Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือผู้บริหารโครงการ

คู่มือผู้บริหารโครงการ

Published by ขวัญชัย คนขยัน, 2019-05-21 07:17:44

Description: คู่มือผู้บริหารโครงการ

Search

Read the Text Version

ก คำนำ ค่มู ือผู้บรหิ ารโครงการ วทิ ยากรพ่เี ล้ยี งและวทิ ยากร เล่มนีจ้ ัดทาข้ึนเพื่อให้ผู้บริหารโครงการ วิทยากรพี่เล้ียงและวิทยากรศึกษาข้อมูลทาความเข้าใจแนวปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการ พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้อย่างถูกต้องและเป็นแนวทางเดียวกัน ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร บทบาทหน่วยงานและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง แนวทาง ข้ันตอน กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การประเมินผลการพัฒนา ตลอดจนแบบฟอร์ม แบบประเมินและใบงาน จะส่งผลให้การดาเนินการพัฒนาบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ อย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล คณะผู้จัดทาหวังว่า คู่มือผู้บริหารโครงการ วิทยากรพ่ีเล้ียงและวิทยากร เล่มนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ทเี่ กยี่ วข้องทกุ ทา่ นและส่งผลให้ผู้ผ่านการพัฒนาเป็นผู้อานวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษา มอื อาชีพ สานกั พฒั นาสมรรถนะครูและบคุ ลากรอาชวี ศึกษา ค่มู อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ลี้ยงและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

สำรบัญ ข คำนำ หน้ำ สำรบัญ ก หลกั สูตรกำรพฒั นำข้ำรำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ข ก่อนแต่งต้ังให้ดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยกำรสถำนศกึ ษำ ๑ หลักการและเหตุผล ๑ วัตถปุ ระสงค์ ๑ โครงสร้างหลกั สูตร ๒ สมรรถนะที่ใช้พฒั นา ๒ ระยะเวลาการพฒั นา ๒ คณุ สมบัติของผ้เู ขา้ รับการพฒั นา ๓ มาตรฐานการพัฒนา ๔ แผนภูมโิ ครงสร้างหลกั สตู ร ๕ รายละเอียดหลักสูตร ๗ โครงสร้างรายละเอียดหลักสตู ร ๘ ๑๕ หมวดที่ ๑ ๒๗ หมวดที่ ๒ ๔๔ หมวดท่ี ๓ ๔๕ การศกึ ษาดูงาน ๔๕ บทบำทหนว่ ยงำนและบุคลำกรที่เก่ยี วขอ้ ง ๔๕ บทบาทสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๔๗ บทบาทผ้บู รหิ ารโครงการ ๔๗ บทบาทวิทยากรพ่ีเล้ียง ๔๘ บทบาทวิทยากร ๕๕ บทบาทของผเู้ ข้ารับการพัฒนา ๕๖ แนวทำง ข้นั ตอนและกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ ๖๔ หมวดที่ ๑ ๗๔ หมวดที่ ๒ หมวดที่ ๓ คมู่ อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพ่ีเล้ียงและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

ค กำรประเมนิ ผลกำรพัฒนำ ๙๐ เกณฑ์การประเมิน ๙๑ รายละเอยี ดการประเมิน ๙๑ ตารางสรุปการประเมินผลการพัฒนา ๙๒ รายละเอียดการประเมนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื เรยี นรดู้ ้วยตนเองก่อนการพัฒนา ๙๓ รายละเอยี ดคะแนนการประเมินผลตลอดหลกั สตู ร ๙๔ สรปุ แบบฟอร์ม แบบประเมินและใบงาน ๙๕ ตำรำงกำรพฒั นำ ๑๑๘ ภำคผนวก ๑๒๑ หนังสอื สานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ ๐๒๐๖/ว ๔ ลงวนั ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๒ เรอ่ื งหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา สังกดั สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานและสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา คาสง่ั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ ๕๐๒/๒๕๖๒ ๑๒๖ เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะกรรมการจดั ทาหลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กอ่ นแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา คณะทางานจดั ทาหลักสตู รและคู่มือการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๑๒๙ ก่อนแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ค่มู อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพเ่ี ลีย้ งและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๑ หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กอ่ นแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หลักการและเหตผุ ล พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ อาศัย อานาจตามมาตรา ๑๙ (๔) และมาตรา ๘๐ บญั ญตั ใิ หม้ ีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีเหมาะสม ในอันท่ีจะทาให้การปฏิบัติหน้าท่ีราชการ เกิดประสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ลและความกา้ วหนา้ แกร่ าชการ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กา ห น ด แ ละม า ต ร ฐ าน ต า แ ห น่ งผู้ อา น ว ย กา ร ส ถา น ศึกษา ได้ กาห น ด ว่ า ต้ อง ผ่ า น กา รพั ฒ น า ต า ม หลักเกณฑ์และวิธีการ ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ประกอบกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการที่ต้องการให้ ผู้อานวยการสถานศกึ ษาเปน็ ผู้นาในการปฏิรปู การศึกษาและนานโยบายไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ก.ค.ศ. จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน แตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามหนงั สือ สานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ ๐๒๐๖.๗/ว ๔ ลงวันท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๖๒ ทั้งน้ี ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องผ่าน การคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาสมรรถนะในลักษณะองค์รวม มีความยืดหยุ่น ทั้งสาระการพัฒนาและวิธีการเรียนรู้ให้มีความพร้อมในการดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษาและ สามารถพฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ผู้ผ่านการพัฒนา มีอุดมการณ์ วิสัยทัศน์ บุคลิกภาพ ความเป็นผู้นาและพฤติกรรม ที่เหมาะสมต่อการเป็นผู้อานวยการสถานศึกษา สามารถนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญไปใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถสร้างวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรม ประชาธิปไตยในการปฏิบัตงิ าน โครงสร้างหลักสตู ร โครงสร้างหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งตั้งให้ ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ๓ หมวด ใช้เวลาในการพัฒนา ๗๗ ชวั่ โมง ดังน้ี หมวดที่ ๑ คณุ ลกั ษณะผอู้ านวยการสถานศึกษาท่ีพงึ ประสงค์ (๑๕ ชั่วโมง) หมวดท่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการและวิชาชีพ (๒๔ ชวั่ โมง) หมวดท่ี ๓ การบรหิ ารและการจดั การในสถานศึกษา (๓๑ ชั่วโมง) ค่มู อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๒ สมรรถนะทีใ่ ช้พฒั นา หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้นาสมรรถนะของผู้บริหาร สถานศึกษาตามขอบข่ายที่ ก.ค.ศ.และหน่วยงานอื่นกาหนด เช่น คุรุสภา สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) มาเปน็ แนวทางในการกาหนดหมวดและหน่วยการเรยี นรู้ ดงั น้ี หมวดท่ี ๑ คุณลักษณะผู้อานวยการสถานศึกษาที่พึงประสงค์ ประกอบด้วย รัก ศรัทธา ภาคภมู ใิ จในศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของความเป็นผู้อานวยการสถานศึกษา มุ่งม่ันในการบริหารจัดการ หลกั สูตรและการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สร้างวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมประชาธิปไตย ในการปฏิบัติงาน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม มีวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีบคุ ลิกภาพทีเ่ หมาะสมกบั การเป็นผอู้ านวยการสถานศึกษา เรอ่ื งอ่ืนๆ ท่ีเกยี่ วข้อง หมวดท่ี ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพ ประกอบด้วย ความเป็นผู้นาทางวิชาการ และสามารถส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีภาวะผู้นาทางวิชาการ มีความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาของชาติ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการจัดการ เรียนรู้ สามารถบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถจัดระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรม ทางการศึกษาให้ความสาคัญและสามารถพัฒนาวิชาชีพ ส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา สามารถบริหารจัดการสถานศึกษาเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่าง สถานศึกษากับชุมชนและท้องถิ่น สามารถจูงใจให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุ่มเท ความรู้ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุด สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร เร่ืองอื่นๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง หมวดท่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา ประกอบด้วย ความสามารถ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ภารกจิ ของสถานศึกษาและบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ ของผู้อานวยการ สามารถวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สามารถตัดสินใจ บนพื้นฐานของขอ้ มลู และหลกั การไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้หลักการธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการสถานศึกษา สามารถบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาให้เกิดความคุ้มค่า สามารถบริหารจดั การระบบประกันคณุ ภาพในสถานศกึ ษา สามารถส่งเสริมสนับสนุนให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา แสดงความสามารถในทางวิชาการ สามารถบริหารจัดการระบบภาคี เครือข่ายการพัฒนาสถานศึกษา สามารถนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล สามารถ วิเคราะห์กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าท่ีผู้อานวยการ สถานศกึ ษา เรอ่ื งอน่ื ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง ระยะเวลาการพฒั นา ใช้เวลาในการพัฒนารวม ๗๗ ช่ัวโมง คุณสมบัตขิ องผ้เู ข้ารับการพฒั นา ผู้เข้ารับการพัฒนาจะต้องเป็นผู้ท่ีผ่านการคัดเลือกเพ่ือบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด คมู่ อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพีเ่ ลยี้ งและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๓ มาตรฐานการพฒั นา สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาได้ดาเนนิ การตามมาตรฐานการพัฒนา ดงั ต่อไปน้ี ๑. การบริหารจัดการ จัดทารายละเอียดหลักสูตรและคู่มือการพัฒนา จัดทาแผนพัฒนา คัดเลือก วิทยากรและวิทยากรพี่เล้ียง จัดทาข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับวิทยากร จัดวิทยากรเป็นคณะหรือทีม จัดการเรียนรู้ สร้างความเข้าใจในเรื่องหลักสูตรและการประเมินผลการพัฒนากับวิทยากรและ ดาเนินการพัฒนาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ. กาหนด โดยยึดความสาเร็จตาม วัตถุประสงค์ของการพัฒนา จัดสรรงบประมาณสนับสนุนให้เพียงพอ จัดระบบควบคุมคุณภาพการ พัฒนา รวมทงั้ กากบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการพฒั นาให้ ก.ค.ศ. ทราบ ๒. วิทยากรและวทิ ยากรพเี่ ลี้ยง วิทยากรพ่ีเล้ียงและวิทยากรต้องเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพเหมาะสม มีความรอบรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์ ประสบความสาเร็จเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ ทางการบริหาร การศึกษาและเร่ืองท่ีเกี่ยวข้อง มีความรับผิดชอบการพัฒนาและสามารถสร้างบรรยากาศท่ีดีในการพัฒนา รวมทงั้ สามารถจดั กิจกรรมการพัฒนาโดยเนน้ ผู้เข้ารบั การพฒั นาเปน็ สาคัญ ๓. ส่อื และนวัตกรรมการพฒั นา จัดคู่มือ สอ่ื และนวตั กรรมประกอบการพัฒนา ส่งให้ผู้เขา้ รับการพัฒนาศกึ ษาลว่ งหน้า เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน จัดเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และโสตทัศนูปกรณ์ ท่ีมีเนื้อหาความรู้ ทางวชิ าการทนั สมยั เข้าถึงได้สะดวก มีคุณภาพดี มีปริมาณเพียงพอช่วยให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความสนใจ กระตอื รือร้นและมสี ่วนรว่ มในการเรยี นรู้ ๔. สถานทีท่ ีใ่ ช้ในการพัฒนา สถานทที่ ี่ใช้ในการพฒั นาตอ้ งเหมาะสม มบี รรยากาศท่ีดี มีอุปกรณ์และส่ิงอานวย ความสะดวกเอ้อื ตอ่ การพัฒนารวมท้งั แหลง่ ศึกษาค้นควา้ อย่างเพยี งพอสาหรับการพัฒนา ๕. การประเมินผลการพฒั นา การประเมินผลการพัฒนาต้องมุ่งเน้นการประเมินตามสภาพจริงอย่างเป็นระบบ และได้มาตรฐานเพือ่ ปรบั ปรงุ พฒั นา โดยยดึ วตั ถปุ ระสงค์ของการพัฒนาเปน็ หลกั ค่มู อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพ่เี ลย้ี งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๔ แผนภูมิโครงสร้างหลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา กอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา การพัฒนาสมรรถนะผ้อู านวยการสถานศกึ ษา (๗๗ ชั่วโมง) ศึกษาค้นคว้า หมวดที่๑ คุณลักษณะ หมวดท่ี ๒ ภาวะผนู้ าทาง หมวดท่ี ๓ การบรหิ ารและ เพื่อเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ผูอ้ านวยการสถานศึกษา โดยใชเ้ ทคโนโลยี ทพ่ี งึ ประสงค์ วชิ าการและวิชาชีพ การจดั การในสถานศกึ ษา ดจิ ิทลั (๒๔ ชวั่ โมง) (๓๑ ชว่ั โมง) (๑๕ ชว่ั โมง) ๒.๑ การประยกุ ตป์ รชั ญาการศึกษา ๓.๑ การขบั เคลือ่ นนโยบายและ ๑.๑ อดุ มการณ์ เกยี รตภิ มู ิและ ของชาติ ปรัชญาการอาชวี ศึกษา วางแผนกลยุทธใ์ นสถานศกึ ษา ความภาคภูมใิ จในองค์กร หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อาชีวศึกษา และแนวทางจดั การเรยี นรู้ ๑.๒ การพัฒนาบคุ ลิกภาพและ สู่การปฏิบตั ิในการพัฒนาคณุ ภาพ ๓.๒ การบริหารจดั การทรัพยากร การสร้างสนุ ทรยี ภาพ การอาชวี ศึกษา อาชวี ศึกษาในสถานศึกษา ๑.๓ การพฒั นาเทคนคิ ๒.๒ ภาวะผ้นู าทางวิชาการและวชิ าชีพ ๓.๓ การบริหารจดั การสถานศึกษา การส่อื สาร ๒.๓ การบริหารจัดการหลกั สูตรฐาน อาชวี ศกึ ษาโดยใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล ๑.๔ วัฒนธรรมคณุ ภาพและ สมรรถนะและการจัดการเรยี นรู้ วัฒนธรรมประชาธปิ ไตย สกู่ ารปฏบิ ตั ทิ ี่เนน้ ความถนัดของ ๓.๔ การน้อมนาศาสตร์พระราชา ในสถานศกึ ษา ผเู้ รียนเป็นสาคญั ตามกรอบคณุ วุฒิ สู่การพัฒนาอาชวี ศกึ ษา อาชีวศึกษาแหง่ ชาติ อย่างยงั่ ยืน ๑.๕ วนิ ัย คุณธรรมจริยธรรม ๒.๔ การขบั เคล่ือนสถานศึกษา และจรรยาบรรณวชิ าชพี อาชวี ศึกษา ใหเ้ ปน็ องค์การ ๓.๕ ระบบและกลไกในการประกนั แห่งการเรียนรดู้ ว้ ยระบบ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ๑.๖ ศาสนพิธี รฐั พธิ แี ละพิธกี าร เทคโนโลยดี จิ ิทลั อาชวี ศึกษา ๒.๕ การสง่ เสรมิ สนับสนุนการสรา้ ง นวัตกรและผู้ประกอบการใหม่ ๓.๖ การบรหิ ารจดั การระบบภาคี ในอาชีวศกึ ษา เครือข่ายอาชวี ศกึ ษา ๒.๖ การสง่ เสรมิ ใหม้ ีการวิจยั เพื่อพัฒนาองคก์ ารและ ๓.๗ กฎหมายและระเบยี บ นวตั กรรมด้านอาชวี ศกึ ษา ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการบรหิ าร ๒.๗ การสร้างความเขม้ แขง็ จดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษา เครือขา่ ยความร่วมมอื กับชุมชน สถานประกอบการ ดา้ นวชิ าการ ๓.๘ การบรหิ ารจัดการอาชวี ศกึ ษา และวชิ าชพี นาการเปลี่ยนแปลง ๒.๘ การพัฒนาและการสร้างแรงจงู ใจ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓.๙ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษา อาชวี ศึกษาปฏบิ ัติงานใหเ้ กดิ อาชีวศึกษาสูค่ วามเปน็ เลศิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ๒.๙ การสรา้ งความเปน็ สากล ๓.๑๐ การบริหารความเส่ยี ง ด้วยภาษาองั กฤษ ในสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา การศึกษาดูงาน โดยบรู ณาการความรู้ทง้ั ๓ หมวด (๗ ช่ัวโมง) ค่มู อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ลีย้ งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๕ รายละเอยี ดหลักสูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ก่อนแต่งต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา กรอบการพฒั นาสมรรถนะผอู้ านวยการสถานศึกษา ระยะเวลา ๗๗ ชั่วโมง หมวดที่ ๑ คุณลักษณะผอู้ านวยการสถานศึกษาทีพ่ งึ ประสงค์ (๑๕ ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑.๑ อดุ มการณ์ เกยี รติภูมิและความภาคภูมใิ จ เวลา ๒ ชวั่ โมง ในองค์กร หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑.๒ การพัฒนาบคุ ลิกภาพและการสร้างสนุ ทรียภาพ เวลา ๒ ชวั่ โมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑.๓ การพัฒนาเทคนคิ การสือ่ สาร เวลา ๓ ชวั่ โมง หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑.๔ วัฒนธรรมคณุ ภาพและวัฒนธรรมประชาธปิ ไตย เวลา ๓ ชว่ั โมง ในสถานศึกษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑.๕ วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เวลา ๓ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑.๖ ศาสนพิธี รัฐพธิ แี ละพิธีการ เวลา ๒ ชวั่ โมง หมวดท่ี ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการและวชิ าชีพ (๒๔ ช่ัวโมง) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒.๑ การประยกุ ต์ปรชั ญาการศึกษาของชาติ ปรชั ญา เวลา - ชัว่ โมง การอาชวี ศึกษา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการจัดการเรียนรู้สกู่ ารปฏบิ ตั ิ ในการพฒั นาคุณภาพการอาชีวศกึ ษา หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒.๒ ภาวะผูน้ าทางวิชาการและวชิ าชีพ เวลา ๓ ชวั่ โมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒.๓ การบริหารจัดการหลักสตู รฐานสมรรถนะ เวลา ๓ ชว่ั โมง และการจดั การเรียนรู้สู่การปฏบิ ตั ทิ ่ีเนน้ ความถนดั ของผู้เรยี นเป็นสาคัญตาม กรอบคณุ วฒุ อิ าชวี ศึกษาแห่งชาติ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒.๔ การขบั เคลื่อนสถานศึกษาอาชีวศึกษาใหเ้ ป็น เวลา ๔ ชว่ั โมง องคก์ ารแห่งการเรยี นรูด้ ้วยระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัล หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒.๕ การสง่ เสริมสนบั สนนุ การสร้างนวัตกร เวลา ๓ ชวั่ โมง และผูป้ ระกอบการใหม่ในอาชีวศึกษา หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒.๖ การสง่ เสริมให้มีการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาองค์การ เวลา ๓ ชว่ั โมง และนวตั กรรมดา้ นอาชีวศกึ ษา หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒.๗ การสร้างความเข้มแขง็ เครือข่ายความร่วมมอื เวลา ๓ ชว่ั โมง กับชมุ ชน สถานประกอบการ ด้านวิชาการ และวิชาชีพ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒.๘ การพัฒนาและการสร้างแรงจูงใจให้ครู เวลา ๔ ชวั่ โมง และบคุ ลากรทางการศึกษาอาชีวศกึ ษาปฏิบตั ิงาน ให้เกิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒.๙ การสร้างความเป็นสากลด้วยภาษาอังกฤษ เวลา ๑ ชว่ั โมง คมู่ อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ลยี้ งและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๖ หมวดท่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศกึ ษา (๓๑ ชวั่ โมง) หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓.๑ การขับเคลื่อนนโยบายและวางแผนกลยุทธ์ เวลา ๓ ชว่ั โมง ในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓.๒ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรอาชีวศึกษา เวลา ๖ ชวั่ โมง ในสถานศึกษา หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓.๓ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษา เวลา ๒ ชวั่ โมง โดยใช้หลกั ธรรมาภบิ าล หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓.๔ การนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชาสู่การพัฒนา เวลา ๒ ชวั่ โมง อาชีวศกึ ษาอยา่ งยั่งยนื หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓.๕ ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน เวลา ๓ ชว่ั โมง สถานศึกษาอาชวี ศึกษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓.๖ การบริหารจัดการระบบภาคีเครือขา่ ยอาชีวศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓.๗ กฎหมายและระเบยี บท่ีเกี่ยวข้องกับ เวลา ๓ ชว่ั โมง การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษา หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๓.๘ การบริหารจดั การอาชีวศึกษา เวลา ๓ ชว่ั โมง นาการเปลย่ี นแปลง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓.๙ การบริหารจัดการสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา เวลา ๓ ชว่ั โมง สู่ความเป็นเลิศ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓.๑๐ การบริหารความเส่ยี งในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา เวลา ๓ ชวั่ โมง การศึกษาดูงาน บูรณาการความร้ทู งั้ ๓ หมวด (๗ ชว่ั โมง) คมู่ อื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ล้ยี งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๗ โครงสรา้ งรายละเอียดหลกั สูตร การพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หมวด รายละเอยี ดหลักสูตร เวลา หมายเหตุ ท่ี (ช่ัวโมง) ๑ คณุ ลักษณะผู้อานวยการสถานศึกษาทพี่ ึงประสงค์ (๑๕ ชว่ั โมง) ๑.๑ อุดมการณ์ เกียรติภูมิและความภาคภมู ิใจในองคก์ ร ๒ ๑.๒ การพัฒนาบุคลกิ ภาพและการสร้างสนุ ทรียภาพ ๒ ๑.๓ การพัฒนาเทคนิคการสือ่ สาร ๓ ๑.๔ วฒั นธรรมคณุ ภาพและวัฒนธรรมประชาธปิ ไตยในสถานศึกษา ๓ ๑.๕ วินัย คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓ ๑.๖ ศาสนพิธี รัฐพิธแี ละพิธีการ ๒ รวม ๑๕ ๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการและวิชาชพี (๒๔ ช่ัวโมง) - เรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง ๒.๑ การประยุกตป์ รชั ญาการศกึ ษาของชาติ ปรัชญาการอาชีวศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และแนวทางการจัดการเรยี นรู้สกู่ ารปฏบิ ัตใิ นการพัฒนาคณุ ภาพการอาชีวศกึ ษา ๓ ๒.๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการและวชิ าชีพ ๓ ๒.๓ การบรหิ ารจัดการหลักสูตรฐานสมรรถนะและการจดั การเรียนร้สู ู่การปฏิบตั ิที่ เน้นความถนดั ของผเู้ รยี นเป็นสาคญั ตามกรอบคณุ วุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ๒.๔ การขับเคลื่อนสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาใหเ้ ป็นองคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ดว้ ยระบบเทคโนโลยีดิจิทลั ๔ ๒.๕ การส่งเสริมสนับสนนุ การสร้างนวตั กรและผู้ประกอบการใหมใ่ นอาชีวศกึ ษา ๓ ๒.๖ การส่งเสรมิ ให้มกี ารวิจัยเพ่อื พัฒนาองค์การและนวัตกรรมดา้ นอาชีวศึกษา ๓ ๒.๗ การสรา้ งความเข้มแขง็ เครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน สถานประกอบการดา้ นวิชาการและวชิ าชพี ๓ ๒.๘ การพัฒนาและการสร้างแรงจูงใจให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษาปฏบิ ัตงิ านให้ ๔ เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ๒.๙ การสร้างความเป็นสากลดว้ ยภาษาองั กฤษ ๑ เรียนรู้ ด้วยตนเอง รวม ๓ การบรหิ ารและการจดั การในสถานศกึ ษา (๓๑ ชั่วโมง) ๒๔ ๓.๑ การขับเคลื่อนนโยบายและวางแผนกลยทุ ธใ์ นสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ๓ ๓.๒ การบริหารจัดการทรัพยากรอาชีวศกึ ษาในสถานศึกษา ๖ ๓.๓ การบรหิ ารจัดการสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาโดยใช้หลักธรรมาภบิ าล ๒ ๓.๔ การนอ้ มนาศาสตร์พระราชาสกู่ ารพัฒนาอาชีวศกึ ษาอย่างยั่งยืน ๒ ๓.๕ ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ๓ ๓.๖ การบรหิ ารจัดการระบบภาคเี ครอื ข่ายอาชวี ศึกษา ๓ ๓.๗ กฎหมายและระเบยี บท่ีเก่ียวขอ้ งกับการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๓ ๓.๘ การบรหิ ารจัดการอาชีวศกึ ษานาการเปล่ียนแปลง ๓ ๓.๙ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาสู่ความเปน็ เลศิ ๓ ๓.๑๐ การบรหิ ารความเส่ยี งในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ๓ รวม ๓๑ ศกึ ษาดงู านโดยบูรณาการความรู้ทงั้ ๓ หมวด ๗ ๗๗ รวมท้งั หมด ค่มู อื ผู้บริหารโครงการ วทิ ยากรพ่ีเลยี้ งและวทิ ยากร การพัฒนาก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๘ รายละเอยี ดหลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา หมวดที่ ๑ คณุ ลักษณะผู้อานวยการสถานศึกษาที่พึงประสงค์ (๑๕ ชั่วโมง) กรอบแนวคดิ ในการพฒั นา ผู้อานวยการสถานศึกษา ต้องมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ประกอบด้วย ความรัก ศรัทธา ภาคภูมิใจในศกั ดศ์ิ รีและเกยี รติภูมขิ องความเปน็ ผ้อู านวยการสถานศึกษาและความภาคภูมิใจในองค์กร มุ่งม่ันในการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ และวฒั นธรรมประชาธปิ ไตย ในการปฏบิ ตั ิงานโดยกระบวนการมีส่วนร่วม มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม ปฏิบัติตนในศาสนพิธี รัฐพิธีและพิธีการ ได้อย่าง ถูกตอ้ ง ประกอบดว้ ยหน่วยการเรยี นรู้ ดงั น้ี หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑.๑ อุดมการณ์ เกยี รติภมู ิและความภาคภูมิใจในองค์กร หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑.๒ การพัฒนาบุคลกิ ภาพและการสรา้ งสุนทรียภาพ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑.๓ การพัฒนาเทคนคิ การส่อื สาร หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๑.๔ วฒั นธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมประชาธปิ ไตยในสถานศึกษา หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑.๕ วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑.๖ ศาสนพธิ ี รฐั พิธแี ละพธิ กี าร วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีอุดมการณ์ รัก ศรัทธา ความภาคภูมิใจในศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิ ของความเปน็ ผู้อานวยการสถานศึกษาและความภาคภมู ิใจในองค์กร ๒. เพอื่ ให้ผู้เข้ารบั การพฒั นามีบุคลกิ ภาพการเป็นผู้บรหิ ารอาชวี ศกึ ษายุคใหม่ ๓. เพ่อื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนามเี ทคนิคการสื่อสารสู่การเป็นผ้บู ริหารอาชีวศึกษามืออาชพี ๔. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถสร้างวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมประชาธิปไตย ในสถานศกึ ษา ๕. เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนาสามารถสร้างวินยั รักษาวินยั คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในตนเอง ๖. เพื่อให้ผู้เข้ารบั การพฒั นาสามารถปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี รัฐพธิ ีและพธิ ีการได้อย่างถูกต้อง สมรรถนะท่ีคาดหวัง ๑. สามารถแสดงออกซ่ึงความเปน็ ผูม้ ีอดุ มการณ์ วสิ ัยทัศน์ บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสม ๒. สามารถปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี รัฐพิธีและพิธีการไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง มีคณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มุ่งมั่นในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งคุณภาพ เป็นท่ี ยอมรับของสังคมและชมุ ชน คมู่ ือผูบ้ ริหารโครงการ วิทยากรพเ่ี ลยี้ งและวทิ ยากร การพฒั นาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๙ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑.๑ อุดมการณ์ เกียรตภิ ูมิและความภาคภมู ใิ จในองคก์ ร (๒ ชั่วโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความตระหนักถึงคุณค่าและเกียรติภูมิของผู้อานวยการ สถานศกึ ษาและความภาคภูมิใจในองค์กร ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีแรงบันดาลใจ มีพลังเชิงบวก มีความมุ่งมั่นในการบริหาร สถานศึกษาอยา่ งมีเปา้ หมาย สมรรถนะท่ีคาดหวัง สามารถแสดงออกซ่ึงความเป็นผู้มีจิตวิญญาณของผู้อานวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษา มีอุดมการณ์ วิสัยทัศน์ มีความภาคภูมิใจในองค์กร มีความมุ่งม่ันในการบริหารจัดการสถานศึกษา มบี คุ ลกิ ภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสม สาระสาคัญ ๑. มีความตระหนักในตาแหน่งหน้าที่ มีความรัก ความศรัทธา มีจิตวิญญาณของผู้อานวยการ สถานศึกษาอาชีวศึกษา มีความภาคภูมิใจในองค์กร มีแรงบันดาลใจ มีความมุ่งม่ันและพลังเชิงบวกในการ บรหิ ารสถานศกึ ษา ๒. วางแผนการดาเนินงานอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ๓. การบรหิ ารจดั การเพอื่ ใหส้ ถานศึกษาบรรลุเป้าหมายตามอดุ มการณท์ ต่ี ั้งไว้ แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศึกษาค้นคว้าเพ่อื เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ ๓. ปฏบิ ัติกจิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรยี นรโู้ ดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผูเ้ ขา้ รบั การพัฒนาร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. สื่อสิง่ พมิ พ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ช้ินงานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื เรยี นรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. งานท่ีไดร้ บั มอบหมายจากวิทยากร การวดั และประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื เรียนรู้ด้วยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผูเ้ ข้ารบั การพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผูบ้ รหิ ารโครงการ วทิ ยากรพี่เลยี้ งและวทิ ยากร การพฒั นาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๑๐ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑.๒ การพฒั นาบุคลิกภาพและการสร้างสุนทรยี ภาพ (๒ ช่วั โมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาตระหนักถึงความสาคัญการพัฒนาบุคลิกภาพและการสร้าง สนุ ทรียภาพ ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถวิเคราะห์บุคลิกภาพของตนเองและรู้แนวทางการ พฒั นาตนเองได้ สมรรถนะทค่ี าดหวัง สามารถปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพเหมาะสมกับตาแหน่ง สอดคล้องกับสังคมไทยและ สงั คมโลก สาระสาคญั ๑. การพัฒนาบคุ ลิกภาพและการสรา้ งสนุ ทรียภาพ ทางกาย อารมณ์ สังคมและสตปิ ัญญา ๒. การวิเคราะห์บุคลิกภาพและการสร้างสุนทรียภาพที่เหมาะสมเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ตนเองใหเ้ ปน็ ผู้บรหิ ารอาชวี ศึกษายคุ ใหม่ แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศึกษาคน้ คว้าเพอ่ื เรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรยี นร้โู ดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผเู้ ข้ารับการพฒั นาร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สือ่ สงิ่ พมิ พ์ ๒. สือ่ เทคโนโลยี ช้นิ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากวิทยากร การวัดและประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพอื่ เรียนรู้ด้วยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการฝึกภาคปฏบิ ตั ิ คู่มือผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ลย้ี งและวิทยากร การพฒั นาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๑๑ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๑.๓ การพฒั นาเทคนิคการสื่อสาร (๓ ชัว่ โมง) วตั ถุประสงค์ เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารบั การพัฒนามีเทคนิคการสื่อสารสกู่ ารเป็นผบู้ ริหารอาชวี ศึกษามอื อาชีพ สมรรถนะทค่ี าดหวงั สามารถพฒั นาเทคนิคการส่ือสารด้านการฟัง พูด อ่านและเขยี นท่ีมปี ระสิทธิภาพ เหมาะสมกับบรบิ ทของสังคมไทยและสากล สาระสาคัญ ๑. เทคนิคการฟัง พูด อา่ น เขียน ท่ีเหมาะสม ๒. การพูดในโอกาสต่าง ๆ แนวทางการจดั กจิ กรรม ๑. ศกึ ษาคน้ คว้าเพอื่ เรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรยี นรูโ้ ดยกระบวนการกลมุ่ ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. ส่ือส่ิงพมิ พ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ช้นิ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นคว้าเพอ่ื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากวทิ ยากร การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ คว้าเพือ่ เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทศั น์ ๒. สังเกตพฤติกรรมผู้เข้ารับการพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงานและการฝึกปฏบิ ัติ คู่มอื ผู้บรหิ ารโครงการ วทิ ยากรพ่ีเลยี้ งและวิทยากร การพัฒนาก่อนแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๑๒ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๑.๔ วัฒนธรรมคณุ ภาพและวฒั นธรรมประชาธิปไตยในสถานศึกษา (๓ ช่ัวโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงวัฒนธรรมคุณภาพและ วฒั นธรรมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถพัฒนาบุคลากรและสถานศึกษาให้มีวัฒนธรรม คุณภาพและวฒั นธรรมประชาธิปไตย ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถสร้างทีมงานที่มีคุณภาพและพัฒนาการทางาน อยา่ งเป็นระบบ สมรรถนะที่คาดหวงั สามารถพัฒนารูปแบบและขับเคลื่อนวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมประชาธิปไตยใน สถานศึกษา สาระสาคัญ ๑. การสร้างทมี งานคณุ ภาพและการทางานอย่างเปน็ ระบบ ๒. การพฒั นาและขับเคลอ่ื นวฒั นธรรมคณุ ภาพและวัฒนธรรมประชาธิปไตยในสถานศึกษา แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. ศึกษาค้นคว้าเพอื่ เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ ๓. ปฏบิ ัติกิจกรรมรายบคุ คลหรอื รายกล่มุ และหรอื แลกเปลยี่ นเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผู้เข้ารับการพฒั นาร่วมกันสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ ๑. สอ่ื สง่ิ พมิ พ์ ๒. ส่อื เทคโนโลยี ๓. บคุ คลตัวอย่าง ผ้เู ช่ยี วชาญ ช้นิ งานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นควา้ เพอ่ื เรียนรู้ด้วยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานทไี่ ด้รับมอบหมายจากวทิ ยากร การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพอ่ื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. สังเกตพฤติกรรมผู้เขา้ รับการพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คมู่ ือผู้บริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ลยี้ งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๑๓ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑.๕ วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี (๓ ชั่วโมง) วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถปฏิบตั ิตนตามระเบยี บวินัยและข้อตกลงของสถานศึกษา ๒. เพื่อใหผ้ ้เู ข้ารับการพฒั นาสามารถปฏบิ ัติตนตามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมของ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้อานวยการ สถานศึกษา สมรรถนะที่คาดหวัง สามารถสดงออกซ่งึ ความเปน็ ผมู้ ีวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี สาระสาคัญ ๑. วินัยและการรักษาวินัยในการดารงตน การปฏิบัติงานในหน้าที่และการปฏิบัติต่อ ผูร้ ่วมงานในสถานศึกษา ๒. แนวทางในการนาคณุ ธรรม จริยธรรมไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั และในการบริหาร สถานศึกษา ๓. การรักษาและปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้อานวยการสถานศึกษา แนวทางการจดั กจิ กรรม ๑. ศกึ ษาค้นคว้าเพ่ือเรยี นรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผเู้ ข้ารบั การพฒั นาร่วมกันสรุปองคค์ วามรู้ สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. ส่ือสิง่ พิมพ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ช้นิ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพ่อื เรียนรู้ด้วยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. งานท่ไี ด้รบั มอบหมายจากวิทยากร การวัดและประเมนิ ผล ๑. ประเมินเอกสารสรปุ ผลการศึกษาคน้ ควา้ เพ่อื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน ค่มู ือผู้บรหิ ารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวทิ ยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๑๔ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑.๖ ศาสนพธิ ี รัฐพิธแี ละพธิ กี าร (๒ ชั่วโมง) วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การพัฒนามีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการจัดศาสนพิธี รัฐพิธีและพธิ กี าร ๒. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การพัฒนาสามารถเป็นผู้นาและประกอบการจัดศาสนพิธี รัฐพิธีและพิธีการ ตามระเบยี บประเพณแี ละวฒั นธรรมไดอ้ ย่างถูกต้อง สมรรถนะที่คาดหวงั สามารถดาเนนิ การตามขัน้ ตอนและแนวปฏบิ ตั ิในศาสนพธิ ี รฐั พธิ แี ละพธิ ีการ สาระสาคญั ขัน้ ตอนและแนวปฏบิ ัติเกี่ยวกับศาสนพิธี รฐั พิธีและพธิ กี าร แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. ศึกษาคน้ ควา้ เพื่อเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วิทยากรให้ความรู้ ๓. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรโู้ ดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผเู้ ขา้ รับการพัฒนาร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. สื่อสงิ่ พมิ พ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ๓. เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ชิน้ งานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรปุ ผลการศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากวิทยากร การวดั และประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพ่ือเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. สังเกตพฤติกรรมผ้เู ข้ารบั การพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงานและหรอื การฝกึ ปฏบิ ัติ ค่มู ือผู้บริหารโครงการ วิทยากรพเี่ ลยี้ งและวทิ ยากร การพฒั นาก่อนแตง่ ตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๑๕ หมวดที่ ๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการและวชิ าชีพ (๒๔ ชว่ั โมง) กรอบแนวคดิ ในการพัฒนา ภาวะผู้นาทางวชิ าการและวิชาชีพ มุ่งพัฒนาให้ผ้ผู ่านการพฒั นามีความรูค้ วามเขา้ ใจ ความ เป็นผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีภาวะ ผู้นาทางวิช าการและวิช าชีพ สามารถประยุกต์ปรัช ญาการศึกษาของช าติ ปรัช ญ า การอาชีวศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ในการพัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษา สามารถบริหารจัดการหลักสูตรอาชีวศึกษาและการจัดการเรียนรู้ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สามารถขับเคลื่อนสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างนวัตกรและผู้ประกอบการใหม่ในอาชีวศึกษา ส่งเสริมให้มีการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษา สามารถบริหารจัดการสถานศึกษา อาชีวศึกษาเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน สถานประกอบการด้านวิชาการและวิชาชีพ สามารถพัฒนาจูงใจให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทุ่มเทความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถใช้ภาษาอังกฤ ษ เพ่ือการส่ือสารและเร่ืองอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ปฏิบัติงานด้านการบริหารสถานศึกษาเกิด ประสทิ ธภิ าพ ประกอบด้วยหนว่ ยการเรียนรู้ ดงั น้ี หน่วยเรยี นรู้ท่ี ๒.๑ การประยกุ ตป์ รชั ญาการศึกษาของชาติ ปรัชญาการอาชวี ศึกษา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และแนวทางการจดั การเรยี นรู้ สกู่ ารปฏบิ ตั ิในการพฒั นาคุณภาพการอาชวี ศึกษา หนว่ ยเรยี นรทู้ ี่ ๒.๒ ภาวะผู้นาทางวิชาการและวชิ าชีพ หน่วยเรยี นรู้ท่ี ๒.๓ การบรหิ ารจดั การหลักสูตรฐานสมรรถนะและการจดั การเรยี นรู้ สกู่ ารปฏบิ ตั ิทเ่ี นน้ ความถนัดของผเู้ รียนเปน็ สาคญั ตามกรอบคุณวุฒิ อาชีวศกึ ษาแหง่ ชาติ หนว่ ยเรียนร้ทู ่ี ๒.๔ การขับเคลือ่ นสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้เป็นองค์การแหง่ การเรียนรู้ ด้วยระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัล หนว่ ยเรยี นร้ทู ่ี ๒.๕ การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสร้างนวัตกรและผู้ประกอบการใหม่ ในอาชวี ศึกษา หนว่ ยเรียนรู้ท่ี ๒.๖ การสง่ เสริมให้มกี ารวิจัยเพอ่ื พัฒนาองคก์ ารและนวตั กรรม ด้านอาชีวศึกษา หน่วยเรียนรทู้ ี่ ๒.๗ การสรา้ งความเขม้ แขง็ เครือข่ายความร่วมมอื กบั ชมุ ชน สถานประกอบการ ดา้ นวชิ าการและวิชาชพี หนว่ ยเรยี นรทู้ ี่ ๒.๘ การพฒั นาและการสรา้ งแรงจงู ใจให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา อาชีวศึกษาปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล หน่วยเรยี นรทู้ ี่ ๒.๙ การสรา้ งความเป็นสากลดว้ ยภาษาองั กฤษ คมู่ ือผ้บู ริหารโครงการ วิทยากรพ่ีเลย้ี งและวิทยากร การพัฒนาก่อนแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๑๖ วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถประยุกต์ปรัชญาการศึกษาของชาติ ปรัชญาการ อาชีวศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ในการพัฒนา คุณภาพการอาชีวศกึ ษา ๒. เพอื่ ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพฒั นามีความตระหนักในความสาคัญของภาวะผู้นาทางวิชาการและ วชิ าชีพของตนเองและการส่งเสรมิ ให้ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีภาวะผนู้ าทางวชิ าการและวิชาชีพ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรอาชีวศึกษาและการจัด การเรียนรทู้ เ่ี น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั ๔. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถวางแผน ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างนวัตกรและ ผู้ประกอบการใหม่ในอาชีวศึกษาและสามารถสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมือกับ ชุมชน สถานประกอบการดา้ นวชิ าการและวิชาชีพ ๕. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถนากระบวนการวิจัยพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการการเรียนการสอน การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษา เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนประเมินความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ของตนเอง สมรรถนะท่คี าดหวงั ๑. มีภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพสอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาของชาติ ปรัชญา การอาชวี ศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่การพัฒนาคุณภาพ การอาชีวศึกษา สามารถบริหารการเปลี่ยนแปลง สร้างแรงจูงใจให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏิบัติงานนาไปสู่การพฒั นาคุณภาพการอาชวี ศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. บริหารจัดการหลักสูตรอาชีวศึกษาและการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้วยระบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษาให้เป็นองค์การ แห่งการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๓. สามารถส่งเสริมสนับสนุนการวิจัย สร้างนวัตกรและการเป็นผู้ประกอบการใหม่ ในอาชีวศึกษา ๔. สามารถสรา้ งความเขม้ แขง็ เครือขา่ ยความร่วมมือกับชุมชน สถานประกอบการด้านวิชาการ และวิชาชีพ ๕. มีทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารได้ คู่มอื ผบู้ ริหารโครงการ วทิ ยากรพ่เี ลยี้ งและวทิ ยากร การพฒั นากอ่ นแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศึกษา สอศ.

๑๗ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒.๑ การประยุกต์ปรัชญาการศกึ ษาของชาติ ปรัชญาการอาชีวศึกษา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการจดั การเรียนรู้ สู่การปฏิบัตใิ นการพัฒนาคณุ ภาพการอาชวี ศึกษา วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจปรัชญาการศึกษาของชาติ ปรัชญาการ อาชวี ศึกษา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการจัดการเรียนรสู้ ่กู ารปฏบิ ตั ิ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถประยุกต์ปรัชญาการศึกษาของชาติ ปรัชญาการ อาชีวศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติในการพัฒนา สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา สมรรถนะท่คี าดหวงั สามารถนาปรัชญาการศึกษาของชาติ ปรัชญาการอาชีวศึกษา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง แนวทางการจดั การเรียนรู้สกู่ ารปฏบิ ตั ิไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษา สาระสาคญั ๑. ปรชั ญาการศกึ ษาของชาติ ๒. ปรัชญาการอาชวี ศึกษา ๓. หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. แนวทางการจดั การเรยี นรู้สู่การปฏบิ ัติ แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. เรียนรูด้ ้วยตนเอง ๒. สรุปผลการเรียนรูด้ ้วยตนเองและเขยี นผังมโนทศั น์ ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. ส่ือสงิ่ พิมพ์ ๒. ส่ือเทคโนโลยี ช้นิ งานหรอื รายงาน เอกสารสรปุ ผลการศึกษาค้นคว้าเพือ่ เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ การวัดและประเมนิ ผล ประเมินเอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพ่ือเรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทัศน์ คมู่ อื ผ้บู รหิ ารโครงการ วิทยากรพ่เี ลย้ี งและวิทยากร การพัฒนาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๑๘ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒.๒ ภาวะผนู้ าทางวิชาการและวิชาชีพ (๓ ชั่วโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ผู้เข้ารบั การพฒั นามีความรเู้ ก่ยี วกับภาวะผู้นาทางวิชาการและวชิ าชพี ๒. เพอ่ื ให้ผู้เข้ารบั การพัฒนาสามารถนาความรู้ ภาวะผนู้ าทางวชิ าการและวิชาชีพ มาใช้ใน การพัฒนาตนเอง ๓. เพอื่ ใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนาสามารถส่งเสรมิ พฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในสถานศกึ ษาใหม้ ีภาวะผู้นาทางวิชาการและวชิ าชีพ สมรรถนะท่ีคาดหวัง มีภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถส่งเสริม พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาในสถานศึกษาให้มภี าวะผนู้ าทางวชิ าการและวชิ าชีพ สาระสาคัญ ๑. บทบาทผนู้ าทางวชิ าการและวิชาชพี ๒. ความเป็นผนู้ าทางวชิ าการและวชิ าชพี ๓. การประยุกต์ใชก้ ลยทุ ธ์ดา้ นการตลาด ๔. เทคนิคการสอื่ สารองค์กร ๕. รปู แบบการส่งเสริมใหข้ า้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีภาวะผู้นาทางวชิ าการ และวิชาชพี แนวทางการจัดกิจกรรม ๑. ศึกษาค้นคว้าเพอื่ เรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรียนร้โู ดยกระบวนการกลุม่ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผ้เู ข้ารับการพฒั นาร่วมกันสรุปองค์ความรู้ สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สือ่ สิ่งพิมพ์ ๒. ส่ือเทคโนโลยี ชิ้นงานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นควา้ เพือ่ เรยี นรู้ด้วยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากวทิ ยากร ค่มู อื ผ้บู รหิ ารโครงการ วทิ ยากรพีเ่ ลย้ี งและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๑๙ การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นควา้ เพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๒๐ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒.๓ การบรหิ ารจดั การหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการจดั การเรยี นรสู้ ูก่ าร ปฏบิ ัตทิ ่ีเน้นความถนดั ของผู้เรยี นเป็นสาคัญตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษา แห่งชาติ (๓ ช่ัวโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตรฐานสมรรถนะและจัดการ เรียนรู้ส่กู ารปฏบิ ตั ทิ ่ีเน้นความถนัดของผูเ้ รยี นเป็นสาคัญตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแหง่ ชาติ ๒. เพือ่ ใหผ้ เู้ ข้ารบั การพฒั นาสามารถบรหิ ารจัดการหลกั สตู รฐานสมรรถนะและการจัดการ เรยี นรูส้ ูก่ ารปฏบิ ัติท่เี นน้ ความถนัดของผู้เรยี นเปน็ สาคญั ตามกรอบคุณวุฒอิ าชีวศกึ ษาแห่งชาติ สมรรถนะทค่ี าดหวงั ๑. สามารถบรหิ ารจดั การหลกั สูตรฐานสมรรถนะและการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัตทิ ่ีเนน้ ความถนดั ของผู้เรียนเปน็ สาคัญตามกรอบคณุ วุฒอิ าชีวศกึ ษาแห่งชาติ ๒. สามารถสร้างรูปแบบจัดการเรียนรู้ส่กู ารปฏิบัติท่เี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ สาระสาคญั ๑. การบริหารจดั การหลักสูตรฐานสมรรถนะท่เี นน้ มาตรฐานอาชพี ๒. กรอบคณุ วุฒอิ าชีวศกึ ษาแห่งชาติ ๓. การจดั การเรียนรู้สกู่ ารปฏบิ ัติตามความถนัดของผเู้ รียน แนวทางการจัดกิจกรรม ๑. ศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ือเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผ้เู ข้ารบั การพัฒนารว่ มกันสรปุ องค์ความรู้ สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ ๒. สือ่ เทคโนโลยี ช้นิ งานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาคน้ ควา้ เพอื่ เรียนรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. งานท่ีไดร้ ับมอบหมายจากวิทยากร การวดั และประเมินผล ๑. ประเมินเอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผเู้ ขา้ รบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน ค่มู อื ผู้บรหิ ารโครงการ วิทยากรพีเ่ ลยี้ งและวทิ ยากร การพัฒนาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๒๑ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๒.๔ การขบั เคลื่อนสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาใหเ้ ปน็ องคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ ด้วยระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (๔ ช่ัวโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ สามารถจัดระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาอาชีวศึกษา ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถขับเคลื่อนสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่องค์การ แหง่ การเรียนรู้ด้วยระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล สมรรถนะท่คี าดหวัง ๑. สามารถจดั ระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอาชวี ศกึ ษา ๒. สามารถขับเคลือ่ นสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาให้เป็นองคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ดว้ ยระบบ เทคโนโลยดี ิจิทลั สาระสาคัญ ๑. องคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ดว้ ยระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั ๒. การประยุกต์ใชส้ ารสนเทศในระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือการบรหิ ารสถานศกึ ษา ๓. การขับเคลอ่ื นสถานศกึ ษาเป็นองคก์ ารแหง่ การเรยี นรูด้ ้วยระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื เรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบตั กิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผู้เขา้ รับการพัฒนาร่วมกนั สรปุ องคค์ วามรู้ สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. สอื่ สิง่ พมิ พ์ ๒. สอื่ เทคโนโลยี ช้ินงานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ คว้าเพอ่ื เรียนรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. งานท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากวทิ ยากร การวดั และประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นควา้ เพอ่ื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผเู้ ขา้ รับการพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มอื ผบู้ รหิ ารโครงการ วทิ ยากรพเี่ ลย้ี งและวทิ ยากร การพฒั นาก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๒๒ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒.๕ การสง่ เสริมสนบั สนุนการสร้างนวตั กรและผูป้ ระกอบการใหม่ ในอาชวี ศึกษา (๓ ชั่วโมง) วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจการสร้างนวัตกรและผู้ประกอบการใหม่ ในอาชวี ศกึ ษา ๒. เพอ่ื ให้ผู้เขา้ รับการพัฒนาสามารถส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งนวัตกรและผู้ประกอบการใหม่ ในอาชวี ศึกษา สมรรถนะทค่ี าดหวัง สามารถดาเนินการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างนวัตกร ผู้ประกอบการใหม่และขับเคล่ือน นวตั กรรมในวิชาชีพให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาอย่างยง่ั ยืน สาระสาคญั ๑. การสรา้ งนวัตกรรมและพัฒนาองคค์ วามรเู้ พื่อการพัฒนาอาชีพ ๒. การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การสร้างนวัตกรและผู้ประกอบการใหมใ่ นอาชีวศกึ ษา แนวทางการจัดกิจกรรม ๑. ศึกษาค้นควา้ เพื่อเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏิบตั กิ จิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรยี นรู้โดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผู้เขา้ รบั การพัฒนารว่ มกนั สรุปองค์ความรู้ ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สือ่ ส่งิ พิมพ์ ๒. สอื่ เทคโนโลยี ชิน้ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพื่อเรยี นรู้ด้วยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. งานทไ่ี ด้รับมอบหมายจากวิทยากร การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมินเอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพ่อื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คมู่ ือผู้บริหารโครงการ วิทยากรพีเ่ ลยี้ งและวิทยากร การพฒั นาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๒๓ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒.๖ การส่งเสรมิ ให้มกี ารวิจัยเพื่อพัฒนาองคก์ ารและนวัตกรรมด้านอาชีวศกึ ษา (๓ ช่ัวโมง) วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาตระหนักถึงความสาคัญในการนาการวิจัยมาใช้เพื่อพัฒนา องค์การ กระบวนการเรียนการสอนและพฒั นานวตั กรรมด้านอาชีวศึกษา ๒. เพือ่ ให้ผู้เขา้ รับการพัฒนาสามารถใชก้ ระบวนการวิจัยเพ่อื การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ๓. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถส่งเสริมสนับสนุนให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์การ กระบวนการเรยี นการสอนและสร้างนวตั กรรมอาชวี ศกึ ษาไทยแลนด์ ๔.๐ สมรรถนะท่ีคาดหวัง สามารถใช้กระบวนการวิจัยเพื่อการบริหารจัดการ ส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์การ กระบวนการเรียนการสอนและพฒั นานวตั กรรมด้านอาชวี ศกึ ษาไทยแลนด์ ๔.๐ สาระสาคญั ๑. กระบวนการวิจยั ทางการศึกษาเพอ่ื การบรหิ ารจดั การพฒั นาองค์การ ๒. กระบวนการเรียนการสอนและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาอาชีวศึกษาไทยแลนด์ ๔.๐ แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. วทิ ยากรให้ความรู้ ๒. ปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรูโ้ ดยกระบวนการกลมุ่ ๓. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผู้เข้ารับการพฒั นารว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรู้ สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. สื่อส่งิ พมิ พ์ ๒. ส่ือเทคโนโลยี ชิ้นงานหรือรายงาน งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากวทิ ยากร การวัดและประเมินผล ๑. สังเกตพฤติกรรมผเู้ ข้ารบั การพัฒนา ๒. ตรวจเอกสารรายงาน ๓. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มอื ผู้บริหารโครงการ วทิ ยากรพ่เี ลยี้ งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแต่งต้งั ให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๒๔ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒.๗ การสร้างความเข้มแขง็ เครอื ข่ายความร่วมมือกับชมุ ชน สถานประกอบการด้านวชิ าการและวชิ าชีพ (๓ ชั่วโมง) วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสาคัญของการ สรา้ งความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมอื กบั ชุมชนสถานประกอบการดา้ นวชิ าการและวชิ าชีพ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนารู้เทคนิควิธีการในการสร้างความเข้มแข็งเครือข่าย ความรว่ มมือทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมือ เพ่ือพัฒนา การเรยี นการสอน การสรา้ งคลังปัญญาข้อมลู สารสนเทศ รวมถึงการแลกเปล่ียนทรพั ยากรร่วมกัน สมรรถนะทคี่ าดหวัง รู้เทคนิค วิธีการและสามารถส่งเสริมสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความ ร่วมมือ นาไปสู่การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสู่การปฏิบัติ การสร้างคลังปัญญาและสารสนเทศ และแลกเปลีย่ นทรพั ยากรรว่ มกนั ในการพัฒนาการอาชวี ศึกษา สาระสาคัญ ๑. การสร้างความเขม้ แขง็ เครือข่ายความร่วมมือ ๒. รูปแบบความรว่ มมือเพ่ือพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา ๓. เทคนคิ วธิ กี ารในการสร้างความรว่ มมอื ๔. การสรา้ งคลงั ปญั ญาและสารสนเทศ ๕. การแลกเปลยี่ นทรพั ยากรรว่ มกันในการพฒั นาการอาชีวศึกษา แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. วิทยากรให้ความรู้ ๒. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมรายบคุ คลหรือรายกลุม่ และหรอื แลกเปล่ียนเรียนรโู้ ดยกระบวนการกลุม่ ๓. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผู้เขา้ รับการพฒั นาร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. สื่อส่งิ พมิ พ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ชน้ิ งานหรือรายงาน งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากวทิ ยากร การวัดและประเมินผล ๑. สังเกตพฤตกิ รรมผ้เู ข้ารับการพัฒนา ๒. ตรวจเอกสารรายงาน ๓. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผูบ้ ริหารโครงการ วิทยากรพีเ่ ลย้ี งและวิทยากร การพัฒนาก่อนแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๒๕ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒.๘ การพฒั นาและการสร้างแรงจูงใจใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษา อาชวี ศึกษาปฏบิ ัติงานใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล (๔ ชั่วโมง) วตั ถุประสงค์ ๑. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจ หลกั การพัฒนาและการสรา้ งแรงจงู ใจ ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนา มีแนวทางการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาอาชีวศึกษา มีความรักสามัคคี เกิดพลังบวก สานึกรักองค์กร ปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ สมรรถนะทคี่ าดหวงั สามารถวางแผนพัฒนา กาหนดทิศทางและมอบหมายงานให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา อาชีวศึกษา ปฏบิ ตั ิงานรว่ มกันได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล สาระสาคญั ๑. ทฤษฎี หลักการพัฒนาบุคคล หลักการสร้างแรงจูงใจ การมีส่วนร่วมและทางานเป็นทีม การมอบหมายหน้าทใี่ ห้ตรงกบั ความรู้ความสามารถ การสรา้ งขวัญและกาลังใจ ๒. การสรา้ งแรงบันดาลใจให้เกดิ พฤติกรรมเชิงบวก มคี วามรกั สามัคคี ๓. การเสริมแรงให้เกิดความก้าวหนา้ ในอาชพี แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. วทิ ยากรให้ความรู้ ๒. ปฏบิ ัติกิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรโู้ ดยกระบวนการกลุม่ ๓. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผ้เู ขา้ รบั การพฒั นาร่วมกนั สรปุ องค์ความรู้ สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. สอื่ สง่ิ พิมพ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ชิน้ งานหรือรายงาน ชนิ้ งานตามทวี่ ทิ ยากรมอบหมาย การวดั และประเมนิ ผล ๑. สงั เกตพฤตกิ รรมผูเ้ ขา้ รบั การพัฒนา ๒. ตรวจเอกสารรายงาน ๓. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คมู่ อื ผู้บรหิ ารโครงการ วทิ ยากรพเี่ ลย้ี งและวิทยากร การพฒั นาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๒๖ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒.๙ การสรา้ งความเป็นสากลด้วยภาษาอังกฤษ (๑ ชว่ั โมง) วตั ถุประสงค์ เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนามีทกั ษะการสอื่ สารด้วยภาษาองั กฤษ สมรรถนะทค่ี าดหวงั สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารในชีวิตประจาวันและพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษา ส่มู าตรฐานสากล สาระสาคญั ๑. ทักษะด้านการสือ่ สารในชวี ิตประจาวัน ๒. การใชภ้ าษาอังกฤษในการพัฒนาสถานศึกษาอาชวี ศึกษาสู่มาตรฐานสากล แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. แนะนาการเรียนรูด้ ้วยตนเอง ๒. ผู้เขา้ รบั การพัฒนาเข้ารบั การทดสอบและประเมนิ ตามระยะเวลาและเกณฑท์ ่ีกาหนด สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ ส่ือเทคโนโลยี ช้นิ งานหรือรายงาน รายงานผลการเรียนรู้ด้วยตนเองจากโปรแกรมสาเร็จรปู ทีศ่ ึกษา การวัดและประเมนิ ผล ประเมินผลโดยการทดสอบความรู้ด้านทักษะการสื่อสาร การฟัง พูด อ่าน เขียน ตามเกณฑ์และระยะเวลาท่กี าหนด คู่มอื ผู้บริหารโครงการ วิทยากรพเ่ี ลยี้ งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๒๗ หมวดท่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศกึ ษา (๓๑ ชวั่ โมง) กรอบแนวคิดในการพัฒนา การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา ประกอบด้วย ความสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ยุทธศาสตร์ ภารกิจของสถานศึกษาและบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้อานวยการ สถานศึกษา สามารถวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา สามารถตัดสินใจ บนพื้นฐานของข้อมูลและหลักการได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการสถานศึกษา สามารถบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาให้เกิดความคุ้มค่า สามารถบริหารจดั การระบบประกนั คณุ ภาพในสถานศกึ ษา สามารถส่งเสริมสนับสนุนให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาแสดงความสามารถในทางวิชาการ สามารถบริหารจัดการระบบภาคี เครือข่ายการพัฒนาสถานศึกษา สามารถนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล สามารถ วิเคราะห์กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าท่ีผู้อานวยการ สถานศกึ ษาและเร่อื งอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ประกอบดว้ ยหนว่ ยการเรียนรู้ ดงั น้ี หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓.๑ การขบั เคล่ือนนโยบายและวางแผนกลยทุ ธใ์ นสถานศึกษาอาชวี ศึกษา หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓.๒ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรอาชวี ศึกษาในสถานศึกษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓.๓ การบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษาโดยใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าล หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓.๔ การน้อมนาศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพัฒนาอาชีวศกึ ษาอย่างย่ังยนื หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓.๕ ระบบและกลไกในการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา อาชวี ศึกษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓.๖ การบริหารจดั การระบบภาคีเครือข่ายอาชวี ศกึ ษา หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๓.๗ กฎหมายและระเบยี บท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการบรหิ ารจัดการ สถานศึกษาอาชีวศึกษา หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๓.๘ การบรหิ ารจดั การอาชีวศึกษานาการเปล่ยี นแปลง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓.๙ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓.๑๐ การบรหิ ารความเสีย่ งในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รับการพัฒนามีความรู้ ความเขา้ ใจและสามารถขับเคลื่อนนโยบายและ วางแผนกลยทุ ธ์ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๒. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การพฒั นามคี วามรู้ ความเขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากร อาชีวศึกษาในสถานศกึ ษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล ๓. เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการพฒั นาสามารถประยุกต์ใช้หลกั ธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การ สถานศึกษาอาชวี ศึกษา ๔. เพอื่ ให้ผู้เข้ารับการพฒั นาสามารถนาศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาสถานศกึ ษา อาชีวศกึ ษาอยา่ งย่ังยืน ๕. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การพัฒนาสามารถจัดระบบและกลไกในการประกันคณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษาอาชีวศึกษา คูม่ ือผบู้ ริหารโครงการ วทิ ยากรพี่เลยี้ งและวิทยากร การพัฒนาก่อนแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา สอศ.

๒๘ ๖. เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนามคี วามรู้ ความเขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การระบบภาคี เครอื ข่ายอาชวี ศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๗. เพ่ือใหผ้ เู้ ข้ารับการพฒั นาสามารถนากฎหมายและระเบียบทีเ่ ก่ยี วข้องไปใช้ในการ บริหารจดั การสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ๘. เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ รับการพัฒนาสามารถบริหารจัดการอาชวี ศึกษาแนวใหม่เพื่อนา การเปลีย่ นแปลง ๙. เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รบั การพัฒนาสามารถบริหารจดั การสถานศึกษาสูค่ วามเปน็ เลิศตาม นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๑๐. เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การพฒั นาสามารถบรหิ ารความเส่ยี งในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ สมรรถนะท่ีคาดหวงั ๑. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ยุทธศาสตร์ ภารกิจของสถานศึกษาและ บทบาทหน้าท่ี ความรับผดิ ชอบของผอู้ านวยการและนาไปสู่การวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๒. สามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากรอาชวี ศึกษาให้เกิดความคุ้มค่า ตดั สนิ ใจบนพ้ืนฐานของ ข้อมูลและหลกั การไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม รวมถึงการนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ๓. สามารถประยกุ ต์ใช้หลกั ธรรมาภิบาลในการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา ๔. สามารถขับเคล่ือนศาสตร์พระราชาสกู่ ารบรหิ ารจัดการสถานศึกษาอาชวี ศึกษาอย่างยั่งยนื ๕. สามารถบรหิ ารจัดการระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาอาชีวศึกษา ๖. สามารถบริหารจดั การระบบภาคเี ครือข่ายการพฒั นาสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ๗. สามารถวิเคราะห์กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการท่ีเกี่ยวข้องกับ การปฏิบัตหิ นา้ ทผ่ี ู้อานวยการสถานศึกษา ๘. สามารถบริหารจดั การอาชีวศึกษาแนวใหม่เพ่อื นาการเปล่ยี นแปลง ๙. สามารถบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาสู่ความเปน็ เลิศ ๑๐. สามารถบรหิ ารความเสยี่ งในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา คู่มือผูบ้ รหิ ารโครงการ วิทยากรพเ่ี ลย้ี งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแต่งต้งั ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๒๙ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓.๑ การขับเคล่อื นนโยบายและวางแผนกลยุทธ์ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา (๓ ชั่วโมง) วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ยุทธศาสตรต์ ามบทบาทหนา้ ที่ ภารกจิ ของสถานศกึ ษาในความรับผิดชอบของผอู้ านวยการ ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับบริบทของ สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา สมรรถนะทีค่ าดหวงั สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ยุทธศาสตร์ ภารกิจของสถานศึกษาและบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อานวยการ และนาไปสู่การวางแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาได้ สาระสาคัญ ๑. นโยบายรฐั บาล ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ๒. แผนบริหารราชการแผ่นดิน วาระแห่งชาติ ๓. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ๔. แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๕. แผนพฒั นาการอาชีวศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ๖. แผนพฒั นาพ้นื ที่ระเบยี งเศรษฐกิจตะวนั ออก : EEC ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ ๗. วเิ คราะห์ สังเคราะห์ นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนพฒั นาทุกระดับมาวางแผน กลยุทธข์ องสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั การบรหิ ารงานสถานศึกษา แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ ๓. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรยี นร้โู ดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผเู้ ขา้ รับการพัฒนาร่วมกนั สรุปองคค์ วามรู้ สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สอ่ื สงิ่ พิมพ์ ๒. สอ่ื เทคโนโลยี ชิน้ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาคน้ คว้าเพอ่ื เรียนรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. งานท่ีไดร้ ับมอบหมายจากวทิ ยากร ค่มู อื ผบู้ รหิ ารโครงการ วิทยากรพเ่ี ลย้ี งและวทิ ยากร การพฒั นากอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๐ การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นควา้ เพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๓.๒ การบริหารจัดการทรัพยากรอาชีวศึกษาในสถานศึกษา (๖ ช่ัวโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหารทรัพยากรบุคคล งบประมาณ การเงิน บัญชแี ละพัสดุในสถานศึกษา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล และสารสนเทศในสถานศึกษา ๓. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนามคี วามรู้ ความเข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การเครื่องมือ อุปกรณ์ อาคารสถานท่ี หอ้ งเรยี นและหอ้ งปฏิบตั ิการได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๔. เพื่อให้ผ้เู ข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเขา้ ใจและสามารถนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรอาชวี ศกึ ษาในสถานศกึ ษา สมรรถนะที่คาดหวงั สามารถบริหารจัดการทรัพยากรอาชีวศึกษาให้เกิดความคุ้มค่าในการจัดการศึกษา ตดั สินใจบนพื้นฐานของข้อมูลและหลักการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมถึงการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินและรายงานผล การบริหารจดั การทรัพยากรอาชีวศึกษาในสถานศกึ ษา สาระสาคัญ ๑. การบริหารจัดการทรัพยากรในสถานศึกษาด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ การเงิน บัญชีและ พัสดุ ๒. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัลและสารสนเทศในการบริหารจัดการอาชวี ศึกษา การจัดการ เรียนการสอนและการพฒั นาห้องสมดุ ดจิ ิทัล ๓. การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมทางการศึกษาและการจดั การแหลง่ เรยี นรู้ แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. ศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบัตกิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรยี นรู้โดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผู้เข้ารบั การพฒั นาร่วมกันสรุปองคค์ วามรู้ ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ ๒. ส่อื เทคโนโลยี ชิ้นงานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรปุ ผลการศกึ ษาคน้ คว้าเพอื่ เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากวทิ ยากร การวัดและประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรปุ ผลการศึกษาคน้ วา้ เพ่ือเรียนรู้ดว้ ยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผเู้ ข้ารบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มอื ผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพ่ีเลยี้ งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓.๓ การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาโดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล (๒ ชั่วโมง) วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชีวศึกษาได้ สมรรถนะท่ีคาดหวัง สามารถประยุกต์ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา สาระสาคัญ ๑. การนาหลักธรรมาภบิ าลมาประยกุ ตใ์ ช้โดยเน้นการมสี ่วนรว่ ม ๒. กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คับและกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกับการปฏบิ ตั งิ าน ๓. พระราชบญั ญตั ิขอ้ มูลข่าวสาร การเปดิ เผยขอ้ มลู ๔. การใชท้ รัพยากรทม่ี ีจากัดใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ในการจัดการศกึ ษา แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ือเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏิบัติกจิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรียนรโู้ ดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผู้เข้ารบั การพัฒนารว่ มกันสรปุ องค์ความรู้ สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ ๒. สอ่ื เทคโนโลยี ช้ินงานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นควา้ เพื่อเรียนรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. งานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากวทิ ยากร การวัดและประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรปุ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพื่อเรียนรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สังเกตพฤติกรรมผ้เู ขา้ รบั การพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คมู่ อื ผ้บู ริหารโครงการ วทิ ยากรพเ่ี ลย้ี งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๓ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๓.๔ การนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอาชีวศกึ ษาอยา่ งยั่งยืน (๒ ชว่ั โมง) วตั ถุประสงค์ ๑. เพอื่ ให้ผ้เู ข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจในศาสตร์พระราชาและ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ และพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๑๐ ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาและหลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ และพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรชั กาลท่ี ๑๐ สู่การบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาอยา่ งยงั่ ยืน สมรรถนะท่ีคาดหวัง สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาและหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ และพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๑๐ สู่การบริหารจดั การสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาอยา่ งยั่งยนื สาระสาคญั ๑. ศาสตรพ์ ระราชาและหลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ๒. โครงการพระราชดาริฯ ส่กู ารบริหารจัดการสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาอย่างยัง่ ยืน ๓. พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ ๑๐ แนวทางการจัดกิจกรรม ๑. ศึกษาค้นควา้ เพอื่ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วิทยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบัตกิ จิ กรรมรายบคุ คลหรือรายกลมุ่ และหรอื แลกเปล่ยี นเรียนรโู้ ดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผู้เขา้ รับการพฒั นาร่วมกันสรปุ องค์ความรู้ สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ ๑. ส่อื สงิ่ พมิ พ์ ๒. ส่ือเทคโนโลยี ชนิ้ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นคว้าเพอ่ื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานท่ไี ด้รับมอบหมายจากวทิ ยากร การวดั และประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ คว้าเพือ่ เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สังเกตพฤติกรรมผเู้ ข้ารับการพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน ค่มู ือผู้บรหิ ารโครงการ วทิ ยากรพีเ่ ลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๔ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓.๕ ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา (๓ ชั่วโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพอื่ ให้ผูเ้ ขา้ รับการพัฒนามีความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับนโยบายการปฏริ ปู ระบบการ ประเมนิ และการประกันคณุ ภาพการศึกษา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถจัดวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา สมรรถนะท่ีคาดหวัง สามารถบรหิ ารจดั การระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา สาระสาคญั ๑. นโยบายการปฏิรปู ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๒. การจัดระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ๓. การจัดระบบบริหารจัดการและข้อมูลสารสนเทศ การพัฒนามาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ๔. การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดาเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษา การรายงาน คณุ ภาพการศกึ ษาประจาปีและการผดุงระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศึกษาคน้ ควา้ เพือ่ เรยี นรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบัติกจิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรโู้ ดยกระบวนการกล่มุ ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผเู้ ขา้ รับการพฒั นาร่วมกนั สรปุ องคค์ วามรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ส่ือสง่ิ พิมพ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ช้นิ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพอื่ เรียนรู้ด้วยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. งานท่ไี ด้รบั มอบหมายจากวทิ ยากร คมู่ อื ผู้บริหารโครงการ วิทยากรพ่ีเลย้ี งและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๕ การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นควา้ เพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๖ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓.๖ การบรหิ ารจดั การระบบภาคเี ครือขา่ ยอาชวี ศกึ ษา (๓ ช่ัวโมง) วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการระบบภาคี เครอื ข่ายอาชีวศกึ ษา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ สร้างภาคเี ครือข่ายอาชวี ศึกษา ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถระดมทรัพยากรจากภาคี เครอื ขา่ ยเพ่อื การพฒั นาสถานศึกษาอาชวี ศึกษา สมรรถนะที่คาดหวงั สามารถบริหารจัดการระบบภาคีเครือข่ายเพื่อพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ สาระสาคัญ ๑. การบริหารจัดการระบบภาคีเครือข่ายโดยอาศัยการสื่อสาร การสร้างความสัมพันธ์ การประสานประโยชน์ ๒. การสร้างแรงจูงใจและการเสริมสรา้ งขีดความสามารถ โดยเนน้ ความยดื หยุน่ ของ ระบบราชการ ๓. การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการสร้างภาคีเครอื ขา่ ย ๔. การระดมทรัพยากรจากภาคีเครือขา่ ยเพื่อพฒั นาสถานศึกษาอาชวี ศึกษา แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศกึ ษาค้นควา้ เพอื่ เรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วิทยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบัตกิ จิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรยี นรู้โดยกระบวนการกลุ่ม ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผ้เู ขา้ รบั การพัฒนารว่ มกนั สรุปองค์ความรู้ ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ ๑. สอ่ื สิง่ พิมพ์ ๒. สื่อเทคโนโลยี ชิ้นงานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื เรียนรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. งานท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากวทิ ยากร คมู่ อื ผู้บริหารโครงการ วทิ ยากรพเ่ี ลย้ี งและวทิ ยากร การพฒั นาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๗ การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นควา้ เพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๓๘ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓.๗ กฎหมายและระเบียบทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การบริหารจัดการสถานศึกษา อาชีวศึกษา (๓ ชว่ั โมง) วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวธิ ีการท่เี กีย่ วขอ้ งกับการปฏิบัติหน้าทผ่ี ู้อานวยการสถานศกึ ษา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถนากฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ เก่ยี วข้องไปใชใ้ นการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาได้อยา่ งถูกต้อง สมรรถนะทค่ี าดหวัง สามารถวิเคราะห์และนากฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการท่ีเก่ียวข้องกับการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ผูอ้ านวยการสถานศึกษาอาชวี ศึกษา ไปปฏิบัติไดอ้ ย่างถูกต้อง สาระสาคญั ๑. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพม่ิ เติม พ.ศ. ๒๕๔๕ และพ.ศ. ๒๕๕๓ ๒. พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๓. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม ๔. พระราชบญั ญตั ิการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ๕. ระเบยี บสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาว่าดว้ ยการบรหิ ารสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๖. ระเบยี บท่เี ก่ยี วข้องกบั การงบประมาณ การเงนิ บัญชีและพัสดุ แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศึกษาค้นคว้าเพ่ือเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วิทยากรใหค้ วามรู้ ๓. ปฏิบัตกิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยกระบวนการกลุม่ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผู้เขา้ รับการพัฒนาร่วมกนั สรุปองค์ความรู้ สอื่ และแหล่งการเรียนรู้ ๑. สือ่ สง่ิ พิมพ์ ๒. สอ่ื เทคโนโลยี ชน้ิ งานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรปุ ผลการศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากวิทยากร คมู่ อื ผบู้ ริหารโครงการ วทิ ยากรพเ่ี ลยี้ งและวทิ ยากร การพัฒนาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๓๙ การวดั และประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศึกษาค้นควา้ เพ่อื เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รบั การพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มือผบู้ ริหารโครงการ วิทยากรพี่เลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๔๐ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๓.๘ การบรหิ ารจัดการอาชีวศึกษานาการเปลย่ี นแปลง (๓ ชว่ั โมง) วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถสร้างรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา อาชีวศกึ ษาให้สอดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงไทยแลนด์ ๔.๐ ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถส่งเสริมสนับสนุน พัฒนา บคุ ลากรใหม้ สี มรรถนะการจัดการเรียนร้ทู ่ีสอดคล้องกับสาขาอาชีพตามนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจและสามารถส่งเสริมสนับสนุนการ พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะโดยเน้นความร่วมมือกับภาคประกอบการให้สอดคล้องกับการ เปล่ียนแปลงการพัฒนาประเทศตามนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ๔. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนา มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถส่งเสริมสนับสนุน การพัฒนาส่ือและเทคโนโลยกี ารจัดการเรยี นรู้ทีท่ ันสมยั สมรรถนะท่คี าดหวัง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถบริหารจัดการอาชวี ศึกษาแนวใหม่ในดา้ นการพัฒนาหลกั สูตร ให้สอดคล้องกบั ทิศทางการพัฒนาประเทศตามนโยบาย การพฒั นาสอ่ื และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ ท่ีทันสมัย การพฒั นาบุคลากรใหม้ สี มรรถนะการจัดการเรยี นรู้ทีส่ อดคลอ้ งกับสาขาอาชีพตามนโยบาย ไทยแลนด์ ๔.๐ สาระสาคัญ ๑. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศตาม นโยบายการปฏิรปู ประเทศ ๒. การพัฒนาสอื่ และเทคโนโลยีในการจดั การเรียนรทู้ ีท่ นั สมยั ๓. การพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีสมรรถนะการจัดการเรียนรทู้ ่สี อดคลอ้ งกบั สาขาอาชีพ แนวทางการจัดกจิ กรรม ๑. ศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วิทยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบัตกิ ิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรโู้ ดยกระบวนการกล่มุ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผู้เข้ารบั การพฒั นารว่ มกนั สรปุ องค์ความรู้ สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. ส่อื สิง่ พิมพ์ ๒. สอ่ื เทคโนโลยี ค่มู อื ผบู้ รหิ ารโครงการ วิทยากรพ่เี ลย้ี งและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๔๑ ช้ินงานหรอื รายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นคว้าเพ่อื เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. งานท่ีได้รับมอบหมายจากวิทยากร การวัดและประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาค้นควา้ เพอื่ เรียนรู้ดว้ ยตนเองและผงั มโนทศั น์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผู้เขา้ รับการพฒั นา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คู่มอื ผู้บรหิ ารโครงการ วิทยากรพเี่ ลยี้ งและวทิ ยากร การพฒั นาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๔๒ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓.๙ การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชวี ศึกษาส่คู วามเป็นเลศิ (๓ ชัว่ โมง) วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจการวางแผนกลยุทธ์บริหารจัดการ สถานศึกษาสูค่ วามเปน็ เลิศ ๒. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจในองค์ประกอบการพัฒนาสถานศึกษา เป็นเลิศเฉพาะทางดา้ นอาชีวศึกษา ๓. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนา สามารถคิด วิเคราะห์และวางแผนกลยุทธ์บริหารจัดการ สถานศกึ ษาสูค่ วามเป็นเลิศเฉพาะทางดา้ นอาชวี ศึกษา สมรรถนะท่ีคาดหวัง สามารถคิด วิเคราะห์ วางแผนกลยุทธ์และการบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะทางด้าน อาชวี ศึกษา สาระสาคญั ๑. การวางแผนกลยุทธ์ เทคนิคการวิเคราะห์ SWOT, TOWS Matrix การนาแนวคิด 7s McKinsey, Kaizen มาใชใ้ นการจดั ทาแผนกลยทุ ธ์บรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาสูค่ วามเปน็ เลิศ ๒. องค์ประกอบการพัฒนาสถานศึกษาเพื่อความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านอาชีวศึกษา นามาประยกุ ตใ์ ช้ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลิศ แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. ศึกษาค้นคว้าเพ่ือเรียนรู้ด้วยตนเอง ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ ๓. ปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยกระบวนการกลุม่ ๔. นาเสนอผลงาน วทิ ยากรและผเู้ ข้ารบั การพัฒนารว่ มกันสรุปองคค์ วามรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ส่อื สิ่งพิมพ์ ๒. สอื่ เทคโนโลยี ชนิ้ งานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ คว้าเพอื่ เรยี นรู้ด้วยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. งานท่ไี ด้รับมอบหมายจากวิทยากร การวดั และประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรุปผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพื่อเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและผังมโนทัศน์ ๒. สงั เกตพฤติกรรมผเู้ ขา้ รับการพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พจิ ารณาจากการนาเสนอผลงาน คมู่ อื ผู้บรหิ ารโครงการ วทิ ยากรพีเ่ ลยี้ งและวิทยากร การพัฒนากอ่ นแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๔๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓.๑๐ การบรหิ ารความเสยี่ งในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา (๓ ช่วั โมง) วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารความเสี่ยงภายใน สถานศกึ ษา ๒. เพอื่ ใหผ้ ู้เขา้ รบั การพัฒนาสามารถดาเนนิ การบริหารความเส่ียงภายในสถานศึกษาได้ ๓. เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนาสามารถประเมนิ และควบคุมความเส่ยี งภายในสถานศึกษาได้ สมรรถนะทค่ี าดหวัง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถบริหารความเส่ียงตามแผนท่ีกาหนด ดาเนินการ ประเมิน และควบคุมความเสีย่ งได้อย่างมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล เทคนคิ การบริหารสถานศึกษา อาชวี ศึกษาพน้ื ท่ีพเิ ศษหรอื การบริหารสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาในภาวะวิกฤตอ่นื ๆ สาระสาคัญ ๑. หลักการและแนวคิดของการบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงตามแผน ทกี่ าหนด การดาเนนิ การ การประเมินและควบคุมความเสยี่ ง ๒. การบริหารจัดการสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาในเขตพืน้ ที่พเิ ศษใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน แนวทางการจดั กิจกรรม ๑. ศึกษาคน้ ควา้ เพอ่ื เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๒. วทิ ยากรให้ความรู้ ๓. ปฏบิ ัติกจิ กรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มและหรือแลกเปลี่ยนเรยี นรโู้ ดยกระบวนการกลมุ่ ๔. นาเสนอผลงาน วิทยากรและผู้เข้ารับการพฒั นาร่วมกนั สรุปองคค์ วามรู้ ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. ส่ือส่งิ พิมพ์ ๒. สอื่ เทคโนโลยี ชิ้นงานหรือรายงาน ๑. เอกสารสรปุ ผลการศึกษาคน้ ควา้ เพอื่ เรยี นรู้ด้วยตนเองและผงั มโนทศั น์ ๒. งานท่ไี ด้รบั มอบหมายจากวิทยากร การวัดและประเมินผล ๑. ประเมนิ เอกสารสรปุ ผลการศึกษาคน้ คว้าเพ่ือเรยี นรู้ด้วยตนเองและผังมโนทศั น์ ๒. สังเกตพฤติกรรมผเู้ ขา้ รับการพัฒนา ๓. ตรวจเอกสารรายงาน ๔. พิจารณาจากการนาเสนอผลงาน คมู่ อื ผู้บริหารโครงการ วทิ ยากรพเี่ ลย้ี งและวิทยากร การพฒั นาก่อนแตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๔๔ การศึกษาดงู าน หลกั การ การพัฒนาสมรรถนะของผู้นาด้านการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีมีศักยภาพในการบริหารงานท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้บริหารสถานศึกษา ตอ้ งมีคุณลกั ษณะและทักษะท่ีโดดเดน่ สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าตามสถานการณ์ที่ อาจเกิดขึ้นในอนาคต ร้เู ท่าทันการเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ ตลอดจนสามารถเช่ือมโยงบูรณาการกับ ภารกิจและความรับผิดชอบ มีความรอบรู้ในการบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา มีวิสัยทัศน์ อุดมการณ์ คุณธรรมจรยิ ธรรมและยดึ หลักธรรมาภบิ าลในการปฏิบตั ิหน้าท่ี มคี วามรอบรู้ในการนาวิทยาการใหม่ ๆ และเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการบริหารสถานศึกษา เพ่ิมขีดความสามารถในการนาองค์กรสู่ระดับสากล ตลอดจนสร้างเครือข่ายพฒั นาการอาชีวศึกษา ดังน้ัน การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา ด้วยการศึกษาดูงานสามารถเปลี่ยนโลกทัศน์ผู้นาทางการศึกษา เสริมสร้าง ความรู้ ประสบการณ์และนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษาอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพ มากข้นึ วตั ถุประสงค์ ๑. เพื่อเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ในการบริหารจัดการขององค์กรที่ประสบ ผลสาเรจ็ ๒. เพื่อนาความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา อาชวี ศึกษาสู่ความเปน็ เลิศ ๓. เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพความเป็นเลิศด้านภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพของผู้เข้ารับ การพฒั นาทีน่ าการเปล่ยี นแปลงสคู่ วามเป็นสากล คูม่ ือผู้บรหิ ารโครงการ วทิ ยากรพ่ีเลยี้ งและวทิ ยากร การพฒั นากอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ.

๔๕ บทบาทหน่วยงานและบุคลากรท่เี กย่ี วขอ้ ง การพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศึกษาของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยสานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา และสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการพัฒนา เพื่อให้การพัฒนาบรรลุตามวัตถุประสงค์ ของหลักสูตรและดาเนินการไปด้วยความเรียบร้อยจึงกาหนดบทบาทของหน่วยงานและบุคลากร ที่เก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี บทบาทสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ๑. คัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่จะให้เข้ารับการพัฒนาก่อนบรรจุและ แตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศกึ ษา ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ.กาหนด ๒. ร่วมกับสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ในการจัดทาแผนงาน โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและประชุมเพ่ือทาความเข้าใจในบทบาท หนา้ ทแี่ ละภารกิจท่ีรับผดิ ชอบ ๓. จดั สรรงบประมาณใหเ้ พียงพอต่อการดาเนนิ การพฒั นา ๔. อนมุ ตั ิโครงการและแต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งผู้อานวยการสถานศึกษา ๕. คดั เลอื กวทิ ยากรพ่ีเลยี้ งจากผู้ท่ีประสบความสาเร็จในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา ๖. กากับและติดตามการดาเนินการพัฒนาต้ังแต่ก่อนการพัฒนา ระหว่างการพัฒนาและ หลังการพฒั นา ๗. รายงานผลการดาเนินการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้ ดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ให้ ก.ค.ศ.ทราบ บทบาทผบู้ ริหารโครงการ กอ่ นการพัฒนา ๑. รับมอบนโยบายในการดาเนนิ การพัฒนาจากสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๒. ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อเตรียมการบริหารโครงการ เช่น รายชื่อผู้สอบผ่านการ คดั เลอื ก วนั เวลาและสถานท่ที ่ดี าเนนิ การพัฒนา เปน็ ตน้ ๓. ขออนุมัติดาเนินการจัดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อน แต่งตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๔. ทาหนังสือแจ้งรายช่ือ ตาแหน่ง สังกัด ผู้มีสิทธิเข้ารับการพัฒนาพร้อมกาหนดการพัฒนา ใหก้ ับสถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาทราบ เพอื่ ร่วมดาเนนิ การพัฒนา ค่มู ือผู้บรหิ ารโครงการ วิทยากรพีเ่ ลย้ี งและวทิ ยากร การพัฒนาก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งผ้อู านวยการสถานศกึ ษา สอศ.

๔๖ ๕. ประชุมผู้ที่เก่ียวข้องประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูง วิทยากรพี่เลี้ยง ผู้บริหารโครงการจาก สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและสานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากร อาชีวศึกษา เพ่ือสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลและ กาหนดรายละเอียดต่างๆ ในการดาเนินงาน เช่น ตารางการพัฒนา การสรรหาวิทยากรแต่ละหน่วยการ เรยี นรู้ แหลง่ ศึกษาดูงาน เป็นตน้ ๖. ทาหนังสือแจ้งต้นสังกัดของผู้มีสิทธิเข้ารับการพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมในการศึกษา คน้ คว้าเพอ่ื เรียนร้ดู ้วยตนเองกอ่ นเขา้ รบั การพฒั นาและเดนิ ทางไปรับการพัฒนาตามทโ่ี ครงการกาหนด ๗. ดาเนินการยืมเงินทดลองราชการเพ่ือใช้ในการดาเนินการพัฒนาให้เป็นไปตามที่หลักสูตร กาหนด ๘. ติดต่อประสานวิทยากร วิทยากรพี่เลี้ยง คณะกรรมการดาเนินการจากทุกหน่วยงาน ที่เกยี่ วขอ้ งและสถานที่ศกึ ษาดูงาน ๙. จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ คากล่าวพิธีเปิดและพิธีปิด รายชื่อผู้เข้ารับการ พัฒนา ทะเบียนประวัติผเู้ ข้ารับการพฒั นา เอกสารประกอบการบรรยายของวิทยากร ตารางการพัฒนา ป้ายช่ือผู้เข้ารับการพัฒนา ป้ายชื่อโครงการ วัสดุอุปกรณ์ประกอบการพัฒนา ยาสามัญประจาบ้านและ อื่นๆ ๑๐. ประสานงานเรื่องส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น ที่พัก ห้องประชุม ห้องประชุมกลุ่มย่อย อาหาร เครือ่ งด่มื อุปกรณโ์ สตทัศนูปกรณ์ เปน็ ตน้ ระหวา่ งการพฒั นา ๑. รับลงทะเบียน ลงเวลาในแตล่ ะวนั ๒. ปฐมนิเทศผู้เข้ารับการพัฒนาโดยการกล่าวต้อนรับ แนะนาคณะวิทยากรพ่ีเล้ียง ผู้บริหาร โครงการ ช้แี จงหลักสูตรการปฏิบตั ติ นระหวา่ งการพฒั นา ๓. ดาเนินการบริหารโครงการตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของการพฒั นา ๔. จัดทาแบบวดั และประเมินผลผเู้ ขา้ รบั การพัฒนา รวมท้งั แบบประเมินโครงการ ๕. ประชุมร่วมกับคณะวิทยากรพี่เลี้ยงและผู้ประสานงานจากส่วนราชการ เรื่องการดาเนิน การพัฒนา การประเมินผล การตรวจให้คะแนนช้ินงาน การกาหนดส่งงาน การศึกษาดูงานและอื่น ๆ ตลอดการพฒั นา ๖. อานวยความสะดวกแก่วิทยากรทีม่ าใหค้ วามรแู้ ก่ผเู้ ขา้ รับการพฒั นา ๗. จัดทาข้อมลู พน้ื ฐานของผูเ้ ขา้ รับการพัฒนาและวทิ ยากรพีเ่ ลยี้ ง ๘. ดาเนินการเกี่ยวกับการไปศึกษาดูงานตามหลักสูตร เช่น กาหนดการ ประเด็นการศึกษา ดงู าน การเช่ารถยนต์และการเตรยี มของทร่ี ะลกึ เปน็ ตน้ ๙. รว่ มดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผลการพฒั นาให้ดาเนินไปดว้ ยความเรียบร้อย ๑๐. ดาเนินการทดสอบหลังการพฒั นา ๑๑. ประสานกับบคุ คลทีเ่ กีย่ วขอ้ งในการจัดทาวฒุ บิ ตั ร เกียรติบัตรและเขม็ วิทยฐานะ คูม่ อื ผู้บริหารโครงการ วิทยากรพีเ่ ลยี้ งและวิทยากร การพฒั นาก่อนแต่งตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา สอศ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook