Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 17319-6116-PBเตรียมขึ้นTDC

17319-6116-PBเตรียมขึ้นTDC

Published by Sucheera Panyasai, 2022-05-27 03:34:20

Description: 17319-6116-PBเตรียมขึ้นTDC

Keywords: วิชาการสุขภาพ

Search

Read the Text Version

43 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 1 แสดงการบริหารจดั การอตั รากาลงั พยาบาลสาหรบั การบริการวัคซนี COVID – 19 จุดบริการ อตั รากาลงั พยาบาลสาหรับการบริการวคั ซีน COVID – 19 จดุ วัดสญั ญาณชีพ ผู้รบั บริการ 600 คน ผูร้ ับบริการ 300คน ผรู้ บั บรกิ าร 100คน จดุ ซกั ประวัติประเมนิ ความเสี่ยง (เช้า 300 คน (เช้า 150 คน (เช้า 50 คน ลงนามในใบยินยอมการรับวคั ซีน จดุ รอฉดี วัคซนี บา่ ย 300 คน) บา่ ย 150 คน) บา่ ย 50 คน) จุดฉีดวคั ซนี จุดสงั เกตอาการ เฝ้าระวงั อาการ พยาบาล 1 คน ผ้ชู ่วยพยาบาล 2คน ผชู้ ว่ ยพยาบาล 1คน และใหค้ าปรึกษา ผชู้ ว่ ยพยาบาล 2 คน รบั ผู้รับวัคซีนท่ีมี อาการแทรกซ้อน พยาบาล 5-6 คน พยาบาล 2-3 คน พยาบาล 1-2 คน พยาบาล 2-3 คน พยาบาล 1-2 คน พยาบาล 1 คน พยาบาล 5-6 คน พยาบาล 2-3 คน พยาบาล 1-2 คน พยาบาล 3 คน พยาบาล 2 คน พยาบาล 1 คน พยาบาล 2 คน พยาบาล 2 คน พยาบาล 2 คน 3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ พยาบาลจาเป็นต้องจัดเตรียมอุปกรณ์สาหรับการฉีดวัคซีน ภายใต้ ระบบลกู โซ่ความเยน็ และ เตรียมเอกสารต่างๆ ให้พรอ้ มตอ่ การดาเนินงาน ได้แก่ - อุปกรณ์ฉีดวัคซีน ได้แก่ เข็มฉีดยา กระบอกฉีดยา พลาสเตอร์ กระติกสาหรับใส่วัคซีน สาลี แอลกอฮอล์ ยาแก้ปวดลดไข้ ขนาดกระบอกฉีดยาท่ีเหมาะสม: เนื่องจากปริมาณวัคซีนที่ใช้ต่อโดส มีปริมาณ 0.5 ซีซี จึงควรใช้กระบอกฉีดยาขนาด 1 ซีซี หรือ 3 ซีซี เป็นขนาดท่ีเหมาะสมกับปริมาณวัคซีนที่ใช้ต่อโดส ขนาดเข็ม ฉดี ยาทเ่ี หมาะสม:ขนาดเขม็ ฉีด 23-26 G ยาว 1-2 นิว้ โดยฉดี เข้าชนั้ กล้ามเนื้อ - อุปกรณก์ ูช้ ีพ ประกอบด้วย รถ Emergency ท่ีพรอ้ มใช้งาน อปุ กรณ์ปฐมพยาบาล Ambu bag, Oxygen face mask, IV fluid for resuscitation, Adrenaline, Laryngoscope, Endotracheal tube เปน็ ต้น - อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคล่ือนย้ายผู้รับบริการ เช่น รถนั่ง รถนอน รถ Ambulance ชื่อผู้ ประสานงานและหมายเลขโทรศัพทใ์ นภาวะฉุกเฉนิ เปน็ ต้น วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

44 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 2. การประเมินความเสย่ี งตามแบบคดั กรองและใบยินยอมรบั วคั ซนี บริเวณจุดคัดกรองความเสี่ยงก่อนให้บริการวคั ซีนมีความสาคัญมาก ท้ังน้ีพยาบาลควรเตรียมตนเอง ก่อนการให้บริการด้วยการล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล 70% หรือน้าและสบู่ สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกาย ได้แก่ สวมกาวน์พลาสติกแขนยาวทับชุดท่ีสวมใส่ ใส่ Surgical Mask แล้วทับด้วยหน้ากากผ้าอีก 1 ช้ัน สวมหมวกคลุม ผม ใส่ Face shield และสวมถุงมือยาง พยาบาลจะตรวจร่างกายท่ัวไป วัดสัญญาณชีพ ซักประวัติความเจ็บป่วย ในอดีตและปัจจุบัน ตามแบบประเมินความเสี่ยงและใบยินยอมรับวัคซีนโควิด-19 ของกรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข (Department of Disease Control, 2021) เพื่อสารวจความผิดปกติประกอบการพิจารณาการให้ วัคซนี ของแพทย์ ดงั นี้ 2.1 การตรวจร่างกายทั่วไป พยาบาลจะประเมินอุณหภูมิร่างกาย หากมีไข้ ให้งดการฉีดวัคซนี ใน วันนั้น ชั่งน้าหนัก ชีพจร และวัดความดันโลหิต โดยวัด 3 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 15 – 30 วินาที ด้วยเคร่ืองวัดความ ดันโลหิตอัตโนมัติ แบบพันต้นแขน (Automated upper arm cuff blood pressure measuring device) โดย ผู้ถูกวัดความดันโลหิต ไม่เห็นค่าความดันโลหิต ท้ัง 3 ค่า แล้วคานวณหาค่าเฉลี่ยความดันโลหิต (Automated-3- reading blood pressure) ค่าเดียว หรือ ใช้เคร่ืองวัดความดันโลหิตอัตโนมัติแบบพันต้นแขน ท่ีวัดความดันโลหติ ทั้ง 3 คร้ัง ห่างกัน 15 – 30 วินาที แล้วแสดงค่าตัวเลขความดันโลหิตเฉลี่ยค่าเดียว (Department of Disease Control, 2021) กาหนดคา่ ความดันโลหิตไม่ควรเกนิ 140/90 mm.Hg. หากเกินหรอื มีอาการใจสนั่ ให้น่ังพัก 15 – 30 นาที ถ้าไมด่ ีข้ึนให้ปรกึ ษาแพทยผ์ ู้รับผดิ ชอบ 2.2 การซักประวัติและคัดกรองภาวะผิดปกติ พยาบาลที่จุดคัดกรองจะซักประวัติ สอบถาม อาการผิดปกติ ตรวจสอบข้อห้ามและข้อควรระวังของการฉีดวัคซีนทุกชนิด ตามแบบคัดกรองและลงนามใบ ยินยอมรับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงประกอบด้วย ข้อมูลของหน่วย บริการ วันเดือนปีท่ีใหบ้ ริการ และข้อมูลส่วนบุคคลของผู้รับบริการ ซ่ึงประกอบด้วย ช่ือ-นามสกุล อายุ วันเดือนปี เกิด เบอร์โทรศัพท์ และที่อยู่ ทั้งนี้การคัดกรองประวัติของผู้รับบริการ จะเป็นการประเมินภาวะสุขภาพผู้ขอรับ บรกิ ารวคั ซีนโควดิ 19 ที่พยาบาลหรอื ผ้ใู หบ้ ริการ ดังนี้ - อายุที่ยงั ไมไ่ ดร้ ับการรบั รองให้ฉีดวัคซนี ได้ - หญงิ ตง้ั ครรภม์ ีโอกาสเกดิ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 รนุ แรงกว่าหญงิ ไมต่ ั้งครรภ์ และอาจทา ให้ทารกคลอดก่อนกาหนดได้ แม้ว่าวัคซีนส่วนใหญ่ไม่มีการศึกษาในหญิงตั้งครรภ์ แต่การศึกษาในสัตว์ทดลอง ไม่ พบว่าวัคซีนจะมีผลอันไม่พึงประสงค์ต่อการตั้งครรภ์ จึงแนะนาให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเส่ียงต่อการรับเชื้อฉีด วัคซีนไดห้ ลังไตรมาสแรก สว่ นหญิงให้นมบตุ รสามารถฉีดวคั ซนี ได้ - อาการแพ้รุนแรงจากการฉดี วัคซีนโควิด19 ครัง้ ก่อน หรือแพ้สว่ นประกอบของวคั ซีน - เคยได้รับการถ่ายเลือด พลาสมา ผลิตภัณฑ์จากเลือด ส่วนประกอบของเลือด อิมมูโนโกลบูลิน ยาตา้ นไวรสั หรอื แอนติบอดีสาหรับการรกั ษาโควิด-19 ภายใน 90 วันทีผ่ า่ นมา วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

45 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) - มีโรคประจาตวั ทอ่ี าการยงั ไมค่ งท่ี ไมส่ ามารถควบคมุ อาการของโรค เป็นต้น - ภาวะโรคเร้อื รังที่รุนแรงและยังควบคมุ ไม่ได้ กาเริบ หรืออาการยังไม่คงท่ี เช่น เจบ็ แน่นหน้าอก หอบ เหน่ือย ใจสั่น โดยเฉพาะ โรคท่ีเกี่ยวกับระบบหลอดเลือด หัวใจ ประสาท มะเร็ง เป็นต้น ภาวะเหล่าน้ีควร ปรึกษาแพทย์ ผู้ดูแลก่อน ว่าสามารถรับวัคซีนได้หรือไม่ ส่วนโรคเรื้อรังหรือโรคประจาตัวอ่ืนๆท่ีมีอาการ คงที่ดี สามารถรับวัคซนี ได้ - มีอาการเก่ยี วกับสมอง หรอื ระบบประสาทอื่น ๆ - ตรวจพบเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในช่วง 10 วันท่ผี ่านมา - มีอาการเจบ็ ปว่ ยเฉยี บพลนั หรอื นอนรกั ษาตวั และออกจากโรงพยาบาลไม่เกิน 14 วนั - ผู้ท่ีมีภาวะภูมิคุ้มกันผิดปกติ ไม่ว่าจะเป็นจากสาเหตุใดๆ สามารถรับวัคซีนได้ แม้ว่าการสร้าง ภูมิคุ้มกันหลังการฉีดวัคซีนอาจจะไม่ดีเท่าคนปกติ แต่วัคซีนยังมีประสิทธิภาพป้องกันโรคได้ แต่ควรปรึกษาแพทย์ หากมีสภาวะภูมิคุ้มกันอ่อนแอมาก หรือกาลังรับยากดภูมิขนาดสูง แพทย์อาจมีการปรับหรือหยุดยากดภูมิคุ้มกัน กอ่ นหรือหลังการฉดี วคั ซีน - มีภาวะเลือดออกง่ายหรือหยุดยาก เกล็ดเลือดต่า การแข็งตัวของเลือดผิดปกติหรือ ได้รับยา ตา้ นการแข็งตัวของเลอื ด - มีอาการป่วยเช่น มไี ข้ หนาวสนั่ หายใจลาบาก อ่อนเพลยี กล้ามเนอื้ เป็นตน้ เม่ือพยาบาลคัดกรองผู้รับบริการแล้วพบว่า มีภาวะดังกล่าว ให้งดเว้นการฉีดวัคซีนโควิด 19 ไว้ กอ่ น จากนัน้ ควรปรกึ ษาแพทย์ผู้รบั ผิดชอบเพอื่ ลงความเหน็ ไวเ้ ป็นลายลกั ษณ์อักษร หมายเหตุ กรณตี ิดเชอ้ื โควิดมา กอ่ น แนะนาฉดี วัคซีน 1 เขม็ ภายหลังการติดเชื้อ 1- 3 เดอื น หากพบปัญหาใหส้ ง่ ปรกึ ษาแพทย์กอ่ นส่งไปยงั จุดถดั ไป กรณีในกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 หรือเทียบเท่าน้ัน วัคซีนโควิด 19 ที่ได้รับการข้ึน ทะเบียนในประเทศไทย ให้ฉีดได้ในบุคคลอายุ 12 ปีข้ึนไป ณ ปัจจุบัน (9 กันยายน 2564) ได้แก่ วัคซีนไฟเซอร์ (Pfizer vaccine) เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็น เอ (mRNA vaccine) ฉีด 2 คร้ัง โดยห่างกัน 3 - 4 สัปดาห์ อาการ ข้างเคียงจากการฉีดวัคซีนที่อาจพบได้ เช่น ไข้ หนาวส่ัน ปวด บวม รอยแดงบริเวณท่ีฉีด ปวดหัว ปวดเมื่อยตาม กล้ามเนื้อ ปวดข้อ อ่อนเพลีย เหน่ือยล้า คล่ืนไส้ อาเจียน ต่อมใต้วงแขนข้างที่ฉีดวัคซีนบวม เป็นต้น จากการใช้ วัคซีนนี้ในต่างประเทศ พบรายงานการเกิดภาวะกล้ามเนื้อ หัวใจอักเสบ หรือเย่ือหุ้มหัวใจอักเสบแต่พบน้อยมาก ส่วนใหญ่พบในเพศชายวัยหนุ่ม ภายใน 14 วันหลังฉีดวัคซีน โดยอาการบ่งชี้ เช่น การเจ็บหน้าอก หายใจสั้น หรือ ใจสั่น หากมีอาการภายหลังได้รับวัคซีนทร่ี ุนแรง ให้ไปพบแพทย์ที่สถานพยาบาลทันที (Department of Disease Control, 2021) ทั้งนี้ผู้ปกครองต้องลงนามยินยอมให้บุตรหลานได้รับการฉีดวัคซีนโควิด 19 ด้วยวัคซีนไฟเซอร์ (Pfizer Vaccine) โดยสมัครใจก่อนการฉีดวัคซีนด้วย หากพบว่านักเรียน/นักศึกษามีอายุเกิน 18 ปี ให้รับวัคซีน Pfizer ได้พรอ้ มกับนักเรียนรว่ มสถาบนั การศกึ ษาได้ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

46 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 3. การเตรียมวคั ซนี พยาบาลพึงมีความรู้เก่ียวกับวัคซีนที่นามาใช้ในการจัดบริการ กล่าวคือ ที่วัคซีนโควิด 19 ใช้ใน ปัจจุบันเป็นวัคซีน Oxford–AstraZeneca วัคซีนชนิดเช้ือตาย Sinovac หรือ Sinopharm วัคซีน Pfizer, Moderna และ วคั ซีนJohnson ซง่ึ ต้องมกี ารข้นึ ทะเบียนรบั รองให้ใชโ้ ดยคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ซง่ึ ทา ให้มั่นใจว่า วัคซีนที่จะนามาใช้ทุกตัวในประเทศไทยจะต้องมีประสิทธิภาพ และความปลอดภัยต่อผู้ที่ได้รับการฉีด วัคซีน การเปรียบเทียบวัคซีนโควิด 19 ที่มีใช้ในปัจจุบัน วัคซีนแต่ละตัวมีข้อดีและข้อจากัด และที่สาคัญคือ ไม่ สามารถนาผลการศึกษาของวัคซีนต่างชนิดมาเปรียบเทียบกันโดยตรงได้เนื่องจากมีความแตกต่างกันทั้งด้าน การศึกษาประชากร และช่วงเวลา อย่างไรก็ดีจากผลการศึกษาท่ีรายงานมากขึ้น ทาให้สรุปข้อดีและข้อจากัดของ วัคซนี แต่ละชนิด ดงั แสดงตารางท่ี 2 ได้ดังน้ี (Department of Disease Control, 2021) ตารางท่ี 2 แสดงข้อดีและข้อจากัดของวคั ซีนแตล่ ะชนิด ชนิดของวคั ซนี ข้อดี ข้อจากัด Oxford– AstraZeneca - ประสิทธภิ าพเกิดขนึ้ เร็ว ตัง้ แตห่ ลงั - มอี าการข้างเคียงเกิดขน้ึ ได้บ่อย มีไข้ เพลยี ได้ Sinovac การฉีดเข็มแรกเพยี ง 2 สัปดาห์ ถึงรอ้ ยละ 70-80 แต่สว่ นใหญอ่ าการไม่มาก Pfizer, ประสิทธิภาพ เกิดเต็มที่ - ไม่มีข้อมูลการศกึ ษาในหญิงตง้ั ครรภ์ และผทู้ มี่ ี Moderna - มีการรบั รองและยอมรบั ในประเทศใน ภมู คิ ุม้ กนั บกพร่องอยา่ งมาก ทวีปยุโรปและอเมริกา - เปน็ เทคโนโลยใี หม่ ยังไมแ่ น่ใจว่าการมี แอนตบิ อดีต่อไวรสั ท่เี ป็นพาหะจะลดทอน ประสิทธภิ าพในการฉดี ครั้งต่อไปหรือไม่ - มีอาการขา้ งเคียงน้อย - ต้องฉีดครบ 2 เข็มจงึ จะมีประสิทธภิ าพเกิดได้ - เป็นวัคซนี เชอ้ื ตายจงึ ไมต่ ้องกงั วลใน เต็มท่ี การใชก้ ับผทู้ ่มี ีภมู ิคมุ้ กนั บกพรอ่ งและ - มรี ายงานอาการขา้ งเคียง คล้ายอาการ ทาง หญิงตงั้ ครรภ์ ระบบประสาท (Immunization stress-related - เทคโนโลยใี นการผลติ เปน็ แบบที่เคยมี response :ISRR) การใช้มาก่อน ทาใหม้ คี วาม ไวว้ างใจ ในความปลอดภัยระยะยาว - ข้อมูลการศึกษาพบวา่ มีประสิทธิภาพ - มีอาการขา้ งเคียงพบไดบ้ ่อย ไม่รนุ แรง สงู มาก สามารถป้องกันการติดเชื้อ - เป็นเทคโนโลยใี หม่ ทาให้มคี วามระแวงถึง ท้งั หมดได้รอ้ ยละ 95 ปอ้ งกันการตดิ เชื้อ ผลข้างเคียงในระยะยาว ทไี่ ม่มอี าการได้ร้อยละ 91 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

47 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 2 แสดงข้อดีและข้อจากดั ของวคั ซนี แตล่ ะชนิด (ต่อ) ชนิดของวัคซีน ข้อดี ข้อจากัด Johnson - มีขอ้ มลู การใชใ้ นหญิงตั้งครรภ์และ ผ้ทู ่ี ภมู คิ มุ้ กนั บกพร่องว่าปลอดภัย - ไมม่ ีข้อมลู การศกึ ษาในหญิงตงั้ ครรภ์ และผ้ทู ่มี ี ไดผ้ ลดี ภูมคิ มุ้ กันบกพร่องอย่างมาก - มกี ารรบั รองและยอมรบั สาหรับ - เป็นเทคโนโลยีใหม่ ยังไมแ่ น่ใจว่า การมี ประเทศ ในทวีปยุโรปและทวีป แอนตบิ อดีต่อไวรสั ท่เี ปน็ พาหะจะลดทอน อเมรกิ า ประสทิ ธิภาพในการฉีดครั้งต่อไปหรือไม่ - ฉีดเขม็ เดยี ว - เลียนแบบการตดิ เชอื้ ไวรัสอะดโิ น ตามธรรมชาติจงึ ไม่มคี วามกังวลเร่ือง ผลข้างเคียงระยะยาว - มีการรบั รองและยอมรับสาหรบั ประเทศในทวีปยโุ รปและทวปี อเมรกิ า นอกจากนี้ สภาการพยาบาล (Thailand Nursing and Midwifery Council, 2021) ได้กาหนดแนว ปฏิบัติสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพ่ือการเตรียมฉีดวัคซีน Multiple dose ใน สถานการณแ์ พร่ระบาดโควิด -19 ไว้ดังน้ี 1. เตรยี มสถานที่ บริเวณหรอื พื้นทที่ ่ีจดั เตรียมวคั ซนี ใหส้ ะอาด 2. ผู้เตรียมวัคซีนใส่หน้ากากอนามัยที่แนบใบหน้า ทาความสะอาดมือด้วยน้าและสบู่ หรือ 70% alcohol hand rub สวมกาวนพ์ ลาสติกกันน้าแขนยาวทับชดุ ที่สวมใส่ สวมหมวกคลมุ ผมและสวมถุงมือสะอาด 3. เตรียมอุปกรณ์ ได้แก่ ถาดเตรียมยาที่ติดช่ือวัคซีนกากับ Syringe ขนาด1 ml. เข็มสาหรับดูด วคั ซีนเบอร์ 21-25 เขม็ สาหรบั ฉีดวคั ซีนเบอร์ 25 ความยาว 1 นว้ิ สาลีแอลกอฮอล์ และกล่องปลดหวั เขม็ 4. เตรียมและตรวจสอบความพร้อมใช้ของวัคซีน ได้แก่ สภาพขวดวัคซีน ลักษณะของน้ายาวัคซีน และวนั หมดอายุ 5. ใช้ Aseptic technique ในการเตรยี มวัคซีน เปดิ ฝาขวดวคั ซนี เชด็ จุกยางด้วยแอลกอฮอล์ 70% ใชเ้ ข็มเบอร์ 21-25 แทงท่ีจุกยางโดยทามมุ 90 องศากบั ขวดวคั ซนี ห้ามเขย่าขวดวคั ซนี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

48 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 6. ปรับระดับปลายเข็มให้อยู่ใต้ระดับน้ายาวัคซีน กรณี dose วัคซีนกาหยดให้เป็น 0.5 ml. เช่น AstraZeneca ให้ดูดวัคซีนให้ได้ปริมาณ 0.5 ml. ต่อdose ปลด Syringe แล้วสวมเข็มสาหรับฉีดวัคซีนเบอร์ 25 และวาง Syringe ในถาดเตรียมยาท่ีเขียนชื่อวัคซีนกากับไว้ กรณีฉีดวัคซีนชนิดอ่ืนต้องดูดวัคซีนให้ได้ตามที่ผู้ผลิต กาหนดไว้ 7. สวม Syringe ท่ีจะเตรียมวัคซีนใน dose ถัดไป เข้ากับเข็มดูดท่ีค้างไว้กับขวดวัคซีน ทาซ้าในข้อ 6 จนกระทั่งวัคซีนหมดขวด หากวัคซีนที่เหลือในขวดมีปริมาณไม่ถึง dose ที่กาหนด ไม่ต้องดูดมาใช้ และห้าม นาไปผสมกับวคั ซนี อืน่ 8. วัคซีนใน Syringe ที่เตรียมฉีด และวัคซีนท่ีเหลือในขวด ต้องใช้ภายใน 6 ชั่วโมง หลังจากนา วคั ซีนออกจากตู้เยน็ ที่ควบคมุ อณุ หภมู ิ 9. เกบ็ ขวดวคั ซนี ทีใ่ ชแ้ ล้วในอณุ หภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส อย่างน้อย 7 วันเพื่อการทวนสอบกรณีเกิด เหตกุ ารณ์ไมพ่ งึ ประสงค์หลงั ไดร้ ับวคั ซนี 4. การฉดี วคั ซนี พยาบาลควรทบทวนการฉีดยา เพ่ือป้องกันความผิดพลาดและอันตรายที่อาจเกิดกับผู้รับบริการ วัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 การฉีดวัคซีน COVID-19 ยึดหลัก 5R คือ Right patient, Right drug, Right dose, Right time และ Right route มีแนวทางการดาเนนิ การ ดงั นี้ 1. ตรวจสอบชื่อ นามสกุล และอายุของผู้รับวัคซีน รวมทั้งชนิดและจานวนวัคซีนท่ีจะให้กับผู้รับ วคั ซนี และใหผ้ ้รู ับวัคซีนน่งั เก้าอที้ จ่ี ดั เตรยี มไวใ้ ห้ 2. ทาความสะอาดมือทัง้ ที่สวมถงุ มือดว้ ยแอลกอฮอลเ์ จล 70% 3. กาหนดตาแหน่งที่จะฉีดวัคซีนที่กล้ามเน้ือ Deltoid โดยวัดจากปุ่มไหล่ (Acromial process) ลง มา 2 น้วิ บนแนวกลางตน้ แขน 4. เช็ดบริเวณที่จะฉีดวัคซีน ด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70% วนจากตาแหน่งท่ีจะฉีดออกด้านนอก 2- 3 น้ิว แล้วรอให้แห้งฉีดวัคซีนโดยแทงเข็ม 90 องศากับกล้ามเนื้อ Deltoid ความลึกประมาณ 1 นิ้ว หรือ 1.5 น้ิว สาหรับผู้รับวคั ซีนที่มีชนั้ ไขมันบริเวณต้นแขนหนาไม่หยิบเนื้อข้ึนมา เพราะการหยิบเน้ือขึ้นมาจะ ทาให้ฉีดไม่ถึงชนั้ กล้ามเนื้อ การฉดี วัคซีนไมม่ ีความจาเปน็ ต้องดึงหลอดฉดี ยาหรือทดสอบว่าเข้าเส้นเลือดหรือไม่ (Nursing Division of Ministry of Public Health Thailand, 2021) เมื่อเขม็ ปักเข้ากลา้ มเน้ือแลว้ ค่อยๆเดินยาไดท้ ันที เพียงสงั เกต ที่หัว syringe ทุกครั้งว่ามี เลือดย้อนมาที่หัว syringe หรือไม่ก็พอ เพราะตาแหน่งที่เราฉีดไม่มีเส้นเลือดใหญ่อยู่ แลว้ เดินยาจนหมด ดงึ เขม็ ออกตรงๆ 5. ปิดพลาสเตอร์หรือสาลีแห้ง sterile บริเวณท่ีฉีดวัคซีน ถ้ามีเลือดซึมให้ใช้สาลีแห้ง กดไว้เบาๆ หา้ มคลงึ บริเวณทฉี่ ดี แจง้ ผรู้ ับวัคซนี ใหเ้ อาออกในวันร่งุ ข้ึน 6. การทงิ้ หวั เข็มและ Syringe วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

49 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 6.1 กรณที ีม่ ีกล่องปลดหวั เขม็ ให้ปลดหวั เขม็ กบั กล่อง โดยไม่ต้องสวมปลอกเข็ม ส่วนSyringe ท้ิง ลงในถังขยะติดเชื้อ ติดป้ายท่ีภาชนะว่าเป็นของมีคม ปริมาณของเข็มไม่ควรเกิน 2 ใน 3 ส่วนของภาชนะ ปิดฝา กอ่ นนาไปกาจดั สาหรบั ปลอกเข็มทงิ้ ในขยะธรรมดา 6.2 กรณีท่ีไม่มีกล่องปลดหัวเข็ม ให้ท้ิงเข็มพร้อม Syringe ในภาชนะที่ป้องกันการแทงทะลุได้ โดยไม่ต้องสวมปลอกเข็ม ติดป้ายท่ีภาชนะว่าเป็นขยะตดิ เชือ้ และของมีคม ปริมาณของขยะติดเช้ือและของมีคมไม่ ควรเกิน 2 ใน 3 ส่วนของภาชนะ ปดิ ฝา ก่อนนาไปกาจัด 7. ทาความสะอาดมือท้ังที่สวมถุงมือด้วยแอลกอฮอล์เจล 70% กรณีถุงมือมีรอยรั่วหรือหลัง ใหบ้ ริการผู้รับวคั ซีนทม่ี ีบาดแผลทีผ่ วิ หนัง มสี ารคัดหลงั่ โดยให้ถอดถุงมอื แล้วทิง้ ลงในถุงขยะตดิ เชอ้ื 5. การสังเกตอาการผดิ ปกติภายหลงั ได้รบั วัคซีน ภายหลังได้รับวัคซีนพบว่า อาจมีอาการไม่พึงประสงค์ได้ เนื่องจากผู้รับบริการอาจมีความวิตกกังวล และขนั้ ตอนการเข้ารบั บริการรบั วัคซีน อาจทาให้เกดิ ความเครียดได้สูง ทง้ั หมดนอ้ี าจทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อความเครียดน้ีเม่ือได้รับการฉีดวัคซีนได้ องค์การอนามัยโลก (WHO, 2019) ได้นิยามกลุ่มอาการจากปฏิกิริยา เหล่านี้ว่า Immunization Stress-Related Response (ISRR) เป็นอาการทางกายท่ีเกิดขึ้นจริง ท่ีตอบสนองต่อ ภาวะความเครียดในการได้รบั การฉีดวัคซีนรว่ มกับ อาการข้างเคยี งที่เกิดตามปกติหลังได้รับวัคซีน เกิดไดก้ บั วัคซีน ทุกชนิด ทุกรุ่นการผลิต (Lot) อาการของ ISRR เช่น เป็นลม ปวดเกร็งท้อง คลื่นไส้ ตามัว ความดันโลหิตสูง หัว ใจเต้นเร็ว อันเป็นผลจากการตอบสนองของระบบประสาท อัตโนมัติไปจนถึงอาการทางระบบประสาท (Dissociative Neurological Symptom Reaction: DNSR) เช่น อาการอ่อนแรง การเคลื่อนไหวของร่างกาย ผิดปกติ ความผิดปกติของการทรงตัว พูดไม่ชัด อาการคล้ายภาวะหลอด เลือดสมองหรือชัก โดยส่วนใหญ่อาการ มักเกดิ ข้นึ เรว็ ภายในไม่กี่นาทหี ลังการฉดี วัคซนี แตอ่ าจมบี างรายเกิดชา้ เป็นชว่ั โมงหรอื เปน็ ภายหลังการได้รับวัคซีน ISRR มักจะเกิดในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย และพบมากในผู้ที่อายุน้อย ผู้ที่มีอาการ ISRR พบว่า มีอาการของระบบ ประสาท คล้ายอาการทางหลอดเลือดสมอง เชน่ ชา แขนขาอ่อนแรง ภายหลังได้รับวัคซีน โดยอาการเกิดข้ึนอย่าง เฉียบพลัน ประมาณ 5–30 นาทีภายหลังการได้รับวัคซีน แต่บางรายเกิดหลังจากน้ันหลายช่ัวโมงหรือเป็นวัน เมื่อ ตรวจภาพรังสีวิทยาของสมอง (Neuroimaging study) ไม่พบพยาธิสภาพที่ชัดเจน อาการมักจะหายไปภายใน1–3วนั บางรายอาการอาจจะอยู่ได้นานกว่าน้ัน พยาบาลจึงควรมีความรู้ความสามารถในการประเมินอาการผิดปกติ ภายหลังไดร้ ับวคั ซีนป้องกนั โรคโควิด 19 และใหบ้ รกิ ารพยาบาลแก่ผู้รับบริการฉีดวคั ซีนไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ดังน้ี 1. สังเกตอาการข้างเคียงของวคั ซีน ประมาณ 30 นาที ในรายท่ีมีอาการข้างเคียงชนดิ รนุ แรง จะพบ อาการหมดสติ ไข้สูง มีจุดเลือดออกจานวนมาก แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก ปวดศีรษะ รุนแรง ปากเบ้ียว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผื่นข้ึนทั้งตัว อาเจียนมากกว่า 5 คร้ัง หากมีอาการดังกล่าวให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพ่ือ บรรเทาอาการและรายงานแพทย์ กรณีทมี่ ีอาการข้างเคียงชนิดไม่รุนแรง เชน่ มไี ข้ตา่ ๆ ปวดศรี ษะ คล่ืนไสอ้ าเจียน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

50 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) อ่อนเพลยี ปวดบริเวณที่ฉีดวัคซนี แนะนาใหร้ ับประทานยาแกป้ วด Paracetamol 500 มิลลกิ รัม 1-2 เมด็ และให้ ผ้รู บั วคั ซนี คอยสงั เกตอาการต่อท่บี ้าน ถา้ พบว่ามีอาการผิดปกติให้กลับมาพบแพทย์ 2. วัดสัญญาณชพี กอ่ นกลบั กรณที พ่ี บอาการผิดปกติ 3. ให้คาแนะนาสาหรับผรู้ ับวคั ซนี ในการปฏิบตั ิตนทบี่ า้ น 3.1 สงั เกตอาการตนเองเม่ือกลบั ไปบ้าน กรณอี าการขา้ งเคียงที่ไม่รนุ แรงและไม่ต้องไปพบแพทย์ ไดแ้ ก่ ไขต้ า่ ๆ หรือปวดศีรษะ ไมส่ บายตวั ปวดเมอื่ ย ปวดบวมแดงร้อน หรือคนั บรเิ วณท่ีฉดี คลืน่ ไส้ อาเจยี น ไม่เกิน 5 ครัง้ อ่อนเพลยี ไม่มแี รง ผ่ืนแดงเลก็ นอ้ ย ในกรณีอาการขา้ งเคยี งรุนแรงและตอ้ งไปพบแพทย์ ไดแ้ ก่ ไข้สูง หนาว ส่ัน ปวดศีรษะรุนแรง มีจุดจ้าเลือดออกจานวนมาก เหนื่อย แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวกหรือหายใจไม่ออก ใบหน้าเบ้ียว หรือปากเบ้ียว อาเจียนมากกว่า 5 ครั้ง แขนขาอ่อนแรง ไม่สามารถทรงตัวได้ ผื่นข้ึนท้ังตัว ผิวหนัง ลอก ชัก หรอื หมดสติ 3.2 ให้ผรู้ บั วคั ซีน Add line หมอพร้อม เพ่ือการตดิ ตามอาการหลงั ฉีดวคั ซีน 3.3 บันทึกช่อื และหมายเลขโทรศพั ท์หนว่ ยบริการกรณตี ้องการความชว่ ยเหลอื 4. เมื่อพบผู้ท่ีมีอาการทางระบบประสาทหลังการฉีดวัคซีน เช่น ชา อ่อนแรง ตามัว ควรรีบ ปรึกษา แพทย์ เพื่อการดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ควรตรวจร่างกายอย่างละเอียดเพ่ือใหม้ ั่นใจว่าไม่มภี าวะโรคทางกายก่อน ประเมนิ อาการทางระบบประสาทท่ีเกิดตามหลังการฉดี วัคซีน ควรใหก้ ารดูแลรักษาโดยใช้สหสาขาช่วยดูแล ถา้ พบ อาการทางกายควรใหร้ ักษาตามอาการ และให้การประคบั ประคองจติ ใจ โดยไมม่ ีการวา่ กล่าวหรอื ทาใหผ้ ู้ที่มีอาการ รสู้ กึ ไม่ดี ควรให้ความมน่ั ใจเร่ืองอาการที่เกดิ ขึ้นวา่ อาการนีอ้ าจเกิดขึ้นได้ และสว่ นใหญจ่ ะดขี ึ้นภายในเวลาไม่นาน โดยไมม่ ีอนั ตราย เพื่อลดความวิตกกังวล ข้อเสนอแนะสาหรับพยาบาลเก่ยี วกับการบริการวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 1. พยาบาลควรเพ่ิมเติมความรู้ที่ทันสมัยเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 เนื่องจากมีข้อมูลทาง วิชาการของวัคซีนเผยแพร่อย่างต่อเน่ือง ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 จะทาให้ สามารถใหค้ วามร้ทู ถี่ กู ต้องแก่ผรู้ ับบริการได้เป็นอย่างดี 2. พยาบาลควรระมัดระวังการแสดงทัศนคติส่วนตัวเก่ียวกับวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในท่ี สาธารณะ เนอ่ื งจากผรู้ บั บริการอาจเขา้ ใจคลาดเคลื่อนและคดิ ว่าเปน็ การช้ีนาการรบั บริการได้ 3. พยาบาลควรติดตามและทบทวนนโยบายการบริการวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 จากภาครัฐและ หน่วยงานท่สี งั กดั 4. พยาบาลควรให้บริการพยาบาลตามแนวปฏิบัติสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ ทสี่ ภาการพยาบาลกาหนดอย่างเคร่งครดั วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

51 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) บทสรุป สมรรถนะพยาบาลด้านการจัดบริการวัคซีนโรคไวรัส 19 มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ตราบ เท่าที่สถานการณ์ท่ีการระบาดของโรคยังไม่สามารถควบคุมได้อย่างทั่วถึง และประชาชนยังได้รับวัคซีนไม่ ครอบคลุม พยาบาลจึงควรเพ่ิมพูนสมรรถนะของตนเอง ได้แก่ 1) การวางแผนจัดบริการวัคซีน โดยพยาบาล ประสานความร่วมมือกับทีมสหวิชาชีพเพ่ือเตรียมพร้อมก่อนให้บริการวัคซีน และควบคุมการให้บริการให้ถูกต้อง ตามมาตรฐาน 2) การประเมินความเส่ียงตามแบบคัดกรองและใบยินยอมรับวัคซีน โดยพยาบาลจะตรวจร่างกาย ท่ัวไป ซักประวัติความเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน เพ่ือสารวจความผิดปกติประกอบการพิจารณาการให้วัคซีน และให้ลงนามยินยอมรับวัคซีนโควิด-19 3) การเตรียมวัคซีน พยาบาลควรมีความรู้เก่ียวกับวัคซีนทุกชนิดท่ี นามาใช้ในการจัดบริการ และเตรยี มการฉีดวัคซีนได้ตามท่ีสภาการพยาบาลกาหนด 4) การฉีดวคั ซนี พยาบาลควร ทบทวนการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ และท้ิงหัวเข็มและ Syringe ได้อย่างถูกต้องตามหลักการป้องกันการกระจายเช้ือ และ 5) การสงั เกตอาการผิดปกติภายหลังไดร้ ับวัคซนี พยาบาลควรมคี วามรู้ในการประเมนิ อาการผิดปกติภายหลัง ได้รับวัคซีนและให้บริการพยาบาลแก่ผู้รับบริการฉีดวัคซีนได้อย่างถูกต้อง การเพิ่มเติมความรู้และประสบการณ์ที่ หลากหลายจะทาให้พยาบาลสามารถใหบ้ รกิ ารวคั ซีนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ เกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อผรู้ ับบรกิ าร เอกสารอา้ งอิง Department of Disease Control of Ministry of Public Health Thailand. (2021). Guidelines for vaccinating against COVID-19 in an outbreak situation 2021 of Thailand. (1st revised edition). Retrieved (2021, June 29). from https://www.thainapci.org/2021/2021/06/02/. Institute of Neurology. (2021). Immunization stress related responses by the World Health Organization. Retrieved (2021, November 19) from https://www.who.int/publications/i/item/978-92-4-151594-8. Nursing Division of Ministry of Public Health Thailand. (2021). Management of the nurse workforce rate in providing COVID-19 vaccination services. Kittiprapas,S., Terdudomtham,T., Paktanapakorn,P.& Sorkjabok,P. (2020). The social impact of the 2019 coronavirus outbreak 2019 and economic crisis. Ministry of Social Development and Human Security. Thailand Nursing and Midwifery Council. (2021). Guidelines for nursing and midwifery practitioners for the preparation of multiple dose vaccinations in the situation of the COVID 19 epidemic. Retrieved (2021, November 19) from https://www.tnmc.or.th/news/576. World Health Organization. (2019). Immunization stress-related responses. A manual for program managers and health professionals to prevent, identify and respond to stress-related responses following immunization. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

Predictive Factors for Blood Pressure Control in Hypertensive patients in Muang Lampang District, Lampang Ekkarat Chuaintha* Kannika Kongbunkird* Atchara Sittiruk* (Received : February 16, 2022 , Revised : March 24, 2022 , Accepted: March 28, 2022) Abstract The purpose of this predictive study was to identify factors that might predict blood pressure control in persons with hypertension in Muang Lampang district, Lampang. A total of 385 hypertensive patients aged 35 years and above were randomly selected from primary health care hospitals in Muang Lampang district, Lampang. Self-reported questionnaires were used to collect data including the Functional Communication and Critical Health Literacy Scales (FCCHL) and the Self- Care Behavior in hypertension. The reliability coefficients of both questionnaires were 0. 70 and 0. 88 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, and binary logistic regression. The finding revealed that percentage 59 of sample could control their blood pressure. Blood pressure control was predicted by number of anti-hypertensive drug (OR = 2.91, CI= 1.20- 7.03, p = .018), co-morbidity (OR = 1.53, CI= 1.01-2.33, p = .044) and health literacy (OR = 1.02, CI= 1.0-1.05, p = .044). Three factors predicted blood pressure about 3.8%. Critical health literacy predicted blood pressure control. The study results guided health care providers to promote health literacy in order to achieve optimal blood pressure. Keywords: Health Literacy; Health behavior; Hypertension * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon lampang, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health 1Corresponding author: [email protected] โทร 0816714283 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

ปัจจัยทานายการควบคมุ ความดนั โลหิตของผู้เปน็ โรคความดันโลหิตสงู ในเขตอาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง เอกรัตน์ เช้อื อนิ ถา1* กรรณิการ์ กองบุญเกิด* อจั ฉรา สทิ ธริ กั ษ์* (วนั ท่รี บั บทความ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 , วนั แกไ้ ขบทความ: 24 มีนาคม 2565 , วันตอบรบั บทความ: 28 มนี าคม 2565) บทคัดย่อ การวิจัยเชิงทานายครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปัจจัยทานายการควบคุมความดันโลหิตของผู้เป็นโรค ความดันโลหิตสงู ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดลาปาง จานวน 385 คน โดยเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหติ สงู อายุต้งั แต่ 35 ปี ข้ึนไปท่ีขึ้นทะเบียนรับการรักษาในเขตอาเภอเมืองจังหวัดลาปางกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่มหลาย ข้ันตอน (Multi-stage random sampling) เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วย แบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลเก่ียวกับการรักษา แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรม การดูแลตนเอง เคร่ืองมือผ่านการตรวจสอบความเช่ือมั่นของเคร่ืองมือโดยนาไปทดลองใช้กับกลุ่มผู้ป่วยโรคความ ดันโลหิตสูงที่มีคุณลักษณะเหมือนกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 ราย โดยวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคมี ค่าความเชอ่ื ม่ัน 0.70 และ 0.88 ตามลาดับ วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้สถิติพรรณนาและ Binary logistic regression ผลการวจิ ยั พบว่า กลมุ่ ตัวอยา่ งสามารถควบคุมความดนั โลหิตไดต้ ามเกณฑ์ รอ้ ยละ 59 จานวนกลุม่ ยาท่ใี ช้ ในการรักษาโรคความดันโลหติ สูง (OR = 2.91, CI= 1.20-7.03, p = .018) การมีโรคร่วม (OR = 1.53, CI= 1.01- 2.33, p = .044) และความรอบรู้ด้านสุขภาพ (OR = 1.02, CI= 1.0-1.05, p = .044) เป็นปัจจัยที่สามารถ ทานายการควบคุมความดันโลหิตของกลุ่มตวั อย่าง โดยปัจจัยทง้ั 3 ร่วมกันทานายได้ร้อยละ 3.8 (Cox and Snell R2 = .038) ความรอบรู้ข้ันการมีวิจารณญาณ เพียงด้านเดียวท่ีเป็นปัจจัยทานายการควบคุมโลหิต (OR = 1.120, CI= 1.021-1.229, p = .017) ผลการศกึ ษาน้ีใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างความรอบรู้ดา้ นสุขภาพแก่ผู้ปว่ ยโรค ความดันโลหติ สูงเพื่อให้สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์การรกั ษา คาสาคญั : ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ; พฤติกรรมสุขภาพ; ความดันโลหติ สูง * อาจารยพ์ ยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ 1ผู้ประพนั ธ์บรรณกจิ [email protected] โทร 0816714283 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

54 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา โรคความดันโลหิตสงู เป็นโรคไม่ติดต่อเรอื้ รังชนดิ หนง่ึ เป็นภัยคุกคามสุขภาพท่ัวโลก ซึ่งเป็นสาเหตุการตาย ของประชากรทั่วโลกประมาณ 10.80 ล้านคนต่อปี (GBD 2019 Risk Factors Collaborators, 2020) ผู้ป่วยโรค ความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มที่จะเพ่ิมจานวนมากข้ึนอย่างต่อเน่ือง พบว่าประชากรที่มีอายุ 30-79 ปี เป็นโรคความ ดันโลหิตสูงเพิ่มข้ึนเป็น 2 เท่า จากปี คศ. 1990 ถึง 2019 เพศหญิงเพ่ิมขึ้นจาก 331 ล้านคน เป็น 626 ล้านคน เพศชายเพ่ิมข้ึน 317 ล้านคนเป็น 652 ล้านคน (NCD Risk Factor Collaboration, 2021) นอกจากนี้การ เพ่ิมข้ึนของระดับความดันโลหิตทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง โดย พบว่าระดับความดันซิสโตลิคและไอแอสโตลิคที่เพิ่มข้ึน 3.70 และ 2.80 มีความสัมพันธ์ต่อความเส่ียงของการเกิด โรคหัวใจขาดเลอื ด และระดับความดันซิสโตลิคและไอแอสโตลิคท่เี พ่มิ ข้นึ 8.20 และ 4.40 มีความสมั พันธ์กับความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (Mill, Stefanescu & He, 2020) สาหรับสถานการณ์ในประเทศไทย อัตรา การป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงปี พ.ศ.2564 มีจานวน 960 คนต่อแสนประชากร และร้อยละของผปู้ ่วย โรคความดันโลหิตท่ีควบคุมไดด้ ีมีเพียง ร้อยละ 56.52 ( Division of Non Communicable Disease, 2021) จาก การสารวจภาวะสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายครั้งที่ 6 (2562-2563) โรคความดันโลหิตสูงยังคงเป็น ปัญหาสุขภาพที่สาคัญโดยพบว่า ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ในปี พ.ศ. 2562 – 2563 เท่ากับ ร้อยละ 25.40 (ชายร้อยละ 26.70 และหญิง ร้อยละ 24.20) สูงกว่าของการสารวจคร้ังที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2557 ซ่ึงพบความ ชุก ร้อยละ 24.70 (ชายร้อยละ 25.60 และหญิง ร้อยละ 23.90) นอกจากน้ียัง พบว่า ร้อยละ 48.80 เป็นผู้ท่ีมี ระดับความดันโลหิตสูงแต่ไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 3.50 เป็นโรคความดันโลหิตสูง แต่ไม่รับการรรักษา ร้อยละ 25.00 เป็นโรคความดันโลหิตสูงและควบคุมไม่ได้ ร้อยละ 22.60 เป็นโรคความดัน โลหิตสูงและควบคุมไม่ได้ (Aekplakorn, 2021) สาหรับจังหวัดลาปาง ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้ังแต่ปี พ.ศ 2560 - 2563 มีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จานวน 100,706 คน 103,861 คน 104,470 คน 112,716 คน ตามลาดับ ถึงแม้ว่าผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสงู จะได้รับการรักษา แต่ยังพบวา่ รอ้ ยละ 58.99 หรอื ประมาณครึ่งหน่ึง ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ (Lampang Provincial Public Health, 2021) ซ่ึงเป้าหมายการรักษาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงคือ การรักษาระดับความดันโลหิตให้ต่ากว่า 140/90 มม.ปรอท การรกั ษาโรคความดนั โลหติ สงู ท่ีเปน็ การรักษามาตรฐานมี 2 วธิ ี คือ การปรับเปลี่ยนวิถีการ ดาเนนิ ชีวิต และการใหย้ าลดความดันโลหิต ซ่งึ การลดความดันซิสโตลิคลง 10 มม.ปรอท หรือ การลดความดนั ไดแอสโตลิค ลง 5 มม.ปรอท สามารถลด ความเส่ียงตอ่ การเกิดโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือดลงมาได้ร้อยละ 20 ลดอัตราการ เสียชวี ติ จากทกุ สาเหตุได้ ร้อยละ 15.00 ลดอตั ราการเกดิ stroke รอ้ ยละ 35.00 ลดอตั ราการเกดิ โรคของหลอด เลอื ดหวั ใจ ร้อยละ 20.00 และ ลดอตั ราการเกิดหัวใจลม้ เหลวร้อยละ 40.00 นอกจากการักษาด้วยยาแลว้ การ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

55 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ปรบั เปลี่ยนวถิ ีการดารงชีวติ เพ่ือควบคุมและปอ้ งกันโรคกม็ ีความสาคัญในการรักษาโรคความดันโลหติ สูงเช่นกัน โดยควบคุมใหม้ ีค่าดชั นมี วลกายตง้ั แต่ 18.50 – 22.90 กก./ตร.ม. และมีเสน้ รอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สาหรับ คนไทย คือ สาหรับผชู้ ายไมเ่ กนิ 90 ซม. (36 น้ิว) และสาหรบั ผูห้ ญิง ไมเ่ กนิ 80 ซม. (32 น้ิว) บริโภคโซเดียมใน ปรมิ าณที่เหมาะสมคือ ไมเ่ กนิ วันละ 2 กรมั การจากดั โซเดียมใหเ้ ขม้ งวดข้นึ ในปรมิ าณไม่เกินวนั ละ 1.50 กรัม จะ ช่วยลดความดันโลหิตได้ ออกกาลังกายแบบแอโรบกิ อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 5 วัน จากัดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ ผู้หญิงไมค่ วรด่มื เกนิ 1 ดม่ื มาตรฐาน (standard drink) ตอ่ วัน และผชู้ ายไม่ควรเกิน 2 ดื่มมาตรฐานตอ่ วนั โดย ปรมิ าณ 1 ดื่มมาตรฐานของเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถงึ เครื่องดม่ื ทม่ี ีแอลกอฮอล์ประมาณ 10 กรัม (Thai Hypertension Society, 2019) จาการทบทวนวรรณกรรมพบว่า มีปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อการควบคุมระดับความดัน โลหิตสูง จากการศึกษาของ Pinprapapan, Junlapeeya, Saovapha, Ongkan, & Sudjainark (2013) พบว่า ระยะเวลาการเป็นโรคความดันโลหิตสูง (OR = .92 CI = .85 - .99) จานวนเม็ดยาที่รับประทานต่อวัน (OR = 1.73 CI = 1.01 – 2.94) และระยะเวลาการมารับการตรวจตามนัด (OR = .57 CI = .41 - .80) เปน็ ปจั จัยสาคัญท่ี ทานายการควบคุมความดันโลหิตในผู้ท่ีเป็นโรคความดันโลหิตสูง นอกจากน้ีจากการศึกษาของ Katainoi, Danyuththasilpe, Noosorn และ Sririphonphaibun (2015) พบว่า ปัจจัยด้านความคิดและอารมณ์ ได้แก่ อทิ ธิพลด้านสถานการณ์โรคความดนั โลหิต การรบั รปู้ ระโยชนแ์ ละอุปสรรคต่อการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ปัจจัยด้านพฤติกรรมส่งเสริมสขุ ภาพ ได้แก่ การรับประทานอาหาร การจัดการความเครยี ด การออกกาลังกาย ละ อิทธิพลของครอบครัวและทีมสุขภาพ สามารถทานายระดับความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 36.60 สอดคล้องกับ งานวิจัยของ Pakdevong และ Binhosen (2014) พบว่า ระยะเวลาเจ็บป่วย จานวนยารักษาความดนั โลหติ สูงท่ี ไดร้ ับ พฤติกรรมสขุ ภาพดา้ นความรับผิดชอบตอ่ สขุ ภาพ การรับประทานอาหาร การออกกาลงั กาย และการจดั การ กับความเครียดมีความสัมพันธ์กับการควบคุมความดันโลหิตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี p<.05 จานวนยารักษา ความดันโลหิตสูงท่ีได้รับ (OR=.148, 95% CI 0.77-0.283, p=.000) และการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ (OR= 2.022, (95% CI 1.081-3.782, p=.028) ร่วมกันทานาย การควบคุมความดันโลหิตได้ ร้อยละ 27.90 (Cox and Snell R2 = .279) ปัจจุบนั พบวา่ ความรอบรู้ทางสุขภาพมีความสาคัญต่อการดแู ลสุขภาพของบุคคลเป็นอย่างมาก ความรอบ รู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) หมายถึง ความสามารถและทักษะในการเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพ ความรู้ ความ เข้าใจเพ่ือวิเคราะห์ประเมินและจัดการตนเอง รวมทั้งสามารถชีแ้ นะเร่ืองสุขภาพแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชนได้ ซ่ึงทาให้เกิดการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมสขุ ภาพได้ (Nutbeam, 2008) จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ ความ รอบรู้ทางด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพและผลลัพธ์ทางสุขภาพ ซึ่งจาการศึกษากระบวนการ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพจะนาไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (Woradaphakhna, 2020) สอดคล้องกับการศึกษา พบว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพที่จากัดมีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ทางสุขภาพท่ีไม่ดี และ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

56 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีส่งผลต่อการควบคุมความดันโลหิตโดยผู้ที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพใน ระดับตา่ ทาให้ไม่สามารถควบคมุ ความดันโลหติ ให้อยู่ในเกณฑเ์ ปา้ หมายได้ (Thongma, 2020) ผู้ป่วยโรคความดนั โลหิตสูงที่มีความรอบรดู้ า้ นสุขภาพอยู่ในระดับ สงู จะส่งผลต่อผลลัพธท์ างสุขภาพท่ีดีขึ้นใน 4 มิติ ได้แก่ 1. ผลลพั ธ์ ทางคลินิก (clinical outcomes) คือสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์การรักษา 2. ผลลัพธ์ต่อ พฤติกรรมสุขภาพ (behavioral outcomes) มีพฤติกรรมการรับประทานยาในระดับดี 3. ผลลัพธ์ต่อปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง แพทย์และผู้ป่วย (patient-physician interactions outcomes) คือมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับบุคลากร ทางดา้ นสขุ ภาพ และ 4. ผลลพั ธต์ ่อสุขภาพในดา้ น อ่นื ๆ (other outcomes) สามารถเขา้ ถึงข้อมูล ข่าวสารที่เป็น ประโยชน์ในการปฏิบัติตัว ทาให้มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดีมากกว่าผู้ท่ีมีความรอบรู้ต่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพส่งผล ต่อผลลัพธ์ทางสุขภาพของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงท้ังทางตรงและทางอ้อม (Thongma, 2020) สอดคล้องกับ การศึกษาของ Wannasirikul, Termsirikulchai, Sujirarat, Benjakul, & Tanasugarn (2016) พบว่า ความรอบ รู้ทางด้นสขุ ภาพไม่เพียงแต่มีผลโดยตรงต่อพฤตกิ รรมความร่วมมือในการรับประทานยาของผ้ปู ่วยความดันโลหิตสูง แต่ยังเป็นตัวแปรคั่นกลางอีกด้วย เช่นเดียวการศึกษาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่พบว่า ความรอบรู้ทางด้าน สุขภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้เก่ียวกับการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง (r = .30, p = .011) และ พฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพ (r = .37, p = .002) (Kareesuun, Malathum & Sutti, 2019) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาปัจจัยทานายการควบคุมความดันโลหิตในผู้ท่ีเป็นโรคความดัน โลหิตสูง โดยศึกษาปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการรักษา ปัจจัยการมีโรคร่วม ปัจจัยด้านพฤติกรรมและปัจจัยความรู้รอบ ทางด้านสุขภาพเพื่อใช้ในการพัฒนาโปรแกรมเพ่ือส่งเสริมให้ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับ ความดนั โลหติ สงู ได้ตามเปา้ หมายของการรักษา วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 1.เพอื่ ศกึ ษาการควบคมุ ความดนั โลหิตในผู้เป็นโรคความดันโลหติ สงู ในเขตอาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง 2.เพื่อศึกษาปจั จัยทานายการควบคุมความดันโลหติ ในผเู้ ปน็ โรคความดันโลหิตสูง ในเขตอาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง สมมติฐานการวิจยั มีปจั จัยอย่างน้อย 1 ปจั จัยทส่ี ามารถทานายระดบั ความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหติ สงู ได้ เช่น พฤติกรรมการดูแลตนเอง ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ การมโี รคร่วม จานวนยาท่ใี ชใ้ นการรักษา วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

57 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ขอบเขตการวิจัย การวิจัยนี้มีขอบเขตการศึกษาประกอบด้วย 1) ด้านเนื้อหามุ่งศึกษาการควบคุมและปัจจัยทานายการ ควบคมุ ความดันโลหิตสูง 2) ดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ผ้ปู ่วยทเ่ี ปน็ โรคความดนั โลหิตสงู อายุต้ังแต่ 35 ปี ขึ้นไปที่ข้ึนทะเบียนรับการรักษา จานวน 28,401 คน โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จานวน 385 คน 3) ด้านพื้นท่ี คือ เขต อาเภอเมืองลาปาง จงั หวัดลาปาง 4) ดา้ นระยะเวลา คอื ระหว่างเดอื นสงิ หาคม พ.ศ.2563 – พฤษภาคม พ.ศ. 2564 กรอบแนวคิดการวจิ ัย ความรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพ -Functional health literacy -Communication health literacy -Critical health literacy พฤติกรรมการดแู ล การควบคมุ ความดนั โลหิต ตนเอง -การควบคุมอาหาร -การออกกาลงั กาย -การควบคมุ ปจั จยั เส่ยี ง -การรบั ประทานยา -การจดั การความเครียด -การมาตรวจตามนดั ปัจจยั ด้านการรกั ษา -จานวนยาทีใ่ ชใ้ นการ รักษา ปจั จยั ภายในตัวผู้ป่วย -จานวนการมโี รคร่วม ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ การวิจัย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

58 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) วธิ ีดาเนนิ การวิจัย การวิจัยน้ีเป็นเป็น Predictive design ศึกษาจาก secondary data ของงานวิจัยเร่ือง ความสัมพันธ์ ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตอาเภอเมือง ลาปาง จังหวดั ลาปาง (Dumrongwuttichot , 2021) ซ่งึ เกบ็ ขอ้ มูลในประชากรท่เี ป็นโรคความดนั โลหติ สูงท่ีอาศัย อยู่ในเขตอาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรคือ ผู้ป่วยท่ีเป็นโรคความดันโลหิตสูงอายุตั้งแต่ 35 ปีข้ึนไป ที่ขึ้น ทะเบียนรับการรักษาในอาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง จานวน 28,401 คน คานวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธี Taro Yamane ได้กลุม่ ตวั อย่าง รวม dropout rate จานวน 385 คน วิธีการได้มาซงึ่ กล่มุ ตวั อยา่ งโดยการสมุ่ แบบ Multi - Stage Random Sampling ผู้ป่วยท่ีข้ึนทะเบียนรับการรักษาในเขตอาเภอเมือง จังหวัดลาปาง และสุ่ม กลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนประชาการในแต่ละสถานบริการ และสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากรายชื่อผู้ป่วยที่ขึ้น ทะเบียนรับการรักษาในสถานบรกิ ารทีส่ มุ่ ได้ เกณฑ์คดั เลือก (Inclusion criteria) 1.ผู้ปว่ ยที่ไดร้ บั การวินิจฉัยว่าเป็นโรคความดนั โลหติ สงู และรักษาอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป และขึน้ ทะเบยี น การรักษาในอาเภอเมือง จงั หวดั ลาปาง 2.อายตุ ง้ั แต่ 35 ปีขึน้ ไป 3.สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้ ไม่มปี ญั หาดา้ นการมองเหน็ 4.ความดนั โลหิตซิสโตลคิ นอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากบั 150 mmHg และความดันไดแอสโตลิคนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากบั 100 mmHg และไม่มีอาการแสดงหรือมีภาวะแทรกซ้อนจนไม่สามารถตอบแบบสอบถามได้ โดยพิจารณาจากการ คา่ ความดนั โลหิตจากการมารับการตรวจครง้ั ล่าสดุ เกณฑ์คัดออก (Exclusion criteria) ผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูงขณะเข้ารว่ มโครงการมีอาการหรอื อาการแสดงทีม่ ผี ลตอ่ การตอบแบบสอบถาม เครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เครื่องมือทีช่ ้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบดว้ ย 3 สว่ นได้แก่ ส่วนท่ี 1 แบบบนั ทกึ ข้อมูลสว่ นบคุ คลและ ขอ้ มูลเกี่ยวกับการเจบ็ ป่วยและการรักษา สว่ นท่ี 2 แบบสอบถามความรอบร้ดู า้ นสุขภาพ สว่ นท่ี 3 แบบสอบถาม พฤติกรรมการดูแลตนเองในโรคความดันโลหติ สูง โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. แบบบันทกึ ข้อมลู ส่วนบคุ คลและข้อมลู เกีย่ วกบั การเจบ็ ป่วยและการรกั ษาไดแ้ ก่ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา สทิ ธกิ ารรักษา การมีโรคอนื่ รว่ ม กล่มุ ยาที่ใชร้ ักษาโรคความดนั โลหติ สูง และ ระดับความดนั โลหติ คร้ังลา่ สุด วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

59 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) 2. แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ ใช้แบบสอบถามความรอบรู้ (Functional Communication and Critical Health Literacy Scales: FCCHL) ของจิราพร ชลธชิ า ชลาลกั ษณ์ (Chontichachalalauk, 2015) โดยจาแนกประเภทความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับข้ันพื้นฐาน จานวน 5 ข้อ ขั้นการสื่อสาร จานวน 5 ขอ้ และขั้นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ จานวน 4 ข้อ ลกั ษณะคาถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า 4 ระดบั คอื ไมเ่ คยจนถึงบ่อยครั้งจานวนทงั้ หมด 14 ขอ้ คะแนนรวมอย่ใู นชว่ ง 14-56 คะแนน คะแนนมากหมายถงึ มีความ รอบรู้สงู 3.แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองในโรคความดันโลหิตสงู สร้างขึ้นโดย ยุทธพงษ์ พรหมเสนา (Promsena, 2007) ซึ่งครอบคลุมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 6 ด้าน ได้แก่ การรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การ ควบคุมปัจจัยเสี่ยง การรับประทานยา การจัดการกับความเครียด และการมาตรวจตามนัด ลักษณะคาถามเป็น แบบมาตรประมาณค่า 3 ระดับคือ ปฏิบัติเป็นประจา ปฏิบัติเป็นบางคร้ัง และไม่ปฏิบัติจานวน 30 ข้อคะแนน รวมอยู่ในช่วง 0-60 คะแนน คะแนนมากหมายถงึ มพี ฤติกรรมการดูแลตนเองในโรคความดันโลหิตมาก การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ Functional Communication and Critical Health Literacy Scales (FCCHL) และ แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองในโรคความดันโลหิตสูง ตรวจสอบความเท่ียงของ เคร่ืองมือโดยการนาไปทดลองใช้ในผู้ท่ีเป็นความดันโลหิตสูงที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 ราย แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ วิเคราะห์โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากบั 0.70 และ 0.87 ตามลาดับ การวเิ คราะห์ข้อมลู 1.ข้อมูลส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง พรรณนา จานวน รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 2.การวเิ คราะหป์ จั จัยทานายการควบคุมความดันโลหติ โดยใชส้ ถิติ Binary logistic regression โดยก่อน การวิเคราะห์ Binary logistic regression ได้ทาการทดสอบ multicollinearity พบว่าตัวแปรทานายไม่เกิด ปัญหา multicollinearity โดยพบวา่ ค่าสมั ประสทิ ธิ์สหสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรทานาย อยู่ท่ี 0.012-0.075 การพทิ กั ษส์ ิทธิ์ของกลุ่มตวั อย่างและจรยิ ธรรมการวิจยั การวิจยั คร้งั น้ผี า่ นการพิจารณาและไดร้ บั อนุมัติจากคณะกรรมการวิจยั ในมนษุ ย์ของวทิ ยาลัยพยาบาลบรม ราชชนนี นครลาปาง ได้รับเอกสารรับรองเลขที่ E 2564-076 ผู้วิจัยได้ขออนุญาตใช้ข้อมูลจากงานวิจัยจาก หนว่ ยงานตน้ สังกดั เรียบร้อยแลว้ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

60 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผลการวจิ ัย 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอยา่ ง 1.1 ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 237 คน คิดเป็นร้อยละ 61.60 และ เพศชาย จานวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 38.40 อายอุ ยรู่ ะหว่าง 35-80 ปี อายเุ ฉลย่ี 63.40 ปี (Mean=63.40,S.D.= 9.60) เกือบท้ังหมดนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.30 สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 70.10 มีระดับการศึกษาในระดับ ประถมศึกษาร้อยละ 77.90 ประกอบอาชีพเกษตรกร และรับจ้างท่ัวไป ร้อยละ 31.70 และ 30.40 ตามลาดับ มี รายได้จากเบ้ียผ้สู งู อายุ คิดเป็นรอ้ ยละ 64.20 รองลงมา คอื ไดร้ ายได้จากบตุ รหลาน รอ้ ยละ 40.00 ความเพยี งพอ ของรายได้ ส่วนใหญ่ ร้อยละ 42.60 มีรายไดเ้ พยี งพอแตไ่ มเ่ หลือเกบ็ รอ้ ยละ 31.70 มีรายไดเ้ พยี งพอและเหลือเก็บ 1.2 การเจ็บป่วยและการรักษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 85.70 ใช้สิทธิ์บัตรประกันสุขภาพถ้วน หน้าในการรักษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 54.30 มีโรคร่วม โดยโรคหรือการเจ็บป่วยที่พบร่วมกับ ความดันโลหิตสูง ได้แก่ ภาวะไขมนั ในเลอื ดสูง ร้อยละ 34.30 เบาหวาน ร้อยละ 30.60 กล่มุ ยาท่ใี ช้รักษาความดัน โลหิตสูง พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 79.50 ได้รับการรักษาด้วยยาในกลุ่มต้านแคลเซียม (calcium channel blockers) รองลงมาใชย้ ากลุม่ Beta-adrenergic receptor blockers ร้อยละ 15.80 โดยกลุ่มตวั อย่าง ส่วนใหญ่ร้อยละ 93.80 ใช้ยารักษาโรคความดันโลหิตเพียง 1 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างเกินก่ึงหน่ึง ร้อยละ 59.00 สามารถควบคุมความดันโลหิตต่ากว่า 140/90 มม.ปรอท โดยคา่ เฉลี่ยความดนั โลหติ ซิสโตลิคเท่ากับ 133.74 มม. ปรอท ค่าเฉลีย่ ความดันโลหติ ไดแอสโตลคิ เท่ากับ 79.71 มม.ปรอท 2.ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉล่ียความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Mean= 3.03 ,S.D.= 0.58) อยใู่ นระดบั มาก เมอ่ื พจิ ารณาระดับความรอบรู้ 3 รายดา้ น พบวา่ กลมุ่ ตวั อย่างมีคา่ เฉลยี่ ความ รอบรู้ด้านสุขภาพระดับข้ันพ้ืนฐาน (Mean= 2.83, S.D. = 0.94) แสดงว่ามีความรอบรู้ขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับปาน กลาง ความรอบรู้ด้านสุขภาพข้ันการส่ือสาร (Mean=3.01,S.D. = 0.68) และความรอบรู้ด้านสุขภาพข้ันการมี วิจารณญาณ (Mean= 3.18,S.D. = 0.74) แสดงว่า มีความรอบรู้ขั้นการสื่อสารและข้ันการมีวิจารณญาณอยู่ใน ระดับมาก ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 แสดงจานวน ค่าเฉลย่ี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวม และรายดา้ น (n = 385) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ Mean S.D. ระดับ ความรอบรูด้ ้านสุขภาพขั้นพื้นฐาน (Functional health 2.83 0.94 ปานกลาง literacy) มาก ความรอบรู้ด้านสุขภาพขน้ั การส่ือสาร(Communication 3.01 0.68 มาก health literacy) 3.18 0.74 ความรอบร้ดู ้านสุขภาพข้ันการมวี ิจารณญาณ 3.03 0.58 ระดับมาก (Critical health literacy) ระดบั ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพโดยรวม หมายเหตุ คะแนนเฉล่ีย 3.01-4.00 = ระดับมาก, 2.01-3.00 = ระดับปานกลาง, 1.00 – 2.00 = ระดบั น้อย วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

61 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) 3.พฤติกรรมการดแู ลตนเอง ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวม (Mean=1.74 ,S.D. = 0.17) แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับมาก เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉล่ียพฤติกรรมด้านอาหาร (Mean= 1.51, S.D. = 0.48) ด้านออกกาลังกาย (Mean= 1.51, SD = 0.51) ด้านการควบคุมปัจจัยเสี่ยง (Mean= 1.89, S.D. = 0.10) ด้านการรับประทานยา (Mean= 1.95, S.D. = 0.86) ด้านการจัดการกับความเครียด (Mean= 1.71, S.D. = 0.33) ด้านการมาตรวจตามนัด (Mean= 1.83, S.D. = 0.28) แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการดูแลตนเองในแต่ละด้านขา้ งตน้ ในระดบั มาก ดัง แสดงในตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 แสดงจานวน คา่ เฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับพฤติกรรมการดูแลตนเองในโรคความดันโลหิตสูง โดยรวมและรายด้าน (n = 385) พฤตกิ รรมการดูแลตนเองใน Mean S.D. ระดบั โรคความดันโลหติ สูง ด้านการควบคุมอาหาร 1.51 0.48 มาก ด้านการออกกาลงั กาย 1.51 0.51 มาก ด้านการควบคุมปจั จัยเส่ยี ง 1.89 0.10 มาก ดา้ นการรับประทานยา 1.95 0.86 มาก ด้านการจดั การกับความเครียด 1.71 0.33 มาก ด้านการมาตรวจตามนัด 1.83 0.28 มาก รวมรายด้าน 1.74 0.17 มาก หมายเหตุ คะแนนเฉล่ีย 1.31 – 2.00 = ระดับมาก, 0.61 – 1.30 = ระดับปานกลาง, 0.00 – 0.60 = ระดบั น้อย 4 ปัจจัยทานายการควบคุมความดันโลหิต กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ( Division of Non Communicable Disease, 2021) ท่ีระบุเกณฑ์ตัวชี้วัดว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดัน โลหิตได้ดี หมายถึง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันโลหิตครั้งสดุ ท้าย < 140 และ < 90 มม. ปรอท. ในการวิจัยนี้จึงใช้ระดับความดันโลหิตท่ีน้อยกว่า 140/90 มม. ปรอท.เป็นกลุ่มท่ีควบคุมความดันโลหิตได้ ส่วน ผู้ป่วยท่ีมีความดันโลหิตมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มม. ปรอท. กรณีท่ีมีค่าความดันโลหิตสูงกว่าเกณฑ์ตัวใดตัว หนึ่งให้ถือเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ ผลการศึกษาพบว่า จานวนกลุ่มยาท่ีใช้ใน การรักษาโรคความดันโลหิตสูง (OR = 2.91, CI= 1.20-7.03, p = .018) การมีโรคร่วม (OR = 1.53, CI= 1.01- 2.33, p = .044) และความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ (OR = 1.02, CI= 1.0-1.05, p = .044) เปน็ ปจั จยั ทสี่ ามารถทานาย การควบคุมความดันโลหิตของกลมุ่ ตัวอย่าง โดยปจั จัยท้งั 3 รว่ มกนั ทานายได้ รอ้ ยละ 3.80 (Cox and Snell R2 = วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

62 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) .038) ดังแสดงในตารางท่ี 3 เมื่อนาระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพขั้นพื้นฐาน ข้ันการส่ือสาร และข้ันการมี วิจารณญาณ มาวิเคราะห์ปัจจัยทานายการควบคุมโลหติ ของกลุ่มตัวอย่างพบวา่ ความรอบรู้ข้ันการมีวิจารณญาณ เพียงด้านเดียวท่ีเป็นปัจจัยทานายการควบคุมโลหิต (OR = 1.120, CI= 1.021-1.229, p = .017) ดังแสดงใน ตารางที่ 4 ตารางท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ Binary logistic regression ระหวา่ งปัจจยั ภายในตวั ผ้ปู ว่ ย ปจั จยั ด้านการรักษา ความรอบรดู้ ้านสุขภาพ และ พฤติกรรมการดูแลตนเอง กับการควบคุมความดันโลหิต 95% Confidence ปัจจยั ทานาย p-value Odds ratio Interval β Lower Upper ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ .026 .044 1.026 1.001 1.053 พฤติกรรมการดูแลตนเอง .005 .785 1.005 .968 1.044 ปจั จยั ดา้ นการรกั ษา จานวนกลุ่ม Odds ยาทใ่ี ช้ 1.068 .018 2.909 1.203 7.036 ปัจจัยภายในตัวผปู้ ่วย การมีโรคร่วม .429 .044 1.536 1.011 2.333 Constant = -2.203, -2 LLR = 506.243, Cox and Snell R2 = .038, Negelkerke R2 = .052 Hosmer and Lemeshow test X2 = 5.019, df = 8, p = .756 หมายเหตุ จานวนกลมุ่ ยาที่ใชแ้ บ่งออกเป็น 2 กลมุ่ คือ กลมุ่ ท่ใี ช้ยา1 ชนดิ รักษาโรคความดันโลหติ และ กลุม่ ท่ใี ชย้ ามากกวา่ 1 ชนิดรกั ษาโรคความดนั โลหติ ตารางที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ Binary logistic regression ระหว่าง ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพขน้ั พืน้ ฐาน ขั้นการ ส่ือสาร และขนั้ การมีวจิ ารณญาณ กับการควบคุมความดันโลหิต 95% Confidence ปจั จยั ทานาย p-value Odds ratio Interval β Lower Upper ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ข้นั พื้นฐาน .015 .503 1.016 .971 1.063 ขน้ั การส่อื สาร -.027 .481 .973 .902 1.050 ขนั้ การมวี จิ ารณญาณ .113 .017 1.120 1.021 1.229 Constant = -.867, -2 LLR = 513.212, Cox and Snell R2 = .021, Negelkerke R2 = .028 Hosmer and Lemeshow test X2 = 7.708, df = 8, p = .463 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

63 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) อภิปรายผล ผวู้ ิจัยอภิปรายตามวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั ดงั นี้ 1. การควบคุมความดันโลหิตพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 59.00 สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ต่ากว่า 140/90 มม. ปรอท. ซ่ึงรายงานรายละเอียดตัวชี้วัดเพ่ือกากับติดตามคุณภาพบริการ การดาเนินงานด้านโรคไม่ ติดต่อ (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหติ สูง) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของกองโรคไมต่ ิดต่อ กรมควบคุมโรค (Division of Non Communicable Disease, 2021) ทรี่ ะบุเกณฑ์ตัวช้ีวดั ว่า ผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสูงท่ีควบคุม ระดับความดันโลหิตได้ดี หมายถึง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงท่ีมีระดับความดันโลหิตครั้งสุดท้าย < 140 และ < 90 mmHg และระบุเป้าหมายไว้ทมี่ ากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 60.00 นั่นคือ อัตราการควบคุมความดันโลหติ ของ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในเขตอาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ยังไม่บรรลุเป้าหมายการดาเนินงาน ซึ่งสอดคล้องกับ รายงานของกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ( Division of Non Communicable Disease, 2021) ที่รายงาน ว่า ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตท่ีควบคุมได้ดีมีเพียงร้อยละ 56.52 และข้อมูลของสานักงานสาธารณสุข จงั หวัดลาปางทีร่ ายงานว่ามผี ู้ป่วยโรคความดันโลหติ สูงทีส่ ามารถควบคุมความดนั โลหิตไดต้ ามเกณฑร์ ้อยละ 58.99 (Lampang Provincial Public Health, 2021) การท่ีกลุ่มตัวอย่างควบคุมความดันโลหิตได้เพียงกึ่งหน่ึงอาจ เนื่องมาจาก การทก่ี ล่มุ ตวั อย่าง รอ้ ยละ 54.30 มโี รคอน่ื รว่ มด้วย คือภาวะไขมันในเลือดสูง และเบาหวาน (รอ้ ยละ 34.30, 30.60 ตามลาดับ) ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่ทาให้กลุ่มตัวอย่างควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ตามเกณฑ์การรักษา ซ่ึงจากแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงซึ่งมีโรคเบาหวานร่วมด้วย ควรได้รับยารักษาโรคความดันโลหิตสูง มากกว่า 1 ชนดิ เพ่อื ควบคุมความดันโลหติ ใหไ้ ด้ตามเป้าหมาย (Thai Hypertension Society, 2019) 2. ปัจจยั ทานายการควบคมุ ความดันโลหิต พบวา่ ปจั จยั ทสี่ ามารถทานายการควบคุมความดันโลหติ ใน การศกึ ษาคร้งั น้ีได้แก่ จานวนกลุ่มยาทใี่ ช้ในการรกั ษาโรคความดันโลหิตสงู (OR = 2.91, CI= 1.20-7.03, p = .018) การมโี รครว่ ม (OR = 1.53, CI= 1.01-2.33, p = .044) และความรอบรูด้ ้านสุขภาพ (OR = 1.02, CI= 1.0-1.05, p = .044) เปน็ ปัจจัยท่ีสามารถทานายการควบคมุ ความดันโลหิตของกลมุ่ ตัวอย่าง โดยปัจจัยทงั้ 3 ร่วมกันทานาย ไดร้ อ้ ยละ 3.8 (Cox and Snell R2 = .038) โดยกลุ่มตัวอย่างทไ่ี ด้รับยารักษาความดันโลหติ จานวน 1 ชนิดสามารถ ควบคุมความดันโลหิตไดด้ ีกว่าผู้ที่ได้รบั ยามากกว่า 1 ชนิด 2.91 เทา่ และกลุ่มตวั อย่างท่ีไม่มีโรคร่วมสามารถควบคมุ ความดันโลหิตได้มากกว่ากลมุ่ ทม่ี โี รคร่วม 1.53 เท่า โดยกลุ่มตัวอยา่ งที่ได้รบั ยารักษาความดันโลหิต จานวน 1 ชนิด สามารถควบคุมความดนั โลหิตได้ดีกวา่ กลุ่มท่ีใช้ยามากกว่า 1 ชนดิ จากแนวทางการรักษาโรคความดันโลหติ สงู ผปู้ ่วยจะได้รบั ยารกั ษาเพยี ง 1 ชนิดเมอื่ เริ่มต้นการรกั ษา และจะพจิ ารณาเพิม่ กลุ่มยาเม่ือไมส่ ามารถควบคุมความ ดนั โลหิตได้ ซึ่งผู้ปว่ ยความดนั โลหิตสงู ท่ไี ดร้ ับยารกั ษาโรคความดนั โลหติ สูงเพยี ง 1 ชนิด มักจะเปน็ กลุ่มทสี่ ามารถ ควบคมุ ระดบั ความดนั โลหิตได้ตามเกณฑ์การรกั ษา (Thai Hypertension Society, 2019) สอดคล้องกับการศึกษา ของ (Pakdevong & Binhosen, 2014) พบว่า จานวนยาทใ่ี ชใ้ นการรักษาโรคความดันโลหติ สูงเปน็ ปจั จยั ทานาย การควบคมุ ความดนั โลหติ และการศึกษาของ (Pinprapapan, Junlapeeya, Saovapha, Ongkan, & Sudjainark, 2013) พบว่า จานวนยาทรี่ บั ประทานต่อวันเปน็ ปจั จัยในการทานายการควบคมุ ความดนั โลหติ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

64 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) สว่ นปัจจัยการมโี รคร่วม สามารถอธบิ ายได้จากแนวทางการรักษาโรคความดันโลหติ สูง แพทยจ์ ะพจิ ารณา เพิม่ กลุ่มยาที่ใช้ในการรกั ษาเมื่อพบว่าผปู้ ว่ ยไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์และ/หรือมีโรคอืน่ ร่วม การมโี รครว่ มทาให้การรักษาความดนั โลหิตสูงมขี ้อควรระวังเกย่ี วกับการใชย้ า ทาให้มขี อ้ จากัดเกย่ี วกับการใช้ ยาในการรักษาจึงทาให้กลุ่มที่มโี รครว่ มไมส่ ามารถควบคุมความดันโลหติ ได้ตามเกณฑ์การรกั ษา (Thai Hypertension Society,2019) สว่ นปัจจยั ความรอบรู้ด้านสุขภาพพบวา่ กลุ่มตวั อย่างที่มคี ะแนนความรอบรู้ด้านสุขภาพสงู สามารถ ควบคมุ ความดนั โลหิตได้ดีกว่ากลุม่ ทม่ี ีคะแนนความรอบร้ดู ้านสุขภาพต่า 1.02 เทา่ การศึกษาครง้ั น้ีพบว่ากลุ่ม ตวั อยา่ งส่วนใหญม่ คี วามความรอบร้ดู า้ นสุขภาพอยู่ในระดับมาก โดยพบว่ากลุ่มตวั อย่างส่วนใหญม่ ีศึกษาในระดบั ประถมศึกษา ซึ่งมีความสามารถในการอ่านออกเขยี นได้ ซง่ึ สอดคล้องกับการสารวจความรอบรูด้ า้ นสุขภาพของ ประชาชนไทย อายุ 15 ปี ข้นึ ไป ที่พบวา่ คนทอี่ า่ นไม่ได้และเขียนไมค่ ล่องมีโอกาสทจี่ ะมีความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่ เพยี งพอมากกว่าคนท่ีอ่านหรือเขยี นไดค้ ล่อง (Roma & Kloyiam, 2019) การทีบ่ คุ คลมีความรอบรสู้ ง่ ผลใหบ้ คุ คล สามารถรบั รู้และเข้าใจคาแนะนาในการปฏิบตั ติ ามแผนการรกั ษา แสวงหาข้อมูลเพิ่มเตมิ รบั รู้ วิเคราะห์ และเท่า ทนั ส่ือ ขา่ วสารตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การดูแลสขุ ภาพของตนเอง จึงสง่ ผลใหผ้ ู้ป่วยมีการปฏิบตั พิ ฤติกรรมในการดูแล ตนเองในระดบั ดี ทาให้เกดิ ผลลพั ธ์ทางดา้ นสุขภาพคือสามารถควบคมุ ความดนั โลหิตได้ตามเปา้ หมายของการรักษา สอดคลอ้ งกบั การศึกษาที่พบว่าความรอบรดู้ ้านสุขภาพมีอิทธพิ ลตอ่ ระดับความดนั โลหิต (β = -0.14, p < 0.05) (Wannasirikul, Termsirikulchai, Sujirarat, Benjakul & Tanasugarn,2016) นอกจากนีเ้ มื่อวิเคราะห์ความรอบ รู้ด้านสขุ ภาพแยกเป็น 3 ระดับ คอื ข้ันพน้ื ฐาน ขนั้ การส่ือสาร และขน้ั การมวี จิ ารณญาณ พบวา่ ความรอบร้ดู า้ น สขุ ภาพข้นั การมวี ิจารณาญาณเปน็ ปัจจัยทานายการควบคุมความดนั โลหติ (OR = 1.120, CI= 1.021-1.229, p = .017)โดยกลุ่มตวั อยา่ งที่มคี วามรอบร้ดู ้านสขุ ภาพข้ันการมีวิจารณญาณสงู สามารถควบคุมความดันโลหติ ไดม้ ากกว่า กลุ่มทีม่ ีความรอบรู้ด้านสขุ ภาพขั้นการมีวจิ ารณญาณตา่ ซึง่ ความรอบรูด้ า้ นสุขภาพขน้ั มีวิจารณญาณ เป็น ความสามารถของบคุ คลในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละเลอื กใชข้ ้อมลู ทางด้านสุขภาพเพ่ือนามาใช้ประโยชน์ตอ่ ตนเองและ บอกต่อข้อมูลแกบ่ คุ คลอ่ืนได้ ซง่ึ จะสามารถนาข้อมูลนน้ั ไปสู่การปฏบิ ัตเิ พอ่ื ให้เกดิ ผลลพั ธท์ ีด่ ีได้ สอดคล้องกับ การศกึ ษาที่พบว่า ความรอบรู้ทางดา้ นสุขภาพข้ันการมีวิจารณญาณ มีอทิ ธิพลมากท่ีสดุ ต่อระดับความดันโลหติ (Wannasirikul, Termsirikulchai, Sujirarat, Benjakul, & Tanasugarn, 2016) ส่วนพฤติกรรมการดูแลตนเอง พบว่าไม่สามารถทานายการควบคมุ ความดนั โลหติ ของกลุ่มตวั อยา่ งในการศึกษาครั้งนี้ อาจเกิดจากกลุ่มตัวอย่างมี พฤติกรรมการดูแตนเองในทุกด้านอยู่ในระดบั มาก ท้งั รายดา้ นและภาพรวม ทาให้ไม่เกิดการกระจายตวั ของคา่ คะแนน อาจเป็นปจั จัยที่ทาให้เม่อื เขา้ สมการวิเคราะห์ทางสถิติจงึ เป็นปจั จยั ที่ไม่สามารถทานายการควบคมุ ความ ดันโลหิตของกลมุ่ ตัวอยา่ งได้ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

65 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ 1. ผลการศกึ ษาพบวา่ มีกล่มุ ตวั อยา่ ง ร้อยละ 59.00 ทีส่ ามารถควบคมุ ความดันโลหติ ไดต้ ามเกณฑ์การรักษา ในขณะทก่ี ลุ่มตัวอย่าง รอ้ ยละ 93.80 ได้รับยารกั ษาความดันโลหติ สงู 1 กล่มุ ร่วมกับ กลุ่มตวั อย่างร้อยละ 54.30 มี โรคร่วม ดงั น้นั บุคลากรทางสขุ ภาพควรให้ความสาคัญกับการประเมินระดับความดนั โลหติ ประวัติการมโี รครว่ ม ร่วมกบั แผนการรักษา เพอ่ื ให้ผ้ปู ว่ ยสามารถควบคุมความดันโลหติ ได้ตามเกณฑ์การรกั ษา 2. นาข้อมูลเกี่ยวกบั ความรอบรู้ดา้ นสุขภาพมาใชใ้ นการจัดโปรแกรมเพอ่ื ส่งเสรมิ ใหผ้ ูป้ ่วยความดนั โลหติ สงู มี ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพเพอื่ นาไปสกู่ ารควบคมุ ตามดันโลหิตตามเกณฑ์การรกั ษา โดยพัฒนาให้ผ้ปู ว่ ยมคี วามรอบรู้ ดา้ นสุขภาพ โดยเฉพาะความรอบรู้ข้ันวิจารณญาณ ซึง่ จะสง่ ผลให้ผู้ปว่ ยสามารถวิเคราะหข์ ้อมูลดา้ นสขุ ภาพเพ่ือ นาไปสูก่ ารควบคมุ ความดันโลหิตไดต้ ามเกณฑ์การรักษา ข้อเสนอแนะสาหรบั การศกึ ษาครงั้ ตอ่ ไป ผลการศกึ ษาครัง้ นม้ี ีขอ้ จากดั ในการอ้างอิงไปยงั กลมุ่ ประชากร ซึ่งผลการวจิ ัยนี้สามารถอา้ งองิ ไปได้ เฉพาะประชากรทม่ี ลี ักษณะเดียวกนั กบั การศึกษาครง้ั น้ี นอกจากน้ีในการศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาเส้นทาง อทิ ธิพลของตวั แปรความรอบรู้ที่อาจเปน็ ตัวแปรสง่ ผา่ น (mediator) ในการทาใหเ้ กิดผลลัพธท์ างดา้ นสขุ ภาพใน ผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหติ สูง เอกสารอา้ งองิ Aekplakorn, W. (2021). The sixth national health examination survey of Thailand population (2019-2020). Bangkok: Faculty of medicine Ramathibodi hospital Mahidol University.(inThai) Chontichachalalauk, J. (2015). Transalation and evaluation of version of the Diabetics Numeracy test for olders adults with type 2 diabetes. the United States: TheUniversityofTexasat Austin. Division of Non-Communicable disease. (2021). Indicators to monitor service quality non- communicable disease operations (diabetes and high blood pressure) Fiscal Year 2022. Retrieved. (2022, February 12) from. http://www.thaincd.com/2016/media- detail.php?id=14109&tid=&gid=1-015-005. (inThai) Dumrongwuttichot N..(2021).The relationship between health literacy and health care behaviors of hypertensive patients in Muang Lampang, Lampang.Independent study, Boromarajonani College of Nursing, Nakhon Lampang. Don Nutbeam. (2008). The evolving concept of health literacy . Social science and Medicine 57(12), 2072-2078. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

66 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) GBD 2019 Risk Factors Coolaborators. (2020). Global burden of 87 risk factors in 204 countries and territories, 1990-2019: systematic analysis for the global burden of disease study 2019 369(10258). The Lancet , 1223-1249. Katainoi. H., Danyuththasilpe, C., Noosorn, N. & Sririphonphaibun, T. (2015). Factor predicting blood pressure level among risk persons with hypertension. Journal of nursing and health sciences 9(3), 122-132. (in Thai) Kareesun, K., Malathum, P. & Sutti, N. (2019). Relationship among health literacy knowledge about hypertension control and health behavior in older persons with hypertension. Ramathibodi Nursing Journal, 25 (3), 280-295. (in Thai) Lampang Provincial Public Health. (2021). HDC Lampang. Retrieved. (2022, February 12). from. https://lpg.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php. Mills, T.K, Stefanescu, A. & He. J. (2020). The global epidermiology of hypertension. Nat Rev Nephrol 16(4), 223-237. NCD Risk Factor Collaboration. (2021). Worldwide trends in hypertension prevalence and progress in treatment and control from 1990 to 2019: a pooled analysis of 1201 population-representative studies with 104 million participants. 398. Lancet , 957-980. Pakdevong, N. and Binhosen, V. (2014). Factor predicted blood pressure control in persons with hypertension in one community hospital. JournalofNursingandhealthcare, 32(1)23-30. (inThai) Pinprapapan, E., Junlapeeya, P., Saovapha, B., Ongkan, T., Sudjainark, S. (2556). Predicting Factors of Controlling Blood Pressure Among Persons with hypertension in Lampang Province. Interdisciplinary Life-Course Human Potentials Development: Socio- Economic, Educational, Health and Nursing Perspectives, 763-774. Promsena, Y. (2007). Self-behavior among hypertensive patients at hypertension clinic, Nakornping Hospital. Chiang Mai : Chiang Mai University . Roma, W. and Kloyiam, S. (2019). Thai Health Literacy Survey (THL-S) of Thais aged 15 years and above, 2019. Nonthaburi: Health System Research Institute. Thai Hypertension Society. (2019). Thai Hypertension Society: Guidelines in the Treatment of Hypertension 2019. Retrieved. (2022, February 12) from. http://www.thaihypertension.org/files/HT%20guideline%202019.with%20watermark.pdf. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

67 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) Thongma, P. (2020). Health literacy and health outcomes in hypertensive patients . Thai Read Cross Nursing Journal 13(1), 50-62. (in Thai) Wannasirikul, P., Termsirikulchai, L., Sujirarat, D., Benjakul, S. & Tanasugarn, C. (2016). Health literacy, medication adherence, and blood pressure level among hypertensive older adults treated at primary health care centers. Southeast asian journal of tropical medicine and public health 47(1), 109-120. Woradaphakhna, L. (2020). An analytical study of health literacy and monks health care behaviors according to Dhamma-Vinaya to compliance with the health recommendations. Journal of graduate studies review 16(2), 129-138. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

Smoking cessation services provided in educational institutions : Possibilities, designs, problems and obstacles Donnapa Chaisombut 1*, Amporn Yana*, Buaban Yana* (Received : December 31, 2021 , Revised : February 28, 2022, Accepted: March 17, 2022) Abstract This survey study aimed to assess situations, possibilities, problems, obstacles and suggestion for designing a service to assist students in Phayao Province in quitting smoking. One hundred and eight participants, twenty-seven in each group, included school principals, teachers, parents, and students who had smoked in the past. The questionnaire consisted of two sessions: the school’s readiness to provide smoking cessation services and a knowledge test about the risks of smoking used as a research instrument. Descriptive statistics and content analysis were used to analyze data collection. Although most of the school principals, approximately 88.90%, strongly agreed that schools should provide smoking cessation, only 37.04% of teacher were trained to assist students in quitting smoking in the school. The smoking cessation service showed as an available resource to build smoking cessation clinic while some participants argued that the clinic was limited due to available places in the school. Integrating the cooperation among schools, parents, students, healthcare services, and communities reported as an effective way in term of managing smoking cessation in the school. In the private area of the smoking cessation clinic, students who volunteer to receive treatments besides needed experts and families to help them to quit smoking. Based on knowledge-related dangers of smoking, teachers and parents had a moderate level whereas students were at low level. Promoting both understanding and attitude relating to danger of smoking to educational team, students, and families should be included as a policy of smoking cessation services. Keywords: Cigarette abstinence; High school; Students * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Phayao, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health 1Corresponding author: [email protected] Tel: 0987479524 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

การจดั บริการเลิกบุหรี่ในสถานศึกษา : ความเป็นไปได้ รปู แบบ ปญั หาและอปุ สรรค ดลนภา ไชยสมบตั ิ1*, อัมพร ยานะ* ,บวั บาน ยะนา* (วันท่รี บั บทความ : 31 ธนั วาคม 2564 , วันแก้ไขบทความ: 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 , วนั ตอบรับบทความ: 17 มีนาคม 2565) บทคดั ยอ่ การศึกษาวิจัยคร้ังน้ี เป็นรูปแบบการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาสถานการณ์ ความเป็นไปได้ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะรูปแบบการให้การช่วยเหลือนักเรียน ให้เลิกบุหร่ีในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตจังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูอนามัย โรงเรียน/ครูผ้รู ับผิดชอบในการแก้ไขปญั หาเรอื่ งบุหร่ี, ผู้ปกครอง และ นักเรยี น จากโรงเรียนมัธยมศกึ ษาใน เขตจังหวัดพะเยาจานวน 27 โรงเรียน รวมจานวนผู้ร่วมวิจัยทั้งส้ิน 108 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถาม 1) ปัจจัยส่วนบุคคล, 2) ความคิดเห็นเก่ียวกับความพร้อมในการดาเนินการ จัดบริการเลิกบุหร่ีในโรงเรียน, 3) แบบสอบถามความรู้เก่ียวกับพิษภัยของบุหร่ี โดยเคร่ืองมือได้รับการ ตรวจสอบคุณภาพผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน วิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงปริมาณด้วยสถิติพรรณนาโดยใช้ ค่าความถ่ี รอ้ ยละ และค่าเฉลย่ี สาหรบั ข้อมูลเชงิ คณุ ภาพใช้การวิเคราะห์เชงิ เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ส่วนใหญ่ ร้อยละ 88.89 เห็นด้วยอย่างย่ิงกับการที่ โรงเรียนควรให้บริการเพื่อช่วยเลิกบุหรีใ่ นโรงเรียน ทั้งน้ี ครูอนามัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบ ร้อยละ 37.04 เคยมีประสบการณ์ในการอบรมให้ความรู้การช่วยให้นักเรียนเลิกบุหร่ี ครูมีประสบการณ์ในการให้การ ช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหรี่คิดเป็นร้อยละ 66.67 ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบมีความคิดเห็น เกี่ยวกับความพร้อมในการจัดบริการเลิกบุหรี่ในโรงเรียน อยู่ในระดับพร้อมมากในทุกด้าน ยกเว้น ครูมี ความเห็นว่า มีความพร้อมในระดับปานกลางในด้านสถานท่ีจัดทาเป็นคลินิกเพ่ือช่วยเลิกบุหร่ีในโรงเรียน นักเรียนส่วนใหญ่เห็นด้วยเก่ียวกับการจัดบริการเลิกบุหรี่ในโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 96.29 แต่ ร้อยละ 51.85 ของนักเรียน คิดว่านักเรียนจะไม่ไปใช้บริการถ้าโรงเรียนมีคลินิกช่วยเลิกบุหรี่ในโรงเรียน ผู้ปกครอง ทั้งหมดร้อยละ 100 เห็นด้วยเก่ียวกับการจัดบริการเลิกบุหรี่ในโรงเรียน ท้ังน้ีครู และ ผู้ปกครอง มีระดับ ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของบุหร่ีภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง แต่นักเรียนมีความรู้ภาพรวมอยู่ในระดับต่า ข้อเสนอแนะการวิจัย ควรมีการดาเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และการเลิก บุหรี่ ในโรงเรียน ให้แก่ คือ ครูอนามัยโรงเรียน/ครผู ู้รับผดิ ชอบในการแก้ไขปัญหาเรื่องบุหรี่ ผู้ปกครอง และ นักเรียน รวมท้ังการส่งเสริมทัศนคติที่ถูกต้องให้กับนักเรียนในการยอมรับการให้การช่วยเหลือในการ จดั บรกิ ารเลิกบุหรใี่ นโรงเรียน คาสาคญั : การเลิกบหุ รี่, โรงเรยี นมัธยม * อาจารยพ์ ยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พะเยา คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ 1ผปู้ ระพนั ธ์บรรณกิจ [email protected] โทร 0987479524 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

70 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนา สำนักงำนสถิติแห่งชำติ ได้ดำเนินกำรสำรวจพฤติกรรมกำรสูบบุหร่ีของประชำกรในปี พศ. 2560 จำก จำนวนประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไปท้ังส้ิน 55.90 ล้ำนคน พบว่ำ เป็นผู้ที่สูบบุหรี่ 10.70 ล้ำนคน (ร้อยละ 19.10) แยกเป็นผู้ที่สูบเป็นประจำ 9.40 ล้ำนคน (ร้อยละ 16.80) และเป็นผู้ที่สูบนำนๆ คร้ัง 1.30 ล้ำนคน (ร้อยละ 2.20) กลุ่มอำยุ 25-44 ปี มีอัตรำกำรสูบบุหรี่ สูงสุด (ร้อยละ 21.90) และ กลุ่มเยำวชน (อำยุ 15-19 ปี) มีอัตรำกำรสูบ บุหรี่ร้อยละ 9.70 ท้ังน้ี เมื่อพิจำรณำพฤติกรรมเส่ียงของประชำกรท่ีมีอำยุ ตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไป ท้ังเร่ืองกำรสูบบุหร่ี และด่มื สุรำควบคู่กันไป พบว่ำจังหวัดที่มีอัตรำผู้ทีส่ ูบบหุ ร่ีเป็นประจำและด่ืมสุรำสม่ำเสมอเกินกวำ่ ร้อยละ 10.00 มี ด้วยกันทั้งสิ้น 6 จังหวัด ได้แก่ จ.สุรินทร์ (ร้อยละ 11.70) จ.ลำพูน (ร้อยละ 11.30) จ.พะเยำ (ร้อยละ 10.50) จ.จันทบุรีและ จ.สมุทรสำครมีอัตรำเท่ำกัน (ร้อยละ 10.40) จ.นนทบุรี (ร้อยละ 10.30) ตำมลำดับ (National Statistical Office, 2018) สถำนกำรณ์กำรสูบบุหร่ีในเดก็ วยั รุ่นในจังหวัดพะเยำ นบั เป็นปัญหำสำคัญ จำกผลกำรศึกษำสถำนกำรณ์ กำรสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นที่กำลังศึกษำในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษำ และสำยอำชีพระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ (ปวช.) ของจังหวัดพะเยำ จำนวน 392 คน พบว่ำ กลุ่มตัวอย่ำงสูบบุหร่ีร้อยละ 31.10 อำยุที่กลุ่มตัวอย่ำงเร่ิมสูบ บหุ รค่ี ือ 13 ปี อตั รำกำรสูบบหุ รีข่ องเพศชำย เท่ำกับ 45.40 เพศหญิงเท่ำกับ 13.20 เหตุผลทีท่ ำให้กลมุ่ ตวั อย่ำงสูบ บุหรี่คือ อยำกลอง ร้อยละ 43.40 รองลงมำ คือ ลดควำมเครียดและตำมเพื่อน ร้อยละ 32.80 และ 22.10 ตำมลำดับ ซึ่งจะเห็นได้วำ่ นกั เรียนในโรงเรียนถอื เปน็ กล่มุ เปำ้ หมำยสำคญั ท่ีควรได้รบั กำรดูแลช่วยเหลือในกำรเลิก บุหร่ี (Chaikoolvatana, Sutti & Jaimalai, 2017) จำกกำรทบทวนวรรณกรรมในต่ำงประเทศ โปรแกรมกำร ช่วยเหลือให้เลิกบุหร่ีในโรงเรียน (School-based interventions) จัดเป็นกิจกรรมหนึ่งในกำรช่วยเหลือให้เลิก บุหรี่ในกลุ่มเยำวชนท่ีมีประสิทธิภำพมำกกว่ำวิธีกำรช่วยเหลืออื่นๆ เช่น กำรรับกำรรักษำจำกคลินิกเลิกบุหร่ีใน โรงพยำบำล และ กำรช่วยเหลือโดยครอบครัว (Gabble et al., 2015) และ จำกรำยงำนผลกำรศึกษำในโรงเรียน ของสหรัฐอเมริกำ พบว่ำ โปรแกรมกำรช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหร่ีในโรงเรียนมัธยมร่วมกับกำรให้รำงวัลและ สร้ำงแรงจงู ใจ สง่ ผลสำเรจ็ ต่อกำรเลกิ บุหรีใ่ นนักเรียนในระยะเวลำอนั ส้ัน (Krishnan-Sarin et al., 2013) ซ่ึง ศูนย์ ควบคุมโรคติดต่อสหรัฐอเมริกำ (Centers for Disease Control and Prevention, CDC) แนะนำกำรดำเนิน กิจกรรมแก้ไขปัญหำบุหรี่โดยใช้โรงเรียนเป็นฐำนร่วมกับแนวทำงอ่ืนๆ ในชุมชน เช่น กำรเพิ่มรำคำต่อหน่วยของ ผลิตภัณฑ์ยำสูบ กำรรณรงค์ต่อต้ำนยำสูบอย่ำงย่ังยืน และทำให้สภำพแวดล้อมปลอดบุหร่ี ให้เป็นแนวทำงในกำร แก้ไขปัญหำกำรสูบบุหรี่ (Centers for Disease Control and Prevention, 2014) และจำกกำรทบทวน วรรณกรรมอย่ำงเป็นระบบจำกบทควำมที่ตีพิมพ์ในวำรสำรในช่วง 10 ปีที่ผ่ำนมำ (พ.ศ. 2550-2562) ใน ต่ำงประเทศ มีขนำดของกลุ่มตัวอย่ำงอยรู่ ะหว่ำง 94 ถึง 2,801 คน บทควำมท้ังหมดมีกำรศึกษำทั้งในเพศชำยและ เพศหญิง อำยุของนักเรียนอยู่ในช่วง 11 ถึง 19 ปี ซ่ึงกำรศึกษำครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ำ ควำมรู้และโปรแกรมท่ี ส่งเสริมให้นักเรียนสำมำรถเลิกบุหร่ีและเน้นในโรงเรียนของรัฐบำล พบว่ำโปรแกรมให้สุขศึกษำกำรเลิกบุหร่ีของ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

71 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) โรงเรียนและโปรแกรมกำรออกกำลังกำยและกำรสัมภำษณ์เพ่ือสร้ำงแรงจูงใจสำมำรถ นำไปใช้ในโรงเรียนได้ดี (Hanpatchaiyakul et al., 2021) ในประเทศไทย มีกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำกำรสูบบุหร่ีในสถำนศึกษำ โดยเครือข่ำยครูเพื่อโรงเรียน ปลอดบุหร่ี (Teachers Networking for Smoke-Free Schools) ได้เริ่มดำเนินงำนภำยใต้กำรสนับสนุนจำก สำนักงำนกองทุน สนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) มำต้ังแต่ ปี พ.ศ.2548 จนถึงปัจจุบัน โดยสนับสนุนให้ โรงเรียนท่ีเป็นภำคี เครือข่ำยโรงเรียนปลอดบุหร่ี ท้ัง 31 จังหวัดครอบคลุมทุกภูมิภำค ได้ดำเนินงำนอย่ำงเป็น รูปธรรมด้วยกำรนำ “7 มำตรกำรเพื่อโรงเรียนปลอดบุหร่ี” ซ่ึงผลกำรวิจัยประเมนิ ผลโครงกำรโรงเรียนปลอดบุหรี่ โดยใช้รูปแบบกำรประเมิน CIPP Model โดยเปรียบเทียบโรงเรียนในเครือข่ำยโรงเรยี น ปลอดบุหรจี่ ำนวน 2 แห่ง กับ โรงเรียนที่ไม่ได้เป็นเครือข่ำยโรงเรียนปลอดบุหร่ี ที่มีบริบทใกล้เคียงกัน 2 แห่ง จำกกำรประเมิน พบว่ำกำร ดำเนินงำนโรงเรียนปลอดบุหร่ีของโรงเรียนในเครือข่ำยโรงเรียนปลอดบุหร่ี ได้ผลดีกว่ำโรงเรียนท่ีไม่ได้เป็น เครอื ข่ำยโรงเรียนปลอดบหุ ร่ีในทุกด้ำนอย่ำงชดั เจน โดย ด้ำนบริบท พบว่ำ โรงเรียนในเครือข่ำยฯ มีคนสูบบุหร่ีใน บริเวณโรงเรียนน้อยกว่ำในโรงเรียนท่ีไม่ได้เป็นเครือข่ำยฯ ด้ำนปัจจัยนำเข้ำ พบว่ำ โรงเรียนในเครือข่ำยฯ มี ผู้รับผิดชอบงำนด้ำนบุหรี่โดยตรง มีกำรจัดสถำนที่ให้ปลอดบุหรี่ มีครูที่ดูแลนักเรียนอย่ำงใกล้ชิด และส่งเสริมให้ นักเรียนมีส่วนรว่ มในกำรทำให้โรงเรยี นปลอดบุหรี่ ซ่ึงทำให้นักเรียนเห็นควำมสำคัญของพิษภัยบุหรี่และมีทักษะใน กำรปฏิบัติตนให้หำ่ งไกลบุหรี่ มำกกว่ำโรงเรียนทไ่ี ม่ไดเ้ ป็นเครือข่ำยฯ ด้ำนกระบวนกำร พบว่ำโรงเรยี นในเครอื ข่ำย ฯ มีกำรดำเนินงำนเพื่อโรงเรียนปลอดบุหร่ี ได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม มำกกว่ำ โรงเรียนที่ไม่ได้เป็นเครือข่ำยฯ ด้ำน ผลลัพธพ์ บวำ่ โรงเรียนในเครือข่ำยฯ นักเรียนมีควำมรู้ทถ่ี ูกต้องเก่ียวกับบุหร่ี ทัศนคตติ ่อกำรสูบบุหรี่ที่เหมำะสม มี ค่ำนิยมไม่สูบบุหร่ี และมีควำมต้ังใจแน่วแน่ว่ำจะไม่สูบบุหร่ีเพรำะเห็นว่ำสังคมไม่ยอมรับ (Action on Smoking and Health Foundation, 2018) แต่อย่ำงไรก็ตำม จำกกำรทบทวนวรรณกรรม ยังขำดข้อมูลท่ีชัดเจนเกี่ยวกับ กำรให้บริกำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน และส่วนใหญ่กิจกรรมในกำรดูแลช่วยเหลือให้คำปรึกษำเพ่ือกำรปรับเปลี่ยน พฤติกรรมกำรสูบบุหรี่แก่นักเรียนที่สูบบุหร่ีให้เลิกสูบบุหร่ี ในลักษณะรำยบุคคล ยังไม่มีผลรำยงำนกำรดำเนินกำร มำกนัก อีกทั้งเม่ือครูส่งต่อนักเรียนท่ีสูบบุหรี่เข้ำสู่ระบบบริกำรสุขภำพ พบว่ำนักเรียนส่วนใหญ่มักขำดควำม ต่อเน่ืองในกำรรับกำรบำบัดเพื่อเลิกบุหรี่ ซึ่งอำจเนื่องมำจำก ระยะทำงที่หำ่ งไกล และ ควำมไม่สะดวกในช่วงเวลำ ในกำรไปสถำนบริกำร (Smoking cessation clinic, Phayao Hospital, 2019) ดังนั้น ผู้วิจัย จึงสนใจศึกษำ ศกึ ษำสถำนกำรณ์ ควำมเป็นไปได้ ปัญหำ และ อุปสรรคในกำรดำเนินกำรเพื่อช่วยเลิกบุหรีใ่ นโรงเรยี นมัธยมศึกษำ และ ข้อเสนอแนะรูปแบบกำรให้กำรช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหร่ีในโรงเรียนมัธยมในพื้นท่ีเขตจังหวัดพะเยำ ทั้งหมด ( 27 โรงเรียน) ซึ่งยังไม่เคยมีกำรจัดบริกำรเลิกบุหร่ใี นสถำนศึกษำมำกอ่ น เพื่อนำมำเป็นข้อมูลพื้นฐำนใน กำรพัฒนำแนวคิดนวัตกรรมกำรจัดบริกำรช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหร่ี โดยครูในโรงเรียนอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยกำรพัฒนำระบบในโรงเรียน พัฒนำศักยภำพครูให้สำมำรถให้บริกำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน ให้กำรช่วยเหลือ นกั เรียนให้เลิกบุหร่ีรำยบุคคล และตดิ ตำมประเมินจนนักเรยี นเลกิ บุหรีอ่ ย่ำงถำวร ทำให้นักเรียนมีควำมต่อเน่ืองใน วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

72 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) กำรเลกิ บหุ ร่ี ซ่ึงกำรจดั บริกำรเลิกบุหร่ใี นโรงเรียนโดยครู จะทำให้นักเรียนที่ตดิ บุหรเี่ ขำ้ ถึงบรกิ ำรเลกิ บุหรไ่ี ด้มำกข้ึน มีควำมสะดวกต่อกำรเข้ำถึงบริกำรมำกกว่ำโรงพยำบำล ลดเวลำกำรเดินทำง และ สะดวกในช่วงเวลำกำรรับ บริกำร ทั้งน้ีกำรพัฒนำระบบกำรให้บริกำรเลิกบุหร่ีในโรงเรียนโดยครู สอดคล้องกับ ร่ำงแผนปฏิบัติกำรด้ำนกำร ควบคุมยำสูบแห่งชำติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2565-2570) ในยุทธศำสตร์ท่ี 2 ป้องกันมิให้เกิดผเู้ สพยำสูบรำยใหม่และเฝ้ำ ระวังธุรกิจยำสูบ โดยกำรให้ควำมรู้ โทษ พิษภัยของยำสูบ ให้แก่เด็ก เยำวชนและนักสูบหน้ำใหม่ เฝ้ำระวังและ บังคับใช้กฎหมำย กำรเข้ำถึงผลิตภัณฑ์ยำสูบ กำรโฆษณำ และรู้เท่ำทันกลยุทธ์ของอุตสำหกรรมยำสูบ (Royal Thai government, 2022) วตั ถปุ ระสงค์ ศกึ ษำสถำนกำรณ์ ควำมเปน็ ไปได้ ปัญหำ และ อปุ สรรคในกำรดำเนนิ กำรเพื่อช่วยเลิกบุหรีใ่ นโรงเรยี น มัธยมศกึ ษำ และ ข้อเสนอแนะรปู แบบกำรให้กำรชว่ ยเหลอื นกั เรียนใหเ้ ลิกบหุ ร่ีในโรงเรยี นมัธยม ขอบเขตงานวิจัย กำรศึกษำวิจัยคร้ังน้ี เป็นรูปแบบกำรวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) เพ่ือ ศึกษำสถำนกำรณ์ ควำม เป็นไปได้ ปัญหำ และ อุปสรรคในกำรดำเนินกำรเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ในโรงเรียนมัธยมศึกษำ และ ข้อเสนอแนะ รูปแบบกำรให้กำรช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหร่ีในโรงเรียนมัธยมในจังหวัดพะเยำ จำนวน 27 โรงเรียน กลุ่ม ตวั อย่ำงทใี่ ช้ศึกษำ คือ ผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ จำนวน 27 คน ครูอนำมยั โรงเรียน/ครผู ูร้ ับผิดชอบในกำรแกไ้ ขปญั หำ เรือ่ งบหุ รี่ จำนวน 27 คน นักเรียน จำนวน 27 คน ผปู้ กครองนกั เรยี น จำนวน 27 คน รวมจำนวนท้งั ส้ิน 108 คน ทำกำรศึกษำในระหวำ่ งเดือน 1 พฤศจกิ ำยน พ.ศ.2563 ถึง 30 มกรำคม พ.ศ.2564 วิธีดาเนินการวิจยั ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประชำกรในกำรวจิ ัยในครั้งน้ีศึกษำ อยใู่ นพื้นท่ีโรงเรยี นมัธยมศึกษำ ในเขตจงั หวัดพะเยำทุกแห่ง จำนวน 27 แห่ง โดยศึกษำ 4 กลุ่มตัวอย่ำง เลือกแบบเจำะจง (Purposive sampling ) ประกอบด้วย 1) ผู้บริหำรทุก โรงเรียน จำนวน 27 คน , 2) ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผูร้ ับผิดชอบในกำรแก้ไขปัญหำเร่อื งบุหรีใ่ นโรงเรียน โรงเรียน ละ 1 คน เป็นจำนวน 27 คน , 3) นักเรียนท่ีมีประสบกำรณ์/แนวโน้มเก่ียวข้องกับกำรสูบหร่ี โรงเรียนละ 1 คน เปน็ จำนวน 27 คน และ 4) ผู้ปกครองของนกั เรียนท่มี ีประสบกำรณ์/แนวโน้มเกี่ยวขอ้ งกบั กำรสูบหรี่ โรงเรียนละ 1 คน เป็นจำนวน 27 คน รวมจำนวนทัง้ ส้ิน 108 คน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

73 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ผ่ำนกำรตรวจสอบคุณภำพเคร่ืองมือ โดยผู้เชี่ยวชำญจำนวน 3 ท่ำน และหำ ควำมเชอ่ื ม่ัน (Reliability) กบั กลุม่ ตวั อยำ่ งที่มีควำมใกลเ้ คยี งกนั จำนวน 30 คน ประกอบด้วย สว่ นท่ี 1 แบบสอบถำมข้อมูลท่ัวไปและควำมคิดเห็นเบ้ืองตน้ เก่ียวกบั กำรจัดบริกำรเลิกบุหรี่ พัฒนำโดย ผู้วิจัย เปน็ คำถำมปลำยปิด มีคำตอบแบบเลือกตอบ (Check List) จำแนกตำมกลมุ่ ตวั อย่ำง 1.1 ผู้บริหำรสถำนศึกษำ : อำยุ เพศ ตำแหน่ง ระยะเวลำในกำรดำรงตำแหน่ง ประสบกำรณใ์ น กำรอบรมควำมรู้เก่ียวกับกำรแก้ไขปัญหำบุหรี่ ควำมเห็นเกี่ยวกับกำรจัดให้บริกำรเลิกบุหร่ีในโรงเรียน (เห็นด้วย อย่ำงยิ่ง, ปำนกลำง, เล็กน้อย, ไม่เห็นด้วย) และ โครงกำรเลิกบุหรีท่ ี่เคยดำเนินกำรในโรงเรียน 1.2 ครอู นำมัยโรงเรยี น/ครูผ้รู บั ผดิ ชอบในกำรแก้ไขปัญหำเรื่องบุหรี่ อำยุ เพศ ตำแหน่ง ระยะเวลำในกำรทำงำน กำรอบรมควำมรู้เก่ียวกับกำรแก้ไขปัญหำบุหรี่ โครงกำรเลิกบุหรี่ที่เคยดำเนินกำรใน โรงเรียน ประสบกำรณก์ ำรชว่ ยเหลอื เดก็ ใหเ้ ลิกบหุ รี่ และ เทคนคิ ท่ีเคยใชใ้ นกำรช่วยนักเรียนให้เลิกบหุ ร่ี 1.3 นักเรียน : อำยุ เพศ ระดับชนั้ เกรดเฉลย่ี คำ่ ใชจ้ ำ่ ยท่ีไดร้ บั จำกผู้ปกครอง รูปแบบกำรอยู่ อำศัย พฤติกรรมกำรสูบบุหร่ี ควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรจัดบริกำรเลิกบุหรี่ (เห็นด้วย, ไม่เห็นด้วย) และ กำรไปใช้ บรกิ ำรคลนิ กิ เลกิ บุหร่ีในโรงเรยี น (ใช้, ไมใ่ ช)้ 1.4 ผูป้ กครอง : อำยุ เพศ กำรศกึ ษำ อำชีพ อำศัย พฤติกรรมกำรสูบบหุ รี่ และ ควำมคิดเห็น เก่ยี วกับกำรจดั บรกิ ำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน (เห็นด้วย, ไม่เหน็ ดว้ ย) ส่วนที่ 2 ควำมคิดเห็นเก่ียวกับควำมพรอ้ มในกำรจัดบริกำรเลิกบุหรีใ่ นโรงเรียน (เฉพำะผู้บรหิ ำรและครู) พัฒนำโดยผู้วิจัย ประกอบด้วยข้อคำถำมควำมพร้อมใน 5 ประเด็น คือ นโยบำยและส่ิงสนับสนุน บุคลำกร สถำน บรกิ ำรสนบั สนุน และ นักเรียน ประกอบดว้ ยข้อคำถำม 10 ข้อ กำหนดระดบั มำตรำส่วนของคำตอบ 5 ระดบั จำก พรอ้ มมำกที่สดุ มำก ปำนกลำง น้อย น้อยทสี่ ดุ แปลผลแบ่งระดับคะแนนเปน็ 3 ระดบั พร้อมนอ้ ย (ค่ำเฉล่ยี 1.00- 2.33), พร้อมปำนกลำง (คำ่ เฉลี่ย 2.34 -3.66), และ พรอ้ มมำก (คำ่ เฉล่ยี 3.67-5.00) แบบสอบถำมมีคำ่ ควำมตรง เชิงเนอื้ หำ (IOC) = 0.90 และ ค่ำควำมเช่ือม่นั (Cronbach's alpha) = 0.89 ส่วนที่ 3 แบบสอบถำมควำมรู้เก่ียวกับพิษภัยของบุหรี่ พัฒนำโดยผู้วิจัยประกอบด้วยคำถำม 13 ข้อ ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 คะแนน แปลผลแบ่งระดบั คะแนนเป็น 3 ระดับ ควำมรู้ระดับต่ำ (≤7คะแนน, <60% ), ระดับปำนกลำง (8-10 คะแนน, 60-79%), ระดับสูง (11-13 คะแนน, ≥ 80%)) แบบสอบถำมมีค่ำควำมตรงเชิง เนือ้ หำ (IOC) = 0.80 และ ค่ำควำมเชือ่ ม่ัน (KR-20) ได้ 0.74 สว่ นท่ี 4 เป็นขอ้ คำถำมเกี่ยวกับแนวคิดและควำมพร้อมในกำรดำเนินกำรจัดบริกำรเลิกบุหรี่ ในโรงเรียน เป็นข้อคำถำมปลำยเปิดสอบถำมควำมคิดเห็นเก่ียวกับควำมเป็นไปได้ รปู แบบ ปัญหำอุปสรรค เกี่ยวกับจดั บริกำร เลกิ บุหร่ใี นโรงเรียน วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

74 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) การพิทกั ษส์ ทิ ธิ์ของกลุม่ ตัวอย่างและจรยิ ธรรมวจิ ัย วจิ ัยน้ีผำ่ นกำรรับรองจำกคณะกรรมกำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ วทิ ยำลัยพยำบำลบรมรำช ชนนี พะเยำ เลขท่ี REC 010/63 ผ้วู ิจัยได้ทำกำรพทิ ักษ์สทิ ธข์ิ องกลุ่มประชำกรท่ีศึกษำโดยช้ีแจงในกำรเข้ำรว่ มวิจัย ให้ผู้เข้ำร่วมกำรวิจัยทรำบวัตถุประสงค์และขั้นตอนกำรวิจัย พร้อมท้ังลงนำมยินยอมและขอควำมร่วมมือในกำร รวบรวมข้อมูล มีกำรชี้แจงสิทธิ์ที่ผู้ร่วมวิจยั สำมำรถเขำ้ ร่วมกำรวจิ ัย หรือสำมำรถปฏิเสธท่ีจะไม่เข้ำร่วมกำรวิจัยใน คร้ังน้ีได้ โดยไม่มีผลเสียหำย สำหรับข้อมูลท่ีได้จำกกำรวิจัยครั้งน้ีจะไม่มีกำรเปิดเผยให้เกิดควำมเสียหำยแก่ ผเู้ ข้ำร่วมวิจัย โดยคณะผู้วจิ ัยเสนอกำรวจิ ยั ในภำพรวมและนำมำใชป้ ระโยชนใ์ นกำรศกึ ษำเทำ่ น้ัน การเก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินกำรดังนี้ 1. ทำหนังสือติดต่อประสำนงำน สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำพะเยำ เพ่ือประสำนงำนใน กำรเขำ้ ไปเก็บข้อมูลในโรงเรียน โดยมีครูผู้รับผิดชอบด้ำนกำรแก้ไขปัญหำบุหร่ีของโรงเรยี น ท้ัง 27 โรงเรียนเป็นผู้ ประสำนงำน อำนวยควำมสะดวกในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล 2. นักวิจัยลงพ้ืนที่เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองจำก ท้ัง 27 โรงเรียน โดยกำรใช้แบบสอบถำม ร่วมกับ กำรสัมภำษณ์ผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ และ ใชแ้ บบสอบถำมตอบด้วยตนเอง สำหรับ 1) ครูผู้รบั ผิดชอบด้ำนกำรแก้ไข ปัญหำบุหร่ี โรงเรยี นๆ ละ 1 คน, 2) นักเรียนที่มีควำมเสี่ยง/ประสบกำรณ์เกย่ี วข้องกบั กำรสูบบุหรี่ จำนวน 27 คน และ 3) ผู้ปกครองของนกั เรยี นทม่ี คี วำมเสย่ี ง/ประสบกำรณ์เกย่ี วข้องกับกำรสบู บหุ ร่ี จำนวน 27คน 3. นำข้อมลู มำบรรณำธิกร ทำกำรบันทึกข้อมูลเพื่อเตรยี มวเิ ครำะห์ การวิเคราะห์ข้อมลู ข้อมลู ส่วนบคุ คล ข้อมลู เชิงปริมำณ วิเครำะห์ดว้ ยสถิตพิ รรณนำ (Descriptive statistic) โดยใช้ คำ่ ควำมถี่ ร้อยละ และค่ำเฉลี่ย และ ขอ้ มูลเชงิ คุณภำพใช้กำรวเิ ครำะหเ์ ชิงเนอื้ หำ ผลการวิจยั ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูอนามยั โรงเรยี น/ครผู ูร้ บั ผิดชอบในการแก้ไขปญั หาเร่อื งบุหร่ี ผปู้ กครอง และ นักเรยี น ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของข้อมลู ทว่ั ไป และ ควำมเหน็ เบื้องตน้ เก่ยี วกับจดั บรกิ ำรเลกิ บุหรีใ่ นโรงเรียน ของผู้บริหำรสถำนศกึ ษำ (n = 27) ข้อมูล จานวน(คน) ร้อยละ เพศ 23 85.19 4 14.81 ชำย หญงิ อายุ (Mean= 53.81, S.D. =6.04, MIN = 39, MAX = 61) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

75 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของข้อมลู ทัว่ ไป และ ควำมเหน็ เบ้ืองตน้ เกยี่ วกับจดั บริกำรเลิกบหุ รีใ่ นโรงเรียน ของผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ (n = 27)(ต่อ) ขอ้ มูล จานวน(คน) ร้อยละ ตาแหนง่ ผู้บริหารสถานศึกษา 5 18.52 22 81.48 ชำนำญกำร ชำนำญกำรพเิ ศษ 10 37.04 ระยะเวลาในการดารงตาแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 17 62.96 24 88.89 (Mean= 11.89, S.D = 6.123, MIN = 2, MAX = 22) 3 11.11 0 ประสบการณใ์ นการอบรมให้ความรู้ในการชว่ ยให้ 0 0 นกั เรียนเลิกบุหร่ี 24 0 3 88.89 ไมเ่ คย 17 11.11 เคย 10 62.96 โรงเรียนควรใหบ้ ริการเพื่อช่วยเลิกบุหร่ีในโรงเรียน 0 37.04 เหน็ ด้วยอยำ่ งยิง่ 0 0 เหน็ ด้วยปำนกลำง 0 เหน็ ด้วยเล็กนอ้ ย ไม่เหน็ ด้วย โรงเรียนเคยมโี ครงกำรช่วยเลกิ บหุ ร่หี รอื ไม่ เคย ไมเ่ คย ควำมคิดเห็นเก่ียวกับนโยบำยโรงเรยี นปลอดบุหรี่ เหน็ ดว้ ยอย่ำงยิง่ เห็นดว้ ยปำนกลำง เห็นดว้ ยเล็กน้อย ไมเ่ ห็นด้วย จำกตำรำงที่ 1 พบผู้บริหำรสถำนศึกษำส่วนใหญ่เป็นเพศชำยคิดเป็นร้อยละ 85.19 มีอำยุ (Mean=53.81,S.D =6.04) ส่วนใหญ่ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกำรชำนำญกำรพิเศษ ร้อยละ 81.48 มีประสบกำรณ์ ในกำรอบรมให้ควำมรู้ในกำรช่วยให้นักเรียนเลิกบุหรี่ ร้อยละ 62.96 ส่วนใหญ่เห็นด้วยอย่ำงย่ิงกับกำรที่โรงเรียน ควรให้บริกำรเพ่ือช่วยเลิกบุหรี่ในโรงเรียนคิดเป็นร้อยละ 88.89 ท้ังน้ีโรงเรียนเคยมีโครงกำรช่วยเลิกบุหร่ีคิดเป็น ร้อยละ 88.89 ผู้บริหำรเห็นด้วยอย่ำงย่ิงเกี่ยวกับนโยบำยโรงเรียนปลอดบุหรี่ร้อยละ 62.96 และ เห็นด้วยปำน กลำง รอ้ ยละ 37.04 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

76 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของข้อมูลทั่วไป และ ควำมเหน็ เบอื้ งต้นเกีย่ วกับจดั บรกิ ำรเลกิ บุหรี่ในโรงเรียน ของครอู นำมัยโรงเรยี น/ครผู รู้ บั ผิดชอบในกำรแกไ้ ขปญั หำเรือ่ งบหุ รี่ (n = 27) ขอ้ มูล จานวน(คน) ร้อยละ เพศ 13 48.15 14 51.85 ชำย หญิง 3 11.11 อายุ (Mean= 47.48 S.D =9.21 MIN = 28, MAX = 59) 1 3.70 ตาแหน่ง 2 7.41 ครอู ัตรำจำ้ ง/พนักงำนรำชกำร 9 33.33 ครูผ้ชู ว่ ย 12 44.44 ครูระดบั ปฏบิ ตั กิ ำร ครูชำนำญกำร 17 62.96 ครูชำนำญกำรพเิ ศษ 10 37.04 ประสบการณ์ในการอบรมให้ความรูใ้ นการชว่ ยให้ 9 33.33 นกั เรยี นเลกิ บุหร่ี 18 66.67 ไม่เคย เคย 4 14.81 ประสบการณใ์ นการให้การช่วยเหลือนักเรยี น 3 11.11 ใหเ้ ลิกบหุ รี่ 9 33.33 ไม่เคย 10 37.04 เคย 1 3.70 เทคนิคท่ีเคยใชใ้ นการช่วยนักเรยี นให้เลิกบุหรี่ เทคนคิ 5 R เพื่อสร้ำงแรงจงู ใจ เทคนคิ 5 A กำรควบคุมและใหน้ ักเรียนรำยงำนผลตัวเอง กำรเสรมิ แรง กำรลงโทษ จำกตำรำงที่ 2 พบครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบในกำรแก้ไขปัญหำเรื่องบุหร่ี เกินคร่ึงเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 51.85 อำยุ (Mean=47.48 ,S.D.=9.21) ดำรงตำแหน่งครูชำนำญกำรพิเศษ ร้อยละ 44.44 รองลงมำ ครูชำนำญกำร ร้อยละ 33.33 มีประสบกำรณ์ในกำรอบรมให้ควำมรู้ในกำรช่วยให้นักเรยี นเลกิ บุหร่ีเพียง ร้อยละ 37.04 มีประสบกำรณ์ในกำรให้กำรช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหรี่ ร้อยละ 66.67 เทคนิคท่ีเคยใช้ในกำร ชว่ ยนักเรียนให้เลกิ บุหรี่ได้แก่ กำรเสริมแรง รอ้ ยละ 37.04 รองลงมำ กำรควบคุมและให้นักเรียนรำยงำนผลตัวเอง รอ้ ยละ 33.33 เทคนิค 5 R เพ่ือสร้ำงแรงจูงใจ ร้อยละ 14.81 เทคนคิ 5 A รอ้ ยละ 11.11 และ กำรลงโทษ ร้อยละ 3.70 ตำมลำดับ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

77 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 3 จำนวนและร้อยละของข้อมลู ท่วั ไป และ ควำมเห็นเบือ้ งต้นเกี่ยวกบั จัดบรกิ ำรเลิกบุหร่ใี นโรงเรียน ของนักเรยี นในกำรจดั บริกำรชว่ ยเหลอื ให้นกั เรียนเลกิ บุหรี่ (n = 27) ข้อมูล จานวน(คน) ร้อยละ เพศ 17 62.96 ชำย 10 37.04 หญงิ อายุ (Mean= 15.59, S.D. =1.37 MIN = 13, MAX = 18) 1 3.70 เรยี นระดับชั้น 3 11.11 ม.1 11 40.74 ม.2 3 11.11 ม.3 6 22.22 ม.4 3 11.11 ม.5 ม.6 4 14.82 คา่ คะแนนเฉล่ยี (GPA) (Mean= 2.72 S.D =0.56) 9 33.33 การสบู บุหร่ี 7 25.93 ไม่เคยสบู เลย 7 25.93 เคยแค่ลองสบู แตป่ ัจจบุ ันไมไ่ ด้สบู เคยสูบแต่เลิกได้แล้ว 26 96.29 ปจั จบุ ันยงั สูบอยู่ 1 3.71 ความคิดเห็นเก่ยี วกับการจดั บริการเลกิ บุหรี่ 13 48.15 ในโรงเรียน 14 51.85 เหน็ ดว้ ย ไม่เห็นด้วย ถา้ โรงเรียนมคี ลนิ ิกชว่ ยเลิกบุหรใี่ นโรงเรียน นกั เรียนคิดว่าจะใชบ้ รกิ ารหรอื ไม่ ใช้ ไม่ใช้ จำกตำรำงที่ 3 พบวำ่ นักเรยี นสองในสำม เป็นเพศชำย คิดเป็นร้อยละ 62.96 อำยุ (Mean=15.59 ,S.D. =1.37) เกือบครึ่งเป็นนักเรียนชั้น ม. 4 คิดเป็นร้อยละ 40.74 รองลงมำ เป็นนักเรียนช้ัน ม.5 ร้อยละ 22.22 มีเกรด วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

78 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) (Mean=2.72,S.D. =0.56) นักเรียนที่ปจั จุบนั ยงั สูบบุหรอี่ ยู่ คดิ เปน็ ร้อยละ 25.93 และ เคยสบู แต่เลกิ ไดแ้ ล้ว ร้อยละ 25.93 เคยแค่ลองสูบ แต่ปัจจุบันไม่ได้สูบร้อยละ 33.33 ส่วนใหญ่ เห็นด้วยเกี่ยวกับกำรจัดบริกำรเลิกบุหรี่ใน โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 96.29 และเพียง ร้อยละ 48.15 ของนักเรียนคิดว่ำจะใช้บริกำรถ้ำโรงเรียนมีคลินิกช่วย เลกิ บุหร่ใี นโรงเรยี น และ ไม่ใชบ้ ริกำรรอ้ ยละ 51.85 ตารางท่ี 4 จำนวนและร้อยละของข้อมูลทว่ั ไป และ ควำมเหน็ เบ้อื งต้นเกี่ยวกับจดั บรกิ ำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน ของผู้ปกครองในกำรจดั บริกำรช่วยเหลอื ให้นกั เรยี นเลิกบหุ ร่ี (n = 27) ข้อมูล จานวน(คน) รอ้ ยละ เพศ 17 62.96 ชำย 10 37.04 หญงิ อายุ (Mean= 46.59, S.D. =11.04 MIN = 28, MAX = 72) 4 14.81 การศึกษา 1 3.70 ไมไ่ ด้เรยี น 3 11.11 ประถมศกึ ษำ 11 40.74 มัธยมศึกษำตอนปลำย 6 22.22 ปวช. 2 7.41 ปวส./อนปุ รญิ ญำ ปริญญำตรีและสงู กวำ่ 1 3.70 อาชีพผูป้ กครอง 8 29.63 ข้ำรำชกำร/พนักงำนรัฐ 6 22.22 พนกั งำนประจำบรษิ ัท 1 3.70 พนกั งำนชว่ั ครำว 3 11.11 ธรุ กจิ สว่ นตัว 4 14.81 เกษตรกร 4 14.81 กรรมกร/รบั จำ้ ง แมบ่ ำ้ น วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

79 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของข้อมูลท่วั ไป และ ควำมเห็นเบอ้ื งต้นเกี่ยวกับจัดบริกำรเลกิ บุหร่ีในโรงเรยี นของ ผู้ปกครองในกำรจัดบริกำรชว่ ยเหลอื ใหน้ ักเรยี นเลิกบหุ ร่ี (n = 27) (ตอ่ ) ข้อมูล จานวน(คน) ร้อยละ การสูบบุหรี่ ไม่เคยสบู เลย 11 40.74 เคยแค่ลองสูบ แต่ปัจจุบันไมไ่ ด้สูบ 1 3.70 เคยสูบแตเ่ ลกิ ได้แล้ว 5 18.52 ปัจจบุ นั ยงั สูบอยู่ 10 37.04 ความคิดเห็นเกย่ี วกับการจดั บรกิ ารเลกิ บุหรี่ ในโรงเรียน 27 100.00 00 เหน็ ดว้ ย ไมเ่ หน็ ด้วย จำกตำรำงท่ี 4 พบผู้ปกครองสองในสำมเป็นเพศชำยคิดเป็นร้อยละ 62.96 อำยุ (Mean=46.59,S.D. =11.04) เกือบคร่ึงจบกำรศึกษำ ปวช. คิดเป็นร้อยละ 40.74 ประกอบอำชีพพนักงำนประจำบริษัทมำกที่สุด คิด เป็นร้อยละ 29.63 รองลงมำ พนักงำนชั่วครำว ร้อยละ 22.22 ปัจจุบันผู้ปกครองยังสูบบุหร่ีอยู่คิดเป็นร้อยละ 37.04 และ เคยสูบแตเ่ ลิกได้แล้ว รอ้ ยละ 18.52 ไม่เคยสูบเลย ร้อยละ 40.74 ผ้ปู กครองท้ังหมดเห็นด้วยเกี่ยวกับ กำรจัดบริกำรเลกิ บุหร่ใี นโรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตอนท่ี 2 ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ความพร้อมในการจัดบริการเลิกบหุ ร่ีในโรงเรยี นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูอนามัยโรงเรียน/ครผู ู้รบั ผิดชอบในการแก้ไขปัญหาเรอ่ื งบหุ รี่ ตารางท่ี 5 ควำมคิดเหน็ เกี่ยวกบั ควำมพร้อมในกำรจดั บริกำรเลกิ บหุ รี่ในโรงเรียนของผ้บู รหิ ำรสถำนศึกษำ(n=27) และครูอนำมยั โรงเรียน/ครูผูร้ ับผิดชอบกำรแก้ไขปญั หำบุหรี่ ในโรงเรยี น (n=27) ขอ้ ความคดิ เหน็ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครอู นามัยโรงเรยี น/ครูผู้รับผิดชอบ ระดบั ความพร้อม แปลผล ระดับความพร้อม แปลผล (Mean ± S.D.) ( Mean ± S.D.) 1 นโยบำยและส่ิงสนบั สนนุ 4.89 ± 0.32 พร้อมมำก โรงเรยี นพร้อมทจี่ ะจัดทำ 4.56 ± 0.64 พร้อมมำก นโยบำยในกำรสนับสนุนกำร จัดบรกิ ำรเลกิ บุหรใี่ นโรงเรียน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

80 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 5 ควำมคดิ เหน็ เกีย่ วกับควำมพร้อมในกำรจัดบริกำรเลิกบหุ รี่ในโรงเรียนของผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ(n=27) และครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผ้รู ับผิดชอบกำรแก้ไขปญั หำบุหร่ี ในโรงเรียน (n=27) (ต่อ) ขอ้ ความคิดเห็น ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูอนามยั โรงเรยี น/ครูผูร้ ับผิดชอบ ระดบั ความพร้อม แปลผล ระดบั ความพร้อม แปลผล ( Mean ± S.D.) (Mean ± S.D.) 4.56 ± 0.58 พร้อมมำก 2 โรงเรียนมีควำมพร้อมทจี่ ะขอ 4.67 ± 0.48 พร้อมมำก 3.26 ± 1.29 พร้อมปำนกลำง 3.70 ± 0.87 พร้อมมำก ควำมรว่ มมือกบั ผู้ปกครองเพ่ือ 4.41 ± 0.69 พรอ้ มมำก สนบั สนุนกำรจัดบรกิ ำรเลิก 4.26 ± 0.76 พรอ้ มมำก บหุ ร่ีในโรงเรียน 4.22 ± 0.75 พร้อมมำก 3 โรงเรียนมีสถำนทจี่ ัดทำเป็น 4.26 ± 0.86 พรอ้ มมำก คลินิกเพื่อชว่ ยเลกิ บุหร่ี 4 โรงเรยี นสำมำรถสนับสนุน 4.37 ± 0.63 พรอ้ มมำก วสั ดุ / สื่อให้ควำมรู้ เพอ่ื สนับสนุนกำรจดั บริกำรเลกิ บหุ รี่ในโรงเรยี น 5 บุคลำกร 4.63± 0.49 พรอ้ มมำก โรงเรยี นมีครูอนำมยั โรงเรยี น/ ครแู กนนำที่มีควำมพร้อมใน กำรใหบ้ ริกำรเลิกบุหร่ใี น โรงเรยี น 6 โรงเรียนมคี รูอนำมยั โรงเรยี น/ 4.48 ± 0.75 พรอ้ มมำก ครแู กนนำที่มคี วำมรู้และ ทกั ษะกำรให้คำปรึกษำ เพือ่ ชว่ ยเหลอื ใหน้ กั เรยี นเลิกบุหรี่ 7 สถำนบรกิ ำรสนบั สนนุ 4.56 ± 0.51 พรอ้ มมำก สถำนบริกำรสำธำรณสุขใน พนื้ ทม่ี ีควำมพร้อมในกำรรับ กำรสง่ ต่อจำกโรงเรียนเพ่ือ ช่วยนักเรียนเลิกบหุ รี่ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

81 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 5 ควำมคิดเหน็ เก่ยี วกับควำมพร้อมในกำรจดั บริกำรเลกิ บุหร่ีในโรงเรยี นของผู้บรหิ ำรสถำนศกึ ษำ(n=27) และครูอนำมยั โรงเรียน/ครูผรู้ ับผดิ ชอบกำรแกไ้ ขปัญหำบุหร่ี ในโรงเรยี น (n=27) (ต่อ) ข้อ ความคิดเหน็ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครูอนามัยโรงเรียน/ครผู รู้ ับผดิ ชอบ ระดับความพร้อม แปลผล ระดับความพร้อม แปลผล (Mean ± S.D.) ( Mean ± S.D.) 8 สถำนบรกิ ำรสำธำรณสขุ ใน 4.48 ± 0.64 พรอ้ มมำก 4.11 ± 0.80 พรอ้ มมำก พ้นื ที่ มีบุคลำกรทส่ี ำมำรถเป็น พี่เลย้ี ง ให้ครูอนำมัยโรงเรียน/ 4.804± 0.85 พรอ้ มมำก ครูแกนนำ ในกำรพัฒนำ ควำมร้แู ละทักษะในกำร 4.19 ± 0.79 พรอ้ มมำก ชว่ ยเหลือให้นักเรียนเลกิ บุหรี่ 9 โรงเรียนสำมำรถประสำนขอ 4.26 ± 0.81 พรอ้ มมำก ควำมร่วมมอื จำกสถำน บริกำรสำธำรณสุขในพ้ืนท่ี เพื่อขอรับกำรสนับสนนุ เวชภัณฑเ์ บอ้ื งต้น เช่น สมุนไพรดอกหญำ้ ขำว ใบ โปร่งฟำ้ ในกำรชว่ ยเลิกบุหร่ี 10 นักเรียนจะได้รับกำรบริกำรท่ี 4.45 ± 0.64 พรอ้ มมำก ดแี ละต่อเนือ่ ง เมื่อสมัครใจ เขำ้ รับบริกำรเลิกบุหรีใ่ น โรงเรยี น จำกตำรำงท่ี 5 พบว่ำ ผู้บริหำรสถำนศึกษำมีควำมคิดเห็นเกี่ยวกับควำมพร้อมในกำรจัดบริกำรเลิกบุหร่ีใน โรงเรียน อยู่ในระดับพร้อมมำกในทุกด้ำน และ ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบในกำรแก้ไขปัญหำเรื่องบุหร่ี มี ควำมคิดเห็นเก่ียวกับควำมพร้อมในกำรจัดบรกิ ำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียนของผู้บริหำรสถำนศึกษำในระดับพร้อมมำก ในทุกด้ำน ยกเว้น มีควำมพร้อมในระดับปำนกลำงในด้ำนโรงเรียนมีสถำนที่จัดทำเป็นคลินิกเพื่อช่วยเลิกบุหร่ีใน โรงเรียน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

82 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตอนที่ 3 ความรเู้ กยี่ วกบั พษิ ภยั ของบุหรี่ ของครูอนามยั โรงเรียน/ครผู ้รู บั ผิดชอบการแก้ไขปัญหาบุหรี่ ในโรงเรียน นักเรยี น และ ผปู้ กครอง ตารางที่ 6 จำนวนและรอ้ ยละของครผู รู้ บั ผดิ ชอบกำรแก้ไขปญั หำบุหรใี่ นโรงเรียน (n=27) ผู้ปกครอง (n=27) และ นกั เรยี น (n=27) จำแนกตำมคะแนนควำมรู้เกย่ี วกับพษิ ภัยของบุหร่ี ระดับความรู้ ครอู นามยั โรงเรยี น ผู้ปกครอง นักเรียน เก่ียวกบั พิษภยั ของบุหร่ี จานวนคน(%) จานวนคน(%) จานวนคน(%) ค่าเฉลย่ี ความรู้ (Mean ± S.D.) 7.19 ± 2.29 7.14 ± 2.03 5.33 ± 2.00 ระดับความรู้ ต่ำ (≤7คะแนน, <60% ) 15 (55.55%) 14 (51.85%) 23(85.19%) ปำนกลำง (8-10 คะแนน, 60-79%) 10 (37.04%) 12 (44.45%) 4 (14.81%) สงู (11-13 คะแนน, ≥ 80%)) 2 (7.41%) 1 (3.70%) 0 (0%) จำกตำรำงที่ 6 พบ ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผ้รู ับผดิ ชอบกำรแกไ้ ขปญั หำบุหร่ใี นโรงเรยี น และ ผู้ปกครอง มี ระดับควำมรู้ภำพรวมเก่ียวกับพิษภัยของบุหร่ีในระดับปำนกลำง นักเรียนมีควำมรู้ในระดับต่ำ โดยครูอนำมัย โรงเรียนนักเรียน มีค่ำคะแนนสูงสุด (7.19 ± 2.29) รองลงมำ เป็นผู้ปกครอง (7.14 ± 2.03) และ นักเรยี น (5.33 ± 2.00) ตำมลำดับ ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกย่ี วกบั ความเป็นไปได้ รูปแบบ ปัญหาอุปสรรค เกีย่ วกับจัดบริการเลิกบุหร่ีในโรงเรียน ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูอนามัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบการแก้ไขปัญหาบุหรี่ในโรงเรียน นักเรียน และ ผู้ปกครอง ตารางที่ 7 ควำมเป็นไปได้ รูปแบบ ปัญหำอุปสรรค เกี่ยวกับจัดบริกำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน ตำมควำมคิดเห็นของ ผู้บริหำรสถำนศึกษำ ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผู้รบั ผิดชอบกำรแก้ไขปัญหำบุหร่ีในโรงเรียน นักเรียน และ ผู้ปกครอง ประเดน็ ผู้บรหิ าร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง 1.ควำม -เปน็ ไป -เปน็ ไปได้ เปน็ ไปได้ ไดม้ ำก -เปน็ ไปได้ เหน็ ดว้ ย (ร้อย -เปน็ ไปได้ เหน็ ดว้ ย (รอ้ ย ละ 96.29, 26 คน) ละ 100, 27 คน) กับกำร กบั กำรจัดบรกิ ำร คดิ ว่ำ จดั บรกิ ำร คิดว่ำ กำรเลกิ จะมนี ักเรียนมำใชบ้ รกิ ำร บุหร่ีเป็นส่ิงทด่ี ี อยำกให้ เพรำะชว่ ยใหน้ ักเรยี นเลกิ ทำงโรงเรียนช่วยเหลือ แกไ้ ขโดย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

83 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางท่ี 7 วำมเป็นไปได้ รูปแบบ ปัญหำอุปสรรค เกี่ยวกับจัดบริกำรเลิกบุหร่ีในโรงเรียน ตำมควำมคิดเห็นของ ผ้บู รหิ ำรสถำนศกึ ษำ ครอู นำมัยโรงเรียน/ครผู ู้รบั ผดิ ชอบกำรแกไ้ ขปญั หำบหุ รีใ่ นโรงเรยี น นกั เรยี นและผู้ปกครอง(ต่อ) ประเดน็ ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผ้ปู กครอง บุหรี่ได้ ไม่ตอ้ งเสยี เดิน เรง่ ดว่ น เพรำะบหุ รี่ ทำงไกลไปเลิกบุหรที่ ่ี เปน็ สิ่งเสพติดอันดบั โรงพยำบำล ต้นๆท่ีเดก็ ๆเขำ้ ถึงง่ำย -ไม่เห็นด้วย (รอ้ ยละ และนำไปสกู่ ำรลองสิง่ 3.71, 1 คน) คดิ วำ่ เสพตดิ อน่ื ๆท่รี ำ้ ยแรง นกั เรยี นจะไม่มำใชบ้ รกิ ำร ขึ้น เพรำะไม่กล้ำทจี่ ะแสดง ตัวออกมำยอมรับวำ่ ตน สบู บุหรี่ อำจอำยที่สูบ กลวั ครูลงโทษ หกั คะแนน และ กลวั ผูป้ กครองคิดว่ำ จะเลกิ สูบบหุ รไี่ ม่ได้ ไม่ กล้ำเปิดเผย 2.รูปแบบ -ควรมีรปู แบบ -ควรจดั ในรูปแบบกงึ่ -มกี ำรสอนเรื่องโรคภยั -ควรมกี ำรบรกิ ำรเพ่ือชว่ ย ที่หลำกหลำย ทำงกำรใหผ้ ูส้ บู สมัครใจ บหุ ร่ี ควรจะเปน็ ให้นักเรยี นเลิกบหุ ร่ี โดยจดั ใน ในกำรบำบดั รักษำ ให้ เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสขุ ส่งเสรมิ ให้นักเรียนหันมำ รปู แบบกำรบูร คำปรกึ ษำกบั นกั เรียนท่ี แพทย์ พยำบำล ตำรวจ สนใจเล่นกฬี ำมำกข้ึน ณำกำร ติดบุหร่ี มกี ำร หรือผเู้ ชย่ี วชำญดำ้ นบหุ ร่ี -ผู้ปกครองสง่ เสรมิ โดย ระหว่ำง บำบัดรกั ษำนักเรียนท่ี -มกี ำรจัดใหค้ ำปรกึ ษำ กำร ที่คนในครอบครวั ไม่ โรงเรียน สูบบุหร่อี ยำ่ งถูกตอ้ ง บรเิ วณหอ้ งพยำบำลของ ควรสบู บหุ ร่เี พรำะเม่ือสูบ ผ้ปู กครอง โดยกำรประสำนกบั โรงเรยี น เพื่อทีเ่ ด็กจะได้ แลว้ จะทำใหผ้ ู้ปกครอง นกั เรยี น ผนู้ ำ แพทย์เพื่อให้คำปรกึ ษำ เข้ำมำหำและปรกึ ษำได้ ไม่สำมำรถตกั เตอื นเด็กได้ ชมุ ชนทอ้ งถิน่ ในกำรเลิกสบู บหุ รี่ และ ตลอดเวลำ จะเปน็ ตวั อย่ำงที่ไม่ดี สำธำรณสุข ควรมกี ำรดูแลจำก -ผู้บริหำร หรือฝ่ำย สำหรบั เดก็ ๆ รว่ มกันดูแล ครอบครวั ตอ่ เน่ือง ปกครอง และครู ควร วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

84 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ตารางที่ 7 ควำมเป็นไปได้ รูปแบบ ปัญหำอุปสรรค เก่ียวกับจัดบริกำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน ตำมควำมคิดเห็นของ ผ้บู ริหำรสถำนศกึ ษำ ครอู นำมยั โรงเรยี น/ครผู ้รู ับผดิ ชอบกำรแกไ้ ขปญั หำบุหร่ใี นโรงเรยี น นักเรียนและผูป้ กครอง(ต่อ) ประเดน็ ผบู้ ริหาร ครู นักเรียน ผปู้ กครอง ตอ้ งทำงำนเป็น -ครูคอยให้กำลังใจแนะ จดั กำรตรวจคดั กรอง ทีมรว่ มกนั แนวทำงในกำรเลิกบหุ รี่ แบบเข้มข้นกบั นักเรียน อย่ำงเปน็ -กำรบริกำรใหค้ ำปรึกษำควร ไม่ให้เอำบุหรเี่ ข้ำมำสูบ รปู ธรรม มบี คุ ลำกรที่มีควำมรู้พรอ้ มให้ ในโรงเรยี น โรงเรียน อยำก คำปรึกษำ สถำนทีบ่ ริกำรควร -ควรมีครูที่ปรกึ ษำที่มี ให้สำธำรณสขุ เป็นห้องสว่ นตัวอย่ำงชัดเจน ควำมเข้ำใจนักเรยี น ช่วยพฒั นำให้ มีกำรเสริมแรงใหน้ ักเรยี น ควำมรูเ้ พ่ือให้ -ควรมีกำรรว่ มมือจำก นักเรยี นเกดิ อำจำรย์ในโรงเรียนทุกฝำ่ ย ควำมตระหนัก และ ผู้ปกครอง นอกจำกนัน้ และส่งผลให้ ควรขอควำมร่วมมือกับ นกั เรียนเลิก หน่วยงำนสำธำรณสุข มำให้ บุหรีโ่ ดยถำวร คำปรกึ ษำเพิ่มเติมเร่ืองบหุ ร่ี 3 .ปั ญ ห ำ -อำจขำดควำม -อำจขำดงบประมำณในกำร -นั ก เ รี ย น ไ ม่ ก ล้ ำ -ผู้ป กค รอ งอำจไม่ อุปสรรค ต่ อ เนื่ อ งข อ ง จัดกิจกรรม ขำดแคลนส่ือ ยอมรับว่ำตนเองสูบ ส ำ ม ำ ร ถ เ ป็ น โ ค ร ง ก ำ ร อุปกรณ์ สือ่ วดิ ิทัศน์ บุหรี่ อำจอำยที่สูบ แบบอย่ำงในกำรไม่ เ พ ร ำ ะ ก ำ ร -ขำดควำมเป็นสัดส่วนของ และกลั วถูก ครูแล ะ สูบบุห ร่ี และ ไม่มี ท ำ ง ำ น ต้ อ ง หอ้ งทใ่ี หบ้ ริกำรใหค้ ำปรกึ ษำ ผู้ปกครองลงโทษ เว ล ำ ส น ใจ ก ำ กั บ บูรณำกำรและ -ขำดวิทยำกรที่มีควำมรู้ด้ำน ติดตำมกำรเลิกบุหรี่ กำรขับเคล่ือน บหุ ร่มี ำให้ควำมรู้กบั นักเรียน ของนกั เรียน รว่ มกนั ของฝ่ำย -ครูอำจมีควำมรู้ไม่เพียงพอ ที่ ตำ่ งๆ จะชี้แนะแนวทำงในกำรเลิก บุ ห รี่ให้ กับ นั กเรียน อ ย่ำง เข้ำใจด้วยวิธีกำรหลักกำรที่ ถกู ตอ้ ง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

85 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) จำกตำรำงที่ 7 พบว่ำ ผู้บริหำร ครู ผู้ปกครอง และ นักเรียนเกือบท้ังหมด เห็นว่ำ กำรจัดบริกำรเลิกบุหร่ี ในโรงเรียนมีควำมเป็นไปได้ มีเพียงนักเรียน 1 คน ร้อยละ 3.71 ไม่เห็นด้วย คิดว่ำนักเรียนจะไม่มำใช้บริกำร เพรำะไม่กล้ำที่จะยอมรบั วำ่ ตนสูบบุหรี่ อำจอำย กลัวครูลงโทษ และ กลัวผู้ปกครองคิดว่ำจะเลิกสูบบุหรี่ไม่ได้ ไม่ กล้ำเปิดเผย สำหรับรูปแบบในกำรจัดบรกิ ำร ควรมีรปู แบบท่ีหลำกหลำย โดยจัดในรูปแบบกำรบูรณำกำรระหว่ำง โรงเรียน ผู้ปกครอง นักเรียน ผู้นำชุมชนท้องถิ่น สำธำรณสุข และ ควรจัดในรปู แบบกึ่งทำงกำรให้ผู้สูบสมัครใจใน กำรบำบัดรักษำ โดยได้รับกำรสนับสนุน ดูแลจำกครอบครัว ควรมีบุคลำกรที่มีควำมรู้พร้อมให้คำปรึกษำ สถำนที่ บริกำรควรเป็นห้องสว่ นตัวอยำ่ งชัดเจน มีกำรเสริมแรงให้นักเรียน รว่ มกับกำรส่งเสริมให้นักเรียนหันมำสนใจเล่น กีฬำมำกข้ึน สำหรับ ปัญหำอุปสรรคในกำรจัดบริกำร อำจขำดควำมต่อเน่ืองของโครงกำร เพรำะกำรทำงำนต้อง บูรณำกำรและกำรขับเคล่ือนร่วมกันของฝ่ำยต่ำงๆ อำจขำดงบประมำณในกำรจัดกิจกรรม ขำดส่ิงสนับสนุน ขำด ควำมเป็นสัดส่วนของห้องท่ีให้บริกำรให้คำปรึกษำ ขำดวิทยำกรท่ีมีควำมรู้ด้ำนบุหร่ีมำให้ควำมรู้กับนักเรียน และ ครูอำจมีควำมรู้ไม่เพียงพอ ที่จะช้ีแนะแนวทำงในกำรเลิกบุหร่ีให้กับนักเรียน นอกจำกนั้น นักเรียนอำจไม่กล้ำ ยอมรับว่ำตนเองสูบบุหรี่ อำจอำยที่สูบ และกลัวถูกครูและผู้ปกครองลงโทษ นอกจำกน้ัน ผู้ปกครองอำจไม่ สำมำรถเป็นแบบอยำ่ งในกำรไม่สูบบหุ ร่ี และ ไม่มีเวลำสนใจกำกบั ติดตำมกำรเลิกบหุ ร่ีของนักเรียน อภิปรายผล ผ้บู ริหำรสถำนศึกษำมีควำมคิดเห็นเก่ียวกับควำมพร้อมในกำรจดั บริกำรเลิกบุหรใี่ นโรงเรียนของผบู้ ริหำร สถำนศึกษำในระดับพร้อมมำกในทุกด้ำน เชน่ เดยี วกับ ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบในกำรแก้ไขปัญหำเร่อื ง บุหร่ี มีควำมคิดเห็นเกี่ยวกับควำมพร้อมในกำรจัดบริกำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน อยู่ในระดับพร้อมมำกในทุกด้ำน ยกเว้น มีควำมพร้อมในระดับปำนกลำงในเรื่องโรงเรียนมีสถำนท่ีจัดทำเป็นคลินิกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ในโรงเรียน แสดงให้เห็นถึงศักยภำพของโรงเรียน ในประเทศไทยที่ได้ มีกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำกำรสูบบุหร่ีในสถำนศึกษำ โดยเครือข่ำยครูเพ่ือโรงเรียนปลอดบุหร่ี (Teachers Networking for Smoke-Free Schools) ซึ่งได้เริ่ม ดำเนินงำนภำยใต้กำรสนับสนุนจำก สำนักงำนกองทุน สนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) มำตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 จนถงึ ปัจจบุ ัน โดยสนบั สนนุ ให้โรงเรียนที่เป็นภำคี เครือขำ่ ยโรงเรยี นปลอดบหุ ร่ี ทง้ั 31 จงั หวัดครอบคลุมทุก ภูมิภำค ได้ดำเนินงำนอย่ำงเป็นรูปธรรมด้วยกำรนำ “7 มำตรกำรเพื่อโรงเรียนปลอดบุหร่ี” อีกทั้งในโรงเรียนใน เครอื ข่ำย มีกำรดำเนินงำนเพ่ือโรงเรียนปลอดบุหร่ี ได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม มำกกว่ำ โรงเรียนท่ีไม่ได้เป็นเครือข่ำยฯ ด้ำนผลลัพธ์พบว่ำ โรงเรียนในเครือข่ำยฯ นักเรียนมีควำมรู้ ที่ถูกต้องเก่ียวกับบุหรี่ ทัศนคติต่อกำรสูบบุหรี่ท่ี เหมำะสม มีค่ำนิยมไม่สูบบุหรี่ และมีควำมตั้งใจแน่วแน่ว่ำจะไม่สูบบุหร่ีเพรำะเห็นว่ำสังคมไม่ยอมรับ (Action on Smoking and Health Foundation, 2018) จำกผลกำรศึกษำ ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบกำรแก้ไขปัญหำบุหรี่ในโรงเรียน และ ผู้ปกครอง มี ระดับควำมรู้ภำพรวมเก่ียวกับพิษภัยของบุหร่ีในระดับปำนกลำง นักเรียนมีควำมรู้ในระดับต่ำ โดยครูอนำมัย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

86 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) โรงเรียนนักเรียน มีค่ำคะแนนสูงสุด (7.19 ± 2.29) รองลงมำ เป็นผู้ปกครอง (7.14 ± 2.03) และ นักเรียน (5.33 ± 2.00) ตำมลำดับ ซ่ึงจะเห็นได้ว่ำกำรที่ครูมีระดับควำมรู้อยู่ในระดับปำนกลำง อำจเน่ืองมำจำกกำรที่ไม่ได้มีกำร จัดอบรมมำกนักในเร่ืองนี้ สอดคล้องกับควำมคิดเห็นของผู้บริหำรสถำนศึกษำและครู ที่เห็นว่ำควรมีกำรพัฒนำ รูปแบบและวิธีกำรกำรให้คำปรึกษำนักเรียน อยำกให้มีกำรพัฒนำสำหรับครูทุกคนในโรงเรียนเพ่ือที่จะสำมำรถ ชแี้ นะแนวทำงในกำรเลิกบุหรี่ให้กับนักเรียนอย่ำงเข้ำใจดว้ ยวิธกี ำรหลักกำรท่ีถูกต้อง เพรำะวธิ ีกำรเข้ำถึงเด็กวัยรุ่น ยุคปัจจุบันซึ่งเป็นเด็กรุ่นใหม่ซ่ึงเด็กมักจะมีควำมเป็นตัวตนสูง มีอิสระทำงควำมคิดอำจจะเป็นเหตุให้นักเรียนไม่ ยอมรับในกำรแก้ไขปัญหำบหุ รี่ในโรงเรยี นได้ ในทำนองเดียวกัน นักเรียนมีควำมรู้เก่ยี วกับพิษภัยของบุหรี่ในระดับ ตำ่ เปน็ ผลให้นักเรียนได้เสนอรปู แบบกจิ กรรมในกำรสอนเรือ่ งโรคภยั บหุ รี่ ควรจะเป็นเจ้ำหน้ำท่สี ำธำรณสุข แพทย์ พยำบำล ตำรวจ หรือผู้เชี่ยวชำญด้ำนบุหรี่ มำบรกิ ำรให้ควำมรู้ มีหน่วยงำนของรัฐเข้ำมำบรกิ ำรในโรงเรียนโดยจะ มโี ต๊ะใหค้ ำปรกึ ษำบรเิ วณห้องพยำบำลของโรงเรียน เพ่ือท่ีเดก็ จะได้เข้ำมำหำและปรกึ ษำไดต้ ลอดเวลำ สำหรับควำมคิดเห็นเกี่ยวกับควำมเป็นไปได้ รูปแบบ บทบำท ปัญหำอุปสรรค เก่ียวกับจัดบริกำรเลิก บุหรี่ในโรงเรียนของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ครูอนำมัยโรงเรียน/ครูผู้รับผิดชอบในกำรแก้ไขปัญหำเรื่ องบุหร่ี ผู้ปกครองและนักเรียน คิดว่ำ กำรช่วยเลิกบุหร่ีในโรงเรียนเป็นไปได้มำก โดยมีรูปแบบท่ีหลำกหลำย และ จัดบริกำรแบบกึ่งทำงกำร โดยกำรจัดในรูปแบบกำรบูรณำกำรระหว่ำง โรงเรียน ผู้ปกครอง นักเรียน ผู้นำชุมชน ท้องถิ่น ทำข้อตกลงร่วมกัน มีกำรกำกับดูแลตำมข้อตกลงและร่วมกันค้นหำปัญหำ หำวิธีกำรแก้ไขปัญหำร่วมกัน โดยในส่วนของสำธำรณสุขได้เข้ำมำพัฒนำให้ควำมรู้กับนักเรียนโดยวิทยำกรท่ีสำมำรถต่อยอดเพื่อให้นักเรียนเกิด ควำมตระหนักทีด่ ีย่ิงขึ้นและส่งผลใหน้ ักเรยี นเลิกบหุ ร่โี ดยถำวร ในบทบำทกำรมสี ่วนร่วม ตอ้ งทำงำนเป็นทีมร่วมกัน อย่ำงเป็นรูปธรรมโรงเรียนกับสำธำรณสุข ปัญหำและอุปสรรคที่อำจเกิดขึ้น ควำมต่อเนื่องของโครงกำรและกำร ขับเคลื่อนร่วมกนั ควรมีกจิ กรรมส่งเสรมิ ควำมรู้/กำรอบรม/ประชำสัมพันธ์ให้ควำมรู้โทษและพิษภัยของบหุ รี่สำหรับ เยำวชนอย่ำงต่อเน่ือง ทั้งน้ี โรงเรียนมีควำมพร้อมในกำรช่วยเหลือสนับสนุนในกำรเลิกสูบบุหร่ี โดยให้คำปรึกษำ แนะนำ ซึ่งปัจจุบันครูอนำมัยโรงเรียนมีควำมพร้อมที่จะให้ควำมช่วยเหลือในกำรเลิกบุหร่ี สอดคล้องกับกำร ศึกษำวิจัยเร่ืองสถำนกำรณ์กำรสูบบุหร่ีของบุคลำกรและนักศึกษำมหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนี : ภำยใต้โครงกำร มหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนีปลอดบุหร่ี พบว่ำบุคลำกรและนักศึกษำ ร้อยละ 92.50 เห็นด้วยกับกำรดำเนินงำน มหำวิทยำลัยอุบลรำชธำนีปลอดบุหร่ี โดยร้อยละ 85.80 ต้องกำรให้จัดเขตพ้นื ที่สูบบุหรีโ่ ดยเฉพำะ ร้อยละ 84.50 ต้องกำรให้จัดกิจกรรมรณรงค์เพ่ือกำรไม่สูบบุหร่ีอย่ำงต่อเน่ืองในทุกช่องทำง และร้อยละ 81.30 ต้องกำรให้จัด กจิ กรรมช่วยเลิกสูบบุหร่ี (Nualjun & Suepsamran, 2016) นอกจำกน้นั จำกผลกำรศึกษำ ผู้บริหำรสถำนศึกษำ และครู ยังเสนอแนะให้มีกำรพัฒนำรูปแบบและวิธีกำรกำรให้คำปรึกษำนักเรียน อยำกให้มีกำรพัฒนำสำหรับครู ในโรงเรียนเพ่ือที่จะสำมำรถช้ีแนะแนวทำงในกำรเลิกบุหรี่ให้กับนักเรียนอย่ำงเข้ำใจด้วยวิธีกำรหลักกำรที่ ถูกต้อง เพรำะวิธีกำรเข้ำถึงเด็กวัยรุ่นยุคปัจจุบันซึ่งเป็นเด็กรุ่นใหม่ซ่ึงเด็กมักจะมีควำมเป็นตัวตนสูง มีอิสระทำงควำมคิด อำจจะเป็นสำเหตุให้นักเรียนไม่ยอมรับในกำรแก้ไขปัญหำบุหรี่ในโรงเรียน ซึ่ง โปรแกรมกำรช่วยเหลือใหเ้ ลิกบุหรี่ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

87 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ในโรงเรียน (School-based interventions) จัดเป็นกิจกรรมหน่ึงในกำรช่วยเหลือให้เลิกบุหร่ีในกลุ่มเยำวชนท่ีมี ประสิทธิภำพมำกกว่ำวิธีกำรช่วยเหลืออื่นๆ เช่น กำรรับกำรรักษำจำกคลินิกเลิกบุหรี่ในโรงพยำบำล และ กำร ช่วยเหลือโดยครอบครัว (Gabble et al., 2015) อีกทั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อสหรัฐอเมริกำ (Centers for Disease Control and Prevention, CDC) แนะนำกำรดำเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหำบุหรี่โดยใช้โรงเรียนเป็นฐำน ร่วมกับแนวทำงอื่นๆ ในชุมชน เช่น กำรเพิ่มรำคำต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ยำสูบ กำรรณรงค์ต่อต้ำนยำสูบอย่ำง ยง่ั ยืน และทำให้สภำพแวดล้อมปลอดบุหรี่ ให้เป็นแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำกำรสูบบุหร่ี (Centers for Disease Control and Prevention, 2014) และจำกกำรทบทวนวรรณกรรมอย่ำงเป็นระบบจำกบทควำมที่ตีพิมพ์ใน วำรสำรในชว่ ง 10 ปีที่ผ่ำนมำ (พ.ศ. 2550-2562) พบวำ่ ควำมรแู้ ละโปรแกรมที่ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นสำมำรถเลิกบุหร่ี ในโรงเรียนของรัฐบำล ใช้ได้ผลดีในกำรช่วยเหลือนักเรียนให้เลิกบุหร่ี (Hanpatchaiyakul et al., 2021) ซึ่งจำก ผลกำรศึกษำควำมคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครอง เห็นด้วยกับบริกำรช่วยเลิกบุหร่ีในโรงเรียน นักเรียนเห็นว่ำ กำรจัดบริกำรช่วยเลิกบุหรี่ในโรงเรียน สำมำรถช่วยลดจำนวนนักเรียนที่ติดบุหร่ีได้มำก จะทำให้ทุกคนท่ีติดบุหรี่ เลิกสูบและจะทำให้ไม่มีใครอยำกลองบุหร่ี เป็นกิจกรรมที่ดีสำมำรถทำให้นักเรียนเลิกบุหรี่ นักเรียนส่วนหนึ่งให้ ควำมเห็นว่ำถ้ำโรงเรยี นมีคลินิกช่วยเลิกบุหรใี่ นโรงเรยี นคิดว่ำจะมีนักเรียนมำใช้บริกำรเพรำะช่วยให้นกั เรียนหนั มำ ทำอย่ำงอื่นท่ีไม่ใช่กำรสูบบุหร่ี จะได้เลิกบุหรี่ได้ ไม่ต้องเสียเดินทำงไกล แต่มีส่วนหนึ่ง คิดว่ำนักเรียนจะไม่มำใช้ บริกำร เพรำะ ไม่กล้ำที่จะแสดงตัวออกมำยอมรับว่ำตนสูบบุหรี่ อำจอำยท่ีสูบบุหรี่ ไม่ค่อยจะยอมรับ รู้สึกกลัว ไม่กลำ้ ไม่อยำกไป กลัวครู กลัวผู้ปกครองและยังคิดว่ำเลิกไม่ได้ กลวั โดนหักคะแนน มีส่วนน้อยมำกท่ีจะยอมรับว่ำ ตนเองนนั้ สบู บหุ รี่ในโรงเรียน และ ไม่กลำ้ เปดิ เผย ซง่ึ ควรเปน็ ประเดน็ ทต่ี ้องพัฒนำทศั นคติของนกั เรียนต่อไป ขอ้ เสนอแนะการนาผลการศึกษาไปใช้ ควรมีกำรดำเนินกำรจัดกิจกรรมส่งเสริมควำมรู้เกี่ยวกับพิษภัยของบุหร่ี และกำรเลิกบุหร่ี ในโรงเรียน ให้แก่ คือ ครูอนำมัยโรงเรยี น/ครผู ู้รบั ผดิ ชอบในกำรแก้ไขปัญหำเร่ืองบุหร่ี ผปู้ กครอง และ นักเรียน มีกำรส่งเสริม ทัศนคติท่ีถูกต้องให้กับนักเรียนในกำรยอมรับกำรให้กำรช่วยเหลือในกำรจัดบริกำรเลิกบุหรี่ในโรงเรียน รวมทั้ง คน้ หำสำเหตขุ องปัญหำกำรสบู บุหรเ่ี พอื่ สนบั สนุน ใหก้ ำลงั ใจในกำรปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมเลิกบหุ ร่ขี องนักเรยี นให้มี ประสทิ ธภิ ำพมำกขน้ึ ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยคร้งั ต่อไป ศึกษำวจิ ยั กำรพฒั นำรูปแบบกำรให้บรกิ ำรเลิกบหุ รี่ในโรงเรียน โดยดำเนนิ กำรศึกษำนำร่องในโรงเรยี น มัธยมศกึ ษำท่ีมีควำมพรอ้ ม วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

88 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ สถำบันพระบรมรำชชนก กระทรวงสำธำรณสุข ให้ทุนสนับสนุนในกำรศึกษำวิจัย ขอบพระคุณ ผู้อำนวยกำรวิทยำลัยพยำบำลบรมรำชชนนี พะเยำ และ ฝ่ำยวิจัย ในกำรสนับสนุนกำรดำเนินกำร วิจัย รวมทงั้ ขอขอบคุณผูร้ ว่ มวจิ ัยทกุ ทำ่ น ที่ให้ควำมรว่ มมอื ในกำรให้ขอ้ มลู ในกำรวิจยั ครงั้ น้ี เอกสารอา้ งอิง Action on Smoking and Health Foundation. (2018). The results of the evaluation of smoke- free schools can actually prevent new smokers. Retrieved 1 November 2020. from http://www.smokefreeschool.net/content_attachment/ attach/ 805b8b0b1ce9c32e5fb36f77ec2b48c.pdf. (in Thai) Centers for Disease Control and Prevention. (2014). Best Practices for Comprehensive Tobacco Control Programs 2014. Atlanta, GA: U.S. Department of Health and Human Services, Centers for Disease Control and Prevention, National Center for Chronic Disease Prevention and Health Promotion, Office on Smoking and Health Chaikoolvatana, C., Sutti, P. & Jaimalai, W. (2017). Smoking behavior and risk factors associated with smoking of early adolescents in Phayao Province, Thailand. Nursing Journal of the Ministry of Public Health. 27(3), 57-67. (in Thai) Gabble, R., Babyan, A., DiSante, E. & Schwartc, R. (2015).Smoking cessation intervention for youth: a review of the literature. Toronto: Ontario Tobacco Unit. Hanpatchaiyakul, K., et al. (2021). Journal of Research and Curriculum Development, 11(2), 109-121. Krishnan-Sarin, S., et al. (2013). An exploratory randomized controlled trial of a novel highschool-based smokingcessation intervention for adolescent smokers using abstinence-contingent incentives and cognitive behavioral therapy. Drug Alcohol Depend. 132(0),346–351. National Statistical Office of Thailand. (2018). The smoking and drinking behaviour survey 2017. Bangkok: Pimdeekarnpim Co., Ltd. (in Thai) Nualjun, N. & Suepsamran, P. (2016). The situation of smoking behavior among staff and students at Ubon Ratchathani University: Smoke Free Ubon Ratchathani University Project. Journal of Science and Technology, UbonRatchathaniUniversity. 18(2),1-10. (inThai). วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

89 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) Royal Thai government. (2022). (Draft)Third National Strategic Plan for Tobacco Control 2022 – 2027. Retrieved 1 November 2020from: https://www.thaigov.go.th/news/contents/ details/51642. (in Thai). Smoking cessation clinic, Phayao Hospital. (2019). Summary of the annual report on the operation of the smoking cessation clinic. (in Thai) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1

Lesson Learned from Being Redesigned a Family Care Team and Nurses’ Role at Urban Community Health Center, Sri-Muat-Klao Health Promotion Hospital, Muang, Lampang Suwattana Kumsuk 1*,Busara Thatsanawichit** , Jamnion Wannaruk***, Nutthaporn Panchakhan* (Received: November 23, 2021, Revised: February 28, 2022, Accepted: March 17, 2022) Abstract Establishing a family care team improves a primary health service system, and increases accessibility to standard medical and public health services for all populations. This study; being conducted at Sri-Muat-Klao Health Promotion Hospital, a family care team in urban health center, was to take lessons learned from the redesigned family care team and the nurse’ s role. Qualitative method was applied, and purposive sampling is used to collect data from interviewing of five nurses. The interviews were last about 60-90 minutes per each. Data were recorded in a recorder, and transcribed verbatim words by words. Questionnaire obtained personal information; regarding age, sex, marital status, educational levels, being certified as a nurse practitioner (Primary Medical Care), and years of working at a primary health setting and a family care team. Descriptive statistics was applied for these data analysis, and content analysis was used to describe the interviewing data. Qualitative results were confirmed for trustworthiness by using triangulation technique. The results reveal that it was designed as a family care team, consisting of three S components; Structure, Staff, and System. Nurse’ s role was emerged as working in; 1) case management; 2) primary medical care; 3) caring for families, patients with chronic diseases and palliative care at home; 4) health promotion, disease prevention, and rehabilitation; 5) consultation and collaboration with local agencies; 6) transferring and continuum of care system; and 7) empowerment. However, competencies such as team work and coordination may be in need for the nurses to be ready working as a member of a family care team. Keywords: Role of nurses; A family care team; Primary health service * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon lampang, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health ** Registered Nurse, Primary Care Unit, Lampang Hospital *** Public Health Professional 1Corresponding author: [email protected] โทร 0-5422-6254. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

การถอดบทเรียนการจัดบรกิ ารทีมหมอครอบครวั และบทบาทพยาบาลวชิ าชีพ ศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมือง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบา้ นศรหี มวดเกลา้ อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง สุวฒั นา คาสขุ 1* ,บศุ รา ทัศนวิจิตร**, จาเนียร วรรณารกั ษ์*** ,ณัฏฐ์ฐภรณ์ ปัญจขนั ธ์* (วนั ทร่ี ับบทความ : 23 พฤศจกิ ายน 2564 , วันแกไ้ ขบทความ: 28 กุมภาพนั ธ์ 2565, วนั ตอบรับบทความ: 17 มนี าคม 2565) บทคัดยอ่ การจัดทีมหมอครอบครัวถือเป็นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิให้ประชาชนเข้าถึงการ บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน การวิจัยน้ีเพ่ือถอดบทเรียนรูปแบบการจัดบรกิ ารและบทบาท พยาบาลวิชาชีพในทีมหมอครอบครัว ศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมือง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านศรีหมวดเกล้า ใช้ระเบียบวิธีวิจัยคุณภาพด้วยการถอดบทเรียนการจัดรูปแบบทีมหมอครอบครัวในระยะจัดตั้งและบทบาท พยาบาลวชิ าชีพ โดยเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจงเป็นพยาบาลในทีมหมอครอบครัว จานวน 5 คน ใชเ้ วลา ในการสัมภาษณ์ประมาณ 60-90 นาทีต่อคน ข้อมูลท่ีได้ถูกบันทึกในเครื่องบันทกึ เสียงและทาการถอดเทปแบบคา ตอ่ คา ส่วนขอ้ มลู ส่วนบุคคลเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับอายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา การผ่านการอบรมเวชปฏิบัติทั่วไป (การรกั ษาโรคเบ้ืองตน้ ) และระยะเวลาการปฏิบัติงานในทีมหมอครอบครัวและ หน่วยบริการระดับปฐมภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลใช้สถิติเชิงพรรณนาและข้อมูลสัมภาษณ์โดยการ วเิ คราะหเ์ น้ือหา (content analysis) ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลดว้ ยวิธีการแบบสามเส้า (triangulation technique) ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการจัดทีมหมอครอบครัวจัดบริการครบสามองค์ประกอบ ได้แก่ โครงสร้าง บุคคลากร และระบบบริการและการจัดการ รวมถึงบทบาทพยาบาลวิชาชีพในทีมหมอครอบครัวมี 7 ด้าน ประกอบด้วย 1) การจัดการรายกรณี 2) การตรวจรักษาโรคเบื้องต้น 3) การดูแลครอบครัวผู้ป่วยเร้ือรังและระยะ สุดท้ายท่ีบ้าน 4) การสร้างเสริมป้องกันและฟื้นฟูสภาพ 5) การเป็นที่ปรึกษาและประสานงานท้องถิ่น 6) การ จัดระบบการส่งต่อและดูแลต่อเนื่อง และ7) การเสริมสร้างพลังอานาจ จะเห็นได้ว่าพยาบาลวิชาชีพยังคง ดาเนินการตามบทบาทที่กาหนดของสภาการพยาบาล แต่อย่างไรก็ตามพบว่าสมรรถนะในการทางานเป็นทีมและ การเป็นผปู้ ระสานงานกบั ทีมสหวชิ าชีพมีความจาเป็น ดงั นน้ั ควรพฒั นาทกั ษะท่จี าเป็นนี้ให้กับพยาบาลวิชาชีพเพื่อ เตรียมความพร้อมในการจัดต้ังทีมหมอครอบครัวตอ่ ไป คาสาคญั : บทบาทพยาบาล; คลินิกหมอครอบครวั ; บรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิ * อาจารย์พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข **พยาบาลวชิ าชพี กลมุ่ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลาปาง *** นักวิชาการอสิ ระ 1ผู้ประพันธ์บรรณกจิ [email protected] โทร 0-5422-6254. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2022, Vol.9 No.1

92 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) บทนำ การจดั บรกิ ารสุขภาพระดับปฐมภมู ิในปัจจบุ นั ม่งุ การจดั บริการโดยเน้นการบรู ณาการบริการสุขภาพแก่คน ทุกกลุ่มวัย (Care for All at All ages) เป็นการบริการสุขภาพระดับบุคคลที่เกิดจากการมีสว่ นร่วมและประชาชน ทุกคนสามารถเขา้ ถึงไดอ้ ยา่ งเท่าเทยี ม (World Health Organization, 2019) กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงาน ท่ีจดั บรกิ ารสขุ ภาพภาครฐั มนี โยบายในการพัฒนาให้บริการสุขภาพทว่ั ไปทั้งการรักษาพยาบาล การส่งเสรมิ สขุ ภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสุขภาพโดยกาหนดให้มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและ“ทีมหมอครอบครัว (Family Care Team)” ประกอบด้วย แพทย์ผู้เช่ียวชาญสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักกายภาพบาบัด นักวิชาการสาธารณสุขและอ่ืนๆ เป็นผู้ดูแลประชากรทุกครัวเรือนในเขตรับผิดชอบโดยดูแล ประชาชนจานวนหนึง่ หม่ืนคน ท้ังน้ีเพ่ือใหป้ ระชาชนมี หมอประจำตวั (Strategy and Planning Division, 2016) ตามรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 258 หมวด ข. กาหนดว่าใหม้ รี ะบบการแพทย์ปฐมภูมิที่ มแี พทยเ์ วชศาสตร์ครอบครวั ดแู ลประชาชนในสดั ส่วนท่ีเหมาะสมและพระราชบัญญัตริ ะบบสุขภาพปฐมภูมิ (2562) ให้คานิยามว่า “บริการสุขภาพปฐมภูมิ” เป็นบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขท่ีมุ่งหมายดูแลสุขภาพของ บุคคลในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบในลักษณะองค์รวม ต้ังแต่แรก ต่อเน่ือง และผสมผสาน ครอบคลุมท้ังการส่งเสริม สุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาลและการฟ้ืนฟูสุขภาพ โดยหน่วย บริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิประกอบด้วยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและคณะผู้ให้บริการ สุขภาพปฐมภูมิ รวมท้ังเช่ือมโยงกับครอบครัว ชุมชนและบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับทุติยภูมิและ ตติยภมู ิ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและเป็นผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาล เฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติท่ัวไป (รักษาโรคเบื้องต้น) มีบทบาทในการดูแลสุขภาพโดยปฏิบัติการพยาบาลในการ ประเมินภาวะสุขภาพ การคัดกรองผู้ป่วย การรักษาโรคเบ้ืองต้น การช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน การดูแลอย่าง ต่อเน่ืองในกลุ่มผู้ป่วยเร้ือรัง การทาหัตถการท่ีไม่ซับซ้อนและการรับส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการรกั ษาที่เหมาะสม การ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการสุขภาพระดับบุคคล ครอบครัวและกลุ่มคนในระดับปฐมภูมิ (Junprasert, 2014) เมื่อมีการพัฒนาทีมหมอครอบครัวที่ให้บริการตามบริบทของครอบครัวและชุมชนซ่ึงทางาน ในรูปแบบของทีมสหวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพถือเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนการทางานโดยอาศัยหลักเวช ศาสตร์ครอบครัวและศาสตร์ทางการพยาบาลทีม่ ุ่งการมีสว่ นรว่ มในการดูแลบุคคล ครอบครัว และชุมชน แตย่ ังพบ ข้อจากัดในการจัดบริการในคลินิกหมอครอบครัว เช่น จานวนพยาบาลต่อประชากรไม่เพียงพอ การกาหนด บทบาทของพยาบาลวิชาชพี ยงั ไมช่ ัดเจน (Suwannasaeng & Yingyoud 2020) ในปี พ.ศ.2560 จังหวัดลาปางมีการจัดต้ังทีมหมอครอบครัว 4 แห่งซึ่งรวมถึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลบ้านศรีหมวดเกล้าโดยมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและทีมสหวิชาชพี ให้บริการตามองค์ประกอบ 3 S ได้แก่ โครงสร้าง (Structure) บุคคลากร (Staff) และระบบ (System) และจากผลการประเมินการจัดต้ังทีมหมอ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2565 Journal of Health Sciences Scholarship January - June 2022, Vol.9 No.1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook