Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร่างรายงาน u2t แก้ไขครั้งที่1 Final Report_30012022

ร่างรายงาน u2t แก้ไขครั้งที่1 Final Report_30012022

Published by Amgift orp, 2022-02-01 10:45:38

Description: ร่างรายงาน u2t แก้ไขครั้งที่1 Final Report_30012022

Search

Read the Text Version

139 ผลสำเร็จท่เี กดิ ขน้ึ จากโครงการ เกิดการจา้ งงานประชาชน บัณฑิตจบใหม่ นักศึกษาในพืน้ ทีค่ รบทั้ง 24 อัตรา ได้รับพัฒนาทักษะ ต่าง ๆ ทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วย ความสามารถทางภาษาอังกฤษ (English Competency) ความรู้ด้านดิจิทัล (Digital Literacy) วิศวกรสังคม (Social Literacy) และความรู้ด้านการเงิน (Financial Literacy) โดยได้ใช้ ความรู้ความสามารถของผูถ้ ูกจ้างงาน และการบริการวิชาการดา้ นเทคโนโลยตี ่าง ๆ (System Integrator) ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการจัดทำข้อมลู ขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) และกิจกรรมตา่ ง ๆ ของชุมชน เพ่ือเปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน เกิดผลลัพธ์เชิงเศรษฐกิจและสังคม กล่าวคือ การทำงานของมหาวิทยาลัยฯ จากการสัมภาษณ์ ชี้ให้เห็นว่า คณะทำงานมีความพยายามในการปฏิบัติตามกรอบแนวคิดในการดำเนินงานที่อยู่ภายใต้โครงการ U2T โดยใชว้ ธิ ีการบรู ณาการองคค์ วามรู้ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน กลุ่มผู้ถกู จา้ งงาน และภาคีเครือข่าย ดงั นน้ั จึงทำให้ในมิติเชงิ สังคม ได้เกดิ ผลลัพธ์ทีด่ ีต่อสงั คมในชมุ ชน เช่น เกิดแหลง่ เรียนรู้ เช่น การทอผ้า การแปร รูปผักเชียงดา การเพาะเลี้ยงจิ้งโกร่ง การแปรรูปข้าวก่ำนาสีนวล เป็นต้น รวมไปถึงเกิดการรวมกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนเพอื่ พัฒนาผลิตภณั ฑ์รปู แบบใหม่ ดงั นัน้ ผลทเี่ กดิ ในเชิงสงั คมจะนำมาสผู่ ลในมิตดิ ้านเศรษฐกจิ คือ เกิดการ พัฒนาอาชีพอันจะนำไปสู่การมีรายได้เพ่ิมขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การแปรรปู ข้าวก่ำนาสีนวล จากข้าวธรรมดาทีใ่ ช้ หงุ เพ่อื การบรโิ ภค ไปสู่การเปน็ แปง้ ที่มีราคาตามทอ้ งตลาดมากกว่าการเปน็ ข้าวสารถึงสองเท่า รวมไปถงึ ยงั ใช้ใน การตอ่ ยอดเปน็ ผลิตภณั ฑอ์ น่ื ทีม่ มี ลู คา่ เพ่มิ ข้ึนไปในอกี ระดับหน่ึง ดังนน้ั จงึ นำมาสู่ผลการเปลยี่ นแปลงที่เกิดขึ้นต่อ กลุ่มเป้าหมาย จากการสัมภาษณ์คณะทำงาน เพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น ผู้ถอดบทเรียนได้นำผลการ เปล่ียนแปลงทเี่ กิดขึ้นมาจัดแบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ “ผลที่เกิดขึ้นอย่างตัง้ ใจ (Intended Consequences)” ในที่นี้จะหมายถึงผลในทางบวกที่เกิดข้ึน อยา่ งเป็นรูปธรรมจากการทำโครงการ U2T กล่าวคอื ความคาดหวงั ที่ของคณะทำงานตำบลบ้านกิ่วอยา่ งหน่งึ คือ “การยกระดับทางเศรษฐกิจภายในชมุ ชน” ดังนั้นผลทีเ่ กิดขึน้ จากความตั้งใจ จึงว่าด้วยการเกิดการรวมกลุ่มเพ่อื พัฒนาและยกระดับเศรษฐกิจโดยใช้ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน นำมาบูรณาการร่วมกับเทคโนโลยีและ องค์ความรู้สมัยใหม่ ทำให้เกิดผลิตภณั ฑ์ใหม่ ๆ ในชุมชน มีช่องทางและกลุ่มเป้าหมายในการจำหน่ายเพ่มิ ข้ึน ดงั น้นั ผลทเ่ี กิดขนึ้ อย่างตั้งใจในการทำโครงการฯ ท่ีโดดเดน่ และเป็นรูปธรรม คอื การยกระดบั รายได้ชุมชน และ การเกิดขนึ้ ของกลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชน แตอ่ ยา่ งไรก็ตามคณะทำงานไดม้ คี วามพยายามดำเนนิ ตามเป้าหมายสู่ความ ยัง่ ยืนถงึ 15 เปา้ หมาย จากทัง้ หมด 16 เป้าหมาย “ผลทีเ่ กิดข้ึนอย่างไม่ตั้งใจ (Unintended Consequences)” ในงานศึกษาเกีย่ วกับผลกระทบของ โครงการขนาดใหญ่ของรัฐ และมกั ใชอ้ ธบิ ายปรากฏการณใ์ นเชงิ ลบ หรอื ผลกระทบทางลบที่เกดิ ข้นึ จากการดำเนิน โครงการ แต่ในที่นี้จะหมายถึง ผลลัพธ์หรือผลประโยชน์ที่ไม่คาดคิดในเชิงบวก (Positive unexpected outcomes or benefits) ดงั นนั้ ผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากความไมต่ ้งั ใจ จงึ เป็นผลทน่ี อกเหนือความคาดหมาย (เกินความ คาดหมาย) ของคณะทำงานตำบลบ้านกวิ่ ผลที่นอกเหนือความคาดหมาย คือ การไดร้ บั รางวัลชนะเลิศการประกวดกจิ กรรมแฮคกาธอน (U2T Hackathon 2021) ระดับภมู ิภาค ภาคเหนอื ตอนบน จากการสัมภาษณช์ ้ใี ห้เห็นวา่ คณะทำงานมีความคิดในการ ทำงานทุกครั้งว่าหากจะทำสิ่งใดตอ้ งทำอย่างเต็มความสามารถ การแข่งขันจึงไมใ่ ชท่ ั้งหมดของการทำโครงการ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้รางวัลก็ถอื ว่าไดล้ องทำงานรว่ มกันเป็นทีม ดงั นั้นการชนะการแข่งขนั จงึ เป็นเหมอื นผลทน่ี อกเหนือ

140 ความคาดหมาย แต่ผลท่นี อกเหนือความคาดหมายเหล่าน้ีกลับทำให้มีความมน่ั ใจในการทำงานมากขึ้น เสมอื นว่า คณะทำงานได้เดินมาถกู ทาง “แฮคกาธอนเป็นแค่ส่วนหนึ่งหรือผลพลอยได้จากการทำโครงการ…เราแค่อยากให้ทุกคนได้เห็น กระบวนการตั้งตน้ ไปจนถงึ ปลายสายวา่ จะขายอะไร ต่อยอดเชงิ ศิลปะวัฒนธรรมยงั ไง ต่อยอดด้านสินคา้ และการ บริการอยา่ งไร... ถ้ามนั จะไมเ่ ข้ารอบก็ไมเ่ ป็นไร” คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลบ้านก่วิ (สัมภาษณ์, 24 ธนั วาคม 2564 ) รปู ท่ี 6-30 “ทีม Rice is Life” ตัวแทนคณะทำงานตำบลบ้านก่วิ ในการแขง่ ขนั แฮคกาธอน และรางวัลจากการแข่งขนั ที่มา: ดัดแปลงจาก บ้านกิว่ Feel Good, [เฟซบุก๊ รปู ภาพอัพเดท] (เข้าถึงเม่ือ 12 มกราคม 2565) ผลลัพธ์ต่อมา คือการเกิดปฏิสัมพันธ์ของคนในชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มผูส้ ูงอายุ คณะทำงานไม่ได้ มองข้ามประเด็นเกี่ยวกับกลุ่มผู้เปราะบางในชุมชน ซึ่งผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งในกิจกรรมตามแผนการ ดำเนนิ งาน โดยมุ่งหวงั ให้เกิดสุขภาวะทีด่ ี แต่ผลลพั ธท์ น่ี อกเหนือจากน้ัน คือทำใหผ้ ู้สูงอายุที่ติดบ้าน และไม่ค่อย มีปฏิสัมพันธก์ ับชุมชน ได้เข้ามาพูดคุย เสริมพลังอำนาจให้ซึ่งกันและกัน สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่ไม่ได้อย่ใู น ความคาดหวงั ของแผน รปู ท่ี 6-31 ผสู้ งู อายทุ เ่ี ข้าร่วมกิจกรรม ทม่ี า: ดดั แปลงจาก บา้ นกว่ิ Feel Good, [เฟซบกุ๊ รูปภาพอพั เดท] (เขา้ ถงึ เมอ่ื 12 มกราคม 2565)

141 จากผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการนำมาสู่ผลการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว โดย คณะทำงานมีมุมมองต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นว่า หากต้องพิจารณาว่าผลลัพธ์เหลา่ นี้จะดำเนินการต่อได้ นานหรือไม่ หรอื นานเพียงใด สงิ่ ทตี่ อ้ งพิจารณาและสำคญั เปน็ อย่างมาก คอื “กลุ่มคนหรอื บุคคลทีจ่ ะทำงานต่อ” เนื่องจากจะเป็นกำลังขับเคล่อื นที่สำคัญ แตก่ ารจะให้ผลลพั ธถ์ ูกดำเนินไปต่อนั้น ก็ต้องย้อนกลับมาต้ังคำถามว่า “สิ่งที่ไดด้ ำเนินการไปเปน็ ความต้องการของคนในชุมชนอยา่ งแท้จริงหรอื ไม่ หรือเป็นเจตจำนงของคณะทำงาน” คำถามนี้จะถูกนำมาผลติ ซ้ำตลอดระยะเวลาการทำงาน เพราะหากไม่ได้เกิดจากความต้องการของชุมชนอยา่ ง แทจ้ รงิ กท็ ำใหค้ นในชุมชนไม่เห็นความสำคญั และไม่มีคนหรอื กลุ่มเพียงพอท่ีจะขบั เคล่อื นผลลพั ธ์ให้เกิดข้ึนได้ใน ระยะยาว “การอยู่แบบเดิม ๆ มันไม่มีการพัฒนา มันไปต่อไม่ได้…ตอนนี้ก็ได้มีการจดวิสาหกิจชุมชนแล้ว การจดวิสาหกิจไม่จำเป็นต้องเป็นกลุ่มใหญ่ เป็นกลุ่มเล็ก ๆ ก็ได้…เราจะเป็นผู้จัดจำหน่ายเอง ทำตามความ ต้องการของพวกเราเอง” คนในชุมชนตำบลบ้านก่ิว (สัมภาษณ,์ 24 ธันวาคม 2564 ) ในปัจจบุ ันแนวโนม้ การดำเนินงานภายใตโ้ ครงการฯ โดยมผี ลลัพธค์ ือการยกระดบั ผลติ ภัณฑ์และได้ ผลติ ภัณฑร์ ูปแบบใหม่ นำมาสกู่ ารยกระดบั รายได้ชมุ ชน ซ่งึ แนวโน้มทจี่ ะเกิดการเปล่ียนแปลงได้ในระยะยาว คือ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เกิดขึ้นใหมจ่ ากกลุ่มคนในชุมชนที่มีความต้องการในการพัฒนาข้าวให้มีมูลค่าเพิม่ ข้อมูล จากการสมั ภาษณค์ นในชุมชน ซงึ่ เปน็ หนงึ่ ในสมาชิกกอ่ ต้ังกลมุ่ วสิ าหกิจชุมชน ช้ีใหเ้ หน็ วา่ เกิดจากความต้องการ ของกลุ่มคนที่มีความพยายามหาแนวทางในการพัฒนาข้าวให้ได้มูลค่าเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ดังนั้นในปัจจุบัน (ธันวาคม 2564) จงึ ยังคงเห็นแนวโนม้ ของการเปลีย่ นแปลงว่าจะเกิดขึ้นไดใ้ นระยะยาว “การมคี นทจ่ี ะทำงานตอ่ เป็นหมดุ หมายทด่ี ีเพราะจะช่วยให้โครงการไปตอ่ ได้ แลว้ ก็จะค่อย ๆปล่อย ให้ชุมชนดำเนินการเอง ออกไอเดยี เอง ถา้ ชมุ ชนตอ้ งการความชว่ ยเหลือเราค่อยเค้าไปชว่ ย” คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลบา้ นกว่ิ (สมั ภาษณ,์ 24 ธนั วาคม 2564 ) การบริหารจัดการโครงการ เทคนิควิธีการบริหารจัดการที่ทำให้การขับเคลื่อนโครงการประสบความสำเร็จ เกิดจากเป้าหมาย ของคณะทำงานตำบลบ้านกิว่ คือ การมงุ่ หวังให้เศรษฐกิจในชมุ ชนดีข้นึ แตก่ ารตอ่ ยอดหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใน ชุมชนจะต้องเชื่อมโยงกับความต้องการของคนในชุมชน โดยวิเคราะห์ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น และเท่านั้น ยังคงไมเ่ พียงพอ คณะทำงานจะต้องมองว่าผลิตที่ได้จากกจิ กรรมหรือโครงการที่ทำนั้น จะสามารถเกิดผลลัพธ์ เหลา่ นี้ได้นานหรอื ไม่ การที่จะมีกำลงั คนไดต้ อ้ งมกี ารเช่อื โยงชุมชน อยา่ งท่กี ล่าวไวว้ า่ ชุมชนตำบลบา้ นก่ิวมีความเข้มแข็ง ของกลุม่ ในชุมชน แต่การทำงานของแต่ละกลุม่ ยงั คงทำงานแยกส่วนกันและยังไมไ่ ด้เกิดการเชื่อมโยงซึ่งกันและ กนั ทำใหไ้ ด้โจทย์ในการทำงานกับชมุ ชนอีกรูปแบบหน่ึง คือ การเชอื่ งโยงกลุม่ ในชุมชนให้ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน

142 โดยใช้คณะทำงาน (บัณฑติ นักศกึ ษา และประชาชน) ในการตดิ ต่อสอดประสานระหว่างกลมุ่ ทำให้ได้รู้จักกลุ่ม มากข้ึน เม่ือรูจ้ กั กลมุ่ มากขน้ึ ก็ทำใหร้ ้จู กั คนมากขนึ้ พอเชื่อมโยงทัง้ คน ทุนในชุมชน ภาคีเครอื ข่าย และความต้องการของคนในชุมชนจนนำมาสู่เรือ่ ง การแปรรูปข้าวกำ่ นาสีนวล แต่กระนนั้ การที่จะขับเคลอ่ื นต่อไปได้ต้องมีกำลังคน ซึง่ ในระยะแรกได้เผชิญกับการ ขาดกำลงั คน ถงึ แมจ้ ะมีการอบรมทำโครงการตา่ ง ๆ มากมาย หากไมม่ คี นดแู ลกจิ กรรมเหล่านตี้ ่อ เม่ือโครงการ ของ อว. สนิ้ สุดลง กิจกรรมเหล่านก้ี จ็ ะเลอื นหายไปจากชมุ ชนด้วย ดงั นั้นคณะทำงานจงึ มกี ารเตรียมกำลังคนให้ พรอ้ มทจ่ี ะดูแลกจิ กรรมให้ดำเนินตอ่ ไปด้วยการรวมกลุ่มของคนในชมุ ชนอย่างสมคั รใจทีจ่ ะเกิดเป็นกลุ่มวิสาหกิจ ชมุ ชน และสุดทา้ ยก็เกดิ เป็นกล่มุ ก้อนข้นึ มาได้ นีเ่ ปน็ เพยี งแค่จุดเรม่ิ ต้น บทเรียนเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่กระตุ้นเตือนคณะทำงานมาโดยตลอด ว่าหากต้องทำผลิตภัณฑ์ให้กับ ชุมชน จะตอ้ งสรา้ งคนใหพ้ ร้อม ต้งั กลมุ่ ให้แขง็ แรง แล้วกิจกรรมจะดำต่อไปได้ แม้คณะทำงานจะถอนตวั ออกจาก ชุมชนแล้วก็ตาม ถึงแม้ว่าคณะทำงานมุ่งหวังให้ชุมชนเกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ก็ตาม แต่ไม่จำเป็นต้องมีชนิดและ จำนวนสินค้ามากมาย ควรเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์หลักให้โดดเด่น เสมือนคำที่ชอบพูดกันว่า “quality over quantity” หรือคณุ ภาพมาก่อนปรมิ าณ เพราะหากผลติ สินคา้ จำนวนมากแต่ขายไมไ่ ด้ ไม่มีตลาดรองรบั ไมเ่ ปน็ ที่ ตอ้ งการของตลาด คณะทำงานตัง้ คำถามกลบั ว่า “ถา้ อย่างนนั้ จะทำไปทำไม” ดังนัน้ หากจะทำผลิตภณั ฑก์ ม็ ีความจำเป็นที่จะต้องทำใหไ้ ด้คุณภาพ หาตลาดรองรับ มีช่องทางใน การจำหน่าย เพื่อให้มีการสั่งซื้อในชุมชนให้ได้ ดังนั้นถึงแม้จะเกิดผลิตภณั ฑ์ในชุมชนหลากหลายอย่างแต่ไม่มี ฟนั เฟืองในการขับเคล่ือนตอ่ ก็จะสญู เสียผลลพั ธ์ในระยะยาวและเกดิ ความไม่ย่ังยนื สำหรบั ข้อจำกดั จากการบริหารจัดการโครงการ ท่ีเกิดขึน้ ระหว่างดำเนินกิจกรรม ทางคณะทำงาน ตำบลบ้านก่วิ ไม่คอ่ ยพบประเดน็ ปัญหาในการทำงาน แต่เปน็ ในเรอ่ื งของขอ้ มลู และองคค์ วามรเู้ กีย่ วกับข้าวก่ำนาสี นวลยังมีไม่มากพอ วิธีการแก้ไขปัญหาจึงเป็นไปในแนวทางของการสร้างองค์ความรู้อย่างสม่ำเสมอ เช่น หา ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เข้าร่วมอบรม รวมถึงการเก็บเกี่ยวความรู้และประสบการณ์กับกลุ่มเกษตรกรในชุมชน โดยเน้นย้ำว่า “อย่าให้ความไม่รู้ มาเป็นข้ออ้างในการทำงาน” อีกประการหนึ่งคือการวิบัติขึ้นของวิกฤตการ ระบาดของโรคโคโรนา 2019 ที่ทำให้เกิดข้อจำกัดในการบริหารจัดการโครงการแตก่ ็มิได้เป็นปญั หารุนแรง เพียง ต้องมกี ารปรบั แนวทางให้สอดคล้องกับนโยบายและมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการดา้ นงบประมาณ วิธกี าร เทคนคิ วธิ ที ี่เอื้อให้การบริหารจัดการงบประมาณได้ดี ผ้รู ับผิดชอบโครงการได้เล่าเร่ืองราว เกย่ี วกับการบริหารงบประมาณว่า คณะทำงานตำบลบ้านก่ิวไมม่ ปี ัญหาเกี่ยวกบั งบประมาณ เนอ่ื งจากงบประมาณในการบริหารงานของคณะทำงานจะมกี รอบงบประมาณในการใช้จา่ ย หากยัง ไม่ได้ตั้งกลุ่มวิสาหกิจจะต้องใช้งบตามกรอบงบประมาณไปก่อน โดยมีข้อกำหนดว่าเวลาใช้จ่ายจะต้อ งใช้ตาม กรอบงบ หากขายผลิตภัณฑ์ได้ เงินที่ได้มาก็จะทำบัญชี และก็ตั้งเป็นกองทุนสำหรบั ใช้ประโยชนอ์ ย่างอื่นตอ่ ไป หากขาดทนุ หรอื ไดก้ ำไรอย่างไรตอ้ งรบั ทราบเรื่องงบร่วมกนั สำหรับงบประมาณหลังจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ คณะทำงานได้มีโอกาสปรึกษากับศูนย์ทรัพย์สินทาง ปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจชมุ ชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ข้อเสนอในการยน่ื กรอบการจัดต้ังวิสาหกิจ ชมุ ชน เพ่อื นำไปขอทุนในการนำมาพัฒนาวสิ าหกิจชุมชนได้ ซ่งึ ทนุ น้มี เี ป็นประจำทุกปี แตจ่ ะเป็นในรูปแบบของ การแข่งขัน (ย่นื แผนดำเนนิ งานเพ่ือพจิ ารณา) ดังน้ันคณะทำงานจงึ ต้องช่วยดูแผนงานใหก้ ับชุมชนเพ่ือผลักดันให้

143 ได้ทุนในการนำมาต่อยอดผลิตภัณฑ์ เพราะฉะนั้นถ้าการเปน็ วิสาหกิจชุมชนจึงถือเป็นโอกาสอยากหนึ่ง ที่จะหา แหลง่ ทนุ ภายนอกสนับสนนุ ไดห้ ลากหลาย หากมีแผนงานที่ดี และมีสนิ คา้ ที่ได้คณุ ภาพ นอกจากการตัง้ กรอบงบประมาณแล้ว สิ่งทท่ี ำให้คณะทำงานสามารถจัดการงบประมาณใหค้ งเหลือ ได้ เกิดจากการทำงานด้วยคณะทำงานเอง ไม่มีการจ้างเอกชนที่เป็นในลักษณะของผู้รับจัดงาน (organizer) เพราะหากกระทำการเช่นนั้นจะทำใหง้ บประมาณหลุดกรอบการดำเนินงาน เนอื่ งจากมรี าคาจา้ งที่สงู เพราะมีการ จ้างงานกันต่อในลักษณะเป็นห่วงโซ่ และทำให้เกิดปัญหาตามมา รวมไปถึงไม่เกิดประโยชน์ที่ควรเป็นไปตาม ความคาดหวงั ของโครงการฯ และทีส่ ำคัญอย่างมาก คอื “ชุมชน” ในฐานะที่เป็นหมดุ หมายในการพฒั นา จะมิได้ ประโยชนอ์ นั ใดจากการเกดิ ขน้ึ ของโครงการ U2T การบริหารจัดการด้านการจ้างงาน ในด้านการจ้างงาน พบว่า มีการจ้างงานครบทั้ง 24 อัตรา ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ โดยส่งแฟ้ม ผลงาน (portfolio) เนอ่ื งจากต้องการรจู้ กั ผู้สมคั รมากขึ้น การทรี่ ับสมัครโดยไมร่ จู้ ักผสู้ มัคร มักจะมีความยากใน การตัดสินใจ ดังนั้นแฟ้มผลงานจะช่วยให้ทราบตำแหน่งแห่งที่ของผู้สมัคร และตัดสินใจง่ายขึ้น การที่ต้องคัด คนทำงานอย่างเข้มงวดเพราะไม่ต้องการให้มีปัญหาการทำงานย้อนหลัง เช่น ปฏิบัติงานไม่ได้ ดังนั้นหาก จำเปน็ ตอ้ งเชิญใครออกมันก็เป็นเร่ืองท่ียากและลำบากใจในฐานะคนทำงานร่วมกัน ดังน้นั การคดั เลือกจึงมีความ จำเป็นท่ีจะเลือกบุคคลทีส่ ามารถทำงานไดเ้ ปน็ ส่ิงสำคัญทสี่ ดุ ทั้งนี้ สำหรับข้อเสนอแนะต่อการจ้างงานทีจ่ ะนำไปสู่ความยัง่ ยนื ของพ้ืนที่ มีข้อเสนอโดยตั้งอยู่บน ปัญหาที่พบจากการทำงานในพื้นที่ คือ 1) คนในชุมชนมีความต้องการผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ดี ทันสมัย และอยูใ่ นรปู แบบใหม่ ๆ ดังนั้นจึงควรกำหนดกรอบการรบั สมัครท่ียืดหยุ่นขน้ึ เพ่ือใหไ้ ด้บุคลากรท่สี ามารถเข้ามา ริเริ่มด้านผลิตภัณฑ์ได้ และ 2) การประกาศรับสมัครบุคคลเข้าทำงานต้องมีความรวดเร็วขึ้น และทาง มหาวิทยาลยั ไมม่ ีแนวทางในการแกไ้ ขประเด็นน้ไี ด้ เพราะหากประกาศรบั สมคั รก่อนก็อาจจะผดิ ระเบียบ ซง่ึ จะนำ มาถึงปัญหาเรื่องการเบกิ จ่ายเงนิ ตามมา ดังนั้นการไมม่ ีอำนาจในการกำหนดกรอบระยะเวลา ทำให้ต้องสูญเสยี บคุ ลากรที่มคี ุณภาพไป

144 รปู ที่ 6-1 กลยุทธ์การบรหิ ารโครงการพน้ื ท่ตี ำบลบ้านกิ่ว ปัจจยั หรือเง่อื นไขท่ีทำให้พืน้ ทีป่ ระสบความสำเรจ็ หากกล่าวถึงความสำเร็จจากการดำเนินโครงการฯ ซึ่งข้อมูลที่ได้เกิดจากการเล่าเรื่องและ รายละเอยี ดของเร่อื งราวทไ่ี ด้จากคณะทำงาน ไดถ้ กู นำมาวเิ คราะหเ์ ชิงเนอื้ หาที่นำมาสปู่ ัจจยั ท่ีแห่งความสำเร็จ ซง่ึ แบ่งออกเป็น 3 มิติ ดังนี้ มิติของมหาวิทยาลัยและภาคีเครือข่าย ที่ถือเป็นปัจจัยตั้งต้นในการที่ส่งผลให้เกิดการประสบ ความสำเรจ็ ได้ และสามารถทำให้คณะทำงานดำเนนิ กจิ กรรมได้โดยเกิดข้อบกพรอ่ งน้อย ประหยดั เวลา เรมิ่ ตน้ จาก “วงใน” คือ การบรหิ ารภายในมหาวทิ ยาลยั โดยจะมีทมี ในการประสานงานกับแม่ข่าย ฯ และ อว. ส่วนหนา้ จึงทำให้อาจารย์ประจำตำบลไมต่ ้องเพ่ิมภาระหนา้ ท่ี และมีเวลาในการทำงานมากขึ้น ซ่ึง คณะทำงาน (อาจารยแ์ ละผถู้ กู จา้ งงาน) จะเปน็ ผู้ประสานทรัพยากร ทงั้ องคค์ วามรู้ การหาแหลง่ เงินทุน การหา สถานที่ในการทำกิจกรรม ซึ่งได้หน่วยงานที่เข้ามามีส่วนร่วม (ภาคีเครือข่าย) โดยเริ่มจากวงข้างในสุดคือ “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัย จึงทำให้มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี และทรัพยากรที่ใช้ สนับสนุนกิจกรรมได้เป็นจำนวนมาก เช่น คณะวิทยาศาสตร์ ที่ได้มีองค์ความรู้เกี่ยวกับข้าว การแปรรูปข้าวใน รปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ การทำไข่มุก เปน็ ตน้ รวมถงึ การมเี ทคโนโลยีที่ใชใ้ นการดำเนินโครงการได้ ศนู ยท์ รพั ยส์ นิ ทางปัญญาและบม่ เพาะวสิ าหกจิ ชุมชน มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ถือเป็นหน่วยงาน ภายในที่ช่วยให้องค์ความรู้และอำนวยความสะดวกในการทำโครงการ เช่น เรื่องการจดสิทธิบัตร การตั้งกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน เมื่อประสานงานขอความช่วยเหลือ ทางเจ้าหน้าที่ศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาฯ จะคอยให้ความ ช่วยเหลอื ใหค้ ำปรึกษา และช่วยหานวตั กรรมมีสนบั สนุนการทำงาน รวมถึงวทิ ยากรทจ่ี ะใช้ในการดำเนนิ กิจกรรม อกี ดว้ ย

145 “วงกลาง” คือหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งเป็นกำลังหลักที่สำคัญในพื้นที่ชุมชน คณะทำงานได้ให้ ความเห็นวา่ หน่วยงานภายนอกที่ตอ้ งประสานงานและทำงานดว้ ยกันบอ่ ยครง้ั คอื องคก์ ารบริหารส่วนตำบลบ้าน กวิ่ ทช่ี ว่ ยสนบั สนุนสถานท่ี บคุ ลากร การจดั การประชมุ ดังน้นั หน่วยงานท้องถ่นิ รวมไปถึงหน่วยงานภาครฐั อ่นื ๆ ที่สามารถให้องค์ความรู้แก่คณะทำงานและชุมชนได้จึงเป็นอีกภาคเี ครือข่ายหนึ่งที่ช่วยสนบั สนุนในเรื่องต่าง ๆ จนกระทั่งกจิ กรรมประสบความสำเร็จ “วงนอก” มิได้หมายความว่าสำคัญน้อยที่สุด แต่เป็นภาคีเครือข่ายที่อยู่ไกลออกไปจาก มหาวทิ ยาลยั น่นั คือ ภาคเอกชนและผ้ปู ระกอบการธุรกจิ กลา่ วได้วา่ ภาคเอกชนหรอื แม้แตผ่ ู้ประกอบการธุรกจิ ทุก ขนาด ลว้ นแตเ่ ปน็ กลุ่มภาคีเครอื ข่ายท่ไี ด้มกี ารลองผดิ ลองถกู ในการสรา้ งธรุ กจิ และผลิตภณั ฑ์ ดงั น้ันหากต้องการ เรียนรู้ประสบการณ์ องค์ความรู้ และการจัดการอย่างเป็นระบบ ทำให้ภาคเอกชนและผู้ประกอบการมี ความสำคัญอย่างมากต่อความสำเร็จของกิจกรรม ตัวอย่างเช่น การผลิตสินค้าใหม่ที่ทันสมัย เช่น soy balm และ soy wax ที่นำมาทำเทียนหอม โลชั่น lip balm และเครื่องสำอาง มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องประสาน ความรว่ มมือกบั บริษัททที่ ำผลิตภณั ฑ์ออแกนคิ ซึ่งก็ถอื ว่าเป็นโอกาสในการแลกเปลยี่ นประสบการณร์ ะหว่างกันกนั มิติของชุมชน คณะทำงานตำบลบ้านกิ่วมีแนวคิดมุ่งเน้นให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการทำงาน ดังนั้นชุมชนจึงมีสว่ นสำคัญอย่างมากที่จะเอื้อให้โครงการเกิดความสำเร็จขึ้นได้ การอธิบายถึงมิตชิ ุมชนเริ่มต้น จาก “พื้นท่ี” จากการสัมภาษณ์คณะทำงาน ไดข้ ้อมลู ว่าพน้ื ท่ีตำบลบา้ นกิ่วเป็นพื้นที่กึ่งเมอื งกึง่ ชนบท ไม่มีความ ซบั ซอ้ นของพืน้ ทีส่ ามารถทำความเขา้ ใจชุมชนไดง้ ่าย และไมม่ ีปญั หาชมุ ชนท่รี นุ แรง จะเห็นได้ว่าตำบลบ้านกิ่วมีลักษณะกึ่งเมืองกึ่งชนบท ทำให้ความซับซ้อนของพื้นที่น้อยมากเมื่อ เปรียบเทียบกับพื้นที่เมือง คณะทำงานจึงสามารถเข้าในบริบทของชุมชนได้ง่าย โดยมี “ผู้นำชุมชน” คอย ขับเคลื่อนไปพร้อมกัน และด้วยสังคมแบบกึ่งเมืองกึ่งชนบท ทำให้ผู้นำชุมชนอาศัยอยู่ในชุมชนตลอดเวลา สามารถประสานงานได้ง่าย และมีความตั้งใจในการทำงาน “กลุ่มในชุมชนที่มีความเข้มแข็ง” เป็นหมุดหมาย หน่งึ ท่ผี ปู้ ฏิบัตงิ านตอ้ งต้องเรียนรู้และเกิดการแลกเปลี่ยนอย่างสมำ่ เสมอ และท่ีสำคญั อยา่ งมากคือ “คนในชมุ ชน” ที่ร่วมทำงานกันอย่างบูรณาการให้ความร่วมมือตลอดระยะเวลาการทำโครงการ คนในชุมชนที่พร้อมจะพัฒนา หากคนในชุมชนรู้สึกว่ายังไม่พร้อม ไม่กล้า ไม่อยากลงมือทำเพราะความกลัวว่าจะไม่สำเร็จ ในฐานะที่เป็น คณะทำงาน จะต้องทำให้คนในชุมชนเชื่อใจและเห็นภาพของความสำเร็จให้ได้ โดยใช้หลักการ “สร้างพลัง อำนาจ” ใหช้ มุ ชน มิติของผูถ้ ูกจ้างงาน การมีองค์ความรู้แบบสหวิทยาการ ทำให้สามารถทำงานทดแทนกันได้ และ สามารถปฏิบัติงานได้หลายดา้ น รวมถึงการทำงานกับชุมชนด้วยความรัก ความเข้าใจ และการให้เกียรตซิ ึ่งกัน และกนั ทัง้ เพือ่ นร่วมงานและชมุ ชน สงิ่ ต่าง ๆ เหลา่ นจ้ี ะช่วยให้เกดิ ความเข้าใจร่วมกันและเป็นปัจจัยที่สำคัญอีก อยา่ งหน่งึ ในการท่ีจะช่วยให้การทำงานกับชุมชนประสบผลสำเร็จ

146 รปู ที่ 6-32 ภาพรวมการทำงานของคณะทำงานตำบลบ้านก่วิ ท่ีมา: คณะทำงานตำบลบ้านกว่ิ (2564) รปู ท่ี 6-2 ย้อนรอยเส้นทางส่คู วามสำเรจ็ พ้ืนท่ตี ำบลบ้านกวิ่

147 พื้นทต่ี ำบลสขุ เดอื นหา้ อำเภอเนนิ ขาม จงั หวดั ชยั นาท คณะทำงานโครงการ: รศ.ดร.อาววี รรณ ปญั ญาโกเมศ และคณะ มหาวทิ ยาลยั : สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ บริบทของชมุ ชนพนื้ ตำบลสขุ เดอื นหา้ สภาพท่ัวไปของพนื้ ท่ีตำบลสุขเดอื นหา้ เปน็ ตำบลแยกออกมาจากตำบลเนินขาม เดิมเป็นส่วนหนึ่ง ของอำเภอหันคา ประชากรตามพนื้ เพเดมิ คือ ประชากรทอ่ี พยพเข้ามาจากหลวงพระบาง ประเทศลาว และมีการ อพยพเข้ามาจากตำบลใกล้เคียงและตา่ งจังหวัด ประเพณีวัฒนธรรมและภาษาทีใ่ ชใ้ นการสื่อสาร คือ ภาษาลาว ครั่ง 59.66 % และ ภาษาไทย 40.34 % สว่ นประเพณีทเ่ี ห็นได้ชัด คอื ประเพณีวนั สารทลาว สว่ นประเพณีอ่ืน ๆ เป็นประเพณีไทยทั่วไป ได้แก่ ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ในเดือนมกราคม ประเพณีวันสงกรานต์ ในเดือนเมษายน ประเพณีลอยกระทง ในเดอื นตลุ าคมหรอื พฤศจกิ ายน และประเพณีวนั เขา้ พรรษา ออกพรรษา ในเดือนกรกฎาคม หรือตุลาคม และส่วนภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ วิธีการทำเครื่องจักสาน การทอผ้าไหม และการจับปลาแบบ ธรรมชาติ เป็นต้น (สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, 2564 อ้างอิงใน อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ และ คณะ, 2564) เมื่อการอพยพเข้ามาทำให้จำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงได้ทำเรื่องแยกเป็นตำบลสุขเดือนห้า เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2514 ในตอนนั้นใชช้ ื่อว่า “ตำบลโสกเดือนห้า” เพราะว่า ภายในตำบลมีลำห้วยหนึ่งมีนำ้ ไหลลงมามากเพียงพอตอ่ การใชอ้ ุปโภคบริโภคและทำการเกษตรไปจนถึงเดือนห้า เปน็ ท่ีมาของคำว่า “เดือนห้า” ส่วนที่มาของคำวา่ “โสก” คือ น้ำที่ไหลลงมานัน้ เสียงดังวา่ โสก โสก ชาวบ้านเลยตั้งชื่อตำบลวา่ โสกเดือนหา้ แต่ทางราชการเห็นว่าคำว่า “โสก” นั้นเป็นชื่อที่ไม่มงคล เลยเปลี่ยนชื่อให้ใหม่เป็น “สุข” จึงได้ชื่อตำบลว่า “ตำบลสขุ เดอื นหา้ ” ทีใ่ ช้มาจนถึงปัจจุบนั ตำบลสุขเดือนห้า มีพื้นที่ประมาณ 92 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 57,500 ไร่ ลักษณะภูมิ ประเทศส่วนหนึ่งเป็นท่ีราบลุ่มเจ้าพระยาหรือแอ่งเจ้าพระยา สภาพภูมิอากาศเขตรอ้ นแบบรอ้ นชืน้ สลับแลง้ มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมถงึ ประมาณกลางเดือนตุลาคม และฤดูหนาว ในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนถึงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทราย โดยมีแหล่งธรรมชาติน้ำทั้งหมด 15 แห่ง และแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นจำนวน 720 แหง่ กระจายอย่ทู ่วั ตำบลสุขเดือนห้า ท่มี ีทั้งหมด 14 หม่บู า้ น โดยมรี ายละเอยี ดจำนวนหมู่บ้าน ประชากร และ ครัวเรอื น ดังตาราง

148 ตารางที่ 7-1 จำนวนประชากรและครวั เรือนตำบลสขุ เดือนห้า ปี พ.ศ.2564 ลำดับ หมบู่ า้ น จำนวนประชากร (คน) จำนวนครวั เรอื น ชาย หญงิ (ครวั เรอื น) 1 หมู่ที่ 1 หนองยางตก 232 244 171 2 หมู่ที่ 2 หนองยาง 251 246 188 3 หมู่ที่ 3 วงั คอไห 260 255 228 4 หมทู่ ี่ 4 หนองเด่น 155 179 121 5 หมทู่ ่ี 5 สามแยก 371 410 278 6 หมทู่ ่ี 6 สุขเดอื นหา้ 123 120 106 7 หมทู่ ่ี 7 พลุ ำมะลอก 91 96 83 8 หมู่ที่ 8 บ่อมว่ ง 135 137 91 9 หมทู่ ่ี 9 หนองปลอ้ ง 170 177 112 10 หมู่ท่ี 10 หว้ ยสอง 264 261 179 11 หมู่ท่ี 11 เนินสงู 120 121 90 12 หมูท่ ี่ 12 ห้วยคนั ไถ 141 152 113 13 หมู่ท่ี 13 หนองโปร่ง 142 122 84 14 หมทู่ ี่ 14 พสุ มหวงั 138 184 114 รวม 2,599 2,704 1,958 ท่ีมา: สำนักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง (2564) อา้ งองิ ใน อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ คณะ (2564) ขอ้ มลู รายชอ่ื ปราชญช์ มุ ชนและความเชยี่ วชาญ ▪ คุณวรภัสร์ ศรเี ดช : การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร เชน่ กลว้ ย ออ้ ย ▪ คณุ ร่งุ ทพิ ย์ ศรเี ดช : การทำเกษตรอนิ ทรีย์ ขา้ วปลอดสารพิษ ▪ คณุ พรชนก การภักดี : การสานตะกรา้ เชอื กมดั ฟาง ▪ คุณธมนวรรณ เปรมทอง : สมุนไพรไทย การนวดแผนไทย การทำยาหมอ่ งและน้ำมันนวด ภายในชุมชนมีสถานศกึ ษาจำนวน 6 แหง่ ประกอบดว้ ย โรงเรยี น 3 แหง่ ไดแ้ ก่ ช้ันประถมศึกษา และมัธยมศึกษา 3 แห่ง ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน 2 แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง มีสถานพยาบาลภายใน ชมุ ชนมสี ถานพยาบาล 1 แห่ง และศาสนสถาน 5 แห่ง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจ้าง เลี้ยงสัตว์ และค้าขาย ซึ่งผลผลติ ทางการ เกษตรท่ีสำคัญ คือ มนั สำปะหลงั ออ้ ย ขา้ ว ส่วนการปศุสตั ว์ เป็นการเล้ยี งสตั วท์ ้ังเป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสรมิ เลี้ยงภายในครัวเรอื น ได้แก่ การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ เป็นต้น อีกทั้งภายในชุมชนยังมีตลาดนดั ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม ร้านค้า/ร้านอาหาร โรงสขี ้าว บริษทั /ห้างหุ้นส่วนจำกดั /ห้างหุ้นสว่ นสามัญ และสถานีบรกิ าร นำ้ มัน (สำนกั บรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง, 2564 อา้ งอิงใน อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ และคณะ, 2564)

149 สถาบันการเงินของชุมชน มีกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 14 กองทุน และกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตำบลสุขเดอื นห้า หมู่ที่ 2 จำนวน 1 กองทุน สำหรับศักยภาพของพนื้ ทีแ่ ละอาจารย์และคณะทำงานที่รบั ผดิ ชอบพื้นที่แสดงรายละเอียดดังตาราง ตารางที่ 7-2 ศักยภาพของพ้ืนทีต่ ำบลสุขเดอื นหา้ ตน้ ทนุ ชมุ ชน รายละเอยี ด ทนุ มนุษย์ 1. คุณวรภสั ร์ ศรเี ดช : การแปรรูปผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น กล้วย อ้อย 2. คุณร่งุ ทิพย์ ศรีเดช : การทำเกษตรอนิ ทรีย์ ข้าวปลอดสารพิษ 3. คุณพรชนก การภักดี : การสานตะกรา้ เชือกมดั ฟาง 4. คุณธมนวรรณ เปรมทอง : สมนุ ไพรไทย การนวดแผนไทย การทำยาหม่อง และน้ำมันนวด 5. คณุ ยศวจั น์ การภกั ดี (คณุ นนท)์ ทนุ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ขา้ วนานาพันธุ์ กล้วย อ้อย พชื ผักสวนครัว มัน สำปะหลัง สมนุ ไพร, สัตวท์ ีเ่ ลย้ี ง ได้แก่ ไก่ เป็ด โค สกุ ร กระบอื เปน็ ตน้ , ดนิ , แหลง่ น้ำธรรมชาต,ิ ตน้ ไม้, สภาพอากาศ ทุนกายภาพ วัด, โรงเรยี น, สถานพยาบาล, ผ้าทอท่ีได้จากการทอผา้ ท้องถ่นิ , 14 หม่บู ้านใน ตำบลสขุ เดอื นหา้ ทนุ สังคม กล่มุ แมบ่ า้ น, กล่มุ เกษตรกร ทุนการเงิน กองทุนหมู่บ้าน จำนวน 14 กองทุน และกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตำบลสขุ เดอื นห้า 1 กองทนุ อย่างไรก็ดี จุดเด่นของพื้นที่ตำบลสุขเดือนห้ามีจุดเด่นด้านทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม มีสภาพภูมปิ ระเทศท่เี หมาะแก่การเพาะปลูกพืชไร่และไมผ้ ล ทำใหช้ ุมชนมผี ลผลิตทางการเกษตร ที่อุดมสมบูรณ์ เนื่องจากภายในพื้นที่มีแหล่งน้ำทางธรรมชาติและแหล่งน้ำทีส่ ร้างขึน้ เองจำนวนมากเพียงพอตอ่ การทำการเกษตรและเลยี้ งสัตว์ และสภาพแวดล้อมภายในพืน้ ท่ีมรี ะบบสาธารณปู โภคและส่ิงอำนวยความสะดวก ขั้นพื้นฐาน จากการดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น คมนาคม ถนน โทรศัพท์ ไฟฟ้า และน้ำประปา รวมถึงเส้นทางลำเลียงผลผลิตจากไร่นาสู่ตลาดครอบคลุมทั้งตำบล โดยมีหน่วยงานดูแล และการบริการด้าน การศึกษาและสาธารณสุข และด้านทุนมนุษย์ มีผู้นำชุมชน ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการเกษตร การแปรรูป การ ทำอาหารท้องถิ่น โดยองค์ความรู้ทั้งได้รับจากการสืบทอดมาและได้รับจากการเข้าอบรม จากการส่งเสริมและ สนับสนุนจากหน่วยงานท้องถิ่น ที่ต้องการพัฒนาตำบลด้วยการเพิ่มศักยภาพของคนในชุมชนทุกกลุ่มวัยให้มี ทักษะในการประกอบอาชีพท้งั อาชพี หลักและอาชพี เสรมิ เช่น การส่งเสริมกลุ่มแมบ่ า้ นในการสานตะกรา้ จากเชือก มดั ฟาง การส่งเสรมิ การมีสขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง เช่น การส่งเสริมดา้ นการกีฬาระหวา่ งหม่บู า้ น เพือ่ ให้ประชาชน ไดอ้ อกกำลงั กายห่างไกลยาเสพติด และการสง่ เสริมประเพณที ้องถิน่ โดยการจัดงานประเพณตี ่าง ๆ เพื่อสบื ทอด วฒั นธรรมและประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณีวนั สารทลาว ประเพณวี ันขึ้นปใี หม่ ประเพณวี นั สงกรานต์ ประเพณี

150 ลอยกระทง และประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา เป็นต้น และที่สำคัญภายในชุมชนมีผู้นำที่เป็นคนรุ่นใหม่ คอยประสานงานเชือ่ มการทำงานระหว่างกลุม่ และการมแี นวคิดท่ตี อ้ งการพฒั นาชุมชนให้เกิดความยั่งยนื ในด้านจดุ ออ่ นของพ้นื ทตี่ ำบลสุขเดือนหา้ มจี ุดอ่อนดา้ นเศรษฐกจิ ที่ชาวบา้ นส่วนใหญ่ทำการเกษตร เชิงเดี่ยว มีต้นทุนการทำการเกษตรทีส่ งู ราคาผลผลติ ต่ำ เนื่องจากการทำการเกษตรต้องใช้ต้นทุนสูง จึงต้องมี การประหยัดต้นทุน โดยชาวบ้านเมื่อถึงฤดูเกบ็ เกี่ยวจะเก็บเมล็ดพันธุ์เอาไว้ เพื่อใช้เพาะปลูกในรุ่นต่อไป ทำให้ คุณภาพของผลผลติ ลดลง อกี ทงั้ ชาวบา้ นบางสว่ นมีการใชส้ ารเคมใี นปรมิ าณมากเพื่อเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตร อกี ท้ังชาวบา้ นขาดความรใู้ นการจดั การเงนิ จงึ ทำให้เปน็ หนี้นอกระบบและในระบบ และด้านทนุ มนุษย์ทป่ี ระชากร ส่วนใหญ่จบการศกึ ษาภาคบังคับข้ันพื้นฐาน จงึ ขาดความรู้ในเรือ่ งของการลงทนุ และการใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ เข้า มาในการปลูกพชื และเลยี้ งสัตว์ รูปแบบการทำการเกษตรจึงเปน็ การทำองค์ความรูแ้ ละภมู ปิ ญั ญาท่ีถกู ถ่ายทอดส่ง ต่อมารนุ่ สรู่ ่นุ เชน่ การปลกู พชื อย่างต่อเนอื่ งโดยไม่ได้มกี ารฟืน้ ฟูปรับปรงุ ดิน การทำการเกษตรเชิงเดี่ยว การทำ การเกษตรที่ใชส้ ารเคมีทำใหต้ ้นทุนในการผลติ สูง ส่วนใหญจ่ ึงได้รับรายไดน้ ้อยกว่ารายจา่ ย จนเกดิ การกูย้ มื นำมา สู่การเป็นหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบ บางส่วนที่ประกอบอาชีพทำการเกษตรนั้นประสบปัญหาการว่างงาน ในชว่ งหลงั ฤดูเก็บเก่ียว โดยไมม่ อี าชพี เสริม อกี ท้ังบางครัวเรอื นประสบปญั หาภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติทุกปี คือ น้ำ ทว่ ม ภัยแลง้ ทำให้ทรพั ย์สนิ และบ้านเรอื นเสยี หาย และผลผลติ ตกตำ่ หรือไม่สามารถทำการเกษตรไดเ้ ลย ปญั หาและข้อจำกดั ของพื้นที่ ไดแ้ ก่ ▪ ภัยแล้ง น้ำท่วม หรือ โรคระบาดโคโรนา 2019 และในส่วนการพัฒนาด้านระบบโครงสร้าง พน้ื ฐานนั้นตอ้ งใชง้ บประมาณและเวลามาก ข้ันตอนการพัฒนาจงึ เปน็ ไปตามหนว่ ยงานภาครฐั ทรี่ บั ผดิ ชอบ ▪ ชาวบ้านมีข้อจำกัดของเงินทุนที่มีความขาดแคลนในการใช้ประกอบอาชีพและชีวิตประจำวัน อกี ทั้งราคาต้นทนุ ทใ่ี ชใ้ นการสง่ เสรมิ การผลิตมรี าคาสูงไม่สอดคล้องกับรายได้ทีม่ ี เช่น คา่ ปยุ๋ คา่ สารเคมี พันธพ์ุ ชื พันธุ์สัตว์ ค่าจ้างแรงงานและค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ส่วนราคาขายผลผลิตนั้นก็ขึ้นอยู่กับราคาตลาดโลกและตลาด ภมู ิภาค ชาวบา้ นจงึ ไม่สามารถกำหนดราคาขายท่ใี ห้ไดก้ ำไรได้ ▪ การส่งเสริมของหน่วยงานท้องถิ่นงบประมาณไม่เพียงพอต่อจำนวนโครงการที่ชาวบ้านเสนอ ขอรับการช่วยเหลอื และการทำงานของหนว่ ยงานยงั ขาดความต่อเน่อื งในการดำเนินการตามแผนพัฒนา ประสบ ปัญหาการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นที่ไม่ทั่วถึง อีกทั้งยังมีการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงจากภาคเกษตร กรรมไปสู่ ภาคอุตสาหกรรม มีผลต่อสภาพสังคม ค่านิยม การประกอบอาชีพ ก่อให้เกิดปัญหาตามมา คือ การว่างงาน ปญั หาการแพร่ระบาดของยาเสพตดิ การดำเนนิ กจิ กรรมของพนื้ ทชี่ มุ ชนตน้ แบบ จากข้อมูลรายงานและการสัมภาษณ์ รศ.ดร.อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ และคุณภัทรภรณ์ พิศปั้น และทีมคณะโครงการ เข้าไปพัฒนาพืน้ ที่ตำบลสขุ เดือนห้า อำเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท เมื่อเดือนกมุ ภาพันธ์ 2564 - ธันวาคม 2564 โดยที่มาของการเลือกพื้นท่ีตำบลสุขเดือนห้า คือ ทางอาจารย์ อาวีวรรณ มีหัวหน้าทีม TSI ชอ่ื คณุ ยศวัจน์ การภกั ดี (คุณนนท์) เปน็ คนในพนื้ ทต่ี ำบลสุขเดอื นห้า และทำการสำรวจชมุ ชนดว้ ยการลงพน้ื ท่ี พบปะสอบถามข้อมูลชุมชน และจัดเวทีระดมสมองเพ่ือสำรวจความต้องการในการพัฒนาของชุมชนเบื้องต้นกบั ผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้าน จึงเห็นความเป็นไปได้ของการเข้ามาช่วยพัฒนาชุมชน จึงเป็นที่มาของการเลือกพื้นที่

151 ตำบลสุขเดือนห้า และในส่วนของที่มาของการได้เป็นหัวหน้าทีมด้วยวิธีการลงความคิดเห็นด้วยการใช้หลัก Thinking skil s ทีใ่ ช้ทกั ษะการคดิ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ได้แก่ 1) การคิดสรา้ งสรรค์ (Creative thinking) 2) การคดิ เชิงวิเคราะห์ (Analytical thinking) 3) การคิดเชงิ มเี หตุผล (Critical thinking) 4) การคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic thinking) 5) การคดิ เชิงมโนทศั น์ (Conceptual thinking) 6) การคิดเชิงเปรียบเทียบ (Comparative thinking) 7) การคิดเชงิ บวก (Positive thinking) 8) การคิดเชงิ นวัตกรรม (Innovative thinking) 9) การคดิ เชงิ ระบบ (System thinking) โดยมีกระบวนการในการดำเนินงาน 5 กระบวนการ คือ กระบวนการที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานชุมชน เข้าไปคลุกคลีและพูดคุยกับชุมชน หน่วยงาน ท้องถิ่น และผู้ประกอบการชุมชน “ก็ใช้วิธีการเข้าไปพูดคุย ชวนคุย ชวนคิด เข้าหาทางผู้นำ เพื่อให้ผู้นำช่วย ประสานงานต่าง ๆ” เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อมูลสภาพพ้ืนท่ี สภาพสงั คม สภาพเศรษฐกจิ สภาพสงิ่ แวดล้อมและทรัพยากร ค้นหาทุนมนุษย์ ทุนทรัพยากร ทุนกายภาพ ทุนสังคม และทุนการเงินภายในชุมชน ข้อจำกัด ปัญหาอุปสรรค และความต้องการในการพัฒนาของชุมชน รวมไปถึงการศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค เพื่อใช้ในการประเมิน ศักยภาพของตำบล โดยการศึกษาพฤตกิ รรมของผบู้ ริโภคนี้ ในระหว่างการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ชมุ ชน ทางอาจารย์ อาวีวรรณ และคณะ ได้เล็งเห็นแล้วว่าทางชุมชนมีศักยภาพในการทำผลิตภัณฑ์แปรรูปท้องถิ่นในหลาย ๆ ผลิตภัณฑ์ จึงเพิ่มเติมการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมของผู้บริโภค เพื่อนำมาใช้ประเมินศักยภาพของชุมชน และ จัดทำฐานข้อมูลตำบล และค้นหาแนวทางการพัฒนาตำบลที่สอดคล้องกับความต้องการและศักยภาพชุมชน นำมาสกู่ ารเร่ิมพฒั นายกระดบั ตำบลในระยะท่ี 1 รปู ท่ี 7-1 กระบวนการศกึ ษาข้อมูลพ้ืนฐานชมุ ชน ทมี่ า: อาวีวรรณ ปญั ญาโกเมศ และคณะ (2564)

152 กระบวนการท่ี 2 การพัฒนาระยะที่ 1 การพฒั นาปรบั ปรุงผลิตภัณฑ์ชมุ ชนร่วมกับผู้ประกอบการท่ี มีศักยภาพในการพฒั นา ก่อนได้ผูป้ ระกอบการที่มีศักยภาพในการพัฒนา ทางอาจารย์ อาวีวรรณ และคณะ ได้ ทำการสำรวจผูป้ ระกอบการในพื้นที่ต้ังแตก่ ระบวนการที่ 1 และไดท้ ำการติดต่อผู้ประกอบการภายในพื้นที่หลาย ๆ ผู้ประกอบการ ชว่ งตดิ ตอ่ ผูป้ ระกอบการ ประสบกบั ปัญหาผู้ประกอบการไมต่ อ้ งการท่จี ะพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ ตนเอง จนไดพ้ บกับผ้ปู ระกอบการจำนวนหน่งึ ท่มี ีความต้องการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ของตนเอง คอื ผู้ประกอบการ แปรรูปผลิตภณั ฑ์กล้วยตากและไซรปั ออ้ ย ตะกรา้ เชือกมัดฟาง และข้าวปลอดสารพษิ อาจารยอ์ าวีวรรณ กล่าวว่า “ถึงแม้ว่าผู้ประกอบการจะมีความสนใจและต้องการในการเพิ่มยอดขายสินค้า แต่ผู้ประกอบการบางส่วนยังมี ความกังวลในการปรับปรุงและความกลัวในการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ เนื่องจากไม่ทราบว่าควรปรับปรุง เปลี่ยนแปลงในรูปแบบใด และยึดติดกับรูปแบบการขายเดิม ๆ” เมื่อได้แล้วก็ทำการสำรวจปัญหาและความ ต้องการของผู้ประกอบการและผลติ ภัณฑ์ พบว่าความต้องการของผ้ปู ระกอบการทง้ั 3 ราย มีความต้องการขาย ผลติ ภัณฑ์ในช่องทาง Online จงึ ไดท้ ดลองการส่ังซือ้ ดว้ ยการโทรศัพท์ และการจดั ส่งผลติ ภณั ฑด์ ว้ ยไปรษณีย์ โดย ใหท้ ีมคณะทำงานเป็นผสู้ ่งั ซื้อผลิตภณั ฑ์จากผูป้ ระกอบการ พบปัญหา คือ 1) บรรจุภัณฑ์ ทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับดูไม่มีคุณภาพหรือมาตรฐาน เช่น การสั่งซื้อกล้วยตาก บรรจุภัณฑ์ท่ใี ช้ห่อผลิตภณั ฑ์ คือ กระดาษธรรมดา และการบรรจใุ สก่ ล่องเพอ่ื นำสง่ ทางไปรษณีย์ ไมไ่ ดม้ คี วามคง ตวั และแข็งแรง ทำใหผ้ ลิตภัณฑข์ ้างในยับไม่ไดร้ ูปทรง ผบู้ ริโภคอาจไม่ไดร้ ับความประทับใจเม่อื ได้รบั สินค้า 2) การขนส่ง การเลอื กใชบ้ รษิ ทั ขนส่งทีไ่ มด่ ี ทำใหผ้ ลติ ภณั ฑ์เกิดความเสยี หาย 3) ช่องทางการติดต่อรา้ นค้า การติดต่อสั่งซื้อค่อนข้างยาก การสื่อสารติดขัด เนื่องจากไม่มีหนา้ ร้านหรอื รายละเอยี ดชอ่ งการติดตอ่ ท่ีชดั เจน นอกจากนย้ี ังไดพ้ ัฒนาเคร่ืองมือแบบประเมินคุณภาพของผลติ ภัณฑ์และแบบสอบถามความคิดเห็น ขึ้นมา เพือ่ สำรวจข้อบกพรอ่ งและข้อเสนอแนะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ชุมชนได้ถูกทาง เมื่อทราบถึงประเด็นปัญหาและความต้องการ จึงเริ่มทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับ ผู้ประกอบการ ตั้งแต่การวางแผนปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของ ตลาดมากขึ้น รวมถึงการปรับปรุงช่องทางการจำหน่ายสินค้าเดิมให้มีประสิทธิภาพ โดยช่วยพัฒนารูปแบบ แพลตฟอร์มจำหน่ายสินค้า และการขยายช่องทางการจำหน่ายสินค้าสู่แฟลตฟอร์มต่าง ๆ ในฐาน Online มาก ขึ้น เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงสินค้าได้มากขึ้นและง่ายขึ้น โดยโครงการฯ จัดฝึกอบรมพัฒนาความรู้ของ สมาชิกภายในทีม นอกเหนือจากหลักสูตรการพัฒนาทักษะผู้รับจ้างภายใต้โครงการ U2T (Digital Literacy, English Literacy, Social Literacy และ Financial Literacy) ในเรอื่ งท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การพฒั นาตำบล ผลิตภัณฑ์ และการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาทักษะ ตามเป้าหมายที่กำหนดด้านการพัฒนาสมั มาชีพและสร้างอาชีพใหม่ให้แก่ ชาวบา้ นในตำบล เชน่ การพฒั นาและออกแบบผลติ ภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์เพื่อเพ่มิ มลู ค่าสินคา้ ท้องถน่ิ การจัดทำและ การใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ในยุคดิจิทัล การจัดทำแผนการทำธุรกจิ โดยการอบรมให้ความรู้ใน การคิดตน้ ทนุ กำไร การแปรรูปอาหารวิสาหกจิ ชมุ ชน แนวทางการใชท้ รัพยากรทอ้ งถิ่นเพ่อื การพัฒนาผลิตภัณฑ์ อยา่ งยัง่ ยนื แนวทางการพฒั นาการเกษตรโดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ และศิลปะ การพดู เพือ่ นำเสนอสินคา้ ชุมชนและแหล่งทอ่ งเท่ียวสู่สาธารณะท้ังแบบ online และ offline เป็นต้น เพื่อนำองค์ ความรู้ที่ได้ นำไปใช้ในการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งทางโครงการได้มีการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ต ำ บ ล เ ด ื อ น ห ้ า ผ ่ า น ช ่ อ ง ท า ง เ ว ็ บ ไ ซ ต ์ อ อ น ไ ล น ์ ไ ด ้ แ ก ่ YouTube

153 (https://www.youtube.com/watch?v=yE4EDVUXl1E) ควบคู่ไปการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการ ท่องเทย่ี วภายในตำบล ผลิตภณั ฑท์ ่ไี ด้รับการยกระดบั จากโครงการฯ 1) ผลติ ภณั ฑก์ ลว้ ยตาก เดิมเปน็ เพียงการแปรรูปธรรมดา นำกลว้ ยไปตากแดดธรรมดา แล้วบรรจุ ในถุงกระดาษ ทางผู้ประกอบการต้องการให้ช่วยเรื่องการขายออนไลน์ คณะทีมโครงการจึงเริ่มดำเนินการด้วย การสำรวจความต้องการและได้ทดลองสั่งซื้อ พบปัญหามากมาย ทางโครงการฯ ได้เข้ามาช่วยในการพัฒนา ปรบั ปรงุ ผลิตภัณฑ์ ออกแบบตราสินคา้ บรรจุภัณฑ์ และสอื่ ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดมาก ขึ้น โดยการเข้ามาให้ความรู้ด้านกระบวนการด้านการผลิต โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญเข้ามาชิมรสชาติกล้วยตาก และให้ความรู้ในเรื่องกรรมวิธีการผลิตให้กล้วยตากมีรสชาติที่ดีและถูกสุขลักษณะมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งการ ออกแบบตราสนิ คา้ และบรรจภุ ัณฑ์ใหใ้ หม่ โดยการเชิญผ้เู ช่ียวชาญจากมหาวทิ ยาลัยศิลปากร มหาวทิ ยาลยั ศรีนค รินทรวโิ รฒ และมหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี มาให้ขอ้ เสนอแนะในการออกแบบตราสนิ คา้ และบรรจุภณั ฑ์ใหม้ คี วาม ทนั สมยั และน่าสนใจ เพอ่ื ใหผ้ ลติ ภัณฑ์มีความนา่ ซือ้ มากขึน้ แตก่ ป็ ระสบปัญหาเร่ืองตน้ ทุนการผลิตทีเ่ พ่มิ ขน้ึ รูปที่ 7-2 การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ “กล้วยตาก” ทม่ี า: อาววี รรณ ปัญญาโกเมศ และคณะ (2564) 2) ผลิตภัณฑ์ไซรัปอ้อย จากเดิมบรรจุภัณฑ์เป็นขวดพลาสติกธรรมดา คณะทำงานโครงการ ชว่ ยกนั ออกแบบตราสนิ คา้ และบรรจุภัณฑใ์ หใ้ หม่ จนกลายเป็นขวดหมี มหี ลายขนาด มีความเปน็ เอกลักษณ์ น่า ซอ้ื มากยิง่ ข้ึน แต่ก็พบปญั หาเดยี วกนั คอื ต้นทุนการผลิตเพม่ิ ขึน้ รปู ท่ี 7-3 การพฒั นาผลิตภัณฑ์ “ไซรปั ออ้ ย” ทมี่ า: อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ และคณะ (2564)

154 3) ผลติ ภัณฑ์ตะกรา้ เชอื กมดั ฟางพรชนก เดมิ ประสบปัญหาการไมม่ ีช่องทางในการประชาสัมพันธ์ สินคา้ หรือการโปรโมทผลติ ภัณฑ์ ทำให้ผลิตภัณฑ์ขายไม่ค่อยได้ คณะทำงานโครงการจงึ ชว่ ยปรบั ปรุงผลิตภัณฑ์ ออกแบบตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของตลาดมากขึ้น โดยการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มี ความทันสมัย จากเดิมรูปทรงของผลิตภัณฑ์มีทรงเดียว และช่วยในการพัฒนาลวดลายของตะกร้าให้มีความ สวยงามมากขึ้น และปรับรูปทรงขนาดของตะกร้าให้มีความหลากหลาย มีการใส่ผ้าซับในตะกร้าให้มีความ ทันสมัยและใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยในด้านการสร้างช่องทางการขายออนไลน์และให้ ความรู้ในด้านการพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ของทางร้าน เพื่อส่งเสริมการขายสินค้า และตอบโจทย์พฤติกรรม ผู้บริโภค แต่กพ็ บปัญหาในการยกระดบั ผลิตภัณฑ์ คอื ตน้ ทนุ การผลติ เพิ่มขึน้ รปู ท่ี 7-4 การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ “ตะกรา้ เชือกฟาง” ทม่ี า: อาวีวรรณ ปญั ญาโกเมศ และคณะ (2564) 4) ผลิตภัณฑ์ ขา้ วปลอดสารพษิ ไร่สวนสิริพนั ธ์ เดมิ ชาวบา้ นมกี ารบรรจุภัณฑ์ธรรมดา ไม่มีข้อมลู รายละเอยี ดแจ้งชัด ทางทีมคณะโครงการ ชว่ ยออกแบบตราสินคา้ การแจ้งรายละเอียดของผลติ ภณั ฑ์ ข้อมูลการ ตดิ ต่อสงั่ ซอ้ื และบรรจภุ ัณฑใ์ หต้ รงกับความตอ้ งการของตลาดมากขึ้น ต้งั แต่การบรรจุภณั ฑ์ การนำถุงผ้าที่มีอยู่ ภายในชุมชน นำมาใส่ผลิตภัณฑ์แทนถุงพลาสติก และเพื่อให้ได้มาตรฐานในการจัดจำหน่าย เพิ่มความเป็น เอกลักษณ์ท้องถิ่น และให้มีความสะดวกสบาย รวมไปถึงการป้องกันผลิตภัณฑ์เสียหายในขณะขนส่ง โดยการ พัฒนาผ่านการพดู คยุ กับผูป้ ระกอบการ แตก่ พ็ บปญั หาในการยกระดับผลติ ภณั ฑ์ คือ ต้นทนุ การผลติ เพิ่มขึน้ รปู ท่ี 7-5 การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ “ข้าวสารปลอดสารพิษ” ทีม่ า: อาวีวรรณ ปญั ญาโกเมศ และคณะ (2564)

155 รปู ท่ี 7-6 กระบวนการการพัฒนาระยะท่ี 1 ทม่ี า: อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ และคณะ (2564) กระบวนการที่ 3 การพัฒนาระยะที่ 2 คณะทำงานโครงการ ให้ชุมชนการพัฒนาสินค้าขึ้นเอง เนื่องจากไดร้ บั ความรู้และประสบการณใ์ นการพัฒนาผลิตภณั ฑร์ ่วมกับผู้ประกอบการในระยะท่ี 1 แล้ว นำมาใช้ พัฒนาระยะที่ 2 จึงเป็นการคิดค้นการพัฒนาสนิ ค้า โดยเน้นสินค้าท่ีเปน็ ทรัพยากรในท้องถ่ิน และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผบู้ ริโภคในปัจจุบัน โดยเปน็ เทรนสินค้าเพอ่ื สขุ ภาพ ภายใต้แบรนด์ “เสวยสุข” ประกอบด้วย 4 ผลิตภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ นำ้ มนั นวดสมนุ ไพร ยาหมอ่ งสมนุ ไพร เทียนหอม และสบหู่ อม ซ่ึงมีกระบวนการในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ คือ การประชุมวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การฝึกอบรมการผลิตสินค้า การผลิตและการบรรจุ สนิ คา้ การจดั ทำส่ือประชาสัมพันธส์ ินค้า และการจัดทำเพจจำหน่ายสนิ คา้ ผา่ นชอ่ งทาง Online จดุ เร่มิ ต้นของชมุ ชนในการจุดประกายริเรม่ิ ผลิตสินค้าเพื่อสขุ ภาพ คือ ผู้นำชุมชน คณุ ยศวจั น์ การ ภกั ดี (คณุ นนท์) และคณุ ธมนวรรณ เปรมทอง (คณุ นงลกั ษณ)์ ผรู้ ับจา้ งหนึ่งในทมี ผู้มีความรูใ้ นด้านสมุนไพร การ นวดแผนไทย การทำยาหม่องและนำ้ มันนวด ด้วยความเปน็ คนในพ้ืนที่ สง่ ผลใหม้ คี วามรู้และความเข้าใจชุมชน ทั้งด้านทุนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ทุนมนุษย์ ทุนสังคม และด้านทุนกายรูปท่ีมีอยู่ภายในชุมชน จึง หยิบนำสง่ิ ที่ชมุ ชนมี และเห็นว่าการทำยาหมอ่ งสมนุ ไพรนัน้ ทำได้ไมย่ ากจนเกินไป วตั ถดุ บิ หรอื ส่วนผสมสามารถ หาไดภ้ ายในชมุ ชน ชาวบา้ นสามารถทำไดด้ ้วยตัวเอง จึงได้นำแนวคิดการทำยาหม่องและน้ำมนั นวดสมุนไพรมา เสนอต่อคณะทำงานโครงการ ให้ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ทางคณะทำงานโครงการจึงจัดอบรมให้ความรู้แก่ ชุมชนและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ให้มีความหลากหลาย โดยมีทัง้ การกำหนดขนาดขวดยาหม่อง และน้ำมันนวดสมุนไพรให้เหมาะสมกับกล่มุ ผู้บริโภค เช่น หากเป็นกลมุ่ ผูบ้ รโิ ภคทัว่ ไปจะขายสินค้าที่มีขนาดขวด ปกติ และขนาดเล็กสำหรับกลุ่มผู้บริโภคท่ีต้องการทดลองสินค้าหรอื เป็นสินคา้ ของแถมเพ่ือเป็นโปรโมชันสำหรับ การสง่ เสริมการขาย แต่หากเป็นกลุ่มผปู้ ระกอบการ ที่มีความจำเปน็ ในการใชย้ าหม่องสมนุ ไพรจำนวนมาก ก็จะ

156 ขายยาหม่องและน้ำมันนวดที่มีขนาดขวดที่ใหญ่มากเป็นพิเศษ สำหรับใช้ในครัวเรือนและร้านนวดแผนโบราณ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาสูตรยาหม่องและน้ำมันนวดให้หลากหลายมากขึ้น เช่น สูตรร้อน สูตรเย็น สูตรไพล เพื่อตอบโจทย์กลุ่มผู้บริโภคได้หลากหลายมากยิง่ ขึน้ รวมไปถึงการช่วยออกแบบตราสนิ ค้า และบรรจุภัณฑ์ ซึ่ง กิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์นี้คณะทำงานโครงการทำงานร่วมกับชุมชน โดยยึดความต้องการของชุมชนเป็น หลัก โดยคณะทำงานโครงการเปน็ เพียงฝา่ ยส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ในสิ่งท่ชี มุ ชนตอ้ งการให้ชว่ ยเหลือ เม่อื ได้ผลติ ภัณฑ์ยาหม่องสมุนไพร คณะทำงานโครงการเลง็ เห็นว่า ตน้ ทุนของชุมชนสามารถขยาย ผลไปเป็นผลิตภณั ฑ์ เทยี นหอม และสบู่หอม ได้ เพราะว่า 2 ผลติ ภัณฑ์นี้มีกระบวนการท่ที ำไมย่ าก และวัตถุดิบ หาไดภ้ ายในชมุ ชน อีกทั้งพนื้ ที่ชุมชนน้ันมโี รงแรมที่พักอยใู่ กล้เคียง จึงมแี นวคดิ ทำผลติ ภณั ฑ์ เทยี นหอม และสบู่ หอม ข้ึนมา เพอื่ จดั จำหน่ายให้ผปู้ ระกอบการโรงแรมทีพ่ ักได้ จากนั้นเมือ่ พัฒนาผลิตภัณฑอ์ อกมาเสรจ็ พร้อมจัดจำหน่าย ทางชุมชนจึงได้ทดลองขายทั้งภายใน ชุมชนและบนแพลตฟอร์ม online พบว่า ผลิตภัณฑ์ยาหม่องสมนุ ไพร มียอดการสั่งซื้อมากที่สุดและสามารถขาย ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง ผลติ ภณั ฑย์ าหม่องสมุนไพร จึงได้รับการคัดเลอื กเป็นผลิตภัณฑ์ท่จี ะนำมาพัฒนาต่อยอดต่อไป ในระยะที่ 3 สว่ นผลติ ภัณฑเ์ ทยี นหอม และสบู่หอม ยกเลกิ การผลติ โดยหากชมุ ชนกลุม่ อ่ืน ๆ มีความตอ้ งการที่ จะสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชนใหม่ สามารถสร้างได้ ให้อยู่ภายใต้แบรนด์ “เสวยสุข” เนื่องจากแบรนด์นี้สร้างมาเพอ่ื เป็นตราสินคา้ หรอื ภาพจำของผลติ ภณั ฑ์สนิ ค้าของชุมชนตำบลสุขเดือนหา้ รปู ท่ี 7-7 กระบวนการการพัฒนาระยะที่ 2 ที่มา: อาววี รรณ ปัญญาโกเมศ และคณะ (2564) กระบวนการที่ 4 การพัฒนาระยะที่ 3 ส่งเสริมการพฒั นาผลติ ภัณฑเ์ พิ่มเติมจากระยะ 2 ของทาง ชมุ ชน เป็นการต่อยอดผลิตสินคา้ ทมี่ ีศักยภาพในการพัฒนาตอ่ จากระยะ 2 โดยสินค้าทีไ่ ด้รับการตอบรับท่ีดีจาก ผู้บริโภค และมียอดจำหน่ายที่เป็นที่น่าพึงพอใจ คุ้มค่าต่อการลงทุนและการต่อยอดสินค้า ได้แก่ ยาหม่อง สมุนไพร และน้ำมนั นวดสมุนไพร ซึ่งต่อยอดโดยการผลิตสตู รสินค้าที่มีความหลากหลายย่ิงข้ึน เพื่อสร้างรายได้

157 เพิ่มเติมจากในระยะ 2 พร้อมท้ังส่งเสริมในเรือ่ งของการวางแผนการตลาด การประชาสัมพันธ์ โดยคณะทำงาน โครงการทำรว่ มกับชมุ ชน รปู ท่ี 7-8 กระบวนการการพัฒนาระยะที่ 3 ทีม่ า: อาววี รรณ ปัญญาโกเมศ และคณะ (2564) กระบวนการท่ี 5 การเผยแพรอ่ งคค์ วามรสู้ ่ทู อ้ งถนิ่ เมอื่ ทางชมุ ชนมคี วามรูแ้ ละประสบการณ์ในการ พฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ล้ว จึงนำองคค์ วามรใู้ นการพฒั นาผลติ ภัณฑ์และการสรา้ งอาชีพ ไปถา่ ยทอดให้แกค่ นในชุมชน โดยเน้นกลุม่ ผวู้ ่างงานและผสู้ ูงอายุ เพ่อื สร้างคณุ คา่ ใหแ้ กก่ ลุ่มผู้สงู อายุและผู้วา่ งงานใหน้ ำองคค์ วามรูไ้ ปต่อยอดใน การสรา้ งอาชพี เพื่อเพิม่ รายได้ในครวั เรือน และเพื่อชุมชนมกี ารพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื และพง่ึ พาตนเองได้ นอกจากนี้ ยงั มกี ารจัดโครงการทัศนศึกษา “พาน้องเรยี นรู้เปน็ อย่อู ย่างพอเพียง” ให้แก่เยาวชนภายในทอ้ งที่ โดยนำนักเรียน ไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ ณ ศูนย์สาธิตการเกษตรแบบผสมผสานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กฤษณะฟาร์ม และ บ้านคุณวราภัสร์ ศรีเดช โดยมกี จิ กรรมรับฟังความรู้เก่ียวกับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ทศั นศึกษาโคกหนอง นาโมเดล ปลูกพชื ผกั สวนครวั และรับฟังเรื่องราวการสรา้ งแรงบันดาลใจในการนำผลผลติ ในทอ้ งถ่ินมาพัฒนาเปน็ ผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวและชุมชนกับ คุณวราภัสร์ ศรีเดช หนึ่งในผู้ประกอบการที่เข้าร่วม พัฒนาผลิตภัณฑ์รว่ มกบั U2T เพือ่ เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ในการดำเนนิ ชีวติ ตามหลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจ ปลูกฝังให้เด็ก ๆ สำนึกรักบ้านเกิด และสามารถนำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้

158 รปู ท่ี 7-9 กระบวนการการเผยแพร่องคค์ วามรู้สทู่ ้องถ่นิ ทมี่ า: อาววี รรณ ปญั ญาโกเมศ และคณะ (2564) ตารางที่ 7-3 สรปุ ผลการดำเนนิ กจิ กรรม

159 การบริหารจดั การโครงการ การวางแผนโครงการ เมื่อวิเคราะห์ความต้องการ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของโครงการ U2T โครงการยกระดับ เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) ปี 2564 จึง วางแผนการดำเนินงานที่จะนำไปสู่ผลลพั ธท์ ีต่ ้องการ ด้วยวิธีการเลือกคนให้เหมาะกบั งาน เห็นได้จากการเลือก พนื้ ทจี่ ากการนำเสนอของ คณุ ยศวจั น์ การภกั ดี (คุณนนท)์ ที่เป็นคนในพ้นื ที่ ให้เข้ามาเปน็ ผ้นู ำในการดำเนินการ กิจกรรมต่าง ๆ เนื่องจากเชื่อว่าคนในชุมชน เป็นผู้รู้บริบทภายในชมุ ชน รู้ปัญหา ความต้องการ ข้อจำกัด และ ตน้ ทุนของชุมชน รวมไปถงึ ความสามารถในการติดตอ่ ประสานงาน การทำงานร่วมกับคนในชุมชนได้ดี เพราะว่า มีความคุ้นเคยกัน ถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการดึงให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมพฒั นาพื้นท่ีด้วยกัน และการ เลอื กจ้างงาน ท่มี กี ารกำหนดคณุ สมบัติ มกี ารสมั ภาษณถ์ งึ ประสบการณ์และความสามารถ เพื่อให้ได้ผู้ท่ีสามารถ เข้ามาช่วยพัฒนาชุมชนเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด เมื่อได้คนทำงานแล้วจากนั้นเป็นการร่วมกันวางแผน ขบั เคลอ่ื นงานพัฒนา โดยมรี ายละเอียดข้นั ตอนดงั น้ี ทน่ี ำมาสูก่ ารดำเนนิ กิจกรรมที่เปน็ ไปตามความต้องการ และ สามารถแกไ้ ขปัญหาภายในชมุ ชน ไดแ้ ก่ 1) การรวบรวมข้อมูลพื้นที่ ต้นทุนของชุมชน ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทรัพยากรธรรมชาติ ทนุ กายภาพ ทุนสังคม และทนุ การเงนิ 2) การสำรวจปญั หาและความตอ้ งการของชมุ ชน 3) การวเิ คราะหช์ ุมชนด้วยเครือ่ งมอื SWOT 4) การทำเคร่ืองมือประเมนิ สภาพปญั หาของชมุ ชน ด้วยเครอื่ งมือ TPMAP 5) การประเมนิ ศักยภาพชมุ ชน การดำเนินโครงการ จากขน้ั ตอนการวางแผนโครงการ ทำใหท้ างคณะทำงานทราบถึงขอ้ มลู ชมุ ชนได้ครบทกุ ด้าน จึงเริ่ม ดำเนินการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับชุมชน ด้วยการดำเนินการพัฒนาในด้านผลิตภัณฑ์ของชุมชน ทั้งการต่อ ยอดผลิตภัณฑ์เดิม และการสรา้ งผลิตภัณฑ์ใหม่ ด้วยการทำงานร่วมกับชุมชน โดยยึดความตอ้ งการของชุมชน เป็นหลกั โดยทีค่ ณะทำงานโครงการเป็นผสู้ ่งเสรมิ และสนับสนุนในสิง่ ที่ชุมชนตอ้ งการ เชน่ การเชิญอาจารย์หรือ ผู้เชี่ยวชาญในเรือ่ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับกจิ กรรมการพฒั นา เข้ามาให้ความรู้แก่ชาวบ้าน เพื่อเพิ่มทักษะในการ พัฒนาผลติ ภัณฑ์ของตนเอง และการร่วมให้ชุมชนเห็นปญั หาด้วยชุมชนเอง เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้และเข้าใจใน กระบวนการทตี่ อ้ งการให้พฒั นา โดยแบ่งการดำเนนิ งานออกเป็น 3 ระยะ ในการทำงานร่วมกับชมุ ชน เช่น ระยะ ท่ี 1 เมือ่ ชุมชนตอ้ งการขายผลิตภณั ฑ์บนฐาน Online คณะทำงานโครงการจึงมีการทดสอบการส่ังซ้ือผลิตภัณฑ์ กับชุมชน และมีการประเมินคุณภาพของสินค้าที่ไดร้ ับ โดยให้ทางชุมชนเปน็ ผู้ประเมินเอง จึงทราบถึงปัญหา ที่ นำมาสกู่ ารแกไ้ ขปัญหาได้ตรงจดุ และคณะทำงานโครงการมีการศึกษาข้อมลู พฤตกิ รรมผูบ้ ริโภค เพอ่ื เปน็ แนวทาง ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของชุมชนเดิมนั้นมีคนสนใจซื้อน้อย จึงพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์มี คุณภาพ และเป็นไปตามความต้องการของตลาดมากขึน้ เขา้ มาสู่ ระยะท่ี 2 การให้ชุมชนไดค้ ดิ คน้ ผลิตภัณฑ์ของ ชุมชนดว้ ยตนเอง โดยชุมชนเปน็ ผดู้ ำเนนิ การด้วยตนเองทกุ อยา่ ง ทค่ี ณะทำงานโครงการเป็นเพียงพี่เล้ียงท่ีคอยให้

160 การสนับสนุนในสิ่งที่ชมุ ชนตอ้ งการ และระยะที่ 3 เริ่มให้ชุมชนเรยี นรู้ด้านการตลาด การจัดจำหน่าย การขาย ผลิตภัณฑ์ การคดิ คน้ ตน้ ทนุ กำไรด้วยตนเอง เพอ่ื ชมุ ชนสามารถพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง ๆ อยไู่ ดด้ ้วยตนเอง การติดตามและควบคุมโครงการ การติดตามผลและการควบคุมโครงการ เป็นการตดิ ตามผลในทกุ ๆ สปั ดาห์ มีการจัดประชุมบอก ผลการดำเนนิ งาน การเสนอแนะ การรับฟังปญั หา และคิดแนวทางการแก้ไขปญั หาไปพรอ้ ม ๆ กนั และมีเง่อื นไข ทกี่ ำหนดขอบเขตการทำงาน โดยแจ้งรายละเอียดให้ทกุ คนได้ทราบก่อนรับเขา้ มารว่ มดำเนนิ โครงการฯ จึงทำให้ การควบคมุ และการตรวจสอบการดำเนนิ งานไดส้ ะดวก และไม่ซับซอ้ น การประเมินโครงการ คณะทำงานโครงการมกี ารประเมินกจิ กรรมอยตู่ ลอดขณะดำเนินกจิ กรรมการพฒั นา ดว้ ยการผลิต ผลผลิตออกมาและทำการทดลองขาย เพื่อประเมินจากการสั่งซื้อหรือยอดการขายผลิตภัณฑ์ และประเมินจาก เสียงหรือความคดิ เห็นของกลุ่มผูบ้ ริโภค เช่น ในระยะที่ 2 ที่ให้ทางชุมชนคิดค้นผลิตภณั ฑ์ของตนเอง และได้มี ผลติ ภัณฑอ์ นื่ ๆ แตกออกมา ไดแ้ ก่ สบู่ เครื่องหอม ต่าง ๆ โดยคณะทำงานโครงการใหท้ างชุมชนไดท้ ดลองขาย ผลิตภัณฑ์ทั้งหมด เพื่อคัดเลือกว่าผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำไปต่อยอดการพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนใน อนาคต พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่มียอดการสั่งซื้อจำนวนมาก คือ ยาหม่องและน้ำมันนวดสมุนไพร คณะทำงาน โครงการจึงตดั ผลติ ภัณฑ์ตัวอ่ืน ๆ ออก และทำการต่อยอดพฒั นาตัวผลิตภัณฑย์ าหม่องและน้ำมันนวดสมุนไพร ให้สามารถตอบโจทยผ์ ูบ้ ริโภคทม่ี คี วามหลากหลายได้มากข้ึน รปู แบบการประสานงาน 1) การประสานงานระหว่างชุมชนและภาคอี น่ื ๆ การประสานงานของโครงการฯ เป็นการประสานงานผ่านผู้นำชุมชน ผู้นำกิจกรรม หรือ คุณยศ วัจน์ การภักดี (คุณนนท์) ท่ีเป็นคนในพนื้ ท่ี เมอื่ มีการดำเนินกจิ กรรม และเห็นวา่ ทางชมุ ชนต้องการองค์ความรูใ้ น ด้านไหน คณะทำงานโครงการจะมีการประสานงานกับผู้เชย่ี วชาญหรืออาจารย์ท่านอ่ืน ๆ ทีม่ ีองค์ความรู้เข้ามา จดั อบรมให้ความรู้แก่ชาวบ้าน 2) การประสานงานระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั เครือขา่ ยภูมภิ าค และอว.ส่วนหนา้ การประสานงานระหว่างมหาวทิ ยาลัยเครือข่ายภมู ิภาค และ อว. ส่วนหน้า โดย อว.ส่วนหน้าของ พื้นที่นี้ คือ มหาวิทยาลยั ราชภัฏจันเกษม ซึ่งทางคณะทำงานของอาจารย์ รศ.ดร.อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ ไม่มี การประสานงานกับ อว.ส่วนหน้าโดยตรง เพราะว่าทางสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มีคณะทำงาน ส่วนกลางที่เป็นผู้รับงานจาก อว.ส่วนหน้า โดยมีอาจารย์ ดร. ปรียานุช ธรรมปรียา (USI) เป็นผู้บริหารงาน ส่วนกลาง แล้วส่งต่อข้อมูลรายละเอียดความต้องการของ อว.ส่วนหน้า ให้กับทีมคณะทำงานที่ทำงานร่วมกับ ตำบล โดยทางทมี ของอาจารย์ รศ.ดร.อาวีวรรณ ปญั ญาโกเมศ มีหนา้ ท่ีเพยี งปฏิบัตงิ านร่วมกบั ทางชุมชน และมี บางกิจกรรมทต่ี อ้ งนำผลงานไปเสนอกับทาง อว.สว่ นหน้า

161 ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ จำกดั ของการบรหิ ารโครงการและแนวทางการแกไ้ ข สำหรับปัญหาอุปสรรคและข้อจำกดั ท่เี กิดขึน้ ในขณะท่มี กี ารดำเนนิ โครงการ รวมถงึ แนวทางการ แก้ไขของคณะทำงาน มีรายละเอียดดังตาราง ตารางที่ 7-4 ปญั หาอปุ สรรค ขอ้ จำกัด และแนวทางการแก้ไข ปัญหาอุปสรรค/ขอ้ จำกดั แนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1) การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ที่ต้องการให้ การทบทวนและการวิเคราะห์โจทยว์ ัตถุประสงค์ ดำเนินการนั้นมีหลายวัตถุประสงค์ การตีความใน ทไ่ี ดร้ ับก่อนการวางแผนดำเนนิ โครงการ วัตถุประสงค์ เป็นไปได้หลายทิศทาง ส่งผลให้เกิดความ สับสนและซบั ซอ้ นอยบู่ ้างเล็กนอ้ ย 2) การดำเนินงานและรายงานผลตามความต้องการของ การมที ีม USI เปน็ ทมี งานกลางในการบริหารงาน อว.ส่วนหน้า ที่มีการแจ้งข้อมูลอย่างกระชั้นชิด และการ ส่วนกลางทค่ี อยรบั และสง่ ต่อข้อมูล ทำใหก้ ารรับ แจง้ ขอ้ มูลรายละเอียดที่แจง้ ผ่านช่องทาง LINE สง่ ผลให้การ งานไม่มีปัญหา มีเพียงการเร่งทำงานใหท้ ันตาม ตามงานมีความซับซอ้ น กำหนดเวลา 3) ระยะเวลาดำเนนิ โครงการฯ อยู่ในช่วงระหวา่ งการเปิด จัดสรรงานให้เหมาะกับกลุ่มนักศึกษา โดยให้ เรียนของนกั ศึกษาทีจ่ า้ งงาน ส่งผลให้ส่วนงานนักศกึ ษาได้ กลุ่มนักศึกษาเป็นฝ่ายเก็บข้อมูลพื้นที่ เก็บ รับผิดชอบมีความติดขัดและเกิดเสียงสะท้อนปัญหาของ แบบสอบถาม คณะทำงานคนอื่น ๆ เล็กน้อย เช่น ปัญหาไม่มีเวลาการ แบง่ งาน กลมุ่ เปา้ หมายท่เี กยี่ วขอ้ ง กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ประกอบการ ผู้ว่างงาน ผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไป โดย ทัง้ หมดต้องมีความสนใจทีจ่ ะเข้าร่วมในกจิ กรรมกบั โครงการพฒั นาตำบลสุขเดือนหา้ เพอ่ื ยกระดับเศรษฐกิจและ สงั คมแบบบูรณาการพนื้ ทต่ี ำบลสขุ เดือนหา้ อำเภอเนินขาม จังหวดั ชัยนาท การมสี ว่ นร่วม ในด้านการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งคณะทางานโครงการ มหาวิทยาลัย ชุมชน และหน่วยงานปกครองทอ้ งถิ่น มีรายละเอียดดงั ตาราง ตารางที่ 7-5 การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ นที่เกย่ี วข้อง การมสี ว่ นรว่ ม รายละเอยี ด อาจารย์รศ.ดร.อาวีวรรณ ปญั ญาโกเมศ ▪ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฯ และวางแผนการดำเนนิ การ และคณะทำงาน ▪ ให้ความรู้อบรมผู้รับจ้างในด้านของการพัฒนาผลิตส่ือ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อเสนอแนะการผลิตสื่อการ

162 การมสี ว่ นรว่ ม รายละเอยี ด ประชาสัมพันธ์ ตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ เพื่อปรับปรุงส่อื ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวของตำบล รวมถงึ ผลิตภณั ฑ์ของตำบล ▪ ช่วยทดลองชิมและใช้ผลติ ภณั ฑ์ เพื่อให้ข้อเสนอแนะในด้าน มหาวทิ ยาลยั ศรคี รนิ ทรวโิ รฒ การปรับปรงุ ผลติ ภณั ฑ์ เพื่อตอบโจทยผ์ บู้ ริโภคมากขึน้ ▪ ใหค้ วามรู้อบรมผรู้ บั จ้างในด้านของการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ บรรจภุ ัณฑ์ การแปรรปู อาหาร การใชส้ อ่ื ประชาสมั พันธ์ และ ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตราสินค้า และ บรรจุภัณฑ์ เพอ่ื ปรับปรงุ ผลิตภณั ฑ์ของตำบล ▪ ช่วยทดลองชิมและใช้ผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ข้อเสนอแนะในด้าน มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี การปรับปรงุ ผลิตภัณฑ์ เพือ่ ตอบโจทยผ์ ู้บริโภคมากข้ึน ▪ ให้ความรู้อบรมผู้รับจ้างในด้านของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ี เป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อมโดยทรัพยากรภายในทอ้ งถิน่ และการ ลงพนื้ ทช่ี ุมชนให้ได้ใจและได้งาน ▪ ช่วยทดลองชิมและใช้ผลติ ภณั ฑ์ เพื่อให้ข้อเสนอแนะในด้าน สถาบนั อบรมเทรนแอนดม์ ีเดีย การปรับปรุงผลิตภณั ฑ์ เพ่อื ตอบโจทย์ผบู้ ริโภคมากขึ้น ▪ ให้ความรู้อบรมผู้รับจ้างในด้านการศิลปะการพูด การ นกั ศึกษาจา้ งงาน จำนวน 5 คน นำเสนอสนิ ค้าแบบ online และ offline ▪ ชว่ ยงานในส่วนการเก็บแบบสอบถาม การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ชมุ ชนเขา้ ระบบในทุก ๆ เดอื น โดยการเกบ็ แบบสอบถามใน พื้นท่ีจำนวน 20% ของจำนวนครวั เรือนท้งั หมดประมาณ 300 ครัวเรอื น และการทำกิจกรรมร่วมกับชมุ ชน ประชาชนทว่ั ไป (คนในชมุ ชนและคนใน ▪ หัวใจหลักในการทำงาน เนื่องจากเป็นผู้ที่รับการพัฒนาจาก ชมุ ชนใกล้เคยี ง) จำนวน 10 คน โครงการฯ และเป็นผู้ที่ต้องดำเนินกิจกรรม เพราะเป็น บณั ฑติ จบใหม่ จำนวน 9 คน เจา้ ของพื้นท่แี ละทรพั ยากร ▪ เข้ามาช่วยในเรอ่ื งของการเกบ็ ข้อมูล และชว่ ยประสานงานทั้ง ผู้นำชุมชน ส่วนงานบรหิ ารโครงการและการทำงานรว่ มกบั ชมุ ชน ▪ ส่วนที่มีความสำคัญที่สดุ ในการดำเนินโครงการฯ เนื่องจาก เป็นผู้รับประสานงานในช่วงแรก และเป็นผู้เชื่อมการทำงาน ระหวา่ งโครงการฯ ชาวบ้านในตำบล และหนว่ ยงานท้องถ่นิ องค์การบริหารสว่ นตำบลสุขเดอื นหา้ ▪ ช่วยให้ข้อมลู พ้ืนฐานบริบทของชุมชน สภาพพื้นท่ีของชุมชน จำนวนครัวเรือน จำนวนประชากร ระบบสาธารณูปโภค และการประกอบอาชีพ เปน็ ต้น

163 การมสี ว่ นรว่ ม รายละเอยี ด สำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอเนินขาม ▪ ช่วยให้ข้อมูลพื้นฐานบริบทของชุมชน สภาพพื้นที่ สภาพ สังคม สภาพเศรษฐกิจ และการประกอบอาชีพของชุมชน รวมถงึ การดำเนินการสง่ เสริมชุมชนของหน่วยงานท่ีผา่ นมา ผลสำเรจ็ ทเ่ี กิดข้นึ จากโครงการ 1) เปา้ หมายหรอื ความคาดหวงั ของโครงการ (1) การเกิดการสรา้ งอาชพี ใหแ้ กช่ มุ ชน โดยเริม่ แรกเน้นการสร้างอาชพี ให้แกผ่ วู้ ่างงานและกล่มุ ผู้สูงอายุ เพ่ือช่วยแกไ้ ขปัญหาของชมุ ชน ทม่ี ีความคาดหวังให้โครงการฯ เข้ามาชว่ ยในการ สร้างรายได้ และสรา้ งอาชพี เสริมใหก้ ับชมุ ชน (2) การจดั การวสิ าหกจิ ชุมชน เพอ่ื ให้กิจกรรมหรือโครงการฯ ท่ลี งไปดำเนนิ งานร่วมกับชุมชน ได้สามารถดำเนนิ การตอ่ เน่อื งดว้ ยตวั ของชมุ ชนเอง (3) การฝึกอบรมทักษะอาชีพ ทั้งอาชีพเดิมที่มีอยู่แล้ว และอาชีพใหม่ โดยคณะทำงาน โครงการมีการเชญิ ผู้เชยี่ วชาญจากมหาลัยหลาย ๆ มหาลัย เข้ามาใหค้ วามรู้ในแต่ละด้าน ที่ทางชุมชนต้องการพัฒนา หรือคณะทำงานโครงการที่เห็นว่าทางชุมชนควรได้รับการ สง่ เสริมในแตล่ ะด้าน 2) ผลการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดข้ึนตอ่ กลมุ่ เป้าหมายท่ีรว่ มกจิ กรรม (1) การมีส่วนร่วมของชุมชน จากเริ่มแรกทางชุมชนยังไม่เกิดการยอมรับในการเข้าร่วม กิจกรรมของโครงการฯ ภายหลังเมื่อมีผู้เข้าร่วม และเป็นต้นแบบที่ดี เห็นถึงการพัฒนา เปน็ ไปในทางที่ดี ก็เริม่ มชี าวบ้านภายในชุมชนเกิดการยอมรับมากขึ้น โดยวัดจากการเข้า มามสี ว่ นร่วมภายในโครงการฯ (2) เกิดอาชพี เสรมิ ใหม่ ๆ ตามมาด้วยอาชีพเสริม ไดแ้ ก่ กลมุ่ ยาหม่องสมุนไพร ที่ทางชุมชน เป็นผู้ริเริม่ ที่จะทำ และรวมกลุ่มกันทำ โดยคณะทำงานโครงการเป็นผูใ้ ห้การสง่ เสรมิ และ สนับสนุน และร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ไปด้วยกัน จนได้กำไรจากการขายผลิตภัณฑ์นี้ และ ผลติ ภณั ฑอ์ ่นื ๆ ท่ีทางชมุ ชนมอี ยูแ่ ลว้ และได้รบั การแก้ไขปรับปรุงแลว้ 3) ผลการเปลย่ี นแปลงทมี่ รี อ่ งรอยวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในระยะยาว ร่องรอยการเปล่ียนแปลงระยะยาว คือ การที่โครงการฯ เข้ามาช่วยส่งเสริมและสนับสนนุ ยกระดบั ผลติ ภณั ฑข์ องชมุ ชนทม่ี ีอยู่ โดยร่วมดำเนินกิจกรรมการพฒั นาไปด้วยกัน โดยยดึ ให้ทางชมุ ชนเป็นผู้นำ ทั้งความ ต้องการที่จะพัฒนา แนวทางการพัฒนา สิ่งที่ชุมชนจะพัฒนาต่อ ส่วนคณะทำงานโครงการเป็นผู้ช่วยชุมชนคิด และส่งเสริมองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่ชุมชนยังขาดอยู่ และช่วยศึกษาข้อมูลบริบทความต้องการทางการตลาด ภายนอก เพื่อส่งเสริมการพัฒนาผลติ ภัณฑไ์ ดอ้ ย่างถกู ทาง นำมาสู่กระบวนการที่ 2 คือ การเน้นให้ชุมชนเปน็ ผู้ เริ่มต้นของการทำธุรกิจด้วยตนเอง ตั้งแต่ต้นจนถึงกระบวนการขั้นสุดท้าย โดยนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากการ ฝึกอบรม นำมาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเอง และในระยะที่ 3 คือ การถ่ายทอดองค์ความรู้ นำไปสู่ เปา้ หมายสดุ ทา้ ย คือ การสรา้ งให้ชุมชนมีวสิ าหกิจชมุ ชน

164 ร่องรอยท่ีจะเกดิ ขึน้ ระยะยาว คือ ประสบการณ์ท่ีได้รับการสะสมมาจากระยะที่ 1 จนถึงระยะที่ 3 ที่สามารถนำมาใช้ในการเรม่ิ พัฒนาผลติ ภัณฑไ์ ด้ด้วยตนเอง เพราะมคี วามเขา้ ใจหรอื ผ่านกระบวนการดำเนินการ พัฒนามาทกุ รูปแบบ และมกี ารสรา้ งตวั ตนหรือหนา้ ร้านบนฐาน online เช่น Shopee Lazada รวมไปถึงการกา้ ว ไปสู่การจดทะเบียนวสิ าหกจิ ชมุ ชน รปู ที่ 7-1 กลยทุ ธ์การบรหิ ารโครงการพื้นทต่ี ำบลสขุ เดอื นหา้ ปจั จยั หรอื เงอื่ นไขทท่ี ำใหพ้ ื้นที่ประสบความสำเรจ็ 1) ศกั ยภาพของอาจารยแ์ ละคณะทำงานทรี่ บั ผิดชอบพื้นที่ ในแง่ของศักยภาพของคณะทำงาน พบว่า ทางพื้นที่ได้รับความร่วมมือจากอาจารย์หลาย มหาวิทยาลัย ไดแ้ ก่ รศ.ดร.อาววี รรณ ปญั ญาโกเมศ ซึ่งเป็นหัวหน้าโครงการ สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ อาจารย์จากมมหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ธนบุรี อาจารย์จากสถาบนั อบรมเทรนแอนด์มีเดยี และอาจารยท์ ีม่ สี ังกัดอสิ ระ นอกจากน้ยี งั มีทีมงานที่เป็นผู้ช่วย วิจัย คือ คุณภัทรภรณ์ พิศปั้น กลุ่มนักศึกษาจ้างงาน จำนวน 5 คน กลุ่มบัณฑิตจบใหม่ จำนวน 9 คน และ

165 กลุ่มประชาชนทั่วไป จำนวน 10 คน โดยทีมงานทุกคนได้ร่วมกันช่วยแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยสำรวจจาก ความต้องการของชุมชนและสิ่งที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ซึ่งการดำเนินโครงการได้มีการวางแผน ตั้งแต่ ขั้นตอนการเตรียมการ การคัดเลือกพื้นที่ รวมถึงบุคคลที่จะเข้ามาทำงานที่ระบุไว้ข้างต้น โดยแบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การสำรวจชุมชน ระยะที่ 2 การปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน และ ระยะที่ 3 การให้ชมุ ชนเป็นผู้ขับเคลือ่ นดว้ ยตวั เอง 2) จดุ เด่น (1) การบริหารจัดการคณะทำงานโครงการมีทีมทำงานที่มีประสิทธิภาพ ตั้งแต่ทีมทำงาน สว่ นกลาง USI ทีท่ ำหนา้ ท่ีรบั งานจาก อว. สว่ นหนา้ และการบริหารงบประมาณ การสร้าง แพลตฟอร์มระบบการสมัครงานท่มี ีกระบวนการและข้ันตอนอยา่ งชัดเจน และทีมงานของ โครงการฯ ที่ทำงานในพื้นที่ที่ทุกคนเต็มที่กับการทำงาน และมีความตั้งใจและมุ่งมั่นใน การพฒั นาท้องถน่ิ อย่างเตม็ ท่ี (2) การดำเนินงานของโครงการฯ มีการติดตามงานอย่างตอ่ เนอื่ ง ทั้งการลงพ้นื ที่ และการนัด ประชมุ ทกุ สัปดาห์ การสรา้ งความสมั พนั ธ์ท่ีดีต่อชาวบ้านในพ้ืนที่ และเพือ่ นร่วมงาน การ ทำความเข้าใจบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง ส่งผลให้การกำหนดแนวทางการพัฒนา เปน็ ไปตามความต้องการ และแก้ไขปัญหาให้ชมุ ชนอย่างแท้จรงิ (อาวีวรรณ ปญั ญาโกเมศ และคณะ, 2564) (3) ประสบการณ์ของอาจารย์ รศ.ดร.อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ คุณภัทรภรณ์ พิศปั้น (ผู้ช่วย วิจัย) และคณะทำงาน ที่มีการวางแผนการดำเนินการอย่างมรี ะบบ และมีการจัดการที่ดี รวมไปถึงคณุ สมบตั ิของอาจารย์ รศ.ดร.อาววี รรณ ปญั ญาโกเมศ และคณุ ภทั รภรณ์ พศิ ป้นั ที่มีการใช้ความเข้าใจ ความเป็นกันเอง การสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ความจริงใจ และความ ใจเย็นในการทำงานรว่ มกบั ชมุ ชน (4) ความสามารถของผู้นำชุมชน คุณยศวัจน์ การภักดี (คุณนนท์) ที่มีความกระตือรือร้น และมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานที่ได้รับผิดชอบ และมีคุณสมบัติของการเป็นผู้นำที่ดี คือ การรบั ฟงั สมาชกิ ภายในกลุ่ม ระดมความคิดเหน็ ของสมาชิกทกุ คน และช่วยกันแก้ไข พัฒนาไปดว้ ยกัน ดว้ ยความเชอื่ มั่นในประสิทธภิ าพของทีมงานทกุ คนและตัวผลิตภัณฑ์ว่า เป็นสนิ คา้ ทีด่ ี (5) ทีมงานส่วนกลางจากมหาลัยต้นสังกัด ดูแลรับผิดชอบโดย อาจารย์ ดร.ปรียานุช ธรรม ปรียา (USI) ทม่ี ีการบรหิ ารภาพรวมของโครงการท้งั หมดอย่างเปน็ ระบบและชัดเจน ทงั้ การ รับงานจาก อว. สว่ นหน้า การบรหิ ารงบประมาณในแตล่ ะโครงการ (6) คุณสมบัติของทีมงานทั้งกลุ่มประชาชน บัณฑิตจบใหม่ และกลุ่มนักศึกษา ที่มีความ เคารพในความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และพร้อมที่จะปรับตัว เพื่อพัฒนาไปด้วยกัน โดย อุปนิสัยของกลุ่มประชาชนนั้น มีความใจเย็น ใจดี มีความเป็นผู้ใหญ่ที่รับฟังและเข้าใจ ความคิดเห็นของคนรุน่ ใหม่ ส่วนกลุ่มคนรุ่นใหม่ นั้นก็มีความเชื่อฟัง และให้ความเคารพ ต่อผู้ใหญใ่ นทมี ทำให้การทำงานเป็นไปด้วยดแี ละมคี วามสขุ

166 รูปท่ี 7-2 ยอ้ นรอยเส้นทางสคู่ วามสำเร็จพื้นท่ตี ำบลสขุ เดือนหา้

167 พ้นื ทตี่ ำบลนครนายก อำเภอเมอื งนครนายก จงั หวดั นครนายก คณะทำงานโครงการ: ดร.ศุภชั ญา โชตยะกุล มหาวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ บริบทของชมุ ชนพนื้ ทต่ี ำบลนครนายก สภาพท่วั ไปของชมุ ชนตำบลนครนายก ตงั้ อยใู่ นเขตพนื้ ทเ่ี ทศบาลเมืองนครนายก จงั หวดั นครนายก มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 15.87 ตารางกิโลเมตร หรือราว 9,918.75 ไร่ โดยบริบททางกายภาพของพื้นที่ด้านสภาพ ภูมิอากาศของพื้นทีม่ ีลักษณะแบบแห้งแล้งสลบั ชืน้ สามารถจำแนกฤดูกาลตามอทิ ธิพลจากลมมรสุมในช่วงเวลา ต่าง ๆ ที่แตกต่างกนั ออกเป็น 3 ช่วงฤดู กล่าวคือ ฤดูฝนเริม่ ตัง้ แต่ราวเดือนมถิ ุนายนไปจนถงึ เดือนตุลาคม ฤดู หนาวเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ และฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมไปจนถึงเดือน พฤษภาคม ทั้งนี้ สำหรับอาณาเขตพื้นที่ของตำบลนครนายกมีพื้นที่ติดต่อกับตำบลอื่นๆ (ศุภัชญา โชตยะกุล, 2564) ดังนี้ ทิศเหนือ ตดิ ต่อกบั ต.บ้านใหญ่ อ.เมอื ง จ.นครนายก ทศิ ใต้ ติดต่อกบั ต.วงั กระโจม อ.เมอื ง จ.นครนายก ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับ ต.ศรนี าวา อ.เมือง และ ต.เกาะโพธ์ิ อ.ปากพลี จ.นครนายก ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.ท่าช้าง อ.เมอื ง จ.นครนายก รปู ท่ี 8-1 ขอบเขตการปกครองตำบลในอำเภอเมอื งนครนายก ทมี่ า: กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง (2564) มิติดา้ นบรบิ ททางชีวภาพของพ้ืนท่ี ชุมชนตำบลนครนายกตั้งอยูใ่ นพื้นที่เทศบาลเมืองนครนายกจึง “มลี กั ษณะเป็นชมุ ชนเมือง”ปจั จัยดงั กล่าวส่งผลให้ลักษณะทางชวี ภาพของชมุ ชนมคี วามหลากหลายในมิติต่าง ๆ อาทิ ความหลากหลายทางประชากร สังคม และเศรษฐกิจ เช่น มิติทางด้านประชากร พบว่า ชุมชนตำบล

168 นครนายก มีประชากรรวมทั้งสิ้น 8,021 คน ซึ่งจำแนกได้เป็นประชากรชายจำนวน 3,851 คน และประชากร หญิง 4,170 คน ในขณะที่บริบทชมุ ชนในมิตทิ างด้านเศรษฐกิจ พบวา่ ประชาชนในพ้ืนทสี่ ่วนใหญ่มีการประกอบ อาชีพที่หลากหลาย เช่น ค้าขาย ทำราชการ และธุรกิจต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างจากบริบทพื้นที่อื่น ๆ ในจัง หวัด นครนายกและสอดรับกับบริบทการเป็นชุมชนเมืองของพื้นที่ และมิติทางด้านสังคมและวัฒนธรรม พบว่า ประชาชนสว่ นใหญ่กว่าร้อยละ 90 นับถอื พุทธศาสนา และอกี รอ้ ยละ 10 นับถือศาสนาครสิ ต์ ด้วยเหตุนี้ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นที่สำคัญของชุมชนจึงมีความเชื่อมโยงไปกับศาสนาและความเชื่อของประชาชนในพื้นที่ อาทิ เทศกาลวันปีใหม่ วันมาฆบูชา วันสงกรานต์ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชาและเทศกาลเข้าพรรษา วันออก พรรษา และวนั ลอยกระทง เปน็ ตน้ (เทศบาลเมอื งนครนายก, 2562) จุดเด่น ศักยภาพ และความเขม้ แข็งของชุมชน ตำบลนครนายกในอดีตเป็นชุมชนที่ประสบการณ์ ดา้ นการค้าขายซง่ึ นับวา่ เป็นทุนชมุ ชน (social capital) ท่ีมคี วามเขม้ แข็งประการหนงึ่ ของชุมชน ด้วยเหตุนี้เมื่อ คณะทำงานของโครงการ U2T ได้รบั มอบหมายในการขับเคล่ือนกจิ กรรมจงึ ใช้ประการดงั กล่าวเป็นจุดแขง็ และเป็น ฐานในการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการที่เกิดขึ้น โดยมีการศึกษาความต้องการของชุมชนต่อการพัฒนาโอกาสตาม ความต้องการและเปน็ การเพ่ิมศกั ยภาพให้กับชมุ ชนในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน ด้านความเขม้ แขง็ ของผนู้ ำชมุ ชน ภาคขี องชุมชน และประสบการณก์ ารทำงานของอาจารย์เจ้าของ พื้นที่กับชุมชน พบว่า ก่อนการดำเนินโครงการทางผู้ประสานงานโครงการได้เริ่มทำความรู้จักกบั คนในพื้นที่โดย เริ่มต้นจากการชี้แจงรายละเอียดของโครงการรวมถึงสอบถามความต้องการของประชาชนในพื้นที่เพื่อให้การ เข้าถึงพื้นที่เป็นไปได้อย่างราบรื่นซึ่งจากการเข้าพบและชี้แจงละเอียดของโครงการ พบว่า ผู้นำชุมชน และ ประชาชนไดใ้ หค้ วามสนใจในโครงการและมีความยนิ ดีใหค้ วามรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี การดำเนนิ กจิ กรรมของพนื้ ทช่ี มุ ชนตน้ แบบ ลักษณะการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการ U2T ในพื้นท่ีตำบลนครนายก อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก แบ่งระยะเวลาในการดำเนนิ กิจกรรมเป็น 4 ระยะ โดยกระบวนการทั้งหมดดำเนินการภายใต้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คณะผู้วิจัยจึงไม่สามารถปฏิบัติงานภาคสนามได้ดังเช่น สถานการณ์ปกติ ด้วยเหตุนี้การดำเนินการที่เกิดขึ้นจึงเป็นรูปแบบทีเ่ นน้ การทำงานผ่านระบบออนไลน์ (Online) เป็นหลักเพอ่ื หลีกเล่ียงความเสย่ี งและปฏบิ ัติตามข้อบังคับในชว่ งสถานการณ์ท่กี ำหนดขน้ึ อนง่ึ รปู แบบการขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมที่เกิดข้ึนใน 4 ระยะ ได้แก่ ไตรมาสท่ี 1 การเตรยี มความพร้อม ของทีมวิจัย ข้อมูลชุมชน และดำเนินการจัดทำชุดข้อมูลชุมชนเพื่อทำความเข้าใจและออกแบบการดำเนิน กิจกรรมอยา่ งมีประสิทธิภาพและตรงตามปัญหาและความตอ้ งการของชมุ ชนอย่างแท้จรงิ ไตรมาสที่ 2 เน้นไปที่ การใชช้ ุดข้อมลู ทีเ่ กดิ ข้ึนในระยะแรกออกแบบการขบั เคล่ือนกจิ กรรม ซ่งึ เนน้ ที่กระบวนการเชงิ ปฏิบัติการเป็นหลัก และไตรมาสที่ 3 และ 4 เป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลมาจากกระบวนการศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะหก์ ารดำเนินการเชิงปฏบิ ตั กิ ารทีผ่ า่ นมาจนกลายเป็นผลลัพธ์ของแผนปฏิบัตกิ ารของโครงการทงั้ หมด (รูป ที่ 2.9.2) โดยรปู แบบในการดำเนนิ การกิจกรรมภายใต้โครงการ U2T ทงั้ 4 ระยะมีรายละเอียดในแตล่ ะขน้ั ตอนโด สงั เขป ดังน้ี

169 รปู ท่ี 8-2 รปู แบบในการดำเนินกิจกรรม ทีม่ า: ศุภชั ญา โชตยะกุล (2564) 1) การเตรยี มความพรอ้ มของทมี และสรา้ งระบบการทำงานรว่ มกนั การดำเนินการในระยะแรกเริ่มจากทีมงานได้ดำเนนิ การศึกษาข้อมูลที่ได้รับการสนับสนนุ จากทาง ส่วนกลางในระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เปา้ (Thai People Map and Analytics Platfrom : TPMAP) โดยระบบดงั กล่าวเป็นระบบที่สามารถระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชนท้องถ่ิน/ ท้องที่ จังหวัดประเทศ หรือปัญหาความยากจนรายประเด็น โดยจากการศึกษาดังกลา่ ว พบว่า ชุมชนในตำบล นครนายกประสบปัญหาด้านรายได้เป็นปัญหาหลัก ส่วนในด้านอื่น ๆ เช่น การเข้าถึงการศึกษา สาธารณสุข พบว่า ในตำบลนครนายกประสบปัญหาด้านนี้น้อยมาก ดังนั้นทางทีมงานจึงเล็งเห็นว่าปัญหาความยากจนเปน็ ปัญหาที่ควรแก้ไข ในลำดับถัดมาทางทีมงานหลัก ได้แก่ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ วศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ได้มอบหมายใหท้ างทป่ี รึกษาโครงการรับสมคั รคัดเลือกเพื่อจ้าง งาน 20 ตำแหน่ง ซ่ึงประกอบไปด้วย ประชาชนจำนวน 5 ตำแหนง่ นิสติ และนกั ศกึ ษาจำนวน 5 ตำแหนง่ และ บัณฑิตจบใหม่จำนวน 10 ตำแหน่ง ซึ่งทำการคัดเลือกโดยการสัมภาษณ์ผา่ นโปรแกรม Zoom โดยมีเงื่อนไขใน การคัดเลือกดังนี้ (1) ทีมงานทุกรายต้องสามารถเข้ามาปฏิบัติงานร่วมกันที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ได้ไม่ต่ำกว่า 1 วันต่อสปั ดาห์ (2) ทีมงานทกุ รายต้องสามารถลงปฏบิ ัตกิ ารภาคสนามในพ้ืนท่ีเป้าหมาย ได้ และ (3) ทีมงานทกุ รายจำเป็นตอ้ งมสี มาร์ทโฟนและระบบอนิ เตอรเ์ น็ตท่มี ีประสทิ ธิภาพตลอดระยะเวลาในการ เขา้ ร่วมโครงการ เนือ่ งจากกระบวนการทำงานทงั้ หมดเนน้ การปฏิบตั งิ านด้วยรปู แบบออนไลน์ภายใตข้ ้อจำกัดของ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งเมื่อได้ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกตามคุณสมบัติข้างตนแล้วแล้ว จึง ดำเนินการปรึกษาหารือร่วมกันถึงกลุ่มเป้าหมายและทิศทางการดำเนินงานในพื้นที่ ซึ่งข้อสรุปที่ได้จาก กระบวนการดังกล่าวคอื การวางเป้าหมายเพื่อช่วยกลุม่ ผู้ประกอบกิจการร้านคา้ ในพน้ื ทีต่ ำบลนครนายก

170 2) อบรม ฝกึ ฝน พฒั นาทกั ษะใหม่ ใหพ้ รอ้ มกบั การพฒั นาชมุ ชน การดำเนินการในลำดับถัดมา คือ กระบวนการฝึกอบรม พัฒนาทักษะใหม่ของทีมงานภายใต้ โครงการ U2T โดยประสานไปยงั ภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามาให้ความรู้เพื่อให้พร้อมกบั ภารกิจดา้ นงานพัฒนาชุมชน ซึง่ สำหรับการจดั การอบรมเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มน้นั ดำเนนิ การขนึ้ ในรปู แบบออนไลน์ ประกอบด้วยความรู้และ ทกั ษะทส่ี ำคญั ต่อการปฏิบตั ิงานแบง่ ประเดน็ การอบรมใน 4 ประเดน็ ได้แก่ (1) ด้านดิจิทลั (2) ด้านภาษาองั กฤษ (3) ด้านการเงิน และ (4) ด้านสังคม 3) การลงพื้นท่ีจดั ทำฐานขอ้ มูลชมุ ชน ทมี งานภายใต้โครงการ U2T ดำเนนิ การภาคสนามในการสำรวจและเกบ็ ข้อมลู โดยใชแ้ พลตฟอร์มท รลิ โล่ (Trelo) ซง่ึ เป็นแพลตฟอรม์ ท่ีทีมงานไดจ้ ดั เตรียมไวใ้ หผ้ เู้ ขา้ รว่ มโครงการท้งั 20 คน เพื่อเป็นเครอ่ื งมือในการ รวบรวมขอ้ มูลในภาคสนาม ซึ่งแพลตฟอร์มดงั กล่าวนอกจากจะใช้ในการเก็บข้อมูลรา้ นค้าภายในชุมชนเป้าหมาย แล้ว ในอีกวัตถุประสงคแ์ ละจุดเด่นของแพลตฟอร์มดังกล่าว คือ สามารถนำมาใช้สำหรับการเชค็ ชือ่ เข้าทำงาน ของผ้เู ข้าร่วมโครงการทกี่ ำหนดไวก้ อ่ นเวลา 9.00 น. ไดอ้ ีกด้วย กอปรกับยังเป็นเครอื่ งมือสำหรบั การอำนวยความ สะดวกในการเป็นฐานเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ภาพ ไฟล์งาน อันเนื่องมาจากการดำเนิน กิจกรรมของโครงการ อนึ่งสำหรับผลการดำเนินการจากการเก็บรวมรวมข้อมูลโดยแพลตฟอร์มทริลโล่ ( Trelo) พบว่า ในพนื้ ท่ตี ำบลนครนายกมผี ู้ประกอบการร้านคา้ ในพ้นื ท่ีมากกวา่ 214 ร้านคา้ และจากผลการสำรวจความ ต้องการของร้านค้าทำให้ทราบความตอ้ งการของรา้ นค้าเหล่านัน้ ต่อโครงการที่จะริเริ่มว่า ต้องการให้โครงการมี ส่วนช่วยให้เกิดการกระตุ้นยอดขายใหก้ ับทางรา้ น จึงกลายเป็นจุดเริม่ ต้นสำหรับโครงการในการดำเนินกิจกรรม ของการสร้างเพจ “เที่ยวเถอะครยก” ขน้ึ มาในระยะถดั มา 4) การสร้างตัวตนบนโลกออนไลน์ ดว้ ยเฟซบกุ๊ แฟนเพจ “เท่ยี วเถอะครยก” จากผลการดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลชมุ ชนท่ีนำไปสู่ความตอ้ งการของชมุ ชนตอ่ โครงการ ในการ ชว่ ยสนบั สนุนใหเ้ กิดการกระตนุ้ ยอดขายให้กับทางรา้ น ได้นำไปสู่การดำเนนิ การสรา้ ง Page Facebook ณ วันท่ี 8 มีนาคม 2564 “เที่ยวเถอะครยก” ซึ่งคำว่า “ครยก” มีนัยยะถึงจังหวัดนครนายก เพื่อเป็นกลไกสำหรับการ ประชาสัมพันธใ์ หก้ บั ร้านค้าในพ้ืนท่ี โดยไม่คิดคา่ ใช้จ่าย ซึ่งในระยะแรกของการเปดิ เพจดังกลา่ วผู้ติดตามในส่ือ สังคมออนไลน์ยังมีจำนวนไม่มากนัก ซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าวทางทีมงานจึงดำเนินการออกแบบเพื่อให้เกิดการ กระตุ้นใหช้ ่องทางสอ่ื ดังกล่าวมีการแพร่กระจายไปยงั กลุม่ ลูกค้าและกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ผ่านการทำ Content ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ เช่น การนำเสนอ Content ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่น่าสนใจในปัจจุบัน นำเสนอสถานที่ท่องเที่ยวในจงั หวัดนครนายก รวมถึงการรีววิ ร้านอาหาร เมื่อทางทีมงานมีการฝึกฝนและพัฒนา อย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีการเข้าถึงและมียอดการติดตามใน Page Facebook เพิ่มมากขึ้นซึ่งแสดงให้เห็นถึง ทศิ ทางของผสู้ นใจและโอกาสท่ีร้านคา้ เหลา่ น้นั ไดม้ ีการรับรขู้ องกลมุ่ ประชาชนท่ัวไปเพิม่ มากขน้ึ

171 รปู ที่ 8-3 กจิ กรรมการนำเสนอ Content ใน Page Facebook ทมี่ า: ศุภัชญา โชตยะกลุ (2564) 5) การชว่ ยผ้ปู ระกอบการออกแบบพฒั นา ผลิตภณั ฑ์ บรรจุภณั ฑ์ ฉลากสนิ ค้า เมอ่ื ดำเนนิ การเพิม่ ช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้สนิ คา้ และบรกิ ารของรา้ นคา้ ในพืน้ ทเ่ี ป็นท่ีรจู้ กั ในวง กว้างผ่านการส่ือออนไลน์ของ Page Facebook ตามความต้องการที่ชุมชนมีต่อโครงการแลว้ อีกประการหน่ึง ของกิจกรรมทโ่ี ครงการ U2T ของภาควชิ าวิศวกรรมอตุ สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิ โรฒ ได้เขา้ ไปมีบทบาทในการสนับสนุนผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ คอื การช่วยผปู้ ระกอบการออกแบบพัฒนา ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และฉลากสินค้าให้กับผูป้ ระกอบการ โดยในขั้นตอนดังกล่าวทางทีมดำเนินการได้มกี าร ประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นและจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องขึ้นมา 1 โครงการ ได้แก่ โครงการกล้าคิดช่วยทำ ซ่ึง โครงการดังกล่าวทางทีมงานของ U2T ได้ลงพื้นที่เพื่อสอบถามความต้องการของผู้ประกอบการถึงสิ่งท่ี ผู้ประกอบการมตี อ่ ปัจจัยทตี่ อ้ งการความช่วยเหลือจากทีมงาน ประการหนึง่ ที่ถูกสะท้อนมายงั ทมี งาน คือ ความ ต้องการให้ทางทีมงานช่วยในประเด็นของความโดดเดน่ ของบรรณจภุ ัณฑ์ ดังผู้ประกอบการรายหนึ่งที่ได้สะท้อน ความคดิ เหน็ ใหก้ ับโครงการว่า “...โดยคุณแม่สำเริงได้กล่าวกับทางทีมงานว่าอยากให้มีรปู ของตวั เองอยู่บนฉลากเมือ่ ผูบ้ รโิ ภคเห็น ผลติ ภัณฑ์จะไดร้ วู้ ่าเปน็ นำ้ พรกิ ของแมส่ ำเรงิ ...” คณะทำงานโครงการ U2T (สมั ภาษณ,์ 29 ธนั วาคม 2565) ประเด็นดังกล่าวได้ถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งที่โครงการได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน การแก้ปัญหาและ ตอบสนองตอ่ ความต้องการของชุมชน ซ่งึ ทางทีมงานไดช้ ว่ ยในกระบวนการออกแบบฉลาก และการทดลองบรรจุ ภัณฑ์แบบกระปุกที่ปราศจากการใชส้ ารกนั บูด เพื่อให้ผลิตภัณฑข์ องชุมชนสามารถเก็บได้นานกว่ารูปแบบบรรจุ ภัณฑแ์ บบการใสถ่ ุงพลาสติก ซึ่งจากเดิมมอี ายใุ นการเก็บไว้ได้ไมเ่ กิน 2 เดอื น ซง่ึ เมือ่ นำมาบรรจุในกระปุกที่ทาง คณะดำเนินการออกแบบขึน้ ผลิตภณั ฑ์ของชมุ ชนสามารถอยไู่ ดถ้ ึง 4 เดือน จึงนบั เป็นการยืดอายผุ ลติ ภณั ฑ์ การ เพม่ิ มลู ค่า และขยายโอกาสในการทำการตลาดใหก้ บั สนิ ค้าของชุมชนได้อกี ดว้ ย

172 รปู ท่ี 8-4 ฉลากบนสินค้าของคุณแม่สำเรงิ ท่มี า: ศุภัชญา โชตยะกลุ (2564) 6) การจดั กจิ กรรม Covid Week นอกจากกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นแล้ว ส่วนหนึ่งของโครงการ U2T ของภาควิชาวิศวกรรมอุตสา หการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ไดม้ สี ่วนชว่ ยกบั ชมุ ชนและภาครัฐในการลดการแพร่ ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ผา่ นกิจกรรม “Covid Week” โดยทางทมี งานลงพ้นื ทใ่ี นการผลติ และเผยแพร่ แผ่นพับข้อมูลความรู้ และบริการแอลกอฮอล์ (Alcohol gel) ให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสื่อที่ถูกออกแบบข้ึน ประกอบไปด้วยข้อมูลสำคัญต่าง ๆ เช่น เบอร์โทรศัพท์ของสายด่วน ข้อแนะนำก่อนฉีดและหลังฉีดวัคซีน และ ข้อมลู สำคญั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการปอ้ งกนั ตวั เองในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 รปู ท่ี 8-5 กิจกรรม “Covid Week” ท่มี า: ศภุ ัชญา โชตยะกลุ (2564)

173 7) การอบรมพฒั นาทกั ษะในการประกอบอาชพี ใหช้ มุ ชนและผทู้ ส่ี นใจ การอบรมพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพสำหรับผู้ประกอบการร้านค้าในพ้นื ที่เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการที่ได้ริเริ่มและส่งเสริมให้กับชุมชนเพิ่มเติม โดยทีมคณะทำงานมีการจัดอบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการ ประกอบอาชพี ใหก้ ับชุมชนและผู้ทีส่ นใจในด้านต่าง ๆ อาทิ การเรยี นรู้และการใชร้ ะบบท่ีเกี่ยวข้องกับภาษีที่พึงรู้ ของประชาชนและผู้ประกอบการโดยเฉพาะในรูปแบบออนไลน์ (Online) ทม่ี คี วามสะดวกภายใต้สถานการณ์การ แพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยทมี ผดู้ ำเนนิ การได้ประสานขอความอนุเคราะห์บคุ ลากรผู้เชี่ยวชาญใน ประเด็นดังกล่าวจากสำนักงานสรรพากรพื้นที่จังหวัดนครนายก มาเป็นวิทยากรเพื่อเผยแพร่และให้ความรู้แก่ ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ที่มีความสนใจ ซึ่งนอกจากกระบวนการดังกล่าวแล้ว เมื่อสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดของเชอ้ื โคโรนา 2019 มแี นวโน้มทจี่ ะเรม่ิ คลคี่ ลายในชว่ งต้นปี 2564 ทางทมี ผดู้ ำเนนิ การได้จัดลงพื้นท่ี เพื่อพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพด้านอื่น ๆ ให้กับชุมชน อาทิ การจัดอบรมการแปรรูปอาหารเพื่อสร้าง รายได้ในระดบั ครวั เรือน เชน่ การสอนทำขนมสาคู การทำพรมเชด็ เทา้ ซ่ึงผู้ทใ่ี ห้ความสนใจในกจิ กรรมนี้ประกอบ ไปดว้ ยกล่มุ แมบ่ ้าน และผู้สงู อายเุ ป็นกลุ่มหลัก รปู ท่ี 8-6 กจิ กรรมการทำขนมสาคู ที่มา: ศุภัชญา โชตยะกุล (2564) 8) การใช้เพจ “เทีย่ วเถอะครยก” เป็นกระบอกเสียงใหผ้ ู้คนในชมุ ชน สภาพปัญหาและผลจากการใช้สื่อออนไลน์ของ Page Facebook ภายใต้ชื่อ “เที่ยวเถอะครยก” เป็นช่องทางในการประชาสัมพนั ธใ์ หส้ ินคา้ และบริการของรา้ นค้าในพ้ืนที่เปน็ ทีร่ ู้จักในวงกว้าง หากแต่สภาพของ สอ่ื ท่มี ีผู้ติดตามจำนวนไมม่ ากและการเคล่ือนไหวของขา่ วสารที่เผยแพร่ยงั ไม่เป็นที่สนใจของประชาชนในวงกว้าง ได้นำมาสู่การประชุมเพื่อระดมความคิดในการแก้ปัญหาและสร้างจุดให้สื่อออนไลน์ดังกล่าวเป็นที่นิยมในกล่มุ ประชาชนมากย่งิ ขึ้น จงึ นำมาสู่การจดั ตั้งทีมงานสำหรบั การประชาสัมพันธ์และการนำเสนอรายการข่าวของพื้นที่ อาทิ (1) การดำเนนิ รายการขา่ วเวลา 18.00 น. ในวันจันทร์ – วนั ศุกร์ (2) รายการ “ทำเถอะครยก” ซงึ่ รูปแบบ การดำเนินการและเผยแพร่ข้อมลู เป็นการถ่ายทำรายการที่เกี่ยวกับอาชีพที่น่าสนใจในพื้นที่ ที่นอกจากเป็นการ กระตุ้นให้กับประชาชนในพื้นที่แล้ว ในอีกมิติหนึ่งยังเป็นการประชาสัมพันธ์ความเคลื่อนไหวของชุมชนให้กับ

174 ประชาชนภายนอกไดร้ ับทราบอีกด้วย นอกจากนี้ทีมดำเนินการยังได้มีการออกแบบกิจกรรม “ครยกจัดโปรเด็ด” เพอ่ื กระตุน้ ใหผ้ ู้สนใจเขา้ ถึงและติดตามผลิตภัณฑข์ องชมุ ชนในระยะตา่ ง ๆ ตลอดการดำเนนิ โครงการ รปู ท่ี 8-7 รายการทำเถอะครยก ทมี่ า: ศภุ ัชญา โชตยะกลุ (2564) 9) ส่งเสรมิ การชำระเงินดจิ ิตอลใหร้ ้านคา้ ในชุมชน ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์และสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโร นา 2019 รปู แบบการชำระเงินดิจติ อลโดยการดำเนนิ การผ่าน QR Code ของรา้ นคา้ และการเขา้ ถึงบริการการทำ ธรุ กรรมทางการเงินในรูปแบบดิจิทัล (Mobile Banking) เป็นทนี่ ิยมในวงกว้าง สว่ นหนงึ่ ของการดำเนินกิจกรรม ของโครงการจึงรเิ รม่ิ การสำรวจความต้องการของผปู้ ระกอบการในพื้นทตี่ ่อการเข้ารว่ มในรปู แบบดังกล่าวเพ่ือเพิ่ม โอกาสในการจำหน่วยสินค้าและการอำนวยความสะดวกให้กับผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น และเมื่อทราบถึงจำ นวน ความต้องการของผูป้ ระกอบการแล้วทางทีมดำเนินการได้ประสานงานและสนบั สนนุ องคค์ วามรู้เพื่อการปรบั ตวั และเข้าถึงช่องทางดังกล่าว ซง่ึ ตลอดระยะเวลาในการดำเนินการได้มีผู้ประกอบการร้านคา้ ในพืน้ ท่ีให้ความสนใจ รบั ป้าย QR Code เพื่อเพิม่ ช่องทางสำหรบั การชำระเงนิ กว่า 200 ร้านคา้ รปู ท่ี 8-8 กจิ กรรมสง่ เสรมิ การชำระเงนิ แบบดจิ ทิ ัล (Mobile Banking) ท่ีมา: ศภุ ชั ญา โชตยะกุล (2564)

175 10) การกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื ช่องทางสำหรับการกระตุ้นเศรษฐกิจของชุมชนและเพิ่มช่องทางในการจำหน่ายสินค้าให้กับ ผู้ประกอบการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอีกรูปแบบหนึ่งที่ถกู นำมาใช้ในการขับเคลื่อนกิจกรรมของโครงการ U2T คือ การจัดกิจกรรมกระตุ้นเศรษฐกิจที่ตลาดจามจรุ ี ซง่ึ เป็นความคิดริเรม่ิ และได้รบั การสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายใน พื้นที่ เช่น สำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก ผู้นำชุมชน และผู้บริหารตลาดจามจุรี ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวได้ กลายเป็นพื้นที่กลางสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นภายในชุมชน เป็นรูปแบบการกระตุ้นการ จับจ่ายใช้สอยของประชาชนในพื้นที่อีกช่องทางหนึ่งรวมถึงเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมลักษณะนี้ขึ้นอีกใน อนาคต รปู ท่ี 8-9 กิจกรรมกระตุ้นเศรษฐกจิ ชุมชนอย่างยงั่ ยนื ท่มี า: ศภุ ชั ญา โชตยะกุล (2564) กล่มุ เป้าหมายที่เกยี่ วขอ้ งในแต่ละกิจกรรม แบง่ เป็น 3 กลุ่ม ดงั นี้ 1) กล่มุ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการดำเนนิ งาน ไดแ้ ก่ อาจารย์ นักศกึ ษา บณั ฑิตจบใหม่ 2) กลุ่มผู้ให้การสนับสนุนหลัก ได้แก่ สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานสรรพากร กรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน สำนกั งานพฒั นาชมุ ชน เทศบาล ผู้นำชมุ ชน 3) กลมุ่ ทไี่ ด้รับการพัฒนา ไดแ้ ก่ ผ้ปู ระกอบกิจการรา้ นค้า กล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชน ประชาชน ผลสำเรจ็ ทเี่ กิดขน้ึ จากโครงการ จากตำบนม่งุ สู่ความพอเพยี งไปสู่ตำบลมุ่งสูค่ วามยง่ั ยนื ผลสำเรจ็ ทเ่ี กดิ ข้ึนจากการนำองค์ความรู้ไป บริการชุมชน ส่งผลให้ผู้ประกอบการร้านค้าที่อยู่ในพื้นที่ตำบลนครนายกได้แนวทางที่เหมาะสมในการจัดการ ธรุ กิจอย่างเป็นระบบ รวมถึงได้รับความรแู้ ละแนวทางทางในการประยุกตอ์ งค์ความรู้เพือ่ นำไปใชใ้ นการประกอบ อาชีพ การบรหิ ารจดั การโครงการ เพื่อให้การดำเนนิ งานดำเนินไปอย่างมีประสิทธภิ าพทางคณะทำงานได้นำเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้า มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานผ่านแพลตฟอร์มที่ชื่อว่า Trel o ซึ่งเป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการ

176 โครงการโดยผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้แพลตฟอร์มดังกล่าวในการเช็คชื่อเข้าปฏิบัติงาน รวมถึงใช้ในการเก็บ ฐานข้อมลู ตา่ ง ๆ เชน่ ฐานข้อมูลร้านคา้ ภาพ ไฟล์งาน เพื่อให้กระบวนการทำงานดำเนนิ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อีกทั้ง โครงสร้างของมหาวิทยาลัยมีการบริหารจัดการภายในเพื่อป้องกันความซ้ำซ้อนของข้อมูล โดยการ บรหิ ารงานทางมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ มกี ารบรหิ ารงานภายในของมหาวทิ ยาลัยในการนำข้อมูลที่ได้รับมา กระจายต่อไปยังคณะทำงานโครงการในพื้นที่โดยทีมกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วย 1) สถาบัน ยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย และ 2) ศูนย์บริการวิชาการแก่ชุมชน สำหรับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครกั ษ์ อยใู่ นความรับผดิ ชอบของสถาบันยทุ ธศาสตรท์ างปญั ญา ดงั นนั้ เพือ่ เป็นการปอ้ งกันปัญหาความซ้ำซ้อน ของขอ้ มูลทางสถาบนั ยทุ ธศาสตรท์ างปญั ญา จะนำขอ้ มลู ท่ีได้รับมาจากทาง สป.อว. ไปกระจายต่อยงั คณะทำงาน โครงการในพ้ืนทโี่ ดยตรง รปู แบบการประสานงาน การประสานงานระหว่างมหาวทิ ยาลยั กับชมุ ชน หรือภาคีอ่ืน เชน่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นมีท้ัง การประสานงานอย่างเป็นทางการโดยแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ และกา รขอใช้ สถานท่ีฝกึ อบรม และการประสานงานอยา่ งไม่เป็นทางการ เช่น การเขา้ ไปสำรวจความคิดเห็นในชุมชน เป็นการ ติดตอ่ แบบเผชิญหนา้ ซ่งึ กันเพ่อื สร้างความสัมพันธ์อนั ดรี ะหว่างคณะทำงานกับชมุ ชน การประสานงานระหว่างมหาวิทยาลัย เครือข่ายภูมิภาค และ อว.ส่วนหน้า ในส่วนของการ ประสานงานระหว่างมหาวทิ ยาลัยได้มกี ารประชุมกบั ทางเครือขา่ ยภาคกลางตอนบนอยเู่ ป็นประจำจึงมคี วามเข้าใจ ในบทบาทของทางเครอื ข่ายภาคกลางตอนบนว่าเป็นผู้รบั สารจากทาง สป.อว. เพื่อส่งสารต่อไปยังมหาวิทยาลยั ในบางครั้งขอ้ มลู ท่ีทาง สป.อว. สง่ มายังขาดความชัดเจนส่งผลให้ทางเครือข่ายภาคกลางตอนบนไมส่ ามารถตอบ คำถามในบางสว่ นได้ ซึ่งทางมหาวิทยาลยั เองมีความเขา้ ใจในสว่ นนี้เปน็ อย่างดี เนอื่ งจากทางเครือข่ายภาคกลาง ตอนบนไดท้ ำหน้าที่ในฐานะของผู้ทต่ี ามงานและเกบ็ ข้อมลู ไดด้ เี สมอมา ในส่วนของ อว. มีข้อเสนอแนะคือ อยากให้มีโครงสร้างที่ชัดเจนเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการ ดำเนนิ งาน ดังน้ี 1) อยากให้มีโครงสร้างที่ชัดเจน เนื่องจากปัจจุบันมีทั้งเครือข่ายในระดับภาคกลางตอนบน และ ระดบั จงั หวัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครกั ษ์ จังหวดั นครนายก พน้ื ท่ตี ำบลนครนายกท่ีปฏิบัติงานควร ขึ้นกับทางเครือข่ายภาคกลางตอนบน หรืออยู่ภายใต้จังหวัด โครงสร้างที่ไม่ชัดเจนส่งผลให้เกิดคำสั่งที่ซ้ำซ้อน หากมีเครือข่ายภาคกลางตอนบนแล้ว อาจจะไมต่ ้องมี อว. ส่วนหน้าที่มาตามงานจังหวัดอีกทีหรือถ้าหากต้องมี ควรมีโครงสร้างทีช่ ัดเจน ยกตัวอย่าง ในการจัดกิจกรรมการประกวดไม่มีขั้นตอนที่ชดั เจนว่าควรจัดแบ่งจังหวัด แบบใด ทางมหาวิทยาลยั จึงเกดิ ความสบั สนวา่ พ้นื ท่ที ่ีทางมหาวิทยาลัยดำเนินโครงการในจงั หวดั นครนายกตอ้ งจัด ในภาคตะวันออกหรือในภาคกลาง ประกอบกับพืน้ ที่จังหวัดนครนายกค่อนไปในทางภาคตะวันออกจึงทำใหเ้ กดิ การสบั สนในขณะนัน้ 2) เมื่อทาง อว. ต้องการข้อมูลแต่ไม่ได้ให้วิธีการที่ชัดเจนมาตั้งแต่ต้นและทางมหาวิทยาลัย ดำเนินการไปแล้วนั้น เมื่อข้อมูลที่ส่งไปให้กับทาง อว. ไม่ครบถ้วนเป็นเหตุให้เกิดคำสั่งซ้ำคณะทำงานจึงต้อง ยอ้ นกลับไปเก็บขอ้ มูลในพืน้ ท่ีเดิม เชน่ กรณกี ารสำรวจขอ้ มูลรา้ นค้าเม่ือข้อมูลไม่ครบถ้วนทางมหาวิทยาลัยต้อง

177 ย้อนกลับไปเพ่ือเก็บข้อมูลร้านค้าเดิมอีกรอบ ซึ่งหากทาง อว. ได้ให้วิธีการที่ชัดเจนถึงข้อมูลที่อยากให้ทาง มหาวทิ ยาลยั รวบรวมมาตั้งแตต่ ้นอาจช่วยลดการซำ้ ซอ้ นในการทำงานได้ การบรหิ ารจดั การงบประมาณ ในแง่ของการบริหารจัดการงบประมาณมกี ารประสานงานกับฝา่ ยที่ดูแลเร่อื งพัสดุของมหาวิทยาลัย ว่าส่วนใดที่เบิกจ่ายได้หรือส่วนใดที่เบิกจ่ายไม่ได้ โดยได้ประสานงานกันในทุกเดือนส่งผลให้โดยรวมแล้วไม่มี ปญั หาในเรื่องของการเบกิ จ่าย การบรหิ ารจดั การดา้ นการจา้ งงาน เบื้องตน้ นั้นทางทีมงานมีการวางแผนในการดำเนินกิจกรรมโดยการคัดเลอื กผู้เขา้ ร่วมโครงการตาม คุณสมบัติและเงือ่ นไขที่กำหนดไว้ ประกอบกับในพื้นท่ีตำบลนครนายกเป็นพืน้ ที่ชมุ ชนเมืองส่งผลให้มีผู้มาสมัคร เข้าร่วมโครงการเป็นจำนวนมากจึงไมม่ ปี ัญหาเร่ืองผู้เข้ารว่ มโครงการในพื้นท่ีไม่เพียงพอ ในดา้ นการบริหารคนนั้น เนื่องจากในแต่ละเดือนมีกิจกรรมที่แตกต่างกันออกไป อาจต้องพึ่งทกั ษะผู้เข้าร่วมโครงการท่ีมีทกั ษะเฉพาะเปน็ พิเศษ ส่งผลให้คา่ ตอบแทนของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการแตกตา่ งกนั ออกไป รปู ท่ี 8-1 กลยทุ ธก์ ารบริหารโครงการพืน้ ที่ตำบลนครนายก ปจั จยั หรอื เงอื่ นไขทีท่ ำใหพ้ ้นื ท่ีประสบความสำเรจ็ จากการดำเนินงานในพื้นที่ ตำบลนครนายก อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก ปัจจัยที่ส่งผลให้เกดิ ความสำเร็จมีองค์ประกอบหลกั ท่ีนำไปส่คู วามสำเร็จ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ได้แก่ 1) ทกั ษะและความมุง่ ม่ันตั้งใจในการ ทำงานอย่างต่อเนื่องของทีมงานทั้ง 20 คน 2) ประชาชนที่สมัครเข้ามาปฏิบัติงานมีภูมิลำเนาในพื้นท่ี และ 3) การมุง่ เน้นความต้องการของคนในชมุ ชนเปน็ หลกั 1) ทีมงานทั้ง 20 คน มีทักษะในการประสานงานและมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทำงานอย่าง ต่อเนื่องถือเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ส่งผลให้เกิดความสำเร็จ เนื่องจากในการดำเนินงานต้องใช้ทักษะ

178 ประสานงานทั้งกบั หนว่ ยงานราชการ หน่วยงานเอกชน รวมถงึ ประชาชนในพื้นที่ ทักษะในการประสานงานที่ดีทำ ให้การดำเนินการดำเนนิ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เป็นลำดับขั้นตอน ประกอบกับความมุง่ มั่นตั้งใจในการทำงาน อย่างต่อเนื่องถือเป็นองค์ประกอบสำคัญ เนื่องจากการทำงานเป็นไปในลักษณะของการเข้าไปสอบถามความ ต้องการของรา้ นคา้ ในทกุ สปั ดาห์ รวมถงึ มกี ารประชาสมั พนั ธผ์ า่ นทาง Facebook อยา่ งต่อเนื่อง ซึง่ ในขั้นตอนนี้ อาจกล่าวได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญในการดำเนินงาน เนื่องจากหากขาดความต่อเนื่องในการประชาสัมพันธ์ อาจ ส่งผลใหไ้ ม่มีคนเข้ามาติดตามเพ่ือให้ทางทีมงานไดเ้ ข้าไปนำเสนอสิง่ ที่มีในชุมชน ดังนั้น ทักษะและความม่งุ มั่น ตงั้ ใจในการทำงานอย่างตอ่ เนอ่ื งของทีมงานทั้ง 20 คน จึงสง่ ผลใหก้ ารดำเนินงานในพื้นท่ีประสบผลสำเรจ็ ด้วยดี 2) ประชาชนทีส่ มคั รเข้ามาปฏิบัตงิ านมีภูมิลำเนาในพ้ืนท่ี การดำเนนิ งานโดยการนำประชาชนที่มี ภมู ลิ ำเนาอยู่ในพนื้ ที่เขา้ มาปฏบิ ัติงานตง้ั แตก่ ารศกึ ษาความตอ้ งการของชมุ ชน ไปจนถึงการปฏิบตั ิงานตามแผนใน การดำเนินงาน ในฐานะประชาชนในพื้นที่ย่อมเข้าใจบริบทของชุมชนตนเองได้เป็นอย่างดี ดังนั้นในการเข้าไป ดำเนนิ โครงการในชมุ ชนเพอื่ ให้ตอบสนองความตอ้ งการของชุมชนได้อยา่ งเหมาะสมการไดแ้ นวร่วมในการทำงาน ทเี่ ป็นคนในพื้นท่ีถอื เปน็ อกี หนงึ่ องคป์ ระกอบสำคัญที่นำไปสู่ความสำเรจ็ ในการดำเนินโครงการ 3) มุ่งเน้นความต้องการของคนในชุมชนเป็นหลัก ในการดำเนินงานในพื้นที่มุ่งเน้นไปที่ความ ตอ้ งการของคนในชุมชนเปน็ สำคัญ วา่ ชมุ ชนกำลังประสบปญั หาในดา้ นใดมีความต้องการใหท้ างมหาวิทยาลัยเข้า ไปช่วยในด้านใด เมือ่ รบั ทราบปัญหาจึงนำไปส่กู ารแก้ไขปญั หาทต่ี รงกบั ความต้องการของคนในชุมชน

179 รปู ที่ 8-2 ยอ้ นรอยเสน้ ทางสคู่ วามสำเรจ็ พื้นท่ตี ำบลนครนายก

180 พนื้ ทต่ี ำบลสระแกว้ อำเภอเมอื ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี คณะทำงานโครงการ: รศ.ดร. บรรจง บญุ ชม มหาวทิ ยาลยั : สถาบนั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบัง บรบิ ทของชุมชนพื้นที่ตำบลสระแกว้ สุขาภิบาลท่าเสด็จได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2511 และได้ยกฐานะขึ้นเป็น ตำบลท่า เสด็จ เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2542 ตั้งอยู่ในตำบลสระแก้ว (ทั้งตำบล) อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ ดา้ นทศิ ตะวนั ตกของจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ระยะทางห่างจากจังหวดั สุพรรณบรุ ี ประมาณ 15 กิโลเมตร มหี มู่บ้านใน เขตเทศบาลจำนวน 9 หมู่บา้ น มีพนื้ ที่ 45 ตารางกโิ ลเมตร พน้ื ที่ในตำบลสระแก้ว “มลี กั ษณะเป็นชุมชนชนบท” สภาพดินดีและมีน้ำอุดมสมบูรณ์เหมาะสำหรับการทำเกษตรกรรม และการเลี้ยงสัตว์ มีลำคลองท่าว้า คลอง ชลประทาน และคลองสาธารณะประโยชนไ์ หลผา่ น สง่ ผลให้สามารถทำการเพาะปลูกพืชไดต้ ลอดทงั้ ปี ผลิตผลท่ี สำคัญ ไดแ้ ก่ ขา้ ว มะม่วง ออ้ ย โดยประชาชนในพ้นื ท่ีส่วนใหญ่ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ไดแ้ ก่ ทำนา ทำไร่ เลี้ยงสัตว์ และประกอบอาชีพค้าขายเป็นบางส่วน มิติด้านประชากร พบว่า ตำบลสระแก้ว มีประชากรทั้งสิ้น จำนวน 14,195 คน จำแนกได้เป็นชาย 6,901 คน และประชากรหญิง 7,294 คน (บรรจง บุญชม, 2564) มี อาณาเขตติดต่อ ได้แก่ ทิศเหนอื ติดตอ่ กับ องค์การบริหารส่วนตำบลสนามคลี ทิศใต้ ติดตอ่ กบั องคก์ ารบริหาร ส่วนตำบลศาลาขาว องค์การบริหารสว่ นตำบลบางกุ้ง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้าน โพธ์ิ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลดอนโพธ์ิทอง และทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ องค์การบริหารสว่ นตำบลพลับพลาไชย (เทศบาลตำบลท่าเสดจ็ , 2564) ดังน้ี รปู ที่ 9-1 ขอบเขตการปกครองตำบลในอำเภอเมอื งสพุ รรณบุรี ทม่ี า: กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง (2564)

181 จุดเด่น ศักยภาพ ความเข้มแข็งของชุมชน พื้นที่ตำบลสระแก้วมีลักษณะพื้นที่เป็นชุมชนชนบท ประกอบกบั มีคลองชลประทานและคลองสาธารณะประโยชนไ์ หลผ่าน สง่ ผลใหส้ ามารถทำการเพาะปลกู ได้ตลอด ทัง้ ปี ประชาชนในพ้นื ที่สว่ นใหญ่ จึงประกอบอาชพี ด้านการเกษตร เล้ียงสัตว์ เพาะปลกู พชื และสมุนไพรเปน็ อาชีพ หลกั นบั ว่าพืน้ ทต่ี ำบลสระแก้วเปน็ พืน้ ท่ที ่ีมีทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ ข้อจำกดั หรือปัญหาของชุมชน ในการจา้ งงานบัณฑติ จบใหมใ่ นพนื้ ที่ตำบลสระแก้วมจี ำนวนบัณฑิต จบใหม่ไมค่ รบตามความต้องการ จึงตอ้ งนำบณั ฑิตจากพ้นื ทอ่ี นื่ เขา้ มาสมทบ ดา้ นความเข้มแข็งของผนู้ ำชุมชน ภาคขี องชมุ ชน และประสบการณ์การทำงานของอาจารย์เจ้าของ พน้ื ทีก่ ับชุมชนก่อนทำโครงการ U2T กอ่ นการดำเนนิ โครงการทางคณะทำงานได้เรม่ิ ทำความรจู้ ักกบั ประชาชนใน พน้ื ทโ่ี ดยเร่มิ ตน้ จากการชี้แจงรายละเอียดของโครงการรวมถึงสอบถามความตอ้ งการของผูน้ ำชมุ ชน นักการเมือง ในพ้ืนที่ และประชาชนในพ้ืนทตี่ ำบลสระแกว้ เพอ่ื ใหก้ ารเข้าถึงพ้ืนทีเ่ ป็นไปไดอ้ ย่างราบรื่น ซ่งึ จากการเข้าพบและ ชี้แจงละเอยี ดของโครงการ พบว่า ผู้นำชุมชน นักการเมืองในพืน้ ที่ และประชาชนได้ให้ความสนใจในโครงการ และมีความยนิ ดใี หค้ วามรว่ มมอื เป็นอยา่ งดี การดำเนนิ กิจกรรมของพนื้ ที่ชุมชนต้นแบบ ในลำดับแรกทางคณะทำงานโครงการไดล้ งพ้ืนท่ีเพ่อื ศกึ ษาความตอ้ งการของชุมชน โดยร่วมพูดคุย กับทางผู้นำชุมชน นักการเมืองในพื้นที่ และประชาชนในพื้นที่ จากการลงพื้นที่ พบว่า พื้นที่ตำบลสระแก้ว อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุพรรณบุรี ประกอบอาชพี ดา้ นการเกษตร เลยี้ งสัตว์ เพาะปลูกพชื และสมุนไพรเป็นอาชีพหลัก ประกอบกับมีคลองชลประทานและคลองสาธารณะประโยชน์ไหลผ่านจึงสามารถทำการเพาะปลูกได้ตลอดทั้งปี เมื่อศึกษาความต้องการของชุมชนเรียบร้อยแล้วจึงได้ข้อสรุปร่วมกนั และนำมาสู่การดำเนินกิจกรรมที่สอดรับกบั ความต้องการของชุมชน คือ การผลิตวัสดุปลูก สารปรับปรุงดิน ปุ๋ย และเกลือแร่แคลเซียมอาหารสัตว์จาก ทรพั ยากรในชมุ ชน และพัฒนาตอ่ ยอดจากสง่ิ ท่ีชุมชนมีอยูม่ าแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตรเพื่อเพ่ิมมูลค่าวัตถุดิบ ให้เปน็ ผลติ ภัณฑ์ เปน็ การใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยู่ในชมุ ชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดตั้งแตข่ ั้นตอนการผลิตการบริโภค และนำกลับมาใช้เป็นวัตถุดิบ โดยนำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาใช้ ( Circular Economy) เป็นการนำ ทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ในชุมชนสร้างรายไดอ้ ย่างรู้คุณค่าและพง่ึ พาตนเองไดอ้ ย่างยัง่ ยืน กิจกรรมที่ 1 การผลิตวัสดุปลูกปลูก สารปรับปรุงดิน ปุ๋ย และเกลือแร่แคลเซยี มอาหารสัตว์จาก ทรัพยากรในชมุ ชน ในลำดับแรกทางคณะทำงานโครงการ ได้เข้าไปมีส่วนช่วยในการเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชนใน การลดต้นทุนค่าปุ๋ย ค่ายาฆ่าแมลง การทำปุ๋ยชีวภาพ โดยการถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆ ในการผลิตสาร ปรับปรุงดิน วัสดุปลูก ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ จากนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง ซึง่ วตั ถุดบิ ทนี่ ำมาใชใ้ นการผลติ ป๋ยุ สูตรต่าง ๆ น้นั มาจากขยะเหลอื ทง้ิ จากภาคการเกษตรในตำบลสระแก้ว การ นำวัตถุดิบอย่างดีที่มีอยู่แล้วในชุมชนมาใช้ช่วยให้ผู้ผลิตต้นน้ำลดต้นทุนและสามารถพึ่งพาตัวเองได้ โดยมี รายละเอยี ด (บรรจง บญุ ชม, 2564) ดังนี้ 1) นำวัสดุเหลือใช้จากภาคการเกษตรที่มีอยู่ในชุมชน เช่น ส่วนเหลือทิ้งต่าง ๆ จากพืช ได้แก่ เปลือกไม้ หรอื จากอาหาร เชน่ เศษอาหาร เปลอื กหอย มาผลติ วสั ดุปลกู สารปรับปรงุ ดนิ และปยุ๋ 2) ทำการผลิตวสั ดปุ ลูกหรือวสั ดุเพาะและสารปรบั ปรุงดิน

182 3) ทำการผลติ ปุ๋ยน้ำ 5 สูตร ไดแ้ ก่ (1) ปยุ๋ นำ้ สูตรเสริมสร้างการเจริญเติบโต แข็งแรง ต้านทาน โรค (2) ปยุ๋ น้ำ สูตรกระต้นุ ดอก (3) ปุ๋ยนำ้ สตู รเสรมิ สร้างโครงสรา้ งและความแขง็ แรงของผลไม้และพืชต่าง ๆ (4) ปยุ๋ น้ำ สตู รบำรงุ ใบเขียวสดและต้นแข็ง บอบซำ้ ยาก ยดื อายหุ ลังการเก็บเกีย่ ว และ (5) ปุย๋ นำ้ สูตรสารอินทรีย์ รักษาโรค 4) ทำการผลติ เกลอื แรแ่ คลเซียมอาหารสตั ว์ 2 ชนิด คือ ไดแคลเซยี มฟอสเฟต (พี 18) และ โมโน แคลเซียมฟอสเฟส (พี 21) จากวสั ดุเปลอื กหอย/เปลอื กไข่ กจิ กรรมท่ี 2 การนำผลผลติ ที่มนี ำชุมชนมาแปรรูปเพอื่ เพ่ิมมูลค่า เมื่อผู้ผลิตต้นน้ำลดต้นทุนและสามารถพึ่งพาตัวเองได้แล้ว ในลำดับต่อมาจึงได้นำผลผลิตที่มีใน ชุมชนมาแปรรูปเพ่ือเพิม่ มลู ค่า เช่น การนำแป้งขา้ วไรซ์เบอรี่ แป้งข้าวหอมมะลิ และแป้งข้าวโพดที่ผลิตเอง มา แปรรูปเป็นคุกกีธ้ ัญพืช และการนำพริกซึ่งเปน็ สมุนไพรที่มีอยูใ่ นชุมชนมาเป็นส่วนประกอบในการผลิตน้ำพริก 3 สูตร โดยทางคณะทำงานได้จัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการตลาดทั้งการตลาดแบบ Online และการตลาดแบบ Onsite รวมถงึ ให้ความร้ใู นเร่อื งของความชนื้ การเก็บรกั ษาไม่ให้เกิดเชื้อรา และการเพิ่มคณุ ค่าทางโภชนาการโดย ใส่ Tricalcium Phosphate ในแป้งทีน่ ำมาทำคุกก้ีธัญพืช เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์มีคณุ ค่าทางโภชนาการเพ่ิมขึ้นรวมถึง เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ในส่วนของการผลิตน้ำพริก 3 สูตรนั้น ทางคณะทำงานได้มีถ่ายทอดองค์ ความรู้ในเรอ่ื งของการผลิตสมนุ ไพรอยา่ งปลอดภยั ไร้สารเคมตี ้งั แตก่ ระบวนการเตรียมดินในการเพาะปลกู เม่ือได้ ผลผลติ จึงไปสูก่ ระบวนการนำผลผลิตที่ได้มาแปรรูปเพอ่ื เพ่มิ มูลค่า โดยผลิตภณั ฑท์ ไ่ี ด้จากการนำวัตถุดิบมาแปร รูปเพื่อเพิ่มมูลค่า ได้แก่ คุกกี้ธัญพชื และน้ำพริก 3 สูตร ได้แก่ น้ำพริกหนังไก่ น้ำพริกปลากรอบ และน้ำพรกิ กากหมู “สูตรน้ำพริกภาคประชาชนที่เราจ้างมาเขาไปทดสอบรสชาติของเขาเอง ในอนาคตอาจทำระบบ สต๊อกสินค้าเพราะว่าน้ำพรกิ สูตรที่ทำขึน้ มาตอนนี้ขายดจี นแทบจะผลิตไมท่ ัน” คณะทำงานโครงการ U2T (สมั ภาษณ,์ 27 ธนั วาคม 2565)

183 รปู ท่ี 9-2 น้ำพรกิ 3 รส ทีม่ า: บรรจง บุญชม (2564) รปู ที่ 9-3 คุกก้ธี ญั พชื ทม่ี า: บรรจง บุญชม (2564) ผลสำเรจ็ ทเี่ กดิ ข้ึนจากโครงการ 1) ผลผลิตของโครงการ (1) กิจกรรมการผลิตวัสดุปลูก สารปรับปรุงดิน ปุ๋ย และเกลือแร่แคลเซียมอาหารสัตว์จาก ทรัพยากรในชุมชน ได้ผลผลิตตามความคาดหวังของโครงการ ได้แก่ (1) วัสดุปลูกหรือ วัสดุเพาะ และสารปรับปรุงดิน จำนวนอย่างละ 100 ตัน (2) ปุ๋ยน้ำ 5 สูตรๆ ละ 1,000 ลิตร (3) เกลือแร่แคลเซียมอาหารสัตว์ จำนวน 30 ตัน เพื่อจำหน่าย และ (4) ปริมาณ ของเหลือในชมุ ชนถูกนำมาผลติ ไม่ต่ำกวา่ 100 ตนั /ปี ผลผลิตท่ีได้นนั้ มาจากขยะเหลือทิ้ง จากภาคการเกษตรในตำบลสระแก้ว ทำให้เกษตรกรในพ้ืนท่ลี งทนุ นอ้ ยลงและได้ผลผลิตท่ี มคี ุณภาพเปน็ การสรา้ งเกษตรกรให้มีความรู้ในการจดั การพชื อยา่ งเหมาะสม (2) กจิ กรรมการนำผลผลติ ทม่ี ีนำชมุ ชนมาแปรรูปเพ่อื เพิม่ มลู ค่า โดยใชผ้ ลผลิตทางการเกษตร ท่มี อี ย่ใู นชมุ ชน ทางคณะทำงานเข้าไปส่งเสริมและให้ความรู้ในเรื่อง ในการผลิตต้ังแต่ใน ขั้นตอนการเตรียมดิน และการทำปุ๋ย รวมการทำการตลาดแบบ Online และการตลาด แบบ Onsite เมื่อได้ผลผลิตที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคแล้ว จากนั้นจึงนำวัตถุดิบที่

184 ได้มาแปรรปู เพื่อเพ่มิ มลู คา่ ใหก้ ับสนิ คา้ เป็นการต่อยอดจากผลผลติ ทางการเกษตรท่ีชุมชน มีเพิ่มรายไดห้ มุนเวียนใหแ้ กช่ ุมชน 2) ผลการเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดข้ึนกบั กลมุ่ เป้าหมาย (1) การส่งเสริมใหเ้ กษตรกรนำขยะเหลอื ท้งิ จากภาคการเกษตรมาผลติ เป็นปยุ๋ สตู รตา่ ง ๆ ช่วย ให้เกษตรกรลดต้นทุนในการผลติ และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพเม่ือเกษตรกรมีองค์ความร้ใู น การจดั การพชื อย่างเหมาะสม ในอนาคตเกษตรกรสามารถพึง่ พาตนเองไดใ้ นระยะยาว (2) นำทรพั ยากรท่ีมีอยู่ในชมุ ชนสร้างรายไดอ้ ยา่ งรคู้ ุณค่าและพึ่งพาตนเองไดอ้ ย่างยั่งยนื (3) วางแผนร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เรื่องการจัดตั้งร้านค้าในอนาคตเพื่อขายสินค้าของ โครงการ U2T การบรหิ ารจัดการโครงการ การบริหารงานได้รับการสนับสนุนจากทางส่วนกลางของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง ตั้งแต่ขั้นตอนของการรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ การรับข่าวสาร และกระจายข่าวสารไปยงั คณะทำงานโครงการ ส่วนการบรหิ ารงานร่วมกับตำบล ทางคณะทำงานโครงการเป็นผู้ประสานความร่วมมือกบั หนว่ ยงานในพ้นื ท่ีก่อนนำไปสู่ขน้ั ตอนการถ่ายทอดองค์ความรสู้ ชู่ ุมชม รปู แบบการประสานงาน 1) การประสานงานระหวา่ งชมุ ชนและภาคอี นื่ ๆ การประสานงานระหว่างมหาวิทยาลยั กับชุมชนหรือภาคีอื่น อาทิ ผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วน ตำบล นักการเมืองในพื้นที่ คณะทำงานเป็นผู้ประสานงานโดยตรงตั้งแต่ขั้นตอนการศึกษาความต้องการของ ชุมชน เพื่อเสริมความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกันให้การดำเนินโครงการเป็นไปอย่างราบร่ืน จากนั้นจึงเข้าไป ดำเนนิ กจิ กรรมในพืน้ ที่ 2) การประสานงานระหวา่ งมหาวิทยาลยั เครอื ขา่ ยภมู ภิ าค และ อว.สว่ นหนา้ มหาวิทยาลัยต้นสังกัดเป็นผู้รับสารจาก อว. แล้วนำข้อมูลทีไ่ ด้รับมากระจายต่อไปยงั คณะทำงาน โครงการในพ้นื ท่ี ปัญหาอุปสรรคและข้อจำกดั ของการบริหารโครงการ 1) ในส่วนของการประสานงานระหว่างมหาวิทยาลัย เครือข่ายภูมิภาค และ อว. ส่วนหน้า มี ขอ้ เสนอแนะว่าควรต้งั คณะทำงานขนึ้ มาเพอ่ื ลดความซ้ำซอ้ นในการประสานงาน 2) การแจ้งข้อมูลข่าวสารมายงั คณะทำงานโครงการมีความล่าช้า การบริหารจดั การด้านการจา้ งงาน ในช่วงแรกของการดำเนินโครงการประสบปัญหาในเรื่องของจำนวนบัณฑิตที่จบใหม่ไม่ครบตาม จำนวน ทางคณะทำงานโครงการจงึ แก้ไขปัญหาโดยการหาบัณฑติ จบใหม่จากพน้ื ที่อื่นเขา้ มาปฏิบตั งิ านเพื่อให้การ ดำเนนิ โครงการเป็นไปอย่างราบรน่ื สำหรับข้อเสนอแนะต่อการจ้างงานท่ีจะนำไปสู่ความยั่งยืนของพื้นท่ี เพื่อให้การจ้างงานเกิดความ ยั่งยืนในส่วนของผู้ปฏิบัติงานไม่ควรจำกัดคุณสมบัติว่าต้องเป็นบัณฑิตจบใหม่ที่เรียนจบมาแล้วไม่เกิน 5 ปี

185 เนอ่ื งจากบางตำบลบัณฑิตท่ีจบใหม่ไมเ่ กนิ 5 ปี มจี ำนวนไม่ครบตามทีก่ ำหนดไวเ้ ป็นเหตุให้ต้องหาบณั ฑิตจบใหม่ จากพืน้ ท่อี ื่นเขา้ มาปฏิบัติงาน รวมถึงเสนอให้มีการผลักดนั กลุ่มธรุ กจิ เพื่อต่อยอดในการเป็นนักธรุ กจิ ในอนาคต รปู ท่ี 9-1 กลยุทธก์ ารบริหารโครงการพน้ื ทต่ี ำบลสระแก้ว ปัจจยั หรือเงื่อนไขท่ที ำใหพ้ ้ืนทปี่ ระสบความสำเร็จ จากการดำเนินงานในพื้นที่ ตำบลสระแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิด ความสำเรจ็ มีองคป์ ระกอบหลกั ทน่ี ำไปสคู่ วามสำเร็จ 3 ประการ ได้แก่ 1) ผูป้ ฏิบตั ิงาน 20 คน 2) บริบทชุมชน และ 3) มหาวทิ ยาลยั 1) ผูป้ ฏบิ ตั งิ านทั้ง 20 คน มีรับผดิ ชอบตอ่ งานของตนเองสูง เสยี สละ ม่งุ มน่ั รวมถึงมีความตั้งใจ ในการพฒั นาพืน้ ท่ี 2) บริบทชุมชน เนอ่ื งจากบริบทของพ้นื ทใ่ี นตำบลสระแกว้ เป็นพน้ื ทที่ ีม่ ีทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์ ผลผลิตทางการเกษตรรวมถึงทรัพยากรทีม่ ีอยู่ในชุมชนเหลา่ นี้นำมาสู่การพัฒนาต่อยอดจากสิ่งที่ ชุมชนมโี ดยการใชท้ รัพยากรทีม่ ีอยใู่ นชุมชนอยา่ งคุม้ ค่าทส่ี ดุ ในทุกกระบวนการ 3) มหาวิทยาลัย เปรียบเสมอื นเคร่อื งมือท่ีเขา้ ไปช่วยสนับสนุนและต่อยอดจากสิ่งที่ชุมชนมีอยู่โดย การถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆ จากนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เช่น การผลิตสารปรับปรุงดิน วัสดุปลูก ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ ไปจนถึงวัตถุดิบที่มีอยู่ในพื้นที่นำมาแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตรเพ่อื เพ่ิมมูลคา่ วัตถุดิบใหเ้ ป็นผลิตภัณฑ์

186 รปู ที่ 9-2 ยอ้ นรอยเสน้ ทางสคู่ วามสำเรจ็ พื้นท่ตี ำบลสระแกว้

187 ภาคผนวกที่ 2 USI template

188


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook