ่งท่ี ครองกายนั้นคืออะไร ที่เรียกว่า ใจ นั้น คืออะไร มันคือ “อัตตา” อย่างที่พระพุทธศาสนาสอนไว้ว่า “ไม่มี” ใช่ ไหม ถา้ เมอ่ื อตั ตาไม่มแี ล้ว มันจะไปครองไดอ้ ย่างไร นีเ่ ป็นปญั หายุ่งยาก นอกจากนัน้ แลว้ กย็ ังมขี ้อที่นา่ สงสยั อีกขอ้ หน่ึง รถยนต์ เรอื ยนต์ เคร่ืองบนิ ที่แล่นไปถงึ ท่ีหมายด้วย การมคี นขบั นัน้ ทา่ นสอนวา่ เป็นอนปุ าทนิ กสังขาร ถา้ พดู กันด้วยเหตุผลแลว้ ขณะท่ีมันจอดอยู่ไม่มีคนขับ มันก็ จะเห็นเป็นอนุปาทินกสังขาร คือไม่มีอะไรเข้าไปสิงไปแทรกอยู่ภายใน เพื่อบังคับให้เป็นอย่างใดอย่างหน่ึง แต่ ขณะท่มี นั แลน่ อย่นู ้นั ถา้ พดู ตามหลกั ท่ที า่ นสอนกนั มาเอง มนั กต็ อ้ งเป็นอุปาทินกสังขาร เพราะมันมีผู้เข้าสิงเข้า ครอง บังคับให้มันไปทุกทิศทุกทาง และถ้าถามว่า ใครครอง ก็ตอบว่า คือคนขับ ถ้าเป็นเครื่องบินก็ตอบว่า กปั ตนั เขา้ ครองเคร่ืองบินในระหว่างที่มันบินอยู่ มันก็เป็นอุปาทินกสังขารท้ังนั้น ถ้าจอดอยู่มันถึงจะไม่เป็นอุปา เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๓๐

ทินกสังขาร แตถ่ า้ ไปถามท่านผูเ้ คร่งครดั ท่านก็บอก ไมใ่ ช่ ทา่ นบอกว่า ในลักษณะเป็นอนุปาทินกสังขาร ซ่ึงก็ดู จะเปน็ ปัญหาอยู่ ในเรื่องอุปาทนิ กสังขาร และ อนปุ าทินกสงั ขารนน้ั คงมีบางทา่ นอกี เหมือนกนั อธิบายว่า มันไม่ใช่เรื่อง ของผู้ที่ไปเข้าสิงสถิต หรือ เป็นที่ใจเข้าไปครอง อุปาทินกสังขาร แปลว่า สังขารที่มีอุปาทานเข้ายึด ตรงตาม ศัพท์ทีเดียว อุปาทานน้ันอาจจะเป็นของสังขารนั้นเองก็ได้ หรือของคนอื่นมายึดก็ได้ ส่วนอนุปาทินกสังขาร ก็ แปลว่า สังขารซ่ึงไม่มอี ปุ าทานของตัวเอง และของผู้ใดยดึ ในบางกรณีของผู้สอนอาจกล่าวอย่างน้ีว่า “อุปาทาน” แปลว่า “ความยึด” ก็ต้องถามว่า ยึดอะไร ก็ ตอบไดว้ ่า “ยดึ ว่าเปน็ อะไร” เช่นยึดว่า ตัวเราเป็นคน ยึดว่า ต้นไม้เป็นต้นไม้ ยึดว่า โต๊ะเป็นโต๊ะ เม่ือยึดแล้วก็ ใชก้ ารไปอย่างโตะ๊ คอื วางหนังสอื บ้าง วางอะไรบา้ ง ไมใ่ ชเ่ หน็ วา่ เป็นทวี่ างรองเท้า เช่นนั้นก็เป็นการยึดผิด ยึด ว่าเป็นตัวคน เหล่าน้ีก็เป็นอุปาทาน ยึดว่าดีหรือช่ัว ยึดสังขารต่างๆ ว่าเป็นสังขารท่ีดี หรือสังขารท่ีช่ัว มี ประโยชน์หรือไม่มี เป็นสังขารท่ีน่ารัก หรือน่าเกลียด ชอบ หรือ ชัง ถ้าเป็นสังขารท่ีน่ารัก ก็มักจะยึดต่อไปว่า เป็นของเรา ถ้าเปน็ สังขารทนี่ ่าชัง ทง้ั ๆ ทเี่ ป็นของเรา ก็มกั จะบอกว่า ไมใ่ ช่ของเรา เป็นของคนอื่น สังขารต่าง ๆ จะตอ้ งมอี ุปาทานเข้ายดึ เสมอ เพราะฉะนนั้ เมื่อไม่มอี ปุ าทานครองแล้ว สังขารท่ีไม่มีอุปาทานครองน้ันก็เป็นอนุ ปาทินกสงั ขาร สาหรบั มนุษย์และสัตว์ รา่ งกายของมนษุ ย์และสตั วน์ น้ั เป็นอุปาทินกสังขาร คือ มีอุปาทานครอง หรือยึดด้วยอุปาทานของตนเอง คือยึดว่า ร่างกายน้ีเป็นของเราทุกคนและสัตว์ เช่น ถ้าเป็นสัตว์ ถ้าใครไปจับ ตัวมัน มันก็จะกัดและว่ิงหนีไป ดังนี้ ร่างกายสังขารเป็นสิ่งที่สัตว์ยึด นอกจากน้ัน ท้ังมนุษย์และสัตว์ ก็ยังยึด ของอ่ืนวา่ เปน็ ตวั ของตวั เองไว้เป็นของตนอกี ดว้ ย เช่นมนษุ ย์ก็ยึดสังขารอื่นทเ่ี ป็นมนุษยด์ ้วยกัน คือนึกว่าคนน้ัน คนน้เี ป็นบิดามารดา เป็นพเ่ี ปน็ นอ้ ง เป็นครูบาอาจารย์ เป็นมติ ร เป็นศตั รู เปน็ คนรัก เปน็ คนท่ีเราไม่รัก เป็นคน ที่เห็นว่าควรจะค้าจุน หรืออุปการะเอาไว้ หรือเป็นว่าเป็นคนที่ควรจะทาลายเสีย สุดแล้วแต่เหตุส่ วนตัวของ บุคคล นอกจากนั้น ก็ยึดต่อไปถึงบ้านช่อง ที่อยู่อาศัย ยึดอาณาเขตที่ตนอาศัยอยู่ ตั้งแต่บริเวณบ้านไป จนถึง ประเทศทั้งประเทศว่าเป็นของตน และยึดว่าโลกมนุษย์ทั้งโลกว่าเป็นของตน โลกก็เป็นอุปาทินกสังขาร สัตว์ก็ เชน่ เดยี วกนั ยดึ ปาุ ยดึ เขา เปน็ ทอ่ี ยู่อาศัย เหล่านี้กเ็ ปน็ อุปาทนิ กสงั ขารทั้งนน้ั สรุปความวา่ สัตว์และมนุษย์ทีย่ ังเปน็ ปุถุชนน้ัน มองเห็นอะไรเขา้ แล้ตอ้ งยดึ ทัง้ สิ้น น้อยกรณีเหลอื เกิน ท่ีไม่ยึด ถ้าไม่ยึดว่าเป็นของเรา ก็ต้องยึดว่า ไม่ใช่ของเรา เป็นของคนอ่ืน เพราะฉะน้ัน ทุกอย่างสาหรับมนุษย์ และสัตว์แล้ว ก็เรียกได้ว่า เป็นอุปาทินกสังขารทั้งส้ิน คนที่เป็นปุถุชนธรรมดานั้น มีตัณหาอุปาทานทุกคนไป เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๓๑

เม่ือมีอุปาทานแล้ว อุปาทานนั้นก็ออกเท่ียวยึดสังขารทุกอย่างทุกชนิด ว่าเป็นน่ันบ้าง เป็นน่ีบ้าง มีประโยชน์ บ้าง ไม่มีประโยชน์บ้าง สังขารทุกชนิดก็เป็นอุปาทินกสังขารสาหรับปุถุชน สาหรับพระอรหันต์ไม่มีกิเลส ไม่มี ตัณหาอปุ าทาน เพราะฉะนั้น คนท่ีสาเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว สังขารทุกชนิดในโลก คือเป็นอนุปาทินกสังขาร ท้ังสิ้น พระอรหันต์มองโลกด้วยความว่างเปล่า ในสายตาของพระอรหันต์แล้ว สังขารก็เป็นสังขาร ท่านไม่เอา อุปาทานเข้ายึด ในทรรศนะของพระอรหันต์ สังขารทุกชนิดจึงเป็น อนุปาทินกสังขาร โลกของปุถุชนจึงเป็นอุ ปาทินกสังขาร สาหรับปุถุชนที่พิจารณาความจริงและปลดปล่อยตัณหาอุปาทานได้เร่ือย ๆ ไปนั้น ก็จะมีอุปา ทินกสังขารน้อยลงในโลกของตน มันก็อยู่ที่ใครปล่อยได้มากได้น้อย ถ้าคนยังกิเลสหนา ตัณหามาก อุปาทาน มาก อุปาทินกสังขารในโลกของคนเหล่านั้นก็มีมาก ถ้าตนอยู่ไปแล้วก็ปล่อยไปรู้เห็นความจริง รู้ว่าอะไรมันก็ ไม่ใช่ของตัว ไม่ใช้อุปาทานเข้ายึด อุปาทินกสังขารมันก็น้อยลง อย่างในโลกของผมมันเกือบจะไม่มีเหลือแล้ว มนั ยดึ ไมไ่ ด้ทง้ั นนั้ มันก็เปน็ อนุปาทนิ กสังขารไปหมด ๑.๒.๓ สตั วโ์ ลก สัตวโ์ ลก หมายถึงโลกของสตั ว์ หรอื ส่งิ ท่มี ีชวี ิต ถ้าจะอธบิ ายใหล้ ะเอียดไปแล้ว ก็ต้องถามว่า อะไร คือสัตว์โลก ในทางศาสนาพุทธ สตั ว์โลก คือสงั ขารทีม่ ีอุปาทานเข้าไปยึดในตัวเอง หรือยึดในสิ่งอื่น ๆ สังขารใด ๆ ก็ตามท่มี ีอปุ าทาน สามารถยดึ ตนเองได้ และสามารถยึดสิง่ อืน่ ๆ ได้ คอื สตั ว์โลก กลา่ วคือ ส่ิงที่มีชีวิตจิตใจ มี ความรสู้ กึ ได้แก่มนุษยแ์ ละสัตว์ท้งั ปวงทอ่ี ยู่ในโลกน้ี ปัญหาทีเ่ ราจะต้องพจิ ารณาต่อไป คือ เพราะเหตุใดสังขารต่าง ๆ ทเ่ี รียกวา่ สัตว์ นี้จงึ มีอุปาทานได้ คาตอบน้นั กค็ ือ สตั ว์โลกทง้ั หลาย ไม่วา่ จะเป็นมนุษย์ หรือเป็นเดรัจฉาน แม้แต่เป็นสัตว์เล็กน้อยท่ีสุด ขนาดตัว อะมีบา, ไวรสั ถ้าเปน็ สัตว์ที่มชี ีวิตแลว้ ย่อมจะต้องมีธาตุรู้อยู่ในตัวเสมอไป ธาตุรู้น้ีอาจจะมากบ้างน้อยบ้าง แต่ กย็ อ่ มจะต้องมอี ยู่เสมอไป ธาตุรู้ที่มีอยู่ในสัตว์โลกน้ี ทางศาสนาพุทธถือว่า เป็นธาตุรู้ที่ไม่สมบูรณ์ กล่าวคือรู้ไม่ แจ้งชัด ยกตัวอย่างเช่น ดินสอแท่งนี้ ผมรู้ว่าเป็นเพียงดินสอ แต่ว่ามันทาด้วยอะไรผมไม่รู้จริง ๆ แต่ก็รู้ว่าเป็น ดินสอ ความรู้แค่นี้เป็นความรู้ท่ีไม่สมบูรณ์ ไม่ชัดแจ้ง ความจริงส่วนท่ีเรารู้จัก เรารู้แบบนี้ทั้งนั้น ความรู้เช่นน้ี ศาสนาพุทธเรียกว่า อวิชชา ไม่ใช่ความไม่รู้อะไรเลย ยึดแต่เพียงเท่าท่ีรู้ มีอุปาทานยึดว่า ดินสอน้ีใช้เขียนได้ การยดึ นแี่ หละที่เรียกว่า “อุปาทาน” ความรู้ไม่ถูกต้องนี้ คือความรทู้ ศี่ าสนาพุทธ เรียกวา่ “อายตนะ” อายตนะนน้ั แบ่งออกเปน็ ภายนอก และภายใน ความจริงมีอยู่ ๕ อย่าง แลว้ บวกด้วย “ใจ” อกี อยา่ งหนงึ่ สาหรับอายตนะภายนอกและภายในนนั้ มี ๕ อย่าง เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๓๒

๑. ตา เป็นอายตนะภายใน ตามองเหน็ รูป ส่งิ ที่ตามองเหน็ น้ัน ท่านเรียกว่ารูปทัง้ นั้น รปู เปน็ อายตนะ ภายนอก ตาเป็นอายตนะภายใน เม่ือรูปกระทบกับตา และตาก็มีหน้าท่ีเห็น แล้ว มนะ คือใจ ก็รับรู้ ใจรับรู้ว่า เหน็ รูป มนะ หรอื ใจน้ี เปน็ อายตนะอย่างหนึ่ง ซง่ึ เกย่ี วข้องกับอายตนะอนื่ ๆ เสมอไป ๒. หู เปน็ อายตนะภายใน เสียงเป็นอายตนะภายนอก เสียงมากระทบหู เชน่ เสยี งกลองนน้ั ใจก็รบั รู้ ว่า น่คี ือเสยี ง ถามตอ่ ไปว่า เสียงอะไร ก็บอกวา่ เสียงกลอง ๓. จมูก เปน็ อายตนะภายใน กล่นิ เป็นอายตนะภายนอก กลนิ่ มากระทบจมกู ไมว่ า่ หอม หรือไม่หอม ใจรบั รู้ ๔. ลน้ิ เป็นอายตนะภายใน มีหน้าท่ีรบั รสต่าง ๆ เปรี้ยว หวาน เค็ม มัน ขม ซ่ึงเป็นอายตนะภายนอก ลิน้ กระทบกับรสแลว้ ใจรับรู้ ๕. กาย เป็นอายตนะภายใน กายมหี น้าท่สี มั ผสั กับส่ิงภายนอก ที่เรยี กว่า “โผฏฐพั พะ” ซง่ึ ไม่รู้วา่ จะ อธิบายว่าอย่างไร เอามอื คลาไมโครโฟนน่ี ความรู้สึกคลานั้นเป็นโผฏฐัพพะ คลาสิ่งท่ีไม่น่าจะคลามันก็ไม่สบาย มือ คลาสิ่งที่น่าคลามันก็เพลินดี เร่ืองอายตนะต่าง ๆ น้ี ความจริง มนุษย์เราพยายามจะหาความสุขทาง อายตนะ หรือ ฝร่ังเรียกว่า Sense ให้มากที่สุด ทุกชาติทุกภาษา คือพยายามหาภาพที่สวยงาม ศิลปินเขียน ภาพได้สวยงามข้ึน ใช้สีสันต่าง ๆ ตลอดจนสร้างบ้านเรือนให้สวยงาม จัดสิ่งแวดล้อมให้สวยงาม ก็เพื่อ ประโยชนท์ จี่ ะไดเ้ ห็น คือ ตาจะไดเ้ หน็ รปู อันเปน็ ท่พี ึงใจ มนุษย์ทาเคร่ืองดนตรีขึ้น ฝึกเสียง ฝึกพูด ฝึกร้องเพลง เลีย้ งนกที่ร้องเพราะ ๆ เอาไว้ ตลอดจนอื่น ๆ อีกมาก ก็เพ่ือหูจะได้ยินเสียงที่พึงใจ ทาน้าอบ น้าหอมข้ึน ก็เพื่อ กล่นิ กระทบจมูกในทางทีด่ ี ปรงุ อาหารอย่างดี กเ็ พือ่ ได้กระทบลนิ้ เพ่ือเปน็ รสท่ีพงึ ใจ สาหรับคนไทย ไม่ค่อยจะสนใจเรื่องกายสัมผัส แต่ในประเทศท่ีมีความเจริญทางศิลปวัฒนธรรม มากกว่า เช่น ประเทศจีน เขาเจริญมากกว่าชาติอ่ืน คือ ไทย ฝรั่ง แขก เจริญได้แต่ ตา หู จมูก และล้ินเท่าน้ัน แตช่ าวจนี เจรญิ ไปถงึ เรอ่ื ง โผฏฐัพพะดว้ ย ตัวอยา่ งพพิ ิธภัณฑป์ ระเทศจีน มกี ้อนหยก หรอื เคร่อื งป้ันดินเผาลาย คราม ทจี่ ดั แสดงในรูปตา่ ง ๆ ซงึ่ ดไู ปแล้วเหน็ ชัดว่า ไม่มีประโยชน์อย่างอ่ืน ธรรมดา ภาชนะที่ทาข้ึนไว้นี้ มักจะ มไี ว้ใส่สง่ิ ต่าง ๆ แตบ่ างอยา่ งก็ไม่เห็นประโยชนอ์ ยา่ งใดทั้งสน้ิ อายตนะท่ี ๖ ที่อยภู่ ายใน คือ “ใจ” เพราะใจมหี นา้ ท่รี บั รู้ส่ิงตา่ ง ๆ โดยผ่านอายตนะอ่ืน ๆ ทีก่ ลา่ ว แล้ว นอกจากน้นั ใจก็ยงั มีหนา้ ท่นี ึกถงึ เรอื่ งต่าง ๆ และสามารถทจ่ี ะรบั รูส้ ่งิ ทีเ่ ป็นนามธรรมไดอ้ กี ด้วย คือ ตานั้น เห็นต้นไม้ ซึ่งจะต้องเป็นต้นมะม่วง มะพร้าว หรืออะไรโดยเฉพาะ ตาเห็นต้นไม้โดยท่ัว ๆ ไปไม่ได้ แต่ใจนั้น เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๓๓

สามารถจะรับรู้ต้นไมใ้ นฐานะที่เป็นนามธรรมได้ คือ ไม่ใช่ต้นใดต้นหน่ึงโดยเฉพาะ เวลาเรานึกถึงต้นไม้นั้น เรา ไม่ได้นึกถึงต้นอะไรโดยเฉพาะ ไม่ได้จาแนกออกเป็นต้นสัก ต้นมะพร้าว แต่นึกต้นไม้ว่าเป็นต้นไม้เท่านั้น คือ เป็นต้นไม้ที่เป็นนามธรรม ไม่ใช่ต้นไม้ท่ีเป็นรูปธรรม เพราะไม่ได้นึกด้วยว่ามีรูปอย่างใด สีอย่างใด สักแต่นึกถึง ตน้ ไม้ เม่ืออายตนะรบั รู้อย่างนี้แลว้ วญิ ญาณก็เกิดข้นึ ในตอนน้ี ส่ิงทเี่ รยี กวา่ วญิ ญาณในศาสนาพุทธเกิดขึ้น ในตอนนี้ วิญญาณในคติของศาสนาพุทธนั้น ไม่ได้แปลตามท่ีฝร่ังเชื่อถือ อย่างศาสนาอื่นเขาเชื่อถือ หรือ ภาษาอังกฤษว่า Soul นั้นมีความหมายแตกต่างกันมาก Soul ในภาษาอังกฤษอาจจะแปลว่า อัตตา หรือ เจตภูต แต่ไม่ใช่วิญญาณตามทฤษฎีของศาสนาพุทธ “วิญญาณ” ในศาสนาพุทธหมายถึง ความรู้สึกท่ีเกิดขึ้น โดยมีอายตนะเป็นเหตุ คือ ตาเห็นรูป แล้วใจรับรู้ วิญญาณก็เกิดข้ึน เพราะตาเห็นเหตุ ศาสนาพุทธเรียกว่า “จักขุวิญญาณ” คือ วิญญาณที่เกิดขึ้นเพราะตาเห็นรูป ส่ิงท่ีรู้ว่าเห็นนั้นคือ วิญญาณมันก็เกิดข้ึนในขณะน้ัน และโดยนยั เดยี วกนั หไู ด้ยนิ เสยี ง วญิ ญาณก็เกดิ จมูกได้กล่นิ วญิ ญาณทางจมูกก็เกิด ลิ้นรู้รส วิญญาณทางล้ินก็ เกิด กายได้สมั ผสั กบั โผฏฐัพพะ กายวญิ ญาณก็เกิด วญิ ญาณมีความหมายอย่างน้ใี นศาสนาพุทธ ทเ่ี ราสอบถามกันวา่ วิญญาณมีหรือไม่ ? ตายแล้ววญิ ญาณไปไหน ? น้ัน วญิ ญาณในลักษณะนีเ้ ป็น วิญญาณอกี อยา่ งหนง่ึ ซ่งึ ไม่เกี่ยวกับวิญญาณในศาสนาพุทธเลย เพราะในศาสนาพุทธ คาว่าวิญญาณ หมายถึง ความรู้สึก ภาษาอังกฤษเรียกว่า Consciousness เท่านั้น วิญญาณนี้เม่ือเกิดขึ้นแล้วก็ดับไป คือ ตาเห็นรูป ผู้หญิง จักษุวิญญาณก็เกิด พอผู้หญิงเดินผ่านไปแล้ว จักษุวิญญาณท่ีเกิดขึ้นก็ดับ พอคนอื่นเดินผ่านมา จักษุ วญิ ญาณก็เกิดอกี พอผา่ นไปกด็ บั ไปอีก ไมม่ วี ิญญาณทีค่ งที่ ไมว่ า่ จะเปน็ วิญญาณท่ีเกิดจาก ตา หู จมูก ล้ิน กาย มนั กด็ บั และเกดิ กันอยเู่ รอ่ื ยไป เมอ่ื การรบั ร้วู ิญญาณเกิดขน้ึ เช่นน้แี ล้ว ก็จะเกิดขน้ึ อีกอย่างหนึ่ง ท่ีเรียกว่า “เวทนา” ไทยเราใชไ้ ป ในทางความหมายวา่ สงสาร หรอื เห็นอกเห็นใจ ความจริงไมใ่ ช่ เวทนาในศาสนาพทุ ธ ได้แก่ อารมณ์ทุกข์ หรือ อารมณ์สุข ซึ่งเกิดจากความรู้ด้วยอายตนะต่าง ๆ ตาท่ีเห็นรูปที่สวยงาม ความสุขก็เกิด ตาเห็นรูปที่ไม่สวยไม่ งาม ความทุกขก์ ็เกดิ คือไมอ่ ยากดู เสียงก็เช่นเดียวกัน เม่อื ไดย้ นิ เสียงท่ีไพเราะทางหู ก็เกิดความสุข ได้ยินเสียง ท่ีก้าวร้าวไม่ไพเราะ ก็เกิดความทุกข์ จมูกก็เช่นกัน ถ้าหอม ก็มีความสุข ถ้าไม่หอม ก็มีความทุกข์ ดังท่ีกล่าวน้ี เวทนาก็เกิด สาหรับมนุษย์เห็นว่า สุขเวทนา เป็นของที่พึงแสวงหา เอามาบารุงบาเรอตน ส่วนทุกขเวทนา ก็เป็น ของพงึ หลกี ยงั มอี ีกอย่างหนงึ่ ท่ีเรียกว่า อทุกขมะ และ อสุขมเวทนา หมายความถึงอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข ตา เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๓๔

เห็นแล้วก็ไม่ได้เกิดสุข ไม่ได้เกิดอะไร อย่างไรก็ตาม เม่ือเกิดเวทนาขึ้นแล้วก็เกิด “สัญญา” หมายถึงการ กาหนดจดจาว่า สิ่งใดเป็นสิ่งใด ตลอดจนจาเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนได้และจาได้ว่า สังขารต่าง ๆ ที่เรา ประสบพบเห็นด้วยอายตนะน้ัน ส่ิงใดดี สิ่งใดไม่ดี มีผลอย่างไร เป็นต้นว่า เกิดมาไม่รู้จักไฟเลย แล้วเอามือไป ถกู ไฟเข้า มอื กร็ ้อน และเจ็บ กเ็ กิดสัญญาวา่ ไฟนั้นเป็นของร้อน ไม่จับต้องต่อไปอีก น่ีคือ สัญญา รวมทั้งหมดมี อยู่ ๕ อย่าง เรยี กวา่ ขันธ์ ๕ ได้แก่ รปู เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ คาวา่ “ขนั ธ์” ในภาษาบาลีแปลว่า เคร่อื งผกู มดั หรือ การผกู มัด มดั ใหเ้ ราติดอยู่กับความเขา้ ใจผิดว่า เราเป็นผูม้ ีตัวตน ขนั ธ์ ๕ จะทาหน้าท่ีผูกมัดได้ ก็จะตอ้ งมอี ุปาทานเข้าร่วมด้วย ถ้ารับรู้เฉย ๆ แล้วไม่ยึด ปัญหา ก็ไม่เกิด เราอาจจะไม่เข้าใจผิดอะไรก็ได้ แต่เม่ือยึดแล้ว มันก็ผูกมัดให้เราเข้าใจผิดว่า เรามีตัวตน เพราะฉะนั้น ขันธ์ทเี่ ปน็ เคร่อื งผกู มัดแท้จรงิ น้ัน ท่านเรยี กว่า อปุ าทานขันธ์ ขันธ์ ๕ นี้ เรียกอีกอยา่ งหนึง่ วา่ นามรูป ทเี่ รยี กว่า นามรูปน้นั มีรูปอย่างเดียว คือ สังขารที่เป็นรูปวัตถุ ธรรมทั้งปวง ถือวา่ เป็นรปู ซึง่ ตาเหน็ และจับต้องไดก้ เ็ ปน็ รปู สว่ นเวทนา คือ อารมณท์ ุกขส์ ขุ ความจา คอื สญั ญา สังขาร คอื การปรุงแต่งของสรรพสิ่งต่าง ๆอาการ ท่ีปรุงแต่งน้ัน และวิญญาณ คือการรับรู้ต่าง ๆ นั้น ท่านถือว่าเป็นนาม เพราะตามองเห็นไม่ได้ จับต้องไม่ได้ จริงอยู่ โต๊ะ หรือ น้า เป็นสังขารซ่ึงปรุงแต่งแล้ว แต่ขณะท่ีเราเห็นโต๊ะ เราไม่ได้แลเห็นอาการของสังขาร หรือ การปรงุ แต่ง เพราะฉะน้ัน จึงถือว่า ๔ อย่างน้ีเป็น นาม รูปก็เป็นรูป ส่วนเวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ เปน็ นาม ท่ีพระท่านพูดถงึ นามรปู น้นั ก็คือ ขันธ์ ๕ นั้นเอง อินทรีย์ เร่ืองอินทรีย์นี้ เป็นเร่ืองอยู่ในขันธ์ ๕ หรืออยู่ในความรู้ที่เกิดจากอายตนะของสัตว์โลก อินทรีย์ และว่า ผู้เป็นใหญ่ นกอินทรี แปลว่า นกใหญ่ เม่ือเอามาปรับเข้ากับอายตนะต่าง ๆ แล้ว เป็นต้นว่า จกั ษอุ นิ ทรยี ์นน้ั หมายถึง อายตนะทีเ่ ปน็ ใหญ่ในขณะท่ที าการ เวลาเรามองเห็นอะไรน้ัน ตาเห็นใหญ่ ตาจึงเป็น อินทรีย์ เป็นประธานในการเห็นของเรา หู จมูก ลิ้น กาย ก็เช่นเดียวกัน เพราะฉะน้ัน ความรู้ทางอายตนะต่าง ๆ เหล่านี้ เม่ือประกอบกับความยึดเข้าแล้ว ก็ทาให้เกิดความรู้สึก ความเข้าใจว่า เรามีตัวตน ซึ่งอันที่จริง ตาม ทฤษฎีในศาสนาพุทธน้ันบอกว่า เราไม่มีตัวตน เห็นรูปกายของเราเข้า เราก็นึกว่า น่ันแหละตัวเรา ได้ยินเสียง เข้า กน็ ึกว่า ตัวได้ยิน จมูกได้กล่ิน ก็นึกว่า ตัวเราน้ันเอง เป็นคนได้กล่ิน แต่ความจริงแล้วมันไม่ใช่ สิ่งท่ีเห็นรูป นัน้ คอื อนิ ทรีย์ หรือจกั ษอุ นิ ทรีย์ คือตา ต่างหากเป็นใหญ่ มิใช่เรา แล้วเราจะไปบังคับให้มันเห็นอย่างไรก็ไม่ได้ มันเห็นตามเรือ่ งของมัน จะว่าตาเป็นตัวของเราได้อย่างไร เพราะฉะน้ัน ท่านจึงบอกว่า ขันธ์ ๕ นั้นไม่ใช่ตัวตน ตวั ของเราน้ีเองเม่ือเกดิ ขึน้ แล้ว กข็ ยายออกไดเ้ รือ่ ย ๆ ตวั ใหญข่ ้ึน ยืดมากขึ้น เติบโตข้ึนไป ซึ่งเรียกว่า อุปาทาน เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๓๕