193 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Phakdisamai, R & Panichacheewakul, P.(2011). Development of care for the elderly with knee pain problems of Ban Bak Subdistrict Health Promoting Hospital, Changhan District, Roi Et Province. Journal of Nursing and health, 34(4), 748-757. (in Thai). Promtansud, P. & Munsart, S. (2019). Effectiveness of a pain management and environmental adjustment program for elderly with knee osteoarthritis. ThaiJournal ofNursing, 67(4), 34-43. Pradit, W., Chomdet, S. & Nganwongpanich, K. (2014). Researches of Thai Herbs for Osteoarthritis Treatment. Scientific Journal KKU, 42(2), 289-302. Somput, P. (2015). Effects of knee wrap with poultice on knee pain in patients with jab pongna knee disease. Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima. Wichayavoranun, S., Mukpradub, S. & Thiangjanya, P. (2017). Effects of the Relief Program Knee pain with herbal medicine, knee mask in patients with osteoarthritis, Na Noi Subdistrict, Hat Yai District, Songkhla Province, Documents for the Academic Contest on Thai Traditional Medicine for the Fiscal Year 2017: Food, Drugs, Thai Traditional Medicine and Alternative Medicine Songkhla Provincial Public Health Office. Yammun,S., Udompittayasan, J. & Siramaneerat, I. (2018). Effectiveness of knee wrap with herbal formulations on knee pain in patients Japong dry knee. Ban Khok Hospital, Ban Khok District, Uttaradit Province. Journal of Boromarjonani College of Nursing Suphanburi 1(1), 16-27. (in Thai). Rueangsakul, R., Panaporn, T., Sae Sim, S Yoysanit, T. & Chayatawat3, W. (2020) Range of Motion of Knee Osteoarthritis Patients when Treating with Only Royal Court-type Massage and with Herbal Compression. Journal of Traditional Thai Medical Research, 6(1), 21-34. Udomsak, T. (2019). Effect of Self-Management Support Program in Elderly with Knee Pain on Severity Level of knee joint pain, Hang Chat Subdistrict, Hang Chat District Lampang Province. Journal of Public Health System Development Research, Phrae , 9(8),19-31. Soisong, S., Ruenkon, A., Fuengthong, P. & Sathong, P. (2019). Nursing for the Elderly with Osteoarthritis Regional Medical Journal. 33 (2),197-210. Thammakongthong, S., Abdullakasim, P & Maharachpong, N.(2019). Effect of an exercise program using thera-band on leg and joint mobility on knee osteoarthritis patients. Journal of Public Helth Nursing, 33, 51-66. Retrieved (2020, January 29) from https://he01.tci- thaijo.org/index วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
The Situation of Tuberculosis of Inmates in Prison Mueang Lampang District, Lampang Province Pradit Nirattisai 1* (Received: November 7, 2021, Revised: March 31, 2022, Accepted: April 18, 2022) Abstract The objectives of this analytical descriptive were to study morbidity rates and to analyze pulmonary tuberculosis, morbidity rates among inmates in prisons, by studying and collecting retrospective data from the Lampang Central Prison database of 2,706 inmates from 3 prisons from October to December 2019. The instruments used a personal data record form, physical examination by chest radiography and sputum AFB 3 -day and MTB test in inmates with abnormalities on chest radiographs. The descriptive data were analyzed frequency, percentage and compare the ratios of disease and non-morbidity in both the risk factor and non-risk groups The result found that: A total of 2 ,7 0 6 inmates were examined by chest radiograph screening found abnormalities 10.02 %, males 9.24%, females 0.78%, receiving additional tests with sputum AFB and MTB of the 32 positive and diagnosed pulmonary tuberculosis inmates (31 males, 1 female), 1 7 .1 1 % of the inmates had abnormal radiographs. In each prison, chest radiography screening results showed abnormalities: 1) 2,552 The Central Prison with 261 abnormalities, 2) 50 at Nong Krathing Temporary Prison, 4 with abnormalities, 3) 104 at Central detention center with 7 abnormalities, of which three were further tested with AFB sputum and MTB tests, who were positive and were diagnosed with pulmonary tuberculosis, 2 9 , 2 and 1 patients, respectively. Risk factor of pulmonary tuberculosis found that sex and underlying diseased are not associated in this study. This study suggested that disease was caused by an imbalance of factors involved in both the human, disease-causing and environmental factors that need to be balanced in order to reduce the incidence of the disease. Screening of asymptomatic pulmonary tuberculosis patients in prison should therefore be screened according to criteria for speedy diagnosis and timely treatment to help reduce the spread of pulmonary tuberculosis in prison. Keywords: Pulmonary Tuberculosis; Inmates; Prison * Social Medicine Group, Lampang Hospital 1Corresponding author: praditnirattisai@gmail.com Tel.0883909589 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
สถานการณ์การเกดิ วัณโรคของผู้ต้องขงั ในเรอื นจา อาเภอเมอื งลาปาง จงั หวัดลาปาง ประดิษฐ นิรตั ิศัย 1* (วนั ท่ีรบั บทความ : 7 พฤศจิกายน 2564 , วันแก้ไขบทความ: 31 มีนาคม 2565, วันตอบรับบทความ: 18 เมษายน 2565) บทคัดย่อ การศึกษาเชิงพรรณนาแบบวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาอัตราป่วยและวิเคราะห์อัตราการป่วยด้วย วัณโรคปอดของผู้ต้องขังท่ีอยู่ในเรือนจา โดยศึกษาและเก็บข้อมูลย้อนหลังจากฐานข้อมูลของเรือนจากลางลาปาง ต้ังแต่เดือนตุลาคม-ธันวาคม พ.ศ.2562 กลุ่มตัวอย่างผู้ต้องขัง จานวน 2,706 คน จาก 3 เรือนจา เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล การตรวจร่างกายโดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก และการส่งเสมหะเพื่อทาการ ทดสอบโดยส่งตรวจ AFB จานวน 3 วัน และการส่งตรวจ MTB ในผู้ต้องขงั ที่พบความผิดปกติที่ภาพถ่ายรังสีทรวง อก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ และเปรียบเทียบอัตราส่วนของการเป็นโรคและไม่เป็น โรคในกลุ่มท่ไี ดร้ บั ปจั จัยเสี่ยงและไมไ่ ดร้ บั ปจั จยั เสยี่ ง ผลการศึกษาผู้ต้องขังทั้งหมด 2,706 คน จากการคัดกรองด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกพบความผิดปกติ ร้อยละ 10.02 เพศชาย ร้อยละ 9.24 เพศหญิง ร้อยละ 0.78 โดยได้รับการตรวจเพ่ิมด้วยการส่งเสมหะ AFB และ ตรวจ MTB ซึ่งได้ผลบวกและได้รับการวินิจฉัยว่า เป็นวัณโรคปอดเข้าสู่กระบวนการการรักษา จานวน 32 คน (ชาย 31 คน หญิง 1 คน) คิดเป็นร้อยละ 17.11 ของผู้ต้องขังที่พบภาพรังสีผิดปกติ โดยแต่ละเรือนจามีผลการคัด กรองด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกท่ีพบความผิดปกติ: 1) เรือนจากลาง 2,552 คน พบความผิดปกติ 261 คน 2) เรือนจาช่ัวคราวหนองกระทิง 50 คน พบความผิดปกติ 4 คน 3) สถานกักขังกลาง 104 คน พบความผิดปกติ 7 คน ซึ่งทง้ั 3 เรือนจาได้รับการตรวจเพิ่มด้วยการสง่ เสมหะ AFB และตรวจ MTB ซง่ึ ได้ผลบวกและได้รบั การวินจิ ฉัย ว่าเป็นวัณโรคปอดเข้าสู่กระบวนการการรักษา จานวน 29, 2 และ 1 คน ตามลาดับ แต่เม่ือวัดความสัมพันธ์ของ เพศชายไม่มีความสัมพันธ์กับการเป็นวัณโรคเม่ือเทียบกับเพศหญิง และการมีโรคประจาตัวกับการปฏิเสธโรค ประจาตวั ไมม่ ีผลต่อการเกิดโรควัณโรครายใหม่ในเรือนจา การศึกษาช้ใี หเ้ ห็นว่าโรคเกิดจากการเสียสมดลุ ของเหตุปัจจยั ที่เกยี่ วขอ้ งทั้งคน ตัวก่อโรค และส่ิงแวดล้อม ต้องเกิดความสมดุลจึงจะทาให้การเกิดโรคลดลงได้ แต่ด้วยสิ่งแวดล้อมในเรือนจาเป็นสถานท่ีแออัด การคัดกรอง ผู้ป่วยวัณโรคท่ีไม่มีอาการแสดงที่อยู่ในเรือนจาจึงควรได้รับการคัดกรองตามเกณฑ์เพ่ือให้เกิดความรวดเร็วในการ วนิ ิจฉัยและได้รับการรกั ษาอย่างทันท่วงทีเพื่อชว่ ยลดอตั ราการแพร่ระบาดของโรควัณโรคปอดในเรือนจา คาสาคญั : วัณโรคปอด; ผ้ตู อ้ งขัง; เรือนจา *โรงพยาบาลลาปาง กลมุ่ งานเวชกรรมสงั คม 1ผู้ประพันธ์บรรณกจิ : praditnirattisai@gmail.com โทร 0883909589 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
196 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา วณั โรค เป็นโรคติดเช้ือทางอากาศ ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium ซง่ึ มีหลายชนิด เช้ือ ท่ีพบบ่อยท่ีสุดและเป็นปัญหาในประเทศไทย คือ เช้ือ Mycobacterium tuberculosis โดยทั่วไปแล้วผู้ท่ีติดเช้ือ วัณโรคจะไม่แสดงอาการใดๆ ส่วนใหญ่จะเกิดข้ึนที่ปอด และจะติดต่อผ่านระบบทางเดินหายใจ จึงทาให้เช้ือเข้า ปอดได้ง่ายท่ีสุด จึงทาให้วัณโรคยังคงเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยและองค์การอนามยั โลกจัดให้ ไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศของโลกที่มีปัญหาวัณโรค วัณโรคท่ีสัมพันธ์กับการติดเช้ือเอชไอวี และวัณโรคด้ือยา หลายขนานสูง โดยกลุ่มเสี่ยงที่อาจป่วยเป็นวัณโรค ได้แก่ ผู้ต้องขังในเรือนจา ผู้สูงอายุ ผู้ติดเช้ือเอชไอวี ผู้ป่วย เบาหวาน แรงงานข้ามชาติ และบุคลากรด้านสาธารณสุข (The Bureau of Tuberculosis, Department of disease Control, 2018) วัณโรคมีอุบัติการณ์การเกิดโรคในปี 2559 มีรายงานว่าผู้ต้องขังจานวน 307,961 ราย จากเรือนจา และทัณฑสถาน 142 แหง่ มผี ู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 1,589 ราย มีผู้ป่วยวัณโรคดอื้ ยา rifampicin (RR-TB) 88 ราย ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน 21 ราย และพบผู้ป่วยวัณโรคท่ีติดเชื้อ HIV จานวน 293 ราย จากข้อมูล ผู้ป่วยวัณโรคในปี 2562 ประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรค 105,000 รายต่อปี และมีการเสียชีวิตจากวัณโรค 11,000 รายต่อปี โดยมีผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนรักษา 88,000 ราย และมี 17,000 ราย ที่ไม่ได้รับรายงานหรือไม่ไดร้ ับการ วินิจฉัย ขณะที่มีผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ HIV เสียชีวิต 1,900 ราย (The Bureau of Tuberculosis, Department of disease Control, 2018) วัณโรคมีการแพร่กระจายเช้ือโดยจะแพร่กระจายจากปอด หลอดลม หรือกล่องเสียงของผู้ป่วยวัณโรค เมื่อผู้ป่วยไอจามพูดดังๆ ตะโกน หัวเราะ หรือร้องเพลง เชื้อเหล่าน้ีจะอยู่ในละอองฝอยของเสมหะท่ีออกมาสู่ อากาศ อนุภาคของละอองฝอยขนาดใหญ่มักตกลงพ้ืนและแห้งไป เหลือสว่ นท่ีเล็กท่สี ุดท่ีมีเช้ือวัณโรคจะลอยอยู่ใน อากาศไดห้ ลายช่ัวโมง และถูกทาลายโดยแสงแดด โดยการไอในเวลา 1 ช่ัวโมง ระยะแพร่เช้ือสามารถปล่อยละออง เสมหะท่ีมีเชื้อได้ตั้งแต่ 18-3,798 ละออง (Fennelly K.P., Martyny J.W., Fulton K.E., Orme L.M., Cave C.M. and Heifets L.B, 2004) เม่ือสูดหายใจเอาละอองฝอยท่มี ีเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย เช้อื วัณโรคที่มีขนาดใหญ่ จะติดอยู่ที่จมูกหรือลาคอ ซ่ึงมักไม่ก่อให้เกิดโรค แต่ส่วนที่มีขนาดเล็กๆ จะเข้าไปสู่ท่ีปอดเช้ือจะถูกทาลายด้วย ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย หากมีเชื้อที่ถูกทาลายไม่หมดจะแบ่งตัวทาให้เกิดการติดเชื้อ ถ้าระบบภูมิคุ้มกัน แข็งแรงจะสามารถยับย้ังการแบง่ ตัวของเชือ้ วณั โรค วัณโรคจึงเป็นโรคติดต่อที่สามารถคัดกรองและสามารถรักษาให้หายได้ แต่ความชุกของวัณโรคปอดใน กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจาสูงกว่าในประชากรทั่วไปเกือบ 10 เท่า และด้วยบริบทในเรือนจาซึ่งเป็นสถานท่ีบุคคลอยู่ รวมกันแออัดมาก ระบบการระบายอากาศ ประสิทธภิ าพไม่เพียงพอ ด้วยข้อจากัดของสถานที่และระบบการรักษา ความปลอดภัย ทาให้การควบคุมวัณโรคยังมีปัญหาอุปสรรค (The Bureau of Tuberculosis, Department of disease Control, 2018) ทั้งการป้องกันการแพร่เช้ือวัณโรค การค้นหาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และการรักษาท่ีมี วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
197 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ประสิทธิภาพเพื่อตัดวงจรการแพร่กระจายเช้ือ ดังนั้นถ้ามีการคัดกรองเพ่ือค้นหาและวินิจฉัยผู้ป่วยวัณโรคให้ รวดเร็วข้ึนต้ังแต่ระยะเริ่มแรกท่ีผู้ป่วยยังไม่มีอาการ ให้การรักษาวัณโรคและวัณโรคด้ือยาที่รวดเร็ว ลดอัตราการ เสียชีวิตและลดการแพร่การกระจายเชื้อวัณโรคนาไปสู่การลดความชุก และอุบัติการณ์วัณโรคปอดให้เป็นไปตาม เปา้ หมาย วัณโรคปอดมีการคดั กรองในเรอื นจาด้วยการถ่ายภาพรงั สีทรวงอกผู้ตอ้ งขังทกุ ราย เป็นครั้งแรกในเรือนจา ทวั่ ประเทศ ผู้ต้องขังประมาณ 2.8 แสนคน เนื่องจากผตู้ ้องขังในเรือนจาเป็นหนึ่งในกลุ่มเสี่ยงสาคญั ท่ีมีโอกาสป่วย เป็นวัณโรคปอดได้สูงกว่าคนทั่วไป 7-10 เท่า อีกทั้งยังมีข้อจากัดในการเข้าถึงการตรวจวินิจฉัยและรักษา สาหรับ วัณโรคปอดในเรือนจาหากผู้ตอ้ งขังไม่ได้รบั การวินิจฉัยและรักษา โอกาสท่ีจะแพร่กระจายเช้ือให้คนอ่ืน ๆ ในเรือน นอนได้ง่ายและเสี่ยงต่อการป่วยเป็นวัณโรคดื้อยาเมื่อเทียบกับประชากรท่ัวไป (Wattanathorn S. & Phakdeewapi T.,2019) จากสถานการณ์จานวนผู้ต้องขังในเรือนจา อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง มีจานวนผู้ต้องขังในจานวนที่มาก ในแต่ละปีจากสถิติ (Department of Correction, 2018) ผู้ต้องขังในสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปางในปี 2561 รวม 25 คน เป็นชายทั้งหมด และในปี 2562 มีผู้ต้องขังเพิ่มขึ้นเป็น 104 คน เป็นชาย 79 คนเป็นหญิง 25 คน ผูต้ อ้ งขงั ในเรือนจากลาง จงั หวัดลาปางในปี 2561 รวม 2,621 คน เป็นชาย 2,249 คน คดิ เป็นร้อยละ 85.81 เป็น หญิง 372 คน คิดเป็นร้อยละ 14.19 และในปี 2562 ผู้ต้องขังในเรือนจากลาง จังหวัดลาปาง รวม 2,656 คน เป็น ชาย 2,268 คน คิดเป็นร้อยละ 85.39 เป็นหญงิ 388 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.61 และเรือนจาชั่วคราวหนองกระทิง จังหวัดลาปางในปี 2562 มีจานวนผู้ต้องขังจานวน 50 คนเป็นชายท้ังหมด และได้คัดกรองวัณโรคเชิงรุกโดยการ การถ่ายภาพรังสีทรวงอกผู้ตอ้ งขัง (X-ray) ในปี 2561 ได้ศกึ ษานาร่องท่ผี ู้ตอ้ งขังในสถานกักขงั กลาง จังหวัดลาปาง ในปี 2561 จานวน 25 คน เป็นชายทั้งหมด พบผู้ตอ้ งขังสงสัยวัณโรคปอด 1 คนโดยพบว่ามรี อยฝ้าแบบจุดร่วมกับ เส้นและป้ืนท่ีปอดขวาส่วนบนคิดเป็นร้อยละ 4 และส่งผู้ต้องขังที่พบภาพรังสีผิดปกติเก็บเสมหะส่งตรวจ AFB ผลบวกจานวน 1 คนคิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้ต้องขังที่พบภาพรังสีผิดปกติได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรคปอดจาก การตรวจเสมหะยืนยัน ดังน้ันโรงพยาบาลลาปาง โดยงานป้องกัน ควบคุมโรคและระบาดวิทยา กลุ่มงานเวชกรรม สังคม จึงมีความสนใจในการคัดกรองวัณโรคปอดในกลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจากลางลาปาง สถานกักขังกลาง และ เรือนจาชั่วคราวหนองกระทิง ท่ีอยู่ในเขตอาเภอเมืองลาปาง เพ่ือลดอัตราการป่วย ของการเกิดวัณโรคปอดใน เรือนจา วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาอัตราป่วยและวิเคราะห์อัตราการป่วยด้วยวัณโรคปอดของผู้ต้องขังในเรือนจาท้ัง 3 เรือนจา ไดแ้ ก่ เรือนจากลางจงั หวัดลาปาง เรอื นจาชั่วคราวหนองกระทงิ และสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปาง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
198 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) คาถามการวจิ ัย อัตราป่วยของการเกิดวัณโรคปอดในเรือนจาท้ัง 3 เรือนจา ได้แก่ เรือนจากลางจังหวัดลาปาง เรือนจา ช่ัวคราวหนองกระทิง และสถานกกั ขังกลาง จังหวดั ลาปาง น้ันเป็นอยา่ งไร นิยามศัพท์ วัณโรคของผู้ต้องขัง หมายถึง โรคติดต่อที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ติดต่อกันผ่านทางอากาศด้วย การหายใจ การจาม การไอหรือการอยู่ร่วมกัน โดยการศึกษาคร้ังน้ีจะเป็นการศึกษาเฉพาะผู้ป่วยวัณโรคปอดใน กลมุ่ ผู้ตอ้ งขังเทา่ น้ัน ไม่ไดร้ วมถงึ วัณโรคทั้งหมดทเ่ี ก่ียวขอ้ ง โดยอาศยั การคัดกรองวณั โรคปอดด้วยการถา่ ยภาพรงั สี ทรวงอกและการตรวจเสมหะด้วยวิธี GeneXpert ในกลมุ่ ผู้ตอ้ งขงั เรือนจา หมายถึง สถานที่กักขังนักโทษที่อยู่ในในเรือนจาท้ัง 3 เรือนจา ได้แก่ เรือนจากลางจังหวัด ลาปาง เรือนจาช่วั คราวหนองกระทิง และสถานกกั ขังกลาง จังหวัดลาปาง แต่ทั้ง 3 สถานที่มีความจาเป็นของการ รับผตู้ ้องขงั ท่แี ตกตา่ งกนั โดย 1)สถานกกั ขงั กลาง เป็นสถานท่ีท่ีมอี านาจควบคุมผู้ต้องกกั ขังซึ่งถูกกาหนดโทษกกั ขัง เช่น โทษขังแทนค่าปรับส่วนใหญ่ กักขังไม่เกิน 2 ปี จึงมีผู้ต้องขังหมุนเวียนเปล่ียนบ่อย 2) เรือนจาช่ัวคราวหนอง กระทิง เป็นท่ีกักขังผู้ต้องขังช้ันดีท่ีได้รับการลดโทษและใกล้ได้รบั การปลดโทษซึ่งเป็นผู้ต้องขังที่อยู่ในเรือนจากลาง มาก่อนซงึ่ มีผู้ต้องขงั จานวนน้อยท่สี ุด และ 3)เรือนจากลาง เป็นเรือนจาปกติทรี่ ับคุมขังผตู้ ้องขังท่ีมีคาพิพากษาแล้ว และนักโทษเด็ดขาดที่มโี ทษจาคุกตง้ั แต่ 15 ปีข้นึ ไปซง่ึ จะมีผตู้ ้องขงั มากกกว่า 1,000 คนขึ้นไป กรอบแนวคดิ การวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยศึกษาอัตราป่วย ของการเกิดวัณโรคปอดของผู้ต้องขังท่ีอยู่ในเขตอาเภอเมืองลาปาง ได้แก่ เรือนจากลางจังหวัดลาปาง เรือนจาชั่วคราวหนองกระทิง และสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปาง โดยใช้ หลักการป้องกันและควบคุมโรค เมื่อปัจจัยท่ีทาให้เกิดโรคมีอยู่ 3 ด้านคือ 1) ส่ิงที่ทาให้เกิดโรค (Agent) 2) คน (Host) 3) สง่ิ แวดล้อม (Environment ) ถา้ สามารถยบั ย้ังตัวแปรใด ตัวแปรหนึง่ ได้ก็จะสารมารถทาให้การป้องกัน และควบคุมโรคดีขึ้น แต่ในกรณีผู้ต้องขังในเรือนจาอยู่ในส่ิงแวดล้อมเดียวกัน ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและ โภชนาการท่ีเหมือนกัน ดังนันถ้ามีการค้นหาและวินิจฉัยโรคต้ังแต่แรกเร่ิมได้น่าจะสมารถลดการเกิดโรคได้เช่นกัน สรปุ เป็นกรอบแนวคดิ ได้ดงั นี้ คือ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
199 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) Agent Host 1.การวนิ ิจฉยั แต่แรกเรม่ิ และ Environment 1.การสง่ เสริมสขุ ภาพ รกั ษาทนั ที โภชนาการ สุขศกึ ษา 2.การคน้ หาและรักษาพาหะ 2.การคุ้มกันเฉพาะ เช่น นาโรค วัคซีน 3.การควบคมุ แหล่งแพรเ่ ชือ้ การควบคมุ ส่งิ แวดลอ้ ม เช่น ขยะ นา้ เสีย สงิ่ ปฏิกูล สัตว์ และแมลงทเี่ ปน็ พาหะนาโรค ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั วธิ ีดาเนินการวิจยั รูปแบบการวิจัยครัง้ นี้ เป็นการวิจัยเชงิ พรรณนาแบบวเิ คราะห์ (descriptive analytical study) โดยเก็บ ข้อมลู ย้อนหลังในช่วงไตรมาส 1 ของปงี บประมาณ 2563 ระหวา่ งเดอื นตุลาคม-ธันวาคม พ.ศ.2562 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรคือ ผู้ต้องขังทุกคนในเรือนจาจังหวัดลาปาง จานวน 2,706 คน ซึ่งมีท้ังหมด 3 แห่งคือ 1) เรือนจากลางจังหวัดลาปาง จานวนผู้ต้องขังทั้งหมด 2,552 คน 2) เรอื นจาช่ัวคราวหนองกระทิง จานวนผู้ต้องขัง ทง้ั หมด จานวน 50 คน และ 3) สถานกักขังกลาง จานวนผตู้ อ้ งขงั ทงั้ หมด 104 คน เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการศึกษา ประกอบดว้ ย แบบบันทึกข้อมลู ส่วนบคุ คล ข้อมูลทางคลินกิ จากการตรวจ รา่ งกายโดยการถา่ ยภาพรงั สีทรวงอก (CXR) และผลการตรวจเสมหะด้วยวธิ ี GeneXpert การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือวจิ ยั การตรวจร่างกายโดยการถ่ายภาพรังสที รวงอก (CXR) และยนื ยนั ผลการอ่านโดยรังสีแพทย์ทกุ ราย โดยได้ ตรวจสอบความเชื่อม่ันของเครื่องมือโดยมีการศึกษานารอ่ งท่ีผูต้ ้องขังในสถานกักขงั กลาง จังหวัดลาปางในปี 2561 จานวน 25 คน เป็นชายท้ังหมด พบความผิดปกติจากการถ่ายภาพรังสีทรวงอกจานวน 1 รายและให้แพทย์รังสี อ่านผลจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกทุกรายพบผู้ต้องขังสงสัยวัณโรคปอด 1 ราย เช่นกันโดยพบว่ามีรอยฝ้าแบบจุด วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
200 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ร่วมกับเส้นและป้ืนที่ปอดขวาส่วนบน และในรายท่ีพบความผิดปกติจากการถ่ายภาพรังสีทรวงอกจะได้รับการส่ง ตรวจเสมหะเพ่อื วินจิ ฉัยวัณโรคปอดทกุ ราย การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ข้นั ตอนการเก็บรวบรวมข้อมลู 1.1 ผู้วิจัยเสนอโครงร่างวิจัยต่อคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของวิทยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี นครลาปางเพือ่ ขออนมุ ัติก่อนเก็บรวบรวมข้อมลู 1.2 หลังจากได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในคนแล้ว จึงทาเรื่องประสานขอศึกษา ข้อมูลย้อนหลังจากฐานข้อมูลของเรือนจากลางลาปาง โดยศึกษาจากประชากรท้ังหมดตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ โดยทาหนังสอื ขออนญุ าตใช้ฐานข้อมลู ตามระบบ 1.3. ผู้วิจัยเข้าพบบุคลากรในเรือนจาทั้ง 3 สถานที่คือ เรือนจากลางจังหวัดลาปาง เรือนจาชั่วคราว หนองกระทิง และสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปาง เพื่อช้ีแจงและทาความเข้าใจในการขอศึกษาข้อมูลย้อนหลัง เกี่ยวกับผลการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคปอดในเรือนจา ผลจากการถ่ายภาพรังสี และผลการตรวจเสมหะ โดยผู้วิจัย ส่งหนังสือบันทึกข้อความในการขอข้อมูลย้อนหลังดังกล่าวกับทางเรือนจาท่ีเก่ียวข้อง และนาข้อมูลท่ีได้ระหว่าง เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2562 มารวบรวมและใช้ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ในปี 2563 หลังขอจริยธรรมวิจัยในคน เรยี บรอ้ ยแล้ว 1.4 เมื่อได้ข้อมูลท่ีเกีย่ วขอ้ งทง้ั หมดจากฐานข้อมลู ท่ีมอี ยู่ จงึ นามาวเิ คราะห์ข้อมูลหลังเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เรยี บร้อยแลว้ การพทิ ักษ์สิทธก์ิ ลุ่มตัวอย่างและจริยธรรมการวจิ ัย การวิจัยเร่ืองสถานการณ์การเกิดวัณโรคของผู้ต้องขังในเรือนจา อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง ผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการการวิจัยในมนุษย์ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ดาเนินการใหร้ ับรอง โครงการวิจยั ตามแนวทางหลักจริยธรรมการวิจัยเก่ียวกับมนุษย์ที่เป็นมาตรฐานสากล เลขท่ีโครงการวจิ ัย E 2563-058 ลงวันท่ี 2 ธันวาคม พ.ศ.2563 การวิเคราะห์ข้อมลู วิเคราะหข์ ้อมูลท่ัวไปด้วยสถติ ิเชงิ พรรณนา ความถ่ี ร้อยละ และวเิ คราะห์เปรียบเทยี บอัตราส่วนของการ เปน็ โรคและไมเ่ ป็นโรคในกลุ่มท่ีได้รบั ปัจจัยเส่ียงและไม่ได้รับปจั จยั เสี่ยงดว้ ยค่าความเสย่ี งสมั พทั ธ์ (Relative risk) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
201 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผลการศกึ ษา ตารางท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไปของผู้ตอ้ งขังในเรอื นจา อาเภอเมืองลาปาง จงั หวัดลาปาง ตวั แปร ภาพรงั สปี กติ ภาพรงั สีผิดปกติ AFB,MTB+ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ชาย 1933 75.74 242 9.48 28 10.73 หญงิ 358 14.03 19 0.75 1 0.38 ชว่ งอายุ 15-35 ปี 1031 40.39 131 5.13 12 4.59 4.21 36-59 ปี 897 35.15 98 3.84 11 2.29 60 ปขี น้ึ ไป 363 14.22 32 1.25 6 จากตารางท่ี 1 ข้อมูลเรือนจากลาง จังหวัดลาปาง ปี 2562 พบว่า จานวนผู้ต้องขังท้ังหมด 2,552 คน ผล การการคัดกรองวัณโรคในเรือนจาด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก (X-Ray) ไม่พบความผิดปกติ 2,291 คน และพบ ความผิดปกติ 261 คน คิดเป็น 10.23 เปอร์เซ็นต์ของผู้ต้องขงั ทั้งหมด แบ่งเป็นเพศชายพบความผิดปกติ 242 คน คิดเป็น 9.48 เปอร์เซ็นตข์ องผู้ตอ้ งขังท้ังหมด และเพศหญิงผลการการคัดกรองวัณโรคในเรือนจาด้วยการถ่ายภาพ รังสีทรวงอก (X-Ray) พบความผิดปกติ 19 คน คิดเป็น 0.75 เปอร์เซ็นต์ของผู้ต้องขังทั้งหมด และผู้ต้องขังท่ีพบ ความผิดปกติท่ีภาพถ่ายรังสีทรวงอกได้รับการตรวจรักษาเพิ่มด้วยการส่งเสมหะเพื่อทาการทดสอบโดยส่งตรวจ AFB (Acid-Fast Bacillus) จานวน 3 วัน และการส่งตรวจ MTB พบว่ามีผู้ต้องขังจานวน 29 ราย พบผลการส่ง ตรวจ AFB และ MTB เป็นผลบวก ซึง่ ได้รบั การวินิจฉัยวา่ เป็นวัณโรคและเข้าสกู่ ระบวนการการรักษาตอ่ ไป โดยคิด เปน็ รอ้ ยละ 11.11 ผ้ตู ้องขังทพี่ บความผิดปกติที่ภาพถ่ายรงั สที รวงอก ตารางท่ี 2 ข้อมูลโรคประจาตัว และข้อมูลของผ้ตู ้องขังที่ได้รับการวินจฉัยเป็นวัณโรครายเก่าและรายใหม่ จานวน 29 คนในเรอื นจากลาง จังหวดั ลาปาง ปี 2562 โรคประจาตวั จานวน วัณโรครายเก่า วัณโรครายใหม่ ปฏเิ สธโรคประจาตวั โรคความดันโลหิตสงู 19 5 14 โรคเบาหวาน 2- 2 11 - วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
202 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 2 ข้อมูลโรคประจาตัว และข้อมูลของผตู้ ้องขังท่ีได้รบั การวินจฉัยเป็นวัณโรครายเก่าและรายใหม่ จานวน 29 คนในเรอื นจากลาง จงั หวัดลาปาง ปี 2562 (ตอ่ ) โรคประจาตวั จานวน วัณโรครายเกา่ วณั โรครายใหม่ โรคไวรสั ตับอักเสบ บี 1 1 - โรคสะเกด็ เงิน 1 - 1 โรคนิ่วในไต 1 - 1 โรคเอดส์ 1 - 1 โรคจิตเภท 1 - 1 โรคจติ จากแอมเฟตามนี 1 - 1 ปว่ ยดว้ ยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง หวั ใจ 1 - 1 โต และ ถงุ ลมโปง่ พอง จากตารางท่ี 2 ข้อมูลเรอื นจากลาง จังหวัดลาปาง ปี 2562 พบว่า จานวนผู้ต้องขังที่ได้รับการวินิจฉัยโรค วัณโรคท้ังหมด 29 คน เป็นผู้ต้องขังที่เป็นวัณโรครายเก่าจานวน 7 คนคิดเป็นร้อยละ 24.14 ของผู้ต้องขังท่ีได้รับ การวินจิ ฉยั โรควัณโรค ปฏเิ สธโรคประจาตวั จานวน 5 คน ซึ่งมโี รคประจาตัว 2 คน คือโรคเบาหวาน 1 คนและโรค ไวรัสตับอักเสบชนิดบี 1 คน ส่วนผู้ต้องขงั ทเี่ ปน็ วัณโรครายใหม่จานวน 22 คนคิดเปน็ ร้อยละ 75.86 ของผูต้ ้องขงั ท่ี ได้รับการวินิจฉัยโรควัณโรค ปฏิเสธโรคประจาตัวจานวน 14 คน ซึ่งมีโรคประจาตัว 8 คน คือ โรคความดันโลหิต สงู 2 คน โรคนิว่ ในไต 1 คน โรคสะเก็ดเงิน 1 คน โรคเอดส์ 1 คน โรคจิตเภท 1 คน โรคจติ จากแอมเฟตามีน 1 คน และป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง หวั ใจโต และ ถงุ ลมโป่งพอง 1 คน ตารางท่ี 3 ตารางแสดงความสัมพันธ์ของภาพรงั สีผิดปกติของผู้ต้องขังชายและหญิงในเรือนจากลางจงั หวดั ลาปาง ต่อการวนิ จิ ฉัยโรค AFB,MTB+ ปกติ รวม Relative risk 95%CI 2175 4.85 0.66 to 35.56 ชาย 28 2147 377 หญิง 1 376 z statistic 1.55, Significance level P=0.1201 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
203 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) จากตารางท่ี 3 ผู้ต้องขังชายมีผล AFB,MTB+ จานวน 28 คน และผู้ต้องขังหญิงมีผล AFB,MTB+ จานวน 1 คน ผู้ต้องขังชายจึงมีปัจจัยเสี่ยงเป็นวัณโรคมากกว่า 4.90 เท่าของผู้ต้องขังหญิง แต่ค่า Relative risk = 4.85 อยู่ในค่า 95%CI 0.66 to 35.56 ดังน้ันความสัมพันธ์ของเพศชายไม่มีความสัมพันธ์กับการเป็นวัณโรคเมื่อ เทยี บกบั เพศหญงิ ตารางที่ 4 ตารางแสดงความสัมพันธ์ของผู้ต้องขังที่เป็นวัณโรคในเรือนจากลางจังหวัดลาปาง ต่อการวินิจฉัยโรค เป็นวณั โรครายใหม่ TBnew ไมใ่ ช่ TBnew รวม Relative risk 95%CI 29 0.57 0.28 to 1.15 มโี รคประจาตัว 8 21 29 ปฏเิ สธโรคประจาตัว 14 15 z statistic 1.567, Significance level P=0.117 จากตารางท่ี 4 ผู้ต้องขังท่ีได้รับการวินิจฉัยเป็นโรควณั โรค และปฏิเสธการมีโรคประจาตัวและเป็นวัณ โรคใหมจ่ านวน 14 คน ของผู้ต้องขงั ท่ีพบว่าเป็นวัณโรค 29 คน และผู้ต้องขังที่ได้รับการวนิ ิจฉัยเป็นโรควัณโรคที่มี โรคประจาตัวและเป็นวัณโรครายใหม่จานวน 8 คนของผู้ต้องขังที่พบว่าเป็นวัณโรค 29 คน ผู้ต้องขังท่ีมีโรค ประจาตัว มีความเสยี่ งต่อการเป็นโรควัณโรครายใหม่เป็น 0.57 เท่าของผู้ตอ้ งขังที่ปฏิเสธโรคประจาตวั ในเรือนจา กลาง จังหวัดลาปาง แต่ค่า Relative risk =0.57 อยู่ในค่า 95%CI 0.28 to 1.15 ดังนั้นการมีโรคประจาตัวกับ การปฏเิ สธโรคประจาตัวไมม่ ผี ลต่อการเกดิ โรควัณโรครายใหมใ่ นเรือนจา ตารางที่ 5 ขอ้ มลู ทัว่ ไปเรอื นจาชว่ั คราวหนองกระทงิ จังหวัดลาปาง ตวั แปร ภาพรงั สปี กติ ภาพรังสีผิดปกติ AFB,MTB+ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ชาย หญงิ 46 92.00 4 8.00 2 50.00 ช่วงอายุ 0 0.00 0 0.00 0 0.00 15-35 ปี 36-59 ปี 18 36.00 1 2.00 1 25.00 60 ปขี น้ึ ไป 26 52.00 3 6.00 1 25.00 2 4.00 0 0.00 0 0.00 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
204 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) จากตารางท่ี 5 ข้อมูลเรือนจาชั่วคราวหนองกระทิง จังหวัดลาปาง พบว่าจานวนผู้ต้องขังเพศชายทั้งหมด 50 คน ผลการการคัดกรองวัณโรคในเรือนจาด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก (X-Ray) ไม่พบความผิดปกติจานวน 46 คน และพบความผดิ ปกติ 4 คน คิดเป็น 92.00 เปอร์เซ็นต์ และ 8.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ และผูต้ ้องขงั ทพ่ี บ ความผิดปกติท่ีภาพถ่ายรังสีทรวงอกได้รับการตรวจรักษาเพิ่มด้วยการส่งเสมหะเพ่ือทาการทดสอบโดยส่งตรวจ AFB (Acid-Fast Bacillus) จานวน 3 วัน และการส่งตรวจ MTB พบวา่ มผี ้ตู ้องขงั จานวน 2 รายพบผลการสง่ ตรวจ AFB และ MTB เป็นผลบวก ซึ่งได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรคและเข้าสู่กระบวนการการรักษาต่อไป โดยคิดเป็น รอ้ ยละ 50 ของผ้ตู ้องขงั ท่ีพบความผิดปกตทิ ภี่ าพถ่ายรังสีทรวงอก ตารางท่ี 6 ข้อมูลโรคประจาตัว และข้อมลู ของผู้ต้องขังที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นวัณโรครายเก่าและรายใหม่ จานวน 2 คนในเรือนจาช่วั คราวหนองกระทงิ จงั หวัดลาปาง ปี 2562 โรคประจาตัว จานวน วัณโรครายเก่า วัณโรครายใหม่ โรคติดสุราเรื้อรัง 1 1 - โรคถงุ ลมโป่งพอง 1 1 - จากตารางท่ี 6 ข้อมูลเรือนจาช่ัวคราวหนองกระทิง จังหวัดลาปาง ปี 2562 พบว่าจานวนผู้ต้องขังที่ได้รับ การวินิจฉัยโรควัณโรคท้ังหมด 2 คน เป็นผู้ต้องขังท่ีเป็นวัณโรครายเก่าจานวน 2 คนคิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ของ ผู้ต้องขงั ที่ได้รบั การวนิ จิ ฉัยโรควณั โรคซึ่งมโี รคประจาตวั ทั้ง 2 คน คอื โรคติดสรุ าเรื้อรัง 1คนและโรคถงุ ลมโป่งพอง 1คน ตารางที่ 7 ข้อมลู ท่วั ไปสถานกักขงั กลาง จงั หวัดลาปาง ตัวแปร ภาพรังสีปกติ ภาพรงั สีผิดปกติ AFB,MTB+ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ชาย 74 71.15 5 4.81 1 14.29 หญิง 23 22.12 2 1.92 00 ช่วงอายุ 44 42.31 2 1.92 0 0 15-35 ปี 49 47.12 5 4.81 1 14.29 36-59 ปี 4 3.84 0 00 60 ปขี ึน้ ไป วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
205 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) จากตารางท่ี 7 ข้อมูลสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปางปี 2562 พบว่า จานวนผู้ต้องขังทั้งหมด 104 คน ผลการการคัดกรองวัณโรคในเรือนจาด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก (X-Ray)ไม่พบความผิดปกติ 97 คน และพบ ความผิดปกติ 7 คน คดิ เปน็ 6.73 เปอร์เซ็นต์ของผู้ตอ้ งขังทั้งหมด แบ่งเป็นเพศชายพบความผดิ ปกติ 5 คน คดิ เป็น 4.81 เปอรเ์ ซน็ ต์ของผูต้ อ้ งขังท้ังหมด และเพศหญงิ ผลการการคัดกรองวัณโรคในเรอื นจาดว้ ยการถา่ ยภาพรังสีทรวง อก(X-Ray) พบความผิดปกติ 2 คน คิดเปน็ 1.92 เปอรเ์ ซ็นต์ของผู้ต้องขังท้ังหมด และผูต้ ้องขังทพี่ บความผดิ ปกติที่ ภาพถ่ายรังสีทรวงอกได้รับการตรวจรักษาเพ่ิมด้วยการส่งเสมหะเพื่อทาการทดสอบโดยส่งตรวจ AFB (Acid-Fast Bacillus) จานวน 3 วัน และการส่งตรวจ MTB พบว่ามีผู้ตอ้ งขงั จานวน 1 รายพบผลการส่งตรวจ AFB และ MTB เป็นผลบวก ซ่ึงได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรคและเข้าสู่กระบวนการการรักษาต่อไป โดยคิดเป็นร้อยละ 14.29 เปอร์เซ็นต์ของผู้ต้องขังท่ีพบความผิดปกติท่ีภาพถ่ายรังสีทรวงอก โดยผู้ต้องขังท่ีได้รับวินิจฉัยเป็นวัณโรครายใหม่ และมโี รคประจาตวั คือ โรคเอดส์ อภิปรายผล จากการศึกษาสถานการณ์การเกิดวัณโรคของผู้ต้องขังท้ัง 3 สถานท่ีคือ เรือนจากลางจังหวัดลาปาง, เรือนจาช่ัวคราวหนองกระทิง และสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปาง ในปี พ.ศ. 2562 โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วน บุคคล การตรวจร่างกายโดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก และการส่งเสมหะเพื่อทาการทดสอบโดยส่งตรวจ AFB จานวน 3 วัน และการส่งตรวจ MTB พบว่า มีการพบผู้ต้องขังท่ีสงสัยเป็นวัณโรคจากภาพรังสีผิดปกติพบร้อยละ 10.02 แบ่งเป็นเพศชาย ร้อยละ 9.24 เพศหญิง ร้อยละ 0.78 และป่วยเป็นวัณโรคจากผลการตรวจเสมหะด้วย AFB และ MTB พบ 32 คน คิดเป็นร้อยละ 17.11 ของผู้ต้องขังที่พบภาพรังสีผิดปกติ ซ่ึงผู้ต้องขังชายมีผล AFB, MTB+ จานวน 31 คน และผู้ต้องขังหญิงมีผล AFB, MTB+ จานวน 1 คน แต่ความสัมพันธ์ของเพศชายไม่มี ความสัมพันธ์กับการเป็นวัณโรคเม่ือเทียบกับเพศหญิง ซ่ึงตรงกันข้ามกับการศึกษาของงานวิจัยอื่นๆ ที่พบว่า โอกาสแพร่กระจายของเชื้อวัณโรคมีสูงในเรือนจาโดยเฉพาะในผู้ต้องขังชายท่ีมีจานวนมากกว่าผู้ต้องขังหญิงจึงทา ให้ร้อยละของผู้ต้องขังชายจะเป็นวัณโรคได้มากกว่าเพศหญิงและสามารถกระจายเช้ือได้ดี เน่ืองด้วยสิ่งแวดล้อม และการอยู่อาศัยอยู่ร่วมกันอย่างแออัดซึ่งเกิดจากจานวนผู้ต้องขังท่ีมีมากขึ้น ขาดการถ่ายเทอากาศท่ีเหมาะสม การไหลเวียนของอากาศที่ไม่ดี (Peasri M., Thipwareerom W., Hingkanon P. & Prachanban P., 2015) ถึงแม้ว่าการศึกษาในครัง้ นจี้ ะไม่พบความสัมพันธ์ของการเกิดวัณโรคปอดในเพศชายกับเพศหญิงกต็ าม แต่ก็มคี วาม สอดคล้องในเรื่องการมีสถานท่ีแออัดคับแคบและการขาดการถ่ายเทอากาศท่ีเหมาะสมซ่ึงส่งผลต่อการเกิดการ แพรก่ ระจายวณั โรคปอดในเรอื นจาใหเ้ พ่มิ มากขนึ้ ตามมาดว้ ยเช่นกนั จากผลการศกึ ษาในคร้งั น้นี อกจากเพศทไี่ ม่พบความสัมพันธ์ในการเกิดวณั โรคในเรอื นจาแล้ว การมโี รค ประจาตัวกับการปฏิเสธโรคประจาตัวก็พบวา่ ไมม่ ีผลต่อการเกิดโรควัณโรครายใหม่ในเรือนจาเช่นเดยี วกนั ซง่ึ แมว้ ่า ผลการศึกษาจะไม่แสดงความสัมพันธ์ที่เกิดข้ึน แต่ก็ช้ีให้เห็นว่ามีจานวนของผู้ต้องขังที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
206 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) โรคปอดเกิดขึ้นในเรือนจา ซ่ึงกระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมควบคุมโรค ร่วมกบั กระทรวงยตุ ิธรรม กรมราชทัณฑ์ได้ ร่วมมอื กันประกาศเจตนารมณ์ยุติวัณโรคในเรือนจาท่ถี ือเป็นนโยบายระดับชาติทจี่ ะยตุ ิวณั โรคตามแผนยุทธศาสตร์ วัณโรคระดับชาติ ดังนั้นจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องคัดกรองและลดความเส่ียงต่อการเกิดวัณโรคปอดให้ลดน้อยลง ซึ่งการเกิดวัณโรคปอดในเรือนจาตามแนวทางระบาดวิทยากล่าวไว้ว่า โรคเกิดจากการเสียสมดุลของเหตุปัจจัยท่ี เกี่ยวข้อง (Determinants) โดยแบ่งปัจจัยออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) ปัจจัยเกี่ยวข้องกับคน (Host) 2) ปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับตัวก่อโรค (Agent) และ 3) ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับสิ่งแวดล้อม (Environment) จะเห็นได้ว่าโอกาส แพร่กระจายของเช้ือมีสูงในเรือนจา เน่ืองด้วยสิ่งแวดล้อมและการอยู่อาศัยกันอย่างแออัด ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาของมานิตย์ เปลือยศรี (Peasri M., Thipwareerom W., Hingkanon P. & Prachanban P., 2015) เก่ียวกบั สภาพแวดล้อมในเรือนจาต่อการแพร่กระจายของวณั โรคจากสถานทคี่ ับแคบหรือทึบขาดการถ่ายเทอากาศ ท่เี หมาะสม การไหลเวยี นของอากาศท่ไี มด่ ี สภาพแออดั นนั้ เกดิ จากจานวนผู้ตอ้ งขังท่ีมีมากขนึ้ ทาให้มาตรฐานของ พ้ืนท่ีนอนของผู้ต้องขังลดลงและไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งจากข้อมูลของกรมราชทัณฑ์พ้ืนท่ีนอนของผู้ต้องขัง 1 คนตาม มาตรฐานสากลคือ 7.5 ตารางเมตรต่อคนส่วนในประเทศไทยนั้น มาตรฐานขั้นต่าของพ้ืนที่นอน สาหรับผู้ต้องขังท่ี กาหนดโดยกรมราชทัณฑ์ คือ 2.25 ตารางเมตรต่อผู้ต้องขัง 1 คน ซึ่งเป็นขนาดท่ีพอจะยอมรับได้ ถ้าการระบาย อากาศในห้องนอนอยู่ในเกณฑ์ดี แต่ในความเป็นจริงนั้นในเรือนจากลางจังหวัดลาปางผู้ต้องขังมีปริมาณมากพ้ืนท่ี นอนสาหรับผู้ต้องขังท่ีกาหนดโดยกรมราชทัณฑ์ คือ 1.20 ตารางเมตรตอ่ ผู้ต้องขงั 1คน โดยเฉพาะในผู้ต้องขังชาย ทม่ี ีจานวนมากกว่าผู้ต้องขังหญิงจึงทาใหร้ ้อยละของผ้ตู ้องขงั ชายจะเป็นวัณโรคได้มากกว่าเพศหญงิ (Department Of Corrections, 2016) จากความแตกต่างกันของสถานที่ในการกักขังผู้ต้องหามีความจาเป็นของการรับผู้ต้องขังท่ีแตกต่างกัน กล่าวคือ ในสถานกักขังกลาง จังหวัดลาปาง เป็นสถานท่ีที่มอี านาจควบคุมผู้ต้องกักขงั ซ่ึงถูกกาหนดโทษกักขัง เช่น โทษขังแทนค่าปรบั ส่วนใหญก่ ักขังไมเ่ กิน 2 ปี จงึ มีผตู้ ้องขังหมนุ เวียนเปลี่ยนบอ่ ยและพบวัณโรคในผตู้ ้องขังรายใหม่ สว่ นเรือนจาช่ัวคราวหนองกระทิงซ่ึงเป็นทกี่ ักขงั ผตู้ ้องขังช้ันดีท่ีได้รับการลดโทษและใกล้ได้รับการปลดโทษ ซึ่งเป็น ผู้ต้องขังท่ีอยู่ในเรือนจากลางมาก่อนจึงมีผู้ต้องขังจานวนน้อยที่สุดและพบเป็นกลุ่มวัณโรครายเก่าท้ังหมด ซึ่ง สอดคล้องกับผลการศึกษา พบว่า มีจานวนผู้ต้องขังท่ีได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นวัณโรคปอดในสถานกักขังกลาง จานวนมากกว่าสถานกักขังอีก 2 แห่ง ด้วยเหตุท่ีมีการหมุนเวียนและเปลี่ยนบ่อยดังกล่าว นอกจากนี้ในเรือนจา กลางเป็นเรือนจาประจาจังหวัดท่ีเป็นเรือนจาปกติท่ีรับคุมขังผู้ต้องขังท่ีมีคาพิพากษาแล้ว และนักโทษเด็ดขาดที่มี โทษจาคุกตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ซ่ึงในแต่ละเรือนจากลางจะมีผู้ต้องขังมากกกว่า 1,000 คนข้ึนไป และมีจานวนมาก และจะมีความหลากหลายมีท้ังผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และรายเก่าปะปนกัน (Department Of Corrections, 2016) จงึ ทาให้มีการพบจานวนของผูป้ ว่ ยวัณโรคไดเ้ พิม่ มากขึ้น การดาเนินงานวิจัยนี้ พบว่า การที่มีข้อจากัดในด้านสิ่งแวดล้อมจึงทาให้ผู้ต้องขังที่เป็นผู้ป่วยวัณโรคที่ ไมม่ ีอาการแสดงแต่สามารถแสดงผลได้ด้วยการคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ทรวงอกทาให้เกิดความแม่นยา จากท้ัง 3 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
207 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) สถานท่ี ทัง้ เรือนจากลาง เรือนจาชวั่ คราวหนองกระทิง และ สถานกกั ขังกลาง พบว่าเมอ่ื ภาพรังสีผิดปกติและป่วย เป็นวัณโรคจากผลการตรวจเสมหะด้วย AFB และ MTB คิดเป็นร้อยละ 17.11 ของผู้ต้องขังท่ีพบภาพรังสีผิดปกติ ตามลาดับ และสามารถหาความผิดปกติของความเส่ียงโรคอื่นร่วมด้วย ดังน้ันการคัดกรองผู้ป่วยทุกปีจะช่วยลด อัตราการแพร่ระบาดของโรควัณโรคทั้งในกลุ่มที่แสดงอาการและไม่แสดงอาการเพื่อการรักษาได้มีประสิทธิภาพ มากข้ึน จากการศึกษาของวันดี วิรัสสะ, 2561 (Wiratsa W., 2018) ได้พัฒนารูปแบบการคัดกรองวัณโรคจากวิธี เดิม และเพ่ิมการคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ทรวงอกผู้ต้องขัง ทาให้ผู้ต้องขังทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองซ้าด้วย การ X-ray ปอด ประจาปีๆ ละ 1 คร้ัง เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ มีการค้นพบผู้ป่วยเร็วข้ึน ได้รับการรักษา เรว็ ข้ึน ปอ้ งกันการแพรเ่ ชื้อภายในเรอื นจา และผปู้ ฏบิ ัตงิ านทเ่ี ก่ียวขอ้ ง มีความพงึ พอใจการคดั กรองวัณโรครปู แบบ ใหม่มากกวา่ รูปแบบเกา่ ดังนนั้ การที่ประมาณรอ้ ยละ 11 ของผูป้ ่วยวัณโรคในกลุม่ ประชากรท่ัวไป เคยต้องขงั ในเรอื นจามาก่อน อาจเป็นไปได้ว่ามีการติดเชื้อวัณโรคจากเรือนจา หรืออาจป่วยเป็นวัณโรคแต่ไม่ได้รับการคัดกรองในขณะที่ต้องขัง ในเรือนจา รวมท้ังอาจเป็นกรณีที่ผู้ป่วยพ้นโทษ ในระหว่างการรักษาวัณโรค กรณีต่างๆ ล้วนแต่บ่งช้ีความสาคัญ ของการพฒั นาระบบการส่งต่อระหวา่ งเรือนจากับสถานบริการสาธารณสุข ไม่เพียงแต่ผตู้ ้องขังทุกคนควรได้รับการ คัดกรองวัณโรค เม่ือแรกรับเข้าสู่เรอื นจา และมีการคัดกรองเป็นประจาเท่านั้น แตเ่ มอ่ื พ้นโทษจา เป็นตอ้ งมีการส่ง ต่อเพื่อรับการรักษาวัณโรคอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังอาจคัดกรองโรคติดต่อต่างๆ รวมทั้งวัณโรค เพ่ือส่งต่อไปรับการ ดูแลท่ีสถานพยาบาลในระบบปกติ (Wiriyaprasopchoke A., Ngamwittayapong J. & Netsuwan S., 2017) เม่อื มกี ารค้นหาคดั กรองวัณโรคแลว้ ควรมกี ารจัดทาเป็นแนวทางในการดแู ลผู้ตอ้ งขงั เพ่อื ป้องกันการแพร่ระบาดของ โรควัณโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการเขา้ สู่เรอื นจา การติดตามและการส่งต่อในการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง และ การคัดกรองกอ่ นออกสสู่ ังคมเพ่ือการลดการแพรก่ ระจายโรคสู่สงั คมภายนอก ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชน์ เรือนจาควรมีการอบรมให้ผู้ต้องขังมีความรู้เรื่อง การป้องกันวัณโรคปอดด้วยตนเอง สนับสนุนการใส่ หน้ากากอนามัย ผ้าปิดปากในเรือนจาอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ และทาการตรวจคัดกรองวัณโรคปอดตั้งแต่ ระยะเร่ิมแรกรับเข้าสู่เรือนจา และกอ่ นจะออกจากเรือนจาสู่สงั คมภายนอก เพ่ือลดการแพรร่ ะบาดของโรควัณโรค ปอดได้ โดยอาจมีการจดั ทาแผนการตรวจคัดกรองในทุกๆ 6 เดอื น หรือ 1 ปีอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ข้อเสนอแนะในการศึกษาคร้ังตอ่ ไป ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติม มีการจัดทาเป็นโปรแกรม หรือแนวปฏิบัติในการให้ความรู้โรคติดต่อที่เกิดขึ้นใน กลมุ่ ผูต้ ้องขัง วิธีการปฏิบตั ิเพ่อื ลดการแพร่กระจายเช้ือ การคัดกรองวัณโรคปอดในผตู้ อ้ งขงั แผนการรกั ษา การแยก วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
208 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผู้ต้องขังท่ีป่วยเป็นโรคกับผู้ต้องขังท่ีไม่เป็นโรค และการดูแลได้รับยาอย่างต่อเนื่องในกลุ่มผู้ต้องขังท่ีเป็นโรค เพอ่ื ให้เกดิ การปฏิบัติอย่างยัง่ ยืนต่อไปและลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื ได้อย่างต่อเนือ่ งในกลมุ่ ผตู้ ้องขงั กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีกรมราชทันต์ ผู้บัญชาการ พยาบาลประจาเรือนจา และผู้ต้องขังทุกคนที่อยู่ใน เรอื นจาทั้ง 3 สถานท่ี คือ เรอื นจากลางจังหวัดลาปาง เรือนจาชั่วคราวหนองกระทิง และสถานกักขังกลาง จังหวัด ลาปาง ที่อนุเคราะห์สถานที่ในการจัด เกบ็ ข้อมูล ความร่วมมือในการชว่ ยกันคัดกรองวัณโรคปอด และขอขอบคุณ ผูท้ ่ีมีสว่ นเก่ียวข้องสาหรบั โครงการดีๆ ทจี่ ะช่วยลดการแพร่ระบาดของวณั โรคปอดท่ที าให้เกดิ ความตระหนักในการ คดั กรองโรคเบอ้ื งต้น เอกสารอา้ งอิง Fennelly K.P., Martyny J.W., Fulton K.E., Orme L.M., Cave C.M. and Heifets L.B. (2004). Cough- generated Aerosols of Mycobacterium tuberculosis: A New Method to Study Infectiousness. American Journal Respiratory Critical Care Medicine. 169(1). 604–609. Peasri M., Thipwareerom W., Hingkanon P. & Prachanban P. (2015). Factors affecting on the self-care capability of TB inmates in prisons/ prisons lower Northern Region. Journal of Nursing and Health, 9(3), 45-58. Sawatwenapong W., & Lamrod K. (2018). Situation of tuberculosis among personnel in hospital under the ministry of public health, Tak province. Journal of health systems research.11(2), 286-295. Department Of Corrections.(2016). Standards for TB prevention and care in prisons .(Online), Available: http://www.tbthailand.org/qtb. (2021, 2 December) Department of Correction.(2018). Statistic Report-Department of correction.(Online), Available: https://th.wikipedia.org/wiki/ Department of correction. (2022, 12 Febuary). The Bureau of Tuberculosis, Department of disease Control. (2018). Systeriatric screening for activeTB and drug-resistance TB. 2nd Edition. Bangkok: The Bureau of Tuberculosis, Department of disease Control. Veteewuthajarn K. , Suwannaphan K., Saengphet W..(2018).Factors related to the preventing tuberculosis of inmates in Buengkan provincial prisons in 2017.The official of disease prevention and control at 7 Khon Kean, 25(3), 99-105. Wattanathorn S. & Phakdeewapi T.. (2019). A survey of the prevalence of Pol tuberculosis found in inmate’s prison in health area 4,2017. Journal of Medicine and Pubic health area 4. April-September 2019, 9(2),50-58. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
209 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) Wiratsa W. (2018). The development of screening model for finding tuberculosis patients in prisons in Singburi province 2018. Journal of Medicine and Pubic health area 4. April-September 2020, 10(2), 1-9. Wiriyaprasobchok A., Ngamvithayapong-Yanai J., Wongyai J., Nedsuwan S., (2017). Characteristics and treatment outcome of TB patients from prisons and general TB patients in Muang district Chiang Rai Province, Pubic Systems Research Journal, April-June 2017, 6(2), 277-285. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
A Study of Clinical Description and Associated Factors of Severe Symptoms of Children with COVID-19 Infection King Narai Hospital Lopburi Hathairat Autjimanon1*,Panida Sukprasong**,Supansa Amprai*** (Received: December 30, 2021, Revised: April 28, 2022, Accepted: May 10, 2022) Abstract This retrospective descriptive study was aimed to describes the clinical of Covid-19 infection, associated factors of severe symptoms of children with COVID-19 infection to monitor the occurrences of MIS-C (Multisystem Inflammatory Syndrome in Children). The study used a purposive sampling method. A total of 169 children who had Covid-19 and treated at King Narai Hospital from April 1st to September 30th 2021 were the target population of this study. 1) Patient records of children with Covid-19 infection. 2) MIS-C form follow-up interview. Either Chi-square, Fisher’s exact with OR crude with 95% confidence interval and either Independent t-test, Mann-Whitney U test were used to process the data. Most children got infected through families and relatives (76.30%). Others had only mild symptoms (65.10%). Age1-5 year (p=.023), age 6-12 year (p=.000), age 13-18 year (p=.001), fever (p=.041), myalgia (p=.040) and having rash (p=.010) were associated factors that related to the disease severity, were significantly. The results showed that body temperature ( p= . 000) , duration of fever (p=.000), oxygen saturation (p=.000), duration of hospital stay (p=.006), serum albumin level (p= .020), and serum CRP level (p= .024) between patients with mild symptoms and patients with severe symptoms were significantly different. Therefore, health promotion in changing the behaviors for preventing the spread disease was an important action including promoting the standard of the monitoring of MIS-C. Keywords: Covid-19 in children infection; Severe symptoms; MIS-C * Pediatrician, King Narai Hospital Lopburi ** Nurse Practitioner, King Narai Hospital Lopburi *** Public Health Technical Officer, King Narai Hospital Lopburi 1Corresponding author: hathairatknh@gmail.com. Tel 086-8127037 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
การศกึ ษาลักษณะทางคลินกิ และปัจจยั ที่สมั พันธ์กบั อาการรนุ แรงของการติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 ในเด็ก โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช ลพบุรี หทยั รตั น์ อัจจมิ านนท์1*, พนิดา สขุ ประสงค์**, สุพรรษา อาไพร*** (วันท่ีรบั บทความ : 30 ธนั วาคม 2564 , วันแกไ้ ขบทความ: 28 เมษายน 2565, วนั ตอบรบั บทความ: 10 พฤษภาคม 2565) บทคัดยอ่ การศึกษาน้ีเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบศึกษาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ืออธิบายลักษณะทางคลินิก ของการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019ในผู้ป่วยเด็ก 2) ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับอาการรุนแรงของการติดเช้ือไวรัสโคโร นา2019 ในผู้ป่วยเด็ก และ 3) เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะกลุ่มอาการอักเสบหลายระบบที่เป็นภาวะแทรกซ้อน รุนแรงหลังจากติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงในผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อายุแรกเกิด-18 ปี ที่ได้รับการรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในรพ.พระนารายณ์มหาราชตั้งแต่วันท่ี 1 เมษายน - 30 กันยายน 2564 จานวน 169 ราย เคร่ืองมือที่ใช้ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1) แบบบันทึกข้อมูลติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 ในผู้ป่วยเด็ก 2) แบบสัมภาษณ์ติดตามอาการทางโทรศัพท์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ใช้สถิติ Chi- square, Fisher’s exact ,OR crude และค่า 95% CI วิเคราะห์ความแตกต่างใช้สถิติ Independent t-test, Mann-Whitney U test. ผลการศกึ ษาพบว่า ผู้ป่วยเด็กสว่ นใหญ่ติดเชื้อมาจากคนในครัวเรือน ร้อยละ 76.30 ระดับความรุนแรงของ อาการระดบั mild disease ร้อยละ 65.10 ปจั จัยด้านอายุ 1-5 ปี (p=.023) อายุ 6-12 ปี (p=.000) และอายุ 13- 18 ปี (p=.001) อาการไข้ (p=.041) ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ (p=.040) และมีผื่น (p=.010) มีความสัมพันธ์กับระดับ ความรุนแรงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ปัจจัยอุณหภูมิร่างกาย (p=.000) ระยะเวลาการมีไข้ (p=.000) ค่าความ เข้มข้นออกซิเจนในเลือด (p=.000) ระยะเวลานอนพักโรงพยาบาล (p=.006) Albumin (p=.020) และ CRP (p=.024) ของกลุ่มอาการเล็กน้อยกับกลุ่มอาการรุนแรงแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลจากการติดตาม เฝ้าระวังพบผปู้ ่วยเดก็ มีภาวะ MIS-C 3 ราย ร้อยละ 1.80 ดังนั้นควรส่งเสริมให้ประชาชนมี Health literacy ปรับ พฤติกรรมป้องกันแพร่กระจายเช้ือในครัวเรอื น และสง่ เสริมมาตรการการตดิ ตามเฝ้าระวงั ภาวะMIS-C คาสาคัญ: ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา2019ในเดก็ ; อาการรนุ แรง; กลุม่ อาการอกั เสบหลายระบบที่เป็นภาวะแทรกซอ้ นรนุ แรง *กุมารแพทย,์ โรงพยาบาลพระนารายณม์ หาราช ลพบุรี ** พยาบาลเวชปฏบิ ตั ,ิ โรงพยาบาลพระนารายณม์ หาราช ลพบุรี *** นกั วิชาการสาธารณสุข, โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช ลพบรุ ี 1ผปู้ ระพนั ธบ์ รรณกจิ : hathairatknh@gmail.com. Tel 086-8127037. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
212 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) เป็นการติดเช้ือระบบทางเดิน หายใจที่ เกิดจากเช้ือไวรัส Severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS-CoV-2) ซ่ึงมี จุดเริ่มต้นจากเมืองอู่ฮ่ันสาธารณรัฐประชาชนจีนเกิดจากเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธุ์เบต้า ต่อมาเกิดการ ระบาดใหญ่ท่ัวโลก(pandemic) (Panahi, Amir, & Pouy, 2020) นับเป็นวิกฤตท่ัวโลกรวมถึงประเทศไทยตั้งแต่ ปลายเดือนธันวาคม 2562 จนถึงปัจจุบัน สาหรับประเทศไทยเร่ิมพบการติดเช้ือตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2563 และเกิดการระบาดอย่างต่อเนื่องเป็นระลอกจนถึงปัจจุบันนับเป็นระลอกที่ 3 พบสายพันธ์ุอังกฤษหรือที่เรียกว่า แอลฟ่า ซึ่งสามารถแพร่กระจายได้เร็วกว่าสายพันธุ์เดิม1.70 เท่า สายพันธุ์อินเดียท่ีเรียกว่า เดลต้า ซ่ึงระบาดได้ ง่ายกว่าสายพันธ์ุอังกฤษถึง 1.40 เท่า ทาให้การระบาดขยายวงกว้างจากวัยทางานไปสู่ทุกคนในครอบครัว โดยเฉพาะผู้สูงอายุและเด็กติดเชื้อเพิ่มมากข้ึน (Phuworawan, 2021) และเม่ือปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 องค์การอนามยั โลกประกาศ มีการระบาดสายพันธุ์ใหม่ เรียกว่า Omicron ซง่ึ จัดอยู่ในกลุ่มเช้ือกลายพันธุ์ที่ มีโอกาสเพ่ิมการระบาดได้สูงข้ึนในวงกว้างมีความเสี่ยง มีโอกาสติดเช้ือซ้า รวมทั้งประสิทธิภาพวัคซีนที่มีอยู่อาจ ลดลง(World Health Organization , 2021) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขรายงานสถานการณ์โรคการติดเชื้อ ไวรสั โคโรนา2019 ต้งั แตเ่ ดือนมกราคม 2563 ถึงปจั จุบัน ณ.วนั ที่ 18 ธันวาคม 2564 ทั่วโลกพบว่ามีผู้ตดิ เชื้อยืนยัน สะสม 274,028,428 ราย และมีผู้เสียชีวิต 5,362,720 ราย ประเทศไทยพบผปู้ ่วยตดิ เช้ือสะสมจานวน 2,188,629 ค น แ ล ะ เสี ย ชี วิ ต 21,355 ค น คิ ด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 0 .9 8 (Department of Disease Control Emergency Operrations Center, 2021) ปัจจัยท่ีทาให้การระบาดขยายวงกว้างมากขึ้นมีหลายปัจจัย ท่ีสาคัญคือการพักอาศัย ในแหล่งที่มีการระบาดของโรคอย่างรุนแรง(Alsohime, Temsah, Al-Nemri, Somily, & Al-Subaie, 2020) การอยู่ ร่วมกับผู้ติดเช้ือหรือการอยู่ร่วมกับสมาชิกในครอบครัว บุคคลใกล้ชิดที่มีการติดเชื้อ(Alsohime et al., 2020; Kriangburapha, 2020; Chang, Wu, & Chang, 2020) ผูป้ ่วยเพศชายมีความเส่ียงต่อการติดเชื้อมากกวา่ และมีความ เสีย่ งทีโ่ รคจะมีความรนุ แรงมากกวา่ เพศหญิง (Barek, Aziz & Islam, 2020) การติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในเด็กส่วนมากมักไม่พบอาการรุนแรงหรือไม่แสดงอาการ จากการ ทบทวนงานวิจัยของ (Alsohime, Temsah, Al-Nemri, Somily, & Al-Subaie, 2020) เร่ืองความชุก สาเหตุ อาการทาง คลินิกและผลลพั ธ์การรกั ษาของการตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในเด็กพบว่า เดก็ ท่ตี ดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 มกั จะ ไม่แสดงอาการจึงเป็นผู้กระจายเช้ือแก่ผู้ดูแลได้โดยง่าย ขณะเดียวกันปัจจัยเส่ียงที่สาคัญของเด็กต่อการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 คอื การสัมผัสบุคคลใกลช้ ิด สมาชกิ ในครอบครัวท่ีมกี ารติดเชือ้ รวมท้ังการพักอาศัยในแหล่งที่มี การระบาดของโรค และจากการศึกษาของ De Souza, Nadal, Nogueira, Pereira, & Brandao (2020) ศึกษา อาการของเด็กอายุน้อยกว่า18 ปีท่ีติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือนเมษายน 2563 พบว่าสัดส่วนการแสดงอาการแบบไม่มีอาการ (asymmetric), อาการเล็กน้อย(mild), อาการปานกลาง (moderate),อาการรุนแรง(severe), และมีอาการขั้นวิกฤต (critical) ร้อยละ 14.20, 36.30, 46.00, 2.10 และ 1.20 ตามลาดับ อาการท่ีพบบ่อยคือ ไข้ ไอ อาการทางจมูก(มีน้ามูก จมูกไม่ได้กลิ่น) ท้องเสีย และคล่ืนไส้อาเจียน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
213 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) พบร้อยละ 47.5, 45.0, 11.2, 8.1 และ7.1 ตามลาดับ นอกจากน้ียังพบว่า มีภาวะปอดอักเสบร้อยละ 36.9 จาก รายงานสถานการณ์ โควิด-19 ในเด็กไทย(อายุ 0-18 ปี) ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขต้ังแต่ 1 เมษายน 2564-24 พฤศจกิ ายน 2564 พบจานวนเดก็ ตดิ เชือ้ โควิด-19 อายแุ รกเกดิ ถงึ 18 ปสี ะสมทั้งหมด จานวน 310,648 ราย มีผู้เสียชีวิต 59 ราย คิดเป็นอัตราการเสียชีวิต(case fatality rate) ร้อยละ 0.01 การที่มีเด็กและ วัยรุ่นติดเช้ือโควิด19 เพิ่มมากข้ึน คาดว่าจะมีการพบผู้ป่วย Multisystem Inflammatory Syndrome in Children; MIS-C เพ่ิ มมากข้ึน (Samkoket, 2021) MIS-C เป็ น กลุ่มอาการอักเสบ ห ลายระบ บท่ี เป็ น ภาวะแทรกซอ้ นรนุ แรงหลงั จากติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นภาวะทีพ่ บไดย้ ากอาจเริ่มมอี าการไดท้ ี่ตงั้ แต่กาลังจะ หายจากโรค หรือ ตามหลังการติดเช้ือประมาณ 2-6 สัปดาห์ โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการของโรคโควิดเพียง เล็กน้อยหรือไม่แสดงอาการ อายุเฉล่ียท่ีพบ 9.7 ปี พบในเด็กเพศชายมากกว่าเพศหญิง(Feldstein et al., 2020) ภาวะที่มีความรุนแรงMIS-Cตามหลังโควิด-19 ในเด็กและวัยรุ่นซึ่งอาจรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ กุมารแพทย์ควรสังเกต อาการที่เข้าได้กับโรคได้แก่ มีไข้เกิน 38 องศาเซลเซียล เกิน 24 ชั่วโมง ร่วมกับมีอาการตั้งแต่ 2 ระบบข้ึนไปของ ร่างกาย (หัวใจและหลอดเลือด ไต ทางเดนิ หายใจ ระบบไหลเวียนโลหติ ทางเดินอาหาร และ ระบบประสาท)ท่ีไม่ พบสาเหตุจากโรคอื่น และมีการติดเชื้อหรือมีการสัมผัส ผู้ติดเช้ือ SARS-CoV2 ในเวลาที่ผ่านมาไม่นาน มีค่าการ อกั เสบในเลอื ดสูง ต้องรักษาในหออภิบาลผู้ป่วยเด็กโดยทีมสหสาขาวชิ าชีพ (Department of Medicine, 2021) และ Alsohime et al.(2020) ศกึ ษาพบวา่ ผ้ปู ว่ ยเด็กท่ีมกี ารติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีอายนุ อ้ ยกว่า1 ปี มีความ เส่ียงทจ่ี ะมีอาการรนุ แรง โดยเป็นอาการตอบสนองตอ่ การติดเช้อื อย่างรวดเรว็ และรนุ แรง มกี ารตดิ เชื้ออยา่ งรุนแรง ในหลายระบบของร่างกาย โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช เป็นโรงพยาบาลทั่วไปท่ีรับรักษาผู้ปว่ ยเด็กที่ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 รวมทั้งเป็นแม่ข่ายในการรับส่งต่อผู้ป่วยเด็กท่ีติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จากโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งแนวโน้มผู้ป่วย เด็กท่ีเข้ารับการรักษามสี ูงขึ้น การปอ้ งกันการติดเช้ือในเด็กที่ดจี ะสามารถลดอัตราการติดเช้ือและความรุนแรงจาก การติดเชื้อได้ การวางแผนเพื่อการป้องกันการระบาดและการดูแลช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะรุนแรงในเด็กจึงมี ความสาคัญ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยา ลักษณะอาการทางคลินิก มีปัจจัยอะไรที่สัมพันธ์กับ อาการรุนแรงของการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในเด็ก ตลอดจนเฝ้าระวังการเกิดอาการรุนแรง หรือ MIS-Cโดย การติดตามอาการหลังติดเช้ือ 2-6 สปั ดาห์ ซึ่งผลการศึกษาครง้ั น้ีจะเป็นประโยชน์แก่การนาใช้เปน็ แนวทางในการ ดแู ลรักษา ติดตามเฝ้าระวังผปู้ ่วยติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในเดก็ และการควบคุมป้องกนั โรคต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพอื่ อธบิ ายลกั ษณะทางระบาดวิทยาของการตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019ในผปู้ ว่ ยเดก็ แรกเกดิ ถึง 18 ปี 2.เพือ่ ศกึ ษาปจั จัยที่สมั พนั ธก์ ับอาการรุนแรงของการตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยเด็กแรกเกดิ ถงึ 18ปี 3.เพอื่ ติดตามเฝ้าระวงั ภาวะ MIS-C ในผู้ปว่ ยติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยเดก็ แรกเกิดถงึ 18 ปี วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
214 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ขอบเขตการวจิ ยั ขอบเขตของการวิจัยน้ีประกอบด้วย ด้านเน้ือหาเป็นการศึกษาเพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยาท่ี ประกอบด้วย บุคคล เวลา สถานที่ ลักษณะอาการ ความรุนแรง ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจทาง รังสี และวเิ คราะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับอาการรนุ แรงของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยเด็กแรกเกิดถึง18 ปี ตลอดจนผลการติดตามเฝ้าระวังภาวะ MIS-C กล่มุ ตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ป่วยเด็กแรกเกิด ถึง 18 ปี ที่ติดเชื้อไวรัสโคโร นา 2019 รับการรกั ษาที่โรงพยาบาลพระนารายณม์ หาราช จังหวัดลพบุรี ด้านพ้นื ที่ทาการศึกษา โรงพยาบาลพระ นารายณม์ หาราชจังหวัดลพบุรี และดา้ นระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน- 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2564 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั ปัจจยั ระดบั ความรนุ แรงของโรค COVID-19 ลักษณะบคุ คล ระดับความรนุ แรงของโรคไวรัสโคโรนา 2019 เพศ / อายุ /อาชพี / BMI / โรคประจาตวั I. Asymptomatic to Mild disease ลกั ษณะทางระบาดวทิ ยา - Asymptomatic บุคคล เวลา สถานท่ี - Mild disease II. Moderate to Critical disease ลกั ษณะทางคลนิ กิ Admit - Moderate disease อาการและอาการแสดง - Severe disease ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารและรังสี - Critical disease - ผลการตรวจเลอื ดที่แสดงคา่ การตดิ เชอื้ - ผลการตรวจหาเช้ือ COVID-19 - ผลการตรวจทางรงั สี ติดตามอาการ MIS-c หลงั D/C 2- 6 weeks ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การวิจัย วธิ ดี าเนนิ การวิจัย เป็นการวจิ ัยเชิงพรรณนาแบบศึกษายอ้ นหลัง (Retrospective descriptive study) ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ ผู้ป่วยเด็กแรกเกิด ถึง 18 ปีท่ีติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 รับการรักษาที่โรงพยาบาลพระ นารายณม์ หาราช จังหวดั ลพบุรี วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
215 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) กลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ในผู้ป่วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ต้ังแต่แรกเกิด ถึง 18 ปี ได้รับการรกั ษาตัวเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราชจังหวัดลพบุรี ในช่วงวันท่ี 1 เมษายน - 30 กันยายน พ.ศ.2564 จานวน 169 ราย เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจยั เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลได้แก่ “แบบบันทึกข้อมูลผู้ปว่ ยตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเดก็ ” ท่ีผวู้ ิจัยไดพ้ ัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมตา่ งๆท่เี กย่ี วข้อง ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1 แบบบันทึกข้อมูลจากเวชระเบียนแบบสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกอบด้วย ข้อมูลลักษณะบุคคล ข้อมูลลักษณะทางระบาดวิทยา ข้อมูลลักษณะทางคลินิกอาการและอาการแสดง ผลการ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และผลการตรวจทางรงั สี ส่วนท่ี 2 แบบสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ “เฝ้าระวังติดตามอาการเพื่อค้นหากลุ่มอาการ MIS-C หลังติดเช้ือ 2- 6 สัปดาห์” เน้ือหาสอบถามอาการท่ีเกิดขึ้นในช่วง 2 – 6 สัปดาห์ หลังจาหน่าย เน้ือหาประกอบด้วยกลุ่ม อาการโรคคาวาซากิ ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาท การ รักษาหรือการจัดการกบั อาการทพ่ี บ อาการปจั จุบนั การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื 1. แบบบนั ทึกข้อมูลจากเวชระเบียน ผ้วู ิจยั กาหนดขอบเขตเน้ือหาข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรมเพ่ือ ใช้เก็บขอ้ มูลจากเวชระเบยี น โดยกาหนดใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์การวิจัย และเนอ่ื งจากเป็นข้อมลู ทีม่ ีลกั ษณะ เป็นกายภาพหรือรูปธรรม (hard data) จึงมิได้ทาการทดสอบ validity และ reliability แต่ได้ผ่านการลง ความเหน็ จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านวา่ มีความสอดคลอ้ งของเนื้อหากบั วตั ถปุ ระสงค์ 2. แบบสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ “เฝ้าระวังติดตามอาการเพ่ือค้นหากลุ่มอาการ MIS-C หลังติดเชื้อ 2- 6 สัปดาห์” มี 9 ข้อคาถาม ได้ผ่านการการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านหาความเที่ยงตรงของเคร่ืองมือ (Validity) ทาการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา(Content Validity) ได้ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถาม กับวัตถุประสงค์ Index of item Objective: IOC= 0.81 และนาแบบสัมภาษณ์ทดลองใช้ในผู้ป่วยท่ีมีคุณสมบัติ คล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 ราย คานวณหาความเชื่อมั่นของเคร่อื งมือ (Reliability) โดยหาสัมประสิทธิ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ไดค้ า่ ความเชอ่ื มั่นเท่ากับ 0.85 การวิเคราะห์ขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเรจ็ รปู รายละเอียดดังน้ี 1. สถิติเชิงพรรณนา อธิบายข้อมูลลักษณะทางระบาดวิทยาตามลักษณะบุคคล ระยะเวลา สถานท่ี ระดับความรุนแรงของอาการนาเสนอค่าความถี่ ,ร้อยละ,คา่ เฉลย่ี , ค่ามธั ยฐาน, ค่าต่าสดุ -สูงสุด และ ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 2. สถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์ข้อมูลอธิบายความสัมพันธ์ตามลักษณะของข้อมูล ข้อมูลท่ีไม่ต่อเนื่อง อาการและอาการแสดง กับระดับความรุนแรงของอาการ โดยใช้สถติ ิ Chi-square ในกรณีท่ีมีค่าคาดหวังนอ้ ยกว่า 5 เกิน25% ใช้สถิติ Fisher’s exactแทน อธิบายขนาดความสัมพันธ์ด้วยOR crude และค่า 95% confidence วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
216 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) สว่ นข้อมูลท่ีมีลักษณะของมูลที่มีความต่อเนื่องทาการวเิ คราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐานของ ข้อมูล ทดสอบข้อมูลด้วย Kolmokorov-Smirnov ข้อมูลท่ีแจกแจงปกติใช้สถิติ Independent t-test และกรณี ข้อมูลทแี่ จกแจงไมป่ กติใช้สถติ ิ Mann-Whitney U testแทน การพิทกั ษส์ ิทธิ์ของกลุ่มตวั อยา่ งและจริยธรรมวจิ ัย การวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้ตระหนักถึงการเคารพในสิทธิมนุษยชน โดยขอการรับรองจากคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช จังหวัดลพบุรี รหัสงานวิจัย KNH 30 /2564 ซ่ึงมี การดาเนินการและเป็นไปตามข้อกาหนด โดยการวิจัยนี้จะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลของผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นรายบุคคล การนาเสนอข้อมูลต่างๆ จะนาเสนอในภาพรวมเทา่ น้นั ผลการวิจัย 1.ข้อมูลลักษณะบุคคล กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในเด็กทั้งหมด 169 ราย เป็น เพศชาย 90 ราย ร้อยละ 53.30 เพศหญิง 79 ราย ร้อยละ 46.70 จาแนกตามกลุ่มอายุเป็น 4 กลุ่มไดแ้ ก่ อายุต่า กว่า 1 ปี 13 ราย ร้อยละ 7.7 อายุ 1-5 ปี 36 ราย ร้อยละ 21.30 อายุ 6-12 ปี 62 ราย ร้อยละ 36.70 และ อายุ 13-18 ปี 58 ราย รอ้ ยละ 34.30 อายุต่าสุด 10 วัน (Mean= 9.4,S.D.=2.30) มีประวัติโรคประจาตัว 9 ราย ร้อยละ 5.3 ได้แก่ โรคหัวใจ 2 ราย โรคปอด 2 ราย ธาลัสซีเมีย 1 ราย โลหิตจาง 1 ราย และ G-6-P-D 1 ราย และมีภาวะ โภชนาการอ้วน 41 ราย ร้อยละ 24.30 การพักอาศัยในครัวเรอื นผู้ป่วยที่ติดเชื้อจากครัวเรือน 129 ราย พบว่า การ พักอาศัย ส่วนใหญ่อยู่หลังคาเรือนละ 4 คน ร้อยละ 46.60 รองลงมาหลังคาเรือนละ 6 คน ร้อยละ 26.40 (Mean= 4.6) และสงู สดุ หลังคาเรอื นละ 8 คนร้อยละ 1.60 2. ผลการศึกษาขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยา พบว่า ส่วนใหญม่ ีผูท้ ท่ี าหน้าที่ดแู ลใกล้ชิดเป็น บิดา หรือมารดา 145 ราย ร้อยละ 85.80 ประวัติการสัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันคร้ังสุดท้าย พบว่า สถานท่ีที่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วย ยนื ยันส่วนใหญ่คอื ในครัวเรือน 129 ราย ร้อยละ 76.30 โดยบคุ คลหรอื ผู้ป่วยยืนยันที่สัมผัสครง้ั สุดท้าย ส่วนใหญ่ คือ คนในครัวเรือนท่ีทาหน้าที่ดูแลใกล้ชิด 78 ราย ร้อยละ 46.20 พบว่า เป็นผู้ป่วยท่ีมีอาการ 154 ราย ร้อยละ 91.1 และไม่มีอาการ 15 ราย ร้อยละ 8.90 ระยะเวลาท่ีสัมผัสผู้ป่วยยืนยันครั้งสุดท้าย จนถึงแสดงอาการ ส่วน ใหญ่อยูใ่ นช่วง 1 - 7วนั 140 ราย ร้อยละ 91.50 ระยะเวลา(Mean=3.80 วนั ) และ ระยะเวลาท่ีสมั ผสั ผ้ปู ่วยยนื ยัน ครั้งสุดท้าย จนถึงผลการตรวจ RT-PCR พบเชอ้ื ส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 1 - 7 วัน 108 ราย ร้อยละ 63.30 ระยะเวลา เฉลย่ี 6.8 วัน การดูแลรักษาหลงั การได้รบั การวนิ จิ ฉัยทาการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นผู้ปว่ ยใน ส่วนใหญ่ ได้รับการดูแลเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลสนาม 119 ราย ร้อยละ 70.40 ระยะเวลาการรักษาเป็นผู้ป่วยใน 1-7 วัน 84 ราย รอ้ ยละ 49.70 (Mean=7.50 วัน จาแนกระดับความรุนแรงของผู้ป่วยโรค COVID-19ตามแนวทางปฏิบัติ ขององค์การอนามัยโลก(WHO) พบว่าส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดบั ไมร่ ุนแรง (mild desease) 110รายรอ้ ยละ65.10 ดังตารางท่ี 1 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
217 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 1 ข้อมลู ทางระบาดวทิ ยาและการดูแลรักษาโรคCOVID-19ในเดก็ แรกเกิดถงึ 18 ปี (n=169) ลกั ษณะทางระบาดวิทยา จานวน(คน) ร้อยละ ผูท้ าหนา้ ทีด่ แู ลใกล้ชิด 145 85.80 พ่อ-แม่ 14 8.30 นา้ -ป-ู่ ยา่ -ตา-ยาย 10 5.90 ครูพ่ีเลย้ี ง(คา่ ยฯ) /พ่ีเล้ียง 129 76.30 สถานท่ีสัมผสั ใกลช้ ดิ ผู้ปว่ ยยืนยัน 22 13.00 ในครัวเรอื น* 9 5.30 ในชมุ ชน 7 4.20 ค่าย(กจิ กรรมนักเรียน) 2 1.20 ทที่ างาน ยานพาหนะ 78 46.20 91 53.80 สมั ผัสใกล้ชิดผู้ปว่ ยยนื ยัน เป็นบคุ คลเดยี วกับผูด้ แู ลใกลช้ ิด 140 91.50 เปน็ บุคคลอ่นื ที่ไมใ่ ชผ่ ู้ดูแลใกลช้ ดิ 13 8.50 ระยะเวลาสัมผัสผูป้ ว่ ยยืนยนั ถึงมีอาการ(n=154) 107 63.30 1 - 7 วนั 56 33.10 8 -12 วนั 6 3.60 ระยะเวลาสัมผสั ผู้ปว่ ยยนื ยนั คร้งั สุดทา้ ยถึงตรวจพบเช้อื 119 70.40 1 - 7 วนั 50 29.60 8 – 14 วนั 15 - 17 วัน 84 49.70 82 48.50 การรักษาแบบผปู้ ่วยในครัง้ แรก( frist admit) 3 1.80 รพ.สนาม รพ.พระนารายณฯ์ ระยะเวลาวนั นอนโรงพยาบาล(L.O.S) 1 – 7 วัน 8 - 14 วัน 15 – 18 วัน วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
218 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลทางระบาดวิทยาและการดูแลรกั ษาโรค COVID-19ในเด็กแรกเกดิ ถงึ 18 ปี(n=169) (ต่อ) ลกั ษณะทางระบาดวิทยา จานวน(คน) รอ้ ยละ ความรุนแรงอาการโรค COVID-19แนวทางองค์การอนามัยโลก(WHO) 15 8.90 no sign& Asymptom 110 65.10 mild disease 42 24.80 moderate non-severe pneumonia serve pneumonia * 1 0.60 critical disease : sepsis ** 1 0.60 * Severe pneumonia เด็กอายุ 20 วนั ** Critical sepsis : เด็กอายุ 10 วัน 3. ผลการศกึ ษาปัจจัยที่สมั พันธก์ ับอาการรนุ แรงของการติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 พบว่า 3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างกลมุ่ อายุ และอาการ กับความรุนแรงของโรค COVID-19 ตามแนวทาง องค์การ อนามัยโลก(WHO) ในผู้ป่วยเดก็ แรกเกิดถึง 18 ปี พบวา่ กลุ่มอายุกับความรุนแรงของโรค COVID-19 พบว่า เด็ก ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มอายุ 6 ถึง12 ปี ร้อยละ 36.70 และ ผู้ป่วยที่มีระดับความรุนแรงของโรค(moderate- sever-critical) ทั้งหมด 44 ราย ทุกกลุ่มอายุมีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของโรคCOVID-19 ที่ระดับ นัยสาคัญ.05 ยกเว้นกลุ่มอายุท่ีน้อยกว่า 1 ปี โดยพบว่ากลุ่มที่มีระดับรุนแรงปานกลางถึงวิกฤต พบมากที่สุดคือ กลุ่มอายุ 13 ถึง 18 ปี จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ36.40 (p=.001) เมื่อเทียบกับเด็กอายุต่ากว่า 1 ปี พบว่า กลุ่มอายุ 6 ถึง 12 ปี มีโอกาสเกิดระดับรนุ แรงของโรคเปน็ 6 เท่า( OR=5.889, 95% CI= 2.905 -11.938 ) กลุ่ม อายุ 13 ถงึ 18 มโี อกาสเกิดความรนุ แรงของโรคเป็น 3 เท่า (OR=2.625, 95% CI=1.476- 4.669) และ กลมุ่ อายุ 1 ถึง 5 ปี มโี อกาสเกิดอาการรุนแรงเปน็ 2 เท่า ( OR=2.273, 95% CI =1.118 - 4.619) อาการแสดง กบั ระดับความรุนแรงของโรคCOVID-19 พบว่าผูป้ ่วยสว่ นใหญ่มอี าการ ไอ รอ้ ยละ 68.00 รองลงมาคือไข้ ร้อยละ 52.70 และเจ็บคอ ร้อยละ 35.50 ตามลาดับ ระดับความรุนแรงของCOVID-19 disease severity ตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก(WHO) ผลการศึกษาพบว่า ไข้ (p=.041) อาการมีผ่ืน ปวดเมื่อย กล้ามเน้ือ(p=.040) และ มีผื่น (p=.010) สัมพันธ์กับความรุนแรงของโรคCOVID-19 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.05 อาการไข้มีโอกาสเกิดความรุนแรงของโรคเป็น 2 เท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มไม่มีไข้ (OR=2.094, 95%, CI=1.024-4.221) อาการปวดเมื่อยกล้ามเน้ือมีโอกาสเกิดความรุนแรงของโรคเป็น 3 เท่าเม่ือเทียบกับกลุ่มไม่มี อาการปวดเมือ่ ยกลา้ มเน้ือ (OR=2.534, 95%, CI=1.021-6.291) และอาการมีผ่นื มโี อกาสเกิดความรนุ แรงของโรค เปน็ 6 เทา่ เม่อื เทยี บกับกลุ่มไม่มีอาการผ่นื (OR=6.421, 95%, CI=1.532-26.911) ดงั ตารางที่ 2 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
219 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 2 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างกลุ่มอายุ และอาการกับระดบั ความรนุ แรงของโรคCOVID-19ในผูป้ ว่ ยเดก็ แรกเกิดถึง 18 ปี Ages and all patient Msoedveerraete Asymptom OR 95% CI p-value symptoms s(ynm=1t6o9m) c(nri=ti4c4a)l (n-m=1il2d5) Age < 1 year 13 (7.70) 8 (18.20) 5 (4.00) .625 .204 - 1.910 .410c 1 1 - 5 year 36 (21.30) 11 (25.00) 25 (20.00) 2.273 1.118 - 4.619 .023c* 6 -12 year 62 (36.70) 9 (20.50) 53 (42.40) 5.889 2.905 – 11.938 .000c* 13 -18 year 58 (34.30) 16 (36.40) 42 (33.60) 2.625 1.476 – 4.669 .001c* Symptoms cough 115 (68.00) 29 (65.9) 86 (68.8) .877 .423 – 1.818 .724c fever 89 (52.70) 29 (65.90) 60 (48.00) 2.094 1.024 – 4.287 .041c* sorethroat 60 (35.50) 13 (29.50) 47 (37.60) .696 .331 – 1.461 .337c runny nose 36 (21.30) 11 (25.00) 25 (20.00) 1.333 .593 – 3.000 .486c phlegm 36 (21.30) 11 (25.00) 25 (20.00) 1.333 .593 – 3.000 .486c diarrhea 33 (19.50) 7 (15.90) 26 (20.80) .720 .288 – 1.801 .482c dyspnea 31 (18.30) 8 (18.20) 23 (18.40) .986 .405 – 2.389 .972c myalgia 23 (13.60) 10 (22.70) 13 (10.40) 2.534 1.021 – 6.291 .040c* headache 15 (8.90) 3 (6.80) 12 (9.60) .689 .185 – 2.566 .417F rash 9 (5.30) 6 (13.60) 3 (2.40) 6.421 1.532 – 26.911 .010F* Lose of smell 9 (5.30) 2 (4.50) 7 (5.60) .803 .160 – 4.018 .571F Loss of taste 9 (5.30) 2 (4.50) 7 (5.60) .803 .160 – 4.018 .571F C : Chi-square, F= Fisher's exact test , * p<.05 3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคคล อาการแสดง และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการผู้ป่วย COVID-19 ในเด็กแรกเกิดถึง 18 ปีพบว่า อาการแสดง กับระดับความรุนแรงของอาการโรค COVID-19 โดยการ เปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐานท่ี ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 พบว่า อุณหภูมิในกลุ่มท่ีมีอาการรุนแรงสูงกว่า กลุ่มที่มีอาการเล็กน้อยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p=.000) ระยะเวลาที่เป็นไข้กล่มุ ที่มีอาการรุนแรงมี ระยะเวลาของการเป็นไข้นานกว่ากลุ่มท่ีมีอาการเล็กน้อยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p=.000) ค่าความ เข้มข้นออกซิเจนในเลือด(O2saturation) ของกลุ่มที่มีอาการรุนแรงพบว่ามีค่าต่ากว่ากลุ่มท่ีมีอาการเล็กน้อยแตกต่าง กันอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ (p=.000) ระยะเวลาวันนอนโรงพยาบาล(L.O.S) ของกลุ่มทีม่ ีอาการรุนแรงมีระยะวัน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
220 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) นอนนานกว่ากลุ่มที่มีอาการเล็กน้อยแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(p=.000) ผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการพบว่า ค่าเฉล่ียของอัลบูมิน(Alubumin) กลุ่มท่ีมีอาการรุนแรงต่ากว่ากลุ่มอาการเล็กน้อยแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p=.020) และค่า CRP ของกลุ่มท่ีมีอาการรุนแรงสูงกว่ากลุ่มมีอาการเล็กน้อย แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ (p=.024) ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 เปรยี บเทยี บความแตกต่างของค่าเฉล่ยี ค่ามธั ยฐาน ขอ้ มลู ลกั ษณะบุคคล อาการแสดงและผลการ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ ผู้ป่วยโรคCOVID-19ในเด็กอายุแรกเกิดถึง18ปี ข้อมูล Moderate-severe- Asymptom-mild P-value critical (n=44) (n=125) ลกั ษณะบุคคล .838M - BMI , median [IQR] 18.30 (24.70-27.80) 18.30 (13.90-27.10) .000M* อาการและการแสดง 37.50 (36.60-37.80) 36.80 (36.40-37.60) .000M* - Temp oC, median [IQR] 2.00 (2.00-7.00) 1.00 (1.00-7.00) .000M* - ระยะเวลามไี ข้ (วนั ), median [IQR] 97.00 (95.00-98.00) 98.00 (96.00-99.00) - O2 sat (%), median [IQR] .837M 3.00 (2.00-7.00) 3.00 (3.00-10.00) อาการและการแสดง .398M - ระยะเวลาสมั ผสั ผ้ปู ่วยยนื ยนั คร้ัง 6.00 (4.00-12.00) 6.00 (5.00-13.00) สดุ ท้ายถงึ แสดงอาการวนั ),median[IQR .006M* - ระยะเวลาสมั ผสั ผู้ปว่ ยยนื ยนั ครั้ง 9.00 (5.00-14.00) 7.00 (5.00-14.00) สดุ ทา้ ยถงึ พบเชอื้ (วนั ), median [IQR] .565t - L.O.S (day), median [IQR] 25.20 (5.00) 25.80 (5.20) .578t .052t ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ 22.00 (4.90) 22.30 (4.40) .116M - Ct RdRP gene, mean [S.D.] .329M 21.40 (3.50) 27.60 (7.40) .467M - Ct E gene , mean [S.D.] .467t 22.20 (3.80) 28.20 (8.60) .223t - Ct N gene , mean [S.D.] 40.80 (37.9-46.9) 40.40 (37.50-41.40) .328t 7.00 (5.5-10.00) 6.00 (4.90-8.00) .441t - Ct ORF 1 ab gene , median [IQR] 307,433 (110,186) 284,800 (64,003) .880t - Hematocrit , median [IQR] - WBC ×109/L , median [IQR] 40.00 (19.20) 47.40 (17.20) - Platelet cell/mm3 mean [S.D.] - Neutrophil×109/L mean [S.D.] 49.20 (17.20) 43.90 (16.20) - Lymp ×109/L, mean [S.D.] 9.20 (5.20) 6.90 (1.20) 102.30 (7.80) 103.30 (23.40) - Monocyte, mean [S.D.] - Glucose , mean [S.D.] วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
221 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 3 เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉล่ยี คา่ มัธยฐาน ขอ้ มลู ลักษณะบคุ คล อาการแสดงและผลการ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ผู้ปว่ ยโรคCOVID-19ในเด็กอายุแรกเกิดถึง18ปี (ตอ่ ) ข้อมูล Moderate-severe- Asymptom-mild P-value critical (n=44) (n=125) - Monocyte, mean [S.D.] 9.20 (5.20) 6.90 (1.20) .441t - Glucose , mean [S.D.] 102.30 (7.80) 103.30 (23.40) .880t - Creatinine, median [IQR] 0.5 [.3] 0.6 [.62] .162t - BUN, mean [S.D.] 10.0 [3.7] 10.9 [2.8] .330t - Albumin, mean [S.D.] 4.2 [0.3] 4.6 [0.2] .020t* - Globulin, mean [S.D.] 2.8 [0.7] 3.1 [0.4] .320t - Direct bilirubin, mean [S.D.] 0.2 [0.1] 0.1 [0.1] .928t - total bilirubin, mean [S.D.] 0.8 [2.1] 0.4 [0.2] .265t - Alk. Phos, mean [S.D.] 176.6 [85.9] 137.9 [68.3] .180t - AST, mean [S.D.] 32.9 [15.1] 27.1 [9.9] .119t - ALT, median [IQR] 13.5 [10-31] 12.4 [9-26] .676M - CRP, mean [S.D.] 4.2 [4.7] 2.2 [2.1] .024t* - Na , mean [S.D.] 138.6 [3.2] 139.4 [3.7] .449t - K , mean [S.D.] 4.3 [0.8] 4.2 [0.5] .508t - C , mean [S.D.] 105.4 [2.2] 105.4 [2.9] .994t - Co2, mean [S.D.] 21.4 [3.0] 22.7 [3.6] .139t t : independent t- test , M: Man Whithney U – test, * p<.05 4.ผลการตดิ ตามเฝ้าระวังภาวะ MIS-C ผลการตดิ ตามเฝ้าระวงั ภาวะMIS-C โดย Home Isolate Primary Care Team ผู้ปว่ ย169 ราย พบวา่ มีไข้ 11 ราย รอ้ ยละ6.5 ผ่นื 3 ราย ร้อยละ 1.8 ตาแดง 2 ราย ร้อยละ 1.2 อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด: แนน่ หนา้ อกหายใจไม่อิ่ม 1 ราย ร้อยละ 0.6 อาการทางระบบทางเดนิ อาหาร:ปวดท้อง 3 ราย ร้อยละ1.8 , ท้องเสีย 6 ราย รอ้ ยละ3.6 ,คลน่ื ไส้ 2 ราย ร้อยละ1.2 , อาเจียน 2 ราย ร้อยละ 1.2 มีอาการคลา้ ยไส้ต่งิ อักเสบ 3 ราย ร้อยละ1.8 อาการทางระบบประสาท : ปวดศีรษะ 7 ราย ร้อยละ10.1) พบอาการเขา้ เกณฑ์สงสยั สง่ ต่อ วนิ ิจฉัย/รกั ษา 4 ราย ร้อยละ 2.4 พบว่าเป็น MIS-C 3 รายรอ้ ยละ 1.8 และ อาการปวดท้องเฉียบพลนั (Acute Abdominal pain) 1 ราย ร้อยละ 0.6 Case MIS-C 1) เด็กหญิงอายุ 10 วนั เขา้ รบั การรกั ษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล 11 ก.ค. 64 มาด้วย ไข้สูง หอบ ประวตั ิพ่อ แม่ติดเช้ือCOVID19 ส่งทา RT-PCR=detected (gene Ct N=16.26,E =18.19, ORF1ab=17.07) วินิจฉัยทาง วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
222 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) การแพทย์ neonatal sepsis & COVID-19 & pneumonia ผู้ป่วย Re-admit 18/8/2564 ในสัปดาห์ที่ 6 ด้วยไข้ หายใจดัง ไม่ดูดนม อาเจียน ผล CXR: pul infiltration, CBC: WBC=12,220 109/L, Neutrophil=12.5 109/L, Lymp=78.6 109/L มผี ืน่ นูนแดงบริเวณ perineum 2) เด็กหญิง 14 ปี เข้ารบั การรักษาเปน็ ผู้ป่วยในโรงพยาบาล 1 ส.ค. 64 ด้วย mild symptoms ผลการตรวจ RT-PCR=detected (gene Ct N=21.77, ORF1ab=21.84) ผู้ป่วย Re-admit 20 ส.ค. 2564 ในสัปดาห์ที่ 3 ด้วย อาการ ไข้ ปวดท้องน้อยรอบสะดือ คล่ืนไส้อาเจียน CRP=12.8 mg/dL, CBC: WBC=10,600 109/L, Neutrophil=60 109/L วนิ ิจฉัยทางการแพทย์ acute abpendicitis & covid-19 infection ทา appendectomy 3) เด็กชาย 10 ปี เข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล 23 ส.ค.64 ด้วย ไข้ ไอ เจ็บคอ ผล RT- PCR = detected (gene Ct E =27.94, Rd RP=32.29) ร่วมกับปวดท้องน้อย ถ่ายเหลว CT Whole abdomen: acute appendicitis,CBC: WBC=16,960 109/L, Neutrophil=90 109/L วินิจฉัยทางการแพทย์ acute appendicitis mild pneumonia, covid 19 infection ทา appendectomy ผปู้ ่วยเขา้ เกณฑ์วนิ ิจฉัยแตไ่ ม่ใช่เปน็ MIS-C หญิง 16 ปี Admit 13 ก.ค.64 ด้วย mild symptoms RT-PCR=detected (gene Ct E=24.17, RdRP=27.9) สง่ ต่อFollow up OPD สัปดาหท์ ่ี 4 มไี ข้ ปวดทอ้ งนอ้ ย ถา่ ยเหลว มีอาการคล้ายไส้ตง่ิ อกั เสบ สง่ ตรวจ CBC: WBC=6,000 109/L วนิ ิจฉัยทางการแพทย์ Abdominal pain อภิปรายผล ลกั ษณะบคุ คลผู้ป่วยโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019ในเด็ก ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย รอ้ ยละ53.30 มีอายเุ ฉลี่ย 9.40 ปี ซึ่งเป็นช่วงกลุ่มอายุเด็กวัยเรียนสอดคลอ้ งกับ Dong at et. (2020) ศึกษาลักษณะทางระบาดวิทยาโควิด- 19ในเด็กประเทศจีน 2,143 ราย พบผู้ป่วยเด็กติดเชื้อโควิดส่วนใหญ่เป็น เพศชาย ร้อยละ 56.60 มีอายุเฉลี่ย 7 ปี และสอดคล้องกับการศึกษาของ Lu at et. (2020) ทาการศึกษาการติดเชื้อโควิดในเด็ก สาธารณรัฐประชาชน จีน ระหว่างวันที่ 28 มกราคม ถึง 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 ตรวจคัดกรองโดยการทา Nasopharyngeal or throat swabs 1,391 ราย พบผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อโควิด-19 ทั้งหมด 171 ราย ร้อยละ 12.30 ส่วนใหญ่เป็นเพศ ชายและมคี า่ มัธยฐานของอายุ 6.70 ปี ซ่งึ จดั อยใู่ นกล่มุ วัยเรยี นเชน่ กนั ศึกษาทางระบาดวิทยาอธิบายความเช่ือมโยง บุคคล เวลา สถานที่ พบว่าส่วนใหญ่มีผู้ท่ีทาหน้าท่ีดูแลเด็ก ใกล้ชิดเป็น บิดา หรือมารดา ร้อยละ 85.00 ประวัติการสัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันคร้ังสุดท้ายส่วนใหญ่เป็นบุคคลใน ครัวเรอื น ร้อยละ 76.30 โดยบุคคลหรือผู้ป่วยยืนยนั ท่สี ัมผัสคร้ังสุดทา้ ยส่วนใหญค่ ือคนในครวั เรือนท่ีทาหน้าท่ีดแู ล ใกล้ชิด รอ้ ยละ 46.20 สอดคล้องกบั Lu et. al. (2020) ศกึ ษาระบาดวิทยาของ ในประเทศจีนพบผูป้ ่วยเด็กยืนยัน 171 ราย โดยส่วนใหญ่ติดเช้ือมาจากครอบครัวสูงถึง ร้อยละ90.1 และจากการรายงานของหน่วยงานป้องกัน โรคติดต่อในสหรัฐอเมริกา รายงานการติดเช้ือโควิด-19 ระหว่างวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ ถึง 2 เมษายน ค.ศ. 2020 พบผู้ป่วยติดเช้ือโควิด-19 ในสหรัฐอเมริกา 149,760 ราย เป็นการติดเชื้อในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 18 ปี 2,572 ราย วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
223 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ร้อยละ 1.70 และพบว่าร้อยละ 91.00 ของผู้ป่วยติดเช้ือในเด็กมาจากครอบครัวหรือในชุมชน(Centers for Disease Control and Prevention, 2020) ระดบั ความรนุ แรงของผู้ป่วยโรคCOVID-19 จาแนกตามแนวทางปฏิบัตขิ ององคก์ ารอนามัยโลกพบว่า อายุ มีความสัมพันธ์กบั ระดับความรุนแรงของอาการอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.05 (p=.000) พบว่า ระดับอาการท่ีมี ความรุนแรงสูงสุดคือระดับวิกฤต(critical disease) วินิจฉัยทางการแพทย์ติดเช้ือในกระแสเลือด(sepsis) 1 ราย รอ้ ยละ 100.00 เป็นเดก็ ท่ีมีอายุ 10 วัน ความรุนแรงรองลงมาคอื ระดบั รุนแรง(severe) วินจิ ฉยั ทางการแพทย์ปอด อักเสบ(pneumonia) 1 ราย ร้อยละ 100.00 พบในเด็กอายุ 20 วัน สอดคล้องกับการศึกษาของ Alsohime et. al (2020) ศึกษาพบว่าผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ที่อายุน้อยกว่า1 ปี มีความเสี่ยงท่ีจะมีอาการ รุนแรง โดยเป็นอาการตอบสนองต่อการติดเชื้ออย่างรวดเร็วและรุนแรง มีการติดเช้ืออย่างรุนแรงในหลายระบบ ของร่างกายสอดคล้องกับการศึกษาของ Yasuhara , Kuno, Takag, & Sumitomo (2020) ทบทวนกรณีศึกษา ผูป้ ว่ ยเด็กท่ีตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา2019 จานวนทั้งหมด 114 ราย พบว่า ผ้ปู ่วยเด็กท่ีมีอาการหายใจเหน่ือยพบไดบ้ อ่ ย ในเด็กที่อายุน้อยกว่า 1 ปี และสอดคล้องกับ Dong et.al (2020) ศึกษาลักษณะระบาดวิทยาโควิด-19ในเด็ก ประเทศจีน พบว่า แต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกันของอาการรุนแรง ในกลุ่มเด็กอายุ ต่ากว่า 1 ปี พบระดับ Critical ร้อยละ 53.00 อายุ 1 ถึง5 ปีพบระดับรุนแรง(severe) ร้อยละ 30.10 6 ถงึ 10ปี และ 11 ถึง 15ปี พบไม่ มีอาการร้อยละ 31.90 และ28.70 และ15 ปีขึ้นไป พบ moderate ร้อยละ 17.0 อย่างไรก็ตามพบว่าเด็กทารก อายุ น้อยกวา่ 1 ปี และเด็กอายนุ ้อยกวา่ 5 ปี เปน็ กลุ่มทพี่ บมีอาการรนุ แรงและวิกฤตไดส้ งู กว่าเด็กในกลุ่มอายุอนื่ อาการแสดง ความสัมพันธข์ องอาการแสดงกับระดับความรุนแรงของอาการโรคCOVID-19 พบว่าอาการ มีผื่น(p=.010) ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ(p=.040) และ ไข้ (p=.030) สัมพันธ์กับความรุนแรงของโรคCOVID-19 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.05 และอาการมีผื่นมีโอกาสเกิดความรุนแรงของโรคเป็น 6 เท่า อาการปวดเม่ือย กล้ามเนื้อมีโอกาสเกิดความรุนแรงของโรคเป็น 3 เท่า และอาการไข้มีโอกาสเกิดความรุนแรงของโรคเป็น 2 เท่า เม่ือเทียบกับกลุ่มไม่มีอาการ สาหรับอาการแสดง พบว่าเป็นผู้ป่วยท่ีมีอาการ 154 ราย ร้อยละ 91.1 อาการท่ีพบ ส่วนใหญ่ได้แก่ ไอ ร้อยละ68.0 ไข้ ร้อยละ 52.7 เจ็บคอ ร้อยละ37.6 สอดคล้องกับการศึกษาของ Lu et al. (2020) และการศึกษาของ Xia at et. (2020) ศึกษาอาการท่ีพบในเด็กที่ป่วยเป็น COVID-19 ได้แก่ อาการไอ ร้อยละ 48.5 - 65.0 ไข้ ร้อยละ 41.50-60.00 ไข้คอแดง ร้อยละ 46.20 และอาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย อาเจียน พบได้น้อย ร้อยละ 5.00-10.00 ซ่ึงแตกต่างจากอาการในผู้ใหญ่ที่จะมีไข้สูงและไอมากกว่า ประมาณร้อยละ 4-15 ของผู้ป่วยเด็กเป็นผู้ป่วยติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ สอดคล้องกับการศึกษาของYasuhara et al. (2020) ทบทวนกรณีศึกษาผู้ป่วยเด็กที่ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จานวนทั้งหมด 114 ราย พบว่า ผู้ป่วยเด็ก สว่ นใหญม่ ีอาการ ไขร้ อ้ ยละ 64.2 รองลงมาคอื ไอรอ้ ยละ 39.34 และ มีอาการหายใจเหน่อื ย ร้อยละ10.7 ซึง่ ผูป้ ่วย ท่มี ีอาการหายใจเหนื่อยพบไดบ้ ่อยในเด็กที่อายนุ อ้ ยกว่า 1 ปี ลกั ษณะบคุ คล อาการแสดงและผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร อุณหภูมิร่างกายในกลุ่มทีม่ ีอาการรุนแรง สูงกว่ากลุ่มที่มีอาการเล็กน้อยแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.001 (p=.000) ระยะเวลาท่ีเป็นไข้กลุ่มที่มี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
224 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) อาการรุนแรงนานกว่ากลุ่มท่ีมีอาการเล็กน้อยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.001 (p=.000) สอดคล้อง กับการศึกษาของ Zhang at el. (2020) ศึกษาปัจจัยทานายที่มีผลต่อความรุนแรงของอาการโควิด-19กลุ่ม ตวั อย่าง 43 ราย แยกเป็นกลุ่มอาการไมร่ ุนแรงร้อยละ 67.40 กลุม่ อาการรุนแรง รอ้ ยละ 32.60 ผลการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์พบว่าอาการมีไข้ และผู้ป่วยท่ีรุนแรงกว่ามีระดับอุณหภูมิมากกว่า 39 องศาเซลเซียล ร้อยละ 42.00 เมอื่ เทียบกบั กล่มุ ไมร่ ุนแรงพบร้อยละ 6.9%, อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ p<.01 (p=0.004) ค่าความเข้มข้นออกซิเจนในเลือด(O2 saturation) ของกลุ่มท่ีมีอาการรุนแรง พบว่า มีค่ามัธยฐานต่ากว่า กลุ่มทม่ี ีอาการเล็กน้อยแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ p<.05 (p=.000) สอดคล้องกับ Mejia at el. (2020) ศึกษาความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดปัจจัยทานายการเสียชีวิตผู้ป่วยติดเชื้อโควิดผู้ใหญ่ขณะอยู่โรงพยาบาล ของรัฐ เมืองลิมาร์ ประเทศเปรู ทาการศึกษาย้อนหลังในโรงพยาบาลลิมาร์ ประเทศเปรูผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา เป็นผู้ป่วยใน ช่วง มีนาคม-กรกฎาคม ค.ศ.2020 จานวน 369 ราย พบว่า อยู่รักษาจนถึงจาหน่าย 186 ราย และ ครึ่งหน่ึงของผู้ป่วยเสียชีวิตขณะอยู่โรงพยาบาล 183 ราย ร้อยละ 49.50 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.001 ประเมินปัจจัยทานายในการเสียชีวิตขณะนอนรพ.พบว่า ค่าความเข้มข้นออกซิเจนในเลือดเมื่อรับเข้าไว้ นอนในโรงพยาบาล น้อยกว่าร้อยละ 90.00 สัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลเป็น 9.13 เท่าเมื่อเทียบ กับผู้ป่วยที่มีค่าความเข้มข้นออกซิเจนในเลือดมากกว่าร้อยละ 90.00 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติp <.001 (OR= 9.13, 95%, CI=5.50-15.14) ระยะเวลาวันนอนรพ.(L.O.S) ของกลุ่มท่ีมีอาการรุนแรงมีระยะวันนอนนานกว่ากลุ่มที่มีอาการเล็กน้อย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.05 (p=.000 ) หากวิเคราะห์สัดส่วนจานวนวันนอนพบว่า ไม่สอดคล้อง กับการศึกษาของMejia et. al. (2020) ท่ีพบว่าโดยรวมค่ามัธยฐาน L.O.S= 7 วัน, กลุ่มท่ีรักษาจนถึงจาหน่าย L.O.S= 8 วันและกลุ่มที่เสียชีวิตขณะรักษาในรพ. L.O.S= 5 วัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p<.001 การท่ีผลการศึกษาไม่สอดคล้องนี้เน่ืองจากกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบของการศึกษามีความรุนแรงที่ ต่างกันการที่มีความรุนแรงมากจนทาให้เสียชีวิตเร็วข้ึน จานวนวันนอนจึงลดลง อย่างไรก็ดีผลการศึกษาของ Mejia et al. (2020) พบว่า ค่ามัธยฐานวันนอนผกผันกับค่าค่าความเข้มข้นออกซิเจนในเลือด กล่าวคือ L.O.S 7 วัน (IQR 4-10) ค่าความเข้มข้นออกซิเจนในเลือด=90% , L.O.S 9.50 วัน (IQR6-13.50) ค่าความเข้มข้น ออกซเิ จนในเลือด=89-85%, L.O.S 10.50 วัน ( IQR 8-14 ) ค่าความเข้มขน้ ออกซิเจนในเลือด=84-90%, L.O.S 22 วนั (IQR 17.5-22.50 ) คา่ ความเข้มขน้ ออกซิเจนในเลอื ด <80% แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ p<.001 ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด(Complete Blood Count: CBC) ได้แก่ Hematocrit, WBC, Platelet, Neutrophil, Lymphocyte, Monocyteกับระดับรุนแรงของอาการไม่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ p>.05 ค่าเฉล่ียอัลบูมินของผู้ป่วยเด็กกลุ่มอาการเล็กน้อยสูงกว่ากลุ่มท่ีมี อาการรุนแรง แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติp<.05 (p=.020) ค่าเฉลี่ย CRPของผู้ป่วยเด็กกลุ่มอาการเล็กน้อย ต่ากว่ากลุ่มที่มีอาการรุนแรง แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติp<.05 (p=.024)สอดคล้องกับการศึกษาของ Sun al.et. (2020) ศึกษาลกั ษณะทางคลนิ ิกของผปู้ ่วยเด็กข้นั รุนแรงท่ีตดิ เชือ้ โควิด-19 ในหวูฮ่ ั่น ประเทศจีน พบว่าการ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
225 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไปไม่จาเพาะต่อ COVID-194 การตรวจ การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด พบว่าส่วน ใหญ่จานวนเม็ดเลือดขาวอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือค่อนต่าเล็กน้อย อาจพบ lymphocyte ต่า เกล็ดเลือดอาจจะปกติหรือ ค่อนต่า อาจพบค่าการอักเสบเช่น CRP ESR ปกติหรือสูงข้ึนได้ procalcitonin มักอยู่ในเกณฑ์ปกติในรายท่ีมีอาการ รนุ แรงอาจพบเอนไซมต์ ับผดิ ปกติ LDH, CRP, procalcitonin และ D-dimer สูงขนึ้ การติดตามเฝ้าระวังภาวะ MIS-C ทาให้สามารถพบผู้ป่วยท่ีมีภาวะ MIS-C 3 ราย สามารถสรุปได้ 2 ประการดังนี้ คือ ประการแรกผู้ป่วยสามารถได้รับการดูแลช่วยเหลือทันท่วงทีไม่เกิดอันตรายถึงชีวิต ประการท่ี 2 อาจกล่าวได้ว่า เป็นเรื่องของศักยภาพของทีม Home Isolate primary care team ที่เร่ิมต้ังแต่ระบบการติดตาม ระบบการปรึกษาทางการแพทย์ และ ระบบส่งต่อเพ่ือวินิจฉัยรักษาอย่างไร้รอยต่อ เชื่อมโยงสู่แนวทางปฏิบัติท่ี ผู้วิจัยได้พัฒนาข้ึนโดยการ “พัฒนากระบวนการเฝ้าระวังภาวะ MIS-C “ ร่วมกับ” “ Home Isolate Care Team” ซึ่งเป็น รปู แบบการทางานที่เน้นการทางานเป็นทีมในส่วนของชุมชน จากการทางานของทมี เฝ้าระวงั สอบสวนเคล่ือนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team : SRRT) ร่วมกับ ระบบการดูแลของหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary care) ที่มี แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นผู้ทาหน้าท่ีให้คาปรึกษา และประสานงานแบบไร้รอยต่อ มาประยุกต์ระบบการ ติดตามอาการเฝา้ ระวังMIS-C ในชมุ ชนหลังจาหน่ายผูป้ ว่ ยเด็กกลับบ้าน โดยแบง่ การทางานติดตามเฝา้ ระวงั เปน็ 4 ทมี ครอบคลมุ ทงั้ อาเภอเมอื งลพบุรี ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1. ส่งเสรมิ สขุ ภาพใหป้ ระชาชนมพี ฤติกรรมเหมาสมในเร่ืองการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะการ ใชช้ วี ิตประจาวันกับคนในครวั เรือน ปรับลดพฤติกรรมความเคยชินทีเ่ สย่ี งต่อการตดิ เชือ้ 2. สนบั สนุนการนามาตรการการติดตามเฝา้ ระวงั ภาวะMIS-C ไปใชใ้ นการดูแลรกั ษาผปู้ ่วยตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา-19 ซึ่งจะช่วยลดโอกาสรุนแรงและป้องกนั การเสยี ชวี ติ 3. จัดทาเอกสารคาแนะนาสาหรบั ผปู้ ่วยและญาติ“อาการสาคัญทีค่ วรกลบั มาพบแพทย์ หรอื แจง้ เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุขในพ้ืนท่ี 4. เพมิ่ ชอ่ งทางการเข้าถึงบรกิ ารทส่ี ะดวก รวดเร็ว เช่น โทรศัพท์ หรือ แอพพิเคชั่น ไลน์ ให้ผ้ปู ว่ ยสามารถ ตดิ ต่อสื่อสารไดส้ ะดวก ทันท่วงที ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาคร้งั ตอ่ ไป ปัจจบุ ันมีการส่งเสรมิ การฉีดวัคซนี ปอ้ งกันโรคโควิด-19ในวงกวา้ ง แต่ก็ยงั พบว่ามีประชาชนบางกลุ่มยังไม่ เขา้ ถงึ หรือไม่ยินยอมฉดี วคั ซนี ดงั กล่าว ดงั นนั้ การศกึ ษาคร้งั ต่อไปควรเป็นการศึกษาถึงผลของการฉีดวคั ซีนปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 ตอ่ ความรุนแรงของโรคโควดิ -19 เพอ่ื นาผลการศึกษามาวางแผนการพฒั นาการส่งเสรมิ ให้มีการสรา้ ง เสรมิ ภมู ิคุ้มกันโรคอยา่ งครอบคลุม วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
226 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) กติ ติกรรมประกาศ ขอกราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ ศาสตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เช่ียวชาญเฉพาะ ดา้ นไวรัสวทิ ยาคลินกิ ภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ทีก่ รุณาให้คาแนะนา ปรึกษา ช้ีแนะแนวทางการศกึ ษาวิจยั คร้ังน้ีด้วยความเอาใจใส่เป็นอยา่ งดีย่ิง และ ขอขอบพระคุณเจ้าหน้าท่ีทุกฝ่าย ทช่ี ่วยติดตามเฝ้าระวงั รวบรวมข้อมูล ตลอดจนกลุม่ ตัวอยา่ งและผู้ปกครองทุกทา่ นท่ีให้ความร่วมมือในการติดตาม ประเมินผลเป็นอยา่ งดียง่ิ เอกสารอ้างอิง Alsohime, F., Temsah, M.H., Al-Nemri, A. M., Somily, A.M., & Al-Subaie S. (2020). COVID-19 infection prevalence in pediatric population: Etiology, clinical presentationandoutcome. Journal of infection and public health, 13(12), 1791-1796. doi:10.1016/j.jiph.2020.10.008. Barek, M.A, Aziz, M.A, & Islam, M.S. (2020). Impact of age, sex, comorbidities and clinical symptoms on the severity of COVID-19 cases: A meta-analysis with 55 studies and 10014 cases. Heliyon, 6(12), 1-24. doi: 10.1016/j.heliyon.2020.e05684. Epub 2020 Dec 15. Centers for Disease Control and Prevention. (2020). Coronavirus disease 2019 in children United States. Morbidity and mortality weekly report, 69 (14), 5-8. Chang, T.H, Wu, J.L, & Chang, L.Y.(2020). Clinical characteristics and diagnostic challenges of pediatric COVID-19: A systematic review and meta-analysis. Journal of the Formosan Medical Association, 119(5), 982-989. De Souza, T.H, Nadal, J.A, Nogueira, R.J, Pereira, R.M, & Brandao, M.B. (2020).Clinical manifestations of children with COVID‐19: A systematic review. Pediatr pulmonol, 55(8), 1892-1899. doi: 10.1002/ppul.24885. Epub 2020 Jun 15. Department of Medicine. (2021). GuidelinesMultisystemInflammatorySyndromeinChildren;MIS-CinThai. (Online), Available: https://www.thaipediatrics.org/pages/Doctor/Detail/46/387. (2021, October 4).(inThai) Dong, Y., el al. (2020). Epidemiological Characteristics of 2143 pediatric patients with 2019 coronavirus disease in China.Pediatrics, 145(6). doi:10.1542/peds.2020-070. Feldstein, L.R., el al. (2020). Characteristics and outcomes of US children and adolescents with multisystem inflammatory syndrome in children (MIS-C) compared with severe acute COVID-19. The Journal of the American Medical Association, 325(11),1074-1087. doi: 10.1001/jama.2021.2091. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
227 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Kriangburapha W. (2020). Coronavirus infection 2019 in children . British Medical Journal, 7(1),96-102. (in Thai) Lu, X.,el al. (2020). SARS-CoV-2 Infection in children. The New England Journal of Medicine (NEJM), 382(17), 1663-1665. Mejia, F., el al. (2020).Oxygen saturation as a predictor of mortality in hospitalized adult patients with COVID-19 in a public hospital in Lima. PloS ONE, 15(12),doi: 10.1371/journal.pone.0244171 Ministry of Public Health. Department of Disease Control Emergency Operrations Center. (2021). Situation report Coranavirus Disease 2019 No 715. (Online), Available: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/situation.php. (2021, December 18). (in Thai) Panahi, L., Ami, i.M., & Pouy, S. (2020). Clinical characteristics of COVID-19 infection in newborns and pediatrics: A systematic review. Archives of academic emergency medicine, 8(1), 1-9. Phuworawan Y. (2021). The impact of covid-19 in thaland. Thai Journal of Pediatrics, 60(2), 81-82. (in Thai) Samkoket, R. (2021). Report the situation of COVID-19 in Thai children(0-18 year old). (Online), Available: https://www.thaipediatrics.org. (2021, August 21). (in Thai) Sun, D., el al. (2020). Clinical features of severe pediatric patients with coronavirus disease 2019 in Wuhan: A single center’s observational study. World Journal of Pediatric,16(3),251-259. World Health Organization. (2021). Classification of Omicron (B.1.1.529): SARS-CoV-2 Variant of Concern. (Online), Available: https://www.who.int/news/item.(2021, November 11). Xia, W. ,el al. (2020).Clinical and CT features in pediatric patients with COVID19 infection: Different points from adults. Pediatric Pulmonology, 55(5), 1169-1174. doi: 10.1002/ppul.24718. (Epub ahead of print). Yasuhara, J., Kuno, T., Takagi, H., Sumitomo, N. (2020). Clinical characteristics of COVID-19 in children: A systematic review. Pediatrict Pulmonology, 55(10), 2565-2575. doi:10.1002/ppul.24991. Zhang, H., el al. 2020). Potential factors for prediction of disease Severity of COVID-19 Patients (Online), Available: https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.03.20.20039818v1 doi: 10.1101/2020.03.20.20039818i. (2021, November 11). (in Thai) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
Development of Learning Outcomes based on Learning and Evaluation Redesigned using Standardized Patient in Simulation-Based Learning (SBL) in Mental Health and Psychiatric Nursing Courses Winai Robkob 1* Sriprapai Inchaithep*, Woraporn Thinwang * (Received: February 6, 2022, Revised: April 21, 2022, Accepted: May 10, 2022) Abstract The purpose of this research is to redesign Simulation-Based Learning (SBL) using standardized patients to learning outcomes in mental health and psychiatric nursing courses. 160 participants who were second year nursing students participated in this study. The questionnaire was divided into four parts: Background information, the redesign SBL, instrumental-related learning outcome assessment, and instrumental-related the evaluation of learning efficiency verified by three peer reviewers. Descriptive statistics were carried out to assess number of participants, percentages, averages as well as standard deviation. The redesign of SBL using standardized patient included the crucial component of learning management in promoting interactive, motivative, and critical learnings. The SBL besides consisted of the evaluation process in developing feed-up-back-forward throughout learning outcome assessment in the core nursing curriculums. The overall domain of learning outcomes was high (Mean= 3.09, S.D. = 0.20), with the ethical and moral domain at the highest level (Mean = 4.00, S.D. = 0.00). The average scores for knowledge and learning outcomes related to interpersonal skill and responsibility domains were both high (Mean= 3.01, S.D. = 0.43) and (Mean= 3.00, S.D. = 0.24). The results showed the effectiveness of the redesign SBL using standardized patient model tended to promote learning outcomes and management in mental health and psychiatric nursing courses. Integrating and developing the redesign SBL into nursing theories or practicums noticed as an appropriate and effective plan in developing nursing students’ competency and practice. Keywords: Learning and Evaluation Redesigned; Simulation Standardized patients Mental health nursing; Learning Outcomes * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing Lampang, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health 1Corresponding author: winai59@gmail.com Tel 0946651618 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
การพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใช้ผ้ปู ่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมอื นจรงิ ต่อผลลพั ธก์ าร เรยี นรู้ในรายวชิ าสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช วินยั รอบคอบ1*, ศรปี ระไพ อินทร์ชัยเทพ*, วรภรณ์ ทินวัง* (วันท่ีรบั บทความ : 6 กุมภาพันธ์ 2565 , วันแก้ไขบทความ: 21 เมษายน 2565, วันตอบรบั บทความ: 10 พฤษภาคม 2565) บทคัดยอ่ การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้สถานการณ์เสมือนจริง และ ศึกษาผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้สถานการณ์เสมือนจริง ในรายวิชาสุขภาพจิตและการ พยาบาลจิตเวช กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ช้ันปีท่ี 2 จานวน 160 คน เคร่ืองมือในการวิจัย มี 4 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) รูปแบบการเรียนรู้ท่ามกลางความปกติใหม่เพื่อ ส่งเสรมิ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรใู้ นรายวิชาการพยาบาลสขุ ภาพจิตและจติ เวช 3) เคร่อื งมอื ประเมนิ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ 4) เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยสถิตเิ ชิงพรรณนา คือ จานวน, ร้อยละ, คา่ เฉล่ยี , และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริงมีองค์ประกอบ ทส่ี าคญั คือ กระบวนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ครอบคลมุ การเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการปฏสิ มั พนั ธ์, การเสริมสรา้ งแรงจูงใจ ในการเรียนรู้ และการสะท้อนคิดอย่างใคร่ครวญ รวมท้ังกระบวนการประเมินผลการเรียนรู้ท่ีครอบคลุมการ ประเมินผลเพ่ือพัฒนาใช้กระบวนการ Feed-up-back-forward และการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามผลลัพธ์ การเรียนรู้ท่ีหลักสตู รกาหนด ผลลัพธ์การเรียนรู้ทุกด้านมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.09, S.D. = 0.20) โดยผลลัพธ์การ เรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (Mean = 4.00, S.D. = 0.00) รองลงมาคือผลลัพธ์การเรียนรู้ ด้านความรู้ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.01, S.D. = 0.43) และด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรบั ผดิ ชอบมีค่าเฉล่ยี อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.00, S.D. = 0.24) ตามลาดับ ข้อเสนอแนะ การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เป็นรูปแบบ ที่ส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชที่มีประสิทธิภาพ ควรส่งเสริมให้ใช้การ พัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริงในหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ และทุกรายวิชา หมวดวิชาชีพทางการพยาบาลเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาในการจัดการเรียนการสอน และสามารถปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลในสถานการณจ์ รงิ ต่อไป คาสาคัญ: การพฒั นาการเรยี นการสอน; ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมือนจรงิ ; ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ * อาจารยพ์ ยาบาล,วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ 1ผู้ประพันธ์บรรณกิจ winai59@gmail.com โทร 0946651618 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
230 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา การจดั การศึกษาวิชาชีพการพยาบาลในปัจจบุ ันสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมีทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทตี่ อ้ งสนบั สนุนให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคดิ วิเคราะห์อยา่ งมีวจิ ารณญาณ การคิดอย่างสรา้ งสรรค์ การแกป้ ญั หาการ ส่ือสาร และการทางานร่วมกัน รวมท้ังมีความรู ท่ีสอดคล้องตามมาตรฐานจริยธรรมของวิชาชีพพยาบาล (Resource & Guide, 2008) โดยการพยาบาลมีความจาเป็นท่ีจะต้องได้รับการพัฒนาให้ทันต่อวิกฤตการณ์ ทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา เพือ่ ให้สอดคล้องกบั ผู้รับบริการมีความแตกต่างหลากหลาย มีภาวะสุขภาพท่ซี ับซ้อน รุนแรง หรือโรคอุบัติใหม่ ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญท่ีต้องปรับการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ ดังน้ันจึงจาเป็นต้องจัด กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื ส่งเสรมิ ผู้เรยี นใหส้ ามารถตระหนักรู้และเขา้ ใจตนเอง สรา้ งการเรยี นรู้ และกรอบอ้างอิงใหม่ ท่ีถูกต้องและสร้างสรรค์ เพ่ือนาไปสู่การให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งแนวโน้มการจัดการศึกษา พยาบาลยังมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานร่วมกับทีมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Prajankett, 2014) แนวทางท่ีจะนาไปสู่การพัฒนานักศึกษาพยาบาลได้อย่างชัดเจนคือการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ การศึกษาพยาบาล เพราะทาให้นักศึกษาพยาบาล มีการประยุกต์ใช้ความรู้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์จริงได้ ฝึกฝนทักษะ และได้พัฒนาเจตคติต่อการให้การพยาบาลได้อย่างสมบูรณ์ นักศึกษาจะต้องบูรณาการความรู้ ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ไดแ้ ก้ปัญหาตามสถานการณ์จริง ซึ่งการศึกษาพยาบาลจาเป็นต้องมุง่ พฒั นาบัณฑิตพยาบาล ให้มีทักษะที่จาเป็นในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง โดยการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมุ่งให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ท่ีนาไปสู่การเรียนรู้ส่ิงใหม่ แนวคิดสาคัญที่ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานักศึกษาพยาบาลตามท่ี หลักสูตรกาหนดคือ Transformative Education ที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จาลอง (Simulation-based learning: SBL) ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ีมีความสาคัญที่ทาให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามที่หลักสูตร กาหนดของรายวิชาและช้ันปีที่เน้นการจัดประสบการณ์ช่วยส่งเสริมความสามารถในการประยุกต์เชื่อมโยงความรู้ ทางทฤษฎีไปสู่วิชาการฝึกภาคปฏบิ ัติการพยาบาลในคลินิค รวมทั้งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแก้ไข ปัญหาอย่างเป็นระบบ เข้าใจตนเอง และอยู่รว่ มกบั ผู้อน่ื ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ (Panich, 2016) การจดั การเรียนรูด้ ว้ ยสถานการณ์เสมอื นจรงิ (Simulation-based learning: SBL) เปน็ การจดั การเรียนรู้ ผา่ นสถานการณ์จาลอง เปน็ วิธีการเรียนรู้ที่กระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ทใ่ี กลเ้ คียงกับสถานการณ์จรงิ และทาให้ เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติพยาบาลในสถานการณ์ท่ีช่วยส่งเสริมสมรรถนะด้านความรู้ ทักษะพิสัย และจิตพิสัย ทใี่ หผ้ เู้ รียนมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรใู้ นภาพสภาพแวดล้อมท่จี ดั ข้นึ เสมือนอย่ใู นสถานการณจ์ ริง รวมทงั้ สร้าง โอกาสให้ผ้เู รยี นเกิดกระบวนการเรียนรู้พฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะหส์ ถานการณ์ และการตดั สินใจแกป้ ัญหาให้กับ ผู้ป่วยเสมือนจริงมากที่สุด ช่วยให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์การเรียนรู้ท่ีปลอดภัย ส่งเสริมให้ สรา้ งความคดิ แบบรวบยอดจากประสบการณท์ ่ีไดร้ ับและสามารถนาไปต่อยอดในการดูแลผู้ป่วยจริงในสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทอ่ี าจมีความแตกตา่ งและซับซ้อนทางคลนิ ิค รวมท้ังมีการสรปุ หลักการหรือแนวคดิ ทจ่ี ะนาไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ใหม่ที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ (learning outcome) (Norkaeo, 2015; Riley, 2016) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
231 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) นอกจากนี้การเรียนรู้ในสถานการณ์จริงท่ีหลากหลายและซับซ้อนจะท้าทายให้เกิดการสร้างความรู้ใหม่ และ เปลี่ยนแปลงมุมมองจากการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลนาไปสู่การพัฒนานักศึกษาพยาบาลให้มีทักษะจาเป็นในการ ประกอบวิชาชีพพยาบาลและทักษะจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 (Inchaithep, 2019) ซ่ึงการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ สถานการณ์เสมือนจริง (Simulation-based learning: SBL) รวมทั้งการใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในการศึกษาพยาบาล เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะด้านต่าง ๆ ให้มีความชานาญก่อนท่ีจะขึ้นปฏิบัติจริงบนหอผู้ป่วย ช่วยกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และส่งเสริมทักษะทางการพยาบาลจากการที่ได้รับการฝึกกับผู้ป่วยมาตรฐาน (standardize patient) ซ่ึงเป็นผู้ป่วยจาลองท่ีได้รับการฝึกฝนให้เป็นผู้ป่วยตามบทบาทที่ได้รับซึ่งการท่ีได้มีการปฏิสัมพันธ์จะทา ให้เกดิ ทักษะต่าง ๆ ทห่ี ลากหลาย (Suwankiri et al., 2016) การจดั การเรียนรู้ทใี่ ช้สถานการณ์เสมือนจรงิ จงึ เป็น กระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยให้ผู้เรียนได้แสดงบทบาทตาม สถานการณ์ท่ีกาหนดขึ้น ทาให้ผู้เรียนได้ฝึกบทบาทการให้การพยาบาล (Klipfel et al., 2014) ฝึกการปฏิบัติ ทกั ษะการพยาบาล การมีปฏิสัมพันธ์และการส่อื สารในสถานการณ์ที่มสี ภาพคล้ายความเปน็ จรงิ (Foronda et al., 2014) รวมท้ังผู้เรียนยังได้รับประสบการณ์ในการดูแลผู้ปว่ ยตามสถานการณ์เสมือนจริงแบบองค์รวม และส่งเสรมิ ให้เรียนร้กู ารแกไ้ ขปญั หา และตัดสนิ ใจเชิงคลนิ ิกอย่างเป็นระบบในการเช่ือมโยงองค์ความร้สู ่ผู ลลพั ธ์การเรียนรู้ของ ผู้เรียนที่พัฒนาความม่ันใจในในการฝึกภาคปฏิบัติ (Smith & Roehrs, 2009) มีความสอดคล้องจากการศึกษา ผลของการใช้การจัดการเรียนรู้ที่ใช้สถานการณ์เสมือนจริงพบว่า สามารถสร้างความม่ันใจให้แก่นักศึกษาได้ (Thanaroj, 2017) และสามารถพัฒนาทักษะปฏิบตั ิการพยาบาลและทักษะที่ไม่ใช่ปฏบิ ัติการพยาบาลโดยตรงของ ผู้เรียนได้ภายใต้สิ่งแวดล้อมท่ีสง่ เสริมการเรียนรู้อย่างปลอดภัย (Norkaeo et al., 2015) รวมท้ังจากผลการศึกษา ที่สาคัญจากการใช้ผู้ป่วยจาลองในสถานการณ์เสมือนจริงสามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเป้าหมาย ทีก่ าหนดได้ (Maraphen et al., 2019) สถานการณ์วิกฤติในปัจจุบันที่สาคัญคือการแพร่ระบาดของเชื้อโรคโควิด-19 ที่เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ ทาใหร้ ูปแบบการจัดการเรียนการสอนในวิชาชีพการพยาบาลต้องเปล่ียนไปตามกระแสของการเปลยี่ นแปลงวิถีการ ดารงชีวิตที่เรียกวา “ชีวิตวิถีใหม” (New normal) ดังนั้นจึงมีการปรับเปล่ียนวิธีจัดการเรียนการสอนเพื่อใหสอด คลองกับสถานการณที่เปลย่ี นแปลงไปและส่งเสรมิ ใหผูเรียนบรรลผุ ลลัพธ์การเรียนรู (Learning outcome) ตามที่ หลักสูตรกาหนด (Siriwong, 2020) ผู้วิจัยในฐานะอาจารย์สาขาการสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชได้เห็น ความสาคัญในการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาพยาบาลในการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ จึงได้มีการพัฒนารูปแบบ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง ( Simulation-based learning: SBL) เพ่ือส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ซ่ึงเป็นแนวทางหน่ึงที่จะพัฒนา ศกั ยภาพของนกั ศึกษาพยาบาลในการเรียนรู้ทีใ่ กล้เคยี งกับสถานการณจ์ รงิ ทาให้เรยี นรทู้ ักษะการปฏิบัติพยาบาลใน สถานการณ์ท่ีช่วยส่งเสริมการเรียนรู้และมีการให้ข้อมูลย้อนกลับ รวมทั้งให้นักศึกษาได้อภิปรายประเด็นท่ีพบจาก ประสบการณ์ในการเรยี นรู้ (Rattanawimol et al., 2015) โดยการเรยี นรู้จากการฝึกปฏิบตั ิในสถานการณ์เสมือน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
232 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) จริง ชว่ ยให้ผู้เรยี นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์การเรียนรู้ท่ีปลอดภัย ทาให้พฒั นาผเู้ รียนในทักษะด้านการ คิดวิเคราะห์ โดยผา่ นกระบวนการใครค่ รวญเกี่ยวกับตนเอง การสนทนาเชงิ วิพากษ์ และการสะท้อนคิดอยา่ งลึกซ้ึง (Karen, 2017) เพื่อการเปลี่ยนแปลงมุมมองและความคิดใหม่ ๆ สามารถเป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลงในการดูแล สุขภาพ และมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง นาไปสู่การพัฒนานักศึกษาพยาบาลให้มีทักษะจาเป็นในการ ประกอบวิชาชีพพยาบาลและทักษะจาเป็นในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่การเป็น บัณฑิตทม่ี ีคณุ ภาพตรงตามความตอ้ งการของสงั คมที่เปล่ียนแปลงต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เพื่อส่งเสริม ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ในรายวชิ าสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 2. เพื่อศึกษาผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดจากการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์ เสมอื นจรงิ เพ่ือสง่ เสรมิ ผลลัพธ์การเรยี นรูใ้ นรายวิชาสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ขอบเขตงานวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ีมีขอบเขต คือ 1) ด้านเนื้อหาเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานใน สถานการณเ์ สมอื นจรงิ เพ่อื สง่ เสรมิ ผลลพั ธก์ ารเรียนร้รู ายวิชาสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช ในหัวขอ้ การสรา้ ง สัมพันธภาพเพ่อื การบาบดั ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 2) ด้าน ประชากร ได้แก่ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ช้ันปีที่ 2 จานวน 160 คน ท่ีกาลังศึกษาในรายวิชาสุขภาพจิต และการพยาบาลจิตเวช หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) 3) ด้านพื้นท่ี คือ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง 4) ด้านระยะเวลาที่ศึกษา คือ ปีการศกึ ษา 2563 ตั้งแต่เดือนมิถนุ ายน 2563 ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2564 กรอบแนวคิดการวิจยั ทฤษฎที ใ่ี ชใ้ นการวิจัยคร้งั นี้ผวู้ ิจัยไดน้ าแนวคิดการกระบวนวิจยั แบบผสมผสาน (Mixed – Methods) โดย อาศัย ADDIE Model ซึ่งประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ตามหลักกระบวนการออกแบบและส่ือสารการศึกษา หรือ ADDIE Instructional Design Model ได้แก่ การวิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนาไปใช้ (Implementation) และการประเมนิ ผล (Evaluation) (McGrif & Steven, 2000) และแนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบสถานการณ์เสมือนจริง (Simulation Based Learning: SBL) โดยการ ใช้ผู้ป่วยมาตรฐาน ซ่ึงประกอบด้วย 3 ระยะคือ 1) ขั้นนาหรือขั้นการแนะนา (Pre-Briefing) 2) ขั้นปฏิบัติใน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
233 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) สถานการณ์เสมือนจริง(Simulation) และ 3) ข้ันอภิปรายหรือสรุปผลการเรียนรู้ (Debriefing) (Kumkong & Chaikongkiat, 2017) ดงั แสดงในภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั แนวคดิ การกระบวนวจิ ัยและพัฒนาโดยใช้ ADDIE Model 1) การวิเคราะห์ (Analysis) 2) การออกแบบ (Design) 3) การพัฒนา (Development) 4) การนาไปใช้ (Implementation) และ 5) การประเมินผล (Evaluation) แนวคดิ การจดั การ รปู แบบการเรียนการสอนโดยใชผ้ ปู้ ว่ ยมาตรฐานใน ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ใน เรียนการสอนแบบ สถานการณ์เสมอื นจรงิ รายวชิ าสขุ ภาพจิตและการพยาบาล รายวิชาการพยาบาล สถานการณ์เสมือน จติ เวช สขุ ภาพจิตและจติ เวช จรงิ (Simulation 1. Pre-Briefing LO 1 (LO1.3) Based Learning: 2. Simulation LO 2 (LO 2.2, 2.3) SBL) โดยการใช้ผ้ปู ่วย 3. Debriefing LO 3 (LO 3.2, 3.3, 3.4) มาตรฐาน รปู แบบการประเมนิ ผลการเรยี นการสอนโดยใช้ผปู้ ่วย LO 4 (LO 4.1) มาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจรงิ LO 5 (LO 5.2, 5.3) 1 Formative assessment 1.1 FEED-UP 1.2 FEEDBACK 1.3 -FEED-FORWARD 2. Summative assessment ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวิจัย นิยามศพั ท์ รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง หมายถึง การจัดการเรียน การสอนรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ในหัวข้อ การสร้างสัมพันธภาพเพ่ือการบาบัด ประกอบด้วย การเรียนการสอนที่ใช้ผู้ป่วยมาตรฐานที่แสดงพฤติกรรมตามอาการทางจิตท่ีผู้สอนออกแบบไว้ เป็นส่ือกระตุ้นการ เรียนรู้ ประกอบด้วยการเรียนการสอน 3 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันตอนท่ี 1 ข้ันนาหรือขั้นการแนะนา (Pre-Briefing) ข้ันตอนท่ี 2 ขนั้ ปฏบิ ตั ิในสถานการณ์เสมอื นจริง (Simulation) และขัน้ ตอนที่ 3 ข้นั อภปิ รายหรอื สรุปผลการเรยี นรู้ (Debriefing) ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง หมายถึง บุคคลท่ีทาหน้าท่ีหรือแสดงตัวว่าเป็นผู้ป่วยจิตเวช ตามท่กี าหนดไว้ใน Training material worksheet เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาได้ฝึกทักษะการสนทนาเพอื่ การบาบัด ผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวชิ าการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช หมายถึง คะแนนที่ได้จากการประเมิน ความสามารถของนักศึกษาตามผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชกาหนดไว้ 5 ด้าน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
234 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ได้แก่ ด้านท่ี 1 คุณธรรมจริยธรรม, ด้านท่ี 2 ความรู้, ด้านที่ 3 ทักษะทางปัญญา, ด้านท่ี 4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านท่ี 5 ทักษะการวิเคราะห์ทางตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ประเมินโดยใช้แบบประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ ประกอบด้วย ประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียน (formative assessment), ประเมินเพ่ือตัดสินผลการเรียนรู้ (summative evaluation) และ ประเมินประสิทธิภาพการ จดั การเรียนรู้ วิธีดาเนินการวจิ ยั ระยะที่ 1 การวเิ คราะหก์ ารจัดการเรียนการสอน (Analysis) แหล่งข้อมูล ได้แก่ ผลการจัดการเรียนการสอนในปกี ารศกึ ษา 2562 หวั ข้อการสรา้ งสัมพนั ธภาพเพื่อการ บาบัด และอาจารยผ์ ู้สอนวิชาสุขภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช จานวน 6 คน เครือ่ งมอื วิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลผลการจัดการเรยี นการสอน ครอบคลุมผลลัพธ์การเรยี นรู้ LO1.3, LO 2.2, 2.3, LO 3.2, 3.3, 3.4,LO 4.1, LO 5.2, 5.3 และประเดน็ การสนทนากลุ่มประกอบด้วย แนวทางการ จดั การเรยี นรู้เพื่อพัฒนาผลลพั ธ์การเรียนรโู้ ดยใชผ้ ้ปู ่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมอื นจริง ปญั หาอปุ สรรคของการ จดั การเรียนการสอน และแนวทางการพฒั นาในปีการศกึ ษา 2562 วิธกี ารวจิ ยั ระยะที่ 1 1.ศึกษาเน้ือหา วเิ คราะห์ มคอ. 3 ในรายวชิ าสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช และแนวทางการจดั การ เรยี นรโู้ ดยใช้ผปู้ ว่ ยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมอื นจรงิ 2.จดั สนทนากล่มุ อาจารยผ์ ู้สอนวิชาสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช จานวน 6 คน เพ่ือรว่ มกันวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ หัวข้อการสนทนาเพื่อการบาบัด การวิเคราะหข์ อ้ มูล วเิ คราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพโดยวิธีการวิเคราะหเ์ นอ้ื หา ( Content analysis) ระยะท่ี 2 การพัฒนาเพ่ือพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนโดยใช้ผู้ปว่ ยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือน จริง (Design & Development) ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1.อาจารย์ผสู้ อนวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช จานวน 6 คน 2.คณะกรรมการวิชาการ และอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร จานวน 6 คน เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวิจัย รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เพ่ือส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ ในรายวิชาสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 2 สว่ น ได้แก่ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
235 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 1. แนวทางการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เพื่อส่งเสริมผลลัพธ์การ เรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนการสอน 3 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ข้ันนาหรือขั้นการแนะนา (Pre-Briefing) ขั้นตอนที่ 2 ข้ันปฏิบัติในสถานการณ์เสมือนจริง (Simulation) และข้นั ตอนที่ 3 ขนั้ อภปิ รายหรือสรุปผลการเรยี นรู้ (Debriefing) 2. แนวทางการประเมินผลการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เพ่ือส่งเสริม ผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ประกอบด้วยการะประเมินระหว่างเรียน (Formative assessment) และการประเมนิ ผลรวบยอด (Summative assessment) วิธกี ารวจิ ัย ระยะท่ี 2 1.ข้นั การออกแบบ (Design) 1.1 นาข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ในขั้นตอนที่ 1 มาร่างแนวทางจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วย มาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง ออกแบบส่ือการสอน เนื้อหาการเรียนรู้ ใบกิจกรรมการเรียนรู้ และขั้นตอน การจดั การเรียนการสอน 1.2 กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล และเกณฑ์การประเมินผล ที่สอดคล้องกับการเรยี นการสอนโดยใช้ผูป้ ว่ ยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจรงิ และ มคอ.3 2. ขั้นการพฒั นา (Development) 2.1 นารา่ งแนวทางจัดการเรียนการสอนโดยใชผ้ ปู้ ว่ ยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมือนจรงิ และแนวทาง การวัดและประเมินผล เข้าประชุมเพ่ือร่วมกันวิพากษ์ในที่ประชุมอาจารย์อาจารย์ผู้สอนวิชาสุขภาพจิตและการ พยาบาลจติ เวช จานวน 6 คน และปรบั ปรุงแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ 2.2 นารา่ งแนวทางจดั การเรยี นการสอนโดยใชผ้ ู้ปว่ ยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมอื นจริง และแนวทาง การวดั และประเมนิ ผล ทผี่ า่ นการปรบั ปรุงแกไ้ ข เสนอตอ่ คณะกรรมการวิชาการ และอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร จานวน 6 ท่าน พิจารณาความเหมาะสมของแนวทางจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลโดยใช้ผู้ป่วย มาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจรงิ และปรบั ปรุงแกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะ 2.3 นาแนวทางจดั การเรยี นการสอนโดยใชผ้ ปู้ ว่ ยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจรงิ และแนวทางการ วดั และประเมนิ ผล ทผี่ ่านการปรับปรงุ แกไ้ ขครั้งท่ี 2 มาจดั ทาแผนการสอน ใบกิจกรรม และเตรยี มผู้ป่วยมาตรฐาน ใหเ้ ป็นไปตาม Training material worksheet ทกี่ าหนด การวิเคราะห์ขอ้ มูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวธิ กี ารวเิ คราะห์เนอ้ื หา (Content analysis) ระยะที่ 3 การศึกษาผลลัพธ์การเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง (Implementation & Evaluation) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
236 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างเปน็ นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง สงั กัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ ชน้ั ปที ี่ 2 จานวน 160 คน ทีก่ าลังศึกษาในรายวชิ าสขุ ภาพจิต และการพยาบาลจิตเวช หลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในปีการศกึ ษา 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวิจัยครงั้ น้ี ประกอบดว้ ย 2 ชดุ ได้แก่ ชุดที่ 1 แนวทางการเรยี นการสอนโดยใช้ผู้ปว่ ยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมือนจรงิ เพื่อส่งเสริมผลลพั ธ์การ เรยี นรูใ้ นรายวชิ าสุขภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช ชุดที่ 2 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจากการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์ เสมือนจริง เพ่ือส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ประกอบด้วย องคป์ ระกอบ 4 สว่ นได้แก่ 1. ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ประกอบด้วย อายุ และ เพศ 2. เคร่อื งมอื ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 2.1 เครอื่ งมือประเมินเพือ่ พฒั นาผู้เรยี น (formative assessment) 1) แบบทดสอบความรรู้ ายบทผา่ น google classroom, kahoot (ประเมิน LO2) 2) แบบประเมินสะท้อนคิด (ประเมนิ LO 1 และ LO 3) 3) แบบประเมินกรณีศกึ ษา (Analytic rubric score) (ประเมนิ LO2, LO3, LO5) 4) แบบประเมนิ การทางานเป็นทีม (ประเมิน LO4) 2.2 เครือ่ งมือประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรู้ (summative evaluation) 1) แบบทดสอบความรู้รวบยอดรายวชิ า (ประเมนิ LO2) 2) แบบประเมินกรณศี ึกษา (Analytic rubric score) (ประเมิน LO2, LO3) 3. เคร่ืองมือประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย แบบประเมินประสิทธิภาพการสอน รายวิชา และแบบประเมินประสทิ ธิภาพการสอนของผสู้ อนรายบคุ คล การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื แนวทางการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เพ่ือส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ และเคร่ืองมือประเมินผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช คณะผู้วิจัยนารูปแบบการ เรียนรู้ส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญจานวน 5 ท่าน เพ่ือตรวจสอบความตรงของเน้ือหา (content validity) ภาษาท่ีใช้ ความสมเหตุสมผลเชิงทฤษฎี ความเป็นไปได้ และความสอดคลอ้ งของรปู แบบ และนามาหาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) ไดค้ า่ 0.8-1.0 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
237 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) วิธีการวิจยั ระยะที่ 3 1. ขนั้ การนาไปใช้ (Implementation) 1.1 ปฐมนิเทศนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง โดยช้ีแจงแนะนาแผนการเรียนรู้ การใช้เอกสารคู่มือ ใบกิจกรรม และข้ันตอนการเรียนการสอน และประชุมเตรียมผู้สอนเพื่อให้ผู้สอนแต่ละคนจัดการเรียนการสอนใน แนวทางเดียวกนั และเปน็ ไปตามแผนการเรยี นการสอน และการวดั และประเมนิ ผลกาหนด 1.2 นาแนวทางจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง ไปจัดการ เรียนการสอนแก่นักศึกษาในหัวข้อการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด จานวน 6 ช่ัวโมง โดยใช้กิจกรรมการ บรรยาย อภิปรายจานวน 3 ชว่ั โมง และการเรียนการสอนในสถานการณ์เสมอื นจริง จานวน 3 ชัว่ โมง 2. ขน้ั การประเมนิ ผล (Evaluation) 2.1 ระหว่างการจัดการเรยี นการสอน การประเมินคณุ ภาพของแนวทางจัดการเรยี นการสอน โดย ใชผ้ ู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมือนจรงิ โดยใชเ้ ครื่องมือประเมินผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ จานวน 4 ชุด เพือ่ ประเมิน เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น (formative assessment) 2.2 ภายหลังการจัดการเรียนการสอน การประเมินคุณภาพของแนวทางจัดการเรียนการสอน โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง โดยใช้เคร่ืองมือประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ จานวน 2 ชุด เพ่ือ ตดั สนิ ผลการเรยี นรู้ (summative evaluation) 2.3. หลังเสร็จส้ินการเรียนการสอนประเมินประสิทธิภาพการจดั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ยแบบ ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการสอนรายวชิ า และแบบประเมินประสิทธภิ าพการสอนของผสู้ อนรายบุคคล การวิเคราะหข์ อ้ มูล ผ้วู จิ ัยรวบรวมข้อมลู นามาตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน และนาข้อมูลมาประมวลผลโดยใชโ้ ปรแกรม คอมพวิ เตอร์สาเรจ็ รูป มีรายละเอียด ดังน้ี 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไป วเิ คราะห์ด้วยสถติ เิ ชงิ พรรณนา นาเสนอดว้ ยจานวน, รอ้ ยละ, คะแนนเฉล่ีย และสว่ น เบ่ียงเบนมาตรฐาน 2. การวิเคราะห์มาตรฐานผลการเรียนรทู้ เี่ กดิ จากการเรียนร้ใู นรายวชิ าสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช วิเคราะห์ดว้ ยสถติ เิ ชงิ พรรณนา คอื จานวน, ร้อยละ, การหาค่าเฉล่ยี (Mean) และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) การพิทกั ษส์ ิทธิ์ของกลุ่มตวั อย่างและจริยธรรมการวิจยั การวิจัยคร้ังนี้ได้ผ่านการรับรองด้านจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ได้รับหมายเลขรับรอง E2562-008 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2562 และการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ให้ข้อมูล โดยผู้วิจัยได้ แนะนาตัวและชแี้ จงวตั ถุประสงค์การวิจยั ประโยชน์ของการวิจัย วธิ ีเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และสิทธใิ นการตอบรับหรือ ปฏิเสธการเข้าร่วมวจิ ัย สิทธิในการยุติการเข้าร่วมวิจัยโดยไม่มีผลกระทบใด ๆ ไม่มีการระบุช่ือ นามสกุลของกลุ่ม ตัวอย่าง เมื่อกลุ่มตัวอย่างยินดีให้ความร่วมมือในการทาวิจัยให้ลง นามในเอกสารแสดงความยินยอมเข้าร่วม วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
238 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) โครงการวิจัยจงึ จะเริ่มเก็บรวบรวมข้อมลู และภายหลงั เสร็จส้นิ ท้ังแบบลงช่ือยนิ ยอมและแบบสอบถามจะได้รับการ เข้ารหสั เพ่ือรกั ษาความลบั ของกลุ่มตวั อย่างและนามาใช้ประโยชนใ์ นทางวิชาการเทา่ นัน้ การวิจัยน้ผี า่ นการรับรอง จาก คณะกรรมการจริยธรรมการวิจยั ในมนุษย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ผลการวจิ ัย ผลการศึกษาการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง เพ่ือส่งเสริม ผลลพั ธ์การเรยี นรูใ้ นรายวิชาสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช นาเสนอตามวัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั มีดังน้ี 1. ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง ในรายวชิ าสขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช แบง่ เป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์การจัดการเรียนการสอน (Analysis) ในปีการศึกษา 2562 หัวข้อการสร้าง สัมพันธภาพเพื่อการบาบัด ใช้วิธีการเรียนการสอนแบบบรรยาย ประกอบการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึก ทกั ษะการสนทนาเพื่อการบาบดั ซงึ่ เป็นกระบวนการท่ีเน้นเนื้อหาวิชามากกว่าการจัดการเรยี นรูจ้ ากการปฏบิ ัติจริง และเน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ผลการประเมินจากนักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนพบว่านักศึกษาทุกคนผ่านการ ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีกาหนด โดยนักศึกษามีความรู้ทางทฤษฎี แต่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎี ไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้ และไม่สามารถใช้ทักษะการสนทนาเพ่ือการบาบัดได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด เมื่อขึ้นฝึกภาคปฏิบัติและต้องสนทนากับผู้ป่วยจริง นักศึกษามีความวิตกกังวล ใช้เทคนิคการสนทนาไม่เหมาะสม และส่งผลต่อการใชก้ ระบวนการพยาบาลของนกั ศึกษา ในปีการศึกษา 2564 ควรใชแ้ นวทางการจัดการเรยี นรู้โดย ใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง มาเพิ่มเติมเพื่อให้นักศึกษาไปฝึกทักษะมากข้ึน ในสถานการณ์ ทีห่ ลากหลาย ระยะที่ 2 การพัฒนาเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์ เสมอื นจรงิ (Design & Development) รูปแบบพฒั นาข้นึ มาจากการวิเคราะห์การจัดการเรียนการสอน เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 ทีมผู้วิจัยจึงพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสถานการณ์เสมือนจริง (Simulation Based Learning: SBL) โดยการใช้ผู้ป่วยมาตรฐาน (Standardized Patients) มาเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาใน รายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ในหน่วยที่ 2 เร่ือง การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด จานวน 6 ชั่วโมง เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของรายวิชาและวัตถุประสงค์ของหน่วยการเรียน โดยผลของการพัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริงของนักศึกษาพยาบาล รายวิชาสุขภาพจิตและ การพยาบาลจิตเวช มีองค์ประกอบดังแสดงในตารางท่ี 1-2 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
239 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 1 ตารางการวเิ คราะหแ์ นวคิดทฤษฎีสกู่ ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน แนวคดิ ทฤษฎี กิจกรรมการเรียนการสอน 1. Interactive Learning (การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการ 1. การสือ่ สารระหว่างผู้สอนกับผู้เรยี นผา่ น Google ปฏิสมั พนั ธ์) classroom แนวคิด เป็นการเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์ เป็นการเน้น 3. การสอ่ื สารในทมี ผ้เู รยี นเพ่ือมอบหมายหน้าที่ สื่อสื่อสารแบบสองทางทั้งก่อนการเรียน ระหว่างการเรียน อภิปรายความรู้ และหาข้อสรุปรว่ มกนั และหลังการเรียนใช้ทั้งทบทวนการเรียนรู้ล่วงหน้า 4. การฝึกทกั ษะการสนทนาเพ่ือการบาบดั ระหว่าง เสริมสร้างสภาพแวดล้อมทางการเรียน สนับสนุนผู้เรียนให้ ผเู้ รยี นและผปู้ ว่ ยมาตรฐาน มีการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวา ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ และ 5. การอภิปรายรว่ มกันระหว่างผู้สอนและผเู้ รียน แสดงความคิดในระหวา่ งทากิจกรรม ซึ่งจะเป็นแรงจูงใจใน 6. การสรปุ ความรูแ้ ละการทบทวนหลงั การเรียนร้ผู ่าน การเรียนมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับ google classroom ผู้เรียน ผ้เู รียนกบั ผปู้ ่วยมาตรฐาน 2. Motivative Learning (การส่งเสริมแรงจูงใจในการ 1. การเปิดโอกาสให้ผ้เู รยี นรว่ มกันวางแผนการเรียนรู้ เรียนรู้) และมอบหมายหน้าทใ่ี นกลมุ่ แนวคิด การจูงใจ เป็นการสร้างแรงผลักดัน 2. การนาเสนอความสาคญั และความจาเป็นในการ แรงกระตุ้น โดยสร้างสิ่งกระตุ้นบุคคลจากสิ่งเร้าเรียกว่า เรยี นร้หู วั ขอ้ การส่ือสารเพื่อการบาบัด สิ่งจูงใจ ก่อให้เกิดความต้องการนาไปสู่แรงขับภายใน 3. การสะท้อนผลการเรียนรู้ เสริมแรง ชืน่ ชม ท่ีทาให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมในทิศทางท่ีตรงตาม ท้ังดา้ นพฤติกรรมการเรยี นรูแ้ ละเน้ือหาการเรียนรู้ เป้าหมายของการเรียนรู้ บุคคลก็จะเกิดความพยายาม 4. การจัดบรรยากาศการเรยี นรทู้ ผ่ี อ่ นคลาย เพื่อให้ สืบเสาะแสวงหาส่ิงที่ต้องการ แนวทางการสร้างส่ิงเร้า ร้สู กึ ปลอดภยั ในการแสดงความคดิ เห็น แรงจูงใจประกอบด้วย การกระตุ้นให้เห็นความสาคัญของ 5. การนาผู้ป่วยมาตรฐานมาเป้นส่วนหนง่ึ ของการเรยี น การเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ การรับรู้ การสอนเพ่อื กระตุ้นความสนใจในการเรียนรแู้ ละ ความสาเร็จ การได้รับการยอมรับนับถอื และการช่นื ชมยินดี เช่ือมโยงสูค่ วามจาเปน็ ของการเรียนรู้สูส่ ถานการณจ์ รงิ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
240 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 1 ตารางการวิเคราะห์แนวคดิ ทฤษฎสี ู่การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน (ต่อ) แนวคิดทฤษฎี กิจกรรมการเรยี นการสอน 3. Critical reflective (การสะทอ้ นคดิ อย่าง 1. การจดั บรรยากาศการเรียนรู้ใหผ้ อ่ นคลาย ใคร่ครวญ) ใหผ้ ูเ้ รียนมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ 2. การจัดการเรียนรใู้ หใ้ กลเ้ คียงสถานการณ์จริงคือ แนวคิด การสะท้อนคิดอย่างใคร่ครวญ เป็นการ จัดผ้ปู ว่ ยมาตรฐาน ให้ผเู้ รียนได้ทาความเขา้ ใจ ไตร่ตรองถึงเหตุผล และความรู้สึกจากมุมมองของ สถานการณ์จริง ตนเองและผู้อ่ืน ช่วยให้ผู้เรียนได้ทาความเข้าใจ 3. การจัดใหผ้ ูเ้ รียนได้แลกเปล่ียนมมุ มอง ความคิด แยกแยะและอธิบายเกี่ยวกับสถานการณ์ที่ได้เรียนรู้ และประสบการณ์ กระตุ้นให้ประเมินตนเอง ให้ นาไปสู่ความสามารถในการปรับมุมมองของตนเอง เหตผุ ลประกอบการประเมนิ และสะท้อนความรู้สึก เกิดการวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณในกิจกรรมการ ในการเรยี นรู้ พยาบาล รู้ตระหนักในความหมายการกระทา ของตนเองและคณุ ค่าในประสบการณ์ท่ีเรยี นรมู้ ากข้นึ จากการวิเคราะห์กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวข้อง ในตารางที่ 1 คณะผู้วิจัยได้พัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบสถานการณ์เสมือนจริง (Simulation Based Learning: SBL) โดยการใช้ ผู้ป่วยมาตรฐาน (Standardized Patients)เพื่อส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาล จติ เวช ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ เนอ้ื หาการเรียน การสร้างสัมพนั ธภาพเพื่อการบาบดั เวลาทีใ่ ช้ 6 ชั่วโมง จุดประสงค์การเรยี นรทู้ ว่ั ไป 1. เพ่ือให้ผเู้ รยี นไดแ้ สดงพฤติกรรมการสนทนาเพ่ือการบาบัดทเี่ คารพในคุณคา่ และศักดิ์ศรคี วามเปน็ มนษุ ย์ 2. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนมีความร้แู ละความเข้าใจเก่ยี วกับการสนทนาเพื่อการบาบดั และปัจจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 3. เพื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถคดิ วเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบ โดยใช้องค์ความรเู้ กีย่ วกับการสือ่ สารเพอ่ื การบาบดั และแนวคดิ ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องมาวิเคราะห์ร่วมกนั เพื่อให้การสนทนาเพือ่ การบาบัดแกผ่ รู้ ับบรกิ าร 4. เพอ่ื สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นและเรยี นรเู้ กย่ี วกับหลักการการสือ่ สาร และใชเ้ ทคนิคการสนทนาเพ่ือการบาบัดในการส่อื สารกับผู้ปว่ ยมาตรฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. เพ่อื ให้ผเู้ รียนสามารถทางานเปน็ ทีมในบทบาทผนู้ าและสมาชิกในทีมตามสถานการณ์ที่กาหนดให้ฝึก ทกั ษะการเรียนรู้กบั ผูป้ ว่ ยมาตรฐานได้ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
241 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) กจิ กรรมการเรียนการสอน ขนั้ เตรียมสอน (Pre-Brief) 1. ผสู้ อนมอบหมายการศึกษาข้อมลู ผปู้ ่วยมาตรฐานด้วยตนเองล่วงหน้าผ่าน google classroom ทม่ี ีการ สื่อสารกนั ระหว่างผูส้ อนกบั ผเู้ รยี น 2. ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ เพอ่ื ให้นกั ศึกษามีความพร้อมและทาความเข้าใจขอบเขตการเรียนรู้ และ กาหนดวัตถุประสงค์การเรยี นรู้เพ่มิ เติม เชื่อมโยงความรู้เดมิ และความรใู้ หม่เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมคี วามหมาย 3. ปฐมนิเทศผู้ป่วยมาตรฐาน (Standardized Patients) และทบทวนการแสดงพฤติกรรมให้เป็นไปตาม ที่กาหนดไวใ้ น Training material worksheet ขน้ั สอน (Simulation Activity) ดาเนินสถานการณจ์ าลองตามท่ีออกแบบไว้ ดงั น้ี 1.นักศึกษาในแต่ละกลุ่ม ร่วมกันกาหนดบทบาทหน้าท่ีผู้ที่จะฝึกสนทนากับผู้ป่วย และผู้ส่งเกตการณ์ท่ีทกึ การสนทนาของตัวแทน 2. ผู้เรียนฝึกทักษะการสนทนากับผู้ป่วยมาตรฐาน โดยตัวแทนผู้สนทนามีเวลาในการสนทนากับผู้ป่วยไม่ เกนิ 15 นาที ตอ่ คน 3. หลังจากสนทนาเสร็จสน้ิ นักศึกษาร่วมกันอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ในการวิเคราะหส์ ถานการณ์ และเทคนิคการสนทนา เปน็ เวลา 15 นาที และส่งผลการศกึ ษารายกลมุ่ แกอ่ าจารย์ประจากลุ่ม 4. เปล่ยี นกลุ่มไปเรียนรู้กับผู้ปว่ ยมาตรฐาน จนครบทัง้ 3 ระยะของการสนทนา ตามเวลาท่กี าหนดเพ่ือให้ นักศกึ ษาได้ฝึกทกั ษะกับผ้ปู ่วยมาตรฐานครบ 3 คน ตามขน้ั ตอนการเรยี นรู้ที่กาหนดในขอ้ 1-4 ทั้งนี้ในกระบวนการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถแสดงทักษะการสนทนาเพ่ือการบาบัดอย่างอิสระตาม การตดั สนิ ใจแก้ไขปัญหาของผปู้ ว่ ยตามทสี่ ถานการณก์ าหนด โดยผสู้ อนเปน็ ผู้สังเกตการณ์ไม่รบกวนหรือขดั จังหวะ การสนทนาของผูเ้ รยี น ขั้นสรุปบทเรียน (Debrief) 1. ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนและผู้ป่วยมาตรฐาน ได้เปิดเผยความรู้สึกที่เกิดข้ึนระหว่างการสนทนาต่อกัน โดยมุง่ เนน้ การฟังวา่ นกั ศกึ ษารสู้ ึกอย่างไรและจาแนกแยกแยะสิ่งท่ีเกดิ ขนึ้ ในสถานการณ์ เปิดโอกาสและกระตุ้นให้ นักศกึ ษาทส่ี งั เกตการปฏิบตั กิ ารพยาบาลของเพื่อนได้สะท้อนความรู้สกึ และประสบการณท์ ง้ั ด้านบวกและดา้ นลบ 2. ผู้เรียนร่วมอภิปรายผลการสนทนากับผู้ป่วยมาตรฐานในด้านหลักการการสนทนาเพื่อการบาบัด และ เทคนิคของการสนทนาเพ่ือการบาบัด โดยผู้สอนต้ังคาถามนากระตุ้นให้ผู้เรียนได้อภิปรายร่วมกันเพ่ือสะท้อนการ ปฏิบัติและเหตุผลของการปฏบิ ตั ิของนกั ศึกษา ชว่ ยให้นักศกึ ษาขยายขอบเขตความคิดใหก้ ว้างขน้ึ 3. ผู้สอนเสริมแรงผู้เรียน เพ่ิมเติมในประเด็นท่ีผู้เรียนมีความเข้าใจคลาดเคล่ือน และวิเคราะห์ไม่ ครอบคลุม วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
242 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 4. ผสู้ อนกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนสะท้อนคดิ ผลการเรยี นรู้ ประกอบด้วยการประเมนิ ตนเอง ประโยชน์ของการ เรียนรู้ สะทอ้ นสิ่งท่ีได้เรยี นรู้ วิธีการเรียนรู้ ความรู้สึกทเี่ กิดข้ึน และแนวทางการพัฒนาตนเอง ส่อื การเรียนรู้ 1. ผปู้ ่วยมาตรฐานจานวน 3 คน แบ่งพฤตกิ รรมเปน็ 3 ระยะของข้นั ตอนการสนทนาเพ่ือการบาบดั 2. ใบกจิ กรรมการเรียนรู้ ตารางท่ี 2 รูปแบบการประเมินการเรียนรู้ท่ามกลางความปกติใหม่ เพ่ือส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชา สขุ ภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช แนวคดิ การประเมนิ การเรียนรู้ กระบวนการประเมินผล 1. Formative assessment 1. FEED-UP การให้ข้อมูลผู้เรียนเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้สร้าง มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือเสรมิ สร้างความเข้าใจ แรงจงู ใจ ใหข้ อ้ มูลทท่ี าใหเ้ หน็ คณุ ค่าของสง่ิ ที่เรยี น โดยการชแี้ จง และความสามารถของนักเรียนระหวา่ ง 1.1 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย ของการเรียนโดยใช้ผู้ป่วย การเรยี นรู้เพื่อนาผลการประเมินไปใช้ มาตรฐาน พฒั นาผูเ้ รยี นและพัฒนาการจัดการเรยี น 1.2 วิธีการ/กระบวนการในจัดการเรียนการสอนโดยชี้แจง การสอน จงึ เป็นกระบวนการตอ่ เนื่องที่ รายละเอียดใน google classroom ให้นักศึกษาล่วงหน้าและ สังเกตความต้องการและความกา้ วหน้า ช้แี จงเปิดโอกาสให้ซักถาม ของนักเรยี นในกระบวนการเรียนรู้ 1.3. ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ใบงานและสถานการณ์ให้นักศึกษาได้ ผ่านกระบวนการ Feed-up-back- เตรยี มตวั และวางแผนในการทางานเป็นทีมร่วมกับเพือ่ น forward ประกอบดว้ ย การประเมิน 1.4 ชี้แจงการวดั และประเมนิ ให้ทราบ กอ่ นเรยี น ขณะเรยี น และหลงั เรยี น 1.5 ชแี้ จงกฎและกตกิ าระหว่างเรียนให้ทราบ โดยเน้นการประเมนิ ขณะน้ัน, ให้ขอ้ มลู ที่ ชดั เจนเพ่อื การพัฒนา, รกั ษาความเป็น วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285