Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20001-1006 กฎหมายคอมพิวเตอร์

20001-1006 กฎหมายคอมพิวเตอร์

Description: 20001-1006 กฎหมายคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรูมุงเนนสมรรถนะ ชอ่ื วชิ า กฎหมายคอมพวิ เตอร์ รหัสวิชา 20001-1006 ทฤษฎี 2 ปฏบิ ัติ - หนวยกิต 2 หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ  หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง ประเภทวิชา..............เทคโนโลยสี ารสนเทศ................สาขาวชิ า..................เทคโนโลยสี ารสนเทศ.................... สาขางาน....................เทคโนโลยสี ารสนเทศ........................... จดั ทาํ โดย นายอนสุ ทิ ธิ์ อารกั ษ์ศกั ด์ิ วิทยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดนิ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบคาํ ขออนุมัติใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบรูณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา รายวชิ า กฎหมายคอมพวิ เตอร์ รหัสวชิ า 20001-1006 ลงชอื่ ..................................................... (นายอนุสิทธ์ิ อารักษ์ศักด์ิ) ตาแหน่ง ครพู เิ ศษสอน ผจู้ ัดทา ความเห็นหวั หนา้ แผนกวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ ความเห็นหัวหน้างานพัฒนาหลกั สูตรฯ ลงชื่อ............................................... ลงช่ือ............................................... (นางสุกัญญา ดนยั สวัสด์)ิ (นายคุมดวง พรมอนิ ทร์) หัวหน้าแผนกวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ หัวหน้างานพฒั นาหลักสตู รการเรียนการสอน ความเห็นรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ลงชอื่ ……………………………………... (นายทนิ กร พรหมอินทร์) รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ □ อนุมตั ิ □ ไมอ่ นุมตั ิ ลงชอื่ ............................................ (นางวรรณภา พ่วงกุล) ผอู้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดิน

คาํ นาํ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ทไี่ ด้ประกาศใช้ตั้งแต่เดอื นสิงหาคม 2542 เปน็ ตน้ มา ได้เนน้ ให้คร-ู อาจารย์และผู้เก่ยี วขอ้ งท้งั หลายจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผ้เู รียนสาคญั ท่สี ดุ ซึ่งกิจกรรมการเรยี นการสอนทจี่ ัด ควรมลี ักษณะ สาคัญดงั นี้ 1. ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจรงิ 2. ผเู้ รยี นมโี อกาสเลือกเรยี นรใู้ นสง่ิ ทตี่ นถนัดและสนใจ 3. ผู้เรยี นไดม้ โี อกาสแสวงหาความรู้และสรา้ งองคค์ วามรดู้ ้วยตัวเอง 4. ผเู้ รยี นไดม้ ีโอกาสที่จะนาความรไู้ ปปฏบิ ัตใิ ช้จรงิ ในชวี ติ ประจาวัน 5. ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการประเมนิ ผลการเรียนรู้ของตนเอง ไดต้ ระหนกั ถงึ ภารกิจของครอู าจารย์ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกับพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ ด้วยการบรู ณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ไวใ้ นรายวชิ า และในการคิดกจิ กรรมที่จะส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องนักเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตใิ ห้เปน็ รปู ธรรมจึงไดจ้ ดั ทาสง่ิ อานวยความสะดวกให้แกค่ รูอาจารย์ เป็น คมู่ ือครูเพือ่ ประกอบหนังสอื เรยี นวชิ ากฎหมายคอมพิวเตอร์ 20001-1006 (2-0-2) ซึง่ ประกอบดว้ ย  ตารางวิเคราะห์หนว่ ยการเรยี นรตู้ ามจดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา  ลกั ษณะรายวิชา  ตารางวิเคราะห์หลกั สตู ร  กาหนดการสอนที่บรู ณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  แผนการจดั การเรียนรู้ท่ีบูรณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

รหสั 20001-1006 กฎหมายคอมพวิ เตอร์ (2-0-2) (36 ชั่วโมง/ภาคเรยี น) หลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2556 ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ประเภทวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ จัดทําโดย นายอนุสิทธ์ิ อารักษ์ศักดิ์

สารบญั จดุ ประสงรายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา ลกั ษณะรายวิชา ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตร กาหนดการสอนที่บรู ณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ แผนการจดั การเรยี นรูท้ บ่ี รู ณาการคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 10 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 11 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 12 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 13 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 14 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 15 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 16 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 17 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 18 รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้ ภาคผนวก ก ตัวอย่างแบบประเมินด้วยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ข ตวั อย่างแบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านรายบุคคล ค ตัวอยา่ งแบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม ง ตวั อย่างแบบประเมินการนาเสนอผลงานรายบคุ คล จ ตัวอยา่ งแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ฉ ตัวอยา่ งแบบรวมคะแนนการประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ช ตัวอยา่ งแบบสรปุ ผลการประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ซ วิธีการใชแ้ บบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

ลักษณะรายวิชา รหสั 20001-1006 วิชา กฎหมายคอมพวิ เตอร์ ชั่วโมง หน่วยกติ 2-0-2 เวลาเรียนต่อภาค 36 ชว่ั โมง รายวิชาตามหลักสตู ร สมรรถนะรายวชิ า* จดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา 1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในกฎหมายคอมพิวเตอร์ 1. แสดงความรู้เกย่ี วกับกฎหมายแพง่ และ 2. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในหลักกฎหมายแพง่ และพาณิชยว์ า่ ด้วย พาณิชย์ บคุ คล นิติกรรม สญั ญา และหน้ี 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลกั กฎหมายลิขสิทธิ์ 3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลกั กฎหมายลิขสิทธิ์ สิทธิบตั ร และสิทธบิ ตั ร 4. มีทกั ษะในการนาหลักเกณฑท์ างกฎหมายคอมพวิ เตอร์มาใช้ ในการดารงชีวิตและในงานอาชีพ 5. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของกฎหมายคอมพิวเตอร์ คําอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเกย่ี วกับหลกั กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ว่าดว้ ย บุคคลนติ ิกรรม สญั ญา หนี้ กฎหมายวา่ ด้วยการกระทาความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ กฎหมายลิขสทิ ธิ์และสิทธบิ ัตร รวม 36

รหัส 20001-1006 วิชา กฎหมายคอมพวิ เตอร์ ชั้น ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี สาขาวิชา/กลมุ่ วชิ า พทุ ธิพิสัย (40%) พฤติกรรม ความรู้ ความเ ้ขาใจ ช่ือหน่วย การนาไปใ ้ช การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเ ิมน ัทกษะพิ ัสย (30%) จิตพิ ัสย (30%) รวม ลาดับความสา ัคญ จานวน ่ัชวโมง 1. ความร้เู กยี่ วกับกฎหมายคอมพิวเตอร์ 1 3 2 2 1 1 - 3 13 2 2. กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ว่าดว้ ยบุคคล 1 3 1 2 1 1 - 3 12 4 3. กฎหมายแพง่ และพาณชิ ยว์ า่ ดว้ ยนิติกรรม 4 4. กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ว่าดว้ ยสญั ญา 1 3 1 2 1 1 - 3 12 4 5. กฎหมายแพ่งและพาณชิ ยว์ า่ ดว้ ยหนี้ 1 3 1 2 1 1 - 3 12 2 6. กฎหมายว่าด้วยการกระทาผดิ เกย่ี วกบั 1 3 1 2 1 1 - 3 12 คอมพิวเตอร์ 1 3 2 2 1 1 - 3 13 4 7. กฎหมายลิขสทิ ธ์ิ 8. กฎหมายสทิ ธบิ ตั ร 1 3 2 2 1 1 - 3 13 6 1 3 2 2 1 1 - 3 13 6 สอบกลางภาคเรยี น สอบปลายภาคเรียน 8 2 1 1 8 8 - 2 100 2 4 2 6 4 2 รวม 36 ลาดบั ความสาคญั 413244 1

กําหนดการสอนทบี่ รู ณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ วิชา 20001-1006 วชิ ากฎหมายคอมพวิ เตอร์ 2 ชว่ั โมงต่อสัปดาห์ หน่วย ชอ่ื หนว่ ย/สาระสําคญั สัปดาห์ ชั่วโมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม ที่ ท่ี ท่ี ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 1 ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาคอมพวิ เตอร์ 1 1. แสดงความร้เู กีย่ วกับกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 1. ความรเู้ กีย่ วกับกฎหมาคอมพวิ เตอร์ ได้ 2. คอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ น็ต 2. แสดงความรเู้ กีย่ วกับคอมพวิ เตอร์และ 3. สง่ิ ท่ไี ม่ควรปฏิบัติในการใช้ อินเทอรเ์ นต็ ได้ อินเทอร์เนต็ 3. แสดงความรู้เก่ียวกับส่งิ ทไี่ ม่ควรปฏบิ ตั ใิ น 4. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ 1-2 การใช้อนิ เทอร์เนต็ ได้ 4. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั กฎหมายอาชญากรรม ทางคอมพวิ เตอร์ได้ 2 กฎหมายแพ่งและพาณิชยว์ า่ ด้วยบุคคล 2 3-4 1. อธิบายความหมายของบุคคลได้ 1. ความหมายของบุคคล 2. บอกประเภทของบุคคลได้ ความมมี นษุ ยสัมพันธ์ 2. ประเภทของบคุ คล ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเช่ือมัน่ ในตนเอง 2. ประเภทของบคุ คล (ต่อ) 3 5-6 ความสนใจใฝร่ ู้ 3 กฎหมายแพ่งและพาณิชยว์ า่ ดว้ ยนติ ิ 4 7-8 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับนติ กิ รรมได้ ความรักสามัคคี กรรม 2. บอกประเภทของนิติกรรมได้ ความกตญั ญกู ตเวที 1. ความรู้เก่ยี วกับนติ กิ รรม 3. แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั ความสมบรู ณข์ องนิติ 2. ประเภทของนติ กิ รรม กรรมได้ 3. ความสมบรู ณ์ของนติ กิ รรม 4. แสดงความรเู้ กีย่ วกับโมฆะกรรมและ 3. ความสมบูรณข์ องนิติกรรม (ตอ่ ) 5 9-10 โมฆียะกรรมได้ 4. โมฆะกรรมและโมฆยี ะกรรม 5. แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั การบอกล้างและการให้ 5. การบอกล้างและการใหส้ ัตยาบนั สตั ยาบันได้

(ตอ่ ) หน่วย ชื่อหน่วย/สาระสาํ คัญ สัปดาห์ ชว่ั โมง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม ท่ี ท่ี ที่ และคณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ 4 กฎหมายแพง่ และพาณชิ ยว์ า่ ด้วยสญั ญา 6 11-12 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับความหมายและ 1. ความหมายและองค์ประกอบของ องคป์ ระกอบของสญั ญาได้ สัญญา 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการกอ่ ใหเ้ กิด 2. การกอ่ ใหเ้ กดิ สัญญา สัญญาได้ 3. ประเภทของสัญญา 3. บอกประเภทของสญั ญาได้ 4. สญั ญาพาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ 7 13-14 4. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั สญั ญาพาณชิ ย์ 5. มัดจาและเบย้ี ปรับ อิเล็กทรอนกิ สไ์ ด้ 6. การเลกิ สัญญา 5. แสดงความรเู้ กยี่ วกับมดั จาและเบย้ี ปรบั ได้ 6. แสดงความรู้เกย่ี วกับการเลกิ สัญญา ได้ 5 กฎหมายแพง่ และพาณิชย์วา่ ดว้ ยหน้ี 8 15-16 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั ความหมายและ ความมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ 1. ความหมายและองค์ประกอบของหน้ี องคป์ ระกอบของหน้ีได้ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกบั บอ่ เกิดแห่งหน้ี ความมวี ินยั 2. บ่อเกดิ แห่งหนี้ ได้ ความรับผิดชอบ 3. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั วัตถแุ ห่งหน้ไี ด้ ความเช่ือม่นั ในตนเอง 3. วตั ถแุ หง่ หนี้ 4. แสดงความรู้เก่ยี วกบั ผลแห่งหนไี้ ด้ ความสนใจใฝร่ ู้ 4. ผลแห่งหน้ี 5. แสดงความรู้เกีย่ วกับความระงบั แหง่ ความรกั สามคั คี หนี้ได้ ความกตญั ญกู ตเวที 5. ความระงบั แห่งหนี้ ทบทวน/สอบกลางภาคเรยี น 9 17-18 6 กฎหมายว่าด้วยการกระทาํ ผดิ เกี่ยวกับ 10 19-20 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั นยิ ามศพั ท์ที่ คอมพวิ เตอร์ ควรทราบได้ 1. นยิ ามศพั ทท์ ่คี วรทราบ 2. แสดงความรู้เก่ียวกบั ความผดิ 2. ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอรไ์ ด้ 2. ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ (ต่อ) 3. พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี 11 21-22 3. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หนา้ ทข่ี อง พนกั งานเจา้ หนา้ ทไี่ ด้

หน่วย ช่ือหน่วย/สาระสําคญั (ตอ่ ) จุดประสงค์การเรียนรู้ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม ที่ และคุณลกั ษณะ สัปดาห์ ชวั่ โมง 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับคาศพั ทเ์ กยี่ วกบั อันพึงประสงค์ 7 กฎหมายลิขสทิ ธ์ิ ท่ี ที่ กฎหมายลิขสทิ ธ์ไิ ด้ 1. คาศัพท์เกีย่ วกบั กฎหมายลขิ สทิ ธ์ิ 12 23-24 2. แสดงความรู้เกย่ี วกับงานลขิ สทิ ธไ์ิ ด้ ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ 2. งานลิขสิทธิ์ 3. แสดงความรเู้ กยี่ วกับทม่ี าของลขิ สิทธ์ไิ ด้ ความมีวินยั 13 25-26 4. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การคมุ้ ครอง ความรบั ผดิ ชอบ 3. ที่มาของลขิ สทิ ธิ์ 14 27-28 ลขิ สิทธ์ิได้ ความเชอื่ มนั่ ในตนเอง 4. การคมุ้ ครองลิขสิทธิ์ 5. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการละเมิดลขิ สิทธิ์ ความสนใจใฝ่รู้ 5. การละเมดิ ลิขสิทธ์ิ 15 29-30 ได้ ความรักสามัคคี 6. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การยกเลิกการ ความกตญั ญูกตเวที 6. การยกเลิกการละเมดิ ลิขสิทธ์ิ 16 31-32 ละเมดิ ลขิ สทิ ธไิ์ ด้ 7. การคมุ้ ครองนกั แสดง 17 33-34 7. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั การคมุ้ ครอง นักแสดงได้ 8 กฎหมายสิทธิบัตร 1. ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั สทิ ธิบัตร 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สิทธบิ ัตรได้ 2. การไดร้ ับสทิ ธบิ ตั ร 2. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การได้รับสิทธิบตั ร 3. ผขู้ อรับสทิ ธิบัตร ได้ 4. ผู้ทรงสิทธบิ ตั ร 3. แสดงความรเู้ กี่ยวกับผขู้ อรบั สทิ ธบิ ัตร 5. สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ได้ 4. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ผทู้ รงสทิ ธบิ ัตรได้ 6. อนุสิทธบิ ัตรการประดษิ ฐ์ 5. แสดงความรู้เกย่ี วกบั สิทธบิ ัตรการ 7. บทกาหนดโทษ ออกแบบผลติ ภัณฑ์ได้ 6. แสดงความรู้เกี่ยวกบั อนุสิทธบิ ตั รการ ประดิษฐ์ได้ 7. แสดงความรู้เกี่ยวกบั บทกาหนดโทษได้ - ทบทวน/สอบปลายภาคเรียน 18 35-36 หมายเหตุ กาหนดการสอนท่บี รู ณาการคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคน์ ้ี จดั ทาข้นึ เพ่อื เปน็ แนวทางให้กบั ครูผ้สู อนในการจัดการเรยี นการสอนเทา่ นั้น สามารถเปล่ยี นแปลงได้ข้นึ อยกู่ บั ผสู้ อน และสถานศึกษาที่จะนาไป ประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ สาคญั

1 แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการท่ี 1 หนว่ ยท่ี 1 รหสั 20001-1006 กฎหมายคอมพิวเตอร์ (2-0-2) สอนครง้ั ที่ 1 (1-2) ช่อื หน่วย/เรอ่ื ง ความร้เู กย่ี วกับกฎหมาคอมพิวเตอร์ จานวน 2 ชัว่ โมง สาระสาคญั ผู้ใช้คอมพวิ เตอรค์ วรมกี ารศกึ ษาเกยี่ วกับกฎหมายคอมพิวเตอร์ทเ่ี กย่ี วข้อง เพือ่ ใหส้ ามารถใช้งานไดอ้ ย่างถูกต้อง กอ่ ใหเ้ กิดผลดตี ่อตนเอง และไมส่ รา้ งความเดอื ดร้อนแกผ่ ู้อื่น การนาคอมพิวเตอรม์ าใช้ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งสูงสดุ น้ัน ผู้ใชต้ อ้ งมีความรเู้ กยี่ วกบั กฎหมายคอมพิวเตอรด์ ้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั กฎหมายคอมพวิ เตอรไ์ ด้ 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ตได้ 3. แสดงความรเู้ กยี่ วกับสิ่งที่ไมค่ วรปฏิบตั ิในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ได้ 4. แสดงความรู้เกย่ี วกับกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรไ์ ด้ 5. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทคี่ รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรื่อง 5.1 ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ 5.2 ความมีวนิ ัย 5.3 ความรับผิดชอบ 5.4 ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ 5.5 ความเช่ือมั่นในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 5.8 การละเว้นสงิ่ เสพติดและการพนนั 5.9 ความรกั สามัคคี 5.10 ความกตัญญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกย่ี วกับกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ 2. แสดงความรู้เกย่ี วกับหลกั กฎหมายลขิ สิทธแิ์ ละสทิ ธิบัตร เนอ้ื หาสาระ 1. ความรู้เกยี่ วกับกฎหมาคอมพวิ เตอร์ 2. คอมพิวเตอร์และอนิ เทอร์เนต็ 3. ส่งิ ที่ไม่ควรปฏบิ ตั ใิ นการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต 4. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ กิจกรรมการเรียนรู้

2 ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1.ครูผสู้ อนแนะนาจุดประสงค์ท่ีผเู้ รยี นจะไดจ้ ากหลักสตู ร โดยกาหนดใหผ้ เู้ รียนทุกคนต้องมคี วามรูค้ วามเข้าใจ เกี่ยวกบั กฎหมายคอมพวิ เตอร์ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์วา่ ด้วยบคุ คล กฎหมายแพง่ และพาณิชยว์ ่าดว้ ยนติ ิกรรม กฎหมายแพง่ และพาณชิ ยว์ า่ ดว้ ยสญั ญา กฎหมายแพ่งและพาณชิ ยว์ า่ ดว้ ยหน้ี กฎหมายวา่ ดว้ ยการกระทาผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ กฎหมายลขิ สทิ ธิแ์ ละกฎหมายสทิ ธิบัตร 2.ครูสนทนากับผูเ้ รียนเพื่อให้เหน็ ความสาคัญของกฎหมายคอมพิวเตอร์ ซึง่ ผใู้ ชค้ อมพิวเตอร์ควรศกึ ษา เพือ่ ให้ สามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง กอ่ ใหเ้ กดิ ผลดีตอ่ ตนเอง และไมส่ ร้างความเดือดรอ้ นแก่ผอู้ ่ืน การนาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ ห้ เกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งสงู สดุ น้นั ผ้ใู ชต้ อ้ งมคี วามรเู้ ก่ยี วกบั กฎหมายคอมพิวเตอร์ดว้ ย 3.ผ้เู รียนเลา่ ประสบการณ์ หรอื ข่าวสารเกย่ี วกบั การละเมดิ กฎหมายคอมพวิ เตอร์ 4.ผเู้ รียนทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรูก้ ่อนเรยี น แลว้ สลบั กนั ตรวจเพอ่ื เก็บคะแนนสะสมไว้ ขน้ั สอน 5.ครูใชเ้ ทคนิควธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) ดว้ ยการเลา่ อธบิ ายให้ผเู้ รยี นเปน็ ผู้ฟัง และเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนซักถามปญั หาได้ในตอนทา้ ยของการบรรยายความรเู้ กยี่ วกบั กฎหมายคอมพิวเตอร์ ซึ่งมี สาระสาคญั ดงั นี้ กฎหมายคอมพิวเตอรใ์ นปจั จุบนั ได้แก่ พระราชบญั ญัตเิ กีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 โดยจะมีผลกระทบ กบั ผใู้ ชค้ อมพวิ เตอร์ อนิ เทอรเ์ น็ตโดยท่วั ไป และผู้ให้บรกิ ารรวมถงึ หนว่ ยงานต่างๆ ทเ่ี ปิดบรกิ ารอินเทอร์เนต็ ให้แก่ผอู้ ื่น หรอื กลุ่มพนกั งาน/นักศึกษาในองค์กรผ้ใู ชง้ านคอมพวิ เตอร์ ทกุ คนจงึ มหี นา้ ทที่ ี่จะต้องทาความเข้าใจ และปฏิบตั ติ าม พ.ร.บ. ว่าดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซ่ึงไดม้ กี ารปรับปรงุ แก้ไขในปี 2554 เจตนารมณข์ องกฎหมาย พระราชบญั ญัตเิ ก่ยี วกับคอมพวิ เตอรม์ เี จตนารมณเ์ พอื่ กาหนดฐานความผดิ ทาง คอมพวิ เตอรใ์ นรปู แบบใหม่ ทก่ี ฎหมายปัจจบุ ันอาจยงั ไมส่ ามารถครอบคลุมใหท้ ั่วถงึ ไดเ้ ชน่ การทาลายข้อมลู ของผอู้ ่นื ใน ระบบคอมพวิ เตอร์โดยมชิ อบ การใช้ระบบคอมพิวเตอรเ์ พื่อเผยแพรข่ อ้ มูลคอมพวิ เตอร์อนั เป็นเทจ็ หรอื มีลักษณะอัน ลามก อนาจาร และเพ่อื กาหนดบทบัญญัติเกยี่ วกับอานาจหน้าท่ีของพนกั งาน เจ้าหนา้ ท่ซี งึ่ ตอ้ งมีความรู้ ความชานาญ พิเศษทางด้านคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื ใหป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่ตี ามกฎหมายตอ่ ไป 6.ครใู ชเ้ ทคนิควิธกี ารจัดการเรยี นรู้แบบอภิปราย (Discussion Method) โดยให้ผเู้ รียนช่วยกันอภิปราย ความสาคญั ของกฎหมายคอมพวิ เตอร์ และครูจะเป็นผสู้ รปุ สาระสาคญั ใหผ้ เู้ รยี นฟังอกี คร้งั ดังน้ี เน่ืองจากในปัจจุบนั ทุกคนใหค้ วามสนใจกบั โลกโซเชยี ลมากข้นึ แตย่ ังไม่ทราบถึงอันตรายทีเ่ กดิ ขึน้ จากการใช้ ขอ้ มูลจากโซเชียลดังกลา่ ว ซงึ่ หากมีการใชท้ ี่ไม่ถูกต้อง หรอื ขาดความระมดั ระวัง จะก่อให้เกดิ โทษขน้ึ ดงั น้นั การศึกษา เกี่ยวกบั กฎหมายคอมพิวเตอร์จึงช่วยให้มกี ารใช้ระบบข้อมลู รวมท้งั ระบบคอมพวิ เตอร์ดว้ ยความระมดั ระวงั ไม่กระทา ความผิดโดยร้เู ทา่ ไม่ถงึ การณ์ รวมถงึ การมีความรเู้ ก่ียวกบั กฎหมายคอมพวิ เตอรย์ ังชว่ ยให้ไมต่ กเป็นเหยื่อของพวก มจิ ฉาชพี อีกด้วย 7.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารจัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมอื (Cooperative Learning) โดยกาหนดใหผ้ เู้ รยี นทุกคนปฏิบัติ ดังนี้ 7.1 แบ่งเปน็ กลุ่มๆ ละ 3-4 คน 7.2 สมาชิกแตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกนั คิด วิเคราะห์การใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ตอยา่ งถูกต้องและ เหมาะสม พร้อมยกตัวอย่างสถานการณ์ ปญั หา ทีม่ ักเกิดขนึ้ ในสังคมเนือ่ งมาจากการขาดความรเู้ กีย่ วกับกฎหมาย คอมพิวเตอร์ 7.3 นาตวั อยา่ งสถานการณ์ทคี่ ดิ ได้ มาแสดงเป็นสถานการณจ์ าลองหน้าชั้นเรยี น

3 8.ครใู ชส้ อ่ื Power Point เพ่ือสรปุ เนือ้ หาเรื่องคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอร์เน็ต 1) การใชช้ ่อื และนามแฝง ผใู้ ช้อินเทอร์เนต็ สามารถใช้ชอื่ ปลอม นามแฝง หรอื ใหข้ อ้ มูลเก่ยี วกบั สถานภาพและอายซุ ่ึงไม่ใช่ข้อมูลที่เปน็ จรงิ หากบคุ คลดงั กล่าวมไิ ดเ้ ขยี นขอ้ ความทารา้ ยผู้อืน่ กจ็ ะไม่มผี ลแตป่ ระการใด ถ้าหากมีการนาช่ือของบุคคลอน่ื มาใช้โดยที่เจ้าของช่ือมิได้ทราบ จนกอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายจะต้องมกี ารรับผิด การ ฟ้องร้องเรยี กคา่ เสยี หายจากการกระทาดงั กล่าว 2) การพนนั ออนไลน์ ตามกฎหมายได้แบง่ การพนนั ออกเปน็ 2 ประเภท คือ ประเภทท่หี ้ามเลน่ โดย เด็ดขาด และประเภททเ่ี ล่นได้แตต่ อ้ งขออนญุ าตจากเจ้าหนา้ ทส่ี านกั งานตารวจแหง่ ชาตกิ ่อนซ่งึ ในปจั จุบนั จะเห็นวา่ มี เวบ็ ไซตเ์ กยี่ วกบั การพนันอยมู่ ากมาย เชน่ ไพ่ สล็อตแมชชนี ซ่ึงถือเป็นการพนนั ประเภททห่ี า้ มเล่นโดยเดด็ ขาด หากฝ่า ฝืนมโี ทษจาคกุ ตั้งแต่ 3 เดอื น – 3 ปี แต่ก็ยงั พบวา่ ขณะนย้ี งั ไมไ่ ดร้ บั การปราบปรามอยา่ งจริงจงั 3) ความรับผิดชอบของผู้ดูแลเวบ็ ไซต์ กรณที ่ีมีบุคคลเข้ามาเขียนกระทู้โพสตข์ ้อความ หรือรูปทีท่ าให้ บคุ คลอ่นื ได้รับความเสยี หาย โพสตภ์ าพโป๊ อนาจาร หรือข้อความพาดพงิ สถาบัน ถอื ว่าบุคคลนนั้ มีความผดิ ทางอาญา หากผดู้ แู ลเว็บไซตพ์ บเหน็ และทราบว่าเปน็ ข้อมลู ทีจ่ ะสร้างปัญหาตอ่ ไป หากละเลย ไมล่ บท้ิงหรือแกไ้ ขข้อความ ก็จะถกู ฟอ้ งรอ้ งฐานรว่ มกระทาผดิ ดว้ ย 4) การดาวนโ์ หลดเพลง เพลงถือเป็นงานท่มี ลี ขิ สทิ ธิ์ ห้ามทาซา้ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ตอ่ สารธารณชน โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ ของถอื เป็นความผดิ การอปั โหลดเพลงขึ้นไปอยใู่ นโลกอินเทอรเ์ น็ตจงึ ถือเป็นการละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ โดยเฉพาะผทู้ ี่ทาการคา้ โดยเกบ็ เงนิ จากคนทดี่ าวนโ์ หลดนับเป็นความผดิ คดีอาญา หากเปน็ กรณีทีผ่ ู้ดาวน์โหลด สาหรับการฟงั ถือเป็นการทาซ้า แตย่ ังพอมชี อ่ งกฎหมายท่ีอ้างว่ามไิ ดล้ ะเมดิ ลิขสิทธิ์ เพราะเปน็ การทาซ้าเพอ่ื ประโยชน์ ของตนเอง และไมไ่ ด้กอ่ ใหเ้ กดิ อปุ สรรคจากการใช้ประโยชน์จากงานอนั มีลิขสทิ ธิ์ 5) ไฮเปอร์ลงิ ก์ หรอื การ “ลิงก”์ เป็นการเช่อื มโยงข้อมลู แตล่ ะเว็บไซต์บนโลกอินเทอร์เนต็ เขา้ ดว้ ยกนั การ ลงิ กอ์ าจเกดิ ปญั หาขน้ึ ได้หากเป็นการนาข้อมูลจากเว็บไซต์อืน่ ๆ มาเปดิ เผย การลงิ ก์ข้อมลู จากเว็บไซตอ์ นื่ 6) การซื้อโปรแกรมลขิ สทิ ธ์ิและนามาคดั ลอกแจกผู้อน่ื โปรแกรมลขิ สทิ ธ์เิ ป็นโปรแกรมท่ถี ูกต้องตาม กฎหมายและมีราคาแพง จงึ มผี ูท้ าโปรแกรมออกมาจาหน่ายมากมาย กรณที มี่ ผี ซู้ ือ้ โปรแกรมลิขสิทธ์ิและนามาให้เพ่อื น คัดลอก หรือทาสาเนาไปใช้ตอ่ ถอื ว่ามคี วามผดิ ฐาน “ทาซ้า” ซึ่งเข้าขา่ ยละเมดิ ลขิ สทิ ธิแ์ ม้กฎหมายจะกาหนดวา่ เจ้าของ โปรแกรมลิขสิทธสิ์ ามารถกระทาได้ แต่ให้เปน็ การกระทาเพ่อื วตั ถุประสงค์ในการบารงุ รักษาหรือป้องกันการสญู หาย เท่านั้นหากไมไ่ ดร้ ับอนุญาต ถือเปน็ การละเมิดลขิ สิทธิ์ ซึง่ เปน็ ปญั หาถกเถยี งกันในประเทศสหรฐั อเมรกิ า สาหรับใน ประเทศไทยยงั ไม่พบปัญหานี้ ดงั นัน้ กอ่ นลงิ กเ์ ว็บไซตข์ องผู้อืน่ เข้ากบั เว็บไซตข์ องตนเอง ควรขออนุญาตก่อนเพื่อไม่ กอ่ ให้เกิดปญั หาข้นึ ภายหลงั 7) อีเมลขยะ อีเมลขยะกอ่ ใหเ้ กดิ ความราคาญแกผ่ ู้ทีใ่ ชอ้ ีเมล ผสู้ ง่ อีเมลขยะอาจทราบทีอ่ ยู่อีเมลดว้ ย วธิ กี ารต่างๆ เชน่ การฝงั โปรแกรมคกุ ก้ีตามเว็บไซต์ทม่ี ผี ใู้ ชอ้ ีเมลเขา้ ไปดู เป็นตน้ ในสหรฐั อเมรกิ ามผี รู้ อ้ งเรยี นกบั หน่วยงานของรัฐเพอื่ ใหอ้ อกมาตรการควบคุม และได้เคยมีเหตกุ ารณก์ ารฟ้องรอ้ งกนั โดยบรษิ ทั ผใู้ หบ้ ริการอนิ เทอรเ์ น็ต ฟ้องรอ้ งบรษิ ทั ท่สี ่งอีเมลขยะไปยังลูกค้าของตน 9.ครูใชเ้ ทคนิควิธกี ารจดั การเรยี นร้แู บบอภปิ ราย (Discussion Method) โดยมีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจ เนื้อหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยมวี ธิ ีการคือ ให้ผเู้ รียนชว่ ยกันอภปิ รายสิ่งที่ผ้ใู ช้อนิ เทอรเ์ น็ตไมค่ วรปฏิบตั ิ เน่ืองจาก อาจก่อให้เกิดความผิดตามพระราชบัญญัติ มีดงั นี้ 1). การเปดิ เผย password แก่บคุ คลอนื่ 2). การให้ผู้อืน่ ใชค้ อมพวิ เตอรห์ รอื โทรศพั ท์เคล่ือนที่เพื่อเขา้ อนิ เทอร์เนต็ 3). การตดิ ตั้งระบบเครอื ขา่ ยไรส้ ายในบา้ นหรอื ทที่ างานโดยไม่ใชม้ าตรการการตรวจสอบผ้ใู ชง้ านและการ เขา้ รหสั ลบั 4). การเขา้ ระบบด้วย user ID และ password ของบุคคลอ่ืน

4 5). การนา user ID และ password ของผู้อื่นไปใช้งานหรอื เผยแพร่ 6). การสง่ ตอ่ ภาพถ่าย ภาพเคลอื่ นไหว หรือข้อความทผ่ี ดิ กฎหมาย 7). การใชเ้ ครอื่ งสาธารณะ โดยเลอื กใช้ remember me หรอื remember password ในการ log in 8). การเขยี นข่าวหรือข้อมลู ทเ่ี ปน็ เท็จ 10.ครูใช้เทคนคิ วธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) บอกปญั หาของกฎหมายอาชญากรรม ปัญหาข้อ กฎหมายของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ มีดงั น้ี 1). การให้ความคมุ้ ครองวตั ถทุ ่ีเปน็ รปู รา่ ง ขอ้ กฎหมายของอาชญากรรมคอมพวิ เตอรม์ งุ่ ให้ความคมุ้ ครอง วัตถทุ มี่ รี ูปร่างเท่านน้ั ขณะท่ีขอ้ มลู ขา่ วสารเป็นวตั ถุทม่ี รี ปู รา่ งเอกสารไมไ่ ดอ้ ย่ใู นแผน่ กระดาษ ซ่งึ กฎหมายให้ความ คุ้มครองไมถ่ ึง 2). พยานหลักฐาน เนอื่ งจากพยานหลักฐานทเี่ ก่ยี วกบั คอมพิวเตอรน์ ั้นสามารถเปลย่ี นแปลงได้ ตลอดเวลาและกระทาไดง้ า่ ย แต่ยากต่อการสืบหา รวมท้งั ข้อมลู ยงั สญู หายได้ เชน่ กรณีของการบันทกึ ข้อมูลลงใน Hard Disk เพ่ือจะนาไปใช้เป็นพยานหลกั ฐาน เมอื่ Hard Disk ไดร้ บั ความกระทบกระเทอื นข้อมูลอาจสูญหายไปได้ 3). การออกหมายค้น นอกจากนเี้ รื่องอานาจในการออกหมายคน้ กเ็ ป็นสิ่งหน่งึ ทีต่ อ้ งนามาพจิ ารณา เนอื่ งจากการคน้ หาหลกั ฐานใน Hard Disk นัน้ ต้องกาหนดใหศ้ าลมอี านาจบงั คบั ใหผ้ ูต้ อ้ งสงสยั บอกรหสั ผา่ นแก่ เจา้ หนา้ ทที่ ที่ าการสบื สวนการค้นหาหลักฐานใน Hard Disk ไดด้ ้วย 4). ขอบเขตพ้นื ท่ี เน่ืองจากผกู้ ระทาความผดิ อาจกระทาจากพนื้ ทอ่ี ื่นๆ ทีไ่ ม่ใชป่ ระเทศไทยซ่ึงอยู่นอก เขตอานาจของศาลไทย ดงั น้นั กฎหมายจึงควรบญั ญตั ิอย่างชัดเจนดว้ ยวา่ ศาลมเี ขตอานาจท่ีจะลงโทษผกู้ ระทาผดิ ได้ เพียงใด และหากได้กระทาผดิ ในตา่ งประเทศถอื เป็นความผดิ ในประเทศไทยหรือไม่ 5). อายุของผู้กระทาผดิ ผกู้ ระทาความผดิ ทางอาชญากรรมคอมพิวเตอรส์ ว่ นมากมักจะเปน็ เด็กและ เยาวชน ซ่งึ อาจจะกระทาความผดิ โดยความรู้เทา่ ไมถ่ งึ การณ์ ความคึกคะนอง หรือความซกุ ซน เปน็ ตน้ 11.ครกู ลา่ วเพม่ิ เติมถึงลักษณะการกระทาผิดในการกอ่ อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์นนั้ แบง่ ออกตามวตั ถหุ รอื ระบบท่ีถกู กระทา ดังน้ี 1). การกระทาตอ่ ระบบคอมพิวเตอร์ 2). การกระทาต่อระบบขอ้ มลู 3). การกระทาต่อระบบเครอื ข่ายซง่ึ ใชใ้ นการติดต่อส่อื สาร 12.ผเู้ รียนบอกลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์เหลา่ นี้ 1). Virus Computer 2). Trojan Horse 3). Bomb 4). Rabbit 5). Sniffer 6). Spoofi ng 7). The Hole in the Web 13.ครูใช้สอ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายประเภทของอาชญากรรมคอมพวิ เตอรต์ ามกระบวนการได้ซงึ่ มี ดงั นี้ 1). ขั้นของกระบวนการนาเขา้ (Input Process) นน้ั อาจทาไดโ้ ดย 1.1 การสับเปลีย่ น Disk ในทนี่ ้หี มายถงึ 1.2 การทาลายข้อมลู เปน็ การทาลายขอ้ มลู ใน Hard Disk หรือสื่อบนั ทกึ ขอ้ มูลชนิดอนื่ ทใ่ี ช้ร่วมกับ คอมพิวเตอร์โดยไม่ชอบ กรณกี ารทาลายข้อมลู นัน้ กถ็ อื เป็นความผิดทง้ั สิ้น

5 1.3 การป้อนข้อมูลเทจ็ ในกรณีทเี่ ปน็ ผ้มู ีอานาจหน้าทอ่ี ันอาจเขา้ ถึงเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ ได้หรือ แมแ้ ต่ผ้ทู ไ่ี มม่ อี านาจเขา้ ถงึ กต็ าม แต่ไดก้ ระทาการอนั มิชอบในขณะที่ตนเองอาจเขา้ ถงึ ได้ 1.4 การลกั ข้อมลู ข่าวสาร ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ โดยตนเองไมม่ ีอานาจในการเข้าถึง ซงึ่ ปจั จบุ ันถอื ว่าขอ้ มลู ขา่ วสารถือเป็นสินทรพั ย์ท่ีมีคา่ อยา่ งยิ่ง 1.5 การลกั ใชบ้ รกิ ารหรือเขา้ ไปใช้โดยไมม่ ีอานาจ อาจกระทาไดโ้ ดยการเจาะลึกเขา้ ไปในระบบ เพ่ือใหไ้ ดร้ หสั ผา่ นสาหรับการเข้าไปใชบ้ รกิ ารตา่ งๆ โดยไมต่ ้องเสียคา่ ลงทะเบยี น 2). ข้ันกระบวนการ (Data Processing) อาจกระทาไดด้ ังนี้ 2.1 การทาลายขอ้ มูลและระบบโดยใช้ไวรสั 2.2 การทาลายข้อมลู และโปรแกรม 2.3 การเปลย่ี นแปลงขอ้ มลู และโปรแกรม 3). ข้นั กระบวนการนาออก (Output Process) กระทาความผดิ ได้ ดังน้ี 3.1 การขโมยขยะ หมายถงึ ขอ้ มูลทไ่ี มไ่ ด้ใชแ้ ล้ว แตย่ ังไมไ่ ดท้ าลาย การขโมยขยะถอื เปน็ ความผดิ ถา้ ขยะทีถ่ กู ขโมยไปนน้ั อาจทาให้เจ้าของตอ้ งเสยี หายและเจา้ ของอาจจะยงั มิไดม้ ีเจตนาสละการครอบครองกถ็ ือเป็น ความผดิ ได้ 3.2 การขโมย Printout คือ การขโมยงานหรอื ขอ้ มลู ที่ Print ออกมาแล้ว กรณีน้ี อาจผดิ ฐานลกั ทรัพย์ เพราะเป็นการขโมยเอกสารท่มี ีคา่ ของผู้อื่น 14.ครูใช้เทคนคิ วิธสี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) เพ่ืออธิบายเรือ่ งการกาหนดฐานความผิดและบท กาหนดโทษ กฎหมายอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ กาหนดลกั ษณะการทาความผดิ ต่อระบบคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมลู และระบบเครอื ขา่ ย แบง่ ออกเป็น 3 ฐานความผดิ ดังนี้ 1). การเข้าถงึ โดยไม่มอี านาจ 2). การลกั ลอบดกั ขอ้ มลู 3). ความผดิ ฐานรบกวนระบบ 4). การใชอ้ ุปกรณใ์ นทางที่ผดิ 15.ผู้เรยี นแสดงความเหน็ เกยี่ วกบั กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอรท์ าใหเ้ กดิ ขอ้ ดตี อ่ การดาเนนิ ชวี ิตของนกั เรียน อยา่ งไรบ้าง 16.ผู้เรยี นเลา่ ประสบการณ์ การกระทาความผิดเก่ยี วกบั กฎหมายคอมพวิ เตอร์ดว้ ยความรเู้ ทา่ ไมถ่ ึงการณข์ อง ตนเอง หรือบุคคลทรี่ จู้ กั ขั้นสรุปและการประยกุ ต์ 17.ครแู ละผู้เรียนรว่ มกันสรุปเนอื้ หาทเี่ รียน 18.ผเู้ รียนทากิจกรรมใบงาน แบบประเมนิ ผลหลงั เรียน และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 19.สรปุ โดยการถาม-ตอบ เพือ่ ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวนั และประเมินผเู้ รียนตามแบบฟอรม์ ตอ่ ไปน้ี ชือ่ ผูเ้ รียน ประสบการณพ์ ื้นฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ ผลงาน 1. 2. 3. 4.

6 5. ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ 1.หนังสือเรยี น วิชากฎหมายคอมพวิ เตอร์ ของสานกั พมิ พ์เอมพนั ธ์ 2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3.แผน่ ใส 4.สือ่ PowerPoint 5.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

7 หลักฐาน 1.บนั ทึกการสอนของผสู้ อน 2.ใบเชค็ รายช่อื 3.แผนจัดการเรียนรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน การวัดผลและการประเมนิ ผล วิธีวัดผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ 3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 4 ตรวจกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝกึ ปฏิบตั ิ 6. ตรวจกจิ กรรมใบงาน 7. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เครือ่ งมอื วัดผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผเู้ รียน) 4. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ 5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละผู้เรียน ร่วมกันประเมนิ เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้ึนไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน และแบบฝึกปฏบิ ัติ 50% 5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงานมเี กณฑ์ผา่ น 50% 6. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่ กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กจิ กรรมเสนอแนะ 1.ผ้เู รยี นวางแผนศกึ ษาวิชากฎหมายคอมพวิ เตอร์ 2.ค้นหาขอ้ มลู เพิ่มเติมจากส่อื อินเทอรเ์ น็ต

8 จงเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว 1. นางสาวอรวรรณ ใช้นามสมมตเิ มอ่ื อยู่ในโลกโซเชยี ล อรวรรณมคี วามผิดตามกฎหมายคอมพิวเตอรห์ รอื ไม่ ก. มคี วามผดิ เพราะเป็นการโกหก ข. มคี วามผดิ เพราะเป็นการบดิ เบอื นความจริง ค. มีความผดิ เพราะเป็นการทีอ่ าจทาให้ผู้อืน่ เสียหาย ง. ไมม่ คี วามผดิ เพราะสามารถใชน้ ามสมมตไิ ดห้ ากไมไ่ ดท้ ารา้ ยคนอนื่ จ. ไมม่ คี วามผดิ เพราะไมม่ กี ฎหมายเก่ยี วกบั เรอื่ งการใช้นามสมมติ 2. ข้อใดเปน็ การกระทาทผ่ี ดิ กฎหมาย ก. โฟน เล่นสล็อตออนไลนบ์ นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ ข. แปง้ ใชน้ ามสมมตใิ นการเขียนนยิ ายลงบนเว็บเพจ ค. เมย์ ฟังเพลงผ่านเวบ็ ยทู ปู ง. แก้ม ยมื โทรศัพท์มือถือของครมี มาสง่ อีเมลเนอ่ื งจากโทรศพั ท์ตนเองเสยี จ. ส้ม กดถูกใจข้อความของเพื่อนบน facebook 3. สิง่ ทีผ่ ู้ดแู ลเว็บไซตค์ วรระวังเพราะอาจกอ่ ให้เกดิ ความผดิ ทางกฎหมายได้ คือข้อใด ก. การเขยี นโปรแกรม ข. กระททู้ ีถ่ ูกโพสต์บนเว็บไซต์ ค. ชอ่ื ผใู้ ชข้ องสมาชกิ ง. จานวนผูเ้ ขา้ ชมเว็บไซต์ จ. จานวนผู้กดถูกใจ 4. “นางสาวแพรวาเป็นแฟนเพลงทช่ี ่ืนชอบในผลงานของ ทาทา ยัง อยา่ งมาก จึงซือ้ แผ่นซีดเี พลงมาและด้วยความชืน่ ชอบอย่างมากจึงต้องการให้ผ้ทู ่ีไมเ่ คยฟงั ได้ฟังจึงไดอ้ ัปโหลดเพลงลงบนอนิ เทอรเ์ นต็ ”จากทีก่ ล่าวมาขา้ งต้น นางสาวแพร วามีความผดิ ตามกฎหมายหรอื ไม่ ก. ผิดกฎหมาย เพราะเปน็ การละเมิดลิขสิทธ์ิ ข. ผดิ กฎหมาย เพราะเป็นการปลอมแปลงข้อมูล ค. ไม่ผดิ กฎหมาย เพราะซอื้ ซดี ีมาแล้วย่อมมกี รรมสทิ ธิ์ ง. ไมผ่ ิดกฎหมาย เพราะไมไ่ ดส้ ่งผลกระทบตอ่ เจ้าของสขิ สิทธ์ิ จ. ไม่ผดิ กฎหมาย เพราะไม่ได้ละเมดิ สทิ ธิบตั รของบคุ คลใด 5. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ ง ก. พระราชบญั ญตั ิเกยี่ วกับคอมพวิ เตอรม์ เี จตนารมณ์เพือ่ กาหนดฐานความผดิ ทางคอมพวิ เตอร์ ข. ผใู้ ชบ้ รกิ ารมอื ถอื และคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพาไดร้ บั ยกเวน้ ไม่อยภู่ ายใตก้ ฎหมายคอมพิวเตอร์ ค. การใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพ่ือเผยแพร่ขอ้ มลู คอมพิวเตอรต์ ้องดาเนนิ การในขอบเขตของกฎหมาย ง. การเขา้ ถึงระบบคอมพิวเตอรท์ ม่ี กี ารปอ้ งกนั โดยมิชอบถอื วา่ ผดิ กฎหมาย จ. การดกั จบั ข้อมลู คอมพวิ เตอรม์ โี ทษจาาคกุ 6. บุคคลในข้อใดเข้าขา่ ยกระทาความผดิ ตาม พ.ร.บ. ว่าดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์

9 พ.ศ. 2550 ก. จตพุ ลเข้าใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เช็คอเี มล ข. แจ็สนง่ั ตดั ตอ่ ภาพโป๊ ค. โอชาโพสตข์ อ้ ความตอ่ ว่าดาราท่ีไม่ชอบ ง. พิมสง่ ไฟล์การบา้ นไปใหเ้ พื่อนทุกคนที่อย่ใู นอีเมล จ. สาวาดภาพใบหน้าตนเองด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 7. ขอ้ ใดไม่เป็นความจริงตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ก. เพลงถอื เปน็ งานที่มลี ิขสทิ ธิห์ า้ มทาซ้าดัดแปลง ข. การเลน่ การพนันออนไลนเ์ ป็นสงิ่ ต้องหา้ ม หากฝ่าฝนื มโี ทษจาคุก ค. การสง่ ต่ออเี มลทมี่ ภี าพลามกอนาจารถือวา่ มีความผดิ ง. เจา้ ของเว็บไซตต์ า่ งๆ ต้องจัดเกบ็ หมายเลขประชาชน 13 หลักของผูใ้ ชบ้ ริการทุกราย จ. การลิงก์เป็นการเชื่อมโยงข้อมลู แตล่ ะเวบ็ ไซตบ์ นโลกอนิ เทอรเ์ นต็ เขา้ ด้วยกนั 8. ข้อใดไม่ใชข่ ้อควรระวงั ในการใช้อนิ เทอร์เน็ต ก. โอปอลให้พิมยืมใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีเพือ่ เขา้ อินเทอรเ์ นต็ ข. แจค็ ตดิ ต้งั ระบบเครอื ข่ายไร้สายในบ้านหรอื ทท่ี างานโดยไมใ่ ช้มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งาน และการเข้ารหสั ลบั ค. ไมเคลิ กด \"remember me\" หรือ \"remember password\" ที่เครือ่ งคอมพิวเตอรส์ าธารณะ ทกุ ครงั้ เมื่อมกี ารเข้าใชโ้ ปรแกรมในอนิ เทอรเ์ นต็ ง. นุ่นใช้ WiFi (Wireless LAN) ที่เปดิ ให้ใช้ฟรีโดยเข้ารหสั ลบั ขอ้ มลู จ. จตุพลกดเปิดโปรแกรมแอนตไี วรสั ทกุ ครงั้ เพ่ือเขา้ เวบ็ เพจที่เส่ยี งอนั ตราย 9. ขอ้ ใดไม่ใช่การป้องกนั จากการกระทาความผิดตาม พ.ร.บ. วา่ ด้วยการกระทาความผิดเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2550 ก. กอ่ นดาวนโ์ หลดโปรแกรมหรือข้อมูลจากเว็บไซตค์ วรอ่านเงื่อนไขให้ละเอียดเสยี ก่อน ข. ไม่เผยแพร่ spam เมลหรอื ไวรสั ค. ไมฟ่ อรเ์ วริ ด์ อีเมลหรอื Clip ภาพลามกอนาจารหรือข้อความทไ่ี ม่เหมาะสม ง. เปิดเช็คอีเมลตรวจสอบขอ้ ความในกลอ่ งขาเขา้ ทุกวัน จ. เปลี่ยน password เปน็ ระยะเพ่ือปอ้ งกันรวั่ ไหล 10. การใช้ช่อื แสดงตัวตนที่ไม่มคี วามผดิ ตามกฎหมายคือการใช้ในลกั ษณะใด ก. นารปู ถ่ายบคุ คลอื่นมาใช้ ข. นาชอื่ บคุ คลอ่ืนมาใช้ ค. ใชช้ ่ือตนเอง แต่รปู ภาพคนอน่ื ง. ใช้นามแฝง โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นใคร จ. ใช้นามแฝงเพื่อตอ่ วา่ ผ้อู น่ื บนโซเชียล 11. การเช่ือมโยงขอ้ มลู แตล่ ะเวบ็ ไซตบ์ นโลกอนิ เทอรเ์ น็ตเข้าด้วยกนั จะไมม่ ีความผิดทางกฎหมายเมอ่ื ใด ก. เม่อื ไดร้ ับอนญุ าต ถือว่าไมไ่ ด้ละเมดิ กรรมสทิ ธ์ิ ข. เมอื่ ไดร้ บั อนุญาต ถือวา่ ไม่ไดล้ ะเมดิ ลขิ สิทธิ์ ค. มีความผดิ ทกุ กรณี ง. สรา้ งความเดือดรอ้ นใหผ้ ู้อืน่ จ. สรา้ งปัญหาให้เว็บไซตผ์ ู้อนื่ เสยี หาย 12. ข้อใดคอื ความผิดทผ่ี เู้ สียหายสามารถฟ้องรอ้ งได้

10 ก. การฟังเพลงผ่านเวบ็ ยทู ูป ข. การโพสตร์ ูปของตนเองลงบน Facebook ค. การไดร้ ับอีเมลแนะนาผลิตภณั ฑใ์ หม่ ง. การได้รบั อีเมลขยะและขอ้ ความผา่ นมอื ถือในระบบเอสเอ็มเอส จ. การดาวนโ์ หลดเพลงเพอื่ ฟัง 13. ข้อควรระวงั ขณะใช้เคร่อื งคอมพิวเตอรส์ าธารณะ คือขอ้ ใด ก. การกดป่มุ remember password ข. การส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความทางการศึกษาใหเ้ พ่ือน ค. การฟงั เพลงผา่ นเวบ็ ยูทูป ง. การคน้ หาขอ้ มูลจากเวบ็ กูเกลิ จ. การอา่ นรีววิ พันทิพ 14. หากท่านใช้ WiFi (Wireless LAN) ท่ีเปดิ ใหใ้ ช้ฟรโี ดยปราศจากการเขา้ รหสั ลับข้อมูล ผลเสียท่ีอาจเกดิ ขน้ึ คอื ขอ้ ใด ก. ไวรสั คอมพวิ เตอร์ ข. ขอ้ มูลทคี่ วรจะเปน็ ความลับของท่านอาจรัว่ ไหล ค. คอมพวิ เตอรท์ างานดว้ ยความหนว่ ง ง. ระบบอินเทอรเ์ นต็ จะขดั ข้อง จ. ไม่มผี ลเสยี ใดเกดิ ข้ึน 15. ขอ้ ใดคอื ความเสยี่ งท่เี กิดขึ้นจากการใช้เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ่เี ปิดใหบ้ ริการฟรีในรา้ นกาแฟ ก. ทาเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ของทางร้านเสยี ข. ถกู ดักขอ้ มูล ค. ไวรัสบุกเขา้ ทาาลาย Facebook ง. เคร่ืองคา้ ง จ. การเล่นการพนนั ออนไลน์ 16. ข้อใดคือสาเหตทุ อ่ี าจทาใหเ้ ดก็ และเยาวชนมีความผิดเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร์ ก. ความสามารถของเดก็ ข. ความรู้เทา่ ไม่ถึงการณ์ ค. การอบรมสงั่ สอนของผู้ใหญ่ ง. ระบบคอมพิวเตอร์ไม่แขง็ แรง จ. ระบบคอมพิวเตอร์รวน 17. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกับขอ้ กฎหมายของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ ก. ใหค้ วามคมุ้ ครองวตั ถุทเ่ี ป็นรปู รา่ ง ข. พยานหลักฐานท่เี กยี่ วกับคอมพวิ เตอรน์ ้ันสามารถเปลย่ี นแปลงไดต้ ลอดเวลาและกระทาได้ง่าย ค. การโจรกรรมเงนิ ในบญั ชลี ูกค้าของธนาคารเปน็ ข้อมูลทไ่ี มเ่ ป็นรูปรา่ ง ง. การปลอ่ ยไวรสั เข้าคอมพิวเตอรเ์ ป็นขอ้ มลู ทีเ่ ป็นรูปรา่ ง จ. พยานหลกั ฐานที่เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอรน์ ้ันยากตอ่ การสืบหา 18. ระบบเครอื ข่ายซง่ึ ใช้ในการตดิ ตอ่ สื่อสารมคี วามสัมพนั ธ์กบั ข้อใด ก. เป็นอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ข. เป็นกระบวนการประมวลผลดว้ ยคอมพิวเตอร์ ค. การสือ่ สารระหว่างคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกันเป็นทอดๆ ง. ฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ จ. การเข้ารบั หรอื ปอ้ นข้อมูล

11 19. ระบบข้อมลู ของคอมพิวเตอร์ หมายถงึ ข้อใด ก. การเปดิ กว้างให้ผ้ใู ดกไ็ ด้ใช้บรกิ ารในการเช่อื มตอ่ ข. กระบวนการประมวลผลสาหรบั สร้าง ส่ง รับ เกบ็ รกั ษาหรือประมวลผลขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนิกส์ ค. การเข้ารบั หรือปอ้ นข้อมูล ง. การสื่อสารระหวา่ งคอมพวิ เตอรเ์ ข้าดว้ ยกนั เปน็ ทอดๆ จ. ให้บรกิ ารเชื่อมต่อเฉพาะสมาชกิ เทา่ น้นั 20. บุคคลในขอ้ ใดไมถ่ อื วา่ เปน็ ผู้ให้บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ก. นดิ เปน็ เจ้าของร้านอินเทอรเ์ นต็ ข. หนอ่ ยเป็นเจา้ ของเวบ็ ไซต์ ค. นุ่นเปน็ เจ้าของเวบ็ บอรด์ ง. หนึง่ เป็นผนู้ าขา่ วขน้ึ เผยแพร่บนอินเทอรเ์ นต็ จ. น้าเป็นเจ้าของเว็บขายสินคา้ ออนไลน์

12 บนั ทึกหลังการสอน ขอ้ สรปุ หลังการสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาท่พี บ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปญั หา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการที่ 2 หน่วยท่ี 2 สอนครง้ั ท่ี 2 (3-4) รหสั 2204-2112กฎหมายคอมพิวเตอร์ (2-0-2) ชื่อหน่วย/เรอ่ื ง กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์วา่ ดว้ ยบคุ คล จานวน 2 ช.ม.

13 สาระสาคัญ การทบ่ี ุคคลอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม จาเปน็ ตอ้ งมกี ฎระเบียบในการยึดถอื เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกันได้อยา่ งมี ความสขุ กฎหมายแพ่งและพาณชิ ยไ์ ดบ้ ญั ญตั เิ ก่ยี วกบั สภาพของบุคคล รวมถึงสทิ ธิและหน้าที่ให้ปฏบิ ตั ิกันอยา่ งถกู ตอ้ ง ตามสิทธแิ ละหน้าทข่ี องตน หากบุคคลในสังคมยดึ ถือ และปฏิบตั ไิ ปในแนวทางที่กฎหมายกาหนดไดน้ นั้ จะทาให้สังคม สงบสุข จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของบคุ คลได้ 2. บอกประเภทของบคุ คลได้ 3. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศกึ ษาสานกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ที่ครูสามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 3.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ 3.6 การประหยัด 3.2 ความมีวินยั 3.7 ความสนใจใฝร่ ู 3.3 ความรับผดิ ชอบ 3.8 การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนัน 3.4 ความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ 3.9 ความรกั สามคั คี 3.5 ความเชอ่ื มั่นในตนเอง 3.10 ความกตัญญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลักกฎหมายลิขสทิ ธิแ์ ละสทิ ธิบัตร เน้ือหาสาระ 1. ความหมายของบคุ คล 2. ประเภทของบคุ คล กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น 1.ครกู ล่าวว่าการท่ีบุคคลอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม จาเปน็ ตอ้ งมีกฎระเบยี บในการยดึ ถอื เพอ่ื ให้สามารถอยู่รว่ มกนั ได้ อยา่ งมคี วามสขุ กฎหมายแพ่งและพาณิชยไ์ ดบ้ ญั ญตั ิเกีย่ วกบั สภาพของบคุ คล รวมถงึ สทิ ธิและหน้าทใ่ี หป้ ฏบิ ตั ิกนั อย่าง ถูกตอ้ งตามสิทธิและหนา้ ท่ขี องตน หากบุคคลในสังคมยึดถอื และปฏิบัตไิ ปในแนวทางทก่ี ฎหมายกาหนดไดน้ ั้นจะทาให้ สังคมสงบสุข 2.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ก่อนเรยี น แล้วสลับกันตรวจเพือ่ เกบ็ คะแนนสะสมไว้ 3.ผู้เรยี นลองอธิบายความหมายของคาว่า “ บคุ คล” ตามความเขา้ ใจของผเู้ รยี น ขั้นสอน 4.ครใู ช้สือ่ Power Point ประกอบการอธบิ ายความหมายของคาวา่ “บคุ ลล” ดังนี้ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ บุคคล หมายถงึ ส่งิ ที่สามารถมสี ิทธิและหน้าทไี่ ดต้ ามกฎหมาย

14 ตามหลักนติ ิศาสตร์ บคุ คล หมายถึง ผ้ทู รงสทิ ธิหนา้ ท่ใี นทางกฎหมาย หมายถงึ บุคคลเปน็ ผู้ทส่ี ามารถจะมสี ิทธิ และหน้าที่ตามกฎหมาย เปน็ เจา้ ของทรัพย์สินได้ มีสิทธทิ างนิติกรรมได้ การกาหนดใหบ้ คุ คลใดเปน็ บุคคลตามกฎหมาย ข้นึ อยกู่ ับสภาพของสังคม วฒั นธรรมของแตล่ ะยคุ สมยั ดังนี้ กฎหมายโรมนั กาหนดสถานภาพความเปน็ บุคคลโดยสมบรู ณข์ ึ้นอยกู่ ับเสรภี าพ ความเปน็ ราษฎรโรมนั และการ มคี รอบครวั ความเป็นบุคคลในสมยั โรมันอาจสญู เสยี เม่อื บคุ คลน้นั เปน็ ทาส เนอื่ งจากฐานะของทาสเปน็ เพยี งส่งิ ของ หรือเป็นเพยี งทรัพยส์ ินส่วนตวั ของผเู้ ปน็ นาย และนายมสี ทิ ธิตา่ งๆ ตามกฎหมายตอ่ ทาส เชน่ นายอาจจาาหนา่ ยทาสตอ่ ให้บคุ คลอื่นได้ เปน็ ตน้ กฎหมายองั กฤษเดิม ถอื ว่าพลเมอื งทั่วไปเป็นบคุ คล และมสี ถานภาพเปน็ บุคคลตามกฎหมายแต่บางคนอาจไมม่ ี ฐานะเป็นพลเมืองจงึ ไม่มลี ักษณะเป็นบคุ คล และไม่มีสทิ ธติ ามกฎหมาย เช่น ทาส เปน็ ต้น กฎหมายตราสามดวง กาหนดสถานะและสิทธขิ องบคุ คลไม่เท่าเทยี มกนั โดยแตกต่างกนั ตามเชื้อชาตติ ระกลู ชาตกิ าเนิด และสถานะทางสังคม ซ่งึ แบง่ เป็น เจา้ ขนุ นาง ไพร่ และทาส เป็นต้น 5.ครูใช้เทคนิควธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) อธิบายวา่ กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ แบง่ บคุ คล ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1). บุคคลธรรมดา (Natural Persons) หมายถึง มนุษย์หรือคนซ่ึงมชี ีวิต จติ ใจ มีสิทธแิ ละหน้าทต่ี าม กฎหมาย ซ่ึงรวมทั้งเพศชายและเพศหญงิ 2). นติ บิ ุคคล หมายถึง บุคคลตามกฎหมายท่ีกฎหมายสมมติขึ้น และรับรองใหม้ สี ทิ ธิและหนา้ ท่ี เช่นเดียวกบั บคุ คลธรรมดา แตม่ บี างสทิ ธิท่ีนติ ิบุคคลไมส่ ามารถมไี ด้ เช่น สิทธดิ ้านครอบครัว สทิ ธิในการเลอื กต้ัง เปน็ ต้น 6. ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายเร่อื งบุคคลธรรมดา (Natural Persons) ดังนี้ การเรม่ิ ตน้ ของบคุ คล มดี ังนี้ 1). สภาพบคุ คล มขี ้อพิจารณา คือ การเร่มิ ตน้ สภาพบุคคล และวนั เกดิ ของบุคคล 1.1 การเรม่ิ ต้นสภาพของบคุ คล ถกู บัญญตั ไิ วใ้ นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์มาตรา 15 วรรค 1 ว่า “สภาพบคุ คลย่อมเริ่มแตเ่ มอื่ คลอดแลว้ อยรู่ อดเปน็ ทารก และส้นิ สุดเมื่อตาย” ดงั นั้น สภาพของบุคคลธรรมดา จึง มดี ังนี้ - มกี ารคลอด ทางกฎหมายถอื ว่าสภาพบุคคลยอ่ มเรม่ิ เมอื่ มีการคลอดท่ีสาเร็จบรบิ รู ณแ์ ล้ว หรอื เม่ือทารก ได้คลอดจากครรภม์ ารดาหมดท้ังตวั หากอวัยวะของทารกทกุ สว่ นยงั ไม่พ้นจากครรภม์ ารดา ไม่ถอื ว่าเป็นการคลอดตาม กฎหมาย - มกี ารอยู่รอดเป็นทารก ต้องปรากฏว่าทารกที่คลอดออกมาน้นั ได้มีการแสดงปฏกิ ิรยิ าแหง่ ชีวติ อย่างใด อย่างหน่งึ เช่น การหายใจ การเตน้ ของหัวใจ การเต้นของสายสะดอื การเตน้ ของกลา้ มเนอ้ื การเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย เป็นตน้ กฎหมายกาหนดใหส้ ภาพบุคคลเรม่ิ เมอื่ ทารกมชี ีวิตหลงั จากคลอดจากครรภ์แลว้ หากทารกยังอยใู่ นครรภ์ เมือ่ มารดาเสยี ชวี ิต ทารกมิได้แยกชีวิตออกจากผู้เปน็ มารดากจ็ ะทาให้ทารกน้ันตายไปด้วย หากทารกคลอดออกมาแล้ว เมอ่ื มารดาเสยี ชวี ิต ทารกมไิ ด้ถงึ แก่ความตายด้วย

15 สทิ ธขิ องทารกในครรภม์ ารดา โดยปกติทารกในครรภ์ยงั ไมม่ สี ภาพเป็นบุคคล จงึ ยังไม่มสี ทิ ธิและหนา้ ทเ่ี หมอื น บคุ คลธรรมดาทว่ั ไป แต่ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 15 วรรค 2 ไดบ้ ญั ญตั ริ ับรองสทิ ธใิ นครรภม์ ารดา ไวว้ ่า “ทารกในครรภ์มารดา สามารถมสี ทิ ธิต่างๆ ได้ ถ้าหากว่าภายหลังคลอดแลว้ อยู่รอดเปน็ ทารก” การมสี ิทธิน้ันจะมี ผลยอ้ นหลังถงึ วนั ที่ทารกยงั อยใู่ นครรภม์ ารดาด้วย อธบิ ายไดว้ ่าทารกในครรภ์แม้วา่ จะยังไม่มสี ภาพบคุ คล กฎหมายกใ็ ห้ การรับรองและคุ้มครองสทิ ธิเช่นเดียวกบั ผู้ท่ีมสี ภาพบคุ คลแลว้ เพียงแตใ่ นขณะท่ที ารกยังมไิ ดค้ ลอด ทารกจะใช้หรอื เรยี กรอ้ งสทิ ธติ ่างๆ ยังมิไดต้ อ่ เมอื่ ทารกได้คลอดมามสี ภาพบุคคลแลว้ จึงจะกระทาได้ หรือใหก้ ารรบั รองและค้มุ ครอง ย้อนกลับไปในขณะท่เี ป็นทารกในครรภ์นัน่ เอง สิทธิในครอบครัว เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1536 บญั ญตั ไิ ว้ “เด็กเกดิ แต่หญิงขณะเป็นภริยาชายหรือภายใน 310 วนั นับแต่วนั ทีก่ ารสมรสส้ินสดุ ลง ให้สันนษิ ฐานไว้ก่อนวา่ เป็นบุตรชอบดว้ ย กฎหมายของชายผเู้ ป็นสามี หรือเคยเป็นสามี แลว้ แต่กรณ”ี

16 1.2 วันเกิดของบคุ คล คือ วันที่คลอดจากครรภม์ ารดา เป็นวันที่ทารกเรม่ิ มสี ภาพบคุ คลตามกฎหมาย วันเกิดเปน็ ข้อกาหนดอายุของบุคคลในทางกฎหมาย เพราะเปน็ เง่ือนไขในการกาหนดสทิ ธิหนา้ ที่ ความรับผดิ ชอบของบุ คลท้งั ทางกฎหมายอาญาและกฎหมายแพง่ ดงั นั้นจงึ จาเป็นตอ้ งทราบวนั เกิดทีแ่ น่นอนของบุคคล โดยปกตบิ ุคคลจะทราบ วัน เดอื น ปีเกิดของตนเอง ยกเวน้ บางกรณที อ่ี าจเปน็ ไปไดว้ า่ บางคนไม่ทราบวนั เดอื น ปเี กิดของตนเอง ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 16 บญั ญตั วิ ่า“การนบั อายขุ องบคุ คล ให้เริ่มนับตัง้ แต่วนั เกดิ ในกรณที ่ีรู้วา่ เกดิ ในเดอื น ใด แตไ่ มร่ ูว้ ันเกดิ ใหน้ ับวันทหี่ นึง่ แห่งเดือนนัน้ เปน็ วันเกิด แต่ถา้ พน้ วิสัยทจี่ ะหยงั่ รเู้ ดือนและวันเกดิ ของบุคคลใด ให้นบั อายุบุคคลน้นั ตัง้ แตว่ ันตน้ ปีปฏทิ ิน ซึ่งเป็นปที บ่ี ุคคลนนั้ เกดิ วันตน้ ปีแห่งปฏทิ นิ หลวงของประเทศไทย เปน็ ดังนี้ กรณีทเี่ กดิ ก่อนวนั ที่ 18 ตุลาคม 2483 ใหถ้ ือเอาวนั ท่ี 1 เมษายน เป็นวนั ตน้ ปี กรณีเกดิ หลังวนั ท่ี 18 ตุลาคม 2483 ใหถ้ อื เอาวันท่ี 1 มกราคม เป็นวนั ตน้ ปี 2) สงิ่ ประกอบสภาพบุคคล หมายถึง สงิ่ ประกอบตัวบคุ คลที่กฎหมายกาหนดขนึ้ เพอ่ื บ่งชี้ตัวบุคคล และ เผยสภาพตา่ งๆ ใหป้ รากฏแก่สงั คม สิง่ ประกอบบุคคลท่สี าาคัญ ไดแ้ ก่ ช่ือ ภมู ลิ าเนา สถานะและสญั ชาติ 2.1 ช่ือ ตามพระราชบญั ญัติช่ือบคุ คล พ.ศ. 2505 มาตรา 5 บัญญัติว่า “ผมู้ สี ัญชาติไทยต้องมีชื่อตัว และชอ่ื สกลุ และอาจมชี ่อื รองก็ได”้ ซ่งึ ชอ่ื บุคคลจะไดร้ บั ความคุม้ ครองตามที่ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 18 บัญญัตไิ ว้วา่ “สิทธขิ องบคุ คลในการท่จี ะใชน้ ามอันชอบทีจ่ ะใชไ้ ดน้ ัน้ ถ้ามบี ุคคลอ่นื โตแ้ ยง้ กด็ ี หรอื บคุ คลผเู้ ป็น เจ้าของนามนัน้ เส่ือมเสยี ประโยชน์ เพราะการทมี่ ีผอู้ นื่ มาใช้นามเดยี วกัน โดยมไิ ดร้ บั อาานาจใหใ้ ช้ก็ดี บคุ คลผเู้ ปน็ เจา้ ของ นามน้นั จะเรียกให้บุคคลนน้ั ระงบั ความเสยี หายกไ็ ด้ ถ้าและเปน็ ท่ีพงึ วติ กว่าจะตอ้ งเสยี หายอยสู่ บื ไป จะฟอ้ งร้องต่อศาล ใหส้ ง่ั หา้ มก็ได”้ 2.2 ภูมิลาเนา หมายถึง ถนิ่ ท่อี ยอู่ นั เป็นแหล่งสาคญั ของบคุ คลตามกฎหมาย -การทราบภมู ิลาเนาของบุคคล ก่อให้เกดิ ประโยชน์ตามกฎหมายหลายประการ เชน่ การฟอ้ งจาเลย ในทางแพ่ง ให้ฟอ้ งไปยงั ศาลแพ่งทอ้ งทจี่ าเลยมีภมู ลิ าเนา การส่งคาคคู่ วาม การสง่ หมายเรียกใหส้ ่งตามภมู ลิ าเนาของ บุคคลน้ัน เปน็ ต้น -การกาหนดภมู ิลาเนาของบคุ คลธรรมดา ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 37 กาหนดให้ ภมู ิลาเนา มหี ลักเกณฑ์ 2 ประการ ได้แก่ เป็นสถานทีอ่ ยู่ของบคุ คล คือเปน็ แหล่งท่พี ัก หลบั นอน เป็นทีอ่ ยู่อาศยั เป็นตน้ และเปน็ สถานท่ีอยู่ของบุคคล คือ เป็นที่ซึ่งบุคคลพกั อาศัย หลับนอน -บทบญั ญตั ิพิเศษกรณีกาหนดภมู ลิ าเนา บางกรณบี คุ คลอาจมที อี่ ย่เู ปน็ แหล่งสาคญั หลายแหลง่ หรอื บาง บุคคลไม่มีทอ่ี ยู่เปน็ หลกั แหลง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์กาหนดเปน็ กรณีพิเศษ ดงั นี้  บุคคลท่ีมีที่อยู่หลายแหง่ ให้ถือเอาแหล่งใดแห่งหนึง่ เปน็ ภูมลิ าเนา  บคุ คลทไี่ ม่ปรากฏภูมลิ าเนาเป็นหลักแหลง่ เช่น คนงานก่อสรา้ ง ตอ้ งรับจ้างไปตามจังหวดั ตา่ งๆ ใหถ้ อื เอาถน่ิ ท่ี อยู่ในขณะนัน้ เปน็ ภมู ลิ าเนา

17  บุคคลทไ่ี ม่มีที่อย่เู ปน็ หลกั แหลง่ หรือผู้ประกอบอาชีพในการท่ีต้องเดนิ ทาง  มหี ลกั แหล่งที่แน่นอน หากพบตัวทใี่ ด ใหถ้ อื วา่ ท้องถน่ิ นั้นเปน็ ภูมิลาเนาบคุ คลสามารถเลอื กเอาถ่นิ ใดถนิ่ หน่งึ เปน็ ภูมิลาเนาเฉพาะการ เพอ่ื ทาการใดได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์มาตรา 52 บัญญัตวิ ่า “ถ้าบคุ คลใดไดเ้ ลือกเอา ถน่ิ ใดโดยมเี จตนาปรากฏชัดแจ้งว่าจะให้เป็นภมู ลิ าเนาเฉพาะการเพอ่ื ทาการใด ใหถ้ ือวา่ ถิ่นน้ันเปน็ ภมู ลิ าเนาเฉพาะการ สาหรบั การน้ัน” -บคุ คลทก่ี ฎหมายกาหนดภมู ลิ าเนาให้ กฎหมายกาาหนดภมู ลิ าเนาให้บุคคลบางประเภท ดงั น้ี  สามภี รรยา ถนิ่ ทอ่ี ยสู่ ามภี รรยาอยดู่ ้วยกัน ยกเว้นสามีหรอื ภรรยาเจตนาใหม้ ภี มู ลิ าเนาแยก  ผเู้ ยาว์ ให้ผู้เยาว์มภี มู ลิ าเนาเดียวกบั ผู้ปกครอง หรือบดิ า มารดา ทอ่ี าศัยอย่ดู ้วย  คนไร้ความสามารถ ใหค้ นไรค้ วามสามารถมภี มู ลิ าเนาเปน็ ของตนเองไมถ่ ือตามภูมิลาเนาของผพู้ ิทกั ษ์  ข้าราชการ ได้แก่ ถ่ินอนั เป็นทที่ าการตามตาแหนง่ หน้าที่ หากมใิ ชเ่ ป็นตาแหนง่ หน้าท่ีชว่ั คราว หรอื เพยี งแต่งต้งั ไปเฉพาะการครง้ั คราวเดยี ว  -ผู้ทจ่ี าคกุ ตามคาพิพากษาถงึ ที่สดุ ของศาลหรอื ตามคาสง่ั โดยชอบดว้ ยกฎหมาย ไดแ้ ก่ เรือนจาหรอื ทณั ฑสถานท่ี ถูกจาคุกอยจู่ นกว่าจะได้รบั การปลอ่ ยตัว -การย้ายภมู ิลาเนา ยอ่ มเปลี่ยนไปด้วยการย้ายทอี่ ยู่ พรอ้ มด้วยเจตนาปรากฏชดั แจ้งว่าเปล่ยี นภมู ลิ าเนา 2.3 สถานะ สถานะของบคุ คล หมายถึง ฐานะหรือตาแหน่งซงึ่ บคุ คลนน้ั ดารงอยู่ท้งั ในประเทศและใน ครอบครัว ซงึ่ เป็นส่ิงกาหนดสิทธิ และหน้าที่ของบคุ คลนน้ั สถานะของบคุ คลทสี่ าคญั ได้แกเ่ พศ อายุ การเปน็ บิดา มารดา บตุ ร เป็นสามี ภรรยา ซึง่ มีเหตุการณ์เขา้ มาเก่ียวขอ้ ง คือ การเกดิ การตายการสมรส การหยา่ การรบั บตุ รบุญธรรม เปน็ ต้น 2.4 สญั ชาติ สัญชาติแสดงวา่ บุคคลน้นั เป็นคนของประเทศใด เมอื่ เป็นบุคคลของประเทศใดยอ่ มไดร้ บั สิทธิ ความคุ้มครองปอ้ งกนั จากประเทศนัน้ เป็นพิเศษมากกวา่ บคุ คลของประเทศอืน่ เชน่ การมสี ทิ ธเิ ลือกตั้ง การถือกรรมสทิ ธิ์ ในทรพั ย์สิน เป็นต้น 7.ครกู าหนดโจทย์ใหผ้ เู้ รยี นวิเคราะห์และอธบิ าย ดงั ตอ่ ไปน้ี “ นางสาวแพรไหมพักอาศัยประจาาอยู่ท่ีคอนโดบ้านกลางใจ ในคืนวันท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2557 ได้เกิดเพลิงไหม้ คอนโดบ้านกลางใจ เพลิงสงบลงในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557 มีผู้เสียชีวิตจาานวนมากโดยขณะเกิดเพลิงไหม้ นางสาวแพรไหมอยู่ที่คอนโดนั้นด้วย หลังจากเพลงิ สงบลง เม่ือตรวจสอบจาานวนผู้เสียชวี ิตไม่พบนางสาวแพรไหมและ ไมม่ ผี ู้ใดพบเหน็ นางสาวแพรไหมอกี เลย “ ผเู้ รยี นอธบิ ายวา่ 1) ครอบครัวของนางสาวแพรไหม จะร้องขอต่อศาลใหส้ ่งั ใหน้ างสาวแพรไหม เปน็ คนสาบสูญไดต้ งั้ แต่ เมอ่ื ใด 2) กรณกี ารสาบสญู ของนางสาวแพรไหมนี้ตรงกบั กรณใี ด 8.ครูใช้เทคนิควธิ กี ารจดั การเรยี นร้แู บบร่วมมอื (Cooperative Learning) กาหนดให้ผเู้ รียนปฏบิ ัตดิ ังน้ี 8.1 แบ่งเปน็ กลุ่มๆ ละ 5-6 คน 8.2 ผูเ้ รยี นระดมสมองคิดโจทย์ตวั อยา่ งเก่ยี วกับกฎหมายบคุ คลธรรมดาทไ่ี ดศ้ กึ ษาในชนั้ เรียน กลมุ่ ละ 2 ตัวอยา่ ง 8.3 นาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น 8.4 เปิดโอกาสให้เพ่ือนกลมุ่ อ่ืนซกั ถาม 9.ผ้เู รียนแสดงความคิดเห็นว่าการศกึ ษากฎหมายแพ่งและพาณชิ ยว์ า่ ด้วยบคุ คล มีประโยชน์ต่อชีวติ ประจาวนั ของนกั เรยี นอยา่ งไรบา้ ง พรอ้ มนาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น 10.ครสู อนเพ่ิมเตมิ เก่ยี วกับการทาหนา้ ทเ่ี ปน็ พลเมอื งดีของสังคมไทย ร้จู กั เอ้อื เฟ้อื เผื่อแผ่ต่อผู้อ่นื

18 สรปุ และการประยุกต์ 11.ครูและผเู้ รียนชว่ ยกันสรุปเนือ้ หาท่ีเรียน 12.ผู้เรยี นทากจิ กรรมใบงาน 13.ผูเ้ รยี นวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาการเรยี นการสอนและหาขอ้ สรปุ เปน็ ความคิดรวบยอดเพ่ือนาไปประยุกตใ์ ช้ตอ่ ไป พรอ้ มข้อเสนอแนะตนเอง 14.ประเมินธรรมชาติของผู้เรยี น และวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเป็นรายกลมุ่ ตามวธิ กี ารเรยี นรู้ ชอื่ ผูเ้ รียน ธรรมชาติของผเู้ รียน วิธีการเรียนรู้ ความสนใจ สติปัญญา วฒุ ิภาวะ 1. 2. 3.

19 แบบวเิ คราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายกลุ่มตามวธิ ีการเรียนรู้ ชอื่ กล่มุ …………….. 1. 2. 3. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1.หนังสอื เรยี น วิชากฎหมายคอมพวิ เตอร์ ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.กิจกรรมการเรยี นการสอน 3.ส่ือ PowerPoint 4.แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอน 2.ใบเช็ครายชือ่ 3.แผนจัดการเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน การวัดผลและการประเมินผล วธิ วี ดั ผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏิบตั ิ 6. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เคร่ืองมอื วัดผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกนั ประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรับปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)

20 เกณฑก์ ารประเมิน มเี กณฑ์ 4 ระดบั คือ 4= ดีมาก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรงุ 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนร้มู ีเกณฑ์ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ผิ ่าน 50% 6 แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขึน้ อยูก่ บั การ ประเมนิ ตามสภาพจริง กิจกรรมเสนอแนะ 1.แนะนาใหผ้ ู้เรยี นอา่ นทบทวนเนอ้ื หาเพ่มิ เตมิ 2.ทากิจกรรมใบงาน

21 บนั ทึกหลังการสอน ขอ้ สรปุ หลังการสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาทพ่ี บ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 3 หน่วยที่ 2 สอนครัง้ ท่ี 3 (5-6) รหัส 2204-2112กฎหมายคอมพิวเตอร์ (2-0-2) ชื่อหน่วย/เร่ือง กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์วา่ ด้วยบุคคล จานวน 2 ช.ม.

22 สาระสาคัญ การท่บี ุคคลอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม จาเป็นตอ้ งมกี ฎระเบยี บในการยดึ ถอื เพ่ือใหส้ ามารถอยรู่ ว่ มกันได้อย่างมี ความสขุ กฎหมายแพง่ และพาณิชยไ์ ดบ้ ญั ญตั เิ ก่ียวกับสภาพของบุคคล รวมถงึ สทิ ธแิ ละหน้าทใ่ี ห้ปฏบิ ตั ิกนั อยา่ งถกู ต้อง ตามสิทธแิ ละหน้าที่ของตน หากบุคคลในสังคมยึดถือ และปฏบิ ัตไิ ปในแนวทางท่ีกฎหมายกาหนดไดน้ ั้นจะทาใหส้ งั คม สงบสุข จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. บอกประเภทของบคุ คลได้ 3. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรอื่ ง 3.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์ 3.6 การประหยัด 3.2 ความมีวินยั 3.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 3.3 ความรบั ผดิ ชอบ 3.8 การละเวน้ สิง่ เสพติดและการพนนั 3.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 3.9 ความรักสามัคคี 3.5 ความเช่ือม่นั ในตนเอง 3.10 ความกตญั ญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลักกฎหมายลิขสิทธ์แิ ละสิทธิบัตร เน้ือหาสาระ 2. ประเภทของบคุ คล (ตอ่ ) กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรียน 1.ครใู ชเ้ ทคนิคการสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเ้ ดิมจากสปั ดาหท์ ี่ผ่านมา โดยดึงความร้เู ดมิ ของผเู้ รียนในเรอ่ื งที่จะเรียน เพื่อช่วยใหผ้ ู้เรยี นมีความพรอ้ มในการเชื่อมโยงความรูใ้ หมก่ ับความรเู้ ดมิ ของตน ผู้สอนใชก้ ารสนทนาซักถามใหผ้ ู้เรยี นเล่าประสบการณเ์ ดิม 2.ครูแสดงรูปภาพผเู้ ยาว์และคนวกิ ลจรติ และใหผ้ ้เู รยี นแสดงความคดิ เหน็ วา่ บุคลลทั้งสองกล่มุ จดั เปน็ บุคคล ธรรมดาตามกฎหมายหรือไมอ่ ย่างไร

23 3.ผูเ้ รียนอธิบายความหมายของคาวา่ “ความสามารถของบุคคล” ตามเขา้ ใจของผู้เรยี น ข้ันสอน 4.ครใู ช้เทคนิควธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) เพ่ืออธิบายความหมายของความสามารถของบุคคล ซึ่งหมายถงึ ความสามารถในการมสี ทิ ธิหรือการใชส้ ทิ ธติ ามกฎหมาย ซ่งึ โดยปกตบิ ุคคลทุกคนยอ่ มมีความสามารถในการ ใช้สิทธิได้ทัดเทยี มกัน แตม่ ีบางกรณีเพื่อคมุ้ ครองบุคคลบางประเภท กฎหมายจงึ จากดั หรอื ตดั ทอนความสามารถของ บคุ คลประเภทนั้น ได้แก่ ผูเ้ ยาว์ คนไร้ความสามารถ และคนเสมอื นไร้ความสามารถ 5.ครูกลา่ วเพม่ิ เตมิ วา่ ผูเ้ ยาว์ เปน็ บคุ คลท่ยี งั ไมบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะ ผเู้ ยาวจ์ ะพ้นจากการไม่บรรลุนติ ิภาวะได้ มี 2 กรณี คือ เมอ่ื อายคุ รบ 20 ปี บรบิ รู ณ์ และได้ทาการสมรสโดยชอบดว้ ยกฎหมาย คอื สมรสเม่ืออายุ ครบ 17 ปบี ริบูรณ์ หรือ เม่ือศาลอนญุ าตให้ทาการสมรสกอ่ นนั้นได้ 6.ครใู ชส้ อื่ Power Point อธบิ ายเรื่องความสามารถของผเู้ ยาว์ ซึ่งมดี ังน้ี - กรณีไดร้ ับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม การทานติ กิ รรมใดๆ ของผู้เยาว์ตอ้ งได้รบั ความยนิ ยอม จากผู้แทนโดยชอบธรรม ผแู้ ทนโดยชอบธรรม หมายถึง ผ้ทู ี่มอี านาจทานิติกรรมตา่ งๆ แทนผเู้ ยาว์ หรือใหค้ วามยินยอม แกผ่ เู้ ยาว์ในการทานติ ิกรรม ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม ได้แก่ ผู้ใช้อานาจปกครอง หมายถงึ บดิ า มารดา หรือฝ่ายใดฝ่ายหนง่ึ หากบดิ าหรอื มารดาเสียชวี ิต ผู้ใช้อานาจปกครองคือ ผ้ทู ม่ี ชี ีวติ อยู่ หากบิดา มารดาเปน็ ผู้ถูกศาลสัง่ ให้เปน็ บุคคลไร้ ความสามารถ ผใู้ ช้อานาจปกครองคอื ผู้ทศ่ี าลสัง่ ให้อาานาจปกครอง ผู้ปกครอง ผู้ปกครองของผูเ้ ยาว์ จะมีเฉพาะในกรณี อยา่ งใดอย่างหนง่ึ คือ ผู้เยาว์ไมม่ บี ดิ า หรอื บดิ ามารดาถูกถอนอานาจปกครอง - กรณีผเู้ ยาวส์ ามารถใช้สทิ ธกิ ระทาเองได้ นิตกิ รรมท่กี ฎหมายอนญุ าตให้ผู้เยาวก์ ระทาโดยลาพงั โดยไม่ตอ้ ง ไดร้ ับความยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ไดแ้ ก่  นติ กิ รรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์แกผ่ เู้ ยาวฝ์ ่ายเดียว ไดแ้ ก่ การได้รับสิทธอิ ันใดอนั หนง่ึ หรือการทาให้หลดุ พ้นจากหน้าท่อี นั ใดอนั หนง่ึ เปน็ ตน้  นิตกิ รรมท่ีผ้เู ยาวต์ ้องทาเองเฉพาะตวั เชน่ การรับรองบุตร เปน็ ตน้  นติ กิ รรมทจ่ี าเป็นเพอื่ การเลย้ี งชีพของผเู้ ยาว์ ซ่งึ เป็นการสมควรแก่ฐานานรุ ูป เชน่ การซ้อื อาหาร การซอื้ สมดุ ดนิ สอ เป็นต้น  การทาพนิ ัยกรรม ผู้เยาวส์ ามารถทาพินัยกรรมเมอื่ อายุ 15 ปีบริบรู ณ์ หากผเู้ ยาวอ์ ายไุ มถ่ งึ 15 ปี ทาพินยั กรรม แมจ้ ะได้รับความยนิ ยอม พนิ ัยกรรมน้ันถอื เปน็ โมฆะ  ผู้เยาวท์ ่อี ายุครบ 15 ปบี ริบูรณ์ ตามพระราชบญั ญตั โิ รงรบั จานา พ.ศ. 2505 ผูเ้ ยาว์สามารถ จานาสง่ิ ของในโรงรบั จานาได้ แต่ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์มาตรา 748ตอ้ งได้รบั ความยินยอมจากผแู้ ทน โดยชอบธรรม

24 7.ครใู ช้เทคนคิ วิธีการจัดการเรยี นรู้แบบอภปิ ราย (Discussion Method) โดยมีจดุ มุง่ หมายเพื่อใหผ้ เู้ รยี นเข้าใจ เนือ้ หาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยมวี ิธีการคือ ใหผ้ เู้ รียนช่วยกันอภปิ รายความแตกต่างของคนไร้ความสามารถกบั คน เสมือนไรค้ วามสามารถ และครจู ะสรุปความหมายของคนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถหลังจากผูเ้ รยี น อภิปรายเสรจ็ ซ่ึงมีสาระสาคัญดงั น้ี - คนไร้ความสามารถ คือ บุคคลวกิ ลจรติ ทีค่ ูส่ มรส บุพการี ผสู้ บื สันดานของผูน้ ้ัน หรอื พนักงานอัยการร้อง ขอต่อศาล และศาลสัง่ ใหเ้ ป็นคนไรค้ วามสามารถ การส้นิ สุดแหง่ การเปน็ คนไรค้ วามสามารถคอื บคุ คลผูน้ ้ันถึงแก่ความ ตาย หรือศาลส่งั เพกิ ถอนคาาส่งั ให้เป็นบุคคลไรค้ วามสามารถ บคุ คลที่ศาลสั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ หากยงั มไิ ดท้ าการสมรส ให้บิดามารดา เป็นผอู้ นบุ าล หากสมรส แลว้ ใหส้ ามี หรอื ภรยิ า เป็นผอู้ นบุ าล กรณที ี่บคุ คลผไู้ ร้ความสามารถทานิตกิ รรม ถอื ว่านติ ิกรรมน้ันเป็นโมฆยี ะ ไม่ว่าจะไดร้ ับความยนิ ยอมจากผู้ อนบุ าลหรอื ไม่ หากต้องการให้นติ กิ รรมสมบรู ณต์ อ้ งใหผ้ ู้อนบุ าลทาแทน กรณที ศี่ าลมไิ ดส้ ัง่ ใหเ้ ป็นบุคคลผู้ไรค้ วามสามารถแล้วทานิติกรรมถือวา่ นิติกรรมน้ันสมบูรณ์ แตอ่ าจเปน็ โมฆียะได้ หากพิสูจนไ์ ดว้ า่ นิตกิ รรมทีท่ าขึ้นนน้ั ทาในขณะทีบ่ ุคคลผนู้ ัน้ วกิ ลจริต และคสู่ ัญญาฝา่ ยใดฝา่ ยหนึง่ ไดร้ ู้อยวู่ า่ เป็นคน วิกลจริต - คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ บุคคลท่ีไมส่ ามารถจดั ทาการงานของตนเองไดเ้ พราะมีกายพิการ จิตฟัน่ เฟือน ไมส่ มประกอบ ประพฤตสิ ุร่ยุ สรุ า่ ย เสเพล หรือเปน็ ผ้ทู ี่คสู่ มรส บุพการี ผูส้ บื สนั ดาน หรือพนกั งานอัยการรอ้ งขอต่อศาล แล้วศาลสงั่ ให้เปน็ คนเสมือนไร้ความสามารถ และการเปน็ บุคคลไรค้ วามสามารถจะสน้ิ สุดลงเม่อื บคุ คลน้นั ถงึ แกค่ วาม ตาย หรือศาลได้ส่ังถอนคาสงั่ ให้เปน็ เสมือนบคุ คลไร้ความสามารถนนั้ บุคคลท่ศี าลสัง่ ใหเ้ ป็นบคุ คลไร้ความสามารถ จะต้องตกอยใู่ นความพทิ ักษ์ของบุคคลทีเ่ รยี กว่า “ผูพ้ ทิ ักษ”์ และ จะถูกจากัดความสามารถบางอยา่ ง โดยทวั่ ไปคนเสมอื นไรค้ วามสามารถยอ่ มสามารถทานติ กิ รรมใดๆ และมผี ลสมบรู ณ์ เวน้ แตน่ ติ ิกรรมท่ีกาหนดไวใ้ นกฎหมายแพ่งและพาณชิ ยม์ าตรา 34 เชน่ การนาทรัพยส์ ินไปลงทนุ การทาสัญญากยู้ มื การประนปี ระนอมยอมความ การเช่าหรอื ใหเ้ ชา่ สังหารมิ ทรัพยเ์ กนิ กว่า 6 เดอื น หรอื อสังหาริมทรพั ย์เกนิ กว่า 3 ปี เปน็ ตน้ จะตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากผพู้ ทิ กั ษ์กอ่ น มฉิ ะน้ันจะถือเปน็ โมฆยี ะ 8.ครใู ช้สอื่ Power Point ประกอบการอธบิ ายเร่ืองการสิ้นสุดสภาพบคุ คล ตามกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 15 บญั ญตั เิ กีย่ วกับการสน้ิ สุดสภาพบุคคลไวว้ ่า “สภาพบคุ คลยอ่ มสน้ิ สดุ เมอ่ื ตาย” การตายแบ่งออกเปน็ 2 กรณี ดงั นี้ 1) การตายตามธรรมชาติ คือ การตายโดยท่ีรา่ งกายทุกสว่ นหยดุ ทางานและสิน้ ชีวติ ไป โดยทีก่ ารตายตาม ธรรมชาติจะไม่มกี ารฟื้นคนื ชีวิตกลับมามสี ภาพบคุ คลอกี ต่อไป โดยปกตเิ ม่อื บคุ คลตาย กส็ ามารถทราบได้วา่ บคุ คลนน้ั ตายเม่ือใด บางกรณีเกดิ ปัญหาขึ้นเมอ่ื บุคคลหลายคนถงึ แก่ความตายพรอ้ มกัน ในเหตภุ ยนั ตรายร่วมกนั ไม่ทราบว่าใครตายกอ่ น หรอื ตายหลังซึง่ มีผลเก่ยี วพันถงึ มรดก ด้วยเหตุ น้ี กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 17 จึงบญั ญตั ิวา่ “ในกรณีบุคคลหลายคนตายในเหตภุ ยนั ตรายรว่ มกนั ถา้ เปน็ การ พ้นวสิ ัยจะกาหนดไดว้ า่ คนไหนตายก่อนหลัง ให้ถอื วา่ ตายพร้อมกนั ” 2) การตายโดยผลของกฎหมาย หรอื การตายโดยการสาบสญู การจะถือวา่ บคุ คลใดสาบสญู ตอ้ ง ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดงั นี้ -บุคคลหายไปจากภูมลิ าเนา กรณีธรรมดา บคุ คลได้หายออกไปจากบา้ น โดยนับจากวนั ที่ออกจากบา้ นหรือครัง้ สดุ ท้ายท่สี ่งข่าวให้ ทราบ รวมเปน็ เวลา 5 ปี

25 กรณีพเิ ศษ ไดแ้ ก่ กรณีทบี่ คุ คลไดไ้ ปถึงสมรภมู แิ ห่งสงคราม หรอื ไปตกอยู่ในเรือเม่ืออบั ปาง หรอื ไปตกอยู่ ในฐานะที่จะเปน็ อันตรายแกช่ วี ิต นบั เปน็ เวลา 2 ปี จะนบั ตัง้ แตส่ งครามสงบ หรือเมอื่ เรอื อับปาง หรอื นับแตภ่ ยนั ตราย อย่างอนื่ นั้นได้ผา่ นพ้นไปแลว้ แล้วแต่กรณี -มีคาสงั่ ของศาลแสดงการสาบสญู ซง่ึ ศาลสั่งได้เมอ่ื ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ได้แก่ บดิ า มารดา บตุ ร ภรยิ า สามี หรอื พนกั งานอัยการ แล้วแตก่ รณรี ้องขอต่อศาล เมอ่ื ศาลได้สงั่ ให้บคุ คลใด สาบสญู แลว้ ให้โฆษณาคาสั่งน้นั ในราชกิจจา นเุ บกษา เม่อื ศาลสัง่ ให้เปน็ บคุ คลสาบสญู แลว้ ให้ถอื ว่าบุคคลน้นั เปน็ คนสาบสญู และทรัพย์สมบตั ิทง้ั หลายจะตกเปน็ มรดกแก่ทายาท ยกเวน้ เร่ืองการสมรส การสาบสูญไมท่ าใหก้ ารสมรสขาดจากกนั เปน็ เพียงเหตุการณฟ์ อ้ งหย่าเท่าน้ัน คนสาบสญู จะพน้ สภาพจากการสาบสูญได้เมอื่ พสิ ูจนไ์ ด้วา่ บคุ คลนัน้ ยงั มีชวี ติ อยหู่ รอื ตายในเวลาอน่ื ผดิ จาก ระยะเวลาที่มีการรอ้ งขอให้ศาลสงั่ เป็นคนสาบสูญ เม่อื มกี ารรอ้ งขอใหย้ กเลิกคาสง่ั การเป็นคนสาบสญู และศาลมีคา ถอนคาาสงั่ ให้เป็นคนสาบสญู และเน้ือหาคาสัง่ น้ีจะต้องโฆษณาในราชกจิ จานเุ บกษาเช่นเดยี วกับคาสง่ั แสดงการสาบสญู 9.ผู้เรยี นแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั การท่กี ฎหมายห้ามไมใ่ ห้บุคคลทเี่ สมอื นไร้ความสามารถทานิตกิ รรมบางชนิด ได้ดว้ ยตนเอง เชน่ การกยู้ มื หรือใหก้ ู้ยมื เงิน ยืมหรอื ใหย้ ืมสังหาริมทรพั ยอ์ นั มีค่า เปน็ ต้น ขอ้ บังคบั ตามกฎหมายดงั กล่าว เป็นการละเมดิ สิทธสิ ว่ นบคุ คลของบุคคลทเ่ี สมือนไรค้ วามสามารถ หรือไม่อย่างไร 10.ผเู้ รยี นสืบคน้ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ นต็ เพื่อศกึ ษาว่าบคุ คลใดบา้ งทม่ี สี ทิ ธริ ้องขอให้ศาลมคี าส่ังให้บุคคลวกิ ลจรติ เปน็ คนไรค้ วามสามารถ บนั ทกึ ลงในกระดาษ A4 และนาขอ้ มูลเสนอหนา้ ช้นั เรียน 11.ครใู ชส้ ่ือ Power Point ประกอบการอธบิ ายเรือ่ งนติ บิ คุ คล ซ่งึ มสี าระดงั น้ี นติ ิบุคคล หมายถงึ บคุ คลตามกฎหมายท่ีกฎหมายสมมตขิ ้ึน และรบั รองให้มสี ทิ ธแิ ละหน้าท่ีเชน่ เดยี วกับบุคคล ธรรมดา แต่มบี างสิทธิท่นี ติ ิบคุ คลไม่สามารถมไี ด้ เชน่ สิทธดิ า้ นครอบครวั สทิ ธิในการเลือกตั้ง เป็นตน้ 1) ประเภทของนิตบิ คุ คล การเปน็ นติ ิบคุ คล แบ่งตามอานาจของกฎหมายไดด้ งั น้ี 1.1 นติ บิ คุ คลตามกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ แบง่ เป็น -หา้ งหุ้นส่วนท่จี ดทะเบยี น ทง้ั ห้างหุน้ สว่ นสามญั และห้างหนุ้ สว่ นจากดั -บรษิ ทั จากัด คือ บรษิ ทั ทตี่ ้ังข้นึ ดว้ ยการแบ่งทนุ ออกเปน็ หนุ้ แต่ละหนุ้ มมี ลู ค่าเทา่ กัน โดยมีผถู้ ือหนุ้ ต้งั แต่ 3 คนขน้ึ ไป กฎหมายบังคบั ให้จดทะเบียนและมีสภาพเป็นนิตบิ ุคคล -สมาคม คือ การทบี่ ุคคลหลายบคุ คลตกลงเขา้ กนั เพ่ือทาการอนั ใดอนั หนงึ่ ท่มี ีลกั ษณะต่อเนื่อง รว่ มกัน โดยมิไดม้ ่งุ หวงั กาไร และสมาคมไดม้ ีการจดทะเบยี นเป็นนติ บิ ุคคลแล้ว -มลู นิธิ คือ ทรพั ย์สนิ อนั จดั สรรไวโ้ ดยเฉพาะสาหรับการกศุ ลสาธารณะการศาสนา ศลิ ปะ วิทยาศาสตร์ วรรณคดี การศกึ ษาหรอื เพ่ือสาธารณประโยชนอ์ ยา่ งอื่น โดยไม่ม่งุ หวงั ผลประโยชน์ มลู นธิ ิต้องจดทะเบยี น เปน็ นิตบิ ุคคลตามกฎหมาย 1.2 นติ บิ คุ คลตามกฎหมายอ่นื นอกจากตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์แลว้ ยังมกี ฎหมาย อนื่ เช่น สหกรณเ์ ป็นนิตบิ ุคคลตามพระราชบัญญตั สิ หกรณ์ พ.ศ. 2471 ราชบัณฑติ ยสถานเปน็ นติ ิบคุ คลตาม พระราชบัญญตั ริ าชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2485 เป็นตน้ 2) สทิ ธิและหนา้ ที่ของนิตบิ คุ คล นติ ิบุคคลมสี ิทธแิ ละหน้าที่ ดังน้ี 2.1 สิทธิและหน้าทภี่ ายในขอบเขตวัตถุประสงค์ กลา่ วคอื การดาเนนิ งานของนิตบิ ุคคลจะเป็นไป ตามที่กาหนดไวใ้ นกฎหมาย ข้อบังคับ หรอื ตราสารจัดต้ังของนติ บิ คุ คล และจะทาการตามวัตถปุ ระสงคท์ กี่ าาหนดไว้ 2.2 สิทธแิ ละหน้าที่ซงึ่ เหมือนกบั บุคคลธรรมดา ยกเว้นบางสิทธิและบางหน้าที่ซึ่งเปน็ สิทธิเฉพาะ ของบุคคลธรรมดา เชน่ นิติบคุ คลไม่สามารถทาการสมรส ไมม่ ีหนา้ ท่รี ับราชการทหารไม่มสี ทิ ธทิ างการเมอื ง เป็นต้น

26 3) การจัดการนติ บิ คุ คล เนอื่ งจากนติ บิ คุ คลไม่มชี วี ิตจิตใจ จึงไม่สามารถแสดงเจตนาหรือทาการใดๆ ดว้ ย ตนเอง จึงต้องมี “ผู้แทนนติ บิ ุคคล” หมายถึง ผู้มีอานาจหนา้ ท่ีจดั การแทนนิติบุคคลอาจมีคนเดียวหรือหลายคนกไ็ ด้ เช่น รัฐมนตรีเป็นผู้แทนกระทรวง เจา้ อาวาสเป็นผแู้ ทนวดั วาอารามกรรมการเปน็ ผู้แทนบรษิ ัท เป็นตน้ อานาจหน้าทีข่ องนิตบิ ุคคล เป็นไปตามทีก่ ฎหมายกาหนด ขอ้ บังคบั หรือตราสารจดั ตัง้ นติ ิบคุ คลกรณที ี่ มีผจู้ ดั การหลายคนและมไิ ดม้ ขี อ้ กาหนดไวเ้ ป็นอย่างอนื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามเสียงขา้ งมาก หากผู้แทนนติ บิ คุ คล หรอื ผ้มู ีอานาจทาการแทนนติ บิ คุ คล ได้ทาการตามหนา้ ท่ี และทาให้เกิดความ เสียหายอยา่ งใดอย่างหน่ึงแก่บคุ คลอนื่ ทาให้นิติบคุ คลจ่ายคา่ สนิ ไหมทดแทน แตม่ สี ทิ ธไิ ลเ่ บ้ียเอาแกต่ วั ผูเ้ ปน็ ต้นเหตทุ ที่ า ให้เกดิ ความเสยี หายในภายหลัง หากความเสียหายน้ันเกิดจากการกระทาซึ่งมิไดอ้ ย่ภู ายในขอบเขตวตั ถุประสงค์ของนติ ิบุคคล หรอื อานาจหนา้ ทข่ี องนติ ิบุคคล บุคคลเหล่าน้นั ทไี่ ดเ้ ห็นชอบใหก้ ระทาการน้ันกับผู้จดั การและผแู้ ทนอืน่ ๆ ทไ่ี ด้เปน็ ผ้ลู งมอื ทา การ จะตอ้ งร่วมกนั รบั ผดิ ชอบชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทน 4) ภมู ลิ าเนาของนิติบุคคล แบ่งออกเป็น 3 แหง่ ดงั นี้ 4.1 ถ่ินทีส่ านกั งานใหญ่ต้ังอยู่ หรอื ท่ที าการต้งั อยู่ 4.2 ถน่ิ ท่เี ลอื กเอาเปน็ ภูมิลาเนาเฉพาะการตามขอ้ บังคบั หรือตามตราสารจัดต้ัง 4.3 ถิ่นทมี่ ีสาขาสานกั งานอนั ควรจดั เป็นภมู ลิ าเนาเฉพาะในส่วนกิจการอันทา ณ ที่น้ัน 5) การสิ้นสภาพของนิตบิ ุคคล นิติบคุ คลจะส้นิ สภาพดว้ ยสาเหตุดงั น้ี 5.1 ตามทร่ี ะบุไว้ในข้อบังคับหรอื ตราสารจดั ตั้ง 5.2 สมาชกิ ตกลงกนั ใหเ้ ลกิ 5.3 เลิกโดยผลของกฎหมาย เชน่ ทาสัญญาก่อต้งั นติ บิ ุคคลใดๆ ไว้มกี าหนดกรณอี นั ใดเป็นเหตทุ ี่ จะเลิกกัน เมอ่ื มกี รณนี ั้นเกดิ ขน้ึ นิตบิ คุ คลนัน้ กเ็ ป็นอันสิน้ สภาพ 5.4 เลกิ โดยคาสั่งศาล ซง่ึ อาจจากผเู้ ป็นห้นุ สว่ นคนใดคนหน่งึ รอ้ งขอ เมื่อมเี หตอุ ันทาาใหร้ ้องขอได้ 12.ครใู หค้ วามรเู้ พิ่มเติมนอกเหนอื จากเนอื้ หาการเรยี นการสอน เกย่ี วกับเงื่อนไขตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในการตัดสนิ ใจและการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพยี งนัน้ ตอ้ งอาศยั ทั้งความรู้ และคณุ ธรรมเปน็ พน้ื ฐาน กล่าวคือ (1) เงอื่ นไขความรู้ เปน็ ความรอบรู้เกย่ี วกับวชิ าการต่าง ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง ความรอบคอบท่จี ะนาความรเู้ หลา่ นน้ั มาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพือ่ การวางแผน และความระมัดระวงั ในขน้ั ปฏิบัติ (2) เงื่อนไขคณุ ธรรม เป็นสง่ิ ทีต่ อ้ งเสรมิ สร้างใหม้ คี วามตระหนักในคุณธรรม มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจรติ และมคี วาม อดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวติ

ขั้นสรุปและการประยกุ ต์ 27 วิธีการเรียนรู้ 13.ครแู ละผเู้ รียนชว่ ยกนั สรปุ เน้ือหาทีเ่ รยี น 14.ผู้เรียนทาใบงาน แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 15.ประเมินผเู้ รียนตามแบบฟอรม์ ตอ่ ไปน้ี แบบประเมินประสบการณพ์ ้นื ฐาน ชอื่ ผเู้ รยี น ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ ผลงาน 1. 2. 3. 4. 5.

28 สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 1.หนงั สือเรยี น วิชากฎหมายคอมพวิ เตอร์ ของสานักพมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3.แผ่นใส 4.ส่อื PowerPoint 5.แบบประเมินผลการเรยี นรู้ 6.แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน หลักฐาน 1.บันทึกการสอน 2.ใบเชค็ รายชอื่ 3.แผนจัดการเรยี นรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน การวัดผลและการประเมนิ ผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ 3. สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ัติ 6. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เคร่ืองมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รียนรว่ มกนั ประเมิน เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิมเี กณฑผ์ ่าน 50% 6 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขน้ึ อยูก่ ับการ ประเมินตามสภาพจรงิ

29 กจิ กรรมเสนอแนะ 1.ทากจิ กรรมใบงาน 2.อา่ นและทบทวนบทเรียน

30 จงเลอื กคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกยี่ วกับสภาพบคุ คลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ก. ความพกิ ารทางด้านร่างกายตง้ั แตก่ าเนดิ ทาใหบ้ ุคคลน้นั ไมจ่ ดั เปน็ บคุ คลท่ีมสี ิทธิและหนา้ ท่ปี ระเภทบุคคล ธรรมดา ข. สภาพบุคคลยอ่ มเร่มิ แต่เมอ่ื คลอด ค. สภาพบคุ คลย่อมเร่ิมแต่เมือ่ คลอดอยรู่ อดเปน็ ทารก ง. เด็กมสี ภาพความเปน็ บคุ คลเรม่ิ ต้งั แตม่ ารดาทราบวา่ ตนต้ังครรภ์ จ. บุคคลทเ่ี ป็นคนโงไ่ ม่จดั เป็นบุคคลธรรมดาทีม่ สี ทิ ธติ ามกฎหมาย 2. หากบดิ าของทารกได้ตายลงในระหว่างทท่ี ารกอยู่ในครรภม์ ารดา ทารกจะมสี ทิ ธไิ ดร้ ับมรดกของบิดาหรอื ไม่ ก. มสี ิทธิไ์ ดร้ บั มรดก เพราะถอื กาเนดิ เปน็ ส่งิ มีชีวติ อยใู่ นครรภ์มารดาแล้ว ข. มสี ิทธไ์ิ ดร้ บั มรดก ถา้ หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยรู่ อดเป็นทารก ค. ไมม่ สี ทิ ธ์ไิ ดร้ บั มรดก เนอื่ งจากยังไม่มีความผกู พนั กันโดยตรงกับบิดา ง. ไมม่ ีสทิ ธไ์ิ ดร้ บั มรดก เน่อื งจากบดิ าเสยี ชีวิตกอ่ นการรบั รองบุตร จ. ไมม่ สี ทิ ธิ์ไดร้ ับมรดก เพราะบดิ าตายขณะทยี่ งั ไมม่ ีผสู้ ืบสายเลือด 3. สามีภรรยาคหู่ นึง่ หยา่ ร้างกนั เนอ่ื งจากลกั ษณะนสิ ัยทเี่ ขา้ กนั ไมไ่ ด้ หลงั จากนั้นไม่นานฝ่ายหญิงเพิ่งรูว้ า่ ตนเองกาลัง ตง้ั ครรภ์ เม่ือไปตรวจครรภท์ ่ีโรงพยาบาลในวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2558 พบว่าฝ่ายหญงิ ตั้งครรภ์เป็นเวลา 2 เดือน ในทางกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ขอ้ ใดไมถ่ ูกตอ้ ง ก. ถา้ สามภี รรยาหย่ากนั วันท่ี 15 เมษายน 2558 ให้สันนิษฐานไว้กอ่ นว่าไม่ไดเ้ ปน็ บุตรโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ของฝ่ายชาย ข. ถา้ สามีภรรยาหย่ากนั วันที่ 1 มกราคม 2557 ให้สนั นิษฐานไว้กอ่ นว่าเปน็ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของฝา่ ย ชาย ค. ถา้ สามีภรรยาหยา่ กันวนั ที่ 15 เมษายน 2558 ให้สันนิษฐานไว้กอ่ นว่าเปน็ บตุ รโดยชอบดว้ ยกฎหมายของ ฝ่ายชาย ง. ถา้ สามีภรรยาหย่ากันวันที่ 1 มกราคม 2557 ทารกท่เี กดิ มาเปน็ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายชาย แนน่ อน จ. ถา้ สามภี รรยาหยา่ กนั วันที่ 15 เมษายน 2558 ทารกท่ีเกดิ มาเปน็ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของฝา่ ยชาย แน่นอน 4. นางสาวกันยายน เปน็ เดก็ กาพรา้ โดยเธอไมท่ ราบวันเกิดทแี่ ท้จรงิ ของตนเอง ทราบแต่เพียงวา่ เธอเกิดในปี พ.ศ. 2485 ในทางกฎหมาย ขอ้ ใดคอื วันเกิดของนางสาวกนั ยายน ก. 1 เมษายน 2485 ข. 1 มกราคม 2485 ค. 1 ธันวาคม 2485 ง. 1 ตุลาคม 2485 จ. 1 พฤษภาคม 2485

31 5. เพราะเหตุใด การทราบวนั เดอื นปีเกดิ ของบุคคลจงึ เป็นสิง่ จาเป็นทางกฎหมาย ก. เพ่อื จดั กลุ่มความสามารถของบคุ คล ข. เพอ่ื การตดิ ตอ่ ส่ือสาร ค. ทาให้ร้วู ่าบคุ คลเปน็ ผ้บู รรลุนิตภิ าวะหรือไม่ ง. เพอ่ื คน้ หาภูมิลาเนาได้ จ. เพอ่ื การทาธรุ กรรมทางการเงนิ 6. นางสาวเอแต่งงานกับนายบี ขณะจดทะเบียนสมรส นางสาวเอยนื ยันวา่ จะใช้นามสกลุ เดมิ ของตนเองกรณีน้ี นางสาว เอมีความผดิ ตามกฎหมายหรอื ไม่ ก. ไมม่ ีความผดิ ตามกฎหมาย เพราะการตดั สนิ ใจดังกล่าวไม่ขดั ตอ่ พระราชบญั ญตั ชิ ื่อบุคคล ข. ไมม่ คี วามผิดตามกฎหมาย เพราะไมม่ ีกฎหมายว่าดว้ ยการสมรส ค. มีความผดิ ตามกฎหมาย เพราะกฎหมายระบวุ ่าหญงิ มสี ามใี ห้ใชช้ อื่ สกุลของสามี ง. มีความผดิ ตามกฎหมาย เพราะกฎหมายระบวุ า่ สามภี รรยาตอ้ งมนี ามสกลุ เดยี วกนั โดยจะใช้ของฝา่ ยใดกไ็ ด้ จ. มคี วามผดิ ตามกฎหมาย เพราะชอ่ื ประจาวงศส์ กลุ ไมเ่ ป็นช่ือของบคุ คลใดบุคคลหน่ึงโดยเฉพาะ 7. เศรษฐีคนหนง่ึ มีทอี่ ยูอ่ าศยั หลายแห่งท่ัวประเทศไทย ตามหลกั ทางกฎหมาย เขามสี ทิ ธิเกย่ี วกบั การได้รับภมู ิลาเนา อย่างไร ก. เปน็ บคุ คลซงึ่ มหี ลายภมู ลิ าเนา ข. ให้ยดึ สถานทีอ่ าศัยทเ่ี ป็นแหล่งสาคญั เปน็ ภูมลิ าเนา ค. ให้ยดึ สถานทีใ่ ดกไ็ ดเ้ ป็นภูมลิ าเนา ง. ให้ยดึ แหล่งท่กี าเนดิ เป็นภมู ลิ าเนาเท่านัน้ จ. ใหย้ ดึ แหลง่ ทบ่ี ิดาเกดิ เป็นภมู ลิ าเนา 8. บุคคลในลกั ษณะใดท่ีกฎหมายมีสทิ ธทิ ่ีจะกาหนดภมู ลิ าเนาให้ ก. ภูมจิ ติ เปน็ บคุ คลซ่งึ ไรศ้ ลี ธรรม ข. ภาคภมู เิ ปน็ บคุ คลทไี่ รค้ วามสามารถ ค. กานดาเปน็ บุคคลธรรมดา ง. อดิศักด์เิ ปน็ บคุ คลประเภทนิตบิ คุ คล จ. ณฐั พลเป็นบุคคลที่บรรลนุ ติ ภิ าวะ 9. ขอ้ ใดไม่จดั เป็นสถานะของบคุ คลตามกฎหมาย ก. การระบวุ า่ บคุ คลเป็นเพศชายหรือเพศหญงิ ข. การเปน็ คนไทย ค. การแจ้งจดทะเบยี นการเกิด ง. การระบุว่าบุคคลนัน้ รวยหรอื จน จ. การระบุว่าบุคคลน้ันเปน็ เด็กหรอื เปน็ ผ้ใู หญ่ 10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกยี่ วกบั สัญชาติท่ีบคุ คลนั้นไดร้ บั ก. ได้รับสิทธแิ ละหน้าท่ีจากประเทศท่ีไดร้ บั สญั ชาติ ข. สญั ชาติเป็นสงิ่ ท่ตี ิดตัวมาตัง้ แตก่ าเนดิ ไมส่ ามารถเปลี่ยนแปลงได้ ค. หากมสี ญั ชาติไทยย่อมมสี ิทธใิ นการเลอื กตงั้ ง. ผูท้ มี่ ีสัญชาตไิ ทยย่อมมคี วามสามารถในการถอื กรรมสทิ ธิใ์ นทรพั ยส์ นิ ในไทยมากกวา่ ชาวตา่ งชาติ จ. สญั ชาตเิ ป็นสิ่งทแี่ สดงว่าบคุ คลนั้นเปน็ คนของประเทศใด 11. กรณที ีน่ กั เรียนเป็นผู้เยาว์ ในการทานิตกิ รรมทางกฎหมาย ข้อใดกล่าวได้ถกู ตอ้ ง

32 ก. ชายและหญงิ มสี ทิ ธิเท่าเทยี มกนั ไม่วา่ จะเปน็ เด็กหรือผูใ้ หญ่ ข. เด็กย่อมสามารถมีสทิ ธติ ่างๆ ได้ แตไ่ มส่ ามารถใช้สิทธินัน้ ได้โดยลาพัง ค. ผเู้ ยาวม์ ีสทิ ธทิ ่ีจะทาพินัยกรรมได้เมื่อมีอายุ 25 ปบี รบิ ูรณ์แล้ว ง. บุคคลย่อมพน้ จากภาวะผเู้ ยาวแ์ ละบรรลนุ ติ ิภาวะเม่อื มีอายุ 15 ปบี รบิ รู ณ์ จ. ผเู้ ยาว์จะทานิตกิ รรมใดๆ ตอ้ งได้รบั ความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรมกอ่ นทา ขณะทาหรือหลงั ทานติ ิ กรรมกไ็ ด้ 12. นติ กิ รรมใดท่กี ฎหมายอนญุ าตให้ผเู้ ยาว์กระทาโดยลาพงั โดยไม่ตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ก. การซื้อขายรถยนต์ ข. การซ้อื ขายทดี่ ิน ค. การทาพินยั กรรม ง. การลงทนุ เลน่ ห้นุ จ. การเดนิ ทางขา้ มประเทศ 13. การกระทาของบุคคลในขอ้ ใดทไี่ มจ่ ดั ว่าเป็นโมฆียะ ก. แกว้ ขายรถยนต์มอื สองในราคาถูกใหก้ ับนิดทงั้ ๆ ทร่ี ู้ว่านิดเป็นบุคคลวิกลจริต ข. ผู้อนบุ าลของนายแดงขายทด่ี ินซ่งึ เปน็ มรดกของนายแดงเพื่อเอาเงินมาเป็นคา่ รักษาพยาบาลใหน้ ายแดง ค. ส้มอายุ 14 ปีบรบิ ูรณ์ เธอจึงทาพนิ ัยกรรมแบ่งมรดกใหก้ บั นอ้ งสาวของเธอ ง. ข้าวถูกศาลสัง่ ใหเ้ ป็นบุคคลทเี่ สมอื นไรค้ วามสามารถเนื่องจากมีความพิการทางสายตา วนั หน่งึ เธอนาเงนิ ไป ลงทนุ สรา้ งสถานศึกษาใหก้ บั ผพู้ กิ ารทางสายตา จ. ธนากาลังศกึ ษาอย่ชู ัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เขานาเงนิ จาานวนมากจากธนาคารไปซอ้ื รถยนตข์ บั ไปโรงเรยี น 14. บคุ คลในข้อใดสามารถจดั อยใู่ นประเภทบุคคลสาบสญู ได้ ก. เปน็ บุคคลที่หายไปเฉยๆ โดยไมม่ ใี ครทราบความเป็นอยเู่ ปน็ เวลามากกว่า 5 ปี ข. ไดร้ ับอันตรายจากการทอ่ งเที่ยว ยนื ยันความมีชวี ิตไมไ่ ด้เป็นเวลา 1 ปี ค. ยา้ ยทีอ่ ยไู่ ปอยตู่ ามลาพังคนเดยี วเป็นเวลานาน ง. เรืออบั ปางจนไดร้ บั บาดเจ็บความจาเส่อื ม จ. เป็นบุคคลท่ีหายไปขณะเดินทอ่ งเท่ียวปา่ ทบึ หลงั จากกลบั ออกมาแลว้ ความจาเสอื่ ม 15. ข้อใดไม่จดั เปน็ ประเภทของนติ บิ คุ คล ก. หา้ งห้นุ ส่วนทจี่ ดทะเบยี น ข. ผู้นาทางความคิด ค. บริษทั จากดั ง. สมาคม จ. กจิ การทีจ่ ัดตั้งขึ้นเพือ่ สาธารณประโยชน์ 16. สิทธิในข้อใดทน่ี ติ บิ คุ คลไมส่ ามารถกระทาไดต้ ามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ก. ทานติ กิ รรมสัญญา ข. ดาเนินคดีในศาล ค. การสมรส ง. เป็นลูกหนี้ จ. เป็นเจา้ หนี้ 17. เพราะเหตใุ ดกฎหมายจงึ ตอ้ งบัญญัตริ บั รองใหส้ ิ่งอ่ืนท่ีไมใ่ ชม่ นษุ ย์มสี ทิ ธแิ ละหน้าทต่ี ามกฎหมายได้ ก. ปอ้ งกันการทุจริตของมนษุ ย์ ข. กิจการบางอยา่ งมนษุ ย์ไมส่ ามารถทาไดโ้ ดยลาาพังคนเดยี ว ค. เพอื่ ดารงความเปน็ ครอบครวั

33 ง. เพอื่ เตมิ เตม็ ความบกพรอ่ งในการดาเนินชวี ิตของมนษุ ย์ จ. เพอ่ื หวงั ผลกาไรทีส่ ูงขน้ึ 18. ข้อใดไม่ใช่นิตบิ ุคคลตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ แตเ่ ป็นนติ บิ คุ คลตามประมวลกฎหมายอน่ื ก. ห้างหนุ้ สว่ นทีจ่ ดทะเบยี นแลว้ ข. บริษัทจาากดั ค. จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ง. มูลนิธไิ ดร้ บั อาานาจแล้ว จ. ครอบครวั 19. บรษิ ัทจากดั แหง่ หนึง่ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื จะทาการคา้ ขายน้าตาลทรายตอ่ มาบรษิ ทั จากดั นไี้ ดข้ ยายการคา้ ขายโดย ขายเกลอื ดว้ ย บริษัทจากัดแหง่ นม้ี คี วามผิดตามกฎหมายหรอื ไม่ ก. ไม่มคี วามผดิ ตามกฎหมาย เพราะเปน็ สินค้าที่คล้ายกัน ข. ไม่มีความผิดตามกฎหมาย เพราะเมื่อกฎหมายรองรบั ความเปน็ นติ บิ ุคคลแลว้ จะทาการสิง่ ใดกไ็ ด้ ค. ไม่มคี วามผดิ ตามกฎหมาย เพราะยังคงจดุ ประสงค์เดิมคอื การค้าขาย ง. มีความผดิ ตามกฎหมาย เพราะเป็นการกระทานอกวัตถุประสงค์ จ. มีความผดิ ตามกฎหมาย เพราะนติ ิบคุ คลเป็นสงิ่ ที่กฎหมายสมมตุ ขิ ้นึ ไมส่ ามารถคา้ ขายได้ 20. การจัดการนติ บิ ุคคลที่เป็นไปตามกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ขอ้ ใดไมถ่ ูกต้อง ก. มกี ารแตง่ ตงั้ ผ้แู ทนนติ บิ ุคคลเนอ่ื งจากนติ ิบุคคลไม่มีชวี ิตจติ ใจ ข. ผ้มู ีอานาจหน้าทจ่ี ดั การแทนนิตบิ ุคคล อาจมีคนเดียวหรอื หลายคนก็ได้ ค. เจ้าอาวาสเป็นผู้แทนวัดวาอารามแตไ่ มจ่ ัดว่าเป็นผแู้ ทนนิตบิ คุ คล ง. นิติบคุ คลสามารถส้นิ สภาพได้โดยผลทางกฎหมาย จ. ภูมลิ าเนาของนิตบิ คุ คลอาจเปน็ สถานทต่ี งั้ ของสาานักงานใหญ่

34 บนั ทึกหลังการสอน ขอ้ สรุปหลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาทพ่ี บ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปญั หา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการที่ 4 หน่วยท่ี 3 สอนครง้ั ท่ี 4 (7-8) รหัส 2204-2112กฎหมายคอมพิวเตอร์ (2-0-2)

35 ชือ่ หน่วย/เรือ่ ง กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์วา่ ด้วยนติ กิ รรม จานวน 2 ช.ม. สาระสาคญั นติ กิ รรมเป็นการกระทาโดยสมคั รใจของบุคคลสองฝ่ายทมี่ งุ่ ผูกนิตสิ มั พนั ธก์ นั การแสดงนติ ิกรรมแบง่ ออกเปน็ หลายประเภท ผทู้ านิติกรรมทงั้ สองฝา่ ยจะต้องเป็นผทู้ ีม่ ีความสมบรู ณ์ เปน็ ผู้ทม่ี คี วามสามารถตามทีก่ ฎหมายกาหนด และวัตถุประสงค์ของนิตกิ รรมนั้นจะตอ้ งเป็นสิ่งท่ีไมผ่ ดิ กฎหมาย ไมเ่ ป็นสงิ่ ท่ีพน้ วิสยั และไมเ่ ป็นสง่ิ ท่ขี ดั ต่อความสงบ เรียบร้อยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. แสดงความร้เู กยี่ วกับนติ กิ รรมได้ 2. บอกประเภทของนิติกรรมได้ 3. แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั ความสมบรู ณ์ของนิตกิ รรมได้ 4. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทีค่ รสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอื่ ง 4.1 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์ 4.2 ความมวี ินยั 4.3 ความรับผิดชอบ 4.4 ความซอื่ สตั ย์สจุ ริต 4.5 ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 4.8 การละเวน้ สิ่งเสพติดและการพนนั 4.9 ความรกั สามัคคี 4.10 ความกตัญญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ 2. แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักกฎหมายลิขสิทธ์ิและสทิ ธิบตั ร

36 เนอ้ื หาสาระ 1. ความรูเ้ กีย่ วกับนติ กิ รรม 2. ประเภทของนติ กิ รรม 3. ความสมบรู ณ์ของนิติกรรม กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น 1.ครูกลา่ ววา่ นิตกิ รรมเป็นการกระทาโดยสมัครใจของบคุ คลสองฝา่ ยทม่ี งุ่ ผูกนติ สิ มั พนั ธก์ ัน การแสดงนิตกิ รรม แบ่งออกเป็นหลายประเภท ผู้ทานติ ิกรรมท้ังสองฝ่ายจะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ม่ี คี วามสมบรู ณ์ เปน็ ผูท้ ม่ี คี วามสามารถตามท่ี กฎหมายกาหนด และวตั ถปุ ระสงคข์ องนติ ิกรรมนัน้ จะตอ้ งเปน็ สง่ิ ทไ่ี ม่ผดิ กฎหมาย ไมเ่ ป็นส่งิ ทพ่ี น้ วิสัย และไม่เปน็ สงิ่ ทข่ี ดั ตอ่ ความสงบเรยี บร้อยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน 2.ผเู้ รยี นบอกความสาคญั ของศกึ ษาเรอ่ื งกฎหมายแพ่งและพาณิชยว์ า่ ด้วยนติ ิกรรม 3.ผเู้ รยี นทาแบบประเมณิ ผลก่อนเรยี น สลบั กนั ตรวจเผ่อื เก็ยคะแนนสะสม ขั้นสอน 4.ครูใชเ้ ทคนคิ วธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) อธบิ ายความหมายของ “นิติกรรม” ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 149 บญั ญตั ิ ซึง่ หมายความวา่ การใดๆ อนั ทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย และด้วยใจ สมคั ร มงุ่ โดยตรงต่อการผกู นติ สิ ัมพนั ธข์ ึ้นระหว่างบุคคล เพ่ือจะกอ่ เปลย่ี นแปลง โอน สงวน หรือระงบั ซงึ่ สิทธิ 5.ครใู ช้สื่อ Power Point ประกอบการสอนเรื่ององค์ประกอบของนิตกิ รรม มีดังนี้ 1). มีการกระทาหรือการแสดงเจตนาให้เหน็ อยา่ งชัดเจน โดยอาจแสดงเจตนาเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรวาจา หรอื ดว้ ยกริ ยิ าอาการอยา่ งใดอย่างหนึง่ หรือดว้ ยการนงิ่ กฎหมายถือว่าเปน็ การแสดงเจตนาดว้ ยเช่นกนั 2). เป็นการกระทาท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย การกระทาดงั กล่าวจะตอ้ งเปน็ ส่งิ ทีช่ อบด้วยกฎหมายหากการ กระทาใดไม่ถูกต้องตามแบบท่กี ฎหมายบงั คบั ถือเปน็ โมฆะ หรอื การกระทาใดมิไดเ้ ป็นไปตามบทบญั ญัตขิ องกฎหมายว่า ด้วยความสามารถของบคุ คลนน้ั ถือเป็นโมฆยี ะ 3). เป็นการกระทาโดยสมัครใจ ผกู้ ระทานติ กิ รรมจะต้องทาดว้ ยความสมคั รใจในการแสดงเจตนาให้เหน็ อยา่ งชัดเจน มิได้กระทาด้วยความเข้าใจผดิ ถูกข่มขู่ หรือถูกหลอกลวงใดๆ ท้งั สิน้ 4). มุ่งผกู นติ สิ มั พนั ธข์ นึ้ ระหวา่ งบคุ คล ต้องเป็นการกระทาทผ่ี ้กู ระทา ทาลงโดยมเี จตนาใหเ้ กิดผลผกู พนั ในทางกฎหมายซึ่งจะทาาให้เกดิ สทิ ธแิ ละหน้าทรี่ ะหวา่ งบคุ คล 5). ก่อใหเ้ กิดความเคล่ือนไหวในสทิ ธิ รวมถึง บคุ คลสิทธิ หรือสิทธิเหนอื บุคคล และทรัพยส์ ทิ ธิด้วย การ เคล่ือนไหวในสทิ ธนิ ้ีอาจจะเป็นการกอ่ สิทธิ เปลย่ี นแปลงสทิ ธิ โอนสทิ ธิ สงวนสิทธหิ รอื ระงับสิทธิก็ได้ 6.ครูใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารจัดการเรยี นร้แู บบอภปิ ราย (Discussion Method) อภปิ รายและยกตัวอยา่ งเกยี่ วกับการ เปลี่ยนแปลงสทิ ธิ การโอนสิทธิ การสงวนสิทธิ และการระงบั สิทธิ

37 การเปล่ียนแปลงสทิ ธิ หมายถงึ การมีสิทธิอย่แู ลว้ แตต่ อ้ งการเปลย่ี นแปลงสทิ ธิท่มี ีอยใู่ ห้เป็นอย่างอ่ืนเช่น การ กูย้ มื เงิน เม่ือถงึ กาหนดชาาระหนอี้ าจตกลงกนั ใหม่ นาาทรัพยส์ ินอนื่ มาใช้แทน เชน่ นายสาาราญยมื เงนิ นายสาเริงมา 500,000 บาท เมือ่ ถึงกาหนดชาระหน้ี นายสาเรงิ อาจนาทรพั ยส์ นิ มูลคา่ 500,000 บาทมาชาระหนีแ้ ทนเงินสด การโอนสทิ ธิ เปน็ การโอนสิทธขิ องบคุ คลหน่ึงไปยังอกี บคุ คลหนง่ึ ตวั อย่างการโอนสทิ ธิ : มนี า เปน็ เจา้ หน้ขี อง เมษา มนี าไดท้ าหนังสือโอนหนเี้ งนิ ดงั กลา่ วให้กนั ยา โดยให้กนั ยาเปน็ เจา้ หนี้ เรียกเกบ็ เงนิ จากเมษาแทน และได้แยง้ การ โอนสทิ ธิดงั กล่าวไปยงั เมษาแล้ว นอกจากการโอนในลักษณะน้ี ยงั ใช้ไดก้ ับการโอนทรพั ยส์ ินดว้ ย การสงวนสทิ ธิ เปน็ การรบั สภาพหนี้ ตวั อยา่ งการสงวนสทิ ธิ : วิฑรู ย์กูเ้ งนิ จากมาลี 50,000 บาท มาลไี ด้รบั จรรยาเขา้ เป็นผคู้ ้าประกนั เงนิ กู้ เพ่อื สงวนสิทธขิ องมาลี หากถงึ กาหนดชาระเงนิ วฑิ ูรยไ์ ม่ชาระมาลีกจ็ ะได้รบั สทิ ธิที่จะไปเรยี กจากจรรยา ซ่งึ เป็นผ้คู ้าประกนั ได้ การระงับสทิ ธิ เกิดจากคสู่ ัญญาไดแ้ สดงเจตนาปลดหน้ี ตวั อย่างการระงับสิทธิ : เจและเคเปน็ คู่สญั ญาเดิม เคได้ แสดงเจตนาปลดหนี้ โดยยกหน้ีใหแ้ ก่เจ หรือกรณีทีเ่ จได้นาาเงนิ ไปชาระแก่เคเรยี บรอ้ ยแล้ว เชน่ นสี้ ัญญาเงนิ ก้เู ป็นอัน ระงบั ไป ไม่เกิดสิทธิตอ่ กันอกี 7.ครูใชส้ ือ่ Power Point ประกอบการอธิบายเร่ืองประเภทของนิตกิ รรม ซึง่ มีดังนี้ 1). นิติกรรมฝา่ ยเดยี วและนติ ิกรรมหลายฝ่าย -นิติกรรมฝา่ ยเดยี ว เป็นนิติกรรมทเี่ กิดขนึ้ ดว้ ยการแสดงเจตนาและกระทาไปโดยบคุ คลเพยี งฝ่ายเดียว การกระทาน้ันกม็ ผี ลเปน็ นติ ิกรรมได้ เชน่ การทาพินยั กรรม การบอกเลกิ สญั ญา การปลดหน้ี การต้ังมลู นธิ ิ เปน็ ตน้ -นติ ิกรรมหลายฝ่าย เปน็ นิตกิ รรมที่เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาและการกระทาโดยบคุ คลตั้งแต่ 2 ฝ่าย ขนึ้ ไปเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งจงึ จะเกิดเปน็ นติ ิกรรมได้ เช่น สญั ญาซอื้ ขาย สัญญาเช่าทรัพย์ สญั ญาคา้ ประกัน สัญญาจานอง สัญญากยู้ มื เงิน การหมั้น การสมรส เปน็ ต้น 2). นติ ิกรรมท่ีต้องทาตามแบบและนติ กิ รรมทไี่ มต่ อ้ งทาตามแบบ -นิติกรรมทตี่ อ้ งทาตามแบบ เป็นนติ ิกรรมทก่ี ฎหมายกาหนดแบบหรอื วธิ กี ารในการทานิตกิ รรมนัน้ เป็น พิเศษ มฉิ ะนน้ั จะไม่เกดิ ผลทางกฎหมายและตกเป็นโมฆะ เช่น สัญญาซอื้ ขายอสงั หารมิ ทรพั ย์ สญั ญาจานอง การทา พินยั กรรม การสมรส เปน็ ตน้ -นติ กิ รรมทไี่ มต่ อ้ งทาตามแบบ เป็นนิติกรรมทม่ี ีผลสมบรู ณ์ด้วยการแสดงเจตนาเท่านนั้ และจะมีผลใช้ บังคบั ทันทที ่ีมีการทานิติกรรมกัน เช่น สัญญาซ้อื ขายสังหาริมทรพั ย์ สญั ญาจ้างแรงงาน เป็นต้น 3). นิตกิ รรมมีค่าตอบแทนและนิตกิ รรมไมม่ คี ่าตอบแทน -นติ กิ รรมมคี ่าตอบแทน เป็นนติ กิ รรมท่ีคสู่ ัญญาทง้ั สองฝ่ายทาขึน้ แลว้ ก่อให้เกดิ ผลประโยชน์ตอบแทน ซ่งึ กนั และกัน ผลประโยชนท์ เ่ี ป็นคา่ ตอบแทนน้นั อาจเป็นตวั เงนิ ทรพั ย์สนิ อนื่ ใด หรือการชาระหนี้กไ็ ด้ เช่น สญั ญาซอ้ื ขาย สัญญาเชา่ ทรพั ย์ สัญญาเชา่ ซอื้ สญั ญาจา้ งแรงงาน สัญญาจา้ งทาของ สญั ญาให้ท่มี คี ่าภาระผกู พัน เป็นต้น -นิตกิ รรมไมม่ คี ่าตอบแทน เปน็ นิติกรรมทใ่ี ห้เปล่าโดยไมม่ คี า่ ตอบแทน หรอื นิติกรรมทกี่ ่อหนห้ี รอื หนา้ ท่ีใหแ้ ก่ค่สู ัญญาเพียงฝา่ ยเดยี วเทา่ นน้ั ไมไ่ ดก้ อ่ หนห้ี รอื หนา้ ท่ีใหแ้ ก่คู่สัญญาทง้ั สองฝ่าย เชน่ สัญญาใหโ้ ดยเสน่หา สัญญายมื ใช้คงรปู เปน็ ต้น 4). นติ ิกรรมทีม่ ีเง่อื นไขเง่ือนเวลาและนิตกิ รรมทไี่ ม่มเี งือ่ นไขเง่ือนเวลา -นติ ิกรรมท่ีมเี ง่อื นไขเงอื่ นเวลา เปน็ นติ กิ รรมทีท่ าขน้ึ แล้วจะมีผลหรอื ส้นิ ผลไปเมือ่ เปน็ ไปตามเงอื่ นไข หรือเง่ือนเวลาท่กี าหนด เช่น ตกลงจะขายรถยนตต์ อ่ เม่ือผขู้ ายจะเดนิ ทางไปตา่ งประเทศ ดังนนั้ เมือ่ ผขู้ ายจะเดนิ ทางไป ตา่ งประเทศเม่ือใด ถือว่าเงอื่ นไขท่ีตกลงซือ้ ขายรถกันมีผลสาเร็จแล้ว ผู้ขายตอ้ งขายรถยนตใ์ ห้แกผ่ ซู้ อื้ ตามทต่ี กลงไว้ เป็น ต้น

38 -นติ ิกรรมทไ่ี ม่มเี ง่อื นไขเงอื่ นเวลา เป็นนิตกิ รรมทที่ าขน้ึ แล้วจะมีผลใชบ้ งั คบั ทนั ทีทตี่ กลงทานิติกรรมกนั โดยไมม่ ีเง่ือนไขหรือเงือ่ นเวลากาหนดไว้ในนติ กิ รรมนั้น เชน่ คสู่ ญั ญาตกลงซ้ือรถยนต์กันโดยไมม่ กี าหนดเงื่อนไขหรือ เงื่อนเวลาใดๆ ไว้ สญั ญาซื้อขายนนั้ มผี ลผกู พันผูข้ ายและผซู้ อื้ ทนั ทที มี่ กี ารตกลงซอ้ื ขายรถกนั เปน็ ตน้ 5). นิติกรรมทมี่ ผี ลเมอื่ ผู้ทายังมีชวี ติ อย่แู ละนติ ิกรรมทมี่ ผี ลเม่อื ผทู้ าตายแลว้ -นิติกรรมท่ีมผี ลเมอื่ ผู้ทายังมีชีวติ อยู่ เปน็ นติ กิ รรมที่ผทู้ าแสดงเจตนาประสงคใ์ ห้เกดิ ผลระหวา่ งท่ผี ู้ทา นิติกรรมยังมีชีวิตอยู่ เช่น สัญญาท้ังหลายที่เกิดข้ึนในขณะที่ผู้ทาสญั ญานั้นมชี วี ิตอยู่ และมผี ลใชบ้ ังคบั ในขณะทม่ี ชี ีวติ อยู่ นน้ั -นิติกรรมทม่ี ผี ลเมอื่ ผทู้ าตายแลว้ เป็นนิตกิ รรมทเ่ี กิดขึน้ ขณะทีผ่ ทู้ ามชี วี ิตอยู่ แตจ่ ะมผี ลบงั คับเมอ่ื ผู้ทา ตายไปแล้ว เช่น การทาพนิ ยั กรรม การทาสญั ญาประกนั ชวี ิต เป็นตน้ 8.ครูบอกหัวข้อหลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาความสมบรู ณข์ องนิติกรรม ซง่ึ มดี ังน้ี 1). ความสามารถของผู้ทานติ กิ รรม 2). วัตถุประสงค์ของการทานิติกรรม 3). แบบของนิตกิ รรม 4). การแสดงเจตนาทานติ ิกรรม 9.ครูใชส้ ือ่ Power Point ประกอบการอธบิ ายเรอื่ งความสามารถของผู้ทานิติกรรม วัตถุประสงคข์ องการทานิติ กรรม และแบบของนิติกรรม ซงึ่ มสี าระสาคญั ดงั นี้ 1). ความสามารถของผทู้ านติ กิ รรม ถ้าผทู้ านิตกิ รรมมคี วามบกพร่อง มไิ ด้เป็นผมู้ ีความสามารถตามท่ี กฎหมายกาหนด จะทาให้นิตกิ รรมนนั้ เป็นโมฆียะ จงึ ควรศกึ ษาเก่ยี วกับความสามารถของบุคคลก่อนการทานิตกิ รรมใดๆ บุคคลผหู้ ยอ่ นความสามารถในการทานิติกรรม ไดแ้ ก่ ผเู้ ยาว์ คนวกิ ลจรติ และคนเสมือนไร้ความสามารถ 2). วัตถุประสงคข์ องการทานติ กิ รรม วตั ถปุ ระสงค์ของนติ ิกรรม เป็นเจตนาทีผ่ ู้แสดงเจตนาตอ้ งการให้ ปรากฏผลอยา่ งใดอย่างหน่ึงข้นึ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 50 บัญญตั ิว่า “การใดมีวตั ถุประสงค์ เป็นการต้องหา้ มชดั แจง้ โดยชัดแจง้ ดว้ ยกฎหมาย เป็นการพน้ วสิ ัย หรอื เป็นการขัดตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื ศลี ธรรม อนั ดขี องประชาชน การนนั้ เปน็ โมฆะ” จากตวั บทของกฎหมายนติ ิกรรมทเี่ ปน็ โมฆะ มีลักษณะดงั น้ี -มวี ัตถปุ ระสงค์เป็นการต้องห้ามดว้ ยกฎหมาย พจิ ารณาวา่ วัตถุประสงคข์ องนิตกิ รรมน้นั ตอ้ งเป็นสงิ่ ทถ่ี กู ต้อง ตามกฎหมาย หากขดั ตอ่ กฎหมายถือเป็นโมฆะ เชน่ การซอ้ื ที่ดินของคนตา่ งดา้ วโดยให้คนไทยรับโอนแทน เป็นการขัด ต่อประมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. 2497 จึงตกเปน็ โมฆะ การซอ้ื ขาย ยาเสพตดิ เปน็ ตน้ -เป็นการพ้นวิสัย นติ กิ รรมท่ีมวี ัตถปุ ระสงค์ซงึ่ คสู่ ญั ญาไมส่ ามารถทาให้ประสบผลสาาเร็จไดแ้ นน่ อนถือเปน็ การ พ้นวสิ ัย เชน่ สัญญาใหแ้ ปรตะกั่วเป็นทองคา สัญญาเช่ารถโดยท่ีรถนนั้ เครอ่ื งยนต์เสียไมส่ ามารถใช้งานได้ เป็นต้น -เป็นการขดั ต่อความสงบเรยี บร้อยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน นติ กิ รรมที่มวี ตั ถุประสงคข์ ดั ต่อความสงบ เรียบรอ้ ยของประชาชน ทัง้ ดา้ นการเมอื งและด้านเศรษฐกิจ เชน่ สญั ญาจา้ งให้ภรรยาหยา่ ขาดกับสามีเพอื่ สมรสกับผู้ วา่ จ้าง เปน็ ตน้ 3). แบบของนติ กิ รรม หมายถึง พิธีการท่กี ฎหมายกาหนดไว้และบังคับให้ผ้แู สดงเจตนาทานติ กิ รรมตอ้ ง ปฏบิ ัติตามเพ่อื ความสมบรู ณข์ องนติ ิกรรม หากไมป่ ฏบิ ตั ติ ามนติ กิ รรมน้ันจะตกเป็นโมฆะ โดยท่วั ไปนติ กิ รรมไมต่ ้องทา ตามแบบ กม็ ีผลบังคับใช้ไดเ้ พียงแตแ่ สดงเจตนาเท่านน้ั ยกเวน้ บางประเภทที่กฎหมายกาหนดใหท้ าตามแบบ หากไม่ทา ถือวา่ เป็นโมฆะ แบบของนติ ิกรรมทีก่ ฎหมายบงั คับให้ทา มี 5 ประเภท ดงั นี้ 3.1 แบบทต่ี ้องทาเป็นหนงั สอื และจดทะเบยี นต่อพนักงานเจ้าหนา้ ท่ี ผทู้ านิติกรรมจะต้องทาเป็นลาย ลักษณ์อกั ษร โดยตอ้ งทาเปน็ หนังสือ และจดทะเบียนตอ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทีข่ องหนว่ ยราชการท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั เรื่องนติ ิ กรรมดังกล่าว นติ ิกรรมน้ันจงึ จะมผี ลใช้บังคบั ได้ ดังนน้ั ถ้าทาเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรเพียงอย่างเดยี วแต่ไม่นาไปจด

39 ทะเบยี น กจ็ ะไม่มผี ลใชบ้ งั คับแตอ่ ย่างใด นติ กิ รรมนน้ั จะตกเปน็ โมฆะเพราะทาผดิ แบบ นติ กิ รรมท่ีต้องทาตามแบบ ดงั กล่าวได้แก่ สญั ญาซอื้ ขายอสังหาริมทรพั ย์ สญั ญาขายฝาก สัญญา จานอง สญั ญาแลกเปลย่ี นอสงั หารมิ ทรัพย์ สัญญา ให้อสังหารมิ ทรัพย์ เป็นต้น 3.2 แบบทตี่ อ้ งจดทะเบยี นตอ่ เจา้ หนา้ ที่ ผู้ทานติ ิกรรมจะตกลงทานติ กิ รรมด้วยวาจาหรือทาเปน็ ลาย ลักษณอ์ ักษรกไ็ ด้ แต่จะตอ้ งทาการจดทะเบียนนิตกิ รรมทตี่ กลงกนั นนั้ ต่อพนักงานเจ้าหนา้ ทจ่ี ึงจะมผี ลใช้บังคับได้ เช่น การจดทะเบียนสมรส การจดทะเบยี นหย่า การจดทะเบยี นรับบุตรบญุ ธรรมการจดทะเบยี นห้างหนุ้ สว่ นจากัด การจด ทะเบยี นบริษัทจากดั เปน็ ตน้ 3.3 แบบที่ตอ้ งทาเป็นหนังสอื ต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ผทู้ านติ ิกรรมตอ้ งทาเปน็ ลายลักษณ์อักษรไวก้ บั เจ้าหนา้ ที่จงึ จะมีผลบงั คบั ใช้ เช่น การขอดเู อกสารของทางราชการ การทาพินยั กรรมแบบเอกสารฝา่ ยการเมอื ง เป็นต้น 3.4 แบบที่ต้องทาเปน็ หนงั สอื ระหว่างกนั เอง ผทู้ านิติกรรมจะต้องทานิตกิ รรมเปน็ ลายลักษณ์ อักษรเสมอจงึ จะมีผลใชบ้ งั คบั ได้ และเป็นการทาลายลักษณ์อกั ษรระหว่างผู้ทานิตกิ รรมกันเองโดยไมต่ อ้ งนาไปจด ทะเบียนแตอ่ ย่างใด เช่น การทาาหนังสือรบั สภาพหนี้ การทาสญั ญาเช่าซื้อ การโอนหนี้ การทาพินัยกรรมแบบธรรมดา และแบบเขยี นเองทง้ั ฉบับ เป็นตน้ 3.5 แบบทตี่ อ้ งทาตามแบบพิเศษที่กฎหมายกาหนดไว้ นติ กิ รรมทีท่ าาขน้ึ มีกฎหมายระบแุ บบไว้ให้ทา โดยเฉพาะ ซ่งึ ผู้ทานิติกรรมประเภทดงั กล่าวจะต้องทาตามแบบทก่ี ฎหมายกาาหนดไว้จึงจะใชบ้ ังคับไดต้ วั อย่างเชน่ รายการทรี่ ะบุในเช็ค ตอ้ งเป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ มาตรา 988 กาาหนดไวไ้ ดแ้ ก่ มคี าบอกชอื่ ว่า เปน็ เช็ค มีคาสั่งใหใ้ ชเ้ งินจานวนแน่นอนโดยปราศจากเง่ือนไข มีชือ่ หรือย่ีหอ้ และสานกั งานของธนาคาร มีชอ่ื หรือยห่ี ้อ ของผ้รู ับเงิน หรือคาจดแจง้ วา่ ใหใ้ ช้เงนิ แก่ผูถ้ อื มสี ถานทใ่ี ช้เงนิ มีวนั และสถานทอี่ อกเชค็ และมลี ายมอื ช่อื ผสู้ ั่งจ่าย หาก ผใู้ ดออกเช็คโดยขาดรายการใดรายการหน่งึ ไปเช็คน้นั กไ็ มม่ ีผลใช้บงั คบั ทางกฎหมาย เปน็ ต้น 10.ครูใหค้ วามรูเ้ พิม่ เติมในการทาบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ซึ่งเปน็ การจดบันทกึ เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ เกยี่ วกบั การเงิน หรอื บางส่วนเกย่ี วข้องกบั การเงิน โดยผา่ นการวเิ คราะห์ จดั ประเภทและบันทกึ ไว้ในแบบฟอรม์ ท่กี าหนด เพอื่ แสดงฐานะ การเงินและผลการดาเนินงานของตนเองหรือครอบครัวในช่วงระยะเวลาหนง่ึ เปน็ วธิ ีชว่ ยตรวจสอบการใช้จ่ายของ ครอบครัววา่ มรี ายจา่ ยสมดลุ กบั รายรบั และใช้จา่ ยอย่างมเี หตุผลตามความจาเปน็ พอเหมาะกบั สภาพครอบครวั หรือไม่ หากสามารถปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภค เพ่อื ลดรายจา่ ยทไ่ี มจ่ าเป็นเกินตนได้ จะช่วยใหม้ ีเงินเกบ็ ออมเพื่อเป็น รากฐานสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ทดี ีในชวี ิตได้ ข้นั สรุปและการประยกุ ต์ 11.ครแู ละผเู้ รียนสรุปเนือ้ หาท่ีเรยี น 12.ผเู้ รียนทากจิ กรรมใบงาน สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 1.หนังสอื เรียน วชิ ากฎหมายคอมพิวเตอร์ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ 2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3.แผ่นใส 4.สอ่ื PowerPoint หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอน

40 2.ใบเชค็ รายช่ือ 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน การวดั ผลและการประเมนิ ผล วิธีวัดผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 3. สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจใบงาน 5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ 6. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เครื่องมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผู้เรยี นรว่ มกัน ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรับปรงุ 2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ข้ึนไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิมเี กณฑผ์ ่าน 50% 6 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอย่กู บั การ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1.ครูแนะนาให้ผเู้ รยี นอา่ นทบทวนเนอ้ื หา 2.ศกึ ษาเพม่ิ เติมจากส่ืออินเทอรเ์ น็ต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook