Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร่างรายงาน u2t แก้ไขครั้งที่1 Final Report_30012022

ร่างรายงาน u2t แก้ไขครั้งที่1 Final Report_30012022

Published by Amgift orp, 2022-02-01 10:45:38

Description: ร่างรายงาน u2t แก้ไขครั้งที่1 Final Report_30012022

Search

Read the Text Version

(รา่ ง) รายงานฉบับสมบูรณ์การตดิ ตามและประเมนิ ผล โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสังคมรายตาบลแบบบูรณาการ (มหาวทิ ยาลัยสู่ตาบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ : U2T) โดย เครอื ขา่ ยเพ่ือการพัฒนาอดุ มศึกษาภาคกลางตอนบน มกราคม 2565 กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (อว.)

i บทสรปุ ผู้บรหิ าร การดำเนินงานของโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวทิ ยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ : U2T) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ นวัตกรรม (อว.) มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกของเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน ร่วม ดำเนินงานโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 16 มหาวิทยาลัย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั จันทรเกษม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วัน สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ และสถาบนั วิทยาลยั ชุมชน (20 แห่ง) ซึ่งได้ดำเนินโครงการในพ้ืนท่ีตำบลที่กระจายอยู่ 44 จังหวัดทั่วประเทศจำนวน 483 ตำบล โดยเมื่อเปรยี บเทียบ ศกั ยภาพของตำบลก่อนเริ่มโครงการ และเมื่อสิน้ สุดการดำเนนิ โครงการฯ พบวา่ ศกั ยภาพของตำบลได้พัฒนาข้ึน โดยมีภาพรวมดังน้ี • ตำบลที่มงุ่ สูค่ วามยง่ั ยืน จากก่อนเร่มิ โครงการ 51 ตำบล เป็น 286 ตำบล เมื่อสน้ิ สดุ โครงการ • ตำบลทมี่ ุง่ สคู่ วามพอเพยี ง จากกอ่ นเร่ิมโครงการ 173 ตำบล เป็น 141 ตำบล เมือ่ สนิ้ สดุ โครงการ • ตำบลท่ีอยูร่ อด จากก่อนเรม่ิ โครงการ 139 ตำบล เป็น 47 ตำบล เมื่อสิน้ สุดโครงการ • ตำบลท่ไี มส่ ามารถอยู่รอด จากก่อนเริม่ โครงการ 120 ตำบล เปน็ 9 ตำบล เมือ่ สิ้นสุดโครงการ (ขอ้ มลู จาก PBM ณ วันท่ี 27 มกราคม 2565) ผลจากการถอดบทเรียนตำบล 10 ตำบล พบว่าปัจจัยแห่งความสำเร็จในการขับเคลื่อนโครงการ U2T ประกอบไปดว้ ย 2 สว่ น คอื ส่วนท่หี นงึ่ ปจั จัยนำเขา้ ซง่ึ ไดแ้ ก่ 1) ความไวเ้ นอ้ื เชื่อใจ การเข้าใจบริบทพื้นท่ีอย่าง ลึกซึ้ง และการเข้าถงึ ผู้นำชุมชน 2) ระบบการทำงานที่มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 3) ระบบการคัดเลือกและ บริหารทีมงาน 4) ระบบการสนบั สนุนของมหาวทิ ยาลยั 5) ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ และ ทุนความรู้จากคณะทำงาน U2T และภาคีเครอื ข่าย 6) ภาพผลสำเร็จของการดำเนินโครงการอย่างเป็นรูปธรรม และแนวทางการขบั เคล่ือนท่ีเสริมความยั่งยนื ในแก่พื้นที่ และ ส่วนท่ีสอง กลยุทธก์ ารดำเนนิ การ ซึ่งประกอบด้วย 1) การวิเคราะหใ์ หเ้ ห็น pain point ของพ้นื ท่ี 2) การประสานงานเชิงรุกกบั ทกุ ภาคส่วนในพนื้ ที่ 3) การพูดคุยใน รูปแบบที่ไม่เป็นทางการและมีความใกล้ชิด 4) การทำงานที่ใช้การมีส่วนร่วมนำ 5) การพูดคุยติ ดตาม ความก้าวหน้าอย่างใกล้ชิด 6) การเชื่อมโยงกิจกรรมของโครงการ เข้าสู่พันธกิจของหน่วยงานในพื้นที่ 7) การ พฒั นารายวิชา หรอื หลกั สตู รท่ีจะเขา้ มาดำเนินงานในพ้นื ที่ การใช้จ่ายงบประมาณของมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่เป็นไปตามที่จัดสรรไว้ มหาวิทยาลัย 12 แห่งใช้ งบประมาณ มากกว่า 70% ที่ได้รับจัดสรร มีมหาวิทยาลัย 2 แห่งที่ใช้งบประมาณ 42% และ 58% ทั้งนี้มี มหาวิทยาลัย 1 แห่งที่ใช้งบประมาณเกินเป็น 122% และมหาวิทยาลัย 1 แห่ง ที่ใช้งบประมาณน้อยเพียง 23% คิดเป็นงบประมาณรวมทั้งสิ้น 1,300 ล้านบาท จากข้อมูลผลการดำเนินงานในระบบ PBM จะเห็นได้ว่ามี มหาวิทยาลัย 6 แห่งสามารถดำเนินงานได้มากกวา่ 90% มหาวิทยาลัย 6 แห่งดำเนินงานได้อยูใ่ นชว่ ง 31-66% ทั้งนี้มีมหาวิทยาลัย 1 แห่งที่ดำเนินงานได้เกินเป็น 101% อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่ามี 3 มหาวิทยาลัยที่ไม่

ii สามารถดำเนินโครงการได้ตามแผนงานตามที่ปรากฏในระบบ โดยดำเนินงานได้เพียง 14% 9% และ 0.4% ซ่ึง อาจเกิดจากอปุ สรรคจากการดำเนนิ โครงการจริงในพ้ืนท่ี หรอื อาจจะเกดิ จากการทม่ี หาวทิ ยาลยั ยงั ไม่ได้ลงข้อมูล ในระบบ PBM อยา่ งครบถว้ น ทำใหก้ ารคำนวณรอ้ ยละความสำเร็จอาจไมต่ รงกับการดำเนินโครงการจรงิ ท้ังน้ีมี ข้อเสนอแนะ ในด้านการปรับเพิ่มให้มีการจัดซื้อจัดซื้อครุภณั ฑ์ วัสดุ พัสดุ ได้อย่างคล่องตัวมากขึน้ เพื่อให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุดต่อการเสริมสร้างการปฏิบัติงานในโครงการและส่งผลให้ชุมชนสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน ภายหลังจากท่ีโครงการได้สิ้นสุดการทำงานในชุมชนแล้ว การจ้างงานภายใต้โครงการ U2T ของเครือข่ายฯ ภาคกลางตอนบน มีจำนวนทั้งสิ้น 9,339 คน ซึ่งคิด เป็น 95.64% ของจำนวนที่คาดการณ์ไว้ ซึ่งประกอบไปด้วยการจา้ งงานบัณฑิต 4,656 คน นักศึกษา 2,218 คน และประชาชน 2,365 คน โดยสามารถสรา้ งองคค์ วามรูเ้ พ่ือพฒั นาศกั ยภาพของประชากรในพืน้ ท่ใี หค้ ณุ ภาพชีวติ ท่ี ดีขึ้น จากการศึกษาบริบทของชุมชนในพื้นที่ หรือเอกลักษณ์ในตำบล รวมไปถึงการนำความรู้จากทาง มหาวิทยาลัยแตล่ ะแห่งมาปรับใช้กับพ้ืนท่ีให้เกิดการพฒั นานำไปสู่การสร้างอาชีพ สร้างรายได้ของชุมชน โดยมี ข้อเสนอแนะต่อการจ้างงานที่จะนำไปสู่ความยั่งยืนของพื้นที่ คือ การสร้างความต่อเนื่องให้เกิดการจ้างงานใน ระยะตอ่ ไป เพื่อเพิ่มระยะเวลาในการบ่มเพาะคนในพน้ื ท่ี โดย เนน้ การจ้างงานคนในพ้ืนทีห่ รอื คนท่ีมีความเข้าใจ รูจ้ ักบรบิ ทของชมุ ชนเป็นอย่างดี และขยายเกณฑ์บัณฑติ จบใหม่ท่จี บมาแล้วไม่เกนิ 5 ปี เพื่อให้คนในกลุ่มนี้ได้มี สว่ นร่วมในการพัฒนาชมุ ชนบ้านเกิดดว้ ย การดำเนินงานโครงการ U2T นี้ ยังสามารถสร้างผลกระทบต่อภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ในการ พฒั นาหลกั สูตรในรปู แบบตา่ ง ๆ มากกว่า 300 หลักสูตร เช่น การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน จำนวน 30 หลกั สตู ร หลกั สูตรฝึกอบรมระยะส้ัน จำนวน 267 หลักสตู ร หลักสตู รการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต จำนวน 13 หลกั สูตร เป็นตน้ อนงึ่ เน่อื งจากเป็นการปฏิบัตงิ านในลักษณะบรู ณาการเปน็ ปแี รก จงึ อาจยังไม่สามารถพฒั นาหลกั สตู รใหม่ ไดท้ นั แต่คาดวา่ ในปีถดั ไปมหาวิทยาลยั จะสามารถพฒั นาหลักสูตรทเี่ กิดจากการถอดบทเรียนการทำงานได้ สำหรบั การเชื่อมโยงผลการดำเนนิ งานระดับเครือข่ายกับผลการดำเนนิ งานเชงิ พ้ืนที่กับหน่วยปฏิบัติการ อว. ส่วนหน้านั้น ควรเน้นบทบาทสร้างการรับรู้และความเข้าใจต่อโครงการให้แก่หน่วยงานราชการในจังหวัดท่ี เกี่ยวข้อง เช่น พัฒนาจังหวัด เกษตรจังหวัด เน้นบทบาทเป็นจุดประสานงานหลัก ในระดับพื้นที่จังหวัดกับ มหาวทิ ยาลยั เพื่อเปน็ กลไกเชื่อมประสานการส่อื สารแบบสองทาง และเนน้ บทบาทผรู้ วบรวมและสงั เคราะห์ข้อมูล ทัง้ ระบบของโครงการ โดยเฉพาะประเด็นการรายงานผลการดำเนินงานในระดับจงั หวัดเพือ่ ใหเ้ กิดการบูรณาการ ขอ้ มูลเพอ่ื การตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของจังหวัด การดำเนินงานโครงการเศรษฐกจิ ฐานรากของเครือข่ายภูมิภาคเพ่ือการเชอ่ื มโยงหนว่ ยงานในพื้นท่ีระดับ กลุ่มจังหวัดนั้น เครือข่ายภูมิภาค ควรเน้นบทบาทเป็นจุดประสานงานหลัก เพื่อเป็นกลไกเชื่อมประสานการ สื่อสารแบบสองทาง ในระดับ สป.อว. กับมหาวิทยาลัย และปรับปรุงช่องทางการสื่อสารเดิมให้มีประสิทธิภาพ มากข้ึน มีบทบาทในการให้ความช่วยเหลอื และเปน็ พี่เลยี้ งใหแ้ ก่มหาวิทยาลัยในการรับมอื กับปัญหาเฉพาะหน้าที่ เกิดขึ้นจากโครงการ โดยที่ สป.อว. ควรกำหนดโครงสรา้ งบทบาทของเครอื ขา่ ยภูมิภาค และ อว. ส่วนหน้า ให้ ชดั เจน ปรับรปู แบบข้อส่ังการให้มีความชัดเจนและแนวปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นรูปธรรม ปรับรปู แบบการเก็บขอ้ มลู Big Data โดยคำนงึ การเปล่ียนแปลงข้อมลู ตามระยะเวลา ซงึ่ มีผลตอ่ การกำหนดความถ่ีในการเก็บข้อมูล รวมถึงประเดน็ ข้อ

iii คำถามที่มีความอ่อนไหวในเชิงข้อมูลส่วนบุคคล ที่มีประเด็นเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัวและผลกระทบที่ อาจจะเกดิ ข้นึ ตามมา ในภาพรวมของการบริหารจัดการเครือข่ายฯ ภาคกลางตอนบน พบจุดเด่นของโครงการฯ คือ สร้างคนให้รักถ่ินซึ่งตรงกบั คำว่า “สร้างรากแก้วให้ประเทศ” เป็นการคืนบณั ฑิตคืนคนสู่พื้นที่อย่างแท้จริง สร้าง ความผูกพันต่อพื้นท่ีและบุคคลสร้างความเข้มแข็งชุมชน เกิดการจ้างงาน สร้างโอกาสใหม้ หาวิทยาลยั ได้เข้าถงึ การทำงานในระดับพื้นที่ และมีบทบาทในการบริการวิชาการอย่างเต็มรูปแบบมากข้ึ น เกิดฐานข้อมูล Community Big Data (CBD) เพื่อประกอบการตัดสินใจและการทำงานในเชิงรุกต่อไป ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะตอ่ แนวทางการดำเนนิ งาน U2T ระยะต่อไป คือ ขับเคลื่อนการทำ Community Big Data อย่างต่อเนื่อง และเพิม่ จดุ เนน้ ไปทค่ี ณุ ภาพของข้อมูล ปรบั รปู แบบการลงทำงานในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย ปรับประเด็นการเก็บข้อมูลใน พื้นที่ ปรับรูปแบบของการบริหารโครงการและเพิ่มการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในส่วนของสื่อสารเพื่อ มอบหมายงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ และเพิม่ การประชาสมั พันธท์ ำความเขา้ ใจในโครงการ U2T แกห่ น่วยงาน ราชการท้องถิ่น เพื่อสร้างความเข้าใจถึงหลักการและเป้าหมายของโครงการ ที่มีจุดเน้นในการเข้ามาช่วยหนุน เสริมการทำงานของราชการส่วนท้องถิ่นในฐานะภาคีในการทำงานบูรณาการเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ร่วมกนั

iv ขอ้ มลู จาก PBM (วันท่ี 27 มกราคม 2565)

v

vi

vii สารบัญ บทท่ี 1 บทนำ......................................................................................................................................... 1 กรอบแนวคดิ ของโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการ......................................... 1 การบรหิ ารจดั การโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการ ........................................ 3 บทบาทและขอบเขตการดำเนินงานของเครอื ขา่ ยเพอ่ื การพฒั นาอดุ มศกึ ษาดา้ นการตดิ ตามประเมนิ ผล ......... 4 บทที่ 2 ผลการดำเนินโครงการ ................................................................................................................. 7 ผลการดำเนนิ งานดา้ นการใชจ้ า่ ยงบประมาณ.......................................................................................... 7 ผลการดำเนนิ งานดา้ นผลกระทบตอ่ กลมุ่ เปา้ หมายและกจิ กรรมทดี่ ำเนนิ การ .............................................. 9 ผลการดำเนนิ งานดา้ นการสรา้ งและประยุกตอ์ งคค์ วามรู้ .........................................................................11 ผลการดำเนนิ งานดา้ นการจา้ งงาน........................................................................................................12 ผลการดำเนนิ งานดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพตำบล....................................................................................14 บทที่ 3 การถอดบทเรยี นความสำเรจ็ ........................................................................................................19 กระบวนการการถอดบทเรยี นความสำเรจ็ ..............................................................................................19 ผลการถอดบทเรยี นความสำเรจ็ ...........................................................................................................21 สว่ นท่ี 1 ปจั จยั นำเขา้ (Input)..............................................................................................................22 สว่ นท่ี 2 กลยทุ ธก์ ารดำเนินงาน (Implementation Strategies)..............................................................24 ตวั อยา่ งการถอดบทเรยี นในพนื้ ที่ทปี่ ระสบความสำเรจ็ ในการดำเนนิ งาน ...................................................27 บทท่ี 4 สรปุ ประเมนิ ผลการดำเนินงานในภาพรวม อภปิ ราย ปญั หาอปุ สรรคขอ้ เสนอแนะ..............................49 ภาคผนวก..............................................................................................................................................54 ภาคผนวกที่ 1 รายละเอยี ดการถอดบทเรยี น 9 ตำบล............................................................................54 ภาคผนวกที่ 2 USI template ............................................................................................................187 สารบญั รูปภาพ รปู ท่ี 1 โมเดลสคู่ วามสำเร็จของการขับเคลอ่ื นโครงการ U2T ในระดบั พื้นที่ดำเนนิ การ.......................................26 รปู ท่ี 2 ลักษณะสภาพพืน้ ท่จี ังหวัดตราด............................................................................................................27 รปู ท่ี 3 ลกั ษณะของพื้นท่ีอำเภอคลองใหญ่........................................................................................................28 รปู ที่ 4 สว่ นหน่ึงของพื้นท่ชี มุ ชนตำบลคลองใหญฝ่ งั่ ทะเลอ่าวไทย......................................................................28

viii รปู ที่ 5 การออกเรอื ทำประมงของชาวบ้านตำบลคลองใหญ่...............................................................................29 รปู ที่ 6 การทำอาชีพประมงของชาวบ้านตำบลคลองใหญ่..................................................................................29 รปู ที่ 7 ศาลเจ้าแม่ทับทมิ อำเภอคลองใหญ่........................................................................................................30 รปู ท่ี 8 ร้านขาย “ขนมปังปาเต” อาหารผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมอาหารฝรงั่ เศสและเวยี ดนาม ...................31 รปู ที่ 9 สว่ นหน่ึงของพื้นท่ีป่าชายเลนทคี่ งสภาพ ................................................................................................31 รปู ท่ี 10 กั้ง ปู หมึก และเคย ที่ไดจ้ ากการทำประมงในตำบลคลองใหญ่..........................................................32 รปู ที่ 11 ผลิตภณั ฑน์ ำ้ เคยไข่ ภายใตส้ ญั ลักษณ์ “ตาหนกึ ”................................................................................34 รปู ที่ 12 ผลิตภัณฑน์ ำ้ พรกิ กุ้ง ภายใต้สัญลกั ษณ์ “ทะเลคล่งั ”............................................................................35 รปู ที่ 13 ผลติ ภณั ฑน์ ำ้ พรกิ กง้ั ภายใต้สญั ลักษณ์ “ทะเลคลงั่ ”............................................................................35 รปู ท่ี 14 ผลติ ภณั ฑน์ ำ้ พรกิ เคย ภายใต้สัญลักษณ์ “ทะเลคลั่ง”..........................................................................35 รปู ที่ 15 เสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วในโปรแกรม “เทย่ี วกะ๊ กนิ in คลองใหญ่”.................................................................36 รปู ที่ 16 กิจกรรมสักการะศาลเจ้าแมท่ ับทมิ และชมการแสดงเชิดสิงโต.............................................................36 รปู ที่ 17 กจิ กรรมทำกำไลขอ้ มอื ปี่เซ่ยี ะ .............................................................................................................37 รปู ท่ี 18 ขนมเบ้อื งญวน (ซ้าย) และขนมบันจ๊ัง (ขวา) ท่ไี ด้รบั อทิ ธิจากชาวญวณหรอื เวียดนาม.........................37 รปู ที่ 19 “ขนมบอบแบบ” ขนมไทยโบราณหากินยาก มีในพน้ื ท่ภี าคตะวันออกของไทย สว่ นมากอย่ทู ่ี ระยอง จนั ทร์ และตราด...............................................................................................................................................37 รปู ที่ 20 “สลอมมาจูญวน” อาหารพน้ื บ้านของตำบลคลองใหญ่ท่ไี ด้รับอิทธพิ ลจากกมั พูชา ...............................38 รปู ที่ 21 “ลกลัก” ทำจากเนอื้ กวาง โดยได้รับอิทธพิ ลจากอาหารฝรง่ั เศส...........................................................38 รปู ท่ี 22 นำ้ พริกกุ้งแห้ง.....................................................................................................................................38 รปู ท่ี 23 กิจกรรมการทำผ้าพมิ พด์ ้วยใบไม้........................................................................................................39 รปู ที่ 24 การลงพ้ืนทีเ่ กบ็ ข้อมูลและจัดทำสือ่ ในโปรแกรมท่องเท่ยี ว “ตะลอนกนิ in คลองใหญ่”.........................39 รปู ที่ 25 ผลติ ภณั ฑน์ ำ้ พรกิ กุ้งแหง้ ภายใตส้ ญั ลกั ษณ์ “ใหญ่ลงเล”.....................................................................40 รปู ที่ 26 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารการพัฒนาศักยภาพดา้ นการเป็นผู้ประกอบการธุรกจิ ชุมชน ในการขายออนไลน์ และการขายออนไซตผ์ า่ นช่องทางการตลาดที่หลากหลาย ในชุมชนบา้ นตาหนึก (ซา้ ย) และชุมชนคลองจาก (ขวา) ................................................................................................................................................................41 รปู ท่ี 27 กลยทุ ธก์ ารบริหารโครงการพน้ื ท่ีตำบลคลองใหญ่ ................................................................................47 รปู ท่ี 28 ย้อนรอยเสน้ ทางสู่ความสำเร็จพ้นื ที่ตำบลคลองใหญ่............................................................................48 รปู ท่ี 29 ความสมั พันธ์ของหน่วยปฏบิ ตั กิ ารในการยกระดับตำบลตามโครงการ U2T..........................................52

ix สารบญั ตาราง ตารางที่ 1 ตวั ช้วี ัด 16 เปา้ หมาย........................................................................................................................2 ตารางท่ี 2 เปรียบเทียบการใชจ้ า่ ยงบและผลการดำเนินงาน ณ ส้นิ สุดโครงการ (เดือนธันวาคม) ........................8 ตารางที่ 3 กลุ่มประชากรเป้าหมายในพ้ืนทที่ ม่ี หาวิทยาลัยดำเนนิ โครงการ..........................................................9 ตารางท่ี 4 กจิ กรรมเพือ่ การพัฒนาศักยภาพตำบลทัง้ 4 ดา้ น............................................................................10 ตารางที่ 5 หลกั สตู ร แหล่งเรียนรแู้ ละศูนย์การเรียนที่เกดิ จากการดำเนนิ โครงการในพน้ื ท่ี .................................11 ตารางที่ 6 ข้อมลู ด้านองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรม และกระบวนการ/วิธี............................................12 ตารางท่ี 7 ข้อมูลการจา้ งงานของมหาวิทยาลยั 16 แห่ง (ณ เดือนธันวาคม).....................................................14 ตารางท่ี 8 เปรยี บเทยี บการพัฒนาศักยภาพตำบลของแตล่ ะมหาวิทยาลยั (ข้อมลู จาก: Template (PBM)) .......15 ตารางที่ 9 รายชื่อตำบลที่มีการพฒั นาศักยภาพแบบกา้ วกระโดด......................................................................16 ตารางที่ 10 รายชือ่ ตำบลที่ไมม่ กี ารเปล่ยี นแปลงศกั ยภาพจากตำบลท่ี “ไมส่ ามารถอยรู่ อด”..............................18

1 บทที่ 1 บทนา กรอบแนวคดิ ของโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตาบลแบบบรู ณาการ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี ใหด้ ำเนนิ โครงการยกระดับเศรษฐกจิ และสงั คมรายตำบลแบบบูรณาการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ โดยมมี หาวทิ ยาลัยในพื้นทเี่ ป็นหน่วยบรู ณาการโครงการ เกดิ การจา้ งงานนกั ศึกษา บณั ฑิตจบใหม่ และประชาชนท่วั ไปใหม้ งี านทำและร่วมพฒั นาพื้นที่ ฟ้นื ฟเู ศรษฐกิจชุมชน เกดิ การพัฒนาทกั ษะในการเสริมสร้าง อาชีพใหม่ในชุมชน และเพื่อให้เกิดการจัดทำข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) โดยมีการ กำหนดเป้าหมายและแนวทางการทำงานรว่ มกนั ระหวา่ งตำบลและมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยเนอ้ื หา 4 สว่ น คือ ส่วนที่ 1 การประเมนิ ศักยภาพตำบล มอี งค์ประกอบการประเมนิ 2 ชุด ประกอบด้วย ชดุ ท่ี 1 การประเมนิ ประสทิ ธิภาพและศกั ยภาพการบริหารจัดการที่ดี ดว้ ยการนำขององคก์ รหลักในพื้นท่ี ไดแ้ ก่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ร่วมกับทอ้ งที่หนว่ ยงานรฐั ในพืน้ ที่ และองคก์ รภาคประชาชน โดยการประเมิน อยา่ งนอ้ ย 6 องคป์ ระกอบ คือ 1) มีข้อมูลพื้นฐานครอบคลุมทุกด้านที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ เช่น ข้อมูลด้าน โครงสร้างทางประชากรรวมทั้งระดับการศึกษาและทักษะอาชีพ ข้อมูลด้านรายได้และเศรษฐกิจ อาชีพ ทรัพยากรส่ิงแวดลอ้ มรวมทงั้ การจดั การของตำบล ขอ้ มลู สภาพปญั หาของตำบล การส่ือสาร การมสี ่วนร่วม เป็นตน้ 2) สามารถใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ประชากรกลุ่มเป้าหมายของปัญหาความยากจน หรือความ ยากลำบาก เช่น ครัวเรือนยากจน ครัวเรือนเสี่ยงต่อความยากจน ครัวเรือนที่มีประชากรกลุ่ม เปราะบาง หรือปัจจัยเหตุของความยากจน ตลอดจนครัวเรือนที่อาจมีปัญหาหากเกิดภัยภิบัติหรอื โรคระบาด เป็นต้น 3) มีข้อมูลปฏิบัติการที่ได้ผลดีของผู้ปฏิบัติการหลักในพื้นที่ (Key Actors) ที่เป็นงานหรือบริการที่ เกี่ยวกับการแก้ปัญหาความยากจนทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น กลุ่มทางสังคม องค์กรชุมชน ภาคเอกชน หน่วยงานรัฐทั้งในพื้นที่ (กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ สถาบันการเงินชุมชน กลุ่มออม ทรัพย์ วสิ าหกจิ ชุมชน และอ่ืน ๆ) และนอกพนื้ ที่ (หนว่ ยงานรฐั ภาคเอกชนที่มีงานในพืน้ ท่)ี 4) มีแผนพัฒนาตำบลที่มีเป้าหมายชัดเจนในการแก้ปัญหาความยากจนและปัจจัยสาเหตุในระดับหมู บ้านหรือชมุ ชน 5) มีการจัดบริการสาธารณะที่สนับสนุนการแก้ปัญหาความยากจนแบบกำหนดเป้าหมายชัดเจนของ หนว่ ยงาน องคก์ ร ในตำบล 6) มกี ารทำงานหรอื โครงการพัฒนาตำบลท่ีดำเนินการร่วมมอื กับถาคเอกชน หน่วยงาน องคก์ รภาครัฐ จากกระทรวงต่าง ๆ องคก์ รรว่ มพัฒนาอกชน รวมทงั้ มหาวิทยาลยั หรอื สถาบันการศึกษา เปน็ ตน้

2 ชุดที่ 2 การประเมินประสิทธิภาพและศักยภาพของโครงการพัฒนาตำบล เน้นการประเมินผลกระทบ ของโครงการฯ ต่อประชากรกลุ่มเป้าหมายของการแก้ปญั หาความยากจนโดยตรงและต่อกลุม่ ทางสังคม องค์กร ชุมชนที่มีงาน กิจกรรม บริการที่ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาความยากจน ทั้งที่เป็นการจัดบริการสาธารณะ เป็นไปตามแผนการแก้ปัญหา และแผนการพัฒนาตำบล รวมทั้งโครงการพัฒนาที่ดำเนินการร่วมกับองค์กร หน่วยงานอื่น โดยวิเคราะห์เทียบเคียงกับหลักเป้าหมายตำบลในการเอาชนะความยากจนตามแนวทางของ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี ทก่ี ำหนดไว้ 16 ประการ ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ตวั ชว้ี ดั 16 เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัดที่ เปา้ หมาย 1 พัฒนาชมุ ชนให้มสี มรรถนะในการจดั การสูง 2 ช่วยใหเ้ กิดการจดั การทรพั ยากรอยา่ งเปน็ ระบบ 3 ช่วยให้สามารถวเิ คราะหว์ สิ าหกิจชมุ ชนและสถาบนั การเงนิ ชุมชน 4 ชว่ ยในการสรา้ งสมั มาชพี ในพื้นท่ี 5 ส่งเสริมเกษตรพอเพยี งและอาหารปลอดภัย 6 ชว่ ยให้มีแหล่งนำ้ ประจำครอบครวั 7 ช่วยจัดการวิสาหกิจขมุ ชน 8 ฝกึ อบรมทกั ษะอาชพี 9 มกี ารจดั การโครงสร้างพ้ืนฐาน กายภาพสงิ่ แวดล้อม พลังงาน 10 สง่ เสรมิ ความปลอดภัยในพื้นท่ี 11 พัฒนาคณุ ภาพกลมุ่ เปราะบาง 12 พฒั นาระบบสุขภาพคนในพืน้ ท่ี 13 สง่ เสรมิ ศูนย์เรียนรู้ตำบล 14 สง่ เสรมิ ระบบยุติธรรมในชมุ ชน 15 ส่งเสรมิ ระบบการสือ่ สารชุมชน 16 ส่งเสรมิ ตำบลทำความตี โดยจากการประเมนิ จะจัดกลุม่ ศักยภาพของตำบลเปน็ 4 ระดับตามเกณฑ์ ไดแ้ ก่ • บรรลุ 0 - 7 เป้าหมาย เป็นตำบลทยี่ งั ไม่สามารถอยูร่ อด • บรรลุ 8 - 10 เป้าหมาย เปน็ ตำบลทอ่ี ยู่รอด • บรรลุ 11 - 13 เป้าหมาย เปน็ ตำบลมงุ่ สู่ความพอเพียง • บรรลุ 14 - 16 เป้าหมาย เปน็ ตำบลมุง่ สู่ความยั่งยืน ส่วนที่ 2 การออกแบบการดำเนินการ เพื่อแก้ปัญหาความยากจนตามเป้าหมายตำบลในการเอาชนะ ความยากจน ตามหลัก 16 ประการ โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เปน็ เจา้ ภาพหลกั และมหาวทิ ยาลัยคู่ความ ร่วมมือ ที่เป็นภาคีร่วมสนับสนุนองค์ความรู้ด้านวิชาการ สามารถประสานความร่วมมือในการออกแบบการ

3 ดำเนินงาน เพื่อจัดการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องและเหมาะสม สามารถตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการ โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความยากจน รวมทั้งสามารถพัฒนาสมรรถนะ เสริม ศกั ยภาพของผ้ดู ำเนินงานหลัก คือ กล่มุ ทางสงั คม องคก์ รชุมชน ซงึ่ เป็นคนทำงานจรงิ หรอื กลไกหลกั ในพน้ื ท่ี ให้ สามารถพัฒนางานและกิจกรรม ที่สามารถตอบสนอง แก้ไขปัญหาความยากจนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ทั้งนี้มี เป้าหมายในการถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยีให้กับผู้ปฏิบัติการหลักในตำบล โดยสรุปบทเรียนและ ประสบการณข์ องผปู้ ฏิบัตกิ ารหลักและผ้เู กย่ี วขอ้ งเพอ่ื เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาอน่ื ต่อไป ส่วนที่ 3 การประเมินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการและตัวชี้วัด โดย เน้นการสร้างการมีส่วนร่วม สร้างการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัยกับองค์กรหลกั ในตำบลไปพรอ้ มกับการสร้างการ เปลย่ี นแปลงจากกิจกรรม งาน บริการ ทโ่ี ครงการไดอ้ อกแบบและดำเนินการแก้ปัญหาความยากจนแบบกำหนด เป้าหมายที่ชัดเจน โดยตัวชี้วัดของโครงการในแตล่ ะระดบั ปฏิบัตกิ ารมีความสอดคล้องกับ และเป็นส่วนหนึ่งของ ตวั ช้ีวัดโครงการใหญ่ที่รบั ผิดชอบโดยกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวตั กรรม ส่วนที่ 4 การพัฒนากลไกการทำงานร่วมมือกันระหว่างตำบลและมหาวิทยาลัย โดยมุ่งสร้างการ เปลยี่ นแปลง 4 ประการ คอื 1) ผลการแกป้ ญั หาความยากจนแบบกำหนดเป้าหมายชัดเจน ในกลมุ่ ประชากรเป้าหมายและกลุ่มทาง สงั คม องคก์ รที่เก่ยี วขอ้ งในตำบล 2) บทบาทขององค์กรในตำบลมกี ารแก้ปัญหาความยากจนแบบกำหนดเป้าหมายชดั เจน 3) บทบาทของมหาวิทยาลัยในการระดมองค์ความรู้ เทคโนโลยี ร่วมสนับสนุนกระบวนการแก้ปญั หา ความยากจนแบบกำหนดเปา้ หมายชัดเจนของตำบล 4) บทบาทและแนวทางของหน่วยงานสนับสนุนวิชาการและเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาความยากจน ใน การเพิ่มศักยภาพตำบล รวมทั้งผลของการจ้างงานบัณฑิต นักศึกษา และประชาชนเข้าร่วม ปฏบิ ตั ิงานในตำบลในระยะของการดำเนินงานโครงการฯ การบริหารจดั การโครงการยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมรายตาบลแบบบูรณาการ การบรหิ ารจดั การโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) แบ่งเป็น ระดับ 3 ระดับ คือ ระดับประเทศ (National System Integrator: NSI) บริหารจัดการดาเนินงานโครงการในภาพรวมทั้งการดำเนินงาน การจ้างงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ และ ขบั เคล่อื นเชิงนโยบายเพอ่ื ใหโ้ ครงการบรรลเุ ปา้ หมาย ระดบั ภูมภิ าค (Regional System Integrator: RSI) บริหาร จัดการ กำกบั ตดิ ตามการดาเนินงานโครงการในภาพเครือขา่ ย และระดบั สถาบนั (University System Integrator: USI) ดำเนินกิจกรรมเพือ่ ตอบสนองเปา้ หมายโครงการในระดับพืน้ ทด่ี าเนนิ งานรว่ มกับหน่วยงานในพ้ืนท่ี โดยขอให้ สถาบันอุดมศึกษาแม่ข่ายของเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาทัง้ 9 เครือข่าย ทำหน้าที่เป็น RSI ดำเนินการ กำกับ ติดตาม และบูรณาการการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาภายใต้เครือข่ายที่รับผิดชอบ จัดทำ Community Big Data ระดับเครือข่าย และประเมินผลการดำเนินงานของตำบลที่รายงานผ่านระบบ Project

4 Based Management (PBM) ในภาพรวมพื้นที่ โดยร่วมกับมหาวิทยาลัยในเครือข่าย รวมทั้งจัดทำรายงาน สรปุ ผลโครงการและผลกระทบในภาพรวมภายใตเ้ ครอื ขา่ ยรายตำบล ท่ดี ำเนนิ โครงการ ผ่าน 4 ตัวชวี้ ดั คือ 1) ประมวลตัวช้ีวัดระดับตำบลและระดบั มหาวิทยาลัยให้อยูใ่ นสถานะทแ่ี สดงความครอบคลุมประชากร เปา้ หมายและสอดรบั กบั 16 ประการ 2) วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้จากปฏิบัติการในพื้นที่กับความสอดคล้องของกลุ่มสาขาวิชา เพ่ือ จัดทำเปน็ ข้อเสนอในการปฏิรูปการศกึ ษาในระดบั อดุ มศึกษา 3) สังเคราะห์นวตั กรรมของพ้ืนทเ่ี พ่ือยกระดบั เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ 4) สังเคราะห์ข้อมูลการสำรวจ การเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ข้อมูลการ ยกระดับเศรษฐกิจและสังคม เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ และหน่วยงานกกลางทรี่ ับผดิ ชอบนโยบายแหง่ รฐั ทั้งนี้ในการดำเนินโครงการต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2564 - 31 ธันวาคม 2564 มีมหาวิทยาลัยที่ดำเนนิ โครงการภายใตก้ ารกำกับดูแลของเครอื ข่ายเพือ่ การพัฒนาอดุ มศึกษาภาคกลางตอนบนทัง้ ส้ิน 16 มหาวิทยาลัย โดยรับผิดชอบดำเนินโครงการในพืน้ ที่ตำบลที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ แบ่งออกได้เป็น 5 ภูมิภาคตามระบบของ สป.อว. อันประกอบไปด้วย ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก และ ภาคใต้ จำนวนตำบลรวม 483 ตำบล บทบาทและขอบเขตการดาเนินงานของเครอื ขา่ ยเพื่อการพัฒนาอดุ มศึกษาดา้ นการติดตามประเมนิ ผล RSI มีหน้าที่เชื่อมโยงการดำเนินงานระดับสถาบัน (USI) กับ การจัดการเชิงพื้นที่ของหน่วยปฏิบัติการ อว. ส่วนหน้า ที่สำนักงานปลัดกระทรวง ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อประสานดำเนินงานด้านการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม ในระดับจังหวดั เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงการรายงานผลการดำเนินงานในทุกระดับ โดยให้ จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ รวมทั้งจัดทำ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการบริหารจัดการโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ และ โครงการด้านเศรษฐกิจฐานรากในอนาคต เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคกลางตอนบนจึงได้จัดทำรายงานฉบับนี้ขึ้น โดยมีเนื้อหา ครอบคลุมประเด็นดังตอ่ ไปน้ี 1) ข้อมูลผลการปฏิบัติงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ ภายใต้ เครอื ข่ายเพอื่ การพัฒนาอุดมศกึ ษา ภาคกลางตอนบน ประมวลผลและจดั ทำรายงานซึ่งประกอบไป ดว้ ย • ผลการประเมินศกั ยภาพตำบลภายใต้ความรับผิดชอบของ USI ภายใต้ RSI ภาคกลางตอนบน 4 ตัวชว้ี ดั 16 เป้าหมาย • ผลการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในเครือข่ายภาคกลางตอนบน ที่สามารถนำมาใช้เป็น ตน้ แบบการบริหารจัดการในการพฒั นาระดับภมู ิภาค การสรุปการถอดบทเรยี นทเ่ี กิดข้ึนในการ

5 ดำเนนิ งานในพื้นท่ีทมี่ กี ารเปรยี บเทียบตามศักยภาพเพอื่ วิเคราะห์ปัจจยั สู่ความสำเรจ็ การพัฒนา ระดับภูมิภาค และอ่ืน ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง • ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตามกิจกรรมของ RSI พร้อมปัญหา อุปสรรค พร้อมข้อเสนอแนะ ในการบริหารจัดการเครอื ข่ายระดบั ภูมภิ าค • ผลการจา้ งงานในโครงการเพอ่ื วิเคราะหผ์ ลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คม ระดบั ภูมิภาค และ นำเสนอการถอดบทเรยี น ตวั อยา่ งโครงการ/การพัฒนา ท่ีประสบความสำเร็จของภูมิภาคกลาง ตอนบน และขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงานในอนาคต 2) สรุปผลการดำเนินงานโครงการและผลกระทบภาพรวมของ USI ภายใต้เครือข่าย ต่อภารกิจหลัก ของสถาบันอดุ มศึกษา อาทิ การเรียนการสอน การพฒั นาหลักสตู ร และการวจิ ยั 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการเชอ่ื มโยงผลการดำเนินงานระดบั เครือข่ายกบั ผลการดำเนินงานเชิงพ้ืนท่ีกับ หนว่ ยปฏิบัติการ อว. สว่ นหน้า ในภาพรวมของภมู ภิ าคเพ่อื การบริหารจดั การในอนาคต 4) ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานโครงการเศรษฐกิจฐานรากของเครือข่ายภูมิภาคเพื่อการเชื่อมโยง หนว่ ยงานในพื้นทร่ี ะดบั กลมุ่ จงั หวัด 5) ข้อมลู เพอื่ จดั ทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการบรหิ ารจัดการเครือข่ายภาคกลางตอนบน แหลง่ ทมี่ าของข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ ผลการปฏบิ ตั ิงานโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสงั คมรายตำบลแบบบรู ณาการ รวมถึงข้อเสนอแนะเชิง นโยบายการบริหารจัดการโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ และโครงการด้าน เศรษฐกจิ ฐานรากในอนาคต ท่นี ำเสนอในรายงานฉบบั น้ี รวบรวมมาจาก 1) ข้อมูลที่รายงานผ่านระบบ Project Based Management (PBM) ในภาพรวมพื้นที่ โดย มหาวิทยาลยั ในเครือข่าย (ณ วันที่ 27 มกราคม 2565) 2) ข้อมูลที่รายงานผ่าน Template ในภาพรวมพื้นที่ โดยมหาวิทยาลัยในเครือข่าย (ณ วันที่ 26 มกราคม 2565) 3) ข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุม่ เป้าหมายในพื้นท่ีตำบลที่มีแนวปฏิบัติที่ดี จำนวน 10 พื้นที่ จาก 10 มหาวทิ ยาลยั ขอ้ จากัดในการตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินโครงการ จากการดำเนินโครงการต้ังแต่เดอื นกมุ ภาพันธ์ 2564 - 31 ธนั วาคม 2564 พบว่าข้อจำกดั ของเครือข่าย เพื่อการอุดมศึกษาภาคกลางตอนบนในการประเมินผลการดำเนินงานของตำบลในภาพรวมพื้นที่ โดยร่วมกับ มหาวทิ ยาลัยในเครือขา่ ย ประกอบด้วย 1) การรายงานข้อมูลผ่านระบบ Project Based Management (PBM) ในภาพรวมพื้นที่ โดย มหาวทิ ยาลยั ในเครือข่าย ไมต่ รงตามกำหนดเวลา

6 2) การรายงานข้อมูลผ่าน Template ในภาพรวมพื้นที่ โดยมหาวิทยาลัยในเครือข่าย ไม่ตรงตาม กำหนดเวลา 3) การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้การเข้าดำเนินโครงการในพื้นที่เป้าหมาย รวมถึงการ เขา้ ถึงกลุ่มประชากรเป้าหมาย กลุม่ ทางสงั คม และองคก์ รทเ่ี กีย่ วข้องในตำบล เป็นไปได้ยาก หรือ บางพืน้ ทไี่ มส่ ามารถทำได้ 4) การคัดเลือกพื้นที่เพื่อถอดบทเรียนภายใต้การหารือร่วมกับมหาวิทยาลัย ได้ดำเนินการภายใต้ เจตนารมณ์ที่จะนำเสนอพื้นที่ที่มีแนวปฏิบัติที่ดี มีความโดดเด่นอย่างแท้จริงทั้งจากกลยุทธ์การ ดำเนนิ งานและผลความสำเร็จท่ีเกดิ ขึน้ เพอ่ื นำบทเรยี นความสำเรจ็ น้ีไปใชเ้ ปน็ แนวทางและสร้างแรง บันดาลใจแก่คณะทำงานในการขับเคลื่อนพื้นที่สู่ความสำเร็จเฉกเช่นเดียวกับพื้นที่ต้นแบบ ใน รายงานฉบับนี้ จึงปรากฏผลการคัดเลือกพื้นท่ีในกลุ่มของตำบลยั่งยืนเท่านั้น โดยมุ่งเน้นถึง คุณประโยชน์ที่จะเกดิ ขึน้ ในแงข่ อง “บทเรยี นความสำเร็จ” เปน็ สำคัญ

7 บทท่ี 2 ผลการดาเนนิ โครงการ ผลการดาเนนิ งานดา้ นการใชจ้ า่ ยงบประมาณ การดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (มหาวิทยาลยั สู่ตำบล สร้าง รากแก้วให้ประเทศ : U2T) ของมหาวิทยาลยั 16 แห่ง ทีด่ ำเนนิ งานภายใต้เครือข่ายเพอื่ การพัฒนาอุดมศกึ ษาภาค กลางตอนบน มีการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อดำเนินกิจกรรมของโครงการในพื้นท่ี ณ ช่วงสิ้นสุดโครงการ เปรยี บเทียบกบั ผลการดำเนินโครงการ โดยทางเครือขา่ ยได้รวบรวมข้อมลู จากการกรอกขอ้ มลู ในระบบ PBM ของ แต่ละมหาวิทยาลยั ตามทไ่ี ดแ้ สดงในตารางที่ 2 พบวา่ มมี หาวทิ ยาลยั มกี ารใช้จ่ายงบประมาณท่ีไม่สอดคล้องกับ ผลการดำเนนิ โครงการ โดยมหาวทิ ยาลยั 12 แหง่ ใช้งบประมาณ มากกว่า 70% ที่ไดร้ บั จดั สรร มีมหาวทิ ยาลยั 2 แหง่ ทใี่ ช้งบประมาณ 42% และ 58% ทงั้ น้มี มี หาวิทยาลัย 1 แหง่ ทใ่ี ช้งบประมาณเกินเป็น 122% และมหาวิทยาลยั 1 แหง่ ทีใ่ ชง้ บประมาณน้อยเพียง 23% คิดเป็นงบประมาณรวมทั้งส้นิ 1,300 ล้านบาท โดยจากการจดั ประชมุ เพ่ือ รับฟังปญั หาการดำเนินโครงการในพ้นื ทจ่ี ริง มีอปุ สรรคทเี่ กดิ ขึ้นในหลายดา้ น ทงั้ การเบิกจ่ายงบประมาณต่าง ๆ ทย่ี ุ่งยาก ล่าชา้ ทำใหท้ ุกมหาวิทยาลัยไมไ่ ด้สามารถดำเนินโครงการได้อยา่ งเต็มท่ี และบางมหาวิทยาลัยมีผลการ ดำเนินโครงการไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ การประเมินตัวชี้วัดของแต่ละมหาวิทยาลัยที่ไม่สอดคล้องกับการ ดำเนินงาน รวมทั้งความไม่ชัดเจนของการกรอกข้อมูลในระบบ PBM ทำให้ข้อมูลที่ปรากฏอาจมีความ คลาดเคลอ่ื นไปจากผลการดำเนินการจรงิ

8 ตารางท่ี 2 เปรยี บเทยี บการใช้จา่ ยงบและผลการดำเนินงาน ณ สิ้นสุดโครงการ (เดอื นธนั วาคม) มหาวทิ ยาลยั จำนวน ผลการ งบทไ่ี ดร้ บั การ งบคงเหลอื ดำเนนิ งาน ตำบล (เดอื น ธ.ค.) จดั สรร ทง้ั หมด จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 15 51,152,500.00 3,187,150.38 98.23% 173,730,717.58 24,643,763.36 96.15% มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 50 47.88% สุวรรณภมู ิ 9.34% มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 80 278,625,000.00 114,423,047.38 52.19% 39.36% ธัญบรุ ี 14.58% มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 174,118,210.00 15,648,665.94 0.40% 52,245,000.00 14,345,385.67 94.25% มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 15 47,649,579.00 24,936,669.50 51,760,000.00 - 11,637,539.20 101.68% มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตรี 17 93.64% 95.33% มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 15 31.67% 94.08% พระนครศรีอยธุ ยา 66.52% มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 7 22,480,000.00 17,135,200.00 46.22% 167,184,000.00 15,645,448.46 61.35% มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ 48 ในพระบรมราชูปถมั ภ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา 10 42,400,000.00 7,595,055.49 141,555,400.00 30,924,520.80 มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 40 17,415,000.00 2,752,153.46 24,802,400.00 2,749,400.00 สถาบันเทคโนโลยจี ติ รลดา 5 34,830,000.00 2,201,511.32 สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วัน 7 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ 10 คุณทหารลาดกระบงั สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์ 53 184,399,000.00 37,738,356.32 212,463,000.00 47,535,469.31 สถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน (20 แหง่ ) 61 1,676,809,806.58 349,824,258.19 รวมทงั้ หมด 483 * ข้อมูลจาก PBM (วนั ท่ี 27 มกราคม 2565)

9 ผลการดาเนนิ งานดา้ นผลกระทบตอ่ กลุ่มเปา้ หมายและกิจกรรมท่ีดาเนินการ โดยการดำเนินโครงการของแต่ละมหาวิทยาลัยในแต่ละพื้นที่ ได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศกั ยภาพ ของชุมชนร่วมกับ ประชาชนในพื้นที่โดยตามระบบ PBM มีการแบ่งประชากรออกได้เป็น 4 กลุ่มได้แก่ กลุ่ม เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเปราะบาง และกลุ่มอื่น โดยรายละเอียดเชิงปริมาณได้แสดงในตารางที่ 3 นอกจากนี้ในแต่ละพื้นที่ได้มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนภายใต้กิจกรรมทั้ง 4 ด้านตาม กรอบของทาง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้แก่ 1. การพัฒนาสัมมาชีพ และสรา้ งอาชพี ใหม่ (การยกระดับสนิ คา้ OTOP/อาชพี อน่ื ๆ) 2. การสรา้ งและพัฒนา Creative Economy (การ ยกระดบั การทอ่ งเทีย่ ว) 3. การนำองค์ความร้ไู ปช่วยบรกิ ารชุมชน (Health Care/เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ) 4. การ ส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน) 5. ด้านอื่น ๆ โดยแต่ละ มหาวิทยาลัยได้แบ่งกิจกรรมเพื่อใช้พัฒนาศักยภาพของตำบลในบริบทที่แตกต่าง ทั้งนี้หนึ่งอาจมีการดำเนิน กิจกรรมได้มากกวา่ หนึ่งดา้ น ตามทไ่ี ด้แสดงในตารางที่ 4 ตารางท่ี 3 กลมุ่ ประชากรเปา้ หมายในพนื้ ทีท่ ีม่ หาวิทยาลยั ดำเนนิ โครงการ มหาวทิ ยาลยั จำนวนตำบล เกษตรกร วสิ าหกจิ กลมุ่ เปราะบาง อน่ื ๆ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 15 5 8 10 15 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 50 38 38 37 38 สวุ รรณภูมิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 80 47 69 25 66 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 50 37 38 34 25 มหาวิทยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม 15 10 7 74 มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตรี 17 15 15 79 มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 15 7 11 5 11 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร 7 75 47 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ใน 48 37 29 36 35 พระบรมราชูปถมั ภ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา 10 7 8 22 มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 40 17 18 12 27 สถาบันเทคโนโลยจี ติ รลดา 5 54 24 สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวัน 7 76 47 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณ 10 7 6 34 ทหารลาดกระบัง สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ 53 40 40 28 48 สถาบันวทิ ยาลัยชุมชน (20 แหง่ ) 61 53 51 39 52 483 339 353 255 354 รวมทง้ั หมด * ข้อมลู จาก PBM (วนั ที่ 27 มกราคม 2565)

10 ตารางที่ 4 กจิ กรรมเพอ่ื การพัฒนาศักยภาพตำบลทงั้ 4 ดา้ น กจิ กรรมการพฒั นาตำบล จำนวน การยกระดบั การ Health การเพมิ่ มหาวทิ ยาลยั ตำบล สนิ คา้ ยกระดับ Care/ รายได้ อน่ื ๆ ทงั้ หมด OTOP/ การ เทคโนโลยี หมุนเวยี น อาชพี อน่ื ๆ ทอ่ งเทยี่ ว ด้านตา่ ง ๆ ใหแ้ กช่ มุ ชน จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 15 11 10 14 10 0 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 50 49 32 47 38 8 สุวรรณภูมิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 80 80 31 70 66 0 ธัญบุรี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 50 50 50 50 50 17 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม 15 14 7 13 13 2 มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี 17 16 16 13 17 0 มหาวิทยาลยั ราชภฏั 15 14 5 11 80 พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 7 75 7 50 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลย 48 48 48 48 48 0 อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา 10 10 0 0 00 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 40 39 36 40 24 3 สถาบนั เทคโนโลยีจติ รลดา 5 4 4 5 40 สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 7 7 7 7 70 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า 10 10 10 10 90 เจ้าคุณทหารลาดกระบงั สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ 53 49 34 28 33 0 สถาบนั วิทยาลัยชุมชน 61 61 51 56 54 2 (20 แหง่ ) รวมทงั้ หมด 483 469 346 419 386 32 * ข้อมูลจาก PBM (วันที่ 27 มกราคม 2565)

11 ผลการดาเนินงานดา้ นการสรา้ งและประยกุ ต์องค์ความรู้ การดำเนนิ โครงการของมหาวิทยาลยั ท้งั 16 แหง่ ที่ได้ดำเนินงานในพ้นื ที่ตำบลกวา่ 483 ตำบล สามารถ สร้างองคค์ วามรเู้ พ่ือพฒั นาศักยภาพของประชากรในพนื้ ท่ใี ห้คุณภาพชีวติ มีความสามารถมากขึ้น โดยศกึ ษาจาก บริบทของชมุ ชนในพื้นท่ี เอกลกั ษณ์ในตำบล รวมไปถงึ การนำความรู้จากทางมหาวทิ ยาลัยแตล่ ะแห่งมาปรับใช้กบั พื้นที่ให้เกิดการพัฒนานำไปสู่การสร้างอาชีพ สร้างรายได้ของชุมชน ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยได้พัฒนา ปรับ ประยกุ ต์ความรใู้ ห้กับชุมชนทำให้เกดิ ออกมาเป็น หลกั สตู รที่สามารถให้คนในชุมชนสามารถนำไปใช้ได้ อีกท้ังยัง มีการพัฒนาพื้นที่ให้กลายเป็นแหล่งการเรียนรูแ้ ละศูนย์การเรียนเพิ่มขึ้น ทำให้ประชากรรุ่นใหม่สามารถเข้าถงึ ความรไู้ ปตอ่ ยอดการสร้างอาชีพการสรา้ งรายได้ต่อไป โดยข้อมูลจำนวนหลกั สูตร แหล่งเรยี นรู้ และศูนย์การเรียน ได้นำเสนอในตารางท่ี 5 และข้อมลู ดา้ นองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม รวมทั้งกระบวนการ/วธิ ี ในตาราง ที่ 6 ตารางท่ี 5 หลักสูตร แหลง่ เรียนรูแ้ ละศูนย์การเรยี นทีเ่ กิดจากการดำเนนิ โครงการในพ้นื ที่ มหาวทิ ยาลยั หลกั สตู ร แหลง่ เรยี นรู้ ศนู ยก์ ารเรยี น จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10 6 6 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 18 30 21 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 16 41 18 มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 10 32 14 มหาวิทยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม 4 11 5 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี 9 15 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 14 2 มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร 56 3 มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ฯ 17 40 20 มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา 10 3 1 มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 12 29 4 สถาบนั เทคโนโลยจี ิตรลดา 25 2 สถาบนั เทคโนโลยปี ทุมวัน 56 3 สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั 2 6 1 สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ 34 39 33 สถาบนั วิทยาลยั ชมุ ชน (20 แห่ง) 47 49 28 รวมทงั้ หมด 202 322 171 * ขอ้ มูลจาก PBM (วันท่ี 27 มกราคม 2565)

12 ตารางที่ 6 ข้อมลู ด้านองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรม และกระบวนการ/วธิ ี มหาวทิ ยาลยั องคค์ วามรู้ กระบวนการ อนื่ ๆ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 25 12 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ 35 -4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 84 - 16 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 4 -- มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 50 -- มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี 3 34 - มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 28 -- มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 5 -- มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 30 5- มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา 4 -- มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ 2 -- สถาบันเทคโนโลยจี ติ รลดา 4 1- สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั - -- สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 10 1- สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ 16 18 - สถาบนั วิทยาลัยชุมชน (20 แหง่ ) 55 29 - รวมทงั้ หมด 271 100 4 * ขอ้ มูลจาก USI template (วันที่ 26 มกราคม 2565) ผลการดาเนินงานด้านการจ้างงาน อตั ราการจา้ งงานของประชากรในพนื้ ท่ภี ายใต้การดำเนินการของมหาวิทยาลัย 16 แหง่ ณ เดือนสดุ ท้าย ของโครงการ ได้แสดงใหเ้ ห็นในตารางที่ 7 ซึ่งอัตราการจา้ งงานของทุกมหาวิทยาลัยมีอตั ราการจ้างงานโดยรวม อยู่ที่ 95.64% แสดงให้เห็นได้ว่าการพัฒนาศักยภาพของมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งสามารถส่งเสริมให้เกิดการจ้าง งานทด่ี ี สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กับประชากรในพน้ื ที่ ซึ่งจะทำใหเ้ กดิ การพฒั นาศักยภาพของตำบลต่อไปได้อย่าง ยั่งยืน โดยระบบการคัดเลือกผู้ถูกจ้างงาน ได้มีการปรับระบบการจ้างงานทั้งระบบเป็นแบบออนไลน์เป็นหลัก ตั้งแตก่ ารสมัคร การคัดเลอื ก การตรวจรบั งาน และการคัดเลอื กคนเขา้ ทำงานแทนกรณีทีม่ ีคนลาออก แต่กระน้ัน ในบางกลมุ่ ท่ียงั ไม่สามารถออนไลน์ได้ ก็จัดใหม้ ีระบบออฟไลน์ด้วยเพอ่ื รองรับบุคคลในส่วนน้ี ท้ังน้ีมีข้อสังเกตใน การคดั เลือกคนทำงานโดยใหผ้ ูน้ ำในชมุ ชนไดม้ ีส่วนรว่ มในกรให้ขอ้ มลู ผ้สู มัครก็ชว่ ยให้สามารถคดั เลือกคนทำงาน ไดส้ อดคลอ้ งกับภาระงานและบทบาทที่จะตอ้ งทำงานต่อไปได้ดี ซึง่ กระบวนการรบั คน ไดน้ ำเกณฑก์ ารรับคนเข้า มาเป็นขอ้ กำหนดหลักในการคัดเลือก รวมถงึ เกณฑ์เร่ืองศักยภาพของผ้ถู ูกจ้างทจ่ี ะสามารถเข้ามาร่วมขับเคล่ือน กิจกรรมทจ่ี ะดำเนินงานในพ้ืนท่ี ทง้ั นใ้ี นกรณที ่ีไม่สามารถคัดเลือกผูถ้ กู จ้างในพน้ื ท่ไี ดค้ รบตามจำนวน ไดใ้ ชเ้ กณฑ์ การรับผู้ทีอ่ ยูใ่ นพื้นทีใ่ กล้เคียงเข้าทำงานทดแทน ดังนั้นโดยภายรวมแล้วจึงสามารถรับคนไดค้ รบทั้งจำนวนและ เปน็ ไปตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด นอกเหนอื จากกระบวนการรับคนที่ดำเนินงานเองทงั้ ระบบโดยโครงการเองแล้ว ยังมี

13 อกี รปู แบบที่เป็นระบบการสนบั สนุนทย่ี อดเยย่ี มในระดับมหาวิทยาลยั โดยทสี่ ว่ นกลางของมหาวิทยาลัยได้พัฒนา platform ในระดับมหาวิทยาลัยเพื่อบริหารจัดการกระบวนการรับสมัคร และให้คณะทำงานโครงการเป็นผู้ คดั เลือกคนได้ตามความต้องการท่มี ีศักยภาพสอดคล้องกบั กจิ กรรมที่จะขับเคลือ่ นต่อไป โดยในการบริหารจัดการ ผู้ถูกจา้ งงานทั้ง 3 กล่มุ พบประเดน็ ปญั หาภายในทีมงานที่มองเหน็ คา่ ตอบแทนและภาระงานทีไ่ ม่เท่าเทียมกันใน แต่ละกลุม่ (กลุ่มประชาชน กลุ่มบัณฑิต และกลุ่มนิสิตนักศึกษา) ซึ่งพบปัญหานี้ในช่วงแรกของการดำเนินงาน เท่านั้น และเทคนิคการรับมือกับปัญหานี้ พบว่า ได้เน้นการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจถึงเป้าหมายการ มอบหมายงานในแตล่ ะกลุ่มตามศกั ยภาพและขอ้ จำกัด รวมถงึ ส่อื สารภายใตบ้ รรยากาศของความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันที่เน้นให้ทุกคนมองเห็นภาพความสำเร็จที่เกิดจากความรว่ มมือของทุกคนและหลักการความเสมอภาค นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของการบริหารทีมงานโดยอัพโหลดเอกสารการทำงานลงใน Microsoft Teams U2T เพื่อให้สามารถตรวจสอบการทำงานของทีมงานทุกคน และมีหลักฐานการทำงานที่สามารถตรวจสอบภายใน โครงการกนั เองได้ถงึ รายงานการปฏบิ ัติการของคนในทีม

14 ตารางท่ี 7 ขอ้ มลู การจา้ งงานของมหาวทิ ยาลัย 16 แห่ง (ณ เดอื นธนั วาคม) จำนวน แผนการ ผลการจา้ งงาน (คน) (B) รอ้ ยละ มหาวทิ ยาลยั ตำบล จา้ ง (A) x การจา้ ง (A) 20 คน บณั ฑติ นกั ศกึ ษา ประชาชน รวม งาน จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 15 300 149 75 74 298 99.33 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล 80 1600 799 399 399 1597 99.81 ธัญบรุ ี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล 50 1000 476 237 246 959 95.90 สุวรรณภมู ิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 50 1000 485 186 240 911 91.10 มหาวิทยาลัยราชภฏั จันทรเกษม 15 300 148 64 74 286 95.33 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี 17 340 165 85 78 328 96.47 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 7 140 64 31 33 128 91.43 มหาวิทยาลยั ราชภฏั 15 300 143 74 73 290 96.67 พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ 48 960 469 239 240 948 98.75 ในพระบรมราชปู ถัมภ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 10 200 90 46 49 185 92.50 มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 40 800 346 169 184 699 87.38 สถาบนั เทคโนโลยจี ติ รลดา 5 100 49 25 25 99 99.00 สถาบันเทคโนโลยปี ทุมวัน 7 140 70 35 35 140 100.00 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ 10 200 99 50 50 199 99.50 เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ 53 1060 499 226 263 988 93.21 สถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน (20แหง่ ) 61 1220 605 277 302 1184 97.05 รวมทงั้ หมด 483 9660 4656 2218 2365 9239 95.64 * ข้อมลู จาก PBM (วันท่ี 27 มกราคม 2565) ผลการดาเนินงานด้านการพัฒนาศักยภาพตาบล จากการดำเนินโครงการของมหาวิทยาลัย 16 แห่งภายใตเ้ ครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคกลาง ตอนบนในพ้ืนที่ 483 ตำบลทั่วประเทศ พบว่าตำบลที่รว่ มโครงการมศี ักยภาพของพนื้ ที่ดีข้ึน เมอื่ เปรียบเทียบจาก การประเมิน ณ ช่วงก่อนเริ่มโครงการ และ ณ ช่วงสิ้นสุดการดำเนินโครงการ โดยมีตำบลที่มุ่งสู่ความยั่งยืน จำนวน 268 ตำบล ตำบลที่มุ่งสู่ความพอเพียง จำนวน 157 ตำบล ตำบลที่อยู่รอด จำนวน 50 ตำบล และ ตำบลที่ไมส่ ามารถอยู่รอด จำนวน 8 ตำบล (อ้างอิงข้อมลู จาก Template ของ USI ณ วันท่ี 26 มกราคม 2565) โดยรายละเอยี ดศกั ยภาพของแต่ละมหาวิทยาลยั ได้แสดงใหเ้ หน็ ในตารางท่ี 8

1 ตารางท่ี 8 เปรยี บเทยี บการพฒั นาศกั ยภาพตำบลของแตล่ ะมหาวิทยาลยั (ข้อมลู จาก: T มหาวทิ ยาลยั จำนวน ไม่สามารถอยู่รอด ตำบลท่ี รบั ผดิ ชอบ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 15 3 (3) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 80 2 (2) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ 50 18 (18) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 50 18 (18) มหาวิทยาลยั ราชภัฏเทพสตรี 17 0 (1) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม 15 0 (6) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 7 1 (2) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 15 3 (13) มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 48 1 (0) มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา 10 0 (0) มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 40 0 (7) สถาบันเทคโนโลยจี ติ รลดา 5 4 (3) สถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั 7 0 (2) สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั 10 10 (10) สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ 53 11 (16) สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน (20 แหง่ ) 61 18 (19) รวมทง้ั หมด 483 89 (120) 1 * ขอ้ มลู จาก USI template (วันที่ 26 มกราคม 2565) และ ขอ้ มลู จาก PBM (วันท่ี 27

5 สนิ้ สดุ โครงการ Template (PBM)) กอ่ นเรมิ่ โครงการ อยู่รอด มุ่ง ู่สความพอเพียง มุ่ง ู่สความยั่งยืน ไม่สามารถอยู่รอด อยู่รอด มุ่ง ู่สความพอเพียง ุ่มง ู่สความย่ังยืน 4 (4) 4 (4) 4 (4) 0 (0) 1 (1) 3 (3) 11 (11) 27 (27) 48 (48) 3 (3) 0 (0) 6 (6) 32 (32) 42 (42) 15 (15) 10 (10) 7 (7) 8 (1) 14 (11) 15 (17) 13 (21) 10 (11) 16 (15) 6 (6) 0 (0) 0 (0) 14 (9) 36 (41) 13 (3) 1 (5) 3 (8) 0 (0) 0 (1) 0 (2) 17 (14) 8 (4) 4 (3) 3 (2) 0 (1) 0 (1) 7 (5) 8 (8) 3 (4) 3 (1) 0 (0) 0 (1) 0 (0) 4 (3) 3 (3) 6 (1) 2 (1) 4 (0) 0 (3) 7 (3) 8 (4) 0 (5) 15 (14) 32 (31) 0 (3) 0 (0) 8 (8) 29 (25) 11 (15) 1 (1) 3 (3) 6 (6) 0 (0) 0 (0) 3 (3) 7 (7) 31 (19) 9 (13) 0 (1) 0 (2) 0 (1) 4 (3) 36 (34) 1 (2) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 1 (1) 4 (4) 0 (3) 1 (1) 6 (1) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 7 (7) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 8 (8) 0 (0) 2 (2) 14 (13) 27 (19) 1 (5) 0 (0) 5 (6) 14 (12) 34 (35) 18 (18) 20 (19) 5 (5) 0 (1) 1 (1) 23 (22) 37 (37) 166 (139) 180 (173) 48 (51) 8 (9) 50 (47) 157 (141) 268 (286) 7 มกราคม 2565)

16 จากการผลการประเมินศักยภาพตำบล 483 แห่งภายใต้การดำเนินโครงการของมหาวิทยาลัย 16 แห่ง พบว่าตำบลที่ได้รับการประเมินในระดับที่ “ไม่สามารถอยู่รอด” ได้มีจำนวนลดลงจากช่วงก่อนเร่ิมโครงการ 89 ตำบล เหลือเพียง 8 ตำบล ณ ช่วงสิ้นสุดโครงการ นอกจากนี้ตำบลที่ได้รับการประเมินที่อยู่ในระดับที่ “มุ่งสู่ ความยัง่ ยนื ” ซึ่งเปน็ ระดับทสี่ งู ท่ีสุดมีจำนวนเพมิ่ ขึ้นจาก 48 ตำบล ณ ชว่ งกอ่ นเริ่มโครงการ เป็น 268 ตำบล ณ ช่วงสิ้นสดุ โครงการ ซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจนว่าการดำเนนิ โครงการของแตล่ ะมหาวิทยาลัย มีประสิทธิมากพอทีจ่ ะ พัฒนาศักยภาพของชุมชนใหม้ ีคณุ ภาพชีวติ ที่ดีข้ึน สามารถสรา้ งรายได้ และสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยในจำนวนตำบลที่มกี ารพฒั นาศักยภาพทัง้ หมด มีตำบลทม่ี กี ารพัฒนาศกั ยภาพอยา่ งกา้ วกระโดด จากตำบล ที่รับการประเมินช่วงก่อนเริ่มโครงการในระดับต่ำที่สุด หรือ “ไม่สามารถอยู่รอด” ได้ยกระดับเป็นระดับสูงสุด หรือ “มุ่งสู่ความยั่งยืน” ณ ช่วงสิ้นสุดโครงการจำนวน 52 ตำบล ดังที่ได้แสดงในตารางที่ 9 อย่างไรก็ตามใน จำนวนตำบลทั้งหมดยังมีตำบลที่ไม่สามารถยกระดับจากตำบลในระดับ “ไม่สามารถอยู่รอด” ได้อยู่จำนวน 8 ตำบล ดังท่ีไดแ้ สดงในตาราง 10 ตารางที่ 9 รายชื่อตำบลทม่ี กี ารพฒั นาศกั ยภาพแบบก้าวกระโดด ลำดบั ตำบล จงั หวดั มหาวทิ ยาลยั ตำบลทงั้ หมด ทรี่ บั ผดิ ชอบ 1 แขวงคลองจั่น กรุงเทพมหานคร สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ 53 2 แขวงวงั ทองหลาง กรงุ เทพมหานคร สถาบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ 53 3 ตำบลหนองแหน ฉะเชงิ เทรา สถาบนั บัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์ 53 4 ตำบลเทย่ี งแท้ ชัยนาท มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม 15 5 ตำบลหว้ ยงู ชัยนาท มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม 15 6 ตำบลกดุ จอก ชยั นาท สถาบนั เทคโนโลยีจติ รลดา 5 7 ตำบลดอนกำ ชยั นาท สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ 53 8 ตำบลวดั สิงห์ ชัยนาท สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ 53 9 ตำบลหนองบวั ชัยนาท สถาบันบณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 53 10 ตำบลชุมโค ชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้า 10 คณุ ทหารลาดกระบัง 11 ตำบลบางสน ชุมพร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้า 10 คณุ ทหารลาดกระบัง 12 ตำบลดอยแก้ว เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 50 13 ตำบลบา้ นแปะ เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 14 ตำบลแม่แดด เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 15 ตำบลแมห่ ละ ตาก สถาบนั วิทยาลยั ชมุ ชน (20แหง่ ) 61 16 ตำบลบา้ นพรา้ ว นครนายก มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 40 17 ตำบลบ้านพริก นครนายก มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 40 18 ตำบลพกิ ลุ ออก นครนายก มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ 40 19 ตำบลองครกั ษ์ นครนายก มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ 40

17 ลำดบั ตำบล จงั หวดั มหาวทิ ยาลยั ตำบลทงั้ หมด ทรี่ บั ผดิ ชอบ 20 ตำบลเกาะหวาย นครนายก สถาบันบณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์ 21 ตำบลตาลชมุ นา่ น มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 53 22 ตำบลบา้ นฟ้า น่าน มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 23 ตำบลยม นา่ น มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 24 ตำบลแสนทอง นา่ น มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 25 ตำบลน้ำป้วั นา่ น สถาบันวิทยาลยั ชุมชน (20แหง่ ) 50 26 ตำบลหนองพนั ทา บึงกาฬ สถาบนั เทคโนโลยจี ิตรลดา 61 27 ตำบลหว้ ยสำราญ บรุ ีรมั ย์ สถาบันวทิ ยาลัยชุมชน (20แหง่ ) 5 28 ตำบลเกาะจัน ปตั ตานี สถาบนั วิทยาลัยชมุ ชน (20แห่ง) 61 29 ตำบลทางชา้ ง พระนครศรีอยธุ ยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 61 สวุ รรณภมู ิ 50 30 ตำบลบ้านก่มุ พระนครศรีอยธุ ยา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สวุ รรณภมู ิ 50 31 ตำบลบา้ นใหม่ พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล สวุ รรณภูมิ 50 32 ตำบลวังนอ้ ย พระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สวุ รรณภูมิ 50 33 ตำบลบางระกำ พระนครศรีอยุธยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 15 34 ตำบลปลายกลัด พระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 15 35 ตำบลปากจ่ัน พระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา 15 36 ตำบลพระนอน พระนครศรีอยุธยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 15 37 ตำบลบา้ นชุ้ง พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 15 38 ตำบลทงุ่ ใหญ่ พจิ ติ ร สถาบันวทิ ยาลัยชุมชน (20แหง่ ) 39 ตำบลบ้านโคก มุกดาหาร สถาบันวทิ ยาลัยชุมชน (20แห่ง) 61 40 ตำบลแม่นาเตงิ แมฮ่ ่องสอน สถาบันวทิ ยาลัยชุมชน (20แห่ง) 61 41 ตำบลบา้ นไร่ ราชบุรี สถาบันเทคโนโลยปี ทุมวัน 61 42 ตำบลบา้ นออ้ น ลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 7 43 ตำบลปงเตา ลำปาง มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 50 50

18 ลำดับ ตำบล จงั หวดั มหาวทิ ยาลยั ตำบลทงั้ หมด ทร่ี บั ผดิ ชอบ 44 ตำบลแม่เมาะ ลำปาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 45 ตำบลปงดอน ลำปาง มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 50 46 ตำบลลำไพล สงขลา สถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน (20แหง่ ) 50 47 ตำบลสวนหลวง สมทุ รสงคราม สถาบันเทคโนโลยปี ทุมวนั 61 48 ตำบลผา่ นศึก สระแก้ว มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ 7 49 ตำบลมวกเหลก็ สระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 40 50 ตำบลทองเอน สิงห์บรุ ี สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดา 15 51 ตำบลบา้ นพร้าว หนองบัวลำภู สถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน (20แห่ง) 5 52 ตำบลบ้านไร่ อทุ ยั ธานี สถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน (20แห่ง) 61 61 * ข้อมลู จาก PBM (วนั ที่ 27 มกราคม 2565) ตารางท่ี 10 รายชอ่ื ตำบลที่ไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงศกั ยภาพจากตำบลที่ “ไมส่ ามารถอย่รู อด” ตำบล จงั หวดั มหาวทิ ยาลยั ตำบลทง้ั หมด ทรี่ บั ผดิ ชอบ ตำบลศรกี ะอาง นครนายก มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ 40 ตำบลดอนหญ้านาง พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 50 สุวรรณภมู ิ ตำบลแกว้ ฟา้ พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 15 พระนครศรีอยธุ ยา ตำบลเทพมงคล พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวิทยาลัยราชภฏั 15 พระนครศรีอยุธยา ตำบลสามไถ พระนครศรีอยธุ ยา มหาวิทยาลัยราชภฏั 15 พระนครศรีอยธุ ยา ตำบลโพงาม ชัยนาท มหาวิทยาลัยราชภฏั จันทรเกษม 15 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร 7 ตำบลหนองยายโต๊ะ ลพบุรี สถาบันวทิ ยาลัยชุมชน (20แหง่ ) 61 ตำบลห้วยแห้ง อุทัยธานี

19 บทท่ี 3 การถอดบทเรยี นความสาเรจ็ กระบวนการการถอดบทเรียนความสาเรจ็ ในการถอดบทเรียนความสำเร็จใช้ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง (Theory of Change - ToC) เป็นเครื่องมือ ขององคก์ ารทางการพัฒนานำมาใชเ้ พื่ออธิบายถึงวธิ ีกำหนดกลไกการทำงานทจ่ี ะนำไปสกู่ ารเปล่ียนแปลงในระยะ ยาว เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคมที่เฉพาะเจาะจง ภายใต้เงื่อนไขความสลับซับซ้อนทางสังคม หลักการ สำคญั ของ ToC จะใช้การวเิ คราะห์เชิงสาเหตแุ ละผลลัพธ์ตามหลักฐานตา่ ง ๆ (United Nations Development Group, 2017) ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงในบางครั้งอาจถูกเรียกว่า ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงด้วยชุมชน ( Theory of Change with Community) เน่อื งจากเป็นแนวความคดิ ทใี่ ชก้ ารมีส่วนร่วมของกล่มุ คนท่ีหลากหลาย โดยเฉพาะ กลุ่มองค์การหรือตัวแทนของชมุ ชนกบั ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ในกระบวนการวางแผนร่วมกนั โดยจัดทำเป็นกรอบของ ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง เพื่อกำหนดเป้าหมายและเงื่อนไขที่เชื่อว่าจะสามารถนำไปสู่เป้าหมายในระยะยาวได้ (United Nations Environment Programme, 2020) ดังนน้ั ในถอดบทเรยี นการดำเนนิ งานโดยใช้ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงเป็นกรอบในการศกึ ษา จะสามารถทำ ให้เหน็ ความเชอ่ื มโยงระหว่าง “กลไกการทำงานหลกั ” สู่ “ผลกระทบในระยะยาว” โดยทำให้เห็นว่า กอ่ นท่ีจะไป ถงึ ผลกระทบในระยะยาวน้ันได้ กลไกการทำงานจะตอ้ งทำให้เกิดผลลัพธร์ ะยะสั้นอันสำคัญท่มี ีความเป็นเหตุเป็น ผลและมคี วามสัมพนั ธ์ท่เี ชือ่ ได้วา่ ผลลพั ธร์ ะยะสนั้ นม้ี โี อกาสนำไปสู่ผลกระทบในระยะยาวไดจ้ ริง ทั้งนี้ ผลกระทบ และผลลัพธ์ที่ตั้งไว้จะต้องวัดผลได้ เพื่อให้สามารถอธิบายถึงความเชื่อมโยงและเห็นถึงความก้าวหน้าของงาน กระน้ันงานศกึ ษาของณัฐพงษ์ จารวุ รรณพงศ์ (2560) ได้ช้วี ่าความน่าสนใจของการประยกุ ต์ใช้ทฤษฎนี ้ีจงึ อยทู่ ่ีการ สร้างและอธิบายความเชื่อมโยง กลไกการทำงานหลักของโครงการสู่เป้าหมายให้มคี วามเป็นไปได้และน่าเช่อื ถือ การสร้างกรอบแนวคิดทฤษฎีการเปลีย่ นแปลง เพื่อยืนยันสมมติฐานในเชิงประจักษ์ และอธิบายผลกระทบที่จะ เกดิ ขึ้นจากมมุ มองของผู้ไดร้ บั ประโยชน์ ทีผ่ ่านมา ทฤษฎกี ารเปลี่ยนแปลงใชว้ ธิ ีการรายงานการประเมนิ ผลในรูปแบบของการบรรยายและเป็นการ ใชเ้ พ่ือสนบั สนนุ การประเมินประสทิ ธภิ าพของการดำเนนิ โครงการ แตต่ อ่ มาสามารถนำทฤษฎีนมี้ าใช้เพื่อให้เข้าใจ ถึงสิ่งที่ศึกษาได้อย่างลึกซึ้งและสามารถใช้สำหรับการประเมินผลที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น ประเมินความ ยัง่ ยืน หรือคณุ ภาพของการตดิ ตามโครงการ เป็นตน้ ทั้งยงั สามารถนำเสนอรายงานการประเมนิ ผลท้ังในรูปแบบ ของแผนภาพไดอ้ กี ด้วย ทั้งนี้ในขั้นตอนการดำเนินงาน จะเน้นการ lay out ลำดับขั้นของผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในแต่ละ ขั้นตอนจาก intervention และวางแผนประเมินว่า expected outcome นั้น เกิดขึ้นจริงหรือไม่ ทั้งในระดับ ผลผลติ ผลลัพธ์ และผลกระทบ (Output Outcome Impact)

20 รายละเอียดการดำเนินงาน 1) ดำเนินการคัดเลือกพื้นที่ตำบลในการถอดบทเรียนระดับศักยภาพตำบล โดยจากเดิมกำหนดเกณฑ์การ คัดเลือกตามศักยภาพของตำบล 3 ระดับ คือ ตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน ตำบลมุ่งสู่ความพอเพียง และ ตำบลที่อยู่รอด อย่างในก็ตามหลังจากการหารือร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงได้ดำเนินการภายใต้ เจตนารมณ์ที่จะนำเสนอพื้นที่ที่มีแนวปฏิบัติที่ดี มีความโดดเด่นอย่างแท้จริงทั้งจากกลยุทธ์การ ดำเนินงานและผลความสำเร็จที่เกิดขึ้น เพื่อนำบทเรียนความสำเร็จนี้ไปใช้เป็นแนวทางและสร้างแรง บันดาลใจแก่คณะทำงานในการขับเคลือ่ นพื้นที่สู่ความสำเร็จเฉกเช่นเดียวกับพื้นที่ต้นแบบ ในรายงาน ฉบับนี้ จึงปรากฏผลการคัดเลือกพื้นที่ในกลุ่มของตำบลยั่งยนื เท่านั้น โดยมุ่งเน้นถึงคุณประโยชน์ที่จะ เกดิ ขนึ้ ในแงข่ อง “บทเรยี นความสำเรจ็ ” เปน็ สำคัญ 2) จัดสนทนากลมุ่ เพ่ือถอดบทเรียนการดำเนินงานในพื้นท่ีของตำบลที่ได้จากข้อการคัดเลือกตามเกณฑ์ใน ขอ้ 1. รวมท้ังสิ้น 10 ตำบล และใช้ทฤษฎีการเปล่ยี นแปลง (Theory of change: ToC) เป็นกรอบการ ดำเนินงาน และให้มีผู้เข้าร่วมการสนทนากลุม่ ทีป่ ระกอบด้วยสมาชิกหลายฝ่ายทีร่ ่วมการดำเนินงานใน พน้ื ที่ โดยการจัดสนทนากลุ่มนี้จะประกอบไปด้วยสมาชิกหลายฝา่ ยทัง้ คณะทำงานของมหาวิทยาลัย คน ในพื้นที่ และภาคีเครอื ข่ายทเ่ี ขา้ มามีสว่ นรว่ ม เพ่ือเกบ็ ข้อมูลการดำเนินงาน ทง้ั 10 พน้ื ทตี่ ้นแบบ ๆ ละ 1 ครัง้ โดยใชเ้ วลาในการจดั สนทนากลุ่มๆละ 1.5 - 2 ชัว่ โมง ในรปู แบบออนไลน์ 3) ดำเนินการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ สมาชกิ ผใู้ หข้ ้อมลู หลักในรปู แบบออนไลน์ จากหลายฝา่ ยท่ีร่วมการดำเนนิ งาน ในพืน้ ท่เี ปา้ หมายทั้ง 10 แหง่ ๆ ละ 1-2 คน เพอ่ื นำข้อมลู ไปประกอบการวิเคราะหก์ ารถงึ แนวปฏิบตั แิ ละ บทเรียนการดำเนินงาน และผลการวิเคราะหอ์ ่ืนตามวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทั้ง 10 พื้นที่ต้นแบบ ต้นแบบละ 1-2 คน โดยเน้นกลุ่มคณะทำงานจากมหาวิทยาลัยเป็นลำดับต้น ตามประเด็นเนื้อหา ขอบเขตการดำเนินงานในข้อ 4. 4) วิเคราะห์และสังเคราะหผ์ ลการจดั สนทนากลุ่ม และการสมั ภาษณ์เชงิ ลึก โดยเสนอให้ประเดน็ สำคัญจาก ตำบลท่เี ป็นกรณศี กึ ษาทงั้ 10 พนื้ ท่ีตอ่ ไปน้ี (1) การดำเนนิ การทเี่ ป็นแนวปฏิบัติที่ดี ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จ และปญั หาอุปสรรคสำคญั (2) บทบาทของสถาบันอุดมศกึ ษาต่อชุมชน ผลสัมฤทธิท์ ี่เป็นรูปธรรมโครงการ U2T มุมมองของชุมชน ต่อมหาวทิ ยาลยั และโครงการ U2T (3) ข้อเสนอแนะต่อกลไกการประสานงานระหว่างครือข่ายระดับภูมิภาค และอว.ส่วนหน้า (เชิง โครงสรา้ ง/หน้าทีร่ บั ผดิ ชอบ/การเชอ่ื มประสานทำงานรว่ มกนั ) (4) ประเด็นการบริหารงบประมาณของโครงการ U2T สู่ระบบการดำเนินงานที่ยั่งยืน และแนวทางการ เชอื่ มตอ่ การทำงานรว่ มกบั ชมุ ชนในระยะยาว 5) ประมวลผลการสนทนากลมุ่ รว่ มกบั การสัมภาษณเ์ ชิงลกึ เพ่ือวิเคราะห์ถึงแนวปฏิบัติท่ีดี ปจั จัยแห่งสำเร็จ ของการดำเนินงาน ปญั หาและอุปสรรคสำคัญ โดยใชท้ ฤษฎี ToC

21 6. จัดทำแนวปฏิบัติที่ดี/บทเรียนการดำเนินงาน (Lesson learned) และข้อเสนอแนะในการยกระดับการ ดำเนนิ งานในพนื้ ที่ตามศักยภาพตำบล ในประเดน็ บทบาทของสถาบนั อดุ มศึกษาต่อชมุ ชน ผลสัมฤทธิ์ท่ี เป็นรูปธรรมโครงการ U2T มุมมองของชุมชนต่อมหาวิทยาลยั และโครงการ U2T ข้อเสนอแนะต่อกลไก การประสานงานระหว่างครือข่ายระดบั ภมู ิภาค และอว.ส่วนหนา้ (เชิงโครงสร้าง/หนา้ ที่รับผิดชอบ/การ เชื่อมประสานทำงานร่วมกัน) รวมถึงประเด็นการบริหารงบประมาณของโครงการ U2T สู่ระบบการ ดำเนนิ งานทยี่ งั่ ยนื และแนวทางการเชอื่ มตอ่ การทำงานร่วมกับชมุ ชนในระยะยาว ประชากรกล่มุ เปา้ หมาย การวิจัยเพื่อถอดบทเรยี นครงั้ นี้ ใชเ้ ทคนคิ การวจิ ยั เชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) ดังนน้ั จึงใช้การ เลือกกลุ่มเป้าหมายแบบวิธีการเจาะจง (Purposive Sampling) จากตำบลต้นแบบ โดยกลุ่มสนทนาจะกำหนด จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ ม 8-15 คนต่อกลมุ่ และจำนวนผูใ้ ห้ขอ้ มลู หลกั (Key informant) ของตำบลต้นแบบ ตำบลละ 1- 2 คน ทัง้ นไี้ ดก้ ำหนดเกณฑ์ในการคดั เลือกหนว่ ยตวั อยา่ งสำหรับการประชมุ กลุ่มและการสัมภาษณเ์ ชงิ ลึก ดงั น้ี เกณฑ์คดั เขา้ ไดแ้ ก่ 1) เปน็ คณะทำงานในพื้นทตี่ ามโครงการ U2T ทง้ั ทม่ี าจากมหาวิทยาลัย และพน้ื ทช่ี มุ ชน 2) เป็นภาคเี ครอื ขา่ ยของการดำเนนิ งาน ทง้ั จากภาครัฐ/เอกชน/ประชาสังคม ทส่ี ามารถให้ขอ้ มลู ได้ เกณฑค์ ดั ออก ได้แก่ 1) เปน็ คณะทำงานท่ีเพงิ่ เขา้ มารว่ มงานและไมส่ ามารถใหข้ อ้ มลู ได้ทัง้ หมด 2) เปน็ คณะทำงานหรือภาคีเครอื ข่ายท่ไี ม่สะดวก หรือไม่เตม็ ใจที่จะใหข้ อ้ มลู ผลการถอดบทเรยี นความสาเรจ็ เนือ้ หาทั้งหมดในส่วนนี้เป็นเรอื่ งราวจากกจิ กรรมการถอดบทเรียนความสำเรจ็ ของตำบลที่มีแนวปฏิบัติที่ ดี จำนวน 10 พื้นที่ จาก 10 มหาวิทยาลัย ซึ่งทั้ง “10 พื้นที่ตำบลยั่งยืน” นี้ ล้วนได้รับการยอมรับจากทาง มหาวิทยาลัยว่ามีความโดดเด่น และคณะทำงานของพืน้ ที่มีความพรอ้ มและยนิ ดีที่จะร่วมถ่ายทอดประสบการณ์ กลยทุ ธ์การดำเนนิ งาน การระดมปจั จัยนำเข้าท้ังจากชมุ ชนและภาคีเครือข่าย ซงึ่ ทง้ั หมดนีจ้ ะเป็นบทเรียนให้เกิด การนำไปปรบั หรือประยกุ ต์ใชต้ ามบรบิ ท ขดี สมรรถนะของพื้นทท่ี จ่ี ะตอ้ งดำเนนิ งานในระยะถัดไป ทัง้ น้ที ง้ั 10 พน้ื ทต่ี ำบลย่งั ยนื ที่มีแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี ประกอบดว้ ย 1) ตำบลคลองใหญ่ อำเภอคลองใหญ่ จังหวดั ตราด 2) ตำบลคลองเจ็ด อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 3) ตำบลองครักษ์ อำเภอโพธิท์ อง จงั หวดั อ่างทอง 4) ตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอนิ จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา 5) ตำบลบ้านหอย อำเภอประจันตคาม จงั หวัดปราจีนบุรี 6) ตำบลในเวยี ง อำเภอเมืองนา่ น จังหวดั นา่ น

22 7) ตำบลบ้านกิว่ อำเภอแม่ทะ จงั หวัดลำปาง 8) ตำบลสขุ เดือนหา้ อำเภอเนินขาม จังหวดั ชัยนาท 9) ตำบลนครนายก อำเภอเมอื งนครนายก จังหวดั นครนายก 10) ตำบลสระแก้ว อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุพรรณบุรี จากภาพรวมในการดำเนินงานของพื้นท่ีของทงั้ 10 พนื้ ที่ พบประเด็นรว่ มที่เป็นเงื่อนไขแห่งความสำเร็จ ดังนี้ โดยแบ่งการนำเสนอใน 2 สว่ น คอื สว่ นท่ี 1 ปจั จยั นำเขา้ (Input) 1) ความไวเ้ นอ้ื เชอื่ ใจ การเขา้ ใจบรบิ ทพนื้ ที่อยา่ งลกึ ซง้ึ และการเขา้ ถงึ ผนู้ ำชมุ ชน ล้วนเป็นกลไกสำคัญ ทีท่ ำใหก้ ารค้นหา pain point และความตอ้ งการในการแกป้ ัญหาของชมุ ชนถูกคล่ีออก และนำไปสู่ การดำเนินงานในระยะถัดๆ ไปของโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในการเข้าพื้นที่เพ่ือ ดำเนนิ การ ผูว้ ิจยั จำเป็นให้เวลาอย่างมากตอ่ การเข้าไปสร้างความคุ้นเคยในชุมชนโดยเฉพาะการไป พูดคุยแลกเปลี่ยนกับผู้นำชุมชน และสร้างให้เกิดช่องทางการสื่อสารเกี่ยวกับโครงการอย่าง ตรงไปตรงมา ช้แี จงถงึ วัตถปุ ระสงค์และแนวทางการดำเนนิ งานในพนื้ ที่ รวมถึงผลไดผ้ ลเสยี ท่ีอาจจะ เกิดขึ้นจากโครงการ เพื่อสร้างให้เกดิ เงื่อนไขทั้ง 3 ประการข้างต้น (ความไว้เนื้อเชื่อใจ การเข้าใจ บริบทพื้นที่อย่างลึกซึ้ง และการเข้าถึงผู้นำชุมชน) เนื่องจาก ที่ผ่านมาชุมชนไทยมักพบเจอกับ นักวิจัย/นักวิชาการที่เข้าไปทำงานในพื้นที่มาอย่างยาวนานและในบางกรณีพบว่า การทำวิจัยของ นักวิชาการไม่ได้สามารถแก้ปัญหาให้ชุมชนได้อย่างแท้จริงรวมถึงอาจจะไม่รกั ษาความต่อเนื่องใน การทำงานรว่ มกบั ชุมชน ซ่งึ ประเด็นน้ถี อื เป็นข้อพจิ ารณาทสี่ ำคญั อย่างยงิ่ 2) ระบบการทำงานที่มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ หรือการประยุกต์ใช้โมเดลการบริหารที่มี ประสทิ ธภิ าพ เชน่ การประยุกติใช้วงจร PDCA เป็นต้น ในสว่ นนถี้ ือได้ว่าเปน็ ปัจจัยนำเข้าท่สี ำคญั ที่ สนบั สนนุ ให้กระบวนการทำงานในระดับพ้ืนท่ีมีความซับซ้อนและมีพลวตั รตลอดเวลา ยงั สามารถอยู่ ในขอบเขตหรือการการคาดการณ์ที่คณะทำงานได้อออกแบบนั้น ซึ่งนั่นหมายว่าจะทำให้สามารถ รบั มอื กับการประเด็นออ่ นไหวข้างต้นได้เป็นอยา่ งดี ทัง้ นี้บทเรียนการดำเนนิ งานในพื้นทีต่ ้นแบบ ได้ มีการทำเอาระบบดจิ ทิ ัล มาสนบั สนุนการวางแผนระบบการทำงานในพน้ื ที่ดว้ ย 3) ระบบการคัดเลือกและบริหารทีมงาน สำหรับการคัดเลือกบุคคลเข้ามาเป็นคะทำงานของโครงการ ตามโปรแกรมการจา้ งงาน 20 คนน้นั พบวา่ หลายพนื้ ท่ที เ่ี ป็นพื้นท่ีตน้ แบบไดใ้ ช้กลไกของ “คนใน” ทง้ั ผนู้ ำชมุ ชน (กำนนั ผูใ้ หญบ่ า้ น คนจาก อปท.) คนคนุ้ เคยท่ีเป็นคนในพื้นท่ี ไดเ้ ข้ามีส่วนในการให้ ข้อมลู บุคคล เพ่อื เปน็ ข้อมูลต้งั ตน้ ในการคกั เลือกบุคคลเขา้ มาเป็นสมาชกิ ของทีมงาน นอกจากน้แี ลว้ มีประเดน็ เนื่องจากคณะทำงานในโครงการ ประกอบดว้ ยสมาชิกของทีมจำนวนมาก โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ถูกจา้ งงานจำนวน 20 คน ซ่ึงแบง่ ออกเปน็ 3 กล่มุ ทม่ี ที ัง้ จำนวนและการได้รับ ค่าตอบแทนท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นการบริหารทีมงาน โดยเน้นการสร้างความเปน็ อันหนึง่ อันเดียวกนั ได้ของทุกคนในทีม การสื่อสารใหเ้ ห็นถึงพลังความสามารถ และข้อจำกดั จากสมาชิกที่แตกต่างกัน ในแต่ละกลุ่ม โดยใช้รูปแบบของการพูดคุยกันแบบเป็นกันเอง ภายใต้บรรยากาศของการเป็น

23 กัลยาณมิตรต่อกัน ความเป็นคนในชุมชนบ้านเดียวกันที่มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนา “บ้านของเรา” ดว้ ยกนั ย่อมนำไปสู่การสร้างความเขม้ แขง็ ของทมี งานได้ดี ทงั้ นีย้ ังมีประเดน็ ที่สำคญั อกี ประการคือ การดึงศกั ยภาพของทีมงานออกมาใช้ให้ตรงกบั ประเด็นการขับเคลื่อนหรือกิจกรรมทีจ่ ะดำเนินงาน ในพ้ืนท่ี ย่อมทำให้การขบั เคล่ือนกิจกรรมมีประสทิ ธิภาพสงู โดยมขี อ้ ค้นพบถงึ ศักยภาพองกลมุ่ ผูจ้ ้าง งานในแตล่ ะกลุ่มดงั นี้ • กลุ่มประชาชน มีความเป็นคนใน เข้าใจและคุ้นเคยกับผู้คนและบริบทของพื้นที่เป็นอย่างดี ดังนั้น งานด้านการประสานงานภาคสว่ นต่าง ๆ ในพื้นท่ี งานเกบ็ ขอ้ มลู ในพื้นที่ ถือเป็นงานท่ี กลมุ่ ประชาชนสามารถทำไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ • กลุ่มบัณฑิต ที่มีองค์ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ จากระบบการศึกษา หรือมีประสบการณ์ บางส่วนการฝึกทักษะหรืองานในระยะก่อนหน้า ดังนั้นงานที่มอบหมายให้กลุ่มนี้ จึงควรเป็น งานขับเคลอ่ื นเชิงประเด็นที่จะทำการยกระดับในพื้นที่ เช่น งานอออกแบบตลาด งานออกแบบ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ งานยกระดับผลติ ภณั ฑ์ เปน็ ต้น • กลุ่มนักศึกษา ที่มีความถนัดในการใช้สื่อโซเชียล การทำงานบนระบบการปฏิบัติการต่าง ๆ ผ่านคอมพิวเตอร์ และการเชื่อมประสานระหว่างคณาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการและภาคส่วน อื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย ดังนั้นงานที่มอบหมายให้กลุ่มนี้ จึงควรเป็นงานนำข้อมูล ระบบปฏิบัติการตา่ ง ๆ งานหลังบ้านด้านงานการเงนิ การจัดทำเอกสารโครงการ รวมถึงใหม้ ี บทบาทในการประสานงานกับคณาจารยแ์ ละส่วนสนับสนนุ ของมหาวิทยาลัย เปน็ ตน้ 4) ระบบการสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ข้อมูลจากพื้นที่ต้นแบบ พบว่า มหาวิทยาลัยที่มีระบบ สนับสนุนการทำงานของคณาจารย์ที่ทำงานในพื้นที่ นับว่าเป็นกลไกสนับสนุนการทำงานได้เป็น อย่างดี โดยเฉพาะมหาวิทยาลยั ทีม่ พี น้ื ทดี่ ำเนินการจำนวนมาก การพฒั นาระบบสนบั สนนุ ท้ังในงาน การเงิน งานการคัดเลือกบุคคลและจ่ายค่าตอบแทนรายเดือน งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ ตดิ ตามและรายงานความก้าวหนา้ ในการดำเนินงาน เป็นตน้ ซง่ึ ระบบล้วนเออ้ื ใหก้ ารดำเนินงานใน ระบบหลังบ้าน (back office) เป็นไปได้โดยไม่ตัดขัดและมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่กระนั้นการ ไมไ่ ดม้ รี ะบบสนับสนนุ อยา่ งเต็มระบบ เช่นการออกแบบระบบ back office ให้ ก็มไิ ดเ้ ป็นอุปสรรค ต่อความสำเรจ็ ในการดำเนินงาน ดังนั้นจึงมีข้อเสนอแนะในส่วนนี้ คือ หากมหาวิทยาลัยที่มีพื้นที่ ดำเนินการจำนวนมาก การออกแบบระบบ back office ถือเป็นเงื่อนไขสำคัญต่อภาพรวม ความสำเร็จในระดับมหาวิทยาลัย เพราะนั่นหมายถึง จะให้เกิดการเชื่อมต่อของของระบบงานท่ี เก่ยี วขอ้ งอย่างไรร้ อยต่อ เช่น ระบบการประสานงานทมี่ คี วามเปน็ เอกภาพ ระบบบรหิ ารงบประมาณ ที่พรอ้ มช่วยเหลอื และสร้างความเข้าใจในระเบียบฯ ข้อบงั คับ หรือแม้กระทง่ั ระบบการติดตามเสริม พลังระหว่างคณะทำงานดว้ ยกันในแตล่ ะพืน้ ท่ี เปน็ ตน้ 5) ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ และทุนความรู้จากคณะทำงาน U2T และภาคี เครือข่าย เหล่านี้ถือเปน็ ปัจจัยนำเขา้ ที่สำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมการแก้ปญั หาด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอ้ มไดเ้ ป็นอยา่ งดี และถือวา่ เปน็ ปัจจยั นำเข้าทส่ี ำคัญตอ่ การดำเนินงานในระยะ ถัดไป ที่จะต้องเริ่มกิจกรรมการแก้ปัญหาในชุมชน ดังนั้นการค้นหาให้พบปัจจัยสำคัญทั้ง 3

24 ประการข้างตน้ ถือเป็น “ทนุ ชมุ ชน” ทีช่ ุมชนมอี ยู่ เม่ือนำมาผสานเชอ่ื มรอ้ ยกับความเช่ียวชาญของ คณาจารยผ์ ู้รบั หนา้ ทีข่ ับเคลอ่ื นพื้นท่ี จะใหเ้ กดิ การผสานพลงั ของทุนความรู้ท่ีสำคญั ในการไปใช้ใน การทำงานในระยะตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งมาก 6) ภาพผลสำเร็จของการดำเนินโครงการอย่างเป็นรูปธรรม และแนวทางการขับเคลื่อนที่เสริมความ ยั่งยืนในแก่พื้นที่ ซึ่ง 2 ปัจจัยนำเข้านี้ ถือได้ว่าเป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จของการดำเนินงานใน ระยะสุดท้าย ที่มีเป้าหมายเพื่อมุ่งสร้างความยั่งยืนในแก่พื้นท่ี ดังนั้นในส่วนนี้มีข้อเสนอแนะให้ คณะทำงานไดเ้ ตรียมขอ้ มูลเชงิ ประจักษใ์ น 2 ประเดน็ ข้างตน้ เพ่อื ใชเ้ ป็นปัจจยั นำเข้าสู่กลยุทธ์การ ดำเนินงานในระยะสุดท้ายผ่านการจัดเวทีนำเสนอผลความสำเร็จของการดำเนินงานและ ข้อเสนอแนะ เพ่ือการถ่ายโอนกิจกรรมเข้าสหู่ นว่ ยงานในระดับพน้ื ที่ สว่ นที่ 2 กลยทุ ธก์ ารดำเนนิ งาน (Implementation Strategies) 1) การวิเคราะห์ใหเ้ หน็ pain point ของพ้ืนท่ี ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งไปกบั ความต้องการในการแกป้ ัญหา ของชุมชน ซึ่งนับว่าเป็นกลยุทธ์การดำเนินงานที่สำคัญในลำดับแรก เพื่อทำให้การขับเคลื่อน กิจกรรมทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ น้นั จะไดร้ บั ความร่วมมอื รว่ มใจจากชมุ ชนอย่างแทจ้ รงิ 2) การประสานงานเชิงรุกกับทุกภาคส่วนในพื้นที่ ท้ังผู้นำชุมชน อปท. หน่วยงานรัฐที่มีพันธกิจ สอดคล้องกับแนวทางของโครงการ U2T และกลุ่มทางสังคมต่าง ๆ ที่มีในพื้นท่ี (วิสาหกิจชุมชน/ สหกรณ์/ผปู้ ระกอบการชมุ ชน/กล่มุ แมบ่ ้าน เป็นต้น) โดยการประสานงานในระยะแรกนี้ มเี ปา้ หมาย สำคัญเพื่อให้เกิดการรบั รูแ้ ละความเข้าใจต่อการดำเนินงานของโครงการ U2T ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ อย่างรอบด้าน ทั้งยังเป็นการผนึกภาคีเครือข่ายที่มีอยู่ในพื้นที่ให้เข้ามาอยู่ในองคาพยพของการ ดำเนินงานท่ีจะเกดิ ขนึ้ ในระยะถดั ไป 3) การพูดคุยในรูปแบบที่ไม่เป็นทางการและมคี วามใกล้ชิด ซึ่งกลยุทธ์การดำเนินงานนี้ มีเป้าหมาย เพ่อื ยกระดบั ความค้นุ เคยและความไวเ้ นอ้ื เชื่อใจใหม้ ากข้นึ จากทุนตง้ั ตน้ ทีม่ ีอยู่ ดงั น้ันหากมีทุนเรือ่ ง ความไว้เนื้อเชื่อใจและความคุ้นเคยที่ยังไม่มากนัก กลยุทธ์การดำเนินงานในส่วนนี้จึงควรให้ ความสำคญั เป็นพเิ ศษ 4) การทำงานที่ใช้การมีส่วนร่วมนำ ซึ่งกลยุทธ์การดำเนินงานนี้ มีเป้าหมายเพื่อสร้างความร่วมไว้ ร่วมมืออย่างแท้จริงในการขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่แก่ทุกภาคส่วนในชุมชน โดยเฉพาะภาค ประชาชนซึ่งถือเป็นกลุ่มผู้มีสว่ นได้เสียหลักของกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น ซึ่งบทเรียนจากพื้นที่ต้นแบบ ทัง้ หมดลว้ นชตี้ รงกันวา่ กลยุทธก์ ารดำเนนิ งานแบบมสี ่วนร่วมนำน้นั เปน็ ปัจจัยแห่งความสำเร็จของ การขับเคลื่อนกจิ กรรมใหเ้ กิดขน้ึ ได้จริงในพน้ื ที่ 5) การพูดคยุ ติดตามความก้าวหน้าอย่างใกลช้ ดิ ในระหว่างการขับเคลื่อนกิจกรรมในระดับพื้นทีท่ ี่ใช้ การมสี ว่ นร่วมนำ และมีคณะทำงานโครงการจำนวนมาก การพดู คุยแบบเป็นกันเองอยา่ งใกล้ชดิ เพ่ือ เสริมพลงั ให้แก่คณะทำงาน จะทำให้ประเดน็ ปัญหาทเี่ กิดขนึ้ ไม่ถูกสะสม เพิ่มพูนจนมากเกินกวา่ การ แก้ไขปญั หาจะทำได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ดังน้ันจึงมีข้อเสนอแนะใหม้ กี ารพูดคยุ กันเพื่อติดตามแบบ

25 เสริมพลัง (empower evaluation) ให้แก่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในโครงการ เพื่อร่วมกันสะท้อน ปญั หาและหาทางรว่ มมอื ในการแกไ้ ขปัญหาไปด้วยกันอย่างเปน็ เอกภาพ 6) การเชื่อมโยงกิจกรรมของโครงการ เข้าสูพ่ ันธกิจของหน่วยงานในพื้นท่ี กลยุทธ์การดำเนินงานใน ส่วนนี้ เน้นการผลักดันกิจกรรมที่ได้ก่อรูปขึ้นแล้วในพื้นที่ให้มีความยั่งยืน โดยอาศัยหน่วยงานใน พ้ืนที่ให้เป็นผมู้ สี ่วนรว่ มหลักในการดำเนินงานในระยะตอ่ ไป หากโครงกา U2T ไดจ้ บสิ้นลงแลว้ โดย พจิ ารณาถึงบทบาทและระดบั การผลักดันสกู่ ารปฏิบัติใหเ้ กิดขน้ึ จรงิ ไดเ้ ปน็ เงอ่ื นไขสำคญั เพื่อถ่ายโอน บทบาทนี้เข้าสู่หน่วยงานภาครัฐ เช่น อปท. หรือหน่วยงานในระดับจังหวัดตามประเด็นการ ขับเคลื่อนของโครงการ เช่น สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด/ตำบล สำนักงานท่องเทีย่ ว เป็นต้น 7) การพัฒนารายวชิ า หรือหลกั สตู รทจ่ี ะเข้ามาดำเนนิ งานในพนื้ ที่ ผ่านการสรา้ งกจิ กรรมเรียนร้รู ่วมกับ ระหวา่ งนิสิตนกั ศึกษา ภาคประชาชน กลมุ่ ทางสังคม รวมถึงหน่วยงานภาครฐั ในพ้ืนที่ ซงึ่ กลยุทธ์นี้ จะมีส่วนสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยและชุมชนจะได้ร่วมกันขับเคลื่อน รวมถึงการขยายผลต่อยอด การดำเนินงานในมติ อิ ืน่ ๆ ไดต้ ่อไป ทง้ั นี้ ไดส้ งั เคราะห์ประเดน็ ท้ังหมดและแสดงความเชือ่ มโยงไว้ดังแผนภาพท่แี สดงไว้ในรปู ที่ 1

26 รปู ที่ 1 โมเดลสคู่ วามสำเร็จของการขบั เคล่อื นโครงการ U2T ในระดบั พ้นื ที่ดำเนนิ การ

27 ตัวอยา่ งการถอดบทเรียนในพ้ืนทที่ ่ีประสบความสาเรจ็ ในการดาเนินงาน พ้นื ทีต่ ำบลคลองใหญ่ อำเภอคลองใหญ่ จังหวดั ตราด คณะทำงานโครงการ: ดร.สุดารัตน์ ตัณฑะอารยิ ะ มหาวิทยาลัย: วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด บริบทของชุมชนพ้ืนทตี่ ำบลคลองใหญ่ ในอดีตพื้นที่ตำบลคลองใหญ่ อยู่ในเขตการปกครองของจังหวัดปัจจันคีรีเขต (จังหวัดเกาะกง) ราชอาณาจักรกัมพูชา และตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศฝรั่งเศส ต่อมาได้มีการทำสนธิสัญญากัน ระหว่างประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส ตำบลคลองใหญ่จึงกลับมาเป็นเขตแดนของรัฐไทยอีกครั้ง โดยตำบล คลองใหญเ่ ป็นตำบลทจ่ี ดั ตั้งครั้งแรกก่อนทจี่ ะมีตำบลอ่นื ๆ ตามมาในเขตการปกครองของอำเภอคลองใหญ่ โดย แตเ่ ดิมนนั้ มีลำคลองขนาดใหญ่ไหลผา่ นจงึ เรยี กกันว่า “คลองใหญ่” (ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด, ออนไลน์) ปัจจุบันพ้ืนท่ีตำบลคลองใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด โดยพื้นที่มีลักษณะทอดยาว จากเหนือจรดใต้ (ทิศเหนือมีพื้นที่ตดิ กบั ตำบลไม้รูด อำเภอคลองใหญ่ ทิศใตต้ ดิ กับตำบลหาดเล็ก อำเภอคลอง ใหญ่) ทางทิศตะวันออกมีแนวเทือกเขาบรรทัดเป็นแนวแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยและราชอาณาจักรกัมพูชา และทิศตะวนั ตกมีแนวชายฝ่ังติดกับทะเลอา่ วไทย จึงทำให้ตำบลคลองใหญม่ ลี กั ษณะภมู ิประเทศเปน็ ท่รี าบเชิงเขา และราบริมฝ่ังทะเลทอดยาวประมาณ 11 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 10.50 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 6,562 ไร่ มีระยะทางห่างจากอำเภอคลองใหญ่ 2 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดตราด 74 กิโลเมตร ซึ่งในปัจจบุ ันมีหมู่บ้านที่อยู่ในพ้ืนท่ีตำบลคลองใหญจ่ ำนวน 9 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเจ๊กลกั บ้านคลองใหญ่ บ้าน คลองจาก บา้ นคลองสะบ้า บ้านตาหนึก บ้านบางอิน บ้านสวนมะพรา้ ว บ้านคลองจาก และบา้ นร่มเย็น มจี ำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 2,997 ครัวเรือน และมีจำนวนประชากรทั้งหมด 8,173 คน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทำ ประมง ค้าขาย รับจา้ ง และรับราชการ (องค์การบริหารสว่ นตำบลคลองใหญ่, 2557) รปู ที่ 2 ลกั ษณะสภาพพน้ื ทจ่ี งั หวดั ตราด ท่มี า: ดัดแปลงจาก พิชัย อทุ ยั เชฏฐ์ (2558)

28 รปู ท่ี 3 ลักษณะของพ้นื ทอ่ี ำเภอคลองใหญ่ ท่ีมา: ดดั แปลงจาก ปฐวี โชติอนันต์ (2556) รปู ท่ี 4 ส่วนหนึง่ ของพน้ื ท่ีชมุ ชนตำบลคลองใหญฝ่ ง่ั ทะเลอ่าวไทย ทมี่ า: ดัดแปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เข้าถึงเมือ่ 9 มกราคม 2565) ด้านสังคมและวัฒนธรรม สภาพสังคมของตำบลคลองใหญ่ว่า ประชาชนส่วนใหญ่ได้มีการศึกษาน้อย และประกอบอาชีพทำประมงเป็นส่วนใหญ่ แต่ยังคงมปี ญั หาในดา้ นการผลิตสินค้าทไี่ ดม้ าตรฐาน อันเน่ืองมาจาก คนในชมุ ชนสว่ นใหญ่ยังขาดความรู้ทางวชิ าการ เทคนคิ และวิธกี ารใหม่ ๆ ทีส่ ามารถนำมายกระดบั การผลติ ของ ตนเองได้ ขาดข้อมูลทางการตลาด และขาดแหล่งเงินทุนเพื่อการผลิต (องค์การบริหารส่วนตำบลคลองใหญ่, 2557) นอกจากนัน้ ตำบลคลองใหญ่ยงั เปน็ พนื้ ที่ทม่ี คี วามหลากหลายทางวัฒนธรรม ส่วนหน่ึงด้วยเหตุผลของพ้ืนที่ ตำบลคลองใหญ่ ทีม่ พี ้นื ท่ีตดิ กับประเทศกมั พชู า ส่งผลใหเ้ กดิ การยา้ ยถ่นิ เขา้ มาของชาวกัมพชู าเพอ่ื ประกอบอาชีพ หารายได้ และบางส่วนได้เข้ามาตั้งรกรากถิ่นฐานในตำบลคลองใหญ่ (สุดารัตน์ ตัณฑะอาริยะสัมภาษณ์, 6 มกราคม, 2565) ประชากรสว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธและมีศาสนสถานที่สำคญั คือ วัดคลองใหญ่ เพื่อใชใ้ นการ รว่ มกิจกรรมทางสังคมของประชาชนในพืน้ ทีใ่ นวนั สำคญั ทางศาสนาและในเทศกาลอื่น ๆ เช่น วนั เขา้ พรรษา วัน ออกพรรษา วันขน้ึ ปีใหม่ วันสงกรานต์ (เทศบาลตำบลคลองใหญจ่ งั หวดั ตราด, 2558) ในด้านเศรษฐกิจ พบวา่ ประชาชนรายได้นอ้ ย ทำให้ครัวเรือนส่วนใหญ่ยงั คงพึ่งพารายไดจ้ ากการประมง และการค้าขายเป็นหลัก และมีส่วนหนึ่งมีรายได้จากการท่องเที่ยวในชุมชน (คณะทำงาน U2T, สัมภาษณ์, 6

29 มกราคม 2565) ข้อจำกดั ทางกายรปู ทเี่ ปน็ ที่ราบเชิงเขา จึงไมส่ ามารถทำการเกษตรเพื่อการคา้ ขายได้ แตก่ ารทำ การเกษตรเพื่อการยังชีพ เช่น การปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสุกร เลี้ยงเป็ดเพื่อขายไข่ และประกอบอาหารใน ครัวเรือน ซึ่งผลผลิตทางการเกษตรส่วนใหญ่มักจะต้องนำเข้าผลผลิตทางการเกษตรจากตัวจังหวัดตราดหรือ จงั หวดั ใกล้เคยี งเพอ่ื นำมาขายในชุมชน (เทศบาลตำบลคลองใหญ่จังหวัดตราด, 2558) นอกจากน้ันด้วยลักษณะ ทางกายภาพเป็นที่ราบเชิงเขาและที่ราบริมฝั่ง ส่งผลให้มีสภาพอากาศร้อนชื้นและได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีฝนตกชุกตลอดทั้งปีทำให้ชาวประมงไม่สามารถออกเรือทำการประมงได้ จึงเป็นอีก สาเหตหุ นง่ึ ที่ทำใหร้ ายได้ครัวเรือนเกิดการชะงกั งัน (องคก์ ารบริหารส่วนตำบลคลองใหญ่, 2557) รปู ที่ 5 การออกเรอื ทำประมงของชาวบา้ นตำบลคลองใหญ่ ท่มี า: U2T ต.คลองใหญ่ จงั หวดั ตราด, [เฟซบ๊กุ รูปภาพอัพเดท] (เขา้ ถึงเมอ่ื 9 มกราคม 2565) รปู ที่ 6 การทำอาชพี ประมงของชาวบา้ นตำบลคลองใหญ่ ท่มี า: U2T ต.คลองใหญ่ จงั หวดั ตราด, [เฟซบุก๊ รูปภาพอพั เดท] (เขา้ ถงึ เมอื่ 9 มกราคม 2565) สำหรับการเข้าสู่พื้นที่จัดทำโครงการ วิทยาลัยชุมชนตราดเป็นหน่วยงานที่ทำงานร่วมกบั ชุมชนมาเป็น ระยะยาวนาน และด้วยประสบการณ์ของบุคลากรทำให้มกี ารดำเนินงานอย่างเป็นระบบตง้ั แต่ก่อนการเข้าสู่พ้ืนที่ ในการจัดทำโครงการ การเข้าสู่พื้นที่ของวิทยาลัยชุมชนตราดเริ่มต้นด้วยการประสานงานกับผู้นำชุมชนทุกครง้ั ท้ังกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำท้องถิ่น ถึงแม้ว่าจะเคยมีประสบการณ์ในการทำงานกับพื้นที่หรือไม่ก็ตาม (คณะทำงาน U2T, สมั ภาษณ,์ 6 มกราคม 2565) วิทยาลัยชมุ ชนตราดไดม้ ีประสบการณ์ทำงานรว่ มกับกลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนแปรรูปอาหารทะเลบ้านตาหนึก แต่กระนน้ั กเ็ ป็นการรู้จกั เพียงพนื้ ที่เดียว ซึ่งในขณะเดยี วกนั ตำบลคลองใหญ่ยังคงมอี กี หลากหลายกลุ่มที่วิทยาลับ ชุมชนตราดยังไม่เคยมปี ฏิสัมพันธ์ร่วมกันมาก่อน การเข้าสู่พื้นท่ีเพื่อทำปฏิสัมพันธก์ ับชุมชนนอกจากการชี้แจง ผู้นำชุมชนทุกครั้ง สิ่งที่วิทยาลัยชุมชนตราดได้เริ่มเมื่อเข้าสู่พื้นที่คือ การศึกษาความต้องการ (Need Assessment) ด้วยรูปแบบเวทีประชาคม ซึ่งมีการเชิญหลายภาคส่วนเข้าร่วมการดำเนินการ ทั้งภาครัฐ

30 ภาคเอกชน ภาคประชาชน รวมทั้งผู้นำชุมชนไม่ว่าจะเป็นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายกองค์การบริหารส่วนตำบล นายกเทศมนตรี นายอำเภอ และปลดั อำเภอ เพ่ือเปน็ แกนนำในการสร้างความเขา้ ใจร่วมกันกบั ชุมชนทงั้ หมด ทำ ให้ได้รู้จักกลุ่มและคนในชุมชนมากขึ้น จะเห็นได้ว่าการเข้าสู่พื้นที่ของวิทยาลัยชุมชนได้ดำเนินการอย่างเป็น ขัน้ ตอน โดยเน้นยำ้ ชมุ ชนเป็นฐานในการนำเสนอมุมมองของคนในพ้ืนที่ รวมถงึ ปญั หาและความต้องการทจ่ี ะต้อง เกดิ จากคนในชุมชนอย่างแท้จรงิ จุดเด่นของตำบลคลองใหญ่ จากการรวบรวมข้อมูล สามารถอธิบายให้เห็นถึงจุดเด่นของตำบลคลอง ใหญ่ได้ 3 ประเด็น ดงั น้ี 1) ทนุ ทางวัฒนธรรม พ้ืนที่ตำบลคลองใหญ่เปน็ พ้ืนท่ีมมี ีเรอ่ื งราว มปี ระวตั ิศาสตร์ และลักษณะเฉพาะ ของพ้นื ทใ่ี นลกั ษณะพื้นที่ชายแดน (border area) เป็นพน้ื ที่ทมี่ ีการขนส่งสินค้า มีการย้ายถ่ินเข้า- ออกของประชากรทัง้ ในและนอกพื้นที่ เพื่อการแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจและรายได้ ด้วยปัจจัย เหลา่ นี้ส่งผลใหต้ ำบลคลองใหญ่มคี วามหลากหลายของวัฒนธรรม โดยขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ ยังพบว่า ตำบลคลองใหญ่เป็นพื้นที่ที่เต็มไปด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความ หลากหลายทางชาติพันธ์ุ (Cultural diversity and Ethnic pluralism) ไมว่ ่าจะเป็นไทย จนี กมั พชู า และเวยี ดนาม ซง่ึ ความแตกตา่ งหลากหลายเหล่าน้กี ็มไิ ด้เป็นข้อจำกัดของการดำรงชีวิตร่วมกันของ คนในชุมชนตำบลคลองใหญ่ แต่กลับแสดงอัตลักษณ์ชุมชนในลักษณะของชุมชนพหุวัฒนธรรม ” (Multicultural Communities) สามารถอยู่ร่วมกันได้ในพื้นที่ตำบลคลองใหญ่ ที่สะท้อนออกมาใน รูปแบบของวิถีชีวิต วัฒนธรรม และพื้นที่ทางสังคมต่าง ๆ ที่ผ่านการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และ ดำเนินการรว่ มกันจากคนในชมุ ชน รปู ที่ 7 ศาลเจ้าแม่ทับทมิ อำเภอคลองใหญ่ ทม่ี า: U2T ต.คลองใหญ่ จงั หวัดตราด, [เฟซบุก๊ รปู ภาพอพั เดท] (เขา้ ถงึ เมื่อ 9 มกราคม 2565)

31 รปู ท่ี 8 ร้านขาย “ขนมปังปาเต” อาหารผสมผสานระหวา่ งวัฒนธรรมอาหารฝรงั่ เศสและเวียดนาม ทม่ี า: U2T ต.คลองใหญ่ จงั หวดั ตราด, [เฟซบกุ๊ รปู ภาพอัพเดท] (เข้าถงึ เมื่อ 9 มกราคม 2565) “ตำบลคลองใหญ่เป็นพืน้ ที่ทีม่ ีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีคนอยู่หลายกลุ่มทั้งไทย จีน กัมพูชา และเวยี ดนาม การมคี วามหลากหลายทางวัฒนธรรมกจ็ ะทำใหเ้ กดิ อาชพี และบรบิ ทพืน้ ท่ี ท่มี มี ติ ิแตกตา่ งกัน” คณะทำงานโครงการ U2T (สมั ภาษณ,์ 6 มกราคม 2565) 2) ทนุ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เนอื่ งดว้ ยตำบลคลองใหญ่มีลกั ษณะทางกายภาพของพนื้ ทท่ี ่ี ตดิ ทะเล ทำใหม้ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ของทรัพยากรทางทะเล และมีปฏิบตั ิการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารใหก้ ับครอบครัวและชุมชนด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปลูกพืชผัก สวนครัว และการเลี้ยงสัตว์เพื่อการยังชีพ นอกจากนั้นยังมีพื้นที่ป่าชายเลน จากรายงาน “ข้อมูล ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังจังหวดั ตราด” (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง, 2561) ชี้ให้เห็น ว่าพืน้ ท่ตี ำบลคลองใหญม่ ีป่าชายเลนคงสภาพ จำนวน 78.65 ไร่ ซง่ึ หมายถงึ พน้ื ที่ป่าชายเลนท่ีคง สภาพเป็นป่าอยู่ แต่มีชุมชนเข้าไปอาศัยและใช้ประโยชน์ต่าง ๆ จำนวน 49.05 ไร่ เช่น การทำ การเกษตร และการสร้างทอี่ ยูอ่ าศัย ดงั นน้ั ด้วยชัยภมู ิของพื้นท่ตี ำบลคลองใหญ่ สง่ ผลใหเ้ ป็นหนึ่งใน จดุ เดน่ ท่ที ำใหม้ คี วามสมบรู ณข์ องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ซง่ึ หากมกี ารใช้สอยประโยชน์ โดยมีกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ดี จะช่วยให้ตำบลคลองใหญ่เกิดความยั่งยืนและ สร้างความม่ันคงทางอาหารในพ้นื ทไี่ ด้ รปู ที่ 9 ส่วนหน่งึ ของพ้นื ทปี่ ่าชายเลนท่คี งสภาพ ทม่ี า: ดัดแปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วิทยาลัยชุมชนตราด [Video file] (เขา้ ถงึ เม่ือ 9 มกราคม 2565)

32 รปู ท่ี 10 กงั้ ปู หมกึ และเคย ทีไ่ ด้จากการทำประมงในตำบลคลองใหญ่ ทมี่ า: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วิทยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เข้าถงึ เมื่อ 9 มกราคม 2565) 3) ความเข้มแขง็ ของผู้นำชุมชน การทำงานร่วมกับชุมชนในฐานะของวิทยาลัยชุมชนตราด จากการ สัมภาษณ์สะทอ้ นให้เหน็ ว่าตำบลคลองใหญ่มีความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ที่ไม่ปล่อยให้เปน็ หนา้ ท่ี ของวิทยาลัยชุมชนตราดเท่านั้น แต่ผู้นำชุมชนยังเปรียบเสมือนฟันเฟืองที่ช่วยขับเคลื่อนตลอด ระยะเวลาการทำโครงการ อำนวยความสะดวก และมีการส่ือสารระหว่างกันอย่างเป็นแนวระนาบ สง่ ผลใหเ้ กิดความเข้าใจร่วมกันระหว่างวทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด ผนู้ ำชมุ ชน และภาคประชาชน ดังน้ัน ความเข้มแข็งของผู้นำชุมชนและการทำงานร่วมกันอย่างมีศักยภาพ ช่วยให้เป็นจุดเด่นของตำบล คลองใหญ่ในอีกประการหนงึ่ การรวมกลุ่มอาชพี ของภาคประชาชน ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มในพ้นื ท่ีตำบลคลองใหญ่ มีความอุดมสมบรู ณข์ องทรัพยากรทางทะเล มีพื้นที่ในการจัดการการท่องเที่ยวในชุมชน ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ตำบลคลองใหญ่เกิดการรวมกลุ่มของคนใน ชุมชน ซึ่งดำเนินการโดยสมาชิกในกลุ่ม เช่น กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนแปรรูปอาหารทะเลบา้ นตาหนึก กลุ่มวสิ าหกิจ ชุมชนทอ่ งเทย่ี วชุมชนตำบลคลองใหญ่ กล่มุ วิสาหกจิ ชุมชนแปรรูปนำ้ พรกิ บา้ นคลองจาก กลุ่มวสิ าหกิจชุมชนกลุ่ม สตรีแปรรูปบ้านคลองจาก โดยในแต่ละกลุ่มได้จัดทำผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสินค้า และสร้างรูปแบบการ ท่องเที่ยวเป็นของตนเอง โดยมุ่งแสดงอัตลกั ษณ์ของชุมชนที่ตั้งอยูบ่ นทุนทางทรัพยากรทางธรรมชาติและทุนทาง วฒั นธรรม

33 “ตำบลคลองใหญ่มีการรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่เขม้ แข็ง และผู้นำชมุ ชนก็เปน็ ส่วนทีส่ ำคัญอย่างมาก ทง้ั กำนันผูใ้ หญ่บ้าน และองค์การบริหารส่วนท้องถ่ินก็ถือเปน็ ส่งิ สำคญั ทั้งวทิ ยาลยั ชุมชน หน่วยงานท้องถ่ิน และ ภาคประชาชน” คณะทำงานโครงการ U2T (สมั ภาษณ,์ 6 มกราคม 2565) สำหรับข้อจำกัดของชุมชน จากการทำเวทีประชาคมทำให้สะท้อนประเด็นด้านข้อจำกัดหรือปัญหาที่ ชาวบา้ นตำคลองใหญต่ ระหนักรวู้ ่ากำลงั เผชญิ กับข้อจำกดั เหล่านร้ี ่วมกัน กลา่ วคือ ในปัจจบุ นั การเกิดขึ้นของกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนในตำบลคลองใหญ่เป็นหนึ่งในจุดแข็งที่แสดงให้เห็นว่าคนในชุมชนมีศักยภาพในการจัดกา รและ พึ่งพาตนเองได้ แต่กระนั้นวิสาหกิจยังชุมชนมิใช่ปลายทางของประชาชน ซึ่งข้อจำกัดประการแรกจึงว่าด้วย “ผลติ ภัณฑ์” ทยี่ งั คงมคี วามคล้ายคลงึ กัน ไม่สามารถแสดงอัตลกั ษณข์ องผลติ ภณั ฑไ์ ด้ ส่งผลให้เกิดการชะงักงัน ของการระบายและจำหน่ายสนิ ค้า ประการทสี่ อง คือ ข้อจำกัดในการพัฒนาคณุ ภาพให้ไดม้ าตรฐาน เนื่องมาจาก คนในชุมชนไม่มีองคค์ วามรู้ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ ซึง่ ขอ้ จำกัดเหล่านี้สามารถมีแนวโน้มในการพัฒนา และแก้ไขปญั หาได้ (คณะทำงานโครงการ U2T, สัมภาษณ์, 6 มกราคม 2565) ดังนั้นหากกล่าวถึงบรบิ ททั่วไปของตำบลคลองใหญ่ ในสายตาของคนนอกอาจมองเห็นในเชิงพืน้ ที่วา่ มี ลักษณะทางกายรูปท่ีมีขอ้ จำกัด ไม่ว่าจะเปน็ พืน้ ที่ใช้สอยในชมุ ชน หรือแมแ้ ต่ระยะทางท่ีไกลออกไปจากตัวเมือง มากกวา่ 70 กิโลเมตร มที ะเล มีภเู ขา มีการทำประมง แต่หากมองในอกี มิติหนงึ่ จะพบว่าตำบลคลองใหญ่ เป็น พนื้ ที่ที่มีเสน่ห์ของความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม เปน็ พนื้ ท่ที ่เี ตม็ ไปดว้ ยโลกท่ีเคลื่อนยา้ ย ทั้งคน สินค้า วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของคนในชุมชน ที่เคลื่อนย้ายด้วยการเป็นพื้นทีส่ ดุ แดนบูรพา รวมถึงความเข้มแข็งของผู้นำท้องถิ่น และภาคประชาชน ส่งิ ตา่ ง ๆ เหลา่ นจ้ี งึ ทำให้ตำบลคลองใหญ่มคี วามน่าสนใจ และส่วนหนงึ่ ยังคงเปน็ พ้ืนที่ท่ีมีขีด ความสามารถในการพัฒนาเพ่อื ยกระดับชวี ิตความเปน็ อยขู่ องประชาชนในพนื้ ท่ใี ห้เกิดข้ึนต่อไปได้ในอนาคต การดำเนินกิจกรรมของพืน้ ที่ชุมชนตน้ แบบ การดำเนนิ กจิ กรรมของวิทยาลยั ชุมชนตราดในพื้นท่ีตำบลคลองใหญ่แบง่ ออกเป็น 2 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะ ก่อนการดำเนินกิจกรรม และระยะดำเนนิ กจิ กรรม โดยมรี ายละเอยี ดของกิจกรรมดังน้ี 1) ระยะก่อนการดำเนินกิจกรรม ก่อนการลงพื้นที่ตำบลคลองใหญ่ วิทยาลัยชุมชนตราดได้มี กระบวนการลงไปทำเวทีประชาคม เพื่อศึกษาความต้องการ (Need Assessment) ของชุมชน โดยมีทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนเขา้ มารว่ มพูดคุยกนั เพ่ือร่วมเสนอมมุ มองทเี่ กิดขนึ้ ในพื้นที่ รวมทั้งผู้นำชุมชนไม่ว่า จะเป็นกำนนั ผู้ใหญ่บ้าน นายกองค์การบริหารสว่ นตำบล นายอำเภอ และปลดั อำเภอ ผลที่ได้รับคือทำให้วิทยาลัยชุมชนตราดได้รู้จักกลุ่มในชุมชน และมีปฏิสัมพันธ์กับคนในชุมชนมากขึ้น ระดับหน่ึง จากการทำเวทีประชาคมทำใหผ้ ดู้ ำเนนิ กจิ กรรมทราบวา่ ปัญหาทค่ี นในชมุ ชนคิดและปัญหาทตี่ นเองคิด น้ันมคี วามแตกตา่ งกนั สง่ิ ทีส่ ะทอ้ นออกมาเป็นปัญหาเฉพาะของชุมชน ท่ีมคี วามต้องการให้วิทยาลัยชุมชนตราด เข้ามาช่วยคิดและพัฒนา ประกอบดว้ ย ผลติ ภัณฑ์ การขายสนิ คา้ และการพฒั นาคุณภาพใหไ้ ด้มาตรฐาน นอกจากนั้นในกลุ่มผู้ถูกจ้างงาน ได้ดำเนินการศึกษาข้อมูลชุมชนเพื่อทำความเข้าใจชุมชนและบริบท ชุมชนไดม้ ากขึน้ เมือ่ ดำเนนิ การเก็บข้อมลู ชุมชนจะถูกนำมาตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล เพือ่ ประมวลผลส่ง อาจารย์ประจำตำบล และสะท้อนปัญหาของชุมชนผ่านขอ้ มูลท่ีได้ศึกษา รวมถึงเสนอแนวทางที่จะนำมาสู่ความ

34 ครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล ซึ่งผลลพั ธท์ ี่ได้น้ันเกิดกับตัวผู้ถูกจ้างงาน กล่าวคือ ทำให้เข้าใจบริบทชุมชน ความ เป็นอยู่ วิถีชีวติ สภาพปัญหาทีป่ รากฏขึ้นใหเ้ ห็นในขณะนัน้ ๆ นอกจากน้ันการศึกษาชมุ ชนในรูปแบบดังกล่าว ยัง ถือเปน็ การใชป้ ระโยชน์จากชมุ ชนในฐานะพน้ื ทีท่ เ่ี ปน็ “สนาม” (field) ใหไ้ ดศ้ กึ ษาปรากฏการณ์และทดลองมองใน มุมของคนใน นอกจากนั้นยังได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ การวิเคราะห์ข้อมูลในฐานะของคนนอก ทำให้ผู้ดำเนนิ กจิ กรรมสามารถมองเห็นและอธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ในชมุ ชนไดอ้ ยา่ งลุม่ ลึกและช่วยให้ทำงานกับชุมชนได้ อยา่ งเปน็ เน้อื เดียวกนั 2) ระยะดำเนินกิจกรรม หลังจากที่มีการศึกษาชุมชนทั้งปัญหา ความต้องการ และบริบทชุมชน จะ นำมาสู่การดำเนินกิจกรรมเพื่อสอดรับกับความต้องการและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการดำเนินการได้แบ่ง ออกเปน็ 4 รปู แบบ ดงั น้ี กิจกรรมที่ 1: การพฒั นาอาชพี และสง่ เสรมิ ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพมาตรฐาน เม่อื ทราบถงึ บรบิ ทชมุ ชนจงึ ทำให้ได้โจทยก์ ารพัฒนาอาชีพและผลิตภณั ฑ์ ดงั น้ี (1) มีคุณภาพมาตรฐานของสินค้า การฆ่าเชื้อ และการหาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับการยืด อายกุ ารบริโภค (2) มีการพัฒนาผลิตภณั ฑใ์ ห้ตอบโจทย์ผู้บรโิ ภค โดยต้ังอยูบ่ นคำถามวา่ ขายให้ใคร รวมทั้งมี วธิ ีการนำสิ่งท่เี ป็นปญั หาในชุมชนมาสร้างเปน็ รายได้อย่างไร ผลการดำเนินกจิ กรรมส่งผลให้วิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารทะเลบา้ นตาหนกึ ได้ผลิตภัณฑ์น้ำเคย ไข่ ที่มีบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมและได้มาตรฐานตามสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ภายใต้ สัญลักษณ์ “ตาหนึก” นอกจากนั้นยังได้มีวิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีแปรรูปบ้านคลองจาก ที่ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ประกอบด้วย น้ำพริกกุ้ง น้ำพรกิ ก้ัง และนำ้ พริกเคย ที่มบี รรจภุ ณั ฑไ์ ดม้ าตรฐานภายใตส้ ญั ลักษณ์ “ทะเลคลั่ง” รปู ที่ 11 ผลิตภณั ฑน์ ำ้ เคยไข่ ภายใต้สญั ลักษณ์ “ตาหนกึ ” ท่มี า: คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลคลองใหญ่ (2564)

35 รปู ท่ี 12 ผลติ ภณั ฑ์นำ้ พรกิ กงุ้ ภายใตส้ ญั ลักษณ์ “ทะเลคลง่ั ” ทมี่ า: คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลคลองใหญ่ (2564) รปู ที่ 13 ผลิตภัณฑ์นำ้ พรกิ กั้ง ภายใต้สัญลกั ษณ์ “ทะเลคลงั่ ” ทม่ี า: คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลคลองใหญ่ (2564) รปู ท่ี 14 ผลติ ภัณฑน์ ำ้ พรกิ เคย ภายใตส้ ัญลักษณ์ “ทะเลคลงั่ ” ทม่ี า: คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลคลองใหญ,่ 2564 กิจกรรมที่ 2: การพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยว โดยชุมชนตำบลคลองใหญ่แบบมีส่วนร่วม กจิ กรรมการท่องเที่ยวดำเนินการโดยวสิ าหกิจทอ่ งเท่ียวชุมชนตำบลคลองใหญ่ โดยเกดิ พยายามของกลุ่มวิสาหกิจ ฯ ที่มีความต้องการสะทอ้ นเรอ่ื งราวและของดีของตำบลคลองใหญ่ โดยมโี จทย์ “ทำไมต้องมาเทย่ี วถงึ คลองใหญ”่ จากที่ได้ทบทวนวรรณกรรมปริทัศน์จะเห็นว่า ตำบลคลองใหญ่มีระยะทางที่ไกล การเข้ามาท่องเที่ยวในตำบล คลองใหญโ่ ดยส่วนมากจะเปน็ ความพยายามของนักทอ่ งเท่ยี วทต่ี อ้ งการมาเยือนตำบลคลองใหญ่ ดงั นนั้ การพัฒนากลุ่มทอ่ งเทย่ี วจงึ ได้มีความพยายามในการพฒั นามาตลอด และได้มีหลายภาคส่วนเข้า มาช่วยในการพัฒนาการท่องเทีย่ ว แต่ก็ยังไม่ได้แก้ปัญหาของกลุ่ม คือ “ทำไมต้องมาคลองใหญ่” เพราะฉะน้ัน ทางคณะทำงานจึงต้องถอยออกมามองในฐานะคนนอก (etic) ว่าเมื่อนักท่องเที่ยวเข้ามาในพื้นที่แล้ว สิ่งใดที่ สามารถสรา้ งความร้สู ึกประทับใจ หรอื เกดิ ความคุ้มคา่ ในสายตาและมมุ มองของนักท่องเที่ยว โดยคณะทำงานมี

36 กรอบคิดภายใต้ “ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ” และ “ทุนทางวัฒนธรรม” ของชุมชน ซึ่งกรอบแนวคิดนี้ทำให้ ชุมชนพยายามที่จะรว่ มกนั คดิ และนำเสนอทกุ อย่างท่ีชมุ ชนมอี ยู่ บทบาทของคณะทำงานในกิจกรรมน้ีจงึ เสมือนการเป็นผอู้ ำนวยความสะดวกใหก้ ับชมุ ชน เช่น ช่วยเติม เต็มข้อมูล จนออกมาเป็นโปรแกรมต่อยอดจากสิ่งที่ชุมชนมีอยู่ คือ “เที่ยวก๊ะกิน in คลองใหญ่” ซึ่งโปรแกรม ท่องเที่ยวนี้เป็นสิ่งที่ชุมชนคิดขึ้นด้วยตนเอง นอกจากนั้นทางคณะทำงานได้คิดโปรแกรมท่องเที่ยวที่ชื่อว่า “ตะลอนกิน in คลองใหญ่” โดย “เที่ยวก๊ะกิน in คลองใหญ่” จะบริหารและนำเสนอผ่านกลุ่มวิสาหกิจท่องเที่ยวชุมชนตำบลคลอง ใหญ่ ทีจ่ ะเลา่ เรอ่ื งความเป็น 4 วัฒนธรรม คอื เวยี ดนาม กมั พชู า จนี และไทย โดยการนำวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ติ เข้ามาใหน้ กั ท่องเท่ียวเกิดกระบวนการเรียนรใู้ นพ้ืนท่ี และนำเสนออาหารท้องถิ่น วฒั นธรรมท้องถิ่น และวิถีชีวิต ประมง รปู ที่ 15 เสน้ ทางทอ่ งเท่ียวในโปรแกรม “เท่ยี วก๊ะกนิ in คลองใหญ่” ที่มา: คณะทำงานโครงการ U2T ตำบลคลองใหญ่ (2564) รปู ท่ี 16 กจิ กรรมสักการะศาลเจ้าแมท่ บั ทิม และชมการแสดงเชดิ สิงโต ทมี่ า: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เข้าถงึ เมอื่ 9 มกราคม 2565)

37 รปู ที่ 17 กิจกรรมทำกำไลขอ้ มอื ป่เี ซย่ี ะ ทม่ี า: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เขา้ ถึงเมอื่ 9 มกราคม 2565) รปู ที่ 18 ขนมเบอ้ื งญวน (ซา้ ย) และขนมบันจั๊ง (ขวา) ทีไ่ ด้รับอิทธิจากชาวญวณหรอื เวยี ดนาม ที่มา: ดัดแปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เข้าถงึ เม่ือ 9 มกราคม 2565) รปู ท่ี 19 “ขนมบอบแบบ” ขนมไทยโบราณหากนิ ยาก มีในพน้ื ท่ภี าคตะวันออกของไทย ส่วนมากอยูท่ ี่ ระยอง จนั ทร์ และตราด ที่มา: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เขา้ ถงึ เม่ือ 9 มกราคม 2565)

38 รปู ท่ี 20 “สลอมมาจญู วน” อาหารพืน้ บ้านของตำบลคลองใหญ่ทไี่ ดร้ บั อทิ ธิพลจากกมั พชู า ทีม่ า: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วิทยาลยั ชุมชนตราด, [Video file] (เขา้ ถึงเมอ่ื 9 มกราคม 2565) รปู ที่ 21 “ลกลัก” ทำจากเน้ือกวาง โดยได้รบั อิทธพิ ลจากอาหารฝรงั่ เศส ที่มา: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชมุ ชนตราด, [Video file] (เข้าถึงเมอ่ื 9 มกราคม 2565) รปู ท่ี 22 นำ้ พรกิ ก้งุ แห้ง ทมี่ า: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วิทยาลยั ชุมชนตราด, [Video file] (เข้าถึงเม่ือ 9 มกราคม 2565)

39 รปู ที่ 23 กจิ กรรมการทำผา้ พมิ พด์ ว้ ยใบไม้ ทมี่ า: ดดั แปลงจาก U2T ตำบลคลองใหญ่ วทิ ยาลยั ชุมชนตราด, [Video file] (เขา้ ถึงเมอ่ื 9 มกราคม 2565) ในขณะเดียวกันโปรแกรมท่องเที่ยว “ตะลอนกิน in คลองใหญ่” ที่ถูกคิดขึ้นโดยคณะทำงาน จะเป็นการเล่า วัฒนธรรมและวิถีชีวติ ของคนคลองใหญ่ บนคำถามที่ว่า “ใน 1 วัน นักท่องเที่ยวจะสามารถเข้าไปเรียนรู้ชุมชน ด้วยตัวเองอย่างไร” โปรแกรมทอ่ งเท่ยี วนีค้ าดหวังประโยชน์ท่ีไดร้ ับว่าจะทำใหค้ นในชุมชน และร้านค้าขนาดเล็ก สามารถได้รายได้จากการท่องเที่ยว วธิ ีการดำเนินการคอื การเกบ็ ขอ้ มูลจากรา้ นคา้ ตา่ ง ๆ ชุมชน เช่น ร้านขนม ปังปาเต ซึ่งเป็นวัฒนธรรมเวียดนามและกัมพูชา ร้านขนมบอบแบบ ร้านขนมบันดุก ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้ก็เป็น โปรแกรมท่กี ล่มุ วสิ าหกิจทอ่ งเทย่ี วฯ จะสามารถนำไปใช้ในโปรแกรมท่องเที่ยวของกลมุ่ ได้ รปู ที่ 24 การลงพื้นท่เี กบ็ ขอ้ มลู และจดั ทำสื่อในโปรแกรมท่องเท่ียว “ตะลอนกนิ in คลองใหญ่” ทม่ี า: U2T ต.คลองใหญ่ จงั หวัดตราด, [เฟซบ๊กุ รปู ภาพอัพเดท] (เข้าถงึ เมอ่ื 9 มกราคม 2565) อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ของกจิ กรรมในขณะนี้ (วันท่ี 6 มกราคม 2565) ยงั ไมส่ ามารถประเมินผลตอบรับ ได้ อันเนื่องจากยังไม่ได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวด้วยภายใต้สถานการณ์วิกฤต โคโรนา 2019 จึงได้ พฒั นาและเตมิ เตม็ เรื่องราวของชมุ ชนในการรับรเู้ อกลกั ษณ์และอตั ลักษณ์ผ่านการเป็นนกั ส่ือความหมายของคนใน ชุมชน เช่น อาหาร ซึ่งสามารถเปน็ ของฝากไดค้ อื “น้ำพรกิ เกลอื กงุ้ แหง้ ” ทจี่ ะบอกเลา่ วิถชี ีวิตชาวประมง และการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะเติมเต็มการท่องเที่ยวของชุมชน ให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนและ นักท่องเที่ยวมากขึ้น ได้แก่ การทำผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ การทำกำไลข้อมือศาลเจา้ แม่ทับทิม มีการนั่งเรือชม ธรรมชาติ โดยได้คณะทำงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูลและส่งภาพกิจกรรมทั้งหมดไปให้กับ ผทู้ รงคุณวฒุ เิ สนอแนะเพ่อื เป็นมุมมองในการแกไ้ ขและการพัฒนาโปรแกรมทอ่ งเทย่ี วต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook