243 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 2 รูปแบบการประเมินการเรียนรู้ท่ามกลางความปกติใหม่ เพ่ือส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชา สุขภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช (ตอ่ ) แนวคดิ การประเมินการเรยี นรู้ กระบวนการประเมนิ ผล สว่ นตวั และใหข้ อ้ มูลเชิงบวกเพอ่ื 2. FEEDBACK ให้ขอ้ มลู ผเู้ รยี นเกย่ี วกับ เสริมสรา้ งแรงจงู ใจ 2.1 ผลการเรียนรู้ ระหว่างเรียน นักศึกษาได้วิเคราะห์การ สร้างสัมพันธภาพเพ่ือการบาบัด เทคนิคการสนทนาที่เพ่ือนใช้กับ ผปู้ ว่ ยเสมือน 2.2 คุณภาพการเรียนรู้ หลังเสร็จส้ินการสนทนานกั ศึกษาได้ วิเคราะห์การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดร่วมกันในกลุ่มกับ เพ่ือน ผู้ปว่ ยเสมอื นและอาจารย์ 2.3 จุดเด่น-จุดที่ควรพัฒนาหลังวิเคราะห์ร่วมกันในกลุ่ม นกั ศึกษาไดป้ ระเมินตนเอง และประเมนิ เพ่อื นทีเ่ ป็นตวั แทนกลุ่มใน การสรา้ งสมั พนั ธภาพ และวเิ คราะห์ประเด็นท่ียงั ไม่สมบูรณ์และสิ่ง ท่ตี ้องปรับปรุงพฒั นาและบนั ทกึ ขอ้ มลู ในใบงาน 2.4 ครใู ชว้ ิธีในการพัฒนา ด้วยการสอ่ื สารเชงิ บวก เพอ่ื สร้าง แรงบันดาลใจในการเรียนรู้ 3. FEED-FORWARD ให้ข้อมูลต่อยอดในการเรียนรู้เพื่อ พฒั นาการเรยี นร้ดู ้วยตนเองในอนาคต ในเรอื่ ง 3.1 แหล่งการเรยี นรู้ 3.2 วธิ ีการเรยี นรูด้ ว้ ยการเสรมิ พลังในการเรียนรู้ ฝึกฝน พฒั นตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง 2. Summative assessment 1. การทดสอบความรรู้ วบยอดรายวิชา เปน็ การประเมนิ ท่มี งุ่ เนน้ ไปทีผ่ ลลพั ธ์ ด้วยการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้ด้าน ตามเปา้ หมายของการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ ความรู้ (LO2) ตามตารางวิเคราะห์ข้อสอบท่ีกาหนดไ ว้ใน คือเพ่อื ตรวจสอบผลลัพธ์การเรยี นรขู้ อง รายละเอยี ดของรายวชิ า (Course Specification) ผเู้ รยี น กลา่ วคือพวกเขาได้เรียนรู้ตาม 2. การวิเคราะห์การสร้างสัมพันธภาพเพ่ือการบาบัด เป็นการ เป้าหมายทห่ี ลกั สตู รกาหนดในระดับใด ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ด้านอื่น ๆ ไดแ้ ก่ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม (LO1) ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา (LO3) ด้านการทางานเป็นทีม (LO4) และด้านทักษะการสื่อสาร (LO5) ตามสัดส่วนท่ีกาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์หลักสูตรท่ีกาหนดไว้ใน รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
244 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 2. ผลการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือน จรงิ ในรายวชิ าสุขภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช เป็นผลการศึกษาระยะท่ี 3 คือการนารูปแบบไการเรียนรู้โดยใช้ผูป้ ่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจรงิ ไป ปฏบิ ัติ และประเมนิ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ (Implementation & Evaluation) ดงั น้ี 2.1.มาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีเกิดจากการเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชใน หัวข้อ การสร้างสัมพันธภาพเพ่ือการบาบัด พบว่า ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning outcome : LO) ที่กาหนด ได้แก่ LO 1.3, 2.2, 2.3, 3.2, 3.3, 3.4, 4.2, 5.2 และ 5.3 พบว่า ภาพรวมมีค่าเฉลี่ย (Mean) เท่ากับ 3.09 (จาก คะแนนเต็ม 4), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.20 โดยผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านท่ี 1 คุณธรรมจริยธรรม มีคา่ เฉลย่ี มากที่สุด (Mean = 4.00, S.D. = 0.00) รองลงมา ผลลพั ธ์การเรียนรู้ดา้ นท่ี 2 ความรู้ มีคา่ เฉล่ียในระดับ มาก (Mean = 3.01, S.D. = 0.43) และดา้ นที่ 4 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ มคี ่าเฉลย่ี ในระดับมาก (Mean = 3.00, S.D. = 0.24) โดยผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning outcome : LO) ทุกด้านมีคะแนน เฉลีย่ มากกวา่ 2.41 (เปน็ เกณฑ์ผา่ นทีก่ าหนดในผลลพั ธ์การเรยี นร)ู้ รายละเอยี ดดงั แสดงในตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ เกิดจากการเรียนรู้ในรายวชิ าสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช มาตรฐานผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ Mean S.D. ระดับ ดา้ นที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม 4.00 0.00 มากทส่ี ุด LO 1.3 เคารพในคุณคา่ และศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ 0.43 มาก ดา้ นที่ 2 ความรู้ 3.01 LO 2.2 มคี วามรแู้ ละความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ทาง 0.55 มาก วชิ าชพี การพยาบาล ระบบสขุ ภาพ และปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การ เปลย่ี นแปลงของสังคมและระบบสขุ ภาพ LO 2.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจในวฒั นธรรม สถานการณ์ที่ เปลย่ี นแปลงของประเทศ และสังคมโลกทีม่ ผี ลกระทบต่อภาวะ สุขภาพและประชาชน ด้านท่ี 3 ทักษะทางปญั ญา 2.50 LO 3.2 สามารถสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลาย LO 3.3 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานไปใช้ LO 3.4 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทาง วิชาชีพและที่เกี่ยวข้องรวมท้ังใช้ประสบการณ์เป็นฐาน เพ่ือให้เกิด ผลลพั ธ์ทปี่ ลอดภัยและมีคณุ ภาพ ในการให้การพยาบาล วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
245 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 3 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับของผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ เกดิ จากการเรยี นร้ใู นรายวชิ าสุขภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช (ต่อ) มาตรฐานผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ Mean S.D. ระดบั 0.24 มาก ดา้ นท่ี 4 ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 3.00 0.39 มาก LO 4.1 ทางานเป็นทมี ในบทบาทผนู้ าและสมาชิกทมี ในทีมการ 0.20 มาก พยาบาล ทีมสุขภาพ และทีมในชมุ ชนของระบบบริการสาธารณสุข ทุกระดับและในบรบิ ทหรือสถานการณท์ ่ีแตกต่างกนั ด้านท่ี 5 ทกั ษะการวิเคราะห์ทางตัวเลข การสอื่ สารและการใช้ 2.97 เทคโนโลยีสารสนเทศ LO 5.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการปฏิบัตกิ าร พยาบาล LO 5.3 สามารถใช้ภาษาไทย และภาษาอังกฤษในการส่อื สารได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ รวมผลลัพธก์ ารเรียนรู้ในทกุ ดา้ น 3.09 2.2 ผลการสะท้อนคิดการเรียนรู้ จากการสนทนากลมุ่ (Focus group) นกั ศึกษา สรปุ ข้อมลู ได้ดงั นี้ 1. ทัศนคติท่ีนักศึกษามีต่อผู้ป่วยจิตเวช นักศึกษาส่วนใหญ่มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยจิตเวช การได้เห็น พฤติกรรมของผู้ป่วยมาตรฐาน ทาให้นักศึกษารู้สึกอยากช่วยเหลือผู้ป่วย การสนทนาเพื่อการบาบัดและซักประวัติ อาการวิทยาทางจิตเวช ท่ีนักศึกษาสามารถสอบถามข้อมูลได้ตามต้องการทาให้นักศึกษาเกิดทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วย จิตเวชและยอมรับพฤตกิ รรมของผปู้ ว่ ยจติ เวชมากขึ้น 2. การประเมินการเรียนรู้ของตนเอง นักศึกษาส่วนใหญ่ประเมินความพร้อมของตนเองอยู่ในระดับ ค่อนข้างต่าก่อนการเรียนการสอน โดยประเด็นที่ท้าทายตนเองหรือประเด็นท่ีนักศึกษาคิดว่าตนเองยังมีความรู้ ไมเ่ พียงพอ ในการสนทนากับผู้ป่วยมาตรฐาน ทาให้การเลือกใช้เทคนิคการสนทนา หรือบทสนทนาทสี่ อดคล้องกับ การใช้เทคนคิ การสอื่ สารไม่เหมาะสม แต่ภายหลังจากการเรียนการสอนเสร็จสนิ้ นกั ศึกษาให้ข้อมูลว่ามีความรู้ความ เข้าใจมากขน้ึ และมคี วามพร้อมในการสนทนากบั ผู้ป่วยจรงิ มากข้นึ 3. วิธีการเรียนรู้ นกั ศึกษาใหข้ อ้ มลู ว่าวธิ กี ารเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพของตนเองได้แก่การเตรยี มตวั ให้มาก ข้ึน ทบทวนการใช้เทคนิคการสนทนาท่ีเหมาะสมแก่ผู้ป่วยแต่ละราย และวิเคราะห์ตนเอง รวมทั้งตระหนัก รู้ ในตนเองก่อนจะไปสนทนากับผู้ป่วย พยายามทาความเข้าใจส่ิงที่กาลังเผชิญ นอกจากนี้การเรียนรู้จากการ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
246 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ หลังการฝึกทักษะและการสรุปความรู้จากผู้สอนยังเปน็ กระบวนการสาคัญที่ทาให้ ผเู้ รียนได้เรียนรอู้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 4. แนวทางการนาผลการเรียนร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 4.1 ปรับใชก้ บั การฝึกปฏบิ ัติจริงบนหอผู้ป่วยจิตเวช และวธิ กี ารรบั มือและการเตรียมตัวท่ีครอบคลุมใน การใช้เทคนิคการสนทนาทุกขั้นตอน รวมทั้งสามารถนาสิ่งท่ีผิดพลาดไปปรับปรุงและนาสิ่งท่ีดีไปเสริมและพัฒนา ความร้ใู หม้ ากกว่าเดิมในการนาไปใช้สนทนากับผ้ปู ว่ ยจติ เวชที่มีประสิทธิภาพสงู สดุ 4.2 นาการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในรายวิชาทางการพยาบาลอ่ืน ๆ รวมท้ังให้เวลาในการทา กจิ กรรมมากขนึ้ 4.3 ก่อนข้ึนฝึกวิชาปฏิบัติควรมีการเตรียมความพร้อมในการเข้าห้อง simulation หรือฝึกทักษะใน การสนทนากบั ผปู้ ่วยเสมอื นจริง เพือ่ ใหเ้ กิดความม่ันใจการสนทนาเพอ่ื การบาบัดเพิ่มมากขึ้น อภปิ รายผล จากผลการศึกษา คณะผู้วิจัยอภิปรายการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์ เสมือนจรงิ เพอื่ สง่ เสรมิ ผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช ได้แก่ 1. การพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนโดยใชผ้ ้ปู ว่ ยมาตรฐานในสถานการณเ์ สมือนจรงิ เพือ่ ส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช ได้นาแนวคิดกระบวนวิจัยแบบ ผสมผสาน (Mixed – Methods) โดยอาศยั ADDIE Model และแนวคดิ การจดั การเรียนการสอนแบบสถานการณ์ เสมือนจริง (Simulation Based Learning: SBL) ตามรูปแบบ ADDIE Model ในระยะการวิเคราะห์การจัดการ เรียนการสอนร่วมกับทีมผู้สอนในภาควชิ า พบว่าหัวข้อการสร้างสมั พันธภาพเพ่ือการบาบัด เดิมใช้วิธีการเรียนการ สอนแบบบรรยาย ประกอบการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึกทักษะการสนทนาเพื่อการบาบัด นักศึกษา ไม่สามารถเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบตั ิการพยาบาลแก่ผปู้ ่วยได้ และไม่สามารถใช้ทักษะการสนทนา เพื่อการบาบัดได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด เพื่อให้นักศึกษาไปฝึกทักษะมากข้ึนจึงควรใช้ผู้ป่วยมาตรฐานมาใช้ในการ พัฒนาผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ซ่ึงสอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีในการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ผู้ปว่ ยเสมือนในรายวิชา การพยาบาลสุขภาพจิตและจติ เวชของกลมุ่ วชิ าการพยาบาลสขุ ภาพจิตและจิตเวช วทิ ยาลยั เซนต์หลยุ ส์ ซ่งึ ใช้ผูป้ ว่ ย เสมือนในวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชโดยมีการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนโดยคณาจารย์ในกลุ่มวิชา และเสนอต่อท่ีปร ะชุ มคณาจาร ย์แล ะมีการ สน ทนากลุ่ มแลก เปลี่ ยนเ รียนรู้ เ ก่ียว กับ การส อนโด ยเดิ มมีการ ใช้ กรณีศึกษามาประยุกต์ใช้ความรู้โดยใช้ผู้ป่วยเสมือน โดยมีการกาหนดความูร้หลักที่จาเป็นต่อการเรียนการสอน โดยใชู้ผ้ป่วยเสมือน ในการหัวข้อ สัมพันธภาพเพ่ือการบาบัด การตรวจสภาพ พัฒนาผู้สอนเก่ียวกับการใช้ผู้ป่วย เสมอื นในการจัดการเรียนการสอน เมอื่ สรา้ งความร้บู างสว่ นใหเ้ หมาะต่อการใชใ้ นการสอนนาไปฝึกใช้ก่อนสอนจริง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
247 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) และพัฒนาปรับปรุงแล้วนามาใช้กับนักศึกษาแล้วจึงขั้นสรุปบทเรียนจากผู้สอนและนักศึกษาจากการประยุกต์ใช้ ความูร้ในการสอนโดยใชู้ผป้ ว่ ยเสมอื น (Faculty of Nursing, Saint Louis College, 2018) จากขั้นตอนการเรียนการสอนการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริงมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ข้ันตอนที่ 1 ขั้นนาหรือข้ันการแนะนา (Pre-Briefing) มีการมอบหมายการศึกษาข้อมูลผู้ป่วย มาตรฐานด้วยตนเองล่วงหน้า ช้ีแจงวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ เพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมและเช่ือมโยงความร้เู ดมิ และเกิดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีความหมาย ขั้นตอนท่ี 2 ข้ันสอน (Simulation Activity) นักศึกษาในกลุ่มร่วมกนั กาหนด บทบาทหน้าที่ของสมาชิกและมีตัวแทนสนทนากับผู้ป่วยมาตรฐาน และได้อภิปรายร่วมกันในกลุ่มร่วมกับอาจารย์ และผู้ป่วยมาตรฐาน และข้ันตอนท่ี 3 ขั้นสรุปบทเรียน (Debrief) เพ่ือให้ผู้เรียนได้ผ่านการฝึกประสบการณ์การ สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดซ่ึงเป็นหัวใจสาคัญของการดูแลผู้ป่วยจิตเวช โดยมีการจัดการเรียนการสอนตาม แนวคิดทฤษฎี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ 1. การเรียนรู้ผ่านกระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interactive Learning) เน้นการส่ือสารแบบสองทางท้ังก่อนการเรียน ระหว่างการเรียน และหลังการเรียน เป็นการส่ือสาร ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนด้วยกัน ผู้เรียนกับผู้ป่วยมาตรฐาน แล้วอภิปรายสรุปความรู้ร่วมกันระหวา่ งผเู้ รยี น และผู้สอน 2. การส่งเสริมแรงจูงใจในการเรียนรู้(Motivative Learning) เป็นการสร้างส่ิงจูงใจนาไปสู่แรงขับ ภายใน ทที่ าให้ผเู้ รียนแสดงพฤติกรรมในทิศทางท่ตี รงตามเปา้ หมายของการเรียนรู้ โดยการเปิดโอกาสให้มีสว่ นร่วม ในการวางแผนการจดั บรรยากาศการเรียนร้ทู ี่ผอ่ นคลาย เพ่อื ใหร้ ูส้ ึกปลอดภัยในการแสดงความคดิ เหน็ การสะท้อน ผลการเรียนรู้ การเสริมแรง และใช้ผู้ป่วยมาตรฐานเป็นส่วนหน่ึงของการเรียนรู้ กระตุ้นความสนใจและให้เห็น ความสาคัญและความจาเป็นของการเรียนรู้ 3. การสะท้อนคิดอย่างใคร่ครวญ (Critical reflective) เป็นการ ไตร่ตรองถึงเหตุผล และความรู้สึกจากมุมมองของตนเองและผู้อ่ืนนาไปสู่ความสามารถในการปรับมุมมองของ ตนเอง เกิดการวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณในกิจกรรมการพยาบาล รู้ตระหนักในความหมายการกระทาของ ตนเองและคุณค่าในประสบการณ์ที่เรียนรู้มากข้ึน ผลจากสะท้อนคิดการเรียนรู้ ด้านทัศนคติ พบว่า นักศึกษา มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วย จิตเวชและยอมรับพฤติกรรมของผู้ป่วยมากขึ้น ด้านการประเมินการเรียนรู้ของตนเอง นักศึกษาส่วนใหญ่ก่อนเรียนมีความรู้และความพร้อมค่อนข้างน้อยทาให้ในการสนทนาผู้ป่วยมาตรฐานใช้เทคนิค สนทนาท่ียังไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องมากนัก แต่เมื่อได้เรียนรู้กับผู้ป่วยมาตรฐานแล้วเมื่อส้ินสุดการเรียนการ สอนนักศึกษาให้ข้อมูลวา่ มีความรูแ้ ละมคี วามพร้อมมากขึ้น ดา้ นวิธีการเรียนรู้ นักศกึ ษาให้ขอ้ มลู วา่ การที่จะเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องเตรียมความรู้ ทบทวนการใช้เทคนิคการสนทนา การวิเคราะห์ตนเองและตระหนั กรู้ใน ตนเองและการเตรียมตัวให้มากขึ้น นอกจากนี้การเรียนรู้จากการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นหลังการฝึก ทักษะและการสรุปความรู้จากผู้สอนยังเป็นกระบวนการสาคัญที่ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับผลการจัดการ การเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์จาลอง พบว่าเป็นวิธีการ สอนทท่ี าให้ผ้เู รียนมีความรสู้ ึกใกลส้ ถานการณจ์ ริง หรอื ผู้ป่วยจรงิ มากขนึ้ กระต้นุ ผู้เรยี นใหเ้ กดิ ความสนใจ และเกิด การเรียนรู้ สามารถฝึกทักษะได้อย่างม่ันใจ ไม่รู้สึกกดดัน (Faculty of Nursing, Saint Louis College, 2018) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
248 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) นอกจากนี้การฝึกปฏิบัติจริง ภายใต้ส่ิงแวดล้อมในคลินิค ท่ีจาลองให้ใกล้เคียงสถานการณ์เสมือนจริงมากที่สุด ทาให้ผู้เรียนได้รับการฝึกฝนให้มีทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า การ แกป้ ญั หา และการตดั สินใจ เพือ่ ให้สามารถนาไปใช้ในการปฏบิ ัติจริงได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ (Suwankiriet al., 2016) 2. ผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีเกิดจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง ในรายวชิ าสุขภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริงในรายวิชา สขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช พบว่า ผลลัพธ์การเรียนรู้ทุกด้านมีคะแนนเฉลี่ย (Mean) เท่ากับ 3.09 (จาก คะแนนเตม็ 4), ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.20 อย่ใู นระดบั มาก โดยผลลัพธก์ ารเรยี นรดู้ ้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (Mean = 4.00, S.D. = 0.00) รองลงมา ผลลัพธ์การเรียนรู้ด้านความรู้ และด้านทักษะ ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก (Mean = 3.01, S.D. = 0.43 และ Mean = 3.00, S.D. = 0.24 ตามลาดบั ) ซงึ่ จากวเิ คราะห์กิจกรรมการเรียนการสอนในระยะท่ีการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Learning) เน้นการสื่อสารแบบสองทางระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนด้วยกัน ผ้เู รยี นกับผปู้ ว่ ยมาตรฐาน จงึ เปน็ การสง่ เสริมทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล และทักษะการส่ือสาร ผลจากการ สะท้อนคิดของนักศึกษาการที่ได้ซักประวัติ อาการวิทยาระหว่างที่สนทนากับผู้ป่วยมาตรฐาน ได้ฝึกใช้การ สัมภาษณ์ตามที่ตนเองวางแผนไว้และได้รับการตอบสนองทาให้นักศึกษามีความเข้าใจผู้ป่วย มีทัศนคติที่ดีและ ยอมรับผู้ป่วยจิตเวชมากขึ้น สาหรับทักษะด้านความรู้ทาให้และทักษะทางปัญญานั้นจากกกิจกรรมการเรียนตาม ขึ้นตอนของการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์จาลองทั้ง 3 ระยะ คือ ขั้นตอนที่ 1 ข้ันนาหรือข้ันการแนะนา (Pre- Briefing) ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสอน (Simulation Activity) และข้ันตอนที่ 3 ข้ันสรุปบทเรียน (Debrief) เป็นวิธีการท่ี กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม ร่วมกับการสะท้อนคิดการเรียนรู้ของตนเองทาให้นักศึกษาได้แนวทางในการพัฒนาตนเอง นอกจากนี้ผู เรียน สามารถเช่อื มโยงความรูจากทฤษฎสี ูการปฏบิ ัติ เป็นการสรปุ หลักการหรือแนวคดิ ท่ีจะนาไปประยกุ ตในสถานการณ ใหม่ ทาให้ผูเรยี นไดทาความเขาใจ วเิ คราะห ความคิด ความรูสึกตอกิจกรรมท่ีไดปฏิบัติในสถานการณ์เสมือนจริง ซึ่งจะชวยสงเสริมทักษะการปฏิบตั ิการพยาบาลที่มีประสทิ ธิภาพ (Sinthuchai & Ubolwan, 2017) สอดคล้องกับ การศึกษาของรงั ศิมา วงษ์สทุ นิ และคณะ (2562) พบว่าการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยหุ่นจาลองสถานการณเ์ สมือน จริงสมรรถนะสูงมคี วามสัมพนั ธก์ บั ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวฒุ ิ โดยการรบั ร้ผู ลการเรยี นร้ตู ามมาตรฐาน ภาพรวมอยูในระดับมาก (Mean = 4.01, S.D. = 0.76) ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม (Mean = 4.26, S.D. = 0.66) รองลงมาคือด้านทักษะการสร้างสัมพันธภาพ (Mean = 4.21, S.D. = 0.66) (Wongsutin et al., 2019) คลา้ ยคลงึ กับการศึกษาการใชส้ ่ือการเรียนการสอนเสมือนจรงิ ผ่านทางแอปพลเิ คชัน ในสมาร์ทโฟน ในรายวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช พบว่าค่าเฉล่ียของคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.53, S.D. = 0.04) และมีความรู้มากข้ึนหลังการศึกษาผ่านส่ือการเรียนในสมาร์ทโฟน (Mean = 4.48, S.D.= วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
249 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 0.55) (Chaleoykitt et al., 2019) และจากการศึกษาการใช้สถานการณ์จาลองในการปฏิบัติทักษะการสนทนา เพือ่ การบาบัดของนกั ศึกษาพยาบาลพบว่า นกั ศึกษามีความม่นั ใจในตนเองในการปฏบิ ัติทกั ษะการสนทนาเพื่อการ บาบัดสูงข้ึน ซ่ึงสนับสนุนประสิทธิผลของการใช้สถานการณ์จาลองเพ่ือเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติทักษะการ สนทนาเพื่อการบาบัดของนักศึกษาพยาบาลก่อนการฝึกภาคปฏิบัติ (Khamwong et al., 2020) สอดคล้องกับ การศึกษาผลของการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง (SBL) ของนักศึกษาพยาบาล พบว่า ความสามารถในการคิด อย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาลสูงข้ึน โดยนักศึกษาสามารถสะท อนความคิดรวบยอด และเช่ือมโยง ประสบการณ์สงผลใหนักศึกษาเกิดความสามารถดานการคิดแบบมีวิจารณญาณได (Yeepaloh, 2017) และจาก การศกึ ษาผลจากทักษะการสื่อสารของนักศึกษาพยาบาลกับผู้ป่วยจาลองในสถานการณ์เสมือนจริงพบวา่ นกั ศกึ ษา ทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมกับผู้ป่วยจาลองในสถานการณ์เสมือนจริงมีการประเมนิ ทางด้านจิตใจและทักษะการสื่อสารดีกว่า วิธีการเรยี นรแู้ บบเดิมในหอ้ งเรียน รวมท้งั นกั ศกึ ษาพยาบาลมรี ะดบั ความมั่นใจและมีความพงึ พอใจมากขนึ้ จากการ ที่มีประสบการณ์ในการใช้ทักษะการส่ือสารและสนทนาเพื่อบาบัดทางการพยาบาล และทาให้นักศึกษาเกิดการ เรยี นรแู้ ละเกิดองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ จากการท่ีใช้ผปู้ ่วยจติ เวชจาลองในสถานการณ์เสมอื นจริง (Donovan & Mullen, 2019; Schlegel, 2019) ข้อเสนอแนะในการนาผลการศกึ ษาไปใช้ 1. นารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริงในรายวชิ าสขุ ภาพจิตและ การพยาบาลจิตเวช ไปใช้ในการเตรียมความพร้อมนักศึกษา (pre-clinic) ก่อนการข้ึนฝึกภาคปฏิบัติจริงใน หอผูป้ ่วยให้มีประสิทธิภาพสงู สุดตอ่ ไป 2. ส่งเสริมใหมีการขยายผลวิธีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานในสถานการณ์เสมือนจริง ไปใชกับนักศกึ ษาในทกุ ช้นั ป และรายวิชาทางการพยาบาลตา่ ง ๆ เพื่อสงเสรมิ ใหนกั ศึกษาสามารถแกไขปญหา และ ตัดสินใจตามสถานการณ์ที่หลากหลาย เกิดกระบวนคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning outcome: LO) ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป 1. ควรมีการพัฒนาสร้างสถานการณ์เสมือนจริงโดยใช้ผู้ป่วยมาตรฐานจิตเวชในหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ มากขน้ึ เชน่ หัวข้อการสัมภาษณ์และตรวจสภาพจิต รวมทง้ั การพยาบาลผ้ทู ่ีมคี วามผิดปกติทางจิตเวช เพือ่ สง่ เสริม ให้นักศึกษามีทักษะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การทางานเป็นทีม และสามารถแสดงความรู้ ความสามารถ ทาให้เกิดทักษะความชานาญในการปฏิบัติการพยาบาลในผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ รวมทั้งสามารถประเมินมาตรฐานผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชาของนักศึกษารายด้านได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
250 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 2.ประเมินติดตามสมรรถนะของนักศึกษาในทักษะด้านการสนทนาเพื่อการบาบัด ในรายวิชาปฏิบัติ สขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช เอกสารอ้างอิง Chaleoykitt, S., Chiewsothorn, S., & Nuyleis, Y. (2019). The Development of an Innovative Learning Method with Augmented Reality Applications on Smartphone. Ramathibodi Nursing Journal, 25(1), 5-15. Donovan, L. M., & Mullen, L. K. (2019). Expanding nursing simulation programs with a standardized patient protocol on therapeutic communication. nurse education in practice, 38(1), 126-131. Faculty of Nursing, Saint Louis College. (2018). Goods practice with Simulation-Based Learning (SBL) in Mental Health and Psychiatric Nursing Courses. Retrieved. (2022, January 3). from. :https://www .slc.ac.th/2018/img/km/2561/slc1/2.pdf. Foronda, C., Gattamorta, K., Snowden, K., & Bauman, E. B. (2014). Use of virtual clinical simulation to improve communication skills of baccalaureate nursing students: A pilot study. Nurse education today, 34(6), 53-57. Inchaithep, S. (2019). Transformative Learning: A Nursing learning management in clinics. Journal of Health Sciences Scholarship, 6(1), 1-10. Karen, H. (2017). Simulation-Based Learning in Australian Undergraduate Mental Health Nursing Curricula: A Literature Review. Journal of Clinical Simulation in Nursing, 13(8), 380-389. Khamwong, M., Sirimai, W., Kunlaka, S., & Nuchusuk, C. (2020). Effect of Simulation-Based Learning on Self-Confidence in Therapeutic Communication Practice of Nursing Students. Journal of Health and Nursing Research, 36(1), 201-212. Klipfel, J. M., Carolan, B. J., Brytowski, N., Mitchell, C. A., Gettman, M. T., & Jacobson, T. M. (2014). Patient safety improvement through in situ simulation interdisciplinary team training. Urologic Nursing, 34(1), 39-46. Kumkong, M., & Chaikongkiat, P. (2 0 1 7 ) . High Fidelity simulation-based learning: A method to develop nursing competency the Southern College Network. Journal of Nursing and Public Health, 4 (Special Issue), 332-344. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
251 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Maraphen, R., Boonkoum, W., & Kheovichai, K. (2019). Effect of a Learning Instructional by Using Standardized Patients as Simulation in Home Visits. Thai Red Cross Nursing Journal, 14(1), 125-139. Norkaeo, D. (2015). Simulation based learning for nursing education. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Bangkok, 31(3), 112-122. Norkaeo, D., Kangyang, M., Buranarom, P., Taveekaew, C,. Kanbupar, N., & Promwong, W. (2015). The Effect of High-Fidelity Simulation Teaching Program on Student Nurses’ Knowledge, Skill, and Self-efficacy regarding Nursing Care for Pregnant Woman with Complication. Nursing Journal of the Ministry of Public Health, 29(3), 53-65. Panich, V. (2016). Transformative Learning. Bangkok, SR Printing. Prajankett, O. (2014). Transformative Learning: Nursing Education Perspective. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 15(3), 179-184. Rattanawimol, C., Kaewurai, W., & Hingkanont, P. (2015). The Instructional Model Development focusing on standardized Patient with Circle of Trust to Enhance Learning Happiness for Nursing student. Journal of Nursing and Health Sciences. 9(3), 179-192. Resource, A., & Guide, P. (2008). 21st Century Skills, Education & Competitiveness. Partnership for 21st Century Skills. Riley, R.H. (2016). Manual of Simulation in Healthcare(2thed). United Kingdom: OxfordUniversityPress. Schlegel, C. (2019). The value of standardized Patients in nursing education. Center of higher education for nursing Reichenbachstrasse Switzerland. JournalofNursingScience,27(2), 40-48. Smith, S.J., & Roehrs, C.J. (2009). High-Fidelity Simulation: Factors Correlated with Nursing Student Satisfaction and Self-Confidence. Nursing Education Perspective, 30(2), 74-78. Siriwong, S. (2020). N.A.V.Y. Strategies for Change in the New Normal Nursing Education. Royal Thai Navy Medical Journa, 47(3), 747-760. Suwankiri, V., Julmusi, O., & Tangkarnwanit, T. (2016). Learning management by using simulation for nursing students. Journal of Nursing Chulalongkorn University, 28(2), 1-14. Sinthuchai, S., & Ubolwan, K. (2017). Learning using virtual simulation: applying to learning and teaching. Journal of the Royal Thai Army Nurses, 18(1), 29-38. Thanaroj, S. (2017). Simulation-based Learning in Principles and Techniques Course in Nursing Practicum. Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal, 9(2), 70-84. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
252 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Wongsutin, R., Meeboon, S., Sukolpuk, M., Teerawongsa, N., Sirisabjanan, L., Tojun, S. (2019). Nursing students’ perceptions on high-fidelity simulation learning and learning outcomes regarding Thailand Qualification Framework. Journal ofHealthSciencesResearch, 13(2), 11-19. Yeepaloh, M., Ruangroengkulrit, P., Thongjan, J., Suwan, K., & Chaleawsak, K. (2017). The effect of simulated teaching on critical thinking ability of nursing students at Boromarajonani College of Nursing, Yala. Journal of Nursing, Public Health and Education, 18(3), 128-134. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
Relationship between Health Literacy and Tardiness of Renal Progression in Chronic Kidney Disease with Diabetes Mellitus and/or Hypertension Patient in Ngao District, Lampang Pariwat Innual1*, Watthana Tasan*, Krid Thongbunjob*, Sriprapai Inchaithep** (Received: January 3, 2022, Revised: April 1, 2022, Accepted: May 11, 2022) Abstract This cross- sectional study research aimed to study relationship between Health Literacy and tardiness of renal progression in Chronic Kidney Disease’ s patients with multimorbidities: Diabetes Mellitus and/or Hypertension from Ngao district, Lampang, Thailand. Designed as a cross- sectional study, a total of 147 patients are included from Taro Yamane Formula, to identify individuals’ Health Literacy using Chanuantong’ s assessment and categorized into three levels: ‘ above- average’ , ‘ average’ and ‘ below- average’. Estimated Glomerular Filtration Rate ( eGFR) record of each samples in year 2020 and 2021 are collected to assess the tardiness of renal progression. The data area analyzed using descriptive statistics and Chi-square test with p-value less than .05 (p<.05). In terms of Health Literacy level, the results showed 1 ) that the majority, 69 samples (46.90%), are categorized as ‘below-average’, while 54 samples (36.70%) are defined as ‘average’ group and only 24 samples (16.30%) are ‘above-average’. 2) An eGFR change from year 2020 to 2021 are decreased, in a significant level of statistics, at 3.48 ml/min/1.73 m2 3) Levels of Health Literacy are statistically significantly related to tardiness of renal progression in patients with Diabetes Mellitus and/or Hypertension in Chronic kidney disease patients whose eGFR are below 5 ml/min/1.73 m2. Keywords: Chronic kidney disease; Health literacy; tardiness of renal progression *Ngao Hospital, Lampang **Boromarajonani College of Nursing, Nakhon Lampang, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute 1Corresponding author: [email protected] Tel 0821852946 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความรอบรูท้ างสุขภาพกับการชะลอการเส่อื มของไตในผปู้ ว่ ยไตเรือ้ รงั ท่มี ีโรคร่วมเปน็ ความดนั โลหิตสูงหรือเบาหวาน อาเภองาว จังหวัดลาปาง ปรวิ ฒั น์ อินทรน์ วล1* ,วฒั นา ตาแสน* , กฤษฎิ์ ทองบรรจบ* ศรปี ระไพ อินทรช์ ยั เทพ** (วนั ที่รับบทความ: 3 มกราคม 2565, วนั แกไ้ ขบทความ: 1 เมษายน 2565, วันตอบรับบทความ: 11 พฤษภาคม 2565) บทคดั ย่อ งานวิจัยแบบการศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินระดับและศึกษาระดับ ความรอบรู้ทางสขุ ภาพ และ ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหว่างความรอบรทู้ างสุขภาพและชะลอการเสือ่ มของไตในผู้ป่วย ไตเร้ือรังท่ีมีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน อาเภองาว จังหวัดลาปาง โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภมู ิ (Stratified random sampling) ได้จานวน 147 คน แบ่งตามเขตรับผดิ ชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล ใน อ.งาว จ.ลาปาง โดยใช้เครื่องมือวัดระดับความรู้แจ้งแตกฉาน สาหรับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กองสุข ศกึ ษา ป2ี 558 และแบบบันทกึ คา่ อัตราการกรองของไต วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิตไิ ค-สแควร์ (Chi- square tests ) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับต่า จานวน 69 คน (ร้อยละ 46.90) ระดับปานกลาง จานวน 54 คน (ร้อยละ 36.70) และระดับสูง จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 16.30 2) การชะลอการเสื่อมของไตพิจารณาจากอัตราการกรองของไต พบว่า ค่าเฉลี่ยของอัตราการกรองของไต ปี 2563 และ 2564 ลดลงเฉลย่ี 3.48 มล./นาที/1.73ตร.ม./ปี และ 3) ระดับของความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพในผู้ปว่ ยไตเร้ือรังที่ มีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน มีความสัมพันธ์กับการชะลอการเสื่อมของไต(eGFR <5มล./นาที/ 1.73ตร.ม./ปี) ไดอ้ ยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 คาสาคญั : โรคไตเรือ้ รัง, ความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาพ,การชะลอการเส่ือมของไต * โรงพยาบาลงาว จ.ลาปาง **วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก 1ผปู้ ระพันธบ์ รรณกิจ [email protected] โทร 0821852946 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1
255 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา โรคไตเร้ือรังเปน็ หนึ่งในโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาคัญในระบบสาธารณสุขทวั่ โลก เน่ืองจากเป็นโรค ทีม่ คี วามชกุ เพ่ิมขนึ้ มแี นวโนม้ เพ่มิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ งทัว่ โลกพบความชุกโรคไตเร้อื รัง ประมาณรอ้ ยละ 13.40 (Hill et al., 2016) ประเทศไทยพบความชุกโรคไตเรือ้ รังทกุ ระยะประมาณร้อยละ 17.60 หรือ 8.40 ลา้ นคน (Ingsathit et al., 2010) โรคไตเร้ือรังไม่สามารถรักษาให้หายขาด ทาได้เพียงชะลอการดาเนินโรคก่อนเข้าสู่ไตระยะสุดท้าย ซ่ึง ต้องใช้วิธีบาบัดทดแทนไตต่อเน่ือง สร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยกลุ่มน้ี จึงส่งผลกระทบต้ังแต่ระดับ บุคคลจนถึงระดับประเทศ (Kanjanabuch & Takkavatakarn, 2020) ในจังหวัดลาปางมีผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง จานวน 20,225 คน และเปน็ ประชากรในอาเภองาว 890 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุและมีระดับของโรค ไตเร้ือรังอยู่ในระยะท่ี 3 ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในอาเภองาวยังมีปัญหาด้านสุขภาพเนื่องจาก ข้อมูล ของผู้ป่วยเบาหวานสามารถคมุ เบาหวานได้ดรี อ้ ยละ 56.66 เม่ือพิจารณาแล้วพบ่ว่ามีกลุ่มท่คี ุม น้าตาลไม่ได้ 1,155 คน คิดเป็นร้อยละ 43.34 และกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง กลุ่มท่ีคุมไม่ได้ ร้อยละ32.74 ซึ่งการท่ีไม่ สามารถคมุ เบาหวานและความดันใหอ้ ย่ใู นระดับเปา้ หมายนั้นย่อมสง่ ผลให้เกดิ ภาวะไตเร้อื รงั ปัจจัยสาคัญที่มีผลกับการเสื่อมของไตและการนาไปสู่ไตวายระยะสุดท้ายอนั ดับแรกคือโรคเบาหวาน ร้อย ละ 44.0 และ อันดบั ท่ี 2 คือโรคความดนั โลหิตสูง ร้อยละ 38.90 มีการเก็บข้อมูลเพ่ือทานายการทางานของไตใน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่มีโรคร่วมเป็นเบาหวานเทียบกับท่ีไม่มีโรคร่วมเป็นเบาหวาน พบว่ากลุ่มที่เป็นเบาหวานมีค่าการทางานของไตลดลงเร็วกว่ากลุ่มท่ีไม่เป็นเบาหวาน (Go et al., 2018) และ รายงานการศึกษาท่ีพบว่าโรคความดันโลหิตสูงมีความสัมพนั ธ์กับโรคไตวายเรื้อรัง (Sabanayagam et al., 2011) นอกจากน้ีระดับความดันโลหิตที่สูงควบคุมได้ไม่ดีจะส่งผลให้เกิดภาวะเสื่อมของไตมากย่ิงขึ้น (Ishikura et al., 2016) ความรอบรู้ทางสุขภาพเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีสาคัญในการนามาปรับใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่าง เหมาะสม ซ่ึงจะมีความแตกต่างในแต่ละบุคคล จากการศึกษาเกี่ยวกับความฉลาดทางสุขภาพและโรคไตพบว่า ผู้ป่วยโรคไต มีประสบการณ์ขาดความรู้ในการดแู ลตนเองและพบว่าผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังในระยะที่ 1 และ 2 มีความ ตระหนักถงึ ภาวะโรคไตของตนเองเพยี งร้อยละ 40 และในผปู้ ่วยระยะที่ 3 และ 4 มคี วามตระหนกั เพียงร้อยละ 23 และมีผู้ปว่ ยเพียงร้อยละ 1.9 ทราบวา่ ตนเองปว่ ยเป็นโรคไตวายเรอื้ รัง และความรอบรูด้ ้านสุขภาพสามารถสะท้อน พฤติกรรมสุขภาพในการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังได้ (Devraj et al., 2015) ดังนั้นความรอบรู้ทางสุขภาพ ในผู้ป่วยโรคไตจึงมีความสาคัญในการทานายการเกิดภาวะการเส่ือมของโรคไตเร้ือรัง ในจังหวัดลาปางมีผู้ป่วยโรค ไตวายเร้ือรังจานวน 20,225 คน และเป็นประชากรในอาเภองาว 890 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุและมี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
256 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ระดับของโรคไตเรื้อรังอยู่ในระยะท่ี 3 หากไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมจะนาไปสู่ภาวะไตวายระยะสุดท้าย ผู้ป่วย เบาหวานและความดนั ในอาเภองาวยังมปี ญั หาดา้ นสขุ ภาพ โดยพบว่ามกี ลมุ่ ที่ควบคุมระดับนา้ ตาลไม่ได้เปน็ จานวน ถึงร้อยละ 43.34 และกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีกลุ่มที่ควบคุมไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 32.74 ซ่ึงการท่ีไม่สามารถ ควบคุมเบาหวานและความดันให้อยู่ในระดับเป้าหมายน้ันย่อมส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนเกิดการเสื่อมของไต เพิ่มมากขึ้นและนาไปสโู่ รคไตเรื้อรงั ในที่สดุ จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นจะเห็นถึงความสาคัญของความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตวายเร้ือรังท่ีมี โรคร่วมเป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูงกับการชะลอและป้องกันภาวะไตเส่ือมของตนเอง ดังน้ันจึงควรมีการ ประเมินความรอบรู้ทางด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยดังกล่าวข้างต้นและหาความสัมพันธ์ของความรอบรู้ทางสุขภาพ กับผลลัพธ์ในการชะลอภาวะไตเสื่อมของผู้ป่วยไตวายเร้ือรังในระยะต่างๆเพ่ือเป็นข้อมูลสาหรับรักษาดูแลและ ส่งเสริมสุขภาพกล่มุ ผปู้ ว่ ยโรคไตวายเรอ้ื รงั ที่มโี รครว่ มเป็นเบาหวานและความดนั โลหติ สงู ต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดบั ความรอบร้ทู างสุขภาพในผู้ป่วยไตเรอื้ รงั ท่ีมโี รครว่ มเปน็ ความดนั โลหติ สงู หรอื เบาหวาน อาเภองาว จังหวดั ลาปาง 2.เพอ่ื ศกึ ษาการชะลอการเสอ่ื มของไตในผปู้ ่วยไตเรือ้ รงั ทมี่ ีโรคร่วมเป็นความดนั โลหติ สงู หรือเบาหวาน อาเภองาว จังหวดั ลาปาง 3.เพอื่ ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหวา่ งความรอบรทู้ างสขุ ภาพและการเส่ือมของไตในผู้ป่วยไตเรือ้ รงั ท่มี โี รคร่วม เปน็ ความดันโลหิตสูงหรอื เบาหวาน ของอาเภองาว จังหวดั ลาปาง สมมติฐานของการวิจัย ผู้ปว่ ยท่มี ีความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพทสี่ ูงจะสามารถช่วยชะลอการเสอื่ มของไตในผปู้ ว่ ยไตเร้ือรงั ทม่ี โี รคร่วม เปน็ ความดนั โลหิตสูงหรอื เบาหวานได้มากกวา่ ผูป้ ว่ ยทมี่ ีความรอบรดู้ า้ นสุขภาพตา่ ขอบเขตการวจิ ัย การทาวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง( cross-sectional descriptive study) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเส่อื มของไตในกลุ่มผ้ปู ่วยไตเรื้อรังท่มี โี รคร่วมเป็นความ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
257 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ดนั โลหิตสูงหรือเบาหวาน ในอาเภองาว จังหวดั ลาปาง จานวน 147 คน ในช่วงเวลาเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ถึงเดอื นมกราคม พ.ศ. 2564 วิธีดาเนนิ การวจิ ัย เปน็ การศึกษานเี้ ป็นการศกึ ษาแบบภาคตัดขวาง( cross-sectional descriptive study) มีวตั ถุประสงค์ เพ่ือศกึ ษาความรอบร้ทู างสขุ ภาพ ศกึ ษาการชะลอการเสอื่ มของไตในผู้ป่วย และศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความ รอบรูด้ า้ นสุขภาพกบั การชะลอการเส่ือมของไตในผู้ปว่ ยเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงทีม่ โี รคไตวายเรอ้ื รัง ในอาเภองาว จังหวดั ลาปาง ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากร ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง ที่มีภาวะไตเรื้อรังระยะท่ี1 ถึงระยะท่ี 5 ใน อาเภองาว จงั หวดั ลาปาง จานวน 203 คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง ท่ีมีภาวะไตเรื้อรังระยะท่ี1 ถึงระยะท่ี 5 ตาม นิยามสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ท่ีมีอายุ 18 ปีข้นึ ไป อาศยั อยู่ในเขตอาเภองาว จังหวดั ลาปาง โดยมีฐานข้อมูล อยู่ในโรงพยาบาลงาว คานวณขนาดตัวอย่าง จากสูตรของ Taro Yamane’s Formula ได้ 134 คน เพ่ือป้องกัน การเกบ็ ข้อมลู ไมเ่ พียงพอจึงเพิ่มขนาดตวั อย่างรอ้ ยละ10 ได้กลมุ่ ตัวอย่างท้ังหมดในการศึกษานี้ 147 คน ������ ������ = 1 + ������������2 Population(N) = 203 Sampling of error (e) = 0.05 แทนคา่ ������ = 203 1+203(0.05)2 ������ =134 สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบช้ันภมู ิ (Stratified random sampling) แบง่ ตามเขตรบั ผิดชอบของโรงพยาบาลงาว และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ใน อ.งาว จ.ลาปาง และคานวณสัดสว่ นกลมุ่ ตัวอย่างจากประชากรของแต่ ละพืน้ ที่ ในจานวน10 พน้ื ท่ี พน้ื ที่ละ 14-15 คน โดยกาหนดเกณฑ์การคดั เข้า (Inclusion criteria) ดงั น้ี 1. ได้รับการวินิจฉยั เป็นเบาหวาน และ/หรือความดันโลหติ สูง และภาวะไตเรอ้ื รังระยะท1่ี ถงึ ระยะที่ 5 อย่างนอ้ ย 2 ปี ทอ่ี าศัยอย่ใู นอาเภองาวในชว่ งเดอื นพฤศจิกายน ปี 2563 ถงึ เดือนมกราคม ปี 2564 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
258 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 2. ผู้ปว่ ยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีสติสัมปชญั ญะสมบรู ณ์ พูดคุยสือ่ สาร ภาษาไทยไดร้ ูเ้ ร่ือง ไม่เป็น อุปสรรคต่อการเก็บข้อมลู เกณฑ์ในการคดั ออก (Exclusion criteria) ได้แก่ 1. มอี าการไมค่ งท่ี หรือจาเป็นตอ้ งเขา้ รบั การรกั ษาเรง่ ดว่ นเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงของอาการทอี่ าจจะ ก่อให้เกิดอนั ตรายตอ่ ผู้ปว่ ยระหวา่ งการเก็บข้อมูล 2. ไมส่ ามารถใหค้ วามรว่ มมอื ตลอดเวลาในการศกึ ษา กลุ่มตวั อย่างคืออาสาสมคั รที่มีคุณสมบตั ติ ามเกณฑ์คัดเข้าและคดั ออกในช่วงเดือน พฤศจกิ ายน 2563 - เดือน มกราคม 2564 ท้งั หมด 147 คน เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวิจัย ส่วนที่1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล อายุ เพศ อาชีพ สถานภาพการสมรส การศึกษา รายได้ โรคประจาตัว การสบู บุหรี่ การดม่ื สรุ า การใชย้ าสมนุ ไพร ส่วนท่ี 2 แบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพสาหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แบบวัด ความรู้แจ้งแตกฉานดา้ นสุขภาพ สาหรับผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ของ รศ. ดร. ชะนวนทอง ธนสุ กาญจน์ และ คณะ (Tanasugarn & Neelapaichit, 2015) ประกอบด้วยคาถาม 8 ตอน ในงานวิจัยนี้แปลผล ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพแบ่งการวดั ผลออกเปน็ 3 ระดับ ได้แก่ 1.) มคี วามรอบรูด้ ้านสุขภาพสงู คอื ผทู้ ่มี ีความร้แู จ้งแตกฉานสงู มคี ะแนนรวมในตอนที่ 2–8 ต้งั แต่ร้อยละ 75 ขึ้นไป และ ปฏบิ ตั ิทุกพฤติกรรม 3อ2ส (ตอนท่ี 8) 3 วันตอ่ สปั ดาหข์ ึ้นไป 2.) มคี วามรอบรดู้ ้านสุขภาพปานกลาง คอื ร้จู ัก คอื มคี ะแนนรวมในตอนที่ 1–8 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 75 แต่ ปฏิบตั ทิ กุ พฤติกรรม 3อ2ส (ตอนที่ 8) 3 วนั ตอ่ สปั ดาหข์ ึ้นไป หรือ รแู้ จง้ หมายถงึ มคี ะแนนรวมในตอนท่ี 1–8ต้ังแต่ รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป ปฏบิ ัตทิ ุกพฤตกิ รรมในตอนท่ี 8 3 วันตอ่ สปั ดาห์ข้ึนไป 3.) มีความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพต่า คอื มี คะแนนรวมในตอนที่ 1 – 8 นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75 และ ปฏิบตั ทิ กุ พฤตกิ รรม 3อ2ส (ตอนที่ 8) นอ้ ยกวา่ 3 วันตอ่ สัปดาห์หรอื ปฏบิ ัติ 3 วนั ตอ่ สัปดาหข์ ึน้ ไปเพียงบางพฤติกรรม ส่วนที่ 3 แบบฟอร์มบนั ทึกข้อมลู เจ้าหนา้ ที่ จะมรี ะดับอัตราการกรองไตของปี 2563 และปี 2564 และ ระยะของโรคไตเร้อื รงั ยอ้ นหลงั อย่างน้อย 1 ปี วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
259 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ัยส่วนที่ 2 นามาจาก แบบวัดความรูแ้ จง้ แตกฉานด้านสขุ ภาพ สาหรบั ผู้ป่วย โรคเบาหวาน และความดันโลหติ สูง รศ. ดร. ชะนวนทอง ธนสกุ าญจน์ และ คณะ ในปี 2558 (Tanasugarn & Neelapaichit, 2015) โดยส่วนที่เป็นขอ้ คาถามแบบประเมินวัดความสามารถในการอา่ นและทาความเข้าใจ ตวั หนังสือ และตวั เลข วเิ คราะหค์ ุณภาพด้วยอานาจจาแนกคา่ ความยากง่าย มคี ่าเทา่ กบั 0.30 - 0.79 และคา่ ความเทีย่ งแบบความสอดคลอ้ งภายใน โดยวธิ ี Kuder Richardson (KR-20) มีค่าเท่ากบั 0.98 สว่ นขอ้ คาถามท่ีมี ลกั ษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) วิเคราะห์คณุ ภาพแบบวัดด้วย ความเท่ียงแบบความ สอดคล้องภายในโดยวธิ สี ัมประสทิ ธิ์แอลฟาครอนบาค (Chronbach’s Alpha) มคี า่ เท่ากบั 0.97 ขน้ั เตรยี มการ 1.ส่งโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการ วิจัยในคน ของวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง พิจารณาให้ความเห็นชอบในการดาเนินการศึกษา เอกสารรับรองเลขท่ี 179/2563 2.นาแจ้งหนังสือจากโรงพยาบาลงาวถงึ สานักงานสาธารณสขุ อาเภองาว 3.ผู้วิจัยจะดาเนินการติดต่อประสานงานกับผู้อาานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลของอาเภอ งาว จานวน 11 แห่ง และบุคลากรสาธารณสุขที่รับผิดชอบงานดูแลผู้ปว่ ยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อดาเนินการชแ้ี จง อธิบายแนวทางการดาเนินงานวิจัยโดยการใช้แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการบันทึกค่าอัตราการ กรองของไต 4. ดาเนินการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง จากทะเบยี นรายช่ือผู้ป่วย จากทะเบียนรายชอ่ื ผู้ป่วยท่ีอยู่ในเขตพ้ืนที่ โรงพยาบาลงาวและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทุกแห่ง โดยกาหนดจานวนแต่ละแห่งตามสัดส่วนประชากร และคัดเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ จนครบจานวน 147 คน 5.ทาการชีแ้ จงผ้ทู ่เี ก่ยี วข้อง คอื ผอู้ านวยการโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล ผ้ชู ่วยวจิ ยั ในเรอ่ื งการแจง้ ประสานงานกบั กล่มุ ตวั อย่างเพ่อื การนัดหมายในการเกบ็ ข้อมลู และขอความ รว่ มมอื ในการแจ้งกลมุ่ ตวั อย่างให้ ทราบล่วงหน้า ตามแผนดาเนินการเกบ็ ขอ้ มูล อยา่ งนอ้ ย 3 วนั ขนั้ ตอนการเกบ็ รวมรวมขอ้ มูล 1.ผวู้ จิ ยั และผูช้ ว่ ยวจิ ัยดาเนินการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน โดยการแนะนาตัวเอง พรอ้ มชแี้ จงวัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัยให้กลมุ่ ตวั อย่าง และอธิบายการพิทักษ์สทิ ธแิ กก่ ลุ่มตัวอย่าง วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
260 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 2.ผูว้ ิจัยและผูช้ ว่ ยวจิ ยั ดาเนนิ การเกบ็ ขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อยา่ ง เกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยใหก้ ลุ่มตวั อย่างท่มี ี คุณสมบตั ติ ามที่กาหนด ทาแบบประเมนิ ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพและแบบสอบถาม พฤติกรรมสุขภาพ ใช้เวลาเฉลย่ี ในการตอบแบบสอบถามประมาณ 50 นาที 3. ผู้วจิ ัยตรวจสอบความถกู ตอ้ งและครบถว้ นของข้อมูลและนาข้อมูลมาลงรหัส ใหน้ า้ หนักคะแนนตาม เกณฑท์ ต่ี ้ังไว้ แลว้ นาไปวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยโปรแกรมสาเรจ็ รูปตอ่ ไป การวิเคราะหข์ อ้ มลู 1.ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ระดับการรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ การรับข้อมลู ขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพและขอ้ มลู เกี่ยวกบั โรค ไตวายเรื้อรัง วิเคราะห์ด้วยสถติ ิเชงิ พรรณนา ความถแ่ี ละร้อยละ 2. การทดสอบความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปรทีศ่ กึ ษาใช้สถิตไิ ค-สแควร์ (Chi-square tests ) กาหนดระดับ นยั สาคัญที่ระดับ 0.05 การพิทกั ษ์สทิ ธขิ องกลมุ่ ตัวอยา่ งและจรยิ ธรรมวจิ ัย ผู้วิจัยได้นาโครงการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ นาเสนอต่อคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นครลาปาง เลขท่ีจริยธรรม 169/2563 พิจารณาในประเด็นการล่วงละเมิดสิทธิ สวัสดิภาพ และไม่ ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ถูกศึกษาและให้ดาเนินการศึกษาภายในขอบข่ายของโครงร่างการศึกษาท่ีนาเสนอ ผู้ป่วย ได้รับการให้ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา วิธีการเก็บข้อมูล และการสอบถามความสมัครใจ ผู้ป่วยมี สิทธิในการตอบรับหรือปฏิเสธในการเข้าร่วมการศึกษาคร้ังน้ี จะไม่มีผลต่อการรับการบริการ เป็นไปด้วยความ สมัครใจ กลุ่มตัวอย่างสามารถยุติการเข้าร่วมการศึกษาได้ตลอดเวลา สาหรับข้อมูลที่ได้จากการศึกษาจะนาไปใช้ ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาวจิ ัยเท่านั้น วิจัย สิทธใิ นการปกปิดชื่อไม่ให้ปรากฏ โดยการเสนอหรือการอภิปราย ข้อมูลใน รายงาน การวิจัยโดยผู้วิจัยจะเสนอข้อมูลในภาพรวม จะไม่มีการอ้างอิงที่สืบค้นไปยังผู้ร่วมวิจัยได้ หลังจากอาสาสมัครวิจัยรับทราบข้อมูล โดยการอธิบายและเอกสารอย่าง ชัดเจน ผู้วิจัยเปิดโอกาสให้อาสาสมัคร วิจัยสอบถามข้อสงสัยก่อนตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวจิ ัยในคร้งั น้ีดว้ ยตนเอง ซึ่งไม่มีการบงั คับและผู้วิจัยให้เวลาใน การตัดสินใจ ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการศึกษาคร้ังน้ีจะไม่ถูกเปิดเผย เพื่อนามาใชป้ ระโยชน์ทางการศึกษา เท่านั้น โดยจะ นาเสนอข้อมูลที่ได้ในภาพรวม โดยไม่ระบุชื่อของบุคคลที่ให้ข้อมูล อาสาสมัครวิจัยสามารถหยุดหรือยกเลิกในการ จะใหข้ ้อมูลไดท้ ุกครัง้ หากไมป่ ระสงค์ ทีจ่ ะให้ข้อมลู ต่อไป โดยอาสาสมัครวิจยั จะไม่เสียประโยชน์ใดๆทั้งสิน้ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
261 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผลการวจิ ัย กลุม่ ตวั อย่างทั้งหมดอายเุ ฉลยี่ 70.47 ปี อายสุ งู สดุ 96 ปี ตา่ สดุ 40 ปี โดยสว่ นใหญอ่ ยใู่ นกลุ่มอายุระหว่าง 60-69 ปี 56 คน (ร้อยละ 36.70) เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 57.80) มีผู้ป่วยเบาหวานจานวน 21คน คิดเป็นร้อยละ14.30 โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยไตเร้ือรังระยะท่ี3 (ร้อยละ33.30 ของผู้ป่วยเบาหวานท้ังหมด)ผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง 67 คน(ร้อยละ 45.60) ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท่ี3(ร้อยละ38.80 ของผู้ป่วยความดัน โลหิตสูงท้ังหมด) และผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงจานวน 59 คน (ร้อยละ40.10) ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยไต เรื้อรังระยะท3ี่ (ร้อยละ45.80 ของผู้ปว่ ยเบาหวานทง้ั หมด) ดังตารางท1ี่ อัตราการกรองของไตและค่า creatinine ของกลุ่มตัวอย่างเทียบระหว่างปี 2563 และปี 2564 พบว่า ค่าเฉลี่ยของอัตราการรองของไต ปี2563 และ 2564 ลดลงเฉลี่ย 3.30 มล./นาที/1.73ตร.ม. ซ่ีงลดลงอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ และค่าเฉล่ีย creatinine ปี 2563 คือ 1.74mg/dL และปี 2564 คือ 1.89 mg/dL ซึ่งเพ่ิมขึ้น อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ รายละเอียดดังตารางที่ 2 ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานและหรือ ความดันโลหิตสูงที่มีโรคไตวายเร้ือรัง โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับสูง (ผู้ท่ีรู้แจ้งและแตกฉานสูง) ระดับ ปานกลาง (ผู้ท่ีไม่รู้แจ้ง แต่แตกฉาน และ ผู้ท่ีรู้แจ้ง แต่ไม่แตกฉาน) และระดับต่า (ผู้ที่ไม่รู้แจ้งและไม่แตกฉาน) ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพของเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระดับต่า จานวน 69 คน คิด เป็นร้อยละ 46.90 ผู้ที่มีความรอบรู้ดา้ นสุขภาพระดับปานกลางจานวน 54 คนร้อยละ 36.70 และผู้ที่มีความรอบรู้ ด้านสุขภาพระดับสูง มีเพียง 24 คน คิดเป็นร้อยละ 16.30 รายละเอียดดังตารางที่ 3 ระดับของความรอบรู้ด้าน สุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์กับการชะลอไตเส่ือมของผู้ป่วยเบาหวานท่ี ระดับ eGFR < 5 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ตามมาตรฐานการชะลอไตเส่ือมในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเร้ือรัง ไดอ้ ย่างมี นัยสาคญั ทางสถิติ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 4 ตารางท่ี 1 แสดงขอ้ มลู พื้นฐานของกลุ่มตวั อย่าง ปจั จยั จานวน(คน) รอ้ ยละ อายุ (ปี) คา่ เฉลย่ี (Min – Max) 70.47 ( 40 – 96) 3.40 40 – 49 ปี 5 15.60 50 – 59 ปี 23 36.70 60 – 69 ปี 54 21.10 70 – 79 ปี 31 18.40 80 – 89 ปี 27 4.80 90 – 99 ปี 7 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
262 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 1 แสดงข้อมลู พนื้ ฐานของกล่มุ ตัวอย่าง (ต่อ) ปัจจัย จานวน(คน) รอ้ ยละ เพศ 62 42.20 ชาย 85 57.80 หญิง 21 14.30 โรคประจาตวั 7 33.30 เบาหวาน 3 14.30 ไตเรื้อรงั ระยะท1ี่ 7 33.30 ไตเรื้อรงั ระยะท2่ี 3 14.30 ไตเรอื้ รงั ระยะท3ี่ 1 4.80 ไตเรอ้ื รงั ระยะท4ี่ 67 45.60 ไตเรื้อรังระยะท่ี5 9 13.40 ความดันโลหติ สงู 16 23.90 ไตเร้ือรงั ระยะท1่ี 26 38.80 ไตเรื้อรังระยะท2่ี 11 16.40 ไตเรอ้ื รังระยะท3ี่ 5 7.50 ไตเรอ้ื รังระยะท4่ี 59 40.10 ไตเรื้อรังระยะท5ี่ 9 15.20 เบาหวานและความดนั โลหิตสูง 15 25.40 ไตเรอ้ื รังระยะท1ี่ 27 45.80 ไตเรื้อรงั ระยะท2ี่ 5 8.40 ไตเรื้อรังระยะท3ี่ 3 5.10 ไตเรอ้ื รงั ระยะท4ี่ ไตเรื้อรังระยะท5่ี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
263 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน อตั ราการกรองของไตและค่า creatinine เทียบระหว่างปี 2563 และปี 2564 ผลลัพธท์ างคลนิ ิก ปี 2563 ปี 2564 t p-value Mean SD Mean SD อัตราการกรองของไต (Min – Max) (Min – Max) - 3.30 < 0.001 (มล./นาที/1.73 ตร.ม.) 56.37 ± 28.09 52.89 ± 27.62 0.13 0.003 (2.90 – 109.20) (2.6 – 105.10) ค่า Creatinine 1.74 ± 2.13 1.89 ± 2.32 (0.40 – 15.60) (0.40 – 17.20) ตารางท่ี 3 แสดงจานวน และร้อยละ ระดับความรอบรูด้ า้ นสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวานและหรอื ความดนั โลหติ สงู ท่ี มโี รคไตเร้ือรัง ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ จานวน(คน) ร้อยละ 1.สูง ผทู้ ่ีรู้แจง้ และแตกฉานสงู 24 16.40 2.ปานกลาง 2.1 ผูท้ ไ่ี มร่ ้แู จง้ แตแ่ ตกฉาน 54 36.70 3.ตา่ 2.2 ผู้ท่ีรูแ้ จง้ แต่ไม่แตกฉาน 19 12.90 ผูท้ ไี่ ม่รู้แจง้ และไม่แตกฉาน 35 23.80 69 46.90 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
264 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 4 แสดงความสมั พนั ธ์ของระดับความรอบรดู้ า้ นสุขภาพกบั ภาวะไตเสอ่ื มของผูป้ ่วยจากปี 2563 – 2564 ประเมินจากระดับ eGFR ทชี่ ะลอได้ตามมาตรฐานการชะลอไตเสื่อม < 5 มล./นาท/ี 1.73 ตร.ม.) ความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ N (%) การชะลอภาวะไตเส่อื มใน 1 ปี 2 df p ( eGFR ปี 2564 – 2563) N (%) <5 ≥5 สูง 24 (16.40) 6 (25.00) 18 (75.00) 6.024 2 0.049 ปานกลาง 54 (36.70) 24 (44.40) 30 (55.60) ต่า 69 (46.90) 19 (27.50) 50 (72.50) อภปิ รายผล การอภิปรายผลนาเสนอตามประเดน็ ของผลทพ่ี บจากการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดังนี้ จากกลุ่มตวั อย่างของผู้ป่วยผู้ป่วยไตเรอ้ื รังท่มี โี รครว่ มเปน็ ความดันโลหิตสงู หรอื เบาหวาน จานวน 147 คน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับต่า ถึงร้อยละ 46.90 และอยู่ในระดับสูง เพียงร้อยละ 16.3 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพท่ีไม่เพียงพอ (Inadequate health literacy) สอดคลอ้ งการศึกษาของ Costa-Requena และคณะ (Costa-Requena et al., 2017) รายงานพบว่าผู้ปว่ ยไตเร้ือรังที่อยู่ในระดับปานกลางและรุนแรงมีระดับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพท่ีไม่เพียงพอ คิดเป็นจานวนตั้งแต่ร้อยละ 5 จนถึงร้อยละ 60 โดยเมื่อพิจารณาจากข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างใน การศึกษาคร้ังน้ีพบว่าส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่าเป็นจานวนร้อยละ 69.4 สะท้อนถึง ว่าความสามารถในดา้ นการอ่านออกเขียนได้และการเขา้ ใจสารสนเทศเปน็ ปัจจัยหน่ึงที่เกยี่ วข้องกับความรอบรทู้ าง สุขภาพ สอดคล้องกับการศึกษาวิจัยของ DeWalt และคณะ (Dewalt et al., 2004) ท่ีสรุปผลการทบทวน วรรณกรรม พบว่าบุคคลทม่ี ีระดบั ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพตา่ จะส่งผลตอ่ การใชข้ ้อมลู ขา่ วสารและการเข้ารับบรกิ าร สุขภาพ การชะลอความเส่ือมของไตในผู้ป่วยไตเร้ือรังที่มีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน พบว่า ค่าเฉล่ียของอัตราการกรองของไตลดลงจากปี 2563 ถึง 2564 เฉลี่ย 3.48 มล./นาที/1.73ตร.ม. ทั้งน้ีพบว่ามี ค่าเฉล่ีย creatinine เพิ่มข้ึน อาจจะเป็นเพราะ อายุที่เพ่ิมมากขึ้น ระดับความดนั โลหิตหรือระดับน้าตาลที่ควบคุม ไดไ้ ม่ดี ประเภทอาหารทร่ี ับประทาน ตลอดจนผลข้างเคียงจากการใช้ยาของผูป้ ่วย เชน่ ยาแก้ปวด ยาสมุนไพร เปน็ ต้น สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ Polonia และคณะ (Polonia et al., 2017) ทรี่ ายงานผลการศึกษาพบวา่ การลดลง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
265 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ของการทางานของไตมากกว่าร้อยละ 10 จากระดับการกรองของไตเดิมในแต่ละปีในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มี หรือไม่มีโรคร่วมเบาหวานก็ตาม ปัจจัยท่ีพบว่าสัมพันธ์กับการลดลงของอัตราการกรองของไตนอกจากปัจจัยด้าน อายุของผู้ป่วยแล้ว รายงานวิจัยของ Jamshidi และคณะ (Jamshidi et al., 2020) ยังพบข้อมูลว่า น้าหนักตัวที่ มาก การใช้ยาลดความดันโลหิตท่ีมีผลต่อการทางานของไต ระดับความดันโลหิตที่สูงช่วงกลางคืน และระดับ น้าตาลทสี่ ูง มผี ลทาใหอ้ ตั ราการกรองของไตลดลงไดเ้ ช่นเดียวกนั ความรอบรู้ทางสุขภาพมคี วามสัมพันธ์กับการชะลอการเส่อื มของไตในผปู้ ่วยไตเร้ือรงั ท่มี ีโรคร่วมเป็นความ ดันโลหิตสูงหรือเบาหวานซ่ึงความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและระยะของไตปี 2563 เทียบกับปี 2564 กลุ่มท่ีมีความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่เพียงพอมีอัตราการกรองของไตท่ีเสื่อมมากข้ึนไปสู่ระยะท่ี 4 และ 5 มากกว่ากลุ่มท่ีมีความรอบรู้ด้านสุขภาพท่ีสูงกว่าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ สอดคล้องกับงานวิจัยทบทวน วรรณกรรมอย่างเป็นระบบ (Systematic Review) ของ Boonstra et al. (2020) และ Taylor et al. (2018) พบว่ากลุ่มของผู้ท่ีมีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่เพียงพอมีการเส่ือมของอัตราการกรองไตที่เร็วกว่ากลุ่มที่มี ความรอบรู้ด้านสุขภาพสูง เช่นเดียวกับรายงานผลงานวิจัยของ Ricardo และคณะ (Ricardo et al., 2014) ได้ ทาการศึกษาวจิ ัยในประเทศสหรัฐอเมริกา พบวา่ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพท่ีจากัดหรือระดับต่ามีความสัมพันธ์ กบั ระดบั อัตราการกรองของไตทตี่ ่ามากข้นึ อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ เชน่ เดยี วกัน ข้อจากดั ของงานวิจัย จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ทาการศึกษาอาจมีขนาดน้อย ถงึ แม้จะใช้ผู้ปว่ ยทั้งอาเภอและผ่านการคานวณขนาด กลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยความน่าจะเป็นแล้วก็ตาม แต่เม่ือพิจารณาจากข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างยังพบว่าการ กระจายของข้อมูลส่วนบคุ คลยังน้อยในด้านอายุ ซึ่งพบว่ากลุ่มตวั อย่างถึงร้อยละ 81 เป็นผู้สูงอายุ การศึกษาตั้งแต่ ประถมศึกษาลงไปถึงร้อยละ 80.3 ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวถือว่าเป็นปัจจัยที่เก่ียวข้องกับระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ นอกจากน้ีการใช้แบบประเมินที่วัดความรอบรู้ด้านสุขภาพสาหรับโรคเบาหวานหรือความดันโลหิต ไม่ได้มีการ ประเมินท่ีเหมาะสาหรับโรคไตเร้อื รังโดยเฉพาะ และในปจั จบุ นั ยังไม่มแี บบสอบถามความรอบรูด้ ้านสุขภาพสาหรับ ผู้ป่วยไตเร้ือรังในฉบับภาษาไทย ซ่ึงข้อจากัดเหล่านี้อาจจะส่งผลต่อการเก็บข้อมูลในการวัดระดับความรอบรู้ด้าน สุขภาพในผปู้ ่วยโรคไตได้ ข้อเสนอแนะและการนาผลการศึกษาไปใช้ 1.เนื่องจากผลวิจัยสะท้อนว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐานต่า ( Functional Health Literacy) ดังนั้นสิ่งที่ต้องมุ่งเน้นคือการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโดยแก้ไขปัญหาแยกตาม วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
266 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) รายบุคคลและแยกตามความรอบรดู้ า้ นสุขภาพขัน้ พนื้ ฐานในแตล่ ะด้าน เชน่ ดา้ นการอ่านศัพทพ์ นื้ ฐานและการอ่าน ตัวเลข ดา้ นการค้นหาข้อมูลสุขภาพ ด้านปฏิสัมพนั ธ์ เป็นต้น ซึ่งควรมีโปรแกรมพิเศษสาหรับผู้ปว่ ยกลุ่มนี้ โดยอาจ ใหผ้ ดู้ ูแลหรอื ครอบครวั เขา้ มามีสว่ นร่วมในการทากจิ กรรมเพือ่ ให้สามารถช่วยเหลอื พฤตกิ รรมสุขภาพของผปู้ ่วยได้ดี ขึ้น รวมไปถึงการเปล่ียนแปลงบริบท สภาพแวดล้อมของผู้ป่วยด้วย จึงเป็นจุดท่ีควรมีการพัฒนาในส่วนนี้เพ่ือให้ ผูป้ ่วยมรี ะดับความรอบรู้ด้านสุขภาพท่ีดขี ึ้น 2.ในข้ันตอนการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบวัดความรอบรู้ด้านสุขภาพสาหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความ ดนั โลหิตสงู แบบวดั ความรแู้ จ้งแตกฉานดา้ นสขุ ภาพ สาหรบั ผปู้ ่วยโรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สงู ” พบวา่ กลุ่ม ตัวอย่างมีปัญหาเร่ืองการอา่ นและความเข้าใจ แม้ว่าจะมีผู้ช่วยเป็นผู้อ่านให้ฟังก็ยังมีปัญหาเร่ืองของความเข้าใจใน ชุดคาถาม ทั้งนี้อาจมาจากวัฒนธรรมทางด้านภาษาถ่ิน จึงควรพัฒนาเคร่ืองมือแบบประเมินความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพใหเ้ หมาะสมกบั ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรงั โดยเฉพาะ และเหมาะสมกับบริบทวฒั นธรรมในชมุ ชนด้วย 3. เนื่องจากการเก็บข้อมูลของการได้รับข้อมูลข่าวสารดา้ นสุขภาพเกี่ยวกับโรคไตเร้ือรังโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูง พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารจากเจ้าหน้าที่ ดังน้ัน เจ้าหน้าท่ีจึงเป็นกลุ่มบุคคลท่ีต้อง พัฒนาศักยภาพเพ่อื ช่วยผู้ป่วยช้ีใหเ้ ห็นความสาคัญของการควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพอ่ื ไม่ใหเ้ กดิ ภาวะแทรกซอ้ น 4. งานวิจัยนี้สะท้อนว่าการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับเส่ือมของไตในเรื่องของโรคไต เรื้อรังที่มีโรคร่วมเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงได้ ดังนั้นสิ่งท่ีตอ้ งมุ่งเนน้ คอื การสร้างความรอบรดู้ ้านสุขภาพ ให้แก่ผู้ป่วยโดยแยกตามรายด้าน เช่น ด้านความรู้ ด้านการตัดสินใจ หรือด้านการปฏิบัติตัวตามหลัก 3อ 2ส รวม ไปถึงการเปล่ยี นแปลงบรบิ ท สภาพแวดล้อมของผู้ป่วยดว้ ย ข้อเสนอแนะในการศึกษาครง้ั ต่อไป ในการศึกษาวิจัยความรอบรู้ทางสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังคร้ังต่อไป ควรมีการศึกษาและพัฒนา เครื่องมือแบบประเมินความรอบรู้ทางสุขภาพท่ีเหมาะสมและจาเพาะกับผู้ป่วยไตเรื้อรังโดยโรคไต ในบริบท ประเทศไทยและตามวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ ทั้งในระดับบุคคล ผู้ดูแล ครอบครัวของผู้ป่วยและชุมชนรอบรู้ สุขภาพโรคไต อีกท้ังการศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบตัดขวาง( cross-sectional design) ซ่ึงเป็นการเก็บข้อมูลครั้ง เดียวจึงควรเพิ่มเติมแบบระยะยาวเพื่อทราบแนวโน้มของ การเปลี่ยนแปลงความรอบรู้ด้านสุขภาพและการ เปลีย่ นแปลงของอัตราการกรองของไต วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
267 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) เอกสารอ้างอิง Boonstra, M. D., Reijneveld, S. A., Foitzik, E. M., Westerhuis, R., Navis, G., & de Winter, A. F. (2020). How to tackle health literacy problems in chronic kidney disease patients? A systematic review to identify promising intervention targets and strategies. Nephrology Dialysis Transplantation, 36(7), 1207-1221. https://doi.org/10.1093/ndt/gfaa273 Costa-Requena, G., Moreso, F., Carmen Cantarell, M., & Serón, D. (2017). Health literacy and chronic kidney disease [10.1016/j.nefroe.2017.04.009]. Nefrología (English Edition), 37(2), 115-117. https://doi.org/10.1016/j.nefroe.2017.04.009 Devraj, R., Borrego, M., Vilay, A. M., Gordon, E. J., Pailden, J., & Horowitz, B. (2015). Relationship between Health Literacy and Kidney Function. Nephrology (Carlton), 20(5), 360-367. https://doi.org/10.1111/nep.12425 Dewalt, D. A., Berkman, N. D., Sheridan, S., Lohr, K. N., & Pignone, M. P. (2004). Literacy and health outcomes: a systematic review of the literature. J Gen Intern Med, 19(12), 1228-1239. https://doi.org/10.1111/j.1525-1497.2004.40153.x Go, A. S., Yang, J., Tan, T. C., Cabrera, C. S., Stefansson, B. V., Greasley, P. J., Ordonez, J. D., & Kaiser Permanente Northern California, C. K. D. O. S. (2018). Contemporary rates and predictors of fast progression of chronic kidney disease in adults with and without diabetes mellitus. BMC nephrology, 19(1), 146-146. https://doi.org/10.1186/s12882-018-0942-1 Hill, N. R., Fatoba, S. T., Oke, J. L., Hirst, J. A., O'Callaghan, C. A., Lasserson, D. S., & Hobbs, F. D. R. (2016). Global Prevalence of Chronic Kidney Disease - A Systematic Review and Meta-Analysis. PloS one, 11(7), e0158765-e0158765. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0158765 Ingsathit, A., Thakkinstian, A., Chaiprasert, A., Sangthawan, P., Gojaseni, P., Kiattisunthorn, K., Ongaiyooth, L., Vanavanan, S., Sirivongs, D., Thirakhupt, P., Mittal, B., & Singh, A. K. (2010). Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai adult population: Thai SEEK study. Nephrol Dial Transplant, 25(5), 1567-1575. https://doi.org/10.1093/ndt/gfp669 Ishikura, K., Obara, T., Kikuya, M., Satoh, M., Hosaka, M., Metoki, H., Nishigori, H., Mano, N., Nakayama, M., Imai, Y., Ohkubo, T., & on behalf of the, J. H.-M. S. g. (2016). Home blood pressure level and decline in renal function among treated hypertensive patients: the J-HOME-Morning Study. Hypertension Research, 39(2), 107-112. https://doi.org/10.1038/hr.2015.110 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
268 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Jamshidi, P., Najafi, F., Mostafaei, S., Shakiba, E., Pasdar, Y., Hamzeh, B., & Moradinazar, M. (2020). Investigating associated factors with glomerular filtration rate: structural equation modeling. BMC nephrology, 21(1), 30. https://doi.org/10.1186/s12882-020-1686-2 Kanjanabuch, T., & Takkavatakarn, K. (2020). Global Dialysis Perspective: Thailand. Kidney360, 1(7), 671- 675. https://doi.org/10.34067/kid.0000762020 Polonia, J., Azevedo, A., Monte, M., Silva, J. A., & Bertoquini, S. (2017). Annual deterioration of renal function in hypertensive patients with and without diabetes. Vascular health and risk management, 13, 231-237. https://doi.org/10.2147/VHRM.S135253 Ricardo, A. C., Yang, W., Lora, C. M., Gordon, E. J., Diamantidis, C. J., Ford, V., Kusek, J. W., Lopez, A., Lustigova, E., Nessel, L., Rosas, S. E., Steigerwalt, S., Theurer, J., Zhang, X., Fischer, M. J., & Lash, J. P. (2014). Limited health literacy is associated with low glomerular filtration in the Chronic Renal Insufficiency Cohort (CRIC) study. Clin Nephrol, 81(1), 30-37. https://doi.org/10.5414/cn108062 Sabanayagam, C., Shankar, A., Lim, S. C., Tai, E. S., & Wong, T. Y. (2011). Hypertension, Hypertension Control, and Chronic Kidney Disease in a Malay Population in Singapore. Asia Pacific Journal of Public Health, 23(6), 936-945. http://www.jstor.org/stable/26724181 Tanasugarn, C., & Neelapaichit, N. (2015). Development tools Health literacy in patients with diabetes & hypertension (D. o. H. S. Support, Ed.). Ministry of Public Health. Taylor, D. M., Fraser, S., Dudley, C., Oniscu, G. C., Tomson, C., Ravanan, R., & Roderick, P. (2018). Health literacy and patient outcomes in chronic kidney disease: a systematic review. Nephrol Dial Transplant, 33(9), 1545-1558. https://doi.org/10.1093/ndt/gfx293 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) คาแนะนาการสง่ ตน้ ฉบับเพ่อื พิจารณาตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หรือ Journal of Health Science Scholarship (JOHSS) เป็น วารสารท่ีเป็นสื่อกลางในการนาเสนอผลงานทางวชิ าการและงานวจิ ัย เพ่ือสนับสนุนและยกระดับขีดความสามารถ ในการผลิตและสร้างองค์ความรู้วารสารมีนโยบายการเผยแพร่บทความที่มีคุณภาพ ด้านสุขภาพและสาธารณสุข ซ่ึงนิพนธ์โดยพยาบาล แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร นักกายภาพบาบัด ฯลฯ ซ่ึงปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข สาธารณสุขชุมชน อนามัยส่ิงแวดล้อม และบทความด้านการพยาบาลท่ัวไป ทฤษฎีการพยาบาลและการวิจัยการ พยาบาลข้ันสูงและการพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีผู้นิพนธ์จากทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เป็นวารสารรายหก เดือนหรอื ครึ่งปี กาหนดการออกวารสาร ฉบับที่ 1 (มกราคม-มถิ ุนายน) และฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธนั วาคม) เรื่องท่ีส่งเพ่ือพิจารณาตีพิมพ์ต้องเป็นงานวิชาการด้านการพยาบาล ด้านการแพทย์ และด้านสาธารณสุข รับบทความประเภท บทความวิจัย (Research article) บทความวิชาการ (Academic article) บทความปริทัศน์ (Review article) บทความที่เสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ จะได้รับการประเมินแบบไม่เปิดเผยตัวตนสองทาง (double-blind review) โดยผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย 2 ท่าน บรรณาธิการจะพิจารณาข้อเสนอแนะในการปรับแก้ก่อน ที่ผู้เขียนจะ ได้รับแจ้งขอ้ เสนอแนะดังกล่าวผลการพจิ ารณาจากกองบรรณาธิการถอื เปน็ สน้ิ สุด บทความต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ท่ีใดมาก่อนและต้องไม่อยู่ระหว่างการเสนอเพ่ือพิจารณาตีพิมพ์ใน วารสารฉบบั อน่ื ประเภทของบทความที่รบั พจิ ารณาเพ่ือเผยแพร่ 1. บทความวิจัย (Research article) คือ รายงานผลการศึกษา ค้นคว้า วจิ ัย หรือ การพัฒนาอย่างเปน็ ระบบ ควรประกอบด้วย 1.1 ชื่อเรอื่ ง ท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 1.2 ช่อื ผเู้ ขยี นพร้อมชือ่ หนว่ ยงานที่สังกดั ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษกรณมี ีผู้ร่วมวิจยั หลายคน ให้ระบุผู้รับผิดชอบบทความ (correspond-ing author) พร้อมหมายเลขโทรศัพท์เคล่ือนท่ีและ email address พรอ้ มทัง้ ชื่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษของผรู้ ่วมวิจยั ทกุ คนในบทความ 1.3 บทคัดย่อ ทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยต้องระบถุ ึงแบบแผนการวิจัย วตั ถปุ ระสงค์ ประชากรและตัวอย่าง เคร่ืองมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู และผลการวจิ ยั ความยาวไม่เกิน 250 คา 1.4 คาสาคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 1.5 บทนา (ทแ่ี สดงถงึ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาหรือภมู ิหลังของงานท่ีศกึ ษา) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 1.6 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา คาถามการวิจัย หรอื สมมติฐานการวิจยั (ถ้าม)ี 1.7 ขอบเขตการศึกษา ควรระบุให้ครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหาหรือตัวแปร ด้านประชากร และกลมุ่ ตวั อยา่ ง ด้านพนื้ ที่และด้านระยะเวลา 1.8 นิยามศพั ท/์ กรอบแนวคิด (ถา้ มี) 1.9 ระเบยี บวิธวี ิจยั หรอื วิธีดาเนินการวิจยั (Methods) ใหบ้ อกรายละเอยี ดของสิ่งทนี่ ามาศกึ ษา เริ่มด้วยรูปแบบแผนการศึกษา (study design) เซ่น descriptive หรือ quasi-experiment แล้วระบุประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง การได้มาซ่ึงกลุ่มตัวอย่าง เซ่น การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายหรือแบบหลาย ขั้นตอน รวมถึงวิธีหรือมาตรการที่ใช้ศึกษา (interventions) เคร่ืองมือที่ใช้ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ การ ทดสอบความน่าเชื่อถือ วธิ ีการเก็บข้อมูล ระยะเวลาที่ใชใ้ นการเก็บข้อมูล วิธีวเิ คราะห์ข้อมูล สถิตทิ ่ีใช้ ซ่ึงอาจเป็น วิธีการเชิงคุณภาพหรือวิธีการเชิงปริมาณขึ้นอยู่กับประเภทของการวิจัย การพิทักษ์สิทธ์ิกลุ่มตัวอย่างซ่ึงการวิจัยท่ี ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการการวิจัยในมนุษย์ (Ethical committee approval) โปรดระบุวา่ ผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการชุดใดบ้างและเมือ่ ไร และใหร้ ะบุเลขท่ีที่ ไดร้ ับการอนมุ ัตจิ ากคณะกรรมการวจิ ัยดังกล่าว 1.10 ผลการศกึ ษา แสดงผลของการวจิ ัย และข้อมูลตา่ งๆ ที่ไดจ้ ากการศึกษาวิจยั นน้ั ๆ อาจมภี าพ ตาราง และแผนภมู ปิ ระกอบให้ชัดเจน เข้าใจได้ง่าย ไมค่ วรเสนอตารางเป็นภาพถา่ ย 1.11 การอภิปรายผล รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะบนพืน้ ฐานของผลงานวิจัย 1.12 กติ ติกรรมประกาศ (Acknowledgement) (ถา้ มี) มยี อ่ หนา้ เดยี วเป็นแจ้งใหท้ ราบว่ามกี าร ช่วยเหลอื หรือมีผสู้ นบั สนนุ ทนุ การวจิ ยั ทีส่ าคัญจากที่ใดบ้าง 1.13 เอกสารอา้ งองิ (Reference) คือ รายการเอกสารอ้างอิงต้องเป็นภาษาองั กฤษทงั้ หมด หาก เอกสารอ้างองิ มีตน้ ฉบับเปน็ ภาษาไทย ผเู้ ขยี นต้องแปลรายการเอกสารอ้างองิ นนั้ เป็นอังกฤษ และเพมิ่ “(in Thai)” ท้ายรายการอ้างอิงนั้นๆ ด้วย (รายละเอียดวิธีการอ้างอิงให้ดูในหัวข้อการเขียนอ้างอิง) การอ้างอิงเอกสารให้ใช้ ระบบ APA style โดยทาเป็นวงเลบ็ วางไว้หลังข้อความหรือหลงั ช่ือบุคคลเจ้าของข้อความที่อ้างถึง ทุกรายการให้ เขียนเป็นภาษาอังกฤษ (รายละเอยี ดในหัวข้อการเขียนเอกสารอ้างอิง) การเรียงลาาดับรายการเอกสารอ้างอิงท้าย เรอ่ื ง ใหเ้ รยี งลาดบั ตามตวั อกั ษร A------->Z 2. บทความวิชาการ (Academic articles) คือ งานเขียนซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจ เป็นความรู้ใหม่ กล่าวถึง ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ แนวทางการแก้ปัญหา มีการใช้แนวคิดทฤษฎี ผลงานวิจัยจาก แหลง่ ข้อมลู เช่น หนังสือวารสารวิชาการ อนิ เทอรเ์ นต็ ประกอบการวเิ คราะห์ วิจารณ์ เสนอแนวทางการแก้ไข ควร ประกอบด้วย 2.1 ชอ่ื เรอื่ ง ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.2 ชือ่ ผู้เขียนพรอ้ มชอ่ื หนว่ ยงานทีส่ งั กัดท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษกรณมี ผี ้รู ว่ มวจิ ัยหลายคน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ให้ระบุผู้รับผิดชอบบทความ (correspond-ing author) พร้อมหมายเลขโทรศัพท์เคล่ือนที่และ email address พร้อมท้งั ชือ่ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษของผรู้ ว่ มวจิ ยั ทุกคนในบทความ 2.3 บทคดั ย่อ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษโดยตอ้ งระบถุ งึ วตั ถปุ ระสงค์ หัวสาคญั ที่นาเสนอ และข้อเสนอแนะ โดยเน้ือหาในบทคดั ย่อความยาวไม่เกนิ 250 คา 2.4 คาสาคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2.5 บทนา (ทแี่ สดงเหตผุ ลหรอื ท่ีมาของประเดน็ ทตี่ ้องการอธิบายหรือวเิ คราะห์) 2.6 เนอ้ื หาของบทความ จะเปน็ การอธิบายหรอื วิเคราะหป์ ระเด็นตามหลกั วิชาการ โดยมีการ สารวจเอกสารหรืองานวิจัยเพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ อาจเป็นการนาความรู้ จากแหล่งต่างๆ มาประมวลร้อยเรียงเพือ่ วเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบ โดยผู้เขียนสามารถแสดงทัศนะทางวชิ าการของ ตนเองไว้อย่างชัดเจนด้วย ส่วนสุดท้ายจะเป็นส่วนสรุปและข้อเสนอแนะ มีการเขียนเอกสารอ้างอิงที่ครบถ้วน สมบูรณ์ 2.7 References คือ รายการเอกสารอ้างองิ ต้องเปน็ ภาษาอังกฤษทั้งหมด หากเอกสารอา้ งองิ มี ต้นฉบับเป็นภาษาไทย ผู้เขียนต้องแปลรายการเอกสารอ้างอิงนั้นเป็นอังกฤษ และเพ่ิม “(in Thai)” ท้ายรายการ อ้างอิงนัน้ ๆ ดว้ ย (รายละเอยี ดวิธกี ารอ้างองิ ใหด้ ูในหวั ข้อการเขยี นอ้างอิง) 3. บทความปริทัศน์ (Review Article) คือ บทความที่มีการผสมผสานแนวคิด และผลการวิจัยหลายๆ งานวิจัย โดยผู้เขียนจะสังเคราะห์แนวคิดเหล่านี้ ตลอดจนสังเคราะห์ผลการวิจัยจากงานวิจัยต่างๆ เพ่ือประมวล เป็นข้อโต้แย้งในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง โดยวัตถุประสงค์ของการเขียนบทความปริทัศน์ คือ เป็นการสรุป วเิ คราะห์ และ สังเคราะห์ความรู้ทั้งทางกว้างและทางลึกอย่างทันสมัยจากผลงานวิจัยอ่ืนๆ และ/หรือผลงานวิชาการอ่ืนๆจนถึง ปัจจุบัน เพ่ือเป็นการทบทวนการก้าวหน้าทางวิชาการของเร่ืองนั้นๆ โดยให้ข้อวิพากษ์ที่ช้ีให้เห็นแนวโน้มที่ควร ศึกษาและพัฒนาตอ่ ไป ควรประกอบด้วย 3.1 ชือ่ เรื่อง ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 3.2 ชือ่ ผูเ้ ขยี นพร้อมชือ่ สงั กดั ทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และขอใหร้ ะบุผ้รู ับผดิ ชอบบทความ (corresponding author) พรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์เคลอื่ นทแ่ี ละ email address 3.3 บทคัดย่อ ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 3.4 คาสาคญั ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 3.5 บทนาเพ่อื กล่าวถงึ ความนา่ สนใจของเรอ่ื งที่นาเสนอก่อนเข้าสเู่ นื้อหาในแต่ละประเด็น 3.6เนื้อหาของบทความจะนาเสนอในแต่ละประเด็นและต้องมีบทสรุปเรื่องที่เสนอ พร้อม ข้อเสนอแนะจากผู้เขียนเก่ียวกับเร่ืองดังกล่าวสาหรับให้ผู้อ่านได้พิจารณาประเด็นท่ีน่าสนใจต่อไป ผู้เขียนควร ตรวจสอบเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้องกับบทความท่ีนาเสนออย่างละเอียด โดยเฉพาะอย่างย่ิงเนื้อหาที่ใหม่ท่ีสุด ข้อมูลที่ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) นาเสนอจะต้องไม่จาเพาะเจาะจงเฉพาะผู้อ่านทอ่ี ย่ใู นสาขาของบทความเทา่ น้ัน แตต่ ้องนาเสนอขอ้ มูลทีซ่ งึ่ ผอู้ า่ นใน สาขาอ่นื สามารถเข้าใจได้ 3.7 บทสรุปหรือวจิ ารณ์ 3.8 References คือ รายการเอกสารอ้างอิง ต้องเป็นภาษาอังกฤษท้ังหมด หากเอกสารอ้างอิงมี ต้นฉบับเป็นภาษาไทย ผู้เขียนต้องแปลรายการเอกสารอ้างอิงน้ันเป็นอังกฤษ และเพ่ิม “(in Thai)” ท้ายรายการ อ้างองิ น้นั ๆ ด้วย (รายละเอียดวิธกี ารอา้ งอิงให้ดูในหัวข้อการเขยี นอ้างอิง) ท้ังบทความวิจัย (Research Article) บทความวิชาการ (Journal Article) บทความปริทัศน์ (Review Article) และบทวิจารณ์บทความ (Article Review) ผู้นิพนธ์กรุณาแนบหนังสือขอเสนอบทความใน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ซึ่งอยู่ด้านหลังสุดของเอกสารชุดนี้ ทั้งนี้ความยาวของเร่ืองไม่ควรเกิน 20 หน้า (รวมเอกสารอ้างอิง) ขนาดกระดาษ A4 (รปู แบบอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 16) การเตรียมบทความต้นฉบบั ทุกบทความท้งั บทความวิจัยและบทความวชิ าการทีส่ ่งตีพิมพ์ที่วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื จะตอ้ งไม่ เคยได้รับการเผยแพร่ ตีพิมพ์ หรือได้ส่งไปพิจารณาคุณภาพบทความในวารสารอ่ืนๆ มาก่อน และขอให้ผู้นิพนธ์ ปฏิบัติตามแนวทาง ประกาศ และนโยบายของวารสารฯ ในการส่งบทความมาตีพิมพ์เผยแพร่ เพื่อมาตรฐานและ คุณภาพของวารสารต่อไป การรับบทความต้นฉบับ ระบบจะรับไฟล์ MS Words เท่าน้ัน และต้องไม่มี file protection เนอ่ื งจาก reviewer อาจจะให้ความเหน็ โดยใช้ Track Changes หรอื New Comment รายละเอียดการเตรียมต้นฉบับ ต้นฉบับหลัก: ต้นฉบับจะต้องมีเน้ือเรื่องสมบูรณ์ พิมพ์ต้นฉบับ ด้วยกระดาษ A4 หน้าเดียว เขียนเป็น ภาษาไทยมีความยาวไม่เกิน 15-20 หน้า และเว้นระยะขอบอย่างน้อย 2.5 ซม. ทางด้านซ้ายและด้านบนของ หน้ากระดาษ และเว้นระยะของ 2 ซม. ทางด้านขวาและด้านล่างของหน้ากระดาษ ให้ผู้นิพนธ์ใช้ TH SarabunPSK ขนาดตัวอักษร 16 ตลอดท้ังตน้ ฉบบั ยกเว้น Title ทีม่ ขี นาดตัวอักษร 18 ตน้ ฉบบั หลกั ควรประกอบด้วย: 1. ช่ือเรื่อง/บทความ ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ต้องกะทัดรัดและส่ือเป้าหมายหลักของ การศึกษา ไมใ่ ช้คาย่อ โดยแยกหนา้ ภาษาองั กฤษ 1 หนา้ และภาษาไทย 1 หน้า (โดยให้หน้าภาษาองั กฤษข้นึ กอ่ น) ช่ือเรื่องควรกะทัดรัดไม่ยาวจนเกินไป ภาษาไทย TH SarabunPSK ขนาด 18 ตัวหนา และภาษาอังกฤษ TH SarabunPSK ขนาด 18 ตัวหนา 2. ช่อื ผู้นิพนธ์ โดยให้ระบุชอื่ -นามสกุลเต็มของผู้นิพนธท์ ี่เกี่ยวขอ้ งทั้งหมด ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ของแต่ละคนท่ีมีส่วนในงานวิจัยน้ันโดยเรียงตามลาดับความสาคัญ ขนาดตัวอักษร TH SarabunPSK 16 ระบุ สถานท่ีทางาน (Affiliation) หรือหน่วยงานท่ีปฏิบัติงานในปัจจบุ นั และจังหวดั ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ไม่ใช้คาย่อ ท้ังนี้ในกรณีมีมากกว่าหนึ่งสังกัด ขอให้ระบุมาเพียงสังกัดเดียว เมื่อมีผู้เขียนหลายคน และอยู่คนละ สงั กดั ให้ใชส้ ญั ลักษณ์ต่อไปน้ีตามลาดับเพือ่ แยกสังกดั *, ** โดยใหร้ ะบุเป็นเชงิ อรรถในหนา้ นัน้ ๆ 2.1 ชื่อผู้นิพนธ์ ไม่ใส่ตาแหน่งวิชาการ ยศ ตาแหน่งทหาร สถานภาพทางการศึกษา หรือ คา นาหน้าชื่อ หรือท้ายชื่อ เช่น นาย นาง นางสาว ผศ.ดร., Ph.D.., ร.ต.ต., พ.ต.ท. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.., ผู้อานวยการ…, คณบดีคณะ…, 2.2 ใส่เครื่องหมายดอกจัน (*,**,***,****) เป็นตัวยกกากับท้ายนามสกุลของผู้แต่งทุกคน และ ตัวเลขกากับตัวยก (1) เฉพาะผู้ประพันธ์บรรณกิจ (Corresponding author), อีเมล (E-mail Address) : ให้ใส่ เฉพาะผูป้ ระพนั ธ์บรรณกิจ 3. บทคัดย่อ ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นเนื้อความย่อตามลาดับโครงสร้างของบทความ ไดแ้ ก่ ความเป็นมาและเหตผุ ล วตั ถุประสงค์ ระเบยี บวิธีศึกษา กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือท่ีใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ บทคัดย่อภาษาไทยไม่ควร เกิน 1 หน้ากระดาษ และ ภาษาอังกฤษ ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ เช่นเดียวกัน ใช้ภาษารัดกุม เป็นประโยคสมบูรณ์มีความหมายในตัวเอง โดยไม่ต้องหาความหมายตอ่ ไมค่ วรมคี ายอ่ ในภาษาอังกฤษและต้องเป็นประโยคอดีต 4.คาสาคัญ ใหม้ ีทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษวางไวท้ า้ ยบทคดั ย่อ และ Abstract 5. บทนา เป็นการแสดงถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ภูมิหลังและเหตุผล (background and rationale) เป็นส่วนของบทความท่ีบอกเหตุผลท่ีนาไปสู่การศึกษา ทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวกับจุดมุ่งหมาย ของการศกึ ษา เปน็ ส่วนทีอ่ ธบิ ายใหผ้ ู้อ่านทราบถึงปัญหา ลกั ษณะและขนาดของปญั หาที่นาไปสู่ความจาเป็นในการ ศึกษาวิจัยให้ได้ผลเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคาถามที่ต้งั ไว้ หากมีทฤษฎีท่ีจาเปน็ ที่ต้องใชใ้ นการศึกษาอาจวางพ้ืนฐาน ไวใ้ นส่วนน้ี 6. วัตถปุ ระสงค์การศึกษา คาถามการวจิ ัย หรอื สมมตฐิ านการวจิ ัย (ถ้าม)ี 7. ขอบเขตการศึกษา ควรระบุให้ครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเน้ือหาหรือตัวแปร ด้านประชากรและกลุ่ม ตัวอยา่ ง ด้านพ้ืนท่แี ละดา้ นระยะเวลา 8. นิยามศัพท์/กรอบแนวคิด (ถ้ามี) โดยกรอบแนวคิด ควรมีแนวคิดทฤษฏีที่นามาใช้ในการศึกษา ประกอบดว้ ย 9. วิธีดาเนินการวิจัย หรือ ระเบียบวิธีวิจัย ให้บอกรายละเอียดของส่ิงที่นามาศึกษา เริ่มด้วยรูปแบบ แผนการศึกษา (study design) เซ่น descriptive หรือ quasi-experiment แล้วระบุประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง เช่น การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายหรือแบบหลายข้ันตอน รวมถึงวิธีหรือ มาตรการที่ใช้ศึกษา (interventions) เครื่องมือท่ีใช้ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ การทดสอบความน่าเชื่อถือ วิธีการเก็บข้อมูล ระยะเวลาท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล สถิติท่ีใช้ ซึ่งอาจเป็นวิธีการเชิงคุณภาพหรือ วธิ ีการเชิงปรมิ าณขน้ึ อย่กู บั ประเภทของการวจิ ัย วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 10.มาตรฐานจริยธรรมการวิจัยและการพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงการวิจัยท่ีตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ สุขภาพภาคเหนือต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการการวิจัยในมนุษย์ (Ethical committee approval) โปรดระบุว่าผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการชุดใดบ้างและเมื่อไร และให้ระบุเลขที่ที่ได้รับการอนุมัติจ าก คณะกรรมการวจิ ัยดังกล่าว 11 ผลการศึกษา แสดงผลของการวิจัย และข้อมูลต่างๆ ท่ีได้จากการศึกษาวิจัยนั้นๆ อาจมีภาพ ตาราง และแผนภูมิประกอบให้ชดั เจน เขา้ ใจได้งา่ ย ไมค่ วรเสนอตารางเปน็ ภาพถา่ ย 12 การอภิปรายผล เป็นการให้ข้อวิจารณ์เก่ียวกับผลการศึกษาท่ีเกิดขึ้น รวมถึงการให้ข้อเสนอแนะบน พ้ืนฐานของผลงานวิจัย รวมทั้งควรให้ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ และข้อเสนอแนะในการศึกษาคร้ัง ตอ่ ไปด้วย 13 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) (ถ้ามี) มีย่อหน้าเดียวเป็นแจ้งให้ทราบว่ามีการช่วยเหลือ หรือมผี ูส้ นับสนนุ ทุนการวิจยั ท่ีสาคัญจากท่ีใดบา้ ง 14 เอกสารอ้างอิง (Reference) เป็นการแสดงถึงแหล่งท่ีมาของข้อมูลที่ถูกนามาอ้างอิงข้ึนมาใช้ในการ วิจัย เพื่อเป็นการแสดงว่าไม่ได้นาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง รายการเอกสารอ้างอิงในวารสารวิชาการ สุขภาพภาคเหนือเป็นภาษาองั กฤษทั้งหมด หากเอกสารอ้างอิงมีต้นฉบับเป็นภาษาไทย ผู้เขียนตอ้ งเปลี่ยนรายการ เอกสารอ้างอิงให้เป็นอังกฤษท่ีตรงตามต้นฉบับและเพิ่ม “(in Thai)” ท้ายรายการอ้างอิงนั้นๆ ด้วย การเขียน เอกสารอ้างอิงใหใ้ ช้การอา้ งอิงระบบ APA (6th) edition style ใหเ้ รียงลาดบั ตามตวั อักษร ตัวอย่างการเขยี นรูปแบบอา้ งองิ มีรายละเอียด ดังนี้ การเขียนเอกสารอ้างอิงให้ใช้การอ้างอิงระบบ APA Style ให้เรียงลาดับตามตัวอักษร มีรายละเอียดและ ตัวอยา่ งของเอกสารอา้ งองิ ดังน้ี หนังสอื ชื่อผู้แต่ง. (ปที พ่ี ิมพ์). ชอื่ เร่ือง คร้งั ที่พมิ พ.์ สถานท่พี มิ พ์: สานักพิมพ์ Davis, Keith. (1967). Human Relation at Work: The Dynamic of Organization Behavior. New York: McGraw-Hill. บทความในวารสาร ชื่อผู้เขยี น. (ปที พ่ี ิมพ)์ . ชอื่ บทความ. ชือ่ วารสาร. ปที ี่ (เดือน): เลขหนา้ . Eiamsumang, P., Srisuriyavait, R., & Homsin, P. (2013). Risk factors of unintended repeat pregnancy among adolescents. The public health journal of Burapha University. 8(1), 55- 67. (in Thai). วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) Egloff, G. & Fitzpatrick, A. (1997). Vocationally Oriented Language Learning. Learning Teaching Journal. 30(July): 226: 242. เว็บไซต์ Lynch, T. (1996). DS9 trials and tribble-actions review. [Online],Available:http://www.bradley. edu/campusorg/psiphi.html. (1997, 8 October) ComputerCrimeandIntellectualPropertySection(CCIPS). (2003).HowtoReportInternet-RelatedCrime(Online), Available: http://www.cybercrime.gov/reporting.htm. (2004,17January) จากแหล่งอนื่ ๆ Agrawal, A. (2008, March 5–6). The role of local institutions in adaptation to climate change. Paper presented at the Social Dimentions of Climate Change, Social Development Department, The World Bank, Washington, DC. Central Statistics Office of Rebublic of Botswana. (2008). Gross domestic product per capita 06/01/1994 to 06/01/2008 [Statistics]. Available from CEIC Data database. Supakorndej, S. (2003). The process of recycling bank on Ban Thai Samakee community in Ban Pong, Ratchaburi. Unpublished Master’s thesis, Mahidol University. Wilfley, D. E. (1989). Interpersonal analysis of bulimia. Doctoral dissertation, University of Missouri, Columbia. ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง (เนื่องจากต้องทาให้วารสารเป็นมาตรฐาน ดังน้ัน Reference หากเป็น ภาษาไทย: ผเู้ ขียนบทความตอ้ งเปลย่ี น Reference ภาษาไทยใหเ้ ป็นภาษาองั กฤษดว้ ย แล้ววงเล็บข้างหลงั วา่ (in Thai). และให้นาชอ่ื ผู้แตง่ หรอื หนว่ ยงานท่อี า้ งองิ ทีท่ ่านทาเป็นภาษาอังกฤษ ไปใส่อ้างองิ ในบทความด้วย) ปะราสี อเนก. (2554). องคป์ ระกอบทางการตลาดทม่ี อี ิทธพิ ลต่อการรบั ร้คู ณุ คา่ ในการใช้บริการสปาของนกั ท่องเทยี่ ว ต่างชาตใิ นจงั หวัด เชยี งใหม.่ วารสารวทิ ยาการจัดการ. 28(2), 64-72. ใหเ้ ขยี นเป็น Anek. P. (2011). The Marketing Component Influence to the Value Perception in Using Spa Service of Foreigner Tourist in Chiangmai Province. Journal of management sciences. 28(2), 64-72. (in Thai). Ebel, R. L., & Frisbie, D. A. (1986). Essentials of Educational Measurement (4th ed.). New Jersey: Prentice-Hall. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) Nunnally, J. (1978). Psychometric theory. New York: MacGraw-Hill. Radermacher, H., Feldman, S., & Bird, S. (2010). Food security in older Australians from different cultural backgrounds. Journal of Nutrition, Education and Behavior. 42(5), 328-336. ข้อควรระวงั การจดั เตรียมบทความ -ชอ่ื ผู้แต่ง ไม่ใส่ตาแหนง่ ทางวิชาการ ยศ ตาแหนง่ ทหาร สถานภาพทางการศึกษา หรอื คานาหน้าชื่อ หรือ ทา้ ยชอ่ื เชน่ นาย, นาง, นางสาว, ผศ.ดร., PhD, ร.ต.ต., พ.ต.ท. -ไม่ระบุสถานภาพผแู้ ต่ง เช่น อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธ,์ ผศ.ดร. เป็นตน้ สถานท่ีติดตอ่ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ กล่มุ วิจัยและบริการวชิ าการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง 268 ถนนป่าขาม ตาบลหัวเวียง อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง 52000 โทรศัพท์ 054-226254 ตอ่ 141 โทรสาร 054-225-020 email: [email protected] http://www.tci-thaijo.org/index.php/johss วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285