3 เดือน 28 9 เดือน 12 เดอื น แพทยแ์ ผนไทยฯ กรม แผนไทยฯ กรมการแพทย์ 6 เดือน กรม สบส.) สุขภาพจติ , กรม สบส.) 5. ผปู้ ่วยทัง้ หมดทีไ่ ด้รบั 4. ผู้ป่วยท่มี กี ารวินิจฉยั การรกั ษาด้วยยากญั ชา ระยะประคับประคอง ทางการแพทย์ เพ่มิ ขึ้น (Palliative care) ท่ีได้รบั ร้อยละ 3 การรักษาด้วยยากัญชาทาง การแพทย์ รอ้ ยละ 5 5. ผู้ป่วยทั้งหมดทไี่ ด้รับการ รักษาด้วยยากัญชาทาง การแพทย์ เพ่ิมข้นึ ร้อยละ 5 1. สำหรับรพ.สงั กัดสำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ A1 = จำนวนคลนิ ิกกัญชาทางการแพทยท์ เี่ ปิดใหบ้ รกิ ารในโรงพยาบาลสังกดั สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสขุ B1 = จำนวนโรงพยาบาลสงั กดั สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 2. สำหรับรพ.สงั กดั กรมวิชาการ A2 = จำนวนคลินิกกัญชาทางการแพทยท์ ี่เปิดให้บรกิ ารในโรงพยาบาลสงั กดั กรมวิชาการ B2 = จำนวนโรงพยาบาลสงั กัดกรมวิชาการท่เี ป็นกลุ่มเปา้ หมาย (กรมสุขภาพจิต,กรมการแพทย์, กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก รวม 32 แห่ง) 3. สำหรบั สถานพยาบาลเอกชน A3 = จำนวนเขตสุขภาพท่ีเปิดใหบ้ รกิ ารคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทย์ในสถานพยาบาลเอกชน (12 เขต) B3 = จำนวนเขตสขุ ภาพ 4. ร้อยละของผ้ปู ่วยทมี่ กี ารวินิจฉยั ระยะประคบั ประคอง (Palliative care) ทีไ่ ดร้ บั การรักษาด้วยยา กัญชาทางการแพทย์ A4 = จำนวนผูป้ ว่ ยทีม่ กี ารวินจิ ฉยั ระยะประคับประคอง (Palliative care) ทไ่ี ด้รับการรกั ษาด้วยยากัญชาทาง การแพทย์ B4 = จำนวนผู้ปว่ ยท่มี กี ารวินจิ ฉัยระยะประคบั ประคอง (Palliative care) 5. ร้อยละของผปู้ ่วยทัง้ หมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากญั ชาทางการแพทย์ A5 = จำนวนผปู้ ว่ ยทงั้ หมดทไ่ี ดร้ ับการรักษาด้วยยากญั ชาทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2565 B5 = จำนวนผปู้ ว่ ยทั้งหมดทไี่ ด้รับการรักษาดว้ ยยากญั ชาทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2564 แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
29 • หน่วยงานที่รับผิดชอบ: กองบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, สถาบนั กญั ชาทางการแพทย์ สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ผู้ประสานงานตวั ชี้วัด ตำแหนง่ /หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเด็นท่ี ช่อื -สกุล ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสถาบนั e-mail address รบั ผดิ ชอบ ๑. นายแพทยกติ ติ โลสวุ รรณ กัญชาทางการแพทย รักษ์ สำนัก/กอง..สถาบนั กญั ชาทาง โทรศพั ททที่ ํางาน : ๐-๒๕๘๐-๑๕๐๑ กัญชาทาง การแพทย.์ ๒. นายแพทย์กรกฤช ลม้ิ ตำแหนง่ ผู้อาํ นวยการกอง โทรศพั ทมือถือ : ๐๘๑-๘๗๖-๙๙๐๕ การแพทย์ สมมตุ ิ บรหิ ารการสาธารณสขุ กองบริหารการสาธารณสุข โทรสาร : E-mail : 3. นางกนกพร ชนะคา้ สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสขุ [email protected] 4. ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการ สถาบนั กัญชาทางการแพทย์ โทรศัพทท่ีทาํ งาน :๐-๒๕๘๐-๑๖๓๗ กญั ชาทาง 5. แพทยห์ ญงิ ปัจฉมิ า หลอม สถาบนั กัญชาทางการแพทย์ ประโคน สำนักงานปลดั กระทรวง โทรศพั ทมอื ถอื : การแพทย์ สาธารณสขุ ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการ โทรสาร : ๐-๒๕๘๐-๑๖๔๘ สถาบันกัญชาทางการแพทย์ สถาบนั กัญชาทางการแพทย์ โทรศพั ท์ทท่ี ำงาน : 02-590-1501 กญั ชาทาง สำนักงานปลัดกระทรวง โทรศัพท์มอื ถือ : 065-351-4429 การแพทย์ สาธารณสขุ e-mail : [email protected] ตำแหนง่ รองผู้อำนวยการ สถาบนั กญั ชาทางการแพทย์ โทรศัพทท์ ีท่ ำงาน 02-590-1501.. กัญชาทาง สถาบันกัญชาทางการแพทย์ โทรศัพทม์ อื ถือ : 087-247-6333 การแพทย์ สำนักงานปลดั กระทรวง e-mail : สาธารณสขุ [email protected] โทรศพั ทท์ ี่ทำงาน 02-590-1501.. กญั ชาทาง โทรศพั ท์มอื ถือ : 089-423-0222 การแพทย์ e-mail : [email protected] หนวยงานประมวลผลและจัดทําขอมลู (ระดบั สวนกลาง) ชอ่ื -สกลุ ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเด็นท่ีรับผดิ ชอบ กัญชาทางการแพทย์ e-mail address กญั ชาทางการแพทย์ 1. นางเกวลิน ช่ืนเจรญิ สขุ ตำแหน่ง รองผอู าํ นวยการ โทรศพั ทท่ที าํ งาน :๐-๒๕๘๐-๑๖๓๗ กองบรหิ ารการสาธารณสขุ โทรสาร : ๐-๒๕๘๐-๑๖๔๘ กองบริหารการสาธารณสขุ สํานกั งานปลดั กระทรวง สาธารณสุข 2. นางอรสา เขม็ ปญญา ตำแหนง่ นักวชิ าการ โทรศัพททท่ี ํางาน :๐-๒๕๘๐-๑๕๔๒ สาธารณสุขชํานาญการ โทรสาร : ๐-๒๕๘๐-๑๕๔๓ พเิ ศษ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
30 ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ทีร่ ับผดิ ชอบ e-mail address กองบรหิ ารการสาธารณสขุ สาํ นักงานปลดั กระทรวง สาธารณสขุ ผูร้ ับผดิ ชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ช่ือ-สกลุ ตำแหนง่ /หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์/ ประเด็นทร่ี ับผดิ ชอบ e-mail address กัญชาทางการแพทย์ 1. นางยุภา คงกลิ่นสุคนธ ตำแหนง่ นักวิชาการ โทรศพั ททท่ี ํางาน :๐-๒๕๘๐-๑๖๓๗ สาธารณสขุ ชํานาญการ โทรสาร : ๐-๒๕๘๐-๑๖๔๘ กัญชาทางการแพทย์ 2. นางสาวแสงเดือน ยา พเิ ศษ กัญชาทางการแพทย์ สมทุ ร กองบรหิ ารการสาธารณสุข โทรศพั ทที่ทาํ งาน :๐-๒๕๘๐-๑๖๓๗ กญั ชาทางการแพทย์ สํานกั งานปลัดกระทรวง โทรสาร : ๐-๒๕๘๐-๑๖๔๘ กญั ชาทางการแพทย์ 3. เรืออากาศเอกนาย สาธารณสขุ กัญชาทางการแพทย์ แพทยสมชาย ธนะสทิ ธิชัย โทรศพั ททท่ี ํางาน : ๐-๒๕๙๐-๖๒๔๕ กัญชาทางการแพทย์ ตำแหน่ง นักวชิ าการ โทรศัพทมอื ถอื : ๐๘๑-๘๙๗-๗๙๐๐ 4. นายแพทยบรุ ินทร สาธารณสขุ ชาํ นาญการ โทรสาร : ๐-๒๙๖๕-๙๘๔๔ E-mail : สุรอรณุ สมั ฤทธิ์ กองบริหารการสาธารณสุข [email protected] สาํ นักงานปลดั กระทรวง โทรศพั ทที่ทํางาน : ๐-๒๕๙๐-๘๒๐๗ สาธารณสขุ โทรศัพทมือถือ : ๐๘๙-๖๖๖-๗๕๕๓ โทรสาร : ๐-๒๑๔๙-๕๕๓๓ Email : ผู้อาํ นวยการสถาบันวจิ ยั [email protected] และประเมินเทคโนโลยี โทรศพั ททท่ี าํ งาน : ๐-๒๕๘๐-๑๕๐๑ ทางการแพทย โทรศพั ทมือถือ : ๐85-136-1639 กรมการแพทย E-mail : [email protected] ผู้อํานวยการกองบรหิ าร โทรศพั ททีท่ าํ งาน : ๐-๒๕๘๐-๑๕๐๑ ระบบบริการสุขภาพจิต โทรศพั ทมือถอื : ๐92-361-9929 กรมสขุ ภาพจิต E-mail : [email protected] 5. ภญ.สชุ รี า วีระดนยั วงศ์ ตำแหนง่ เภสัชกร โทรศพั ทมือถอื : 063-203-8957 5. ภญ.ชลธชิ า จงึ ม่นั คง ชำนาญการ E-mail : [email protected] 6. นางมาลา สรอ้ ยสำโรง สถาบันกัญชาทางการแพทย์ สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ตำแหนง่ เภสชั กร ชำนาญการ สถาบันกญั ชาทางการแพทย์ สำนกั งานปลัดกระทรวง สาธารณสขุ ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ สำนกั งานจดั การกญั ชาและ กระท่อมทางการแพทยแ์ ผน ไทย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
31 ชอื่ -สกลุ ตำแหน่ง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์/ ประเด็นท่รี บั ผิดชอบ 7. นางสาวอรปภา จนั ทร์ e-mail address กญั ชาทางการแพทย์ หอม ตำแหนง่ เภสัชกรปฏิบัตกิ าร โทรศัพทมือถอื : 092-249-8331 สำนกั งานจัดการกญั ชาและ E-mail : กญั ชาทางการแพทย์ 8. นางวีณา บุญแสง กระท่อมทางการแพทยแ์ ผน [email protected] กัญชาทางการแพทย์ ไทย 9. นางสาวพนิดา สีนาเวช ตำแหนง่ นักวิชาการ โทรศัพทที่ทํางาน : 02-590-8589 สาธารณสุขชํานาญการ โทรศพั ทมือถอื : 081-956-5013 กรมสขุ ภาพจิต E-mail : [email protected] ตำแหน่ง นักวิชาการ โทรศพั ทที่ทาํ งาน : 02-590-8576 สาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ โทรศัพทมอื ถอื : 088-499-7055 กรมสขุ ภาพจติ E-mail : [email protected] แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
แบบฟอรม์ สรปุ ผลการตรวจราชการภา3พ2รวมประเทศ (รายประเดน็ ) ที่ 1-6) รายงานผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2565 ประเด็นท่ี 2 กญั ชาทางการแพทย์ 1. ประเด็นตรวจราชการ : กัญชาทางการแพทย์ 2. หวั ข้อ : กัญชาทางการแพทย์ 3. หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ (กรม/กอง/ศูนย์วิชาการ) หน่วยงานผรู้ บั ผิดชอบหลัก……………………………………………………………………………………………………………. หน่วยงานผู้รับผิดชอบรว่ ม……………………………………………………………………………………………………………. 4. วิเคราะหส์ ถานการณ์……………………………………………………………………. 4.1 ร้อยละโรงพยาบาลสงั กัดสำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุขท่มี กี ารจัดบริการคลินกิ กัญชาทาง การแพทย์ จังหวัด จำนวนโรงพยาบาลสังกัด จำนวนโรงพยาบาลสงั กดั ร้อยละ สำนกั งานปลัดกระทรวง สำนกั งานปลดั กระทรวง สาธารณสขุ (แห่ง) สาธารณสุขท่มี กี ารจัดบรกิ าร คลนิ กิ กัญชาทางการแพทย์ (แห่ง) 4.2 รอ้ ยละโรงพยาบาลสงั กัดสำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ทีม่ กี ารจัดบริการคลินกิ กัญชาทาง การแพทย์ จงั หวัด จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกรม จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกรม รอ้ ยละ วิชาการ กระทรวงสาธารณสุข วชิ าการ กระทรวงสาธารณสุขที่ (แหง่ ) มีการจัดบริการคลินกิ กัญชาทาง การแพทย์ (แห่ง) 4.3 จำนวนสถานพยาบาลเอกชนที่มีการจดั บริการคลนิ ิกกัญชาทางการแพทย์ จังหวดั จำนวนสถานพยาบาลเอกชน (แห่ง) แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
33 4.4 รอ้ ยละของผปู้ ่วยที่มีการวนิ ิจฉัยระยะประคบั ประคอง (Palliative care) ท่ไี ดร้ บั การรักษาด้วยยา กญั ชาทางการแพทย์ จังหวัด จำนวนผ้ปู ว่ ยท่มี ีการ จำนวนผ้ปู ว่ ยที่มีการ ร้อยละของผปู้ ่วยท่มี ี วินจิ ฉัยระยะ วนิ ิจฉัยระยะ การวนิ ิจฉัยระยะ ประคับประคอง ประคบั ประคอง ประคับประคอง (Palliative care) ที่ (Palliative care) (คน) (Palliative care) ที่ ได้รับการรกั ษาด้วยยา ไดร้ ับการรักษาดว้ ย กัญชาทางการแพทย์ ยากัญชาทาง (คน) การแพทย์ 4.5 ร้อยละของผู้ปว่ ยท้ังหมดทไ่ี ดร้ ับการรกั ษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ ร้อยละของผู้ป่วย ทั้งหมดทไ่ี ดร้ ับการ จังหวดั จำนวนผูป้ ว่ ยทง้ั หมดที่ จำนวนผู้ปว่ ยทงั้ หมดที่ รกั ษาดว้ ยยากญั ชา ได้รับการรักษาด้วยยา ได้รบั การรักษาด้วยยา กัญชาทางการแพทย์ กญั ชาทางการแพทย์ ทางการแพทย์ ปงี บประมาณ 2564 ปงี บประมาณ 2565 (คน) (คน) 4.6 วเิ คราะหป์ ัญหาและสาเหตุ แนวทางการแก้ไขปญั หารวมท้ังความก้าวหนา้ หรือผลการดำเนนิ งาน ปญั หา/สาเหตุ แผน/กจิ กรรมการแก้ไขปัญหา ความก้าวหนา้ /ผลการ ดำเนนิ งาน สาเหตุ 1. ……………………………. 1.1 …………………………………………….……. 1.1 ………………………………… 1.2 ………………………………………….………. 1.2 ………………………………… 2. ……………………………. 2.1 ………………………………………….………. 2.1 ………………………………… 2.2 …………………………………….……………. 2.2 ………………………………… 5. นวัตกรรม/ตัวอยา่ งท่ดี ี (ถ้าม)ี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
34 6. ขอ้ เสนอแนะของผนู้ ิเทศ 6.1 สำหรับพื้นท…่ี …………….………………………………………………………………………..……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 6.2 สำหรับสว่ นกลาง………………………………………..………………………………………………………………… ..……………………………………………………………………….………………………………………………………… ผรู้ ายงาน………………………………………………………… ตำแหน่ง…………………………………………………………. วนั /เดอื น/ป…ี ……….………………………………………… E-mail………………………………………………………….. แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ประเด็นการตรวจราชการที่ม่งุ เน้น ประเดน็ ที่ 3 ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ - จำนวนประชาชนคนไทยมหี มอประจำตวั 3 คน - การจดั ตง้ั หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิและเครอื ขา่ ยหนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิตาม พรบ.ฯ - อำเภอผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตท่ีมคี ุณภาพ (พชอ.) - รพ.สต.ผา่ นเกณฑค์ ุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว จัดทำโดย คณะกรรมการกำหนดประเด็นและตดิ ตามผลการตรวจราชการ
35 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 (Inspection Guideline) ประเดน็ ท่ี ๓ : ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ หวั ขอ้ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ตวั ชว้ี ัด 1.จำนวนประชาชนคนไทย มหี มอประจำตัว 3 คน ค่าเป้าหมาย 30 ล้านคน คำนยิ าม หมอประจำตัว 3 คน หมายถึง ระบบบรกิ ารทใ่ี ห้คนไทยทกุ คน ทุกครอบครัวมีหมอดูแล ให้บริการใน ทุกระดับของการเจ็บป่วย โดยหลักการทำงานของทีมหมอครอบครัวประจำตัว 3 คน คือ การทำให้ประชากร แต่ละครอบครัวรู้จักและเข้าถึงหมอประจำตัวท้ัง 3 คน และเม่ือมีการเจ็บป่วยหรือจำเป็นต้องได้รับบริการ สุขภาพ จะได้รับบริการจากหมอท้ัง 3 คน ตามลำดับความต้องการ โดยหมอทั้ง 3 คนจะมีการติดต่อ ประสานงานกัน ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการรกั ษาและข้อมูลของผู้ป่วย เพื่อให้การรักษามีความต่อเนื่อง และ การส่งต่อผู้ป่วยเป็นไปอย่างราบร่ืน เม่ือมีความจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาภายในสถานบริการจะพบหมอ ประจำตัวคนท่ี 3 ของตัวเอง เม่ือออกจากรพ. หมอคนท่ี 3 ต้องประสานไปยังหมอคนท่ี 2 และคนที่ 1 ให้รู้ เพื่อการตดิ ตามในระดบั ตำบลและชมุ ชนได้อย่างต่อเน่ือง โดยกำหนดหมอท้ัง 3 คน 3 ระดับไว้ดงั นี้ หมอคนที่ 1 คือ อสม. บทบาทเป็น หมอประจำบ้าน โดยแบ่งเขตรับผิดชอบ อสม. 1 คน รับผิดชอบ 8-15 หลังคาเรือน และเป็นพ่ีเล้ียงให้อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ดูแลสุขภาพอนามัยเบ้ืองต้นใน ประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย และเช่ือมประสานกับหมอคนท่ี 2 และ หมอคนท่ี 3 หมอคนที่ 2 คือ หมอสาธารณสขุ หมายถึงเจา้ หนา้ ท่ีทกุ คนที่ปฏิบัติหนา้ ที่ในสถานบรกิ ารปฐมภูมิ ท้ัง รพ.สต., PCU/NPCU, คลินิกชุมชนอบอุ่น ครอบคลุมบุคลากรทุกสาชาวิชาชีพทั้งพยาบาล เภสัชกร นัก สาธารณสุขชุมชน และวิชาชีพอื่น ๆ กำหนดให้เจ้าหน้าที่ 1 คน ไม่ว่าจะวิชาชีพใดก็ตามรับผิดชอบประชากร 1,250 คน หรือ 1-3 หมู่บ้าน นอกจากมีหน้าที่ให้บริการด้านการแพทย์และสุขภาพแล้ว ยังต้องเชื่อมต่อ ประสานงานกบั อสม. และหมอคนท่ี 3 หมอคนที่ 3 คือ หมอครอบครัว หมายถึงแพทย์ทไี่ ด้รับมอบหมาย (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หรือ แพทย์อ่ืน) โดยกำหนดให้หมอ 1 คน รับผิดชอบประชากร 10,000 คน หรือ 1-3 รพ.สต. ต้องประสาน เช่ือมต่อกับหมอคนท่ี 1 และ 2 อย่างใกล้ชิด นอกจากดูแลผู้ป่วยแล้วต้องดูแลและทำให้หมอคนที่ 1 และ 2 มีความรู้และทกั ษะในการทำงานดขี ึน้ ประเดน็ การตรวจราชการทมี่ งุ่ เน้น เปา้ หมาย มาตรการท่ีดำเนินงาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการ ในพ้ืนที่ ประเดน็ การตรวจราชการทีม่ ุ่งเน้น รอบ 1 ๑. มีการกำหนดพ้ืนท/่ี ประชาชนสามารถเข้าถึง ระดบั จงั หวดั ๑.กำหนดรปู แบบการ - สถานะสุขภาพและปญั หา ดำเนนิ งานของแต่ละ เป้าหมายในการดำเนินการ บริการมีความรอบรู้ด้าน - แผนกำหนดพนื้ ท/ี่ การสรร หนว่ ยงาน ๒. แผนและแนวทางการ สุขภาพและเกิดความ หาแพทย์ (หมอคนที่ 3) ให้ ๒.การพฒั นาศักยภาพ พฒั นาศักยภาพหมอ มั่ น ใจ ใน ก า ร ได้ รั บ สอดคลอ้ งกบั แผนการจัดตงั้ หมอประจำตวั 3 คน ประจำตวั 3 คน บรกิ าร หน่วยบรกิ าร ๓. วิเคราะห์สถานะ - พัฒนาศักยภาพแพทย์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
36 เปา้ หมาย มาตรการท่ีดำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธท์ ตี่ ้องการ - สภาพปญั หา ในพืน้ ท่ี สุขภาพของประชาชน (หมอคนท่ี 3) ด้านเวช - กำหนดกล่มุ เป้าหมาย ๔.กำหนดรปู แบบการให้ ศาสตรค์ รอบครัว (ผู้สงู อายุ ผพู้ ิการ IMC ผไู้ ด้รบั คำปรกึ ษา ของทีม - พฒั นาศักยภาพหมอคนท่ี ๒ ผลกระทบจาก COVID) (line, Application, - พฒั นาศักยภาพ อสม. รูปแบบอ่ืน ๆ) - ระบบการให้คำปรึกษา หมอประจำบ้าน/อาสา ๕.กำหนดการเช่ือมโยง สมัครประจำครอบครัว การใหบ้ ริการ และการ อสค. ๓. แนวทางและ สง่ ตอ่ ท่ีมีคณุ ภาพทงั้ รปู แบบการให้คำปรกึ ษา ไป-กลบั ในพ้ืนท่ี กับประชาชนของ ๓ หมอ ๖.กำหนดประเด็นในการ - Application / line ส่ือสารให้ชัดเจนสำหรบั - โทรศัพท์ กล่มุ เป้าหมายต่าง ๆ - ปฐมพยาบาลทางใจ เพ่อื ทราบและสามารถ - ปรกึ ษาทางไกล จัดการสุขภาพตนเอง ๔. การเชื่อมโยงการ ให้บรกิ ารการสง่ ต่อเพื่อรบั บรกิ ารกับ รพ.ระดบั ทุติยภูมิ และตตยิ ภูมิ (Green channel) ๔. มปี ระเด็นและแนว ทางการสื่อสารเพื่อให้ ประชาชนสามารถจดั การ สุขภาพตนเองมคี วามรอบรู้ ทางดา้ นสขุ ภาพ ประเดน็ การตรวจราชการท่ีมุ่งเน้น รอบ 2 1.ประชาชนไดร้ บั การดูแล/ 1.พฒั นาระบบบรกิ าร 1. ติดตามผลการดำเนินงาน - จำนวนประชาชนคน การได้รบั คำปรึกษาจาก สุขภาพปฐมภูมิ ๒. ถอดบทเรยี นพื้นทตี่ น้ แบบ ไทยท่ีได้รบั การดูแลจาก หมอประจำตวั ทั้ง 3 คน 2.ขยายผลและพัฒนา และขยายผลการดำเนินงาน หมอประจำตวั 3 คน ตน้ แบบของการ คนไทยทกุ ครอบครวั มหี มอ และสรา้ งการรับรู้กบั ดำเนินงานคนไทยทุก ประจำตัว 3 คน ประชาชน 30 ลา้ นคน ครอบครวั มีหมอ ๓. ปัญหา อปุ สรรค จากการ - ลดรอคอย ลดความ ประจำตัว 3 คน ดำเนนิ งานท่ผี า่ นมา แออัดใน รพ. ลดปว่ ย ๔. แผนขยายผลการดำเนิน ลดตาย ลดค่าใชจ้ า่ ย งานในปีงบประมาณตอ่ ไป Small Success 3 เดือน 6 เดอื น 9 เดือน 12 เดอื น - ระดับจังหวัดกำหนด - พัฒนาศักยภาพหมอ - ประชาชนในพืน้ ทร่ี ้อยละ - ประชาชนในพน้ื ท่ี พื้นทด่ี ำเนินการ ๓ หมอ ประจำตัว ๓ คนตามแผนที่ 4๗ ของประชาชนท้งั หมด ร้อยละ ๕๐ ของ - แผนพัฒนาศักยภาพ กำหนด ในพื้นท่ีมหี มอประจำตัว 3 ประชาชนทง้ั หมดใน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
37 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดอื น หมอประจำตัว ๓ คน - อบรมหลักสูตรแนวทาง คู่มือ คน ดูแล พน้ื ที่มีหมอประจำตวั 3 คน ดแู ล - วิเคราะห์ปัญหาสถานะ การยกระดับ อสม.เป็น อสม. - ผปู้ ว่ ยกล่มุ เปา้ หมาย - ผปู้ ่วยกลุ่มเป้าหมายท่ี ไดร้ ับการดูแลจาก สุขภาพของประชาชนใน หมอประจำบ้าน ทไ่ี ด้รบั การดูแลจาก อสม. หมอประจำบา้ นมี คุณภาพชวี ิตท่ีดี อย่าง พ้นื ท่ี - มีระบบสือ่ สารการให้ อสม. หมอประจำบ้าน นอ้ ยร้อยละ 75 - กลมุ่ เป้าหมายทต่ี ้อง คำปรกึ ษาผา่ นชอ่ งทางต่างๆ มีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี อย่าง ได้รับการดูแล (ผ้สู ูงอายุ ผู้ -จดั ระบบการเชื่อมโยงการ นอ้ ย รอ้ ยละ 10 พกิ าร IMC ผไู้ ด้รับ ใหบ้ รกิ าร และการส่งต่อที่มี ผลกระทบจาก COVID) คณุ ภาพทงั้ ไป-กลบั -ชี้แจงแนวทางการ - ประชาชนในพืน้ ทรี่ ้อยละ ดำเนนิ งานสู่การปฏิบัติ 4๕ ของประชาชนทง้ั หมดใน พนื้ ที่มหี มอประจำตัว 3 คน ตวั ชวี้ ดั ท่เี ก่ยี วข้อง จำนวนประชาชนคนไทยที่มีหมอประจำตัว 3 คนให้การดูแล 30 ลา้ นคน (3,0๐๐ หน่วย) สูตรคำนวณตัวชี้วัด (กรณีวัดเชิงปริมาณ) 1. C = A ÷ B x 100 2. F = D ÷ E x 100 เมอ่ื A = จำนวนประชาชนคนไทยท่มี หี มอประจำตัว 3 คนให้การดูแล B = จำนวนประชาชนคนไทยทั้งหมดในพ้ืนท่ี C = รอ้ ยละของประชาชนคนไทยท่ีมหี มอประจำตวั 3 คนให้การดูแล D = จำนวนผปู้ ่วยกลุม่ เปา้ หมายทไี่ ด้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้าน E = จำนวนผปู้ ่วยกลุ่มเป้าหมายทง้ั หมด F = รอ้ ยละของผูป้ ว่ ยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจำบ้านมีคุณภาพชีวติ ทดี่ ี หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ: สำนกั สนบั สนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผู้ประสานงานตัวชี้วัด ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศพั ท์ ประเด็นที่รับผดิ ชอบ /e-mail address ช่อื -สกุล รองผู้อำนวยการสำนกั สนับสนุนระบบ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ สขุ ภาพปฐมภมู ิ Tel . 02-5901939 นพ.ประสิทธิชัย มั่งจติ ร สำนักสนบั สนุนระบบสุขภาพปฐมภมู ิ Mobile 081-923-0536 สุขภาพภาคประชาชน ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสขุ ภาพ นายจรัส รัชกุล ภาคประชาชน Tel 0-2193-7000 ต่อ 18724, กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ 18717 Mobile 086-287-8204 แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
38 ผ้รู บั ผดิ ชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ชื่อ-สกลุ ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท์ ประเดน็ ท่ีรบั ผดิ ชอบ /e-mail address ระบบสุขภาพปฐมภูมิ นพ.ประสิทธชิ ัย มง่ั จติ ร รองผู้อำนวยการสำนกั สนับสนนุ ระบบ Tel . 02-5901939 ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ นางจารุณี จันทร์เพชร สุขภาพปฐมภมู ิ Mobile 081-923-0536 สุขภาพภาคประชาชน นายจรัส รัชกุล สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ สุขภาพภาคประชาชน นางวริ ณุ ศริ ิ อารยวงศ์ Tel. 0 2590 1939 สุขภาพภาคประชาชน นางจีรวรรณ หัสโรค์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ Mobile 081 ๗๓๓ ๓๐๘๒ พเิ ศษ E-mail : [email protected] สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ Tel 0-2193-7000 ตอ่ 18724, 18717 ผ้อู ำนวยการกองสนับสนนุ สุขภาพภาค Mobile 086-287-8204 ประชาชน 0-2193-7000 ตอ่ 18715 กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ 0-2193-7000 ตอ่ 18716 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กองสนบั สนุนสขุ ภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพเิ ศษ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
39 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 (Inspection Guideline) ประเดน็ ที่ ๓ : ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ หวั ขอ้ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ตัวช้ีวัด 2. จำนวนการจัดต้ังหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ตาม พระราชบญั ญตั ิระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 คา่ เป้าหมาย ๓,๐๐๐ หนว่ ย (๕๐% ของแผนจดั ต้ัง ๑๐ ปี) คำนยิ าม หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหนว่ ยบริการปฐมภูมิ หมายถึง หน่วยบริการที่ไดข้ ้ึนทะเบียนเป็น หน่วยบริการปฐมภมู ิและเครือข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ ตามพระราชบญั ญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.๒๕๖๒ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หมายความว่า แพทย์ท่ีได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร เพ่ือแสดง ความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว หรือแพทย์ที่ผ่านการอบรม ดา้ นเวชศาสตร์ครอบครวั จากหลักสตู รที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขให้ความเห็นชอบ 1. หลกั สูตรพื้นฐานเวชศาสตร์ครอบครัวสำหรับแพทย์ปฐมภูมิ Basic Course of Family Medicine for Primary Care Doctor 2. หลักสูตรการฝึกอบรมระยะส้ัน “เวชศาสตร์ครอบครัวสำหรับแพทย์ปฏิบัติงานในคลินิกหมอ ครอบครวั ” พ.ศ. 2562 คณะผู้ให้บรกิ ารสุขภาพปฐมภูมิ หมายความว่า ผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขซ่ึง ปฏบิ ัติงานร่วมกันกับแพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครัวในการให้บริการสขุ ภาพปฐมภมู ิ และใหห้ มายความรวมถึงผู้ซ่ึง ผา่ นการฝึกอบรมด้านสุขภาพปฐมภูมิเพ่ือเป็นผู้สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์เวชศาสตรค์ รอบครัวและ ผู้ประกอบวชิ าชพี ดังกลา่ ว บรกิ ารสุขภาพปฐมภูมิ เป็นบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดแู ลสุขภาพของบุคคลในบัญชี รายชื่อ ซึ่งมีขอบเขต ดังต่อไปนี้ (๑) บริการสุขภาพอย่างองค์รวม แต่ไม่รวมถึงการดูแลโรคหรือปญั หาสุขภาพท่ีจำเป็นต้องใช้เทคนิคหรือ เคร่ืองมือทางการแพทย์ท่ีซับซ้อน การปลูกถ่ายอวัยวะ และการผ่าตัด ยกเว้น การผ่าตัดขนาดเล็กซ่ึงสามารถ ฉีดยาชาเฉพาะที่ (๒) บริการสุขภาพตั้งแต่แรก ครอบคลุมทุกกระบวนการสาธารณสุข ท้ังการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟ้ืนฟูสขุ ภาพ แต่ไม่รวมถึงการบริการแบบผู้ป่วย นอกของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ การบริการแบบผู้ป่วยใน การคลอด และการปฏิบัติการฉุกเฉิน ยกเว้น กรณีการปฐมพยาบาลและการดแู ลในภาวะฉุกเฉนิ เพ่ือให้รอดพ้นภาวะฉกุ เฉิน (๓) บริการสุขภาพอย่างต่อเน่ือง ทุกช่วงวัยตั้งแต่ การตั้งครรภ์ ทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยร่นุ วัยทำงาน วัยสูงอายุ จนกระทงั่ เสียชีวติ (๔) การดูแลสุขภาพของบุคคลแบบผสมผสาน ประกอบด้วย การดูแลสุขภาพโดยการแพทย์แผน ปัจจุบัน การแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลอื ก (๕) การบริการข้อมูลด้านสุขภาพและคำปรึกษาด้านสุขภาพแก่บุคคลในบัญชีรายชื่อ ตลอดจน คำแนะนำที่จำเป็นเพอื่ ให้สามารถตัดสินใจในการเลือกรับบริการหรือเข้าสูร่ ะบบการสง่ ต่อ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
40 (๖) การส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพและมีความรู้ในการจัดการสุขภาพของตนเองและบุคคลใน ครอบครัว ตลอดจนอาจสามารถร่วมตัดสินใจในการวางแผนการดูแลสุขภาพร่วมกับแพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัวและคณะผูใ้ หบ้ ริการสุขภาพปฐมภูมไิ ด้ (๗) การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสุขภาพ รวมทงั้ การป้องกันและควบคมุ โรคในระดบั ชุมชน เป้าหมายการดำเนินงาน เขตสุขภาพ แผนจัดต้ัง10ปี ผล64 แผน เปา้ หมาย 90% ท้ังหมด จานวน รอ้ ยละ 2565 ผล64+เปา้ 65 เปา้ หมาย เขตสุขภาพที่ 1 574 314 54.70 59 373 354 157 52.16 40 197 187 เขตสุขภาพท่ี 2 301 167 60.73 28 195 185 180 39.22 40 220 209 เขตสุขภาพที่ 3 275 211 47.52 43 254 241 208 36.49 59 267 254 เขตสุขภาพที่ 4 459 247 52.89 63 310 295 144 24.87 92 236 224 เขตสุขภาพที่ 5 444 290 46.18 79 369 351 176 25.25 80 256 243 เขตสุขภาพที่ 6 570 171 42.01 58 229 218 247 46.17 62 309 294 เขตสุขภาพท่ี 7 467 2512 42.32 703 3215 3054 เขตสุขภาพท่ี 8 579 เขตสุขภาพท่ี 9 628 เขตสุขภาพที่ 10 697 เขตสุขภาพที่ 11 407 เขตสุขภาพท่ี 12 535 รวม 5936 ประเดน็ การตรวจราชการท่ีมุ่งเนน้ เปา้ หมาย มาตรการท่ีดำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธ์ทต่ี อ้ งการ ในพื้นท่ี ประเดน็ การตรวจราชการที่มุ่งเนน้ รอบ 1 1.นโยบายและทิศทางการ 1. ส่ือสาร ชแ้ี จง และ 1. สัมภาษณ์ บคุ ลากร 1. บุคลากรในจงั หวดั มี ขับเคล่ือนการพัฒนาระบบ ประชาสัมพันธ์ นโยบาย เกีย่ วกับนโยบาย ทศิ ทาง ความรคู้ วามเข้าใจในการ สุขภาพปฐมภูมิ และทิศทางการขับเคล่ือน การดำเนินงานของพืน้ ท่ี นำนโยบายพฒั นาระบบ 2.กำหนดพื้นท่ีที่จะจัดต้ัง การพฒั นาระบบสุขภาพ 2. แผนการส่งเสริมและ สขุ ภาพปฐมภมู ิฯ หน่วยบริการปฐมภูมิและ ปฐมภูมิ สนับสนุนการจัดต้ังหน่วย 2. จังหวดั มีการสง่ เสริม เครือข่ายหน่วยบริการปฐม 2. พัฒนาศักยภาพ บรกิ ารปฐมภมู ิและเครอื ข่าย และสนับสนุน ให้ รพ.สต. ภูมิ ตามแผนจัดตั้ง 10 ปี แพทย์อนื่ ใหม้ ีความรู้ดา้ น หนว่ ยบริการปฐมภูมิ สามารถขน้ึ ทะเบียนเป็น แ ล ะ ก ำ ห น ด อ ำ เภ อ 1 เวชศาสตรค์ รอบครัว ใน 3. แ น ว ท างก ารบ ริห าร PCU/NPCU อำเภอ ที่จะดำเนินการเต็ม หลักสตู รต่าง ๆ ทปี่ ลดั จัดการเพื่อให้มีแพทย์เวช พ้นื ท่ี ให้ความเหน็ ชอบ ศ า ส ต ร์ ค ร อ บ ค รั ว ต า ม ๓. จัดตง้ั หน่วยบริการปฐมภูมิ ๓. พัฒนาศักยภาพคณะ แผนการจัดต้ังหน่วยบริการ และเครือขา่ ยหน่วยบริการ ผู้ให้บริการสขุ ภาพปฐมภูมิ ปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
41 เป้าหมาย มาตรการที่ดำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธท์ ต่ี อ้ งการ ในพ้ืนท่ี ปฐมภมู ติ ามพระราชบญั ญัติ ๔. สนับสนุนและพัฒนา บริการปฐมภมู ิ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ศักยภาพหน่วยบริการให้ แพทย์เพียงพอ/ทดแทนคน 2562 สามารถข้ึนทะเบียนเป็น เดมิ /เพ่ิมเตมิ แพทยท์ มี ใหม่ หน่วยบริการปฐมภูมิ ๔. แผนการอบรมแพทย์อ่ืน ห รือ เค รือ ข่ าย ห น่ ว ย ในหลักสูตร Basic Course บรกิ ารปฐมภมู ิ ของเขตสขุ ภาพ ๕. หน่วยบรกิ ารปฐมภูมิและ เครือข่ายหน่วยบริการปฐม ภูมิ ต้นแบบท่ีมีศักยภาพ 1 อำเภอ/๑ ทมี ประเด็นการตรวจราชการทีม่ ุ่งเนน้ รอบ 2 - จัดตั้งหน่วยบริการปฐม 1. ส่งเสรมิ และพฒั นาให้ 1. สัมภาษณ์แนวทางการ - มีหน่วยบริการปฐมภูมิ ภูมิและเครือข่ายห น่ วย หนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมแิ ละ ดำเนินงานในพื้นที่ เพ่ือให้ สามารถเปิ ดให้ บ ริการ บ ริ ก าร ป ฐ ม ภู มิ ที่ เปิ ด เครือข่ายหนว่ ยบรกิ าร รบั ทราบถงึ รูปแบบบริการ สุขภาพปฐมภูมิ ได้ตาม ดำเนินการในพ้ืนที่ ๕๐% ปฐมภูมมิ กี ารจัดรปู แบบ ๒. มีแผนพัฒนาและขยาย เป้าหมายที่กำหนด (๕๐% ของแผนจดั ต้ัง 10 ปี บริการทยี่ ดึ ประชาชน ผลให้หน่วยบริการปฐมภูมิ ของแผนจดั ต้งั 10 ป)ี - ๑ จังหวัด มี 1 อำเภอ ที่ เป็นศนู ย์กลาง และเครือข่ายหน่วยบริการ - ประชาชนสามารถเข้าถึง ดำเนนิ การให้มีหน่วยบริการ ปฐมภูมิมีการจัดรูปแบบการ บริการ เช่ือม่ัน ศรัทธา ปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วย บริการท่ียึดประชาชนเป็น สามารถลดรอคอย ลด บริการปฐมภมู ิ เตม็ พน้ื ที่ ศูนยก์ ลาง ความแออัดใน รพ. ลด ๓ . ผลการดำเนิ น งาน ท่ี ปว่ ย ลดตาย ลดคา่ ใช้จ่าย สะท้ อน คุ ณ ภ าพ ผ ล ก าร ดำเนินงานปฐมภูมิ เช่น -Primary care visit เพิ่มขึ้น -การควบคมุ โรค NCD/CD -ก า ร เย่ี ย ม บ้ า น ก ลุ่ ม ต่ า ง ๆ เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ IMC ผู้รบั ผลกระทบ COVID ฯ -การแก้ไขปัญหาในพน้ื ที่ ๔. ปัญหาอปุ สรรค และ ขอ้ เสนอแนะ Small Success 6 เดือน 9 เดอื น 12 เดอื น 3 เดอื น - พัฒนาศกั ยภาพแพทย์ - หนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ -หน่วยบริการปฐมภมู ิและ อื่นใหม้ ีความรู้ดา้ นเวช -แผนการสง่ เสริมและ และเครือขา่ ยหน่วยบรกิ าร เครอื ข่ายหนว่ ยบรกิ าร สนับสนนุ การจดั ต้ังหน่วย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
42 3 เดอื น 6 เดือน 9 เดอื น 12 เดอื น บรกิ ารปฐมภูมิและ ศาสตรค์ รอบครวั ใน ปฐมภมู ิ สามารถเปดิ ปฐมภูมิ สามารถเปิด เครอื ข่ายหนว่ ยบริการปฐม ให้บริการสขุ ภาพปฐมภูมิ ภูมิ พื้นที่เปา้ หมายในการ หลักสูตรต่าง ๆ ท่ีปลดั ให้ ให้บริการสขุ ภาพปฐมภมู ิ ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด ดำเนินงานปี 65 และ (๕๐% ของแผนจดั ตั้ง 10 ป)ี กำหนดอำเภอเป้าหมาย ความเหน็ ชอบ ไดต้ ามเป้าหมายท่ีกำหนด - มี ๑ อำเภอ ที่ดำเนนิ การ -แผนการบริหารจัดการ จัดตงั้ หน่วยบริการปฐมภมู ิ เพือ่ ให้มีแพทย์เวชศาสตร์ - หน่วยบริการปฐมภมู แิ ละ (๔๗ % ของแผนจดั ต้งั และเครือข่ายหน่วยบริการ ครอบครัวตามแผนการ ปฐมภมู ิ เตม็ พนื้ ที่ จัดตั้งหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ เครือข่ายหนว่ ยบรกิ าร 10 ปี) และเครือขา่ ยหนว่ ยบริการ ปฐมภมู ิ ปฐมภมู ิ สามารถเปิดบริการ สุขภาพปฐมภูมิ ไดต้ าม เปา้ หมายท่ีกำหนด (๔๕% ของแผนจดั ตั้ง 10 ปี) ตวั ชี้วดั ทเ่ี กี่ยวข้อง จำน วน ก ารจั ด ต้ั งห น่ วย บ ริก ารป ฐม ภู มิ แ ล ะเค รือ ข่าย ห น่ วยบ ริก ารสุ ข ภ า พ ป ฐ ม ภู มิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 (3,000 ทีม) (ดำเนินการจดั ตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและ เครอื ขา่ ยหนว่ ยบริการสุขภาพปฐมภมู ิ รอ้ ยละ ๕๐ ของแผนจัดตั้ง ๑๐ ปี) สตู รคำนวณตวั ชีว้ ดั (กรณวี ัดเชิงปรมิ าณ) สูตรการคำนวณ C = A ÷ B x 100 เม่ือ A = หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิและเครือขา่ ยหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิทขี่ ึ้นทะเบยี น B = หนว่ ยบริการปฐมภมู ิและเครอื ข่ายหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิท้งั หมดตามแผนการจัดต้ัง C = รอ้ ยละของการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภมู ิและเครือข่ายหน่วยบริการสขุ ภาพปฐมภมู ิ ตาม พระราชบัญญตั ิระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ: สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ ผปู้ ระสานงานตัวชี้วดั ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ทร่ี ับผดิ ชอบ e-mail address ช่อื -สกุล ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ Tel . 02-5901939 นพ.ประสิทธิชัย ม่ังจติ ร รองผอู้ ำนวยการสำนกั สนับสนนุ Mobile 081-923-0536 ประเด็นท่รี บั ผิดชอบ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ หมายเลขโทรศัพท/์ e-mail address สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพ Tel . 02-5901939 Mobile 081-923-0536 ปฐมภูมิ ผู้รบั ผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง/หน่วยงาน นพ.ประสทิ ธิชยั ม่ังจิตร รองผู้อำนวยการสำนกั สนับสนุน ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ สำนักสนบั สนนุ ระบบสุขภาพ ปฐมภมู ิ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
43 ช่อื -สกุล ตำแหนง่ /หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท์/ ประเดน็ ที่รบั ผดิ ชอบ นางจารณุ ี จันทร์เพชร e-mail address ตำแหน่ง นักวเิ คราะห์นโยบาย และแผนชำนาญการพเิ ศษ Tel. 0 2590 1939 สำนักสนบั สนุนระบบสขุ ภาพ Mobile 081 ๗๓๓ ๓๐๘๒ ปฐมภูมิ E-mail : [email protected] แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
44 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.256๕ (Inspection Guideline) ประเดน็ ท่ี 3 : ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ หวั ข้อ โครงการการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับอำเภอ (พชอ.) ตวั ช้ีวดั ๓.ร้อยละของอำเภอผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ท่ีมีคณุ ภาพ ค่าเปา้ หมาย ร้อยละ ๗๕ คำนิยาม การพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีมีคุณภาพ หมายถึง การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ท่ี ดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นไปตามเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพ้ืนที่ พ.ศ.2561 ตามองค์ประกอบ UCCARE ในประเด็นที่พ้ืนท่ีกำหนดในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีผลลัพธ์การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับข้ึนหนึ่งระดับทุกข้อ หรอื ตง้ั แตร่ ะดบั สามข้ึนไปทกุ ขอ้ โดยการประเมินตนเองและประเมินระดบั จงั หวดั อำเภอ หมายถึง เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด มีนายอำเภอเป็นหัวหน้าปกครองและเป็น ผู้นำในการทำงานร่วมกับท้องถ่ินและภาคส่วนตา่ งๆ ในการดแู ลประชาชนและสง่ เสริมให้ประชาชนดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนร่วมกัน โดยใช้ปัญหาความทุกข์ยากของประชาชนในพ้ืนท่ีระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เปน็ เป้าหมายรว่ มในการพัฒนาคุณภาพชีวิตภายใตบ้ ริบทของแตล่ ะพน้ื ทจ่ี ำนวน 878 แห่ง กลุ่มเปราะบาง หมายถึง กลุ่มบุคคลท่ีขาดความสามารถในการปกป้องสิทธิผลประโยชน์ของตน เน่ืองจากขาดอำนาจ การศึกษา ทรัพยากร ความเข้มแข็ง มีความเส่ียงสูงท่ีจะถูกคุกคามจากปัจจัยเสี่ยงด้าน ต่าง ๆ เช่น สุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติทางธรรมชาติหรืออื่น ๆ เป็นผู้ที่มีข้อจำกัดใน เรื่องในการจัดการความเส่ียงและผลกระทบที่ตามมา การช่วยเหลือตัวเอง การตัดสินใจ และอำนาจต่อรอง ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ต้องการการสนับสนุน การปกป้อง การช่วยเหลือทางกาย จิต หรือทางสังคม จาก ผู้อื่น ตัวอย่างกลุ่มเปราะบาง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุท่ีช่วยตัวเองไม่ได้ คนท่ีถูกสังคมตีตรา ผู้ป่วยบางประเภท แรงงานต่างดา้ วทผ่ี ดิ กฎหมาย ผู้ติดสารเสพติดท่ีผิดกฎหมาย คนพิการ คนท่ที ำผิดกฎหมาย/อาชญากร และคน ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 กลุ่มเปราะบางด้านสุขภาพ พิจารณาจากปัจจัยกำหนดสุขภาพด้านสังคม อย่างน้อย 2 ใน 3 ปัจจัย ดังน้ี 1) คนชายขอบที่ถูกเลือกปฏิบัติจากสังคม เช่น คนยากจน คนไร้รัฐ ชาติพันธ์ุกลุ่มน้อย แรงงานข้ามชาติ เด็กกำพร้า ผู้เคยได้รับโทษ ฯลฯ รวมถึงคนที่ได้รบั ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 2) คนท่ีมีข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ เช่น ผู้ทีไ่ ม่มีหลักประกันสขุ ภาพ คนท่ีมีถ่ินทีอ่ ยู่อาศัย ในพ้ืนที่ห่างไกล 3) คนที่มีความเสี่ยงต่อการถูกถอดท้ิงหรือการถูกกระทำทารุณถ้าไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการ ด้านสุขภาพในระยะยาว เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการทางกาย ผู้พิการทางจิตเวช ผู้ป่วยติดบ้าน ผู้ป่วยติด เตยี ง กลุ่มเปราะบางท่ีพชอ.ท่ีมีคุณภาพกำหนดให้มีการดูแลในปีงบประมาณ 2565 คือ กลุ่มผู้พิการ ผสู้ ูงอายุ (กลมุ่ ตดิ เตยี ง) ผู้ป่วยท่ีได้รับการดแู ลผู้ระยะกลาง (Intermediate Care) และผู้ที่ได้รบั ผลกระทบจาก ปญั หา COVID 19 แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
45 ประเด็นการตรวจราชการทม่ี ุ่งเน้น เปา้ หมาย มาตรการท่ีดำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธ์ท่ีต้องการ ในพ้นื ท่ี ประเดน็ การตรวจราชการท่ีมุง่ เน้น รอบ 1 1.สถานการณ์ปัจจบุ ัน 1.กลไกสนบั สนนุ ๑.มนี โยบายสนบั สนนุ การ ด้านปริมาณ ของแต่ละพชอ. ระดับจงั หวัดและเขต ขับเคล่อื นพชอ.ระดบั เขตและ 1.มคี ำสั่งแต่งต้ัง ๒.แผนปฏบิ ัตกิ ารใน สุขภาพ ในการขบั จงั หวัดในการขบั เคล่ือน พชอ.ท่ี คณะกรรมการพัฒนา ประเด็นการพฒั นา เคล่ือนทเี่ ช่ือมโยง เชื่อมโยงระบบบริการสขุ ภาพ คณุ ภาพชีวติ ระดบั อำเภอ คณุ ภาพชีวิต อยา่ งน้อย2 ระบบบรกิ ารสุขภาพ ปฐมภูมิกับชมุ ชนและท้องถ่ิน ตามระเบยี บสำนัก ประเดน็ และประเดน็ ปฐมภูมกิ บั ชุมชนและ อยา่ งมีคณุ ภาพ นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการ Covid 19 อีก1ประเด็น ทอ้ งถน่ิ อยา่ งมคี ุณภาพ ๒.มีคำสัง่ แต่งต้ังคณะกรรมการ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดบั และดูแลกลุ่มเปราะบาง 2.การพัฒนาคุณภาพ พัฒนาคุณภาพชีวติ ระดบั อำเภอ พ้นื ที่ พ.ศ.2561 ทีเ่ ปน็ (ผู้พิการ ผู้สงู อายุ(ตดิ ชีวิตระดบั อำเภออยา่ ง ตามระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรี ปัจจุบัน ครบทกุ อำเภอ เตยี ง) IMC และผู้ไดร้ บั มีส่วนร่วมจากทกุ ภาค ว่าด้วยการพฒั นาคุณภาพชีวติ ๒.มปี ระเด็นการพัฒนา ผลกระทบจาก COVID สว่ น ระดบั พื้นท่ี พ.ศ.2561 ทเ่ี ป็น คณุ ภาพชีวิต อย่างน้อย 2 19) อยา่ งเป็นองค์รวม ปจั จุบัน ประเดน็ และประเด็น ๓.ผลการประเมนิ ตนเอง ๓.มกี ารประชุมแบบมีส่วนรว่ ม Covid 19 อีก 1 ประเดน็ ปี 2565 กอ่ นดำเนิน เพอ่ื วิเคราะหป์ ัญหา/ประเด็น ครบทุกอำเภอ การพฒั นาคุณภาพชีวิต พัฒนา นำมาคัดเลือกประเดน็ ที่ ๓.มแี ผนปฏิบัติการใน แตล่ ะ พชอ.ตามแนวทาง สำคัญเกี่ยวกับการพฒั นา ประเดน็ การพัฒนา UCCARE คุณภาพชวี ติ และกำหนด คณุ ภาพชีวติ อย่างน้อย 2 เปา้ หมายการดูแลกลุ่ม ประเด็นและประเดน็ เปราะบางตามบริบทของพน้ื ที่ Covid 19 อีก 1 ประเด็น โดยฉพาะกลุม่ ผูพ้ ิการ ผู้สงู อายุ และดแู ลกลุ่มเปราะบาง IMC และผไู้ ดร้ ับผลกระทบจาก ครบทกุ อำเภอ COVID 19) มีการประชุม ๔.มคี ณะทำงานในการ ตอ่ เน่ือง ขับเคล่อื น ติดตามและ ๔.มแี ผนการบรหิ ารจดั /การบูร ประเมนิ ผล ประเดน็ ท่ี ณาการ ทรัพยากรของทกุ ภาค กำหนด รวมถึงมีการ ส่วนท่ีเก่ยี วข้องในการ บริหารจัดการทรัพยากร ขับเคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพ ของทุกภาคส่วนท่ี ชวี ิตและดแู ลกลุ่มเปราะบาง เกยี่ วข้องในการขับเคลื่อน ๕ ผลลัพธใ์ นประเดน็ ที่ พชอ. การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คัดเลือก และดูแลกล่มุ เปราะบาง ๔.แนวทางการสนบั สนุน จากส่วนกลางและกรม วิชาการเพอื่ การพฒั นา ขยายผล ตอ่ ยอด แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
46 เปา้ หมาย มาตรการท่ีดำเนินงาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธ์ทต่ี ้องการ ในพน้ื ที่ ประเด็นการตรวจราชการทีม่ ุง่ เนน้ รอบ 2 ๑. ผลการดำเนินงานของ เสริมสรา้ งศักยภาพ 1. การดำเนนิ การตาม ด้านปริมาณ พชอ. ในการแกไ้ ขปญั หา พชอ. อย่างมน่ั คงและ แผนปฏิบตั ิการในประเดน็ การ ๑.มกี ารประเมินประเดน็ สำคญั ของพนื้ ทแ่ี ละการ ยงั่ ยืน พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต อย่างน้อย ปญั หาการพฒั นาคุณภาพ จดั การกบั ประเด็น 2 ประเดน็ และประเด็นCovid ชวี ิต ตามองค์ประกอบ COVID 19 รวมถึงการ 19 อีก 1 ประเด็น และดูแล UCCARE และมผี ลลัพธ์ ดูแลกลุ่มเปราะบาง (ผู้ กลุ่มเปราะบาง (ผพู้ ิการ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ พิการ ผู้สงู อายุ (ติดเตียง) ผสู้ งู อายุ IMC และผูไ้ ด้รบั และระบบสุขภาพระดับ IMC และผูไ้ ด้รับ ผลกระทบจาก COVID 19) อำเภอท่ีสามารถยกระดบั ผลกระทบจาก COVID บูรณาการและมสี ่วนร่วมของ ขนึ้ หน่งึ ระดบั ทกุ ขอ้ หรือ 19) ทกุ ภาคสว่ น ตง้ั แต่ระดับสามขึ้นไปทุก ๒.ผลการดำเนินงานของ ๒. ผลการประเมินการพัฒนา ข้อ โดยการประเมินจากผู้ พชอ.ทเี่ กย่ี วข้องกับการ ประเดน็ การพฒั นาคุณภาพชีวติ เยี่ยมระดับจงั หวัดและเขต พัฒนาระบบบริการ และประเดน็ Covid 19 ตาม ร้อยละ ๗๕ ขน้ึ ไป สขุ ภาพเพื่อให้ประชาชน แนวทาง UCCARE ๒.พชอ.ทม่ี ีคุณภาพดูแล ในพืน้ ท่ีมคี ณุ ภาพชวี ิตที่ดี ๓. สรุปบทเรียนผลการ คุณภาพชวี ติ กลมุ่ ๓.แผนปฏบิ ัติการในการ ดำเนนิ งานพฒั นา/แก้ไขปญั หา เปราะบาง จำนวน 3 ลา้ น ดำเนนิ งาน พชอ.ปี สำคญั ตามบริบทในพ้นื ท่ี คน(กลุ่มผู้พิการ ผสู้ ูงอายุ 2566 เกย่ี วกบั การพัฒนาคุณภาพชีวติ IMC และผู้ได้รับ ชีวิต อย่างนอ้ ย 2 ประเด็นและ ผลกระทบจากCOVID19) ประเดน็ Covid 19 อกี 1 ดา้ นคณุ ภาพ ประเดน็ และดูแลกลมุ่ ๑.การวเิ คราะห์ผลการ เปราะบาง (ผู้พิการ ผูส้ งู อายุ พฒั นาตามแนวทาง IMC และผู้ได้รบั ผลกระทบจาก UCCARE เพอ่ื นำผล COVID 19) วิเคราะหไ์ ปวางแผนการ ๔.สรปุ บทเรยี นการบรหิ าร พฒั นาคุณภาพชีวติ ใหด้ ีขน้ึ จดั การทรพั ยากรรว่ มในการ ในปี 2566 พฒั นาคุณภาพชวี ิตของ ๒.ประชาชนในพื้นท่ีมี ประชาชนในพ้ืนที่ คณุ ภาพชีวิตทด่ี ีขน้ึ ลด ๕.การคนื ขอ้ มูลใหพ้ นื้ ท่ี การ อัตราการป่วย ลดรอคอย แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ สนับสนนุ ในการรับบรกิ าร ลดความ และส่งเสริมให้การชว่ ยเหลือซ่ึง แออัดใน รพ. ลดค่าใช้จา่ ย กนั และกนั ภายในอำเภอ และลดอัตราตาย เดียวกนั สร้างวฒั นธรรมคน ๓.นวตั กรรมการ อำเภอเดียวกนั ไม่ทอดทง้ิ กันให้ ดำเนินงานแบบบูรณาการ กลายเปน็ ส่วนหน่ึงของ ในพ้ืนท่ีทสี่ ามารถขยายผล แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
47 เปา้ หมาย มาตรการท่ีดำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธท์ ีต่ อ้ งการ ในพื้นที่ ตอ่ ยอดและเป็นแบบอย่าง วฒั นธรรมท้องถิ่น ให้พ้ืนที่อน่ื ๆ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. มีคำสัง่ คณะกรรมการ 1. มีคณะทำงานตาม 1.มกี ารตดิ ตามเสรมิ พลัง 1.อำเภอมกี าร พฒั นาคุณภาพชีวิตระดับ ประเดน็ วางแผนแนวทางใน และประเมนิ ผลการ ดำเนนิ งานและผ่าน อำเภอทีเ่ ป็นปัจจุบัน การขับเคล่ือนประเด็นการ ดำเนนิ งานพฒั นา เกณฑ์การประเมินการ 2. มีการประชุมคดั เลือก พฒั นาคุณภาพชีวติ ตามท่ี คณุ ภาพชวี ิตประชาชน พฒั นาคุณภาพชีวติ ท่ีมี ประเด็นสำคัญตามบรบิ ท พน้ื ทีก่ ำหนด และดแู ลกล่มุ เปราะบาง คุณภาพ ของพื้นทีเ่ กยี่ วกับการ 2. มีการบริหารจดั การบูร (ผู้พกิ าร ผสู้ ูงอายุ IMC รอ้ ยละ 75 พัฒนาคณุ ภาพชีวติ อย่าง ณาการทรัพยากร(คน เงนิ และผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ 2.พชอ.ทีม่ ีคณุ ภาพ น้อย 2 ประเด็น และ ของ ความรู้ ขอ้ มลู ) ของทุก จาก COVID 19 ) อย่าง ดแู ลคณุ ภาพชวี ติ กลุ่ม ประเด็นโควดิ 19 เพอ่ื วาง ภาคส่วนที่เก่ยี วข้องในการ เป็นองค์รวม โดยการ เปราะบาง อย่างเป็น แผนการพฒั นาหรือแก้ไข ขับเคล่อื นประเด็นฯ การ ตดิ ตามเสรมิ พลังของทีม องคร์ วม จำนวน 3 ปัญหาอยา่ งเป็นองคร์ วม พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต เสรมิ พลังระดบั จังหวัด ลา้ นคน 3 มีการกำหนดเป้าหมาย ประชาชนทั้ง 3 ประเด็น และเขต (ผ้พู กิ าร ผสู้ ูงอายุ IMC การดูแลกลุม่ เปราะบางตาม และดแู ลกล่มุ เปราะบาง (ผู้ และผ้ไู ด้รับผลกระทบ บรบิ ทของพน้ื ที่ (ผ้พู ิการ พิการ ผสู้ ูงอายุ IMC และผู้ จากCOVID 19) ผู้สงู อายุ IMC และผไู้ ดร้ บั ไดร้ ับผลกระทบจาก COVID ผลกระทบจากCOVID 19) 19) 4.ทกุ อำเภอมีการประเมิน ตนเองตามแบบการประเมิน UCCARE และวางแผนการ พัฒนารว่ มกับจงั หวดั ตัวช้วี ัดทเ่ี กยี่ วข้อง 1. รอ้ ยละของอำเภอผา่ นเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตที่มีคณุ ภาพ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๗๕ สูตรคำนวณตวั ชีว้ ดั (กรณวี ัดเชงิ ปรมิ าณ) (A/B) × 100 A = จำนวนอำเภอทีผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ B = จำนวนอำเภอ 878 แหง่ หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ: กรม สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ สำนกั /กอง สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
48 ผปู้ ระสานงานตัวช้ีวัด ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศพั ท/์ ประเด็นทร่ี บั ผดิ ชอบ e-mail address ชื่อ-สกลุ ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ Tel. 0 2590 193๙ นพ.ประสทิ ธิ์ชัย มั่งจิตร รองผ้อู ำนวยการสำนกั สนบั สนุนระบบ Mobile 08 1923 0536 ประเด็นทร่ี บั ผดิ ชอบ e-mail : [email protected] ระบบสุขภาพปฐมภูมิ สขุ ภาพปฐมภูมิ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ หมายเลขโทรศพั ท์/ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ สำนกั สนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภมู ิ e-mail address Tel. 0 2590 1939 ผรู้ บั ผดิ ชอบการรายงานผลการดำเนินงาน Mobile 08 1923 0536 e-mail : [email protected] ชือ่ -สกลุ ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน Tel. 0 2590 1939 Mobile 081 ๗๓๓ ๓๐๘๒ นพ.ประสทิ ธ์ิชยั ม่ังจิตร รองผู้อำนวยการสำนกั สนบั สนนุ ระบบ E-mail : [email protected] นางจารณุ ี จันทรเ์ พชร สขุ ภาพปฐมภมู ิ Tel.๐ ๒๕๙๐ ๑๙๓๙ นางเออื้ มพร จนั ทร์ทอง สำนกั สนบั สนุนระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ Mobile ๐๘ ๖๓๕๔ ๑๙๖๑ e-mail [email protected] นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญ การพิเศษ สำนักสนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ สำนกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
49 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (Inspection Guideline) ประเดน็ ที่ ๓ : ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ หัวข้อ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ตัวช้วี ัด : ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผา่ นเกณฑ์การพฒั นาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว คา่ เปา้ หมาย ร้อยละ 7๕ (สะสม) คำนิยาม 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) หมายถึง หน่วยบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ทั้งท่ี อยู่ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และท่ีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ไม่รวมศูนย์ สุขภาพชุมชน(ศสช.) ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม.) หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ในโรงพยาบาล (PCU/NPCU) 2. การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. หมายถึง การพัฒนาคุณภาพของ รพ.สต. ให้ได้ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาวที่กำหนด คือ 5 ดาว 5 ดี ประกอบด้วย 1) บริหารดี 2) ประสานงานดี ภาคมี ีส่วนรว่ ม 3) บคุ ลากรดี 4) บริการดี 5) ประชาชนมสี ขุ ภาพดี มีเกณฑป์ ระเมินดงั น้ี หมวด 1 การนำองค์กรและการจัดการดี หมวด 2 การใหค้ วามสำคญั กับประชากรเป้าหมาย ชุมชนและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี หมวด 3 การม่งุ เนน้ ทรัพยากรบุคคล หมวด 4 การจดั ระบบบรกิ ารครอบคลุมประเภทและประชากรทกุ กลมุ่ วยั หมวด 5 ผลลัพธ์ โดยมกี ารแปลผลระดบั ดาว ดังน้ี รอ้ ยละ 60.00 - 69.99 เทา่ กบั 3 ดาว (รายงาน เขต และจังหวดั เพื่อการพฒั นา) รอ้ ยละ 70.00 - 79.99 เทา่ กับ 4 ดาว (รายงาน เขต และจงั หวัด เพื่อการพัฒนา) ร้อยละ 80 ขึน้ ไป และทุกหมวดต้องผา่ น รอ้ ยละ 80 เท่ากับ 5 ดาว 3. การรับรองผล จังหวัดและเขตร่วมพัฒนาและรับรองผล รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ตดิ ดาว ระดบั 5 ดาว โดยรักษาสภาพ 2 ปี ก่อนเข้ารบั การประเมินใหม่ ประเด็นการตรวจราชการท่ีมุง่ เนน้ เป้าหมาย มาตรการท่ีดำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการ ในพืน้ ท่ี ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น รอบ 1 1. กำหนดแผนงานและ 1. ศึกษามาตรฐานคมู่ ือ 1.การประชุมช้ีแจงหลกั เกณฑ์ 1. ทุกจังหวัดมคี ณะทำงาน แนวทางการดำเนินการ แนวทางการพัฒนา พัฒนาเกณฑ์การพฒั นา และทีมพเ่ี ล้ียง ในการพฒั นา ประเมินโรงพยาบาล โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ คณุ ภาพ รพ.สต.ตดิ ดาว รพ.สต.ติดดาว สง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล ตำบลตดิ ดาว (รพ.สต. ปี 2565 2. ทกุ จังหวัดมีแผนการ ตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) ตดิ ดาว) ปี 2565 2. แผนการดำเนินงาน ดำเนนิ งาน รพ.สต.ตดิ ดาว 2. รพ.สต. ประเมิน 2. พัฒนาคณะทำงาน รพ.สต.ติดดาว ในระดบั 3. รพ.สต. ทกุ แหง่ ประเมิน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
50 เป้าหมาย มาตรการที่ดำเนินงาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธท์ ีต่ อ้ งการ ในพ้นื ท่ี ตนเองตามเกณฑ์และ ทีมพ่เี ล้ยี ง ทุกระดับใหม้ ี จงั หวัด ตนเองและบันทึกข้อมูล บนั ทกึ ข้อมูลในระบบ มาตรฐาน 3. ผลการประเมินตนเอง ในระบบข้อมูลทรัพยากร พร้อมวเิ คราะหป์ ัญหา 3. รพ.สต. วางแผน ผา่ นระบบข้อมูลทรัพยากร สุขภาพหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ เพือ่ หาโอกาสพัฒนา การพัฒนาใหผ้ ่านเกณฑ์ สขุ ภาพ หนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิ ในโปรแกรม พฒั นาคณุ ภาพ รพ.สต. 4. วิเคราะหป์ ญั หาและ http://gishealth.moph.g ติดดาว ระดบั 5 ดาว อุปสรรค ของ รพ.สต. o.th/pcu 4. รพ.สต. ประเมนิ ตนเอง ทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑ์พัฒนา ตามเกณฑ์พฒั นาคุณภาพ คณุ ภาพ รพ.สต.ตดิ ดาว รพ.สต. ตดิ ดาว ระดบั 5 และวางแผนพัฒนา ดาว และบันทึกในระบบ คณุ ภาพ รพ.สต ข้อมลู ทรัพยากรสขุ ภาพ 5. ขอ้ เสนอแนวทางการ ในโปรแกรม พัฒนา รพ.สต. ให้ผา่ น http://gishealth.mop เกณฑ์และมีมาตรฐาน h.go.th/pcu ประเดน็ การตรวจราชการทมี่ ุ่งเน้น รอบ 2 1. รพ.สต. ได้รับการ 1. ที ม ป ร ะ เมิ น แ ล ะ 1. ผลการวิเคราะห์ปัญหา 1. รพ.สต. ท่ผี ่านเกณฑ์การ เย่ียมประเมิน และร่วม รพ.สต.ร่วมกันวิเคราะห์ และแผนการดำเนินการ พฒั นาคุณภาพ รพ.สต.ตดิ วางแผนพัฒนาคุณภาพ ปั ญ ห า แ ล ะ ว า งแ ผ น แกป้ ญั หาอย่างตอ่ เนือ่ ง ดาว ระดับ 5 ดาว ร้อยละ รพ.สต.เสนอแนะและให้ แกป้ ญั หาอย่างต่อเนอื่ ง 2. ผลการเยย่ี มประเมิน 75 (สะสม) การสนับสนุนเพ่ือแก้ไข 2 .ร ะ ดั บ อ ำ เภ อ แ ล ะ และการบนั ทึกข้อมลู ใน ปัญหา จากระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ประเมิน ระบบข้อมูลทรัพยากร ระดับจังหวัดและระดับ รพ.สต. และบันทกึ ขอ้ มูล สุขภาพหนว่ ยบริการปฐมภูมิ เขต พ ร้อ ม รับ รอ งผ ล ก าร ในโปรแกรม ประเมิน ในโป รแกรม http://gishealth.moph. http://gishealth.mop go.th/pcu h.go.th/pcu 2. ระดับเขตสุขภาพ ประเมนิ รับรองข้อมลู รพ.สต.ตดิ ดาว และสง่ ขอ้ มูลมายัง สำนัก สนบั สนุนระบบสุขภาพ ปฐมภมู ิ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดอื น 12 เดอื น 1. ประชุมชี้แจงนโยบาย 1. พี่เลี้ยงระดบั เขต 1. รพ.สต. ทยี่ ังไม่ผา่ น รพ.สต. ท่ีผ่านเกณฑ์การ กำหนด ทิศทาง ติดตาม สขุ ภาพศึกษาเกณฑ์ เกณฑ์การพัฒนา พัฒนาคุณภาพ รพ.สต. แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
51 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน การดำเนนิ งาน(Kickoff)ระดับ ประเมินคุณภาพ รพ.สต. คุณภาพ ระดับ 5 ดาว ตดิ ดาว ระดับ 5 ดาว ร้อยละ 75 (สะสม) ประเทศผา่ นโปรแกรม ตดิ ดาว ปี 2565 ผา่ นทาง และหมดอายรุ กั ษา zoom สือ่ ออนไลน์ (YouTube) สภาพในปี 2563 และ 2. เผยแพรแ่ นวทางการ 2.แต่งต้ังทีมพัฒนา/ทีม 2564 ไดร้ บั การพัฒนา ดำเนนิ งานผา่ นทางส่ือ ประเมินระดับเขต ระดับ โดยทมี พเ่ี ลย้ี งระดบั ออนไลน์ (You Tube) จงั หวดั และระดบั อำเภอ อำเภอ/ระดับจังหวัด เพือ่ พฒั นาทีมประเมนิ 3. มีทีมพ่ีเล้ียงระดับอำเภอ 2. คณะกรรมการ ระดับเขต ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนา รพ.สต. ทุกแห่ง ประเมนิ ระดบั อำเภอ และระดับอำเภอ ร้อยละ 100 ประเมนิ รพ.สต. 3. มีค่มู อื แนวทางการ 4. สสอ./สสจ. ตรวจสอบ 3. คณะกรรมการ พฒั นาคณุ ภาพ ข้อมูลการบันทึกการประเมิน ประเมินระดับจงั หวัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตนเองของ รพ.สต. ในโปรแกรม ประเมินและรบั รองผล ตำบลตดิ ดาว (รพ.สต.ติดดาว) http://gishealth.moph.go. ของ รพ.สต. ปี 2565 th/pcu เพ่ือวางแผนการ 4. คณะกรรมการ 4. รพ.สต. ประเมนิ ตนเอง พัฒนา ประเมนิ ระดับเขต ตามเกณฑแ์ ละบนั ทึกข้อมูล ประเมนิ รบั รองผลและ ในระบบข้อมูลทรัพยากร แลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ น สุขภาพในโปรแกรม ภาพของจงั หวัด http://gishealth.moph 5. สสอ./สสจ./เขต .go.th/pcu ตรวจสอบขอ้ มูลและ ส่งผลการประเมินมายัง สำนกั สนับสนนุ ระบบ สุขภาพปฐมภมู ิ (สสป.) ผ่านโปรแกรม http://gishealth.mop h.go.th/pcu ตวั ชี้วดั ท่ีเกีย่ วข้อง 1. ร้อยละของ รพ.สต. ทผ่ี ่านเกณฑ์การพฒั นาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ร้อยละ 75 (สะสม) สตู รคำนวณตัวชว้ี ดั (กรณีวัดเชิงปริมาณ) (A/E) x 100 รายการข้อมูล 1 A = จำนวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต. ท่ีผ่านระดับ 5 ดาว ในปีงบประมาณ 2560 และ ปีงบประมาณ 2561 + รพ.สต. ที่ยังไม่ผ่านระดับ 5 ดาว) ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว ในปีงบประมาณ 2565 B = จำนวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ผ่านระดับ 5 ดาว ปีงบประมาณ 2560 และ 2561 ผา่ นเกณฑพ์ ฒั นาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดบั 5 ดาว ในปีงบประมาณ 2565 C = จำนวนโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลระดับ 4 ดาว แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
52 (สะสมปงี บประมาณ 2560 – 2565) *รายงานไปยังเขตเพอ่ื วางแผนพฒั นา D = จำนวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระดบั 3 ดาว (สะสมปีงบประมาณ 2560 – 2565) *รายงานไปยงั เขตเพื่อวางแผนพัฒนา รายการข้อมูล 2 E = จำนวนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท้ังหมด และท่ีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ไม่รวม ศนู ย์สุขภาพชุมชน(คสช.) ศนู ย์สุขภาพชุมชนเมือง(ศสม.) หนว่ ยบรกิ ารปฐมภูมิและเครือขา่ ยหน่วยบริการ ปฐมภมู ิ(PCU/NPCU) (9,863 แห่ง) หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบ : สำนักสนบั สนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้ประสานงานตัวช้ีวดั ชื่อ-สกุล ตำแหนง่ /หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ท่รี ับผดิ ชอบ พญ.ณภทั ร สทิ ธิศักดิ์ e-mail address ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ นายแพทย์เชยี่ วชาญ (ดา้ น เวชกรรมป้องกัน) Tel. 025901939 สำนัก/กอง สำนกั สนบั สนนุ Mobile. 089 711 0421 ระบบสุขภาพปฐมภูมิสำนกั e-mail : [email protected] ผ้รู ับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ชื่อ-สกุล ตำแหนง่ /หน่วยงาน หมายเลขโทรศพั ท/์ ประเดน็ ท่รี บั ผดิ ชอบ พญ.ณภัทร สทิ ธิศักด์ิ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ e-mail address นางเนาวรตั น์ สจั จากุล ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ นายแพทย์เชยี่ วชาญ (ดา้ น Tel. 025901939 เวชกรรมป้องกัน) Mobile. 089 711 0421 สำนัก/กอง สำนักสนบั สนนุ e-mail : ระบบสุขภาพปฐมภมู ิสำนกั / [email protected] ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชีพ Tel.๐๒๕๙๐๑๙๓๙ ชำนาญการ Mobile 087 419 1404 สำนัก/กอง สำนักสนับสนุน e-mail : ระบบสุขภาพปฐมภูมิ [email protected] แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเนน้ ประเด็นท่ี 4 สขุ ภาพกลุ่มวัย สขุ ภาพจติ ประเดน็ มุง่ เน้น : 1. สุขภาพเด็ก 1.1 ระดบั สตปิ ญั ญาเฉล่ยี IQ ของเดก็ ไทย 2. สุขภาพวยั ทำงาน 2.1 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 2.2 การตรวจตดิ ตามยนื ยนั วนิ ิจฉยั กลุ่มสงสัย ป่วยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหติ สูง 3. สขุ ภาพผู้สูงอายุ 3.1 พฤติกรรมสขุ ภาพพงึ ประสงค์ 3.2 สมองเสื่อม พลัดตกหกลม้ 3.3 Long Term Care จดั ทำโดย คณะกรรมการกำหนดประเด็นและตดิ ตามผลการตรวจราชการ
53 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (Inspection Guideline) ประเดน็ ท่ี 4 : สขุ ภาพกลุม่ วัย สขุ ภาพจิต หวั ข้อ : สขุ ภาพเดก็ ตัวช้ีวัด : เด็กไทยมรี ะดบั สติปญั ญาเฉล่ีย IQ ไมต่ ่ำกว่า 100 คำนิยาม - เดก็ ไทย หมายถึง เดก็ ท่มี ีสัญชาติไทยมีอายุตง้ั แต่แรกเกิด - อายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วนั - ระดับสติปัญญาเฉลี่ย IQ หมายถึง ความสามารถของสมอง ในการคิด การใชเหตุผล การคำนวณ การเช่ือมโยง เป็นศกั ยภาพทางสมองที่ติดตัวมาแตกำเนดิ สามารถวัดออกมาเปน็ คาสัดสวนตัวเลขท่ีแน่นอนได้ โดยเครือ่ งมือวัดสวนใหญจ่ ะวดั ทักษะและกระบวนการของสมอง เชน ความคดิ ความจาํ การจัดการขอมูลของ สมอง เปนตน มีคา่ กลางทีเ่ ป็นมาตรฐานสากล ยุคปจจุบนั ท่ีคา = 100 - เด็กปฐมวัยได้รับการคัดกรองพัฒนาการ หมายถึง เด็กอายุ 9 , 18 , 30 , 42 และ 60 เดือน ท่ี ได้รับการตรวจคัดกรอง ณ ช่วงเวลาที่มีการคัดกรองโดยเป็นเด็กในพื้นที่ (Type1 มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตัวอยู่ จรงิ และ Type3 ท่อี าศัยอย่ใู นเขต แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต) - เด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม หมายถึง เด็กที่ได้รับการตรวจคัดกรอง พัฒนาการตามอายุของเด็กในการประเมินพัฒนาการครั้งแรกผ่านไม่ครบ 5 ด้าน เฉพาะกลุ่มที่แนะนำให้พ่อแม่ ผปู้ กครอง สง่ เสริมพัฒนาการตามวัยภายใน 30 วัน (1B261) แลว้ ติดตามกลบั มาประเมินคัดกรองพฒั นาการ ครั้งที่ 2 - พฒั นาการสมวยั หมายถึง เด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ได้รับตรวจคดั กรองพฒั นาการ โดยใชค้ มู่ อื เฝา้ ระวังและส่งเสรมิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั (DSPM) แลว้ ผลการตรวจคัดกรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ใน การตรวจคัดกรองพัฒนาการคร้ังแรก รวมกับเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยลา่ ชา้ และได้รับการติดตามให้ได้รับการ กระตุ้นพฒั นาการ และประเมินซำ้ แล้วผลการประเมนิ ผา่ นครบ 5 ด้านภายใน 30 วัน - เด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้า หมายถึง เด็กปฐมวัยอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือน ที่ประเมินด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (Developmental Surveillance and Promotion Manual: DSPM) ครั้งที่ 1 แล้วพบว่าต้องส่งต่อ และเด็กอายุ 9, 18, 30, 42, 60 เดือนที่มาประเมินซ้ำ ด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย: DSPM ครั้งที่ 2 แล้วยัง พบมพี ัฒนาการล่าชา้ อย่างน้อย 1 ด้านขึ้นไป - อนามัยแม่และเดก็ หมายถึง การดแู ลสุขภาพของหญิงตง้ั แต่ก่อน ระหวา่ งตั้งครรภใ์ ห้มีสุขภาพที่ดี มีการตั้งครรภ์และคลอดที่ปลอดภัยและมีสุขภาพหลังคลอดที่ดี พร้อมทั้งมีบุตรที่สมบูรณ์แข็งแรง และได้รับ การเล้ียงดอู ย่างมคี ณุ ภาพ เดก็ มพี ฒั นาการสมวยั สูงดีสมสว่ น ปราศจากฟนั ผุ - ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน หมายถึง ทารกแรกเกิดจนถึง 5 เดือน 29 วันในเขต รบั ผดิ ชอบทง้ั หมดกินนมแม่อยา่ งเดยี ว 6 เดอื น หมายถงึ เด็กแรกเกิดต่ำกว่า 6 เดอื น (แรกเกดิ จนถึง 5 เดือน 29 วัน ) ที่มีประวัติกินนมแม่อย่างเดียวทุกครั้งที่มารับบริการ (ในแต่ละครั้งที่มารับบริการถูกสัมภาษณ์ด้วย คำถามวา่ “ใน 24 ชัว่ โมงที่ผา่ นมาใหล้ กู กนิ อะไรบ้าง”) - กราฟการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 – 5 ปี กรมอนามัย ปี พ.ศ. 2563 หมายถึง กราฟการ เจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ประยุกต์จากมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 – 5 ปี ของ องค์การอนามัยโลก ปี พ.ศ. 2558 และเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 – 19 ปี สำนัก แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
54 โภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 โดยเริ่มใช้ในการประมวลผลในระบบฐานข้อมูล HDC ไตรมาสที่ 3 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เปน็ ต้นไป - ภาวะเตี้ย หมายถึง ความยาวหรือส่วนสูงน้อยกว่ามาตรฐาน เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโต ความยาวหรือส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ของเด็กอายุ 0 – 5 ปี กรมอนามัย ปี พ.ศ. 2564 โดยมีค่าน้อยกว่า - 2 SD ของความยาวหรอื สว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ - เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ หมายถึง ในช่องปากเด็กอายุ 3 ปี (เด็กที่อายุ 3 ปีเต็ม ถึง 3 ปี 11 เดือน 29 วนั ) ไม่มรี ูฟนั ผุฟันถอนและอุดเนื่องมาจากโรคฟนั ผุ สถานการณ์/ปญั หา (ภาพประเทศ) จากระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของสตรีและเด็กปฐมวัย กรมอนามัย ปี 2564 พบหญิงต้ังครรภ์ฝาก ครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ร้อยละ 81 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 73 หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมไอโอดีน ร้อยละ 79.30 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ 15.09 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมร้อยละ 6.6 เด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 61.81 โรคฟันผุในเด็กไทยถือว่ายังอยู่ในระดับที่สูงมีผลต่อภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโต เด็กไทยอายุ ๓ ปีซึ่งเป็นขวบปีแรกที่มีฟันน้ำนมขึ้นครบ มีปัญหาโรคฟันผรุ ้อยละ ๕๒.๙ และเมื่อเด็กอายุ ๕ ปี เพิ่มขึ้นเปน็ ร้อยละ ๗๕.๖ และมีฟนั คา่ เฉล่ยี ฟันผุ ถอน อุดอยูท่ ี่ 4.5 ซี่/คน กจิ กรรมการดำเนินงานสร้างเสริม สขุ ภาพและป้องกันโรคฟันผุในเด็กปฐมวยั ปีงบประมาณ 2564 พบวา่ เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอยู่ ในระดับต่ำ โดยเด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจฟันเพียง ร้อยละ50.2 เด็ก 3-5 ปีได้รับการตรวจฟันและทา ฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ54 และ 48.9 ตามลำดับ หากเด็กได้รับการตรวจ ประเมินโรคฟันผุ ได้รับคำแนะนำ และบริการทันตกรรมป้องกันที่เหมาะสม จะนำไปสู่การลดการเกิดฟันผุและการสูญเสียฟันก่อนวัยอันควร สง่ ผลใหเ้ ด็กมีสขุ ภาพและคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี ข้อมูลการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2562 (MICS6 : สำนักงานสถิติ แห่งชาติ) พบวา่ เด็กปฐมวยั มภี าวะเตี้ยสูงถึง ร้อยละ 13.3 ซ่งึ มคี า่ สูงกว่าเป้าหมายระดับประเทศท่ีกำหนดไว้ ในปี 2565 ไม่เกินร้อยละ 10.0 ทั้งนี้เมื่อแยกช่วงอายุของเด็กพบว่า เด็กแรกเกิด – 2 ปี มีภาวะเตี้ยสูงกว่า เด็กอายุ 3-5 ปี ร้อยละ 17.4 และร้อยละ 11.0 ตามลำดับ พบเด็กเตี้ยมากที่สุดในเขตกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 17.0 รองลงมา คือ ภาคเหนือรอ้ ยละ 14.5 และภาคกลางรอ้ ยละ 13.4 เม่ือแยกวเิ คราะห์ข้อมลู ตาม กลุ่มดัชนีความมั่นคั่ง พบว่า เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจนมากจะมีภาวะเตี้ยมากถึง ร้อยละ 15.7 จากผลการสำรวจข้างต้น สะท้อนถึงแนวโน้มที่น่ากังวลด้านภาวะโภชนาการของเด็กไทย ท่ีอัตราของเด็ก เตี้ยแคระแกร็นมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสมอง และระดับสติ ปัญญาของเด็ก โดยเฉพาะในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต นับเป็นช่วงเวลาสำคัญท่ีโครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุด เปน็ ผลให้เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้และการจดจำของเด็ก นอกจากนี้ภาวะการเจรญิ เติบโตด้านร่างกายของ เด็กก็เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน ซึ่งส่วนสูงของเด็กอายุ 2-3 ปี ถือเป็น Proxy indicator ของสุขภาพใน วัยผู้ใหญ่และเป็นทุนมนุษย์ที่สำคัญ อย่างไรก็ตามยังพบข้อมูลของเด็กปฐมวัยไม่ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง เพื่อประเมินภาวะการเจริญเติบโต มากถึงร้อยละ 38.0 ส่วนใหญ่เป็นเด็กอายุ 3-5 ปี (ร้อยละ 41.2) ดังนั้นการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตโดยการชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูงของเด็กปฐมวัย และการส่งเสรมิ โภชนาการเพอื่ ลดปัญหาเด็กทพุ โภชนาการ มีความสำคญั ต่อการกำหนดภาวะสขุ ภาพของเด็ก ไปตลอดช่วงชวี ติ ส่งผลใหเ้ ด็กปฐมวัยมีการเจรญิ เติบโตเต็มศักยภาพ สงู ดีสมสว่ น และมรี ะดับเชาวน์ปญั ญาดี แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
55 และจากการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กปฐมวัย พบเด็กช่วงอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ได้รับ การตรวจคัดกรองครอบคลุมร้อยละ 86.9 พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าร้อยละ 27.6 ติดตามส่งเสริมกระตุ้น และประเมนิ ซ้ำ ร้อยละ 91.6 หลงั การตดิ ตามส่งเสรมิ พบเด็กมีพฒั นาการสมวัยเพิ่มข้ึนเป็นร้อยละ 84.5 และ ในส่วนของเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ต้องส่งต่อเพื่อให้ไดร้ ับการดแู ลจากแพทยแ์ ละพยาบาลด้านพัฒนาการโดย ใช้เครื่องมือ TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น พบว่าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย จำนวน 4,334 คน คิดเป็นร้อยละ 70.12 กระตุ้นครบเกณฑ์ จำนวน 2,495 คน คิดเป็นร้อยละ 57.57 และกลับมามี พัฒนาการสมวัยร้อยละ 33.03 และพบว่ายังมเี ด็กทไ่ี มส่ ามารถติดตามได้ จำนวน 1,491 คน คดิ เป็นร้อยละ 24.12 จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่าในสถานการณ์โควิดระลอก 3 และ 4 ทำให้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ ให้บริการในหน่วยบริการสาธารณสุข รวมถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอยา่ งมาก จึงทำ ให้พบว่ามีเด็กไม่ได้รับการคัดกรองและเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าท่ีต้องติดตามพัฒนาการไม่ได้เข้าสู่ระบบ มากกวา่ รอ้ ยละ 10 สง่ ผลใหเ้ ดก็ สญู เสียโอกาสที่จะไดร้ ับการคดั กรอง คน้ หา ส่งเสริม ติดตาม และดูแลกระตุ้น ให้มีพัฒนาการที่สมวัย ประเดน็ การตรวจราชการที่มงุ่ เนน้ เปา้ หมาย มาตรการที่ดำเนินงาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลพั ธท์ ตี่ ้องการ ในพืน้ ท่ี ประเดน็ การตรวจราชการทม่ี ุ่งเน้น รอบ 1 เด็กไทย หญิงตั้งครรภ์ 1. แผนและผลการขับเคล่ือนการ 1. รอ้ ยละ 75 ของหญิง สุขภาพ บรู ณาการงานอนามัยแม่และเด็ก ตง้ั ครรภ์ไดร้ บั การฝาก แขง็ แรง 1. สง่ เสรมิ หญิงตัง้ ครรภ์ ผ่านการประชุมของคณะกรรมการ ครรภ์คร้ังแรกเมื่ออายุ พัฒนาการ ใหฝ้ ากครรภก์ ่อน อนามยั แมแ่ ละเดก็ ระดบั จังหวัด ครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ สมวยั 12 สปั ดาห์ (MCH Board) 2. ร้อยละ 75 ของหญงิ 2. หญงิ ตง้ั ครรภ์ได้รบั 2. จัดสรรวคั ซนี โควิด 19 ให้ ตั้งครรภ์ได้รับบริการฝาก IQ เกนิ 100 บรกิ ารฝากครรภ์ครบ ครอบคลุมหญงิ ต้ังครรภร์ อ้ ยละ 70 ครรภค์ รบ 5 ครง้ั ตาม 5 คร้ังตามเกณฑ์ ของการต้ังครรภ์ท้ังหมดในพ้ืนท่ี เกณฑ์ 3. สถานบรกิ าร สธ. เร่งรดั ฉีดวคั ซนี โควิด 19 เชิงรกุ แก่ 3. หญิงต้ังครรภม์ ภี าวะ จ่ายยาเม็ดเสริมไอโอดีน หญงิ ต้งั ครรภ์ โลหติ จาง ไม่เกิน ธาตเุ หลก็ และโฟลกิ 3. จดั ใหม้ ีการจดั บริการ รอ้ ยละ 14 ให้หญิงตง้ั ครรภ์ทุกคน แบบ ONE STOP SERVICE ณ 4. หญิงต้งั ครรภไ์ ด้รบั ยา 4. หญงิ ตง้ั ครรภไ์ ดร้ ับการ คลนิ กิ ฝากครรภ์สำหรับการให้บริการ เมด็ เสริมไอโอดีน ธาตุ ฉีดวัคซนี ปอ้ งกันการ ฉีดวัคซนี โควดิ 19 แก่หญิงตง้ั ครรภ์ เหลก็ และโฟลิก ตดิ เชอื้ โควิด 19 หลังอายุ 4. สง่ เสริม สนับสนุนใหห้ ญิง ร้อยละ 100 ครรภ์ 12 สปั ดาห์ ตง้ั งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครง้ั แรก 5. รอ้ ยละหญิงตง้ั ครรภ์ 5. พ้ืนทีม่ ีการดำเนินงาน เมื่ออายคุ รรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ และ ไดร้ บั การฉีดวคั ซีนป้องกัน ชมุ ชน/หมบู่ ้านไอโอดนี ได้รบั บริการฝากครรภค์ รบ 5 คร้ัง การตดิ เชื้อโควดิ 19 หลัง และส่งเสรมิ ให้รา้ นอาหาร ตามเกณฑ์ อายคุ รรภ์ 12 สัปดาห์ แผงลอย ฟู้ดทรคั และ โฮมเมดใชเ้ กลือและ ผลติ ภัณฑป์ รงุ รสที่เสรมิ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
56 เป้าหมาย มาตรการทดี่ ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธ์ท่ตี ้องการ ในพ้ืนท่ี ประเดน็ การตรวจราชการที่มงุ่ เน้น รอบ 1 ไอโอดีน โดยใช้แพลท 5. ตดิ ตามกระบวนการทำงานและผล 6. ทารกแรกเกิดน้ำหนกั ฟอรม์ อนามัยไอโอดนี การดำเนนิ งาน จำนวนของชุมชน/ น้อยกวา่ 2,500 กรัม ได้ตามคา่ เปา้ หมายรายเขต หมูบ่ ้านไอโอดีน ร้านอาหาร แผงลอย 7. ค่ามัธยฐานไอโอดนี ฟู้ดทรคั และโฮมเมดใช้เกลือและ ในปสั สาวะหญงิ ต้ังครรภ์ ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสรมิ ไอโอดีน มากกวา่ หรือเท่ากบั โดยใชแ้ พลทฟอร์มอนามยั ไอโอดีน 150 ไมโครกรัมต่อลติ ร เด็กไทย เดก็ 0-5 ปี สขุ ภาพ แขง็ แรง 1. ปกป้อง ส่งเสริม 1. แผนและผลการขับเคลื่อนการ 1. ร้อยละทารกแรกเกดิ – พัฒนาการ 6 เดอื น กินนมแม่อย่าง สมวยั สนบั สนุน การเล้ยี งลกู ดว้ ย บูรณาการงานผา่ นการประชมุ เดยี ว 6 เดือน ไม่ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 50 IQ เกนิ 100 นมแม่ คณะอนกุ รรมการส่งเสริมการพฒั นา 2. รอ้ ยละของเด็กอายุ 0- 2. การสง่ เสริมโภชนาการ เด็กปฐมวยั ระดับจังหวดั 5 ปี ได้รับการช่ังน้ำหนัก วัดความยาว/สว่ นสูง ของหญิงใหน้ มบุตร และ 1.1 ดา้ นโภชนาการ ไมต่ ำ่ กวา่ ร้อยละ 90 อาหารตามวัยของเด็ก 1.2 พฒั นาการเด็กปฐมวัย 3.ร้อยละของเดก็ ปฐมวัย ปฐมวัย ไดร้ ับการคัดกรอง 1.3 ด้านสขุ ภาพช่องปากของเด็ก พัฒนาการ 5 ชว่ งวยั ไม่ 3.ขบั เคลอื่ นงานผ่าน ปฐมวัย ตำ่ กว่าร้อยละ 90 คณะอนุกรรมการเด็ก ปฐมวยั ระดบั จงั หวัด/ 2. มีมาตรการการสง่ เสรมิ สุขภาพ 4. รอ้ ยละเด็กปฐมวัยทีม่ ี คณะกรรมการพฒั นา เด็กปฐมวยั ในพนื้ ท่ี เชน่ ตำบล พฒั นาการสงสยั ลา่ ชา้ คุณภาพชีวติ ระดบั อำเภอ/ มหศั จรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ไดร้ ับการติดตามไมต่ ำ่ กว่า คณะกรรมการกองทุน ผ่านการบรู ณาการรว่ มกบั ภาคี ร้อยละ 90 สุขภาพระดบั ตำบล เครือข่าย 5. ร้อยละของเดก็ ปฐมวยั 4. พฒั นาคุณภาพบริการ 3. พื้นที่มีการขับเคลือ่ นการ มพี ฒั นาการสมวยั ไมต่ ำ่ งานอนามัยแม่และเด็กใน ดำเนินงาน สพด. 4D ตามมาตรฐาน กว่า รอ้ ยละ 85 ชมุ ชน (รพ.สต., ศพด.) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 6. รอ้ ยละของเดก็ อายุ 3 5. ตดิ ตาม เฝ้าระวงั และ 4.เพิ่มความครอบคลุมการส่งเสรมิ ปี ไดร้ ับการตรวจฟัน โดย ส่งเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต พฒั นาการ ทันตบุคลากร ไม่ต่ำกวา่ ร้อยละ 50 พฒั นาการ ความฉลาด 4.1 คัดกรองพฒั นาการ ทางอารมณ์ และสุขภาพ 4.2 ติดตามเด็กพฒั นาการเด็ก ช่องปากของเดก็ ปฐมวัย สงสัยลา่ ช้า 5.1 ความครอบคลุมการ คัดกรองพฒั นาการ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
57 เปา้ หมาย มาตรการทด่ี ำเนินงาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ ในพื้นที่ ประเด็นการตรวจราชการทีม่ ุ่งเน้น รอบ 1 5 ชว่ งวยั 4.3 ติดตามเด็กพัฒนาการล่าช้า 7. รอ้ ยละของเด็ก 0 -5 5.2 เดก็ ปฐมวยั ทม่ี ี และเดก็ พฒั นาการล่าช้า สง่ ตอ่ / ปี มีภาวะเตี้ย ไมเ่ กิน พัฒนาการสงสัยลา่ ชา้ วินจิ ฉัยเขา้ สู่ระบบบรกิ าร ร้อยละ 10 ไดร้ บั การติดตาม 5.ติดตาม ส่งเสรมิ ผลกั ดนั การ 8. ร้อยละของเดก็ อายุ 6 5.3 เฝ้าระวงั และสง่ เสรมิ พฒั นาศักยภาพบุคลากรสาธารณสขุ เดอื น - 5 ปี ได้รบั ยานำ้ พัฒนาการเด็กกลุ่มปกติ ให้มคี วามรแู้ ละทักษะท่ีเพียงพอต่อ เสริมธาตเุ หลก็ ไมต่ ่ำกว่า ดว้ ยกจิ กรรมเด็กไทย การประเมนิ เพ่ือกระตนุ้ พฒั นาการ รอ้ ยละ 80 คิดเป็น คิดดี คิดให้ ดว้ ย โดยใช้คู่มือ TEDA4I หรอื เครื่องมือ สายใยผูกพันและ มาตรฐานอน่ื 9.ร้อยละของเดก็ อายุ 6- 12 เดือน มภี าวะโลหิต เสรมิ สร้างความฉลาดทาง 6.ติดตาม รวบรวม และวิเคราะหผ์ ล จาง ไมเ่ กินร้อยละ 20 อารมณ์ และดแู ลต่อเนอ่ื ง การดำเนินงานจากฐานข้อมลู HDC 10. เด็กปฐมวัยกลุม่ เสี่ยง 5.4 ชั่งนำ้ หนักวัดความ 7. มแี นวทางในการสร้างพอ่ แม่ ได้รบั การเฝ้าระวัง ยาว/ส่วนสูง เดก็ คณุ ภาพในการเลีย้ งดเู ด็ก ได้แก่ ตดิ ตาม กระตนุ้ แรกเกิด – 5 ปี กระบวนการโรงเรียนพ่อแม่ กิจกรรม พฒั นาการ และดูแล (5 ปี 11 เดือน 29 วัน) การพฒั นาเด็กไทยคิดเป็น คิดดี คิด ต่อเนอื่ ง 5.5 เดก็ 3 ปี ไดร้ ับการ ให้ (CPR : Creation Positive 11.เด็กพฒั นาการลา่ ช้า ตรวจสุขภาพชอ่ งปาก Response to society) ไดร้ บั การกระตนุ้ 6. สง่ เสรมิ การจ่ายยาน้ำ 8.มกี ารจดั บริการกระต้นุ พัฒนาการ พฒั นาการ เสริมธาตุเหล็กสำหรับเดก็ เด็กพฒั นาการลา่ ช้า ในรปู แบบ New 12. หนว่ ยบริการ รพช. อายุ 6 เดือน – 5 ปี Normal ภายใต้สถานการณ์ สบส./รพท./รพศ. มี 7. นักเรยี นในโรงเรยี น COVID-19 ระบบดูแลช่วยเหลือเด็ก สงั กดั โครงการ กพด. พัฒนาการลา่ ช้าท่ีมี ได้รบั น้ำเสริมไอโอดนี 9. ตดิ ตามการใหน้ ้ำเสริมไอโอดนี ใน คณุ ภาพ เป็นประจำทุกวนั โรงเรียนสงั กดั โครงการ กพด. (ใน เด็กอนบุ าลทมี่ ีอายุต่ำกวา่ 5 ปีควร ได้รบั ไอโอดนี วันละ 90 ไมโครกรัม ตอ่ ลิตร หรอื ดืม่ น้ำเสรมิ ไอโอดีน วันละ 2 แก้วต่อวัน) แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
58 เปา้ หมาย มาตรการท่ดี ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธท์ ีต่ ้องการ ในพืน้ ที่ ประเด็นการตรวจราชการทีม่ ุ่งเน้น รอบ 2 เดก็ ไทยสุขภาพ หญงิ ตั้งครรภ์ 1. ทบทวนแผนและผลการ 1. ร้อยละ 75 ของหญงิ แข็งแรง พฒั นาการสมวัย 1. ส่งเสริมหญงิ ขบั เคล่ือนการ บรู ณาการงาน ต้ังครรภ์ไดร้ ับการฝากครรภ์ ต้ังครรภใ์ หฝ้ ากครรภ์ IQ เกิน 100 ก่อน 12 สัปดาห์ อนามยั แมแ่ ละเด็ก ผ่านการ ครัง้ แรกเม่อื อายคุ รรภ์ 2. หญงิ ต้งั ครรภไ์ ด้รับ บริการฝากครรภ์ครบ ประชมุ ของคณะกรรมการอนามยั ≤ 12 สัปดาห์ 5 ครง้ั ตามเกณฑ์ 3. สถานบริการ สธ. แมแ่ ละเด็ก ระดับจังหวดั 2. ร้อยละ 75 ของหญิง จา่ ยยาเมด็ เสริม ไอโอดีนธาตเุ หล็ก (MCH Board) ต้งั ครรภไ์ ด้รับบรกิ ารฝาก และโฟลิกใหห้ ญิง ต้งั ครรภท์ ุกคน 2. จัดสรรวคั ซีนโควิด 19 ให้ ครรภ์ครบ 5 ครง้ั ตามเกณฑ์ 4. หญงิ ต้ังครรภ์ไดร้ ับ การฉดี วัคซีนป้องกนั ครอบคลุมหญิงตง้ั ครรภ์ร้อยละ 3. หญงิ ตัง้ ครรภม์ ภี าวะ การติดเชอื้ โควิด 19 หลังอายคุ รรภ์ 12 70 ของการตั้งครรภท์ ัง้ หมด โลหิตจาง ไมเ่ กินร้อยละ 14 สปั ดาห์ 5. พนื้ ทีม่ ีการ ในพน้ื ท่ีเร่งรัดฉดี วัคซีนโควดิ 19 4. หญิงตง้ั ครรภไ์ ด้รบั ยาเม็ด ดำเนินงานชมุ ชน/ หมูบ่ ้านไอโอดีนและ เชงิ รุกแกห่ ญงิ ตง้ั ครรภ์ เสริมไอโอดีน ธาตเุ หล็ก สง่ เสรมิ ใหร้ ้านอาหาร แผงลอย ฟู้ดทรคั และ 3. จดั ให้มีการจดั บรกิ าร และโฟลกิ รอ้ ยละ 100 โฮมเมดใชเ้ กลอื และ ผลิตภณั ฑ์ปรงุ รสท่ี แบบ ONE STOP SERVICE 5. รอ้ ยละหญิงตั้งครรภไ์ ด้รับ เสรมิ ไอโอดีน โดยใช้ แพลทฟอร์มอนามัย ณ คลนิ กิ ฝากครรภส์ ำหรบั การ การฉีดวคั ซีนป้องกันการตดิ ไอโอดนี ได้ตามคา่ เป้าหมายรายเขต ให้บริการฉดี วคั ซีนโควดิ 19 แก่ เชอื้ โควิด 19 หลังอายุครรภ์ หญงิ ตง้ั ครรภ์ 12 สปั ดาห์ 4. สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหห้ ญิง 6. ทารกแรกเกิดน้ำหนกั ตง้ั งครรภ์ไดร้ บั การฝากครรภค์ รัง้ น้อยกวา่ 2,500 กรัม แรกเม่ืออายุครรภ์ ≤ 12 สปั ดาห์ 7. คา่ มธั ยฐานไอโอดีน และไดร้ ับบริการฝากครรภ์ ในปสั สาวะหญงิ ต้งั ครรภ์ ครบ 5 คร้ังตามเกณฑ์ มากกวา่ หรือเทา่ กับ 5. ตดิ ตามกระบวนการทำงานและ 150 ไมโครกรัมต่อลติ ร ผลการดำเนินงาน จำนวนของ ชุมชน/หมูบ่ ้านไอโอดีน ร้านอาหาร แผงลอย ฟู้ดทรคั และโฮมเมดใช้ เกลือและผลิตภณั ฑป์ รงุ รสทีเ่ สรมิ ไอโอดนี โดยใชแ้ พลทฟอร์ม อนามยั ไอโอดีน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
59 เปา้ หมาย มาตรการท่ดี ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธท์ ตี่ ้องการ ในพนื้ ท่ี ประเดน็ การตรวจราชการที่มุ่งเน้น รอบ 2 เด็กไทยสุขภาพ เด็ก 0-5 ปี 1. ทบทวนแผนและผลการ 1. รอ้ ยละทารกแรกเกิด – แขง็ แรง ขับเคลอ่ื นการ บูรณาการ 6 เดือน กนิ นมแมอ่ ยา่ ง พฒั นาการสมวัย 1. ปกปอ้ ง สง่ เสรมิ สนับสนนุ งานผ่านการประชมุ เดียว 6 เดอื น ไม่ต่ำกวา่ IQ เกนิ 100 การเลี้ยงลกู ดว้ ยนมแม่ คณะอนุกรรมการส่งเสรมิ รอ้ ยละ 50 การพัฒนาเด็กปฐมวัย 2. การสง่ เสรมิ โภชนาการของ ระดับจังหวัด 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0- หญิงใหน้ มบตุ ร และอาหารตาม 5 ปี ไดร้ ับการชง่ั น้ำหนกั วัยของเด็กปฐมวยั 1.1 ด้านโภชนาการ วัดความยาว/สว่ นสูง ไมต่ ำ่ กวา่ ร้อยละ 90 3. ตดิ ตาม เฝ้าระวงั และ 1.2 พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ส่งเสริมการเจรญิ เตบิ โต 3.ร้อยละของเด็กปฐมวัย พัฒนาการ ความฉลาดทาง 1.3 ดา้ นสุขภาพชอ่ งปาก ได้รับการคัดกรอง อารมณ์ และสุขภาพช่องปาก ของเด็กปฐมวยั พัฒนาการ 5 ชว่ งวัย ไม่ ของเด็กปฐมวัย ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 90 2. พน้ื ทมี่ ีการขับเคล่ือนการ 3.1 ความครอบคลุมการคัด ดำเนนิ งาน สพด. 4D ตาม 4. รอ้ ยละเดก็ ปฐมวัยทมี่ ี กรองพฒั นาการ 5 ชว่ งวัย มาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ พัฒนาการสงสยั ลา่ ช้า ปฐมวยั แหง่ ชาติ ได้รับการติดตามไม่ต่ำกว่า 3.2 เดก็ ปฐมวัยท่มี พี ัฒนาการ รอ้ ยละ 90 สงสัยล่าชา้ ไดร้ บั การตดิ ตาม 3.เพม่ิ ความครอบคลุมการ สง่ เสรมิ พฒั นาการ 5. รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวยั 3.3 ช่ังน้ำหนกั วัดความยาว/ มพี ฒั นาการสมวัย ไมต่ ่ำ ส่วนสงู เดก็ แรกเกดิ – 5 ปี 3.1 คดั กรองพัฒนาการ กว่า ร้อยละ 85 (5 ปี 11 เดอื น 29 วนั ) 3.2 ตดิ ตามเด็กพัฒนาการ 6. ร้อยละของเดก็ อายุ 3 3.4 เดก็ 3 ปี ได้รับการตรวจ สง่ สยั ลา่ ช้า ปี ไดร้ บั การตรวจฟนั โดย สขุ ภาพช่องปาก ทนั ตบุคลากร ไมต่ ่ำกว่า 4. ระบบการตดิ ตามกระตุ้น รอ้ ยละ 50 4. สง่ เสรมิ การจา่ ยยานำ้ เสริม เด็กพฒั นาการล่าช้า ธาตุเหลก็ สำหรับเดก็ อายุ 6 7. รอ้ ยละของเดก็ 0 -5 เดอื น – 5 ปี 5. รายงานผลข้อมลู เด็ก ปี มีภาวะเตี้ย ไม่เกนิ ร้อย 5. นกั เรียนในโรงเรียนสังกัด ปฐมวัยที่ได้รับการคดั กรอง ละ 10 โครงการ กพด. ไดร้ บั นำ้ เสริม แลว้ พบว่ามีพฒั นาการลา่ ช้า ไอโอดนี เป็นประจำทุกวนั แล้วได้รับการกระตุ้น 8. รอ้ ยละของเด็กอายุ 6 6 .เยี่ยมเสรมิ พลงั การ พัฒนาการด้วย TEDA4I เดอื น - 5 ปี ได้รับยานำ้ ดำเนนิ งานการดูแลชว่ ยเหลอื หรอื เคร่อื งมือมาตรฐาน เสริมธาตเุ หลก็ ไมต่ ำ่ กวา่ พฒั นาการล่าช้าอย่างต่อเนอ่ื ง รอ้ ยละ 80 ในเขตสุขภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา GAP ของพืน้ ที่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
60 เปา้ หมาย มาตรการทีด่ ำเนินงาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธ์ทีต่ ้องการ ในพ้ืนท่ี ประเดน็ การตรวจราชการที่มงุ่ เน้น รอบ 2 7.พัฒนาระบบติดตาม และ 6. ตดิ ตามการให้น้ำเสรมิ 9.รอ้ ยละของเด็กอายุ 6- กระตุ้นเด็กพัฒนาการล่าชา้ ด้วย ไอโอดีนในโรงเรยี นสงั กดั 12 เดอื น มภี าวะโลหติ TEDA4I หรอื เคร่ืองมือ โครงการ กพด. (ในเด็ก จาง ไม่เกนิ ร้อยละ 20 มาตรฐาน อยา่ งต่อเน่ือง อนุบาลท่มี ีอายตุ ำ่ กว่า 5 ปี ควรได้รบั ไอโอดนี วันละ 90 10.เดก็ ปฐมวัยท่ีไดร้ ับ ไมโครกรัมต่อลิตร หรือดม่ื การคดั กรองแลว้ พบว่ามี น้ำเสริมไอโอดีน พฒั นาการล่าชา้ แลว้ ได้รับ วันละ 2 แกว้ ต่อวัน) การกระตนุ้ พฒั นาการ ดว้ ย TEDA4I หรอื เคร่ืองมืออนื่ ครบตาม เกณฑเ์ พ่มิ ข้ึน ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 11.ร้อยละ 60 ของเด็ก ปฐมวยั มีระดับ EQ ดีข้นึ Small Success 3 เดือน 6 เดอื น 9 เดอื น 12 เดอื น 1. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 1.1 กำกับติดตามการ 1.1 สรปุ ผลการส่งเสรมิ สง่ เสรมิ คุณภาพสถาน คณุ ภาพสถานพัฒนาเด็ก 1.1 ประชุมขบั เคลือ่ น 1.1 ขับเคลื่อนการ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ด้าน ปฐมวยั ดา้ นสขุ ภาพ (4D) การสง่ เสริมคณุ ภาพ ส่งเสรมิ คณุ ภาพสถาน สขุ ภาพ(4D) ร่วมกบั รว่ มกับภาคีเครือข่าย สถานพฒั นาเด็ก พัฒนาเด็กปฐมวยั ด้าน ภาคเี ครือข่าย ปฐมวัยดา้ นสขุ ภาพ สุขภาพ(4D) รว่ มกบั ภาคี 2.1 ร้อยละ 75 ของหญงิ (4D) ร่วมกบั ภาคี เครอื ข่าย 2.1 ร้อยละ 50 ของ ตงั้ ครรภ์ไดร้ บั การฝาก เครอื ข่าย หญิงตัง้ ครรภ์ทุกกลมุ่ ครรภ์คร้งั แรกเมอ่ื อายุ 1.2 ถา่ ยทอดนโยบาย อายทุ ่ีมาฝากครรภไ์ ดร้ บั ครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ และพฒั นาศกั ยภาพ การคัดครองทารกกลุม่ บุคลากร อาการดาวน์ 2. หนว่ ยบริการสุขภาพ 2.1. ถา่ ยทอดนโยบาย 2.1 รอ้ ยละหญิงต้ังครรภ์ และพฒั นาศักยภาพ ได้รบั การฉีดวัคซีนป้องกัน บุคลากรและเครือข่าย การติดเช้ือโควดิ 19 หลงั ครบทกุ เขต อายคุ รรภ์ 12 สปั ดาห์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
61 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.2 ฉดี วัคซนี โควดิ 2.2 รอ้ ยละ 30 ของหญิง 2.2 ส่งตวั อย่างปสั สาวะ 2.2 ค่ามัธยฐานไอโอดีน 19 เชงิ รกุ แก่หญงิ ตั้งครรภ์ไดร้ บั การฝาก ของหญิงตงั้ ครรภ์ให้ ในปสั สาวะหญงิ ตั้งครรภ์ ต้ังครรภ์ ครรภ์คร้งั แรกเม่ืออายุ หอ้ งปฏิบัตกิ ารทาง มากกวา่ หรือเทา่ กบั 150 2.3 ชแ้ี จงแนวทาง ครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ วทิ ยาศาสตร์ของแต่ละ ไมโครกรัมต่อลิตร การดำเนนิ งานควบคมุ 2.3 ร้อยละ 30 ของหญิง ศนู ย์อนามัย เพื่อเฝ้า 2.3 รอ้ ยละ 75 ของหญงิ และป้องกนั โรคขาด ตง้ั ครรภไ์ ด้รับบริการฝาก ระวังคา่ มธั ยฐานไอโอดนี ตงั้ ครรภไ์ ด้รับบริการฝาก สารไอโอดีนและการ ครรภ์ครบ 5 ครัง้ ตาม ในปัสสาวะของหญงิ ครรภ์ครบ 5 ครง้ั ตาม ควบคมุ และปอ้ งกัน เกณฑ์ ตงั้ ครรภ์ เกณฑ์ โลหิตจาง 2.4 สื่อสารประชาสัมพนั ธ์ 2.3 ชั่งน้ำหนักวดั ความ 2.4 ร้อยละ 50 ของ จากการขาดธาตเุ หล็ก ให้ความรเู้ ก่ยี วกับ ยาว/สว่ นสงู เด็กแรกเกดิ – ทารกแรกเกดิ -6เดือนกนิ 2.4 รอ้ ยละของเดก็ ความสำคัญของไอโอดนี 5 ปี ร้อยละ 90 นมแม่อย่างเดยี ว ปฐมวยั ไดร้ ับการคัด การบริโภคอาหารท่ีมี 2.4 ร้อยละเดก็ อายุ 2.5 รอ้ ยละ 50 ทารก กรองพัฒนาการ 5 ไอโอดีน รวมไปถงึ การกิน 0 – 5 ปี มีภาวะเตย้ี แรกเกิดจนถงึ 6 เดือนกิน ชว่ งวยั ไม่ตำ่ กว่า ยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุ ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10 นมแม่อยา่ งเดียว รอ้ ยละ 90 เหลก็ และโฟลกิ 2.5 พนักงานเจ้าหน้าท่ฯี 2.6 ชงั่ นำ้ หนักวัดความ 2.5 ร้อยละเด็ก 2.5 จดั รณรงคส์ ่อื สารการ มกี ารเขา้ ถงึ โปรแกรม ยาว/สว่ นสูง เด็กแรกเกดิ – ปฐมวยั ทม่ี พี ัฒนาการ บริโภคอาหารเด็กตามวยั E – learning 5 ป)ี ร้อยละ 90 สงสยั ล่าชา้ ได้รบั การ อาหารหญงิ ตัง้ ครรภแ์ ละ พระราชบัญญัติ 2.7 ร้อยละเด็กอายุ ตดิ ตามไมต่ ำ่ กวา่ หญงิ ใหน้ มบุตร ร้อยละ 25 0 – 5 ปี มภี าวะเตี้ย รอ้ ยละ 90 2.6 ร้อยละของเด็ก 2.6 ร้อยละของเดก็ ไม่เกนิ ร้อยละ 10 2.6 รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวยั ไดร้ ับการคัดกรอง ปฐมวัยได้รับการคัด ปฐมวัยมีพฒั นาการ พฒั นาการ 5 ช่วงวยั ไม่ กรองพฒั นาการ 5 ชว่ ง 2.8 เดก็ 3 ปี ไดร้ ับการ สมวยั ไม่ตำ่ กวา่ ตำ่ กว่าร้อยละ 90 วยั ไมต่ ่ำกว่าร้อยละ 90 ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากไม่ ร้อยละ 85 2.7 ร้อยละเด็กปฐมวยั ที่มี น้อยกวา่ ร้อยละ 50 2.7 เด็กปฐมวัยที่ไดร้ บั พฒั นาการสงสัยลา่ ช้า 2.7 ร้อยละเดก็ ปฐมวยั ที่ การคัดกรองด้วย ได้รับการติดตามไม่ต่ำกวา่ มพี ัฒนาการสงสยั ลา่ ช้า 2.9 รอ้ ยละของเด็ก DSPM แล้วพบว่ามี ร้อยละ 90 ได้รบั การตดิ ตามไมต่ ่ำ ปฐมวัยได้รับการคัดกรอง พฒั นาการลา่ ชา้ ไดร้ บั 2.8 ร้อยละของเดก็ กวา่ ร้อยละ 90 พัฒนาการ 5 ช่วงวยั ไม่ การกระต้นุ พฒั นาการ ปฐมวัยมพี ัฒนาการสมวยั ต่ำกว่ารอ้ ยละ 90 ด้วย TEDA4I หรอื ไม่ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 85 2.8 รอ้ ยละของเดก็ 2.10 ร้อยละเดก็ ปฐมวยั ท่ี เคร่ืองมือมาตรฐานอ่นื 2.9 รอ้ ยละ 45 เด็ก ปฐมวยั มพี ัฒนาการ มีพัฒนาการสงสยั ลา่ ช้า 2.8 ชง่ั นำ้ หนกั วดั ปฐมวยั ท่ีได้รับการคดั สมวัย ไม่ต่ำกวา่ ได้รับการติดตามไมต่ ำ่ กว่า ความยาว/ส่วนสูง เดก็ กรองด้วย DSPM แลว้ รอ้ ยละ 85 ร้อยละ 90 แรกเกดิ – 5 ปี พบวา่ มีพัฒนาการล่าชา้ 2.11 ร้อยละของเด็ก รอ้ ยละ 90 ไดร้ ับการกระตนุ้ ปฐมวยั มีพฒั นาการสมวยั ไมต่ ่ำกวา่ รอ้ ยละ 85 พฒั นาการดว้ ย TEDA4I หรอื เครื่องมือมาตรฐานอืน่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
62 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.9 รอ้ ยละ 60 เดก็ 2.12 รอ้ ยละ 70 เด็ก 2.9 ร้อยละเดก็ อายุ 2.10 ชงั่ น้ำหนกั วดั ความ ปฐมวัยที่ได้รบั การคัด ปฐมวยั ทไี่ ดร้ ับการคดั กรองด้วย DSPM แลว้ กรองดว้ ย DSPM แลว้ 0 – 5 ปี มีภาวะเต้ีย ยาว/ส่วนสงู เดก็ แรกเกดิ – พบวา่ มีพฒั นาการล่าช้า พบว่ามพี ฒั นาการล่าช้า ได้รับการกระตนุ้ ไดร้ ับการกระตนุ้ ไมเ่ กินร้อยละ 10 5 ปี รอ้ ยละ 90 พฒั นาการดว้ ย TEDA4I พฒั นาการด้วย TEDA4I หรือเครอื่ งมือมาตรฐาน หรือเคร่ืองมือมาตรฐานอื่น 2.10 จงั หวดั มีการ 2.11 รอ้ ยละเด็กอายุ อ่นื 2.13 ร้อยละ 60 ของ เด็กปฐมวัยมรี ะดับ EQ ตรวจสอบข้อมูลรายช่ือ 0 – 5 ปี มภี าวะเต้ยี 9 เดอื น ดีขนึ้ 3.1 รอ้ ยละ 75 ของ พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ีและ ไม่เกนิ ร้อยละ 10 หญงิ ตั้งครรภ์ได้รับการ 12 เดอื น ฝากครรภค์ รัง้ แรกเมื่อ 3.1 มกี ารลงทะเบียน 9 และแก้ไขขอ้ มูลใน 2.12 จงั หวัดมกี ารออก อายุครรภ์ ≤ 12 ย่างเพ่ือสร้างลกู คดิ เปน็ สัปดาห์ ร้อยละ 50 ของจำนวน โปรแกรมการออก บัตรประจำตัวพนักงาน 3.2 รอ้ ยละ 75 ของ เดก็ เกดิ รายปี หญิงต้งั ครรภ์ได้รับ บัตรฯให้เป็นปจั จบุ นั เจ้าหน้าท่ีพระราช บรกิ ารฝากครรภ์ครบ 5 ครง้ั ตามเกณฑ์ 2.11 ส่ือสาร บัญญัตฯิ รอ้ ยละ 100 ประชาสมั พันธ์ 2.13 เด็ก 0-2 ปี ไดร้ บั โครงการภาคีร่วมใจส่ง การตรวจสุขภาพช่องปาก รักสง่ นมจากอกแมส่ ู่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ลูก” ครอบครัว 3 เดือน 6 เดอื น 3.1 สรา้ งความรอบรู้ 3.1 สร้างความรอบร้ใู น ในการเฝ้าระวังและ การเฝา้ ระวังและสง่ เสรมิ สง่ เสริมพัฒนาการและ พฒั นาการและการ การเจริญเตบิ โตในเด็ก เจริญเตบิ โตในเด็กปฐมวยั ปฐมวัย (รร.พอ่ แม่) (รร.พ่อแม่) 3.2 สง่ เสรมิ สนบั สนุน 3.2 มีชอ่ งทางการส่ือสาร รณรงคใ์ หห้ ญิงตงั้ ครรภ์ ให้กับกลมุ่ พ่อแม่ ไดแ้ ก่ และครอบครัว ใช้งาน app.Khunlook ,9-ย่าง Platform Pink Book ,เลน่ เปล่ยี นโลกเป็นต้น -Pink Book online -Application Save mom -โปรแกรม 9 ยา่ งเพื่อ สรา้ งลูก - Application Khunlook เพื่อสร้างความ ตระหนักร้แู ก่หญงิ ตัง้ ครรภแ์ ละครอบครวั แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
63 4. ชุมชน 4.1 ขบั เคลือ่ นการ 4.1 พนื้ ทมี่ กี ารดำเนินงาน 4.1 จงั หวัดมีการเฝา้ 4.1 มตี น้ แบบตำบล ดำเนินงานมหศั จรรย์ ชมุ ชน/หม่บู ้านไอโอดนี ระวงั เชิงรุกการละเมดิ มหศั จรรย์ 1000 วัน 1,000 วนั แรกของ ผ่านแพลทฟอรม์ อนามยั พรบ.ควบคุมการสง่ เสริม Plus ผา่ นการบรู ณาการ ชวี ติ ปี 2565 ไอโอดนี ตามค่าเปา้ หมาย การตลาดอาหารสำหรับ ร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย 4.2 พ้ืนท่ีช้ีแจงแนว รายเขต ทารกและเดก็ เล็ก พ.ศ. อำเภอละ 1 ตำบล ทางการดำเนินงาน 4.2 พืน้ ทมี่ รี า้ นอาหาร 2560 จังหวดั ละ 1 4.2 มพี น้ื ท่ีตน้ แบบ ควบคุมและปอ้ งกันโรค แผงลอย ฟู้ดทรคั หรอื ครัง้ เด็กไทยเล่นเปลยี่ นโลก ขาดสารไอโอดนี ให้กับ โฮมเมดท่ีใช้เกลือและ 4.2 มผี อู้ ำนวยการเลน่ ตำบลละ 1 คน ประชาชนและ ผลติ ภณั ฑป์ รงุ รสทเี่ สริม (Play worker) 4.3 คา่ มธั ยฐานไอโอดนี สนบั สนนุ ให้ ไอโอดีน มาลงทะเบยี นใน ตำบลละ 1 คน ในปสั สาวะหญิงตั้งครรภ์ ผปู้ ระกอบการ แพลตฟอรม์ อนามัย 4.3 ตดิ ตามจำนวนของ มากกว่าหรือเท่ากับ 150 ร้านอาหาร โรงอาหาร ไอโอดนี ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน ไมโครกรัมตอ่ ลิตร รถเข็น แผงลอย โดยใชแ้ พลทฟอรม์ 4.4 จำนวนชุมชน/ ฟู้ดทรัค และโฮมเมด อนามยั ไอโอดนี หมบู่ า้ นไอโอดนี ตาม ใช้เกลอื และผลติ ภณั ฑ์ 4.4 ติดตามจำนวนของ เปา้ หมายทถ่ี ่ายทอด ปรุงรสทเ่ี สรมิ ไอโอดีน ผปู้ ระกอบการ รายเขต และเร่มิ ดำเนนิ การ ร้านอาหาร โรงอาหาร 4.5 จำนวนร้านอาหาร ชมุ ชน/หมู่บ้านไอโอดีน รถเขน็ แผงลอย ฟู้ดทรัค ท่ีใช้เกลอื และผลิตภัณฑ์ 4.3 พ้ืนท่มี แี ผนปฏบิ ตั ิ และโฮมเมด ปรุงรสท่ีเสริมไอโอดีนตาม งานดา้ นการควบคมุ ทใ่ี ชเ้ กลือและผลติ ภณั ฑ์ เปา้ หมายทก่ี ำหนดรายเขต และป้องกนั โรคขาด ปรุงรสเสริมไอโอดีน โดย สารไอโอดีนและภาวะ ใช้แพลทฟอรม์ อนามยั โลหิตจาง ไอโอดีน 4.5 สอบถาม กระบวนการ ความกา้ วหน้า ปัญหา และอุปสรรค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
64 ตัวชี้วดั ท่เี กยี่ วข้อง 1. ร้อยละของหญงิ ตงั้ ครรภไ์ ด้รับการฝากครรภค์ รั้งแรกเม่ืออายุครรภ์ ≤ 12 สปั ดาห์ 2. ร้อยละของหญงิ ต้ังครรภไ์ ดร้ บั บริการฝากครรภค์ รบ 5 ครงั้ ตามเกณฑ์ 3. รอ้ ยละ 50 ทารกแรกเกิดจนถึง 6 เดือนกินนมแม่อยา่ งเดียว 4. รอ้ ยละ 7๕ ของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ความครอบคลุมการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 50 ข้ึนไป) 5. รอ้ ยละของหญิงตง้ั ครรภม์ ภี าวะโลหติ จาง 6. รอ้ ยละของหญิงต้งั ครรภ์ได้รับยาเมด็ เสรมิ ไอโอดนี ธาตเุ หล็ก และโฟลิก 7. รอ้ ยละของเดก็ อายุ 6 – 12 เดอื น มภี าวะโลหิตจาง 8. ร้อยละของเดก็ อายุ 6 เดอื นถงึ 5 ปีไดร้ บั ยานำ้ เสริมธาตุเหล็ก 9. ระดับคา่ มธั ยฐานไอโอดนี ในปัสสาวะหญงิ ตั้งครรภ์ มากกว่าหรือเทา่ กับ 150 ไมโครกรมั ตอ่ ลิตร 10. รอ้ ยละ 90 ของเดก็ อายุ 0 – 5 ปี ได้รบั การชง่ั น้ำหนัก วดั ความยาว/สว่ นสูง 11. ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตย้ี ไม่เกนิ รอ้ ยละ 10 12.รอ้ ยละ 90 ของเดก็ ปฐมวัยได้รับการคดั กรองพฒั นาการ 13. รอ้ ยละ 90 ของเดก็ ปฐมวยั ทมี่ พี ฒั นาการสงสยั ล่าช้าไดร้ บั การตดิ ตาม 14. รอ้ ยละ 85 ของเดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการสมวัย สูตรคำนวณตัวช้วี ดั (กรณีวัดเชิงปริมาณ) 1. ร้อยละของหญงิ ต้ังครรภ์ได้รบั การฝากครรภค์ รั้งแรกเมือ่ อายคุ รรภ์ ≤ 12 สปั ดาห์ รายการข้อมูล 1 A = จำนวนหญิงคลอดตาม B ที่ฝากครรภ์ครง้ั แรกเม่ืออายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ (ข้อมลู จากสมุดสชี มพูบันทึกลงใน 43 แฟม้ : แฟ้ม ANC) รายการข้อมูล 2 B = จำนวนหญิงไทยทุกรายท่ีคลอดในเขตรับผดิ ชอบท้ังหมดในเวลาเดียวกนั (ฐานข้อมลู จากแฟ้ม Labor) สูตรการคำนวณ (A/B) x 100 2. รอ้ ยละของหญงิ ต้ังครรภ์ไดร้ ับบรกิ ารฝากครรภ์ครบ 5 คร้ังตามเกณฑ์ รายการข้อมูล 1 A = จำนวนหญิงคลอดตาม B ทฝ่ี ากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (ข้อมลู จากสมุดสีชมพูบันทึกลงใน 43 แฟม้ : แฟม้ ANC) รายการขอ้ มูล 2 B = จำนวนหญิงไทยทุกรายท่ีคลอด ในเขตรบั ผดิ ชอบทัง้ หมดในเวลาเดยี วกนั (ฐานขอ้ มูล 43 แฟ้ม : แฟ้ม Labor) สูตรคำนวณตัวชว้ี ดั (A/B) x 100 3.รอ้ ยละ 50 ทารกแรกเกิดจนถึง 6 เดือนกนิ นมแม่อย่างเดียว รายการข้อมูล 1 A = จำนวนเด็กแรกเกิดจนถงึ ๕ เดือน 2๙ วนั ทม่ี ปี ระวัตกิ ินนมแม่อย่างเดยี วทุกครั้งที่ ได้รับการสัมภาษณ์ (ข้อมลู จากแฟ้ม : NUTRITION) รายการข้อมูล 2 B = ผลรวมเด็กแรกเกิดจนถึง ๕ เดอื น 2๙ วนั ท่ีไดส้ อบถามในชว่ งเวลาเดยี วกนั สูตรคำนวณตัวช้ีวัด (A/B) x 100 หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ: กรมอนามยั สำนัก/กอง ส่งเสริมสขุ ภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
65 4. ร้อยละ 7๕ ของเดก็ อายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ (ความครอบคลมุ การตรวจสุขภาพชอ่ งปากร้อยละ 50 ขึน้ ไป) รายการขอ้ มูล 1 A = จำนวนเดก็ อายุ 3 ปี ทไี่ ด้รบั การตรวจสุขภาพช่องปากและปราศจากฟนั ผุ รายการขอ้ มูล 2 B = จำนวนเดก็ อายุ 3 ปี ทไ่ี ดร้ บั การตรวจสขุ ภาพช่องปาก สูตรคำนวณตวั ชว้ี ัด (A/B) x 100 หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ : กรมอนามยั สำนัก/กอง ทันตสาธารณสขุ 5. รอ้ ยละของหญงิ ต้ังครรภม์ ภี าวะโลหิตจาง (Coverage) รายการขอ้ มูล 1 A1 = จำนวนหญงิ ตัง้ ครรภต์ าม B2 ทีไ่ ดร้ ับการตรวจภาวะโลหติ จาง ขณะอายุครรภ์ นอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กบั 12 สัปดาห์ และมีค่าฮีมาโตคริต นอ้ ยกว่า 33% หรอื ค่าฮโี มโกลบนิ น้อยกว่า 11 กรัมต่อเดซิลิตร นับจากผลการตรวจครัง้ สุดท้าย (กรณรี บั บริการครงั้ สุดท้าย หากผลฮโี มโกลบิน ≥ 11 และ Hct ≥33% ใหถ้ อื วา่ ไม่มภี าวะโลหติ จาง) A2 = จำนวนหญิงตง้ั ครรภ์ตาม B2 ทไี่ ด้รับการตรวจภาวะโลหิตจาง ขณะอายุครรภ์ 28- 34 สปั ดาห์ และมคี ่าฮีมาโตคริต นอ้ ยกวา่ 33% หรอื คา่ ฮีโมโกลบนิ น้อยกวา่ 11 กรมั ตอ่ เดซลิ ติ ร นบั จากผลการตรวจคร้งั สดุ ท้าย (กรณีรบั บริการครั้สดุ ท้าย หากผล ฮีโมโกลบิน ≥ 11 และ Hct ≥33% ใหถ้ ือวา่ ไม่มภี าวะโลหิตจาง) รายการขอ้ มูล 2 B1 = จำนวนหญิงตง้ั ครรภ์ทม่ี ีอายคุ รรภ์ครบ 12 สัปดาห์ ในเขตรบั ผดิ ชอบท้ังหมด B2 = จำนวนหญงิ ตงั้ ครรภ์ทีม่ อี ายคุ รรภค์ รบ 12 สัปดาห์ ในเขตรบั ผดิ ชอบ ที่ไดร้ ับ การตรวจฮีมาโตคริต หรอื ฮโี มโกลบิน ขณะอายคุ รรภน์ อ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับ 12 สัปดาห์ B3 = จำนวนหญงิ ต้ังครรภ์ท่มี ีอายคุ รรภค์ รบ 34 สปั ดาห์ ในเขตรบั ผิดชอบทั้งหมด B4 = จำนวนหญงิ ตงั้ ครรภ์ที่มอี ายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์ ในเขตรับผดิ ชอบ ที่ได้รบั การ ตรวจฮมี าโตครติ หรอื ฮีโมโกลบิน ขณะอายุครรภ์ 28- 34 สัปดาห์ สตู รคำนวณตัวช้ีวัด 1. ร้อยละของหญิงตัง้ ครรภ์ท่มี าฝากครรภ์ อายุครรภค์ รบ 12 สัปดาห์ ทม่ี ีภาวะโลหิต จาง = (A1/B2) x 100 2. ความครอบคลุมการตรวจภาวะโลหิตจางในหญงิ ต้งั ครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ = (B2/B1) x 100 3. ร้อยละของหญิงต้ังครรภ์ทีม่ าฝากครรภ์ อายุครรภ์ครบ 34 สัปดาห์ ทม่ี ีภาวะโลหิต จาง = (A2/B4) x 100 4. ความครอบคลุมการตรวจภาวะโลหิตจางในหญงิ ต้ังครรภ์อายุ 28 – 34 สัปดาห์ = (B4/B3) x 100 6. รอ้ ยละของหญงิ ตง้ั ครรภไ์ ด้รับยาเม็ดเสริมไอโอดนี ธาตุเหล็ก และโฟลกิ รายการขอ้ มูล 1 A1 = จำนวนหญงิ ตั้งครรภ์ ตาม B ไม่ได้ รับยาเม็ดเสรมิ ไอโอดีน ธาตเุ หลก็ และโฟลิก (จำนวน 0 เม็ด) ต้ังแต่มารบั บรกิ าร ANC ครัง้ แรก จนวันคลอด A2 = จำนวนหญิงตงั้ ครรภ์ ตาม B ไดร้ ับยาเมด็ เสรมิ ไอโอดีน ธาตเุ หล็ก และโฟลกิ (จำนวนต้ังแต่ 1 เม็ด แตน่ ้อยกว่า) จำนวนวัน ตั้งแต่มารับบริการ ANC คร้ังแรกจนวันคลอด A3 = จำนวนหญิงตง้ั ครรภ์ ตาม B ไดร้ ับยาเม็ดเสรมิ ไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟลิก (จำนวน มากกว่าหรือเทา่ กับ จำนวนวนั ) ตงั้ แตม่ ารบั บริการ ANC ครง้ั แรกจนวนั คลอด แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
66 รายการข้อมูล 2 B = จำนวนหญงิ ตัง้ ครรภ์ในเขตพนื้ ท่ีรับผิดชอบ ท่ีคลอดบุตรในปีงบประมาณ ขณะ ตั้งครรภ์ได้รบั บริการฝากครรภ์ หรอื ตรวจครรภต์ ามนัด สตู รคำนวณตัวชว้ี ัด 1. ร้อยละหญงิ ตั้งครรภ์ ท่ีคลอดบตุ รแลว้ ในเขตพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบ ไม่ได้รับเม็ดเสริม ไอโอดนี ธาตเุ หล็ก และโฟลิก = (A1/B) x 100 2. รอ้ ยละหญิงตั้งครรภ์ ที่คลอดบตุ รแลว้ ในเขตพน้ื ท่ีรับผิดชอบ ไดร้ ับเมด็ เสริมไอโอดนี ธาตเุ หล็ก และโฟลิกไมเ่ พยี งพอ = (A2/B) x 100 3. ร้อยละหญงิ ตงั้ ครรภ์ ทคี่ ลอดบตุ รแลว้ ในเขตพ้ืนทีร่ ับผิดชอบ ไดร้ บั เม็ดเสริมไอโอดนี ธาตุเหลก็ และโฟลิก ตลอดการต้งั ครรภ์จนคลอด = (A3/B) x 100 4. รอ้ ยละหญิงต้ังครรภ์ ทคี่ ลอดบตุ รแลว้ ในเขตพื้นที่รบั ผดิ ชอบ ไดร้ บั เมด็ เสริมไอโอดีน ธาตเุ หลก็ และโฟลกิ = (A2+A3/B) x 100 7. ร้อยละของเดก็ อายุ 6 – 12 เดือน มีภาวะโลหิตจาง รายการข้อมูล 1 A = จำนวนเด็กอายุ 6 - 12 เดอื น ทีม่ ีค่าฮีมาโตครติ < 33 % หรอื คา่ ฮีโมโกลบนิ < 11 กรัมตอ่ เดซิลติ ร นบั จากผลการตรวจครั้งสุดทา้ ย (กรณีรับบริการคร้งั สุดท้าย หากผลฮโี มโกลบิน ≥ 11 และ Hct ≥33% ใหถ้ อื ว่าไม่มี ภาวะโลหิตจาง) รายการข้อมูล 2 B1 = จำนวนเดก็ อายุ 6 - 12 เดือน ในเขตรบั ผดิ ชอบทง้ั หมด B2 = จำนวนเด็กอายุ 6 - 12 เดอื น ทัง้ หมดทไ่ี ดร้ บั การตรวจฮมี าโตครติ หรอื ฮโี มโกลบิน สูตรคำนวณตวั ชว้ี ดั 1) ความครอบคลุมเด็กอายุ 6 - 12 เดอื น ท่ีได้รับการตรวจฮีมาโตคริต หรือฮโี มโกลบิน = (B2/B1) X 100 2) รอ้ ยละเด็กอายุ 6 - 12 เดือน ทมี่ ีภาวะโลหิตจาง = ( A/B2) X 100 8. ร้อยละของเดก็ อายุ 6 เดือนถงึ 5 ปีได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก รายการขอ้ มูล 1 A = จำนวนเดก็ อายุ 6 เดอื น - 5 ปี ที่ได้รับยาน้ำเสรมิ ธาตเุ หล็ก รายการข้อมูล 2 B = จำนวนเด็กอายุ 6 เดอื น - 5 ปี ในเขตรับผดิ ชอบท้ังหมด สตู รคำนวณตัวชว้ี ัด ร้อยละของเด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี ไดร้ ับยานำ้ เสริมธาตเุ หล็ก = (A/B) X 100 9. รอ้ ยละ 90 ของเด็กอายุ 0 – 5 ปี ไดร้ บั การชั่งนำ้ หนกั วดั ความยาว/สว่ นสงู รายการขอ้ มูล 1 A = จำนวนเดก็ อายุ 0 - 5 ปี ที่ช่งั น้ำหนัก และวัดความยาวหรือส่วนสงู รายการข้อมูล 2 B = จำนวนเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในเขตรับผดิ ชอบทั้งหมด สูตรคำนวณตัวช้ีวัด (A/B) x 100 10. ร้อยละเดก็ อายุ 0 – 5 ปี มภี าวะเตย้ี (ไม่เกนิ ร้อยละ 10) รายการข้อมูล 1 A = จำนวนเด็กอายุ 0 - 5 ปี ท่ีมภี าวะเตย้ี รายการขอ้ มูล 2 B = จำนวนเด็กอายุ 0 - 5 ปี ทวี่ ัดความยาวหรอื สว่ นสงู สตู รคำนวณตัวชี้วดั (A/B) x 100 หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ : กรมอนามัย สำนัก/กอง โภชนาการ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
67 11. รอ้ ยละ 90 ของเดก็ ปฐมวยั ได้รบั การคัดกรองพัฒนาการ รายการขอ้ มูล 1 A = จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดอื น ทงั้ หมดในเขตรับผิดชอบท่ีได้รับการ ตรวจคดั กรองพัฒนาการจรงิ ในช่วงเวลาทก่ี ำหนด รายการขอ้ มูล 2 B = เดก็ ไทยอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน ทุกคนทีอ่ ยอู่ าศัยในพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ (Type1 มีช่อื อยใู่ นทะเบียนบา้ น ตัวอย่จู รงิ และType3 ที่อาศยั อยูใ่ นเขต แตท่ ะเบียน บา้ นอยู่นอกเขต) สตู รคำนวณตัวช้ีวดั (A/B) x 100 12. ร้อยละ 90 ของเดก็ ปฐมวัยทมี่ พี ฒั นาการสงสยั ลา่ ช้าได้รับการตดิ ตาม รายการข้อมูล 1 A = จำนวนเดก็ อายุ 9,18,30,42 และ 60 เดอื น มพี ฒั นาการสงสยั ล่าช้า (ตรวจคร้งั แรก) ทงั้ เดก็ ทตี่ ้องแนะนำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ส่งเสรมิ พัฒนาการตามวยั 30 วนั (1B261) แล้วตดิ ตามกลับมาประเมินคัดกรองพฒั นาการครงั้ ที่ 2 รายการขอ้ มูล 2 B = จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42 และ 60 เดือน มพี ฒั นาการสงสัยล่าชา้ (ตรวจครั้ง แรก) ทต่ี ้องแนะนำให้พ่อแม่ ผปู้ กครอง ส่งเสริมพฒั นาการตามวัย 30 วัน (1B261) สูตรคำนวณตัวชว้ี ัด (A/B) x 100 13. ร้อยละ 85 ของเดก็ ปฐมวยั มีพัฒนาการสมวยั รายการขอ้ มูล 1 A = จำนวนเดก็ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ที่ไดร้ บั การตรวจคดั กรองพฒั นาการ โดยใชค้ ู่มอื เฝ้าระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย (DSPM) แลว้ ผลการ ตรวจคดั กรอง ผ่านครบ 5 ด้าน ในการตรวจคัดกรองพัฒนาการครง้ั แรก รายการขอ้ มูล 2 a = จำนวนเด็ก 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ท่ไี ดร้ ับการตรวจคัดกรองพฒั นาการ พบพัฒนาการสงสัยล่าชา้ และได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการ และประเมนิ ซ้ำแลว้ ผล การประเมิน ผ่านครบ 5 ดา้ นภายใน 30 วัน รายการข้อมูล 3 B = จำนวนเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดอื น ท้ังหมด ในชว่ งเวลาทก่ี ำหนด สูตรคำนวณตวั ชี้วดั (������������ + ������������) + (������������������ + ������������������) + (������������������ + ������������������) + (������������������ + ������������������) + (������������������ + ������������������) × ������������������ ������ หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ : กรมอนามัย สถาบนั พฒั นาอนามัยเดก็ แหง่ ชาติ ผปู้ ระสานงานตัวชี้วดั ช่ือ-สกลุ ตำแหน่ง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ที่รับผดิ ชอบ e-mail address พญ.พิมลพรรณ ตา่ งววิ ฒั น์ ตำแหนง่ - บริการฝากครรภ์ นายแพทยเ์ ช่ียวชาญ Tel 0 2590 4435 - Platform Pink Book สำนกั สง่ เสรมิ สุขภาพ Mobile 0812923849 - ทารกแรกเกดิ จนถึง 6 กรมอนามยั e-mail : เดอื นกินนมแม่อยา่ งเดยี ว [email protected] - เดก็ ปฐมวัยมพี ัฒนาการ นพ.ธรี ชยั บุญยะลพี รรณ ตำแหนง่ รอง สมวยั ผอู้ ำนวยการ Tel. 0 2590 4417 สถาบันพฒั นาอนามยั Mobile 089 144 4208 เดก็ แหง่ ชาติ e-mail : [email protected] แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
68 ชื่อ-สกลุ ตำแหนง่ /หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเด็นที่รับผิดชอบ e-mail address ทพญ.นพวรรณ โพชนุกลู กรมอนามยั - สุขภาพช่องปากหญงิ Tel.025904208 ต้งั ครรภ์และเด็กปฐมวยั ตำแหน่ง Mobile 061-9293651 ทนั ตแพทย์เชีย่ วชาญ e-mail : - ไอควิ อีควิ สำนกั ทันตสาธารณสขุ [email protected]. go.th - ภาวะเตย้ี ในเด็กอายุ พญ. จนั ทร์อาภา สุขทัพภ์ ตำแหน่ง Mobile 0867889981 0-5 ปี นายแพทยช์ ำนาญการ e-mail : [email protected] สถาบนั ราชานุกลู การควบคุมและป้องกัน กรมสขุ ภาพจติ Tel. 0 2590 4327 โรคขาดสารไอโอดนี และ Mobile 089 897 4120 ภาวะโลหติ จาง นางสาววารที พิ ย์ พงึ่ พนั ธ์ ตำแหน่ง email: การควบคุมและป้องกัน นกั โภชนาการชำนาญ [email protected]. โรคขาดสารไอโอดีนและ การพเิ ศษ go.th ภาวะโลหิตจาง สำนักโภชนาการ Tel. 0 2590 4306 Mobile. 08 4377 5044 นพ. ธีรภทั ร อตั วนิ จิ ตำแหนง่ e-mail: [email protected] ตระการ นายแพทยช์ ำนาญการ Tel. 02 590 4329 Mobile 0982639591 สำนักโภชนาการ e-mail: [email protected] กรมอนามัย นางสาววภิ าศรี สุวรรณผล ตำแหนง่ นกั โภชนาการ ปฏิบตั ิการ สำนักโภชนาการ กรมอนามยั ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ช่ือ-สกลุ ตำแหนง่ /หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ท่ีรบั ผดิ ชอบ e-mail address - บริการฝากครรภ์ นางวรรณชนก ลิ้มจำรญู ตำแหน่ง Tel. 0 2590 4438 - Platform Pink Book - ทารกแรกเกิดจนถงึ 6 นกั วชิ าการสาธารณสุข Mobile 062 596 2294 เดอื นกนิ นมแม่อย่างเดียว ปฏบิ ัติการ e-mail : สำนกั ส่งเสรมิ สุขภาพ [email protected] กรมอนามัย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
69 ช่ือ-สกุล ตำแหน่ง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ท่ีรับผดิ ชอบ นายสทุ นิ ปุณฑรกิ ภักดิ์ e-mail address - เด็กปฐมวัยมีพฒั นาการ ตำแหนง่ นกั วิเคราะห์ Tel. 0 2590 4417 สมวัย ทพญ.นพวรรณ โพชนุกลู นโยบายและแผน Mobile 081 466 3696 ชำนาญการพเิ ศษ e-mail : - สุขภาพชอ่ งปากหญิง พญ. จันทรอ์ าภา สขุ ทัพภ์ สถาบันพัฒนาอนามยั [email protected] ตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย นางสาววารีทพิ ย์ พึ่งพนั ธ์ เดก็ แหง่ ชาติ กรมอนามยั Tel.0 2590 4208 - ไอควิ อีคิว นพ. ธีรภัทร อตั วนิ ิจ ตำแหนง่ Mobile 061 929 3651 ตระการ ทันตแพทยเ์ ช่ยี วชาญ e-mail : - ภาวะเต้ยี ในเด็กอายุ นางสาววิภาศรี สวุ รรณผล สำนักทันตสาธารณสุข [email protected]. 0-5 ปี go.th ตำแหน่ง Mobile 0867889981 การควบคมุ และป้องกัน นายแพทย์ชำนาญการ e-mail : [email protected] โรคขาดสารไอโอดนี และ สถาบันราชานกุ ูล ภาวะโลหติ จาง กรมสขุ ภาพจิต Tel. 0 2590 4327 การควบคุมและป้องกัน ตำแหน่ง Mobile 089 897 4120 โรคขาดสารไอโอดีนและ นักโภชนาการชำนาญ email: ภาวะโลหติ จาง การพิเศษ [email protected]. สำนกั โภชนาการ go.th Tel. 0 2590 4306 ตำแหน่ง Mobile. 08 4377 5044 นายแพทย์ชำนาญการ e-mail: สำนักโภชนาการ [email protected] กรมอนามัย Tel. 02 590 4329 ตำแหนง่ Mobile 0982639591 นกั โภชนาการ e-mail: ปฏิบตั ิการ [email protected] สำนกั โภชนาการ กรมอนามัย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
70 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (Inspection Guideline) ประเดน็ ที่ 4 : สุขภาพกลุ่มวัยและสุขภาพจิต หัวข้อ: กลุ่มวัยทำงาน ตัวช้วี ัด : อตั ราการฆ่าตัวตายสำเรจ็ ไม่เกนิ 8 ตอ่ ประชากรแสนคน การตรวจติดตามยืนยนั วินจิ ฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหติ สูง ≥ ร้อยละ 80 สถานการณ์ จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ ประชาชนในทุกประเทศทั่วโลก ไม่วา่ จะเป็นดา้ นสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ เศรษฐกจิ และสงั คม รวมถึงอัตราการ เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายที่สูงขึ้นในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย พบว่า ตั้งแต่ปี ปี พ.ศ. 2563 อัตรา การฆ่าตัวตายเริ่มขยับตัวสูงกว่าปี พ.ศ.2562 มีผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จมากถึง 4,822 คน คิดเป็น 7.37 ต่อ ประชากรแสนคนดังภาพที่ 1 จากการติดตามสถิติการฆา่ ตัวตายสำเร็จ ตง้ั แต่เดือนมกราคม-สิงหาคม 2564 ยังคงพบว่ามีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จสะสม จำนวน 3,246 คน หรือเฉลี่ยเดือนละ 405 - 410 คน (ปี พ.ศ. 2562 เฉล่ียเดือนละ 400 คน) 12.0 11.0 10.0 9.0 6.92 8.12 8.59 8.4 7.74 7.84 7.13 6.87 6.34 5.77 5.97 5.98 5.97 5.9 6.03 6.2 6.08 6.07 6.47 6.4 6.03 6.32 6.73 7.37 8.0 7.0 6.0 5.0 4.0 3.0 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 พ.ศ. ภาพที่ 1 อัตราการฆา่ ตัวตายสำเร็จของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2540 – 2563 ที่มา : ศนู ยป์ อ้ งกันการฆ่าตวั ตายระดับชาติ http://www.suicidethai.com (ข้อมลู จากฐานใบมรณบตั ร) เมื่อจำแนกรายเขตสุขภาพ พบว่า เขตสุขภาพที่ 1 มีอัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จสูงที่สุด คิดเป็น 11.84 ตอ่ ประชากรแสนคน รองลงมาคือ เขตสขุ ภาพที่ 2,7 และ 11 คดิ เปน็ 9.93, 8.76 และ 8.4 ตามลำดับดังภาพท่ี 2 อตั ราการการฆ่าตัวตายสาเรจ็ ปงี บประมาณพ.ศ. 2563 อัตราต่อประชากรแสนคน 15 11.84 9.93 7.32 5.38 6.24 7.09 8.76 8.35 7.85 7.91 8.4 7.37 10 4.43 3.17 5 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ประเทศ เขตสุขภาพ ภาพท่ี ๒ อตั ราการฆา่ ตวั ตายสำเรจ็ ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2563 จำแนกรายเขตสุขภาพ ทีม่ า : ศูนยป์ อ้ งกนั การฆ่าตวั ตายระดบั ชาติ http://www.suicidethai.com **เน่อื งจากข้อมูลการฆ่าตวั ตายของปี พ.ศ. ยงไมม่ ีการประกาศ จึงขอใช้ขอ้ มลู ของปี พ.ศ. 2563 แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
71 ทั้งนี้ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต ได้ศึกษาถึงข้อมูลและปัจจัยท่ีมี ความสัมพันธ์ในกลุ่มผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จจากระบบรายงาน รง 506S ปี 2562 -2563 พบว่า ผู้ชายฆ่าตัว ตายมากกว่าผู้หญิง 4 เท่า และพบในกลุ่มอายุ 35-39 ปีมีการฆ่าตัวตายสูงสุด จำนวน 599 คน รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 40-44 ปี จำนวน 595 คน และกลุ่ม 45-49 ปี จำนวน 510 คน ล้วนเป็นกลุ่มวัยทำงาน ทั้งสิ้น หากเปรียบเทียบในจำนวนของผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ พบว่า กลุ่มอายุ 75-79 ปี มีจำนวนการฆ่าตัวตาย เพิ่มขึ้นจากปี 2562 เป็น 2 เท่า ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุช่วงวัยดังกล่าว ควรมีการติดตามเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด กลุ่มอาชพี ที่พบการฆ่าตวั ตายสงู สุด คอื กลมุ่ ผู้ใชแ้ รงงาน เกษตรกร และกล่มุ ธรุ กจิ /ค้าขาย ตามลำดับ สำหรับ ปัจจัยร่วมท่ีมีความสัมพันธ์พบในผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี พ.ศ.2563 คือ ปัจจัยความสัมพันธ์ (50.2%) สุรา (23.9%) ยาเสพติด(10.6%) ป่วยกายจิต (30.4%) และเศรษฐกิจ (29.1%) การฆ่าตัวตาย จึงเกิดจาก ปจั จัยทห่ี ลากหลายทั้งในส่วนของปัจจยั ทางดา้ นสขุ ภาพ (กาย -จติ ) และสงั คมเศรษฐกจิ สว่ นหนงึ่ อาจมีผลมา จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ค่อนข้างต่อเนื่องยาวนาน ประชาชนยังคงอยู่ท่านกลางความเครียด วิตกกังวล การปรับตัวให้เข้ากับวิถีชีวิตภายใต้สถานการณ์ที่เกิดข้ึน รวมไปถึงการเผชญิ หน้ากับภาวะทางเศรษฐกิจ ตกงานหรือ ปิดกิจการลง คาดว่าอัตราการฆ่าตัวตายเมื่อส้นิ ปี พ.ศ.2564 ประเทศไทยอาจมแี นวโน้มการฆา่ ตวั ตายที่สงู กว่าปที ่ีผา่ นมา กรมสุขภาพจิตจึงเร่งแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายในเชิงรุกมากขึ้น ภายใต้ยุทธศาสตร์การป้องกั น การฆ่าตัวตายระดับชาติ ปีพ.ศ. 2564-2565 โดยมีเป้าหมายลดการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 8 คนต่อแสน ประชากร ภายใต้การดำเนนิ งาน 4 กลยุทธท์ ี่สำคัญ ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนมคี วามรอบรู้ เข้าใจ เรื่องการ ฆ่าตัวตาย มีความเข้มแข็งทางใจ จากการมีวัคซีนใจ สามารถตรวจวัดระดับสุขภาพจิตที่ Mental Health Check-In ให้กับตนเองและบุคคลใกล้ชิด โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางทางเศรษฐกิจและสังคม (คนตกงาน ว่างงาน ขาดรายได้ ค้าขายขาดทุน) เพิ่มการเข้าถงึ บริการด้านสุขภาพด้วยการส่งเสริมให้มีการรระบุกลุม่ เสีย่ ง ในพื้นที่ และดำเนินการเชิงรุก โดยทีม 3 หมอเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการค้นหา คัดกรอง เฝ้าระวัง และ นำเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะพื้นที่ใน 25 จังหวัด และการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่อง เพ่ือปอ้ งกันการกลบั มาฆา่ ตัวตายซำ้ จากข้อมูลเบื้องต้น การที่ผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ ส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย วัยแรงงาน อีกทั้งประกอบ ด้วยปัจจัยที่หลากหลาย เพื่อลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นของประเทศ การแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายให้เป็นไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จึงตอ้ งขบั เคล่ือนการดำเนินงานแบบบรู ณาการทุกภาคสว่ นในหน่วยงานภายในกระทรวง แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
72 สาธารณสขุ โดยเฉพาะปจั จัยทางดา้ นปญั หาสุขภาพ ประกอบดว้ ย กรมสขุ ภาพจิต ร่วมกับกรมควบคุมโรคและ กรมอนามัย ที่จะร่วมกันช่วยส่งเสริมให้กลุ่มวัยแรงงานนี้ มีความรอบรู้ปัญหาการฆ่าตัวตาย ชุมชนให้ได้รับ การเสริมสร้างพลังใจ และมีทักษะการแก้ไขปัญหา การรับรู้ช่องทางการเข้าถึงบริการรู้เท่าทันและรับมือกับ สัญญานเตือน และเข้าถึงบริการสุขภาพได้ทันต่อสถานการณ์ แม้ว่าเจ็บป่วย จะยังคงดูแลตนเองให้ได้รับ การรักษาอย่างต่อเนื่อง มีทักษะการปรับตัว รับมือกับปัญหาที่เผชิญได้อย่างมีคุณภาพ ไม่ฆ่าตัวตาย อีกทั้ง ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (กลุ่มที่มีปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว ผู้ป่วยโรคเรื้อรังทางกายและ จติ ผูม้ ปี ัญหาสรุ าและยาเสพติด และกล่มุ เปราะบางทางสังคมและเศรษฐกิจ) สามารถไปขอรับความช่วยเหลือ จากแหล่งสนับสนนุ ทางสงั คมจากหนว่ ยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ โดยมรี ะบบฐานข้อมลู ทเ่ี ชื่อมถึงกัน และเปน็ ประโยชนต์ ่อการเฝา้ ระวงั กำกับติดตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานได้อย่างแทจ้ ริง เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานใน แนวทางการตรวจ ผลลพั ธ์ท่ตี ้องการ พ้ืนที่ ติดตาม ประเด็นการตรวจราชการที่มงุ่ เนน้ รอบที่ 1 ส่งเสริมความรอบรู้ เข้าใจ และวคั ซนี ใจใหก้ ับประชาชน พัฒนา ศักยภาพ Gate Keeper เพ่ือ คน้ หา คัดกรอง ประชากรกลุ่มเสยี่ งโดยเฉพาะ กลุม่ เปราะบางทางเศรษฐกิจและ สงั คม ส่งตอ่ เขา้ สรู่ ะบบบริการ มีการบรู ณาการเพ่ือเฝ้าระวัง ปอ้ งกัน แก้ไขปัญหาการฆา่ ตัวตาย รว่ มกับระหวา่ ง ภาคเี ครอื ขา่ ยท้ังในและนอกระบบสาธารณสุข โดยคณะอนุกรรมการประสานงานเพือ่ บังคับใชก้ ฎหมายวา่ ด้วย สขุ ภาพจิตระดับจังหวัดและ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดับอำเภอ จะมบี ทบาทสำคัญต่อการขับเคล่ือน งานใหเ้ กิดความต่อเนอื่ งและมีประสทิ ธิภาพ อตั ราการฆา่ ตัวตายสำเร็จไม่ 1.ประชาชนได้รบั การ - แผนงานการปอ้ งกัน 1.ประชาชนได้รบั การ เกนิ 8.0 ต่อประชากรแสนคน ส่งเสริมความรอบรู้ เขา้ ใจ ปัญหาการฆ่าตวั ตายระดบั เสริมสรา้ งเสรมิ สร้างวัคซีน การสรา้ งวคั ซีนใจ ให้กับ เขตสขุ ภาพ โดยบรู ณาการ ใจมคี วามรเู้ ก่ียวกบั ประชาชนผ่านกลไกระบบ กบั คณะกรรมการพัฒนา สัญญาณเตือน และ สขุ ภาพปฐมภูมิ คณุ ภาพชีวิตระดับอำเภอ ช่องทางท่ีหลากหลายที่ 2.สร้างการมสี ว่ นร่วมของ (พชอ.) ช่วยในการเข้าถงึ บริการ องค์กรภาคีเครือขา่ ยใน - กิจกรรมรณรงค์ และ ดา้ นสงั คมและสขุ ภาพตาม ระดบั พนื้ ทใี่ ห้มีความ สอื่ สรา้ งความตระหนกั แผนงานที่กำหนด เข้มแข็งเกิดเป็นความ เร่อื งฆา่ ตัวตายในพืน้ ท่ี 2.ประชากรกลมุ่ เสีย่ ง ร่วมมอื ในการปอ้ งกนั การ - มีการใช้โปรแกรม 3ส+ ไดแ้ ก่ กลุ่มวัยแรงานที่มี ฆา่ ตัวตายในระดบั ชุมชน และ Mental Health ความเปราะบางทาง ครอบครวั และบุคคลโดย Check In ในการเฝ้า เศรษฐกิจและสงั คม โรค มีเปา้ หมายร่วมกันเพื่อ ระวงั และป้องกันปัญหา ทางกายเรื้อรงั -ผูป้ ว่ ยโรค ปอ้ งกันการฆา่ ตวั ตายใน การฆ่าตวั ตายระดับเขต จติ /ซึมเศรา้ /โรคจากการ พนื้ ที่ สขุ ภาพ ใชส้ รุ า และสารเสพตดิ 3.พัฒนาศกั ยภาพ Gate - ทะเบียนคัดกรอง เข้าถงึ บริการสุขภาพจิต Keeper ด้านการคน้ หา ความเครียด ซึมเศร้า ใน และไดร้ ับการติดตามดแู ล คัดกรองกลมุ่ เสย่ี ง/ กลุ่มวัยทำงานในสถาน ตามแนวทางที่กำหนดหาก ประกอบการ เนน้ กลมุ่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
73 เป้าหมาย มาตรการดำเนนิ งานใน แนวทางการตรวจ ผลลัพธท์ ี่ต้องการ การตรวจตดิ ตามยนื ยนั พนื้ ที่ ตดิ ตาม วินิจฉยั กลมุ่ สงสยั ปว่ ย โรคเบาหวานและ/หรอื และใหก้ ารชว่ ยเหลอื เปราะบางทางเศรษฐกจิ พบว่ามีความเสี่ยงตอ่ การ ความดนั โลหติ สงู เบ้ืองต้น และสง่ ตอ่ เขา้ สู่ และสงั คม ผูป้ ่วยโรค ฆ่าตัวตาย ระบบบริการอยา่ งมี เรือ้ รงั ทางกายและจติ 3.คณะทำงานระดบั ประสทิ ธิภาพ -มกี ารจดั กจิ กรรม จังหวดั ด้านการป้องกัน 4.บูรณาการเพื่อเฝ้าระวงั เสรมิ สร้างวคั ซีนใจใน การฆา่ ตัวตาย สามารถ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหา สถานประกอบการ ดำเนินงานตามแผน หรอื การฆา่ ตัวตาย ร่วมกับ และการนำโปรแกรม แนวทางการขบั เคลื่อนงาน เครือข่ายทงั้ ในและนอก สร้างสขุ ไปใชส้ ง่ เสรมิ ในพืน้ ท่ี โดยมีการกำกับ ระบบสาธารณสขุ โดย สขุ ภาพจิตในองค์กร/ ตดิ ตสมและประเมนิ ขบั เคลือ่ นผา่ น ชมุ ชน ผลลพั ธข์ องการดำเนินงาน คณะอนกุ รรมการ ประสานงานเพ่ือบงั คับใช้ กฎหมายว่าดว้ ยสุขภาพจติ ระดับจงั หวดั และ คณะกรรมการพฒั นา คุณภาพชีวติ ระดับอำเภอ (พชอ.) 5.สนบั สนนุ องคค์ วามรู้ การคดั กรองประเมนิ สัญญาณเตือนการเฝา้ ระวงั ดแู ลรกั ษาผ้พู ยายาม ฆ่าตวั ตายในพ้นื ทร่ี วมทงั้ สืบสวนสาเหตกุ ารฆ่าตัว ตาย เพื่อป้องกนั อบุ ตั กิ ารณ์รายใหม่ 1. มาตรการคดั กรอง 1.การจัดบริการคัดกรอง 1. ประชาชนอายุ 35 ปี เบาหวานและความดนั ความเส่ยี งต่อเบาหวาน ขึ้นไป ในเขตรบั ผิดชอบ โลหติ สูง โดย คดั กรองฯ และความดนั โลหิตสงู ไดร้ ับการคดั กรอง ในประชากรอายุ 35 ปขี ้นึ โรคเบาหวานประชาชน โรคเบาหวาน และความ ไปในเขตรบั ผิดชอบ ดว้ ย อายุ 35 ปขี ึน้ ไปในเขต ดันโลหติ สงู ≥ รอ้ ยละ 70 วิธกี ารแบบปกติหรือ รบั ผดิ ชอบ 2.กลมุ่ สงสยั ปว่ ย รปู แบบ New Normal 2. การตดิ ตามผู้ที่คัด โรคเบาหวาน ไดร้ ับการ ผา่ นทางออนไลน์ โดยใช้ กรองฯ และเป็นกลุ่ม ตรวจตดิ ตามยนื ยนั วินจิ ฉยั แอปลิเคช่นั ในการคัด สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวาน ≥ รอ้ ยละ 40 กรองสขุ ภาพและ และหรือความดนั โลหติ 4.กล่มุ สงสัยป่วยความดนั พฤติกรรมเส่ียงโรคไม่ สงู โลหิตสงู ไดร้ ับการตรวจ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
74 เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานใน แนวทางการตรวจ ผลลัพธท์ ตี่ ้องการ พ้ืนท่ี ตดิ ตาม ตดิ ตอ่ ต่างๆ เชน่ smart กรณีกลมุ่ สงสยั เบาหวาน ติดตามยืนยันวนิ ิจฉัย ≥ อสม. ไทยสุข H4U - ได้รบั การตดิ ตามตรวจ รอ้ ยละ 60 2. มาตรการตรวจติดตาม ระดบั พลาสมากลูโคส กลมุ่ สงสัยปว่ ยเบาหวาน หลงั อดอาหารมากกวา่ และ/หรอื ความดันโลหติ 8 ชวั่ โมง (FPG) ทาง สงู โดย ห้องปฏิบตั กิ าร ในสถาน บรกิ ารสาธารณสขุ 2.1 ข้นึ ทะเบียนกลุ่ม ตัง้ แต่ 1 วนั ถดั ไป สงสยั ฯ หลงั จากวนั ท่คี ดั กรอง และเป็นผสู้ งสัยปว่ ย 2.2 ดำเนินการตดิ ตาม เบาหวาน (ภายใน 90 กลมุ่ สงสยั ฯ ใหไ้ ดร้ บั การ วัน) ตรวจยืนยันการวนิ จิ ฉยั กรณกี ลุ่มสงสัยความดนั ดงั นี้ โลหติ สูง -ได้รับตดิ ตามโดยวิธกี าร กรณกี ลุม่ สงสยั HBPM ตดิ ต่อกนั อย่าง เบาหวาน น้อย 7 วัน โดยจะตอ้ ง - ติดตามให้ได้รับตรวจ ได้รับการตดิ ตามภายใน ยนื ยนั โดยการตรวจ FPG 90 วนั หรอื ได้รับการ ทางหอ้ งปฏบิ ัติการ ใน ตรวจวดั ความดันโลหิต สถานบริการสาธารณสุข ซำ้ ในสถานพยาบาลเดิม ต้ังแต่ 1 วนั ถัดไป ภายใน 90 วนั ด้วย หลังจากวันทคี่ ัดกรองฯ วิธีการวัดท่ีถูกต้องตาม (ภายใน 90 วนั ) ตาม มาตรฐาน แนวทางเวชปฏบิ ตั ิสำหรบั หลังจากได้รับการคดั โรคเบาหวาน กรองความดนั โลหติ สงู ที่ - ปรบั ระบบการติดตาม สถานบรกิ ารสาธารณสขุ กลุ่มสงสัยป่วยในรูปแบบ หรือในชมุ ชนแล้ว (เนน้ NEW Normal โดยนำ ผลลพั ธ์การตรวจตดิ ตาม เทคโนโลยมี าใชใ้ นการ โดยวิธีการทำ HBPM ≥ ดำเนนิ งาน เช่น รถตรวจ รอ้ ยละ 60 จากกลมุ่ ทางห้องปฏิบัติการ สงสัยป่วยความดันโลหิต เคลือ่ นท่เี ชงิ รุกในชุมชน, สงู ในปีงบประมาณ) นดั ควิ เหลือ่ มเวลา 3. การตรวจยืนยนั และ เปน็ ตน้ วนิ ิจฉัยโดยแพทย์เปน็ วา่ ผู้ปว่ ยโรคเบาหวานและ กรณกี ลุ่มสงสยั ความดนั โลหติ สูง - ตดิ ตามให้ไดร้ บั การ ตรวจยืนยนั วนิ จิ ฉยั โดย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
75 เปา้ หมาย มาตรการดำเนนิ งานใน แนวทางการตรวจ ผลลพั ธท์ ต่ี ้องการ พน้ื ที่ ตดิ ตาม วิธีการวัดความดนั โลหติ หรือความดนั โลหติ สูง ดว้ ยตนเองที่บา้ น (Home พรอ้ มทงั้ ข้นึ ทะเบยี นเปน็ Blood Pressure ผู้ป่วยรายใหม่ Monitoring: HBPM) หรอื 4.การดูแลรักษาตาม ได้รบั การวดั ความดันโลหติ แนวทางการรักษาลด ซำ้ ในสถานพยาบาลเดมิ การเกดิ ภาวะแทรกซ้อน ดว้ ยวธิ กี ารวัดที่ถกู ต้อง ตามมาตรฐาน ตาม แนวทางการรักษาโรค ความดนั โลหิตสูงในเวช ปฏบิ ตั ทิ ัว่ ไป พ.ศ. 2562 3. มาตรการการพัฒนา คุณภาพระบบบริการ - กล่มุ สงสยั ป่วย โรคเบาหวานและหรอื ความดนั โลหิตสงู ไดร้ บั การ วินิจฉยั โรคโดยแพทย์ - ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานและ หรือความดนั โลหติ สูงราย ใหมไ่ ดร้ ับการดแู ลตาม แนวทางการรักษาได้เร็ว และลดการเกดิ ภาวะแทรกซ้อน ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้นรอบที่ 2 ติดตามระบบบรกิ ารดา้ นการรักษา ดูแลต่อเน่ือง ใน กลุ่ม Mental disorder (Schizophrenia , Mood disorder) พัฒนาระบบการสง่ ตอ่ ดูแลผพู้ ยายามทำรา้ ยตนเอง เชอื่ มโยงการ ทำงานแบบบูรณาการร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ยภายในและภายนอกสาธารณสุข และจังหวดั มที ีมสอบสวนระบาด วทิ ยาการฆ่าตวั ตาย และมีการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรอย่างต่อเนื่องใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการสอบสวน สาเหตุการตายตามหลักระบาดวิทยาการฆา่ ตัวตาย และ วเิ คราะหข์ ้อมูล เพอ่ื กำหนดนโยบายหรอื แนวทางการ แก้ไขปญั หาในพ้ืนที่ นิเทศ/กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผล ตามแผนการปอ้ งกนั การฆ่าตัวตายในระดบั เขตสขุ ภาพและ ระดับจังหวดั 1. ตดิ ตามระบบบริการ -การบันทึกประวตั ิการฆ่า 1.ร้อยละ 80 ในเขต ดา้ นการรกั ษาดูแลอย่าง ตัวตาย ในรง. 506S สขุ ภาพที่มีอัตราการการ ตอ่ เน่อื ง ใน กลุม่ Mental และการจัดทำฐานข้อมลู เขา้ ถึงบริการตามค่า ระบบรายงานโรคจติ เวช เปา้ หมาย disorder ทีม่ ีความเสี่ยงต่อ - โรคซมึ เศรา้ 80% (Schizophrenia , Mood การทำรา้ ยตนเองและ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359