Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มแผนการตรวจราชการกระทรวง สธ ป65

เล่มแผนการตรวจราชการกระทรวง สธ ป65

Description: เล่มแผนการตรวจราชการกระทรวง สธ ป65

Search

Read the Text Version

รหสั ประเด็น การดำเนนิ งาน -ใ เล ละ (R -ม ชัด สุข -ผ รัก โด -ม โร -ใ ปัจ ระ -ใ คว อา กา -ม นำ ตา แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ว ประเดน็ การตรวจราชการท่มี ุ่งเนน้ หนว่ ยงานท่ี หนว่ ยงานท่ี รบั ผดิ ชอบหลกั รบั ผิดชอบร่วม ใหก้ ารรกั ษาผู้ปว่ ยที่เป็นภาวะหวั ใจขาด ลอื ดเฉยี บพลันอย่างรวดเรว็ โดยการใหย้ า กรมการแพทย์ ะลายลิ่มเลอื ดและหรือการทำบอลลนู Reperfusion rate) มรี ะบบการส่งต่อผู้ป่วย STEMI fast ท่ี ดเจนและปฏบิ ัติได้จรงิ ทกุ โรงพยาบาลในเขต ขภาพ ผ้ปู ่วยทเี่ ป็นโรคหวั ใจขาดเลือดเรอื้ รงั ให้ กษาโดยการทำบอลลนู หรอื การผ่าตัด CABG ดยลดเวลาระยะเวลารอคอย มีการคดั กรองผู้ป่วยทีม่ ีปัจจยั เสย่ี งตอ่ รคหวั ใจและหลอดเลือดตามโปรแกรม ในรายท่ีเปน็ โรคแล้วมแี นวทางการควบคุม จจยั เส่ยี งของโรคกลุ่ม NCD เพอื่ ให้อยูใ่ น ะดบั ทีต่ ้องการตามมาตรฐาน ให้การศกึ ษากบั ผู้ป่วยและญาตเิ ร่อื งการ วบคมุ ปจั จยั เสย่ี งการดูแลตนเอง, ทราบถงึ าการของโรคกลา้ มเน้ือหัวในขาดเลอื ดและ ารเขา้ ถงึ บริการทั้งในภาวะฉุกเฉนิ และปกติ มีขอ้ มูลการผลการรักษาผู้ป่วย STEMI เพอื่ ำขอ้ มูลมาวเิ คราะห์และรายงานผล อัตรา ายของผปู้ ว่ ย STEMI

รหัส ประเด็น การดำเนนิ งาน ร้อ ได 60 -ม ระ ผปู้ อา -ม สา หม โร -ม บุค พร ชั่ว -ม กา กา -ม เพ รว ลมิ่ -ม แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ศ ประเด็นการตรวจราชการทีม่ ุง่ เนน้ หนว่ ยงานท่ี หน่วยงานท่ี รับผิดชอบหลัก รับผิดชอบร่วม อยละของการใหก้ ารรักษาผู้ป่วย STEMI ด้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด (≥ ร้อยละ 0) มีแนวทางในการให้ยาละลายลิ่มเลอื ดโดยมี ะบบการให้คำปรึกษาและระบบรบั ส่งต่อ ป่วยตลอด 24 ช่วั โมงทกุ วนั (24/7) โดย ายุรแพทย์หรอื อายุรแพทย์โรคหัวใจ มีระบบการบรหิ ารยาละลายลิม่ เลือดโดย ามารถให้ยาไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมงและมีระบบ มุนเวยี นยาระหว่างโรงพยาบาลศนู ย์และ รงพยาบาลชมุ ชน มีความพร้อมของหนว่ ยงาน รถพยาบาล คลากร และมอี ปุ กรณเ์ ครอื่ งชว่ ยชวี ติ เพื่อ ร้อมส่งต่อผ้ปู ว่ ยในกรณีฉุกเฉินตลอด 24 วโมง มหี น่วยบริการทมี่ ีความพรอ้ มเพยี งพอใน ารรกั ษาโดยวิธีใหย้ าละลายลิ่มเลือดและหรือ ารขยายหลอดเลอื ด มรี ะบบการสง่ ต่อและแนวทางการรับผปู้ ว่ ย พื่อใหส้ ามารถให้บริการผูป้ ว่ ยไดใ้ นเวลาท่ี วดเรว็ และเหมาะสม ทั้งโดยวธิ ใี ห้ยาละลาย มเลอื ดและการขยายหลอดเลือด มีข้อมลู การใหก้ ารรกั ษาผปู้ ว่ ย STEMI

รหสั ประเดน็ การดำเนินงาน 5.2 Service Plan สาขาอบุ ตั ิเหตุ เพ 5.3 Service Plan สาขามะเร็ง -เ เข กล sep สำ ผ่า กา -ล ฉกุ -แ -พ รอ ด้า -บ โร -บ เน -ก ขอ้ ดา้ -เ ลำ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ษ ประเดน็ การตรวจราชการทีม่ ุ่งเนน้ หนว่ ยงานที่ หนว่ ยงานที่ รบั ผดิ ชอบหลัก รบั ผดิ ชอบรว่ ม พอ่ื นำขอ้ มลู มาวเิ คราะห์และรายงานผล เพมิ่ ประสทิ ธิภาพและลดระยะเวลาการ ข้าถึง definite care ผา่ นระบบ Fast track ลุ่มโรคสำคัญ เช่น STEMI , Stroke , Severe epsis/septicshock, Trauma และกลมุ่ โรค ำคญั อื่นๆ โดยเชอ่ื มโยงโรงพยาบาลทกุ ระดบั านระบบการสง่ ต่อและการเขา้ ถึงระบบ ารแพทย์ฉกุ เฉนิ อย่างไร้รอยตอ่ ลดความแออดั ลดระยะเวลารอคอยในห้อง กเฉนิ แผนรองรับภาวะวกิ ฤติในสถานการณ์ตา่ งๆ พัฒนาระบบฐานข้อมลู ห้องฉกุ เฉนิ อบที่ 1 และ 2 านการผ่าตัด บรหิ ารจดั การหอ้ งผา่ ตดั เพอ่ื รองรับผู้ปว่ ย รคมะเร็งรว่ มกับโรคอนื่ ๆ อย่างเหมาะสม บรหิ ารจัดการใหไ้ ด้การวินิจฉยั หลงั ตัดชน้ิ นอ้ื เร็วที่สดุ การบันทกึ วนั เริ่มผา่ ตดั ใน TCB เพื่อเช่ือมต่อ อมลู กลับไปยงั พื้นที่ านเคมีบำบัด เปดิ บรกิ ารเคมีบำบัดมะเร็งเตา้ นมและมะเรง็ ำไสใ้ หญแ่ ละทวารหนัก ใน M1

รหสั ประเดน็ การดำเนนิ งาน 5.4 Service Plan สาขาทารกแรกเกิด -ก 5.5 Intermediate Care ศลั เค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 -พ รอ -ก เช ดา้ -ก เช -ก นกั พร -พ รอ รอ -ส ทา -จ เข รอ -เ ใน

ส ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเนน้ หน่วยงานที่ หน่วยงานท่ี รับผดิ ชอบหลัก รบั ผดิ ชอบรว่ ม การพัฒนาศักยภาพและธำรงรักษา ลยแพทย์ อายุรแพทย์ พยาบาลในการใหย้ า คมบี ำบัด พัฒนาระบบการสง่ ตอ่ เพ่ือลดระยะเวลาการ อคอย การบันทึกวนั เร่มิ ให้เคมีบำบัดใน TCB เพ่อื ช่อื มตอ่ ขอ้ มลู กลับไปยังพื้นที่ านรังสรี กั ษา การบันทกึ วนั เร่มิ ฉายรังสใี น TCB เพ่ือ ชื่อมตอ่ ข้อมูลกลบั ไปยังพน้ื ที่ การบรรจุและธำรงรักษาแพทย์ กฟิสิกส์การแพทย์ และนักรังสีการแพทย์ ให้ รอ้ มต่อการบรกิ าร พฒั นาระบบการสง่ ต่อเพ่ือลดระยะเวลาการ อคอย อบที่ 1 และ รอบที่ 2 สำรวจสาเหตุการเสยี ชวี ติ 5 อนั ดบั แรกของ ารก จัดอบรมหรือให้ทนุ เข้าอบรม NNP ในทุก ขตสุขภาพ อบท่ี 1 เช่อื มโยงนโยบายระดบั ชาติลงสู่การปฏบิ ตั ิ นระดบั เขตสขุ ภาพและจงั หวัด

รหสั ประเดน็ การดำเนนิ งาน 6 ประเด็นที่ 6 Good Governance -ใ 6.1 ตรวจสอบภายใน (แผนเงนิ บำรุงในโรงพยาบาล) เป -ส วชิ รอ -พ ทา บคุ -บ หน ๑๐ รอ -ส บร -โ ๑ มกี เป รอ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ห ประเดน็ การตรวจราชการที่มงุ่ เนน้ หนว่ ยงานท่ี หนว่ ยงานที่ รับผดิ ชอบหลัก รับผดิ ชอบรว่ ม ใหบ้ ริการ IMC ตาม Care protocol อย่าง ปน็ รูปธรรม สนบั สนุนการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรใน ชาชพี ทข่ี าดแคลน ระดบั จงั หวดั /เขตสุขภาพ อบท่ี 2 พัฒนาการใหบ้ ริการ IMC ใหไ้ ดค้ ุณภาพ ทงั้ างดา้ นโครงสร้าง ระบบบรกิ าร และ คลากร บรหิ ารจดั การกำลังคนด้านสขุ ภาพ นว่ ยบริการทุกแหง่ มแี ผนเงินบำรุงรอ้ ยละ กล่มุ ตรวจสอบ ภายใน สป. ๐๐ อบท่ี 1 สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด ทกุ หน่วย ริการมีแผนเงนิ บำรุงครบถว้ นทุกแหง่ โรงพยาบาลศนู ย์/โรงพยาบาลทว่ั ไป จำนวน แหง่ โรงพยาบาลชุมชน จำนวน ๑ แหง่ การดำเนินการด้านรายจา่ ยและก่อหน้ผี ูกพนั ป็นไปตามระเบยี บ อบที่ 2

รหสั ประเด็น การดำเนนิ งาน -ส ปร เงนิ -โ จำ แห ตา 6.2 การเงินการคลงั สขุ ภาพ (วกิ ฤตการเงินระดับ 7 , ระบบ หน จัดเกบ็ รายได้) กา รอ -พ -ก -พ แก -ส (D -ต กา หน รอ -ม -ม กอ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ฬ ประเด็นการตรวจราชการท่ีม่งุ เนน้ หนว่ ยงานท่ี หน่วยงานท่ี รบั ผิดชอบหลกั รับผดิ ชอบรว่ ม สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั มี ระสทิ ธภิ าพ กระบวนการกำกับติดตามแผน กองเศรษฐกิจฯ นบำรงุ โรงพยาบาลศนู ย/์ โรงพยาบาลท่ัวไป ำนวน ๑ แหง่ โรงพยาบาลชุมชน จำนวน ๑ หง่ มปี ระสทิ ธิภาพด้านการควบคุมค่าใชจ้ า่ ย ามแผนเงนิ บำรงุ ( ตามหลกั 4 P) นว่ ยบริการท่ปี ระสบภาวะวกิ ฤตทาง ารเงนิ อบที่ 1 และรอบที่ 2 พัฒนาระบบบบัญชี (Accounting) การจัดสรรเงนิ อย่างเพียงพอ (Budgeting) พฒั นาศกั ยภาพบริหารดา้ นการเงินการคลงั กเ่ ครือขา่ ยและบคุ ลากร (Competency) สรา้ งประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ Division of regional health) ตดิ ตาม กำกับ เครื่องมือประสิทธิภาพทาง ารเงนิ (Efficiency) น่วยบรกิ ารทีม่ ีศนู ยจ์ ัดเก็บรายไดค้ ณุ ภาพ อบท่ี 1 และรอบที่ 2 มโี ครงสร้างศูนย์จัดเก็บรายได้ (Structure) มีระบบงานศูนย์จัดเก็บในการเรียกเกบ็ ทุก องทนุ (System)

รหัส ประเด็น การดำเนนิ งาน 6.3 การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) -ม & ขอ รพ -ม คร -ม คร -ม รอ -ท ดา้ จงั -เ อบ ปัจ -ก แบ ออ รอ -ก HI แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

อ ประเด็นการตรวจราชการทม่ี ุ่งเนน้ หนว่ ยงานที่ หนว่ ยงานท่ี รับผดิ ชอบหลกั รบั ผดิ ชอบร่วม มรี ะบบบคุ ลากรในศูนยจ์ ดั เกบ็ รายได้ (Staff skill) มีจำนวนและทกั ษะความสามารถ ศนู ยเ์ ทคโนโลยี องบุคลากรเหมาะสมตามระดับของ รพช. และสารสนเทศ พท. รพศ. มกี ารบันทกึ ขอ้ มูลกิจกรรมการรกั ษา สป. , กอง รบถว้ น (Care) ยทุ ธศาสตรแ์ ละ มกี ารบันทกึ รหสั การรักษาพยาบาล แผนงาน สป. รบถ้วน และถูกต้อง (Code) มีระบบเบกิ จา่ ย (Claim) ของแต่ละกองทนุ อบท่ี 1 ทุกจังหวดั แตง่ ตัง้ คณะทำงานธรรมาภิบาล านขอ้ มูลและเทคโนโลยสี ขุ ภาพในระดบั งหวัด เชญิ ชวนให้โรงพยาบาลทุกแห่งเข้ารว่ ม บรมการติดตั้งใชง้ าน HIS Gateway รุน่ จจุบัน กำกบั ตดิ ตามให้หนว่ ยงานทุกแห่งตอบ บบสอบถามสถานะความพร้อมด้านไซเบอร์ อนไลน์ อบท่ี 2 กำกบั ตดิ ตามใหโ้ รงพยาบาลทกุ แหง่ ตดิ ตง้ั IS Gateway และใช้ประโยชน์อย่าง

รหสั ประเด็น การดำเนนิ งาน 7 ประเด็นท่ี 7 การตรวจราชการแบบบูรณาการรว่ มกบั สำนกั สม นายกรฐั มนตรี จะ 7.1 โครงการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ -ก ขับ 7.2 โครงการพฒั นาเมอื งสมุนไพร มล -ค 7.3 โครงการบูรณาการเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุ่ม ภา เปราะบางรายครัวเรอื น (2 มกี (H ตา่ (เก สม กา ให กล รา กา ผู้ส แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ฮ ประเดน็ การตรวจราชการทมี่ ุง่ เน้น หน่วยงานที่ หนว่ ยงานที่ รบั ผดิ ชอบหลัก รบั ผิดชอบร่วม ม่ำเสมอเพอ่ื คณุ ภาพของข้อมูลท่ปี ระชาชน ะได้รบั การดำเนินการภายใต้แผนปฏบิ ัตกิ าร กรมควบคุมโรค, บเคลือ่ นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหา กรมอนามัย, ลพิษด้านฝ่นุ ละออง” กรมการแพทย,์ ความคบื หน้าการแก้ไขมลพิษทางอากาศ กรม สบส. ายใต้ “4 พ้ืนท่ี 5 มาตรการบริหารจัดการ” 2P2R) กรมการแพทย์ แผนไทยฯ การขับเคลือ่ นการพัฒนาเมืองสมนุ ไพร Herbal City) โดยบรู ณาการของภาคส่วน กรมอนามยั างๆ ใน 14 จงั หวดั ภายใต้ 3 คลสั เตอร์ กษตร วัตถดุ ิบสมนุ ไพร อตุ สาหกรรม มนุ ไพร ท่องเทีย่ วเชิงสขุ ภาพ ความงามและ ารแพทย์แผนไทย) ห้ความช่วยเหลอื และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ลุ่มเปราะบางรายครวั เรือนใน 5 มติ ิ ไดแ้ ก่ ายได้ สขุ ภาพ การศึกษา ความเปน็ อยู่ และ ารเขา้ ถึงบริการภาครัฐ ในการรองรบั สงั คม สงู อายุ

รหสั ประเดน็ การดำเนินงาน 7.4 จัดการสงิ่ แวดล้อมสีเขียวเพ่ือความยัง่ ยืน ตามแนวทางการ - โ พฒั นาเศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ ไม ปร สีเขยี ว (BCG Model) ปร ภา ทร -ก โด ภา เป -ก ทา กา อา สุข เวช สัต 7.5 การลดอบุ ตั ิเหตุทางถนน ตดิ เก ใน อบุ ผู้เ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

กก ประเด็นการตรวจราชการทม่ี ุ่งเนน้ หนว่ ยงานท่ี หน่วยงานที่ รบั ผดิ ชอบหลัก รบั ผดิ ชอบรว่ ม โครงการ/กจิ กรรมด้านการบรหิ ารจัดการปา่ ม้ ตามแผนขับเคลื่อนกจิ กรรมปฏริ ปู สำนักงาน ระเทศท่สี ่งผลใหเ้ กดิ การเปลยี่ น แปลงต่อ คณะกรรมการ ระชาชนอยา่ งมนี ัยสำคญั (Big Rock) อาหารและยา ายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ดา้ น รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม กรมควบคุมโรค การขับเคลือ่ นดำเนนิ การพ้ืนท่ีสีเขยี ว ดยเฉพาะพ้นื ทป่ี ่า สวนป่า สวนสาธารณะ าครฐั ภาคเอกชน และพนื้ ท่ีส่วนบคุ คลให้ ปน็ ไปตาม (BCG Model) การใชป้ ระโยชน์และหมุนเวียนทรพั ยากร างชวี ภาพอยา่ งยั่งยนื และขาญฉลาด เช่น ารสรา้ งมลู คา่ เพิ่มเป็นผลิตภัณฑภ์ าชนะใส่ าหาร และอาหารเพื่อสุขภาพ ในดา้ น ขภาพและการแพทย์ มีการพฒั นายาและ ชภณั ฑ์ วคั ซนี และเวชสำอาง ทสี่ กดั จากพืช ตว์ จลุ นิ ทรยี ์ และสมนุ ไพร ดตามการขบั เคลื่อนของหน่วยงานที่ ก่ียวข้อง มกี ารบูรณาการของภาคส่วนตา่ ง ๆ นระดบั พ้ืนที่ การขบั เคลื่อนแนวทางการลด บัติเหตทุ างถนนเพ่อื ใหอ้ ตั ราผู้บาดเจ็บ และ เสียชวี ิตลดลงจากอุบตั ิเหตุทางถนน

กรอบแนวทางการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ประเดน็ ที่ 1-6 และการตรวจราชการแบบบูรณาการ

ประเด็นการตรวจราชการท่ีมุ่งเนน้ ประเดน็ ที่ 1 โครงการเกย่ี วกับพระราชวงศ์ โครงการราชทณั ฑ์ ปันสุข ทำความดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตริย์ จัดทำโดย คณะกรรมการกำหนดประเด็นและตดิ ตามผลการตรวจราชการ

๑ แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ (Inspection Guideline) ประเด็นที่ ๑ : โครงการพระราชดำริ : โครงการเกีย่ วกับพระราชวงศ์ โครงการราชทัณฑป์ นั สุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ประเดน็ : การพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพผู้ต้องขังในเรือนจำ ตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ทำความ ดี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ โครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง โครงการพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรง พระราชทานเคร่อื งมือและครภุ ัณฑ์ทางการแพทย์ให้แกเ่ รอื นจำและทัณฑสถาน ตลอดจนโรงพยาบาลเครือขา่ ย เพ่ือแก้ปัญหาขาดแคลนอุปกรณ์และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ พร้อมพระราชทานแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่าง เป็นระบบ ทำให้เกิดการบูรณาการทางการแพทย์ระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถเข้าถึง การรักษาพยาบาลอย่างรวดเรว็ และเท่าเทียมตามหลักมนุษยธรรม สามารถดูแลตนเองให้มีสุขภาพสมบูรณ์ท้ัง กายและใจระหว่างท่ีถกู ควบคุมตัวเมือ่ พน้ โทษกลับสสู่ ังคมจะไดป้ ระกอบอาชีพสุจริตอยา่ งมคี ุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงยุติธรรม และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ลงนาม บันทึกความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ (MOU) เมื่อวันอังคารที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและสนับสนุนการจัดระบบบริการสาธารณสุขสำหรับ ผู้ต้องขังให้ครอบคลุมท้ังการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมและกำจัดโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟู สมรรถภาพ และการค้มุ ครองผู้บรโิ ภคด้านสาธารณสขุ ทมี่ ีคุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ ตามท่ีคณะอนุกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามการตรวจราชการฯ ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ประเด็นโครงการเกี่ยวกับพระราชวงศ์ มีแนวทางการพัฒนาระบบบริการเพ่ือให้ผู้ต้องขังสามารถเข้าถึงการ รกั ษาพยาบาลอย่างรวดเร็วและเท่าเทียมตามหลักมนุษยธรรม และสอดคล้องกับนโยบายสำคัญของกระทรวง สาธารณสุข ที่มีการบูรณาการงานสาธารณสุขมูลฐาน และระบบสขุ ภาพปฐมภูมิตามระบบสุขภาพชีวิตวถิ ีใหม่ (New Normal) ใหส้ อดคล้องกับ พ.ร.บ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ จึงมีการบูรณาการทำงานร่วมกันของหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้อง ในการดำเนินการตามแนวทางการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ รวมท้ังจัดทำแผนปฏิบัติการ ตลอดจนแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ปัญหา อุปสรรค เพ่ือนำมาสู่การ ปฏิบัติ เพ่ือแก้ไขปัญหาในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ให้ผู้ต้องขังสามารถ เขา้ ถึงระบบบรกิ ารสาธารณสุข มีสขุ ภาพร่างกายท่แี ขง็ แรงตอ่ ไป นั้น คำนยิ าม ๑. การพัฒนาระบบบรกิ ารสาธารณสุขสำหรบั ผู้ต้องขังในเรือนจำ หมายถงึ การให้บรกิ ารสาธารณสุขแก่ ผู้ต้องขังในเรือนจำ ท้ังด้านการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟ้ืนฟูสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการให้บริการ ตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติจากแพทย์ รพ.แม่ข่าย ผู้รับผิดชอบงานบริการสุขภาพผู้ตอ้ งขงั ในเรอื นจำ ทณั ฑสถาน ในพ้ืนที่เป้าหมาย โดยมีหนังสือสั่งการของกระทรวงสาธารณสุข ด่วนที่สุด ที่ สธ ๐๒๐๗.๐๖/ว.๒๙๔๑๖ ลงวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ แจ้งไปยัง สสจ./รพ./สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑ - ๑๒ หน่วยบริการในสังกัด สธ. และ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ให้สถานพยาบาลในเรือนจำและหน่วยบรกิ ารในสังกัด สธ. อยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีเรือนจำ ควรมี การจัดให้บรกิ ารทีจ่ ำเปน็ พ้นื ฐานให้สำหรบั ผตู้ ้องขัง ตามเกณฑ์และเล่มแนวทางการพัฒนาระบบบริการสำหรับ ผูต้ ้องขังในเรอื นจำของกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ๑.๑ อาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) หมายถึง นักโทษเด็ดขาดช้ันดี เวน้ แต่เป็นผู้ต้องขังท่ีมี ความ ป ระพ ฤติ ดี อาจคัด เลือกจากนั กโท ษ ชั้น กลางข้ึน ไป ตาม ลำดั บ และกำห น ดเห ลือโท ษ ๑ ปีข้ึนไป สามารถอ่านออกเขียนได้ หรือจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ขึ้นไป มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ และมีพฤติกรรมทางดา้ นสุขภาพที่เป็นแบบอย่างท่ีดี ท่ีผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมอาสาสมัคร สาธารณสขุ เรือนจำ การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณ สุขเรือนจำ หมายถึง หมายถึง การฝึกอบรม และ/หรือ การอบรมฟื้นฟู อสรจ. ของเรือนจำเป้าหมาย ตามหลักสูตรการฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) โดยครูฝกึ อสรจ. ทีค่ ณะกรรมการโครงการราชทณั ฑ์ปนั สุข ทำความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ระดับจังหวัด กำหนด หลักสูตรการฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) หมายถึง คู่มือครูฝึก อสรจ.,หลักสูตร อสรจ. และชุดสอ่ื การสอน อสรจ. ตามโครงการราชทัณฑป์ นั สุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ หลกั สูตรการฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรอื นจำ (อสรจ.) หมายถึง คู่มือครฝู กึ อสรจ., หลักสูตร อสรจ. และชุดส่อื การสอน อสรจ. ตามโครงการราชทัณฑ์ปนั สุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ การสนับสนุนให้ อสรจ. ร่วมจัดบริการสุขภาพตามบริบท หมายถึง เรือนจำเป้าหมายมีการจัด กิจกรรมให้ อสรจ. มีส่วนร่วมจัดบริการสุขภาพ ตามหลักสูตรการฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขเรือนจำ (อสรจ.) และ/หรือ ตามที่คณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ระดับ จังหวดั กำหนด ครูฝึก อสรจ. หมายถึง ผู้แทนหน่วยงาน ที่ไดร้ ับมอบหมายให้มาร่วมฝกึ อบรม อสรจ. ทีค่ ณะกรรมการ โครงการราชทณั ฑป์ นั สขุ ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ระดับจังหวดั กำหนด หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานในสังกัดกรมราชทัณฑ์, สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, กรมการแพทย์, กรมควบคุมโรค, กรมอนามัย, กรมสุขภาพจิต, สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ/หรือ หน่วยงานที่คณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ระดับ จังหวัดกำหนด ๑.๒ การให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติ (แพทย์) หมายถึง บุคลากรแพทย์ท่ีมีองค์ความรู้หรือ จบด้านเวชศาสตร์ครอบครัว หรือ แพทย์สาขาอ่ืนๆ จากโรงพยาบาลแม่ข่ายในพื้นที่ท่ีรับผิดชอบ รวมท้ังทีม แพทย์จิตอาสาจากสังกัดอ่ืนๆ อาทิเช่น สังกัด ๓ เหล่าทัพ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย หรือเอกชน ฯลฯ ที่เข้า มาร่วมให้บริการตรวจรักษาพยาบาลปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ในสถานพยาบาลเรือนจำ หรือให้บริการ สาธารณสุขอื่นๆเป็นครั้งคราว เพื่อส่งเสริม ฟื้นฟู รักษาพยาบาลเบื้องต้น ป้องกันโรค ให้กับผู้ต้องขัง ในสถานพยาบาลในเรือนจำ ทัณฑสถาน หรือให้บริการผ่านทาง Telemedicine ตามแนวทางและเกณฑ์ ท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำหนด แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๓ ระบบรายงานข้อมูลการบริการสุขภาพในเรอื นจำ (สธรจ.๑๐๑) หมายถงึ โรงพยาบาลแม่ข่ายดำเนินการ บันทึกข้อมูลบริการด้านสุขภาพของผู้ต้องขังในเรือนจำ (สธรจ.๑๐๑) ตามแบบฟอร์มที่กองบริหารการสาธารณสุข กำหนดทกุ เดือน (แยกรายเดอื น/โรงพยาบาล/เรอื นจำ) ๒. คำนยิ าม ของกรมอนามยั ๒.๑ ระบบบริการสุขภาพช่องปากสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน หมายถึง การดำเนินงาน พัฒนารูปแบบการใหบ้ ริการสุขภาพช่องปากสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน ประกอบด้วยกิจกรรม การคดั กรองโรค การส่งเสริมสุขภาพและปอ้ งกันโรค การรกั ษา และฟนื้ ฟู สขุ ภาพชอ่ งปากแก่ผูต้ ้องขงั การตรวจคัดกรองโรค หมายถึง ผู้ต้องขังได้รับการตรวจคัดกรองโรคในช่องปากเบื้องต้น เช่น โรคฟันผุ โรคเหงือก รอยโรคเน้ือเยื่ออ่อนในช่องปาก เป็นต้น การตรวจคัดกรองน้ันดำเนินการโดยทันตบุคลากร พยาบาลในเรือนจำ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ หรอื อาสาสมคั รสาธารณสุขในเรือนจำ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค หมายถึง กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้ต้องขังมีความรอบรู้ ฝึกทักษะ ในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและเพื่อนผู้ต้องขัง รวมถึงการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากพื้นฐาน เชน่ กจิ กรรมแปรงฟนั การได้รับประทานอาหารท่ีมปี ระโยชน์ตอ่ สุขภาพรา่ งกายและฟัน เป็นตน้ การรักษา หมายถึง การจัดบริการทางทันตกรรมพื้นฐานตามชุดสิทธิประโยชน์ท่ีผู้ต้องขังไทยทุกคน ทีพ่ ึงได้รับ เชน่ ตรวจฟนั อดุ ฟัน ถอนฟัน ขดู หินปูน ผา่ ฟันคุด เคลอื บฟลูออไรด์ เป็นต้น โดยรปู แบบบริการน้ัน อาจเป็นรูปแบบบริการ ณ คลินิกทันตกรรมในสถานพยาบาลเรือนจำ หรือ รูปแบบหน่วยบริการทันตกรรม เคลอ่ื นที่ การฟ้ืนฟู หมายถึง การจัดบริการฟื้นฟูให้ผู้ต้องขังท่ีมีการสูญเสียฟัน แก้ไขความพิการ หรือให้ได้รับ การใสฟ่ นั เทยี มทดแทน ๒.๒ หลักสูตรพัฒนาทักษะผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Caregiver) ในเรือนจำ หมายถึง หลักสูตรท่ีใช้ในการ อบรมผสู้ งู อายใุ นเรอื นจำใหม้ ีความรู้ในการดูแลตัวเองและผู้สงู อายใุ นเรือนจำ ผู้สงู อายุ หมายถึง ประชาชนทีม่ ีอายตุ ั้งแต่ ๖๐ ปีข้ึนไป ท่มี ี ADL ≥ ๑๒ คะแนนทงั้ เพศชายและเพศหญิง ผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง หมายถึง ประชาชนที่มีอายุต้ังแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป ท่ีมี ADL ≥ ๑๒ คะแนนท้ัง เพศชายและเพศหญิง ผู้สูงอายุในเรือนจำ หมายถึง ประชาชนที่มีอายุต้ังแต่ ๖๐ ปีข้ึนไป ท่ีทำผิดกฎหมายและต้องโทษอยู่ ในเรอื นจำทั้งเพศชายและเพศหญิง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(Caregiver) หมายถึง ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุในเรือนจำให้มี ความรู้ในการดแู ลตัวเองและผู้สูงอายใุ นเรือนจำ พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ หมายถึง การกระทำหรือพฤติกรรมของบุคคลที่ปฏิบัติแล้วส่งผลดี ต่อสุขภาพของบุคคลนั้นๆเอง (ร่างกาย จิตใจ และสังคม) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ด้านการบริโภคอาหาร ด้านการออกกำลังกาย ด้านการจัดการความเครียด ด้านการจัดการ อนามัยส่ิงแวดล้อม และด้านการดูแลตนเองในภาวะเจบ็ ป่วย ๓. คำนิยาม ของกรมสขุ ภาพจติ ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ หมายถึง การดำเนินการพัฒนารูปแบบ การให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ ประกอบด้วย การให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวช แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๔ สำหรับผ้ตู ้องขังในเรือนจำ การจัดระบบบริการสุขภาพจติ และจติ เวชสำหรับผตู้ ้องขังในเรอื นจำตามบริบทของ พ้ืนท่ี การให้บริการตรวจรักษาผู้ต้องขังป่วยจิตเวชผ่านระบบ Telepsychiatry การส่งต่อผู้ต้องขังป่วยจิตเวช การเตรียมความพร้อมผู้ต้องขังป่วยจิตเวชก่อนปล่อย การติดตามผู้ต้องขังป่วยจิตเวชภายหลังปล่อยตัว การบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลผปู้ ่วยนิติจิตเวช การจัดเก็บและรายงานขอ้ มูลการให้บริการสุขภาพจิตและจิต เวชสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ และการติดตามผู้ต้องขังป่วยจิตเวชภายหลังพ้นโทษต่อเน่ืองครบ ๑ ปี เพ่ือให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในเรือนจำให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ท้ังประเทศ เรือนจำนำร่อง หมายถึง เรือนจำทีไ่ ด้รับเลอื กใหเ้ ข้าร่วมโครงการราชทัณฑป์ ันสุข ทำความ ดี เพ่ือชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ดงั น้ี ระยะที่ ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ จำนวน ๒๔ เรือนจำ ได้แก่ ทัณฑสถานบำบัดพิเศษหญิง ทัณฑสถานหญิงธนบุรี เรือนจำกลางนครปฐม เรือนจำกลางเขาบิน เรือนจำกลางระยอง เรือนจำกลางชลบุรี ทณั ฑสถานหญิงชลบุรี เรือนจำกลางสมุทรปราการ เรือนจำกลางพษิ ณโุ ลก ทัณฑสถานหญงิ พิษณุโลก เรอื นจำ จังหวัดพิษณุโลก เรอื นจำกลางบางขวาง เรือนจำกลางเชียงใหม่ ทัณฑสถานหญิงเชยี งใหม่ เรือนจำกลางคลอง ไผ่ เรือนจำกลางนครราชสีมา ทัณฑสถานหญิงนครราชสีมา เรือนจำกลางสุราษฎร์ธานี เรือนจำกลาง นครศรีธรรมราช เรือนจำกลางสงขลา ทัณฑสถานหญิงสงขลา เรือนจำกลางคลองเปรม ทัณฑสถานหญิงกลาง เรือนจำกลางนครพนม ระยะท่ี ๒ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จำนวน ๑๙ เรือนจำ ได้แก่ เรอื นจำอำเภอแมส่ อด เรือนจำ อำเภอนางรอง เรอื นจำอำเภอกบินทร์บุรี เรือนจำอำเภอฝาง เรอื นจำอำเภอกนั ทรลักษณ์ เรือนจำอำเภอเบตง เรือนจำอำเภอทุ่งสง เรือนจำอำเภอหลังสวน เรือนจำอำเภอพล เรือนจำอำเภอแม่สะเรียง เรือนจำอำเภอ สวรรคโลก เรือนจำอำเภอธัญบรุ ี เรอื นจำอำเภอนาทวี เรอื นจำอำเภอหล่มสัก เรือนจำอำเภอปากพนัง เรอื นจำ อำเภอรตั นบุรี เรือนจำอำเภอทองผาภูมิ เรอื นจำอำเภอเทิง เรือนจำอำเภอสีคิว้ ผู้ต้องขัง หมายถึง บุคคลที่กระทำผิดกฎหมายแล้วถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำทั้ง ๑๔๓ แห่งท่ัวประเทศ โดยการคมุ ตัว กกั กักกัน ขัง กักขัง จำขงั หรือจำคกุ การคัดกรอง หมายถงึ การใช้ชุดเครื่องมือหรือการทดสอบแบบย่อและเฉพาะเจาะจงประเมิน ภาวะสุขภาพจิตในผู้ต้องขัง จำนวน ๖ ภาวะ ได้แก่ ๑) อาการทางจิต ๒) ภาวะซึมเศร้า ๓) การฆ่าตัวตาย ๔) ภาวะถอนสุรา ๕) ภาวะติดสุรา และ ๖) ภาวะติดฝิ่น เพื่อระบุความเส่ียง หรือ โอกาสที่จะพบปัญหา สุขภาพจิตหรือโรคทางจิตเวช โดยทีมบุคลากรทางการแพทย์ของเรือนจำ โรงพยาบาลแม่ข่าย โรงพยาบาล ในสังกัดกรมสุขภาพจิต หรือหน่วยงานอ่ืนๆ ทั้งในรูปแบบการเข้าไปตรวจในเรือนจำหรือตรวจผ่านระบบ Telepsychiatry ตามแนวทางการให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ โดยทำการคัดกรอง ผู้ตอ้ งขัง ๒ กลุม่ ดังน้ี ๑. ผู้ต้องขังรายใหม่ทุกราย ต้องได้รับการคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพจิต จำนวน ๖ ภาวะ ได้แก่ ๑) อาการทางจิต ๒) ภาวะซึมเศรา้ ๓) การฆา่ ตวั ตาย ๔) ภาวะถอนสรุ า ๕) ภาวะตดิ สรุ า และ ๖) ภาวะติดฝน่ิ ๒. ผู้ต้องขังรายเก่าทุกราย ภายหลังหลังถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำตั้งแต่ ๓ เดือน ขึ้นไป ต้องได้รับ การคดั กรองประเมินภาวะสุขภาพจติ จำนวน ๓ ภาวะ ได้แก่ ๑) อาการทางจิต ๒) ภาวะซมึ เศร้า และ ๓) การฆ่าตัวตาย อย่างน้อยปีละ ๑ คร้ัง แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๕ ปญั หาสขุ ภาพจิต หมายถึง ผู้ต้องขังมภี าวะสุขภาพจติ จำนวน ๖ ภาวะ ได้แก่ ๑) อาการทาง จิต ๒) ภาวะซึมเศร้า ๓) การฆ่าตัวตาย ๔) ภาวะถอนสุรา ๕) ภาวะติดสุรา และ ๖) ภาวะติดฝ่ิน หรือได้รับการ วินิจฉัยจากแพทย์ว่าป่วยเป็นโรคจิตเวชตามเกณฑ์ ICD-10 หรือ DSM-5 การดูแลรักษา หมายถึง การตรวจและให้การบำบัดรักษาผู้ต้องขังท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตและ จิตเวชโดยตรงจากจิตแพทย์หรือแพทย์ทั่วไปทั้งในและนอกเรือนจำ หรือตรวจผ่านระบบ Telepsychiatry (ไม่รวมกรณีเจ้าหนา้ ท่ีในเรอื นจำขอรบั ยาแทนผู้ต้องขงั ปว่ ยจิตเวช หรอื การขอรับยาเดมิ โดยผตู้ อ้ งขงั ป่วยจติ เวช ไม่ได้พบจติ แพทยห์ รอื แพทย์) ผู้ต้องขังทคี่ ัดกรองแลว้ พบปัญหาสุขภาพจิตไดร้ ับการดแู ลรักษา หมายถึง ผู้ต้องขังในเรือนจำ ที่ได้รับการคัดกรองและให้การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิตและจิตเวช จำนวน ๖ ภาวะ ได้แก่ ๑) อาการทางจิต ๒) ภาวะซึมเศร้า ๓) การฆ่าตัวตาย ๔) ภาวะถอนสุรา ๕) ภาวะติดสุรา และ ๖) ภาวะติดฝิ่น โดยทีมบุคลากร ทางการแพทย์ของเรือนจำและทัณฑสถาน โรงพยาบาลแม่ข่าย โรงพยาบาลในสังกัดกรมสุขภาพจิต หรื อ หน่วยงานอื่นๆ ท้ังในรูปแบบการเข้าไปตรวจในเรือนจำหรือตรวจผ่านระบบ Telepsychiatry ตามแนวทาง การให้บรกิ ารสุขภาพจิตและจติ เวชสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน รายงานสถติ ิเป็นยอดรวมสะสม ผู้ต้องขังท่ีคัดกรองแลว้ พบปัญหาสุขภาพจิตได้รบั การดูแลรกั ษาของทุกเรอื นจำที่อยู่ในแต่ละเขตบริการสขุ ภาพ ในแต่ละปี (ไมร่ วมจำนวนผ้ตู อ้ งขงั ที่มีปัญหาสขุ ภาพจติ หรือโรคทางจิตเวชและไดร้ บั การรักษาเรียบร้อยแล้ว) ผู้ต้องขังที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชได้รับการบันทึกข้อมูลลงบนฐานข้อมูลนิติจิตเวช หมายถึง ผู้ต้องขังที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชแล้วได้รับการรักษาจากจิตแพทย์หรือแพทย์ท่ัวไปทั้งในและ นอกเรือนจำ หรือตรวจผ่านระบบ Telepsychiatry รวมทั้งกรณีเจ้าหน้าที่ในเรือนจำขอรับยาแทนผู้ต้องขัง ป่วย จิตเวช หรือการขอรับยาเดิมโดยผู้ต้องขังป่วยจิตเวชไม่ได้พบจิตแพทย์หรือแพทย์ และบันทึกข้อมูล ผตู้ อ้ งขังดงั กล่าวลงบนฐานข้อมลู นิตจิ ิตเวชตามลง้ิ ค์ http://61.19.42.40:10001 การติดตามต่อเนื่องครบ ๑ ปี หมายถึง การติดตามดูแลช่วยเหลือและประสานการฟ้ืนฟู สมรรถภาพผู้ต้องขังป่วยจิตเวชภายหลังปล่อยตัวออกจากเรือนจำ หรือจำหน่ายออกจากสถานพยาบาล ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕ โดยสามเดือนแรกติดตามเดือนละ ๑ คร้ัง และติดตามทุกๆ ๓ เดือน จนครบระยะเวลา ๑ ปี โดยติดตามดูแลใน ๑๐ ประเด็น ตามแบบฟอร์มแบบรายงานผลการติดตามการดูแล ผู้ต้องขังป่วยจิตเวชหลังปล่อยตัว ของกรมสุขภาพจิต ดังต่อไปน้ี ๑) ด้านอาการทางจิต ๒) ด้านการกินยา ๓) ด้านผู้ดูแล/ญาติ ๔) ด้านการทำกิจวัตรประจำวัน ๕) ด้านการประกอบอาชีพ ๖) ด้านสัมพันธภาพใน ครอบครัว ๗) ด้านส่ิงแวดล้อม ๘) ด้านการส่ือสาร ๙) ด้านความสามารถในการเรียนรู้เบ้ืองต้น และ ๑๐) ดา้ นการใชส้ ารเสพติด (บุหรี่/สรุ า /ยาเสพตดิ ) ๔.๑ ความสำเร็จในการดำเนนิ การปอ้ งกัน ควบคุมวณั โรคในเรือนจำ หมายถงึ การดำเนินกิจกรรม ป้องกัน ควบคุมวัณโรคสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ เพื่อให้ผู้ต้องขังในเรือนจำสามารถเข้าถึงการบริการป้องกัน ควบคมุ วัณโรคท่สี ำคญั ได้ตามมาตรฐานและบรรลุตามเปา้ หมาย เพือ่ ลดการแพรก่ ระจายของวณั โรคในเรือนจำ เรอื นจำเป้าหมาย หมายถงึ เรอื นจำ / ทัณฑสถาน จำนวน ๑๔๓ แห่ง เปน็ พน้ื ทีเ่ ป้าหมายหลกั ในการดำเนินงาน ผู้ต้องขังแรกรับ หมายถึง ผู้ต้องขังท่ีอยู่ในเรือนจำหรือทัณฑสถาน ในระยะเวลา ๑ เดือนก่อน จำหน่ายไปยงั แดนต่างๆ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๖ ระยะเวลา ๑ เดือน หมายถึง ผู้ต้องขังที่อยู่ในแดนแรกรบั ในระยะเวลา ๑ เดอื น นบั จากวันทีผ่ ตู้ ้องขงั เขา้ เรอื นจำ ผ้ตู ้องขังรายเก่า หมายถึง ผู้ตอ้ งขงั ท่อี ยู่ในเรือนจำต้ังแต่ ๓ (๑) เดอื นขนึ้ ไป ไดร้ ับการคัดกรองวัณโรค หมายถึง ผู้ตอ้ งขงั แรกรับไดร้ ับการคดั กรองค้นหาวัณโรค เชน่ การคดั กรอง โดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก และ / หรือการคัดกรองด้วยการตรวจแบบคัดกรอง ด้วยการตรวจแบบเสมหะ โดยวิธี Gene X-pert ๔.๒ ความสำเร็จในการดำเนินการป้องกัน ควบคุมโรคในเรือนจำ หมายถึง การดำเนินกิจกรรม ป้องกัน ควบคุมโรคสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ เพื่อให้ผู้ต้องขังในเรือนจำสามารถเข้าถึงการบริการป้องกัน ควบคุมโรคท่ีสำคัญได้ตามมาตรฐานและบรรลุตามเปา้ หมาย เพื่อลดการแพร่กระจายของโรคติดต่อในเรอื นจำ โดยมีกิจกรรมสำคัญ ได้แก่ การตรวจคดั กรองโรคตดิ ต่อสำคัญในเรอื นจำ ๑) คัดกรองเอชไอวี ตับอักเสบซี และ ซิฟลิ สิ ในกลุม่ ผตู้ ้องขังแรกรับ เรอื นจำเปา้ หมาย หมายถงึ เรอื นจำท่ีได้รบั การคัดเลือก ภายใต้โครงการราชทณั ฑ์ปันสขุ ฯ จำนวน ๔๔ แหง่ เป็นพ้นื ทเี่ ปา้ หมายหลกั ในการดำเนนิ งาน และวัดผลการดำเนนิ งานตามเกณฑ์ ผู้ต้องขังแรกรับ หมายถึง ผู้ต้องขังที่เข้าสู่เรือนจำหรือทัณฑสถานในแดนแรกรับ ภายใน ๑ เดือน ก่อนจำหน่ายไปยังแดนต่างๆ ในปีงบประมาณที่รายงาน โดยนับผู้ต้องขังแรกรับ ต้ังแต่วันท่ีเข้าสู่เรือนจำหรือ ทณั ฑสถาน โดย (ระยะเวลา ๑ เดือน หมายถึง ผู้ต้องขังทอี่ ยูใ่ นแดนแรกรับ ในระยะเวลา ๑ เดอื น นับจากวันท่ี ผูต้ ้องขงั เข้าเรือนจำ) ได้รับการคัดกรองเอชไอวี หมายถึง ผู้ต้องขังแรกรับได้รับการตรวจคัดกรองหาร่องรอยการติดเช้ือ เอชไอวี ด้วยวิธีการตรวจ ทั้งจากทางหลอดเลือดดำ (vein) หรือการเจาะเลือดจากปลายน้ิว หรือการตรวจจากสาร น้ำในช่องปาก (Oral fluid screening test) แต่หากมีผลบวกในการคัดกรอง กลุ่มเป้าหมาย ต้องได้รับการ ตรวจยืนยันผลตามแนวทางมาตรฐานการตรวจเลอื ดเอชไอวขี องประเทศ ทกุ ราย ได้รับการคัดกรองตับอักเสบซี หมายถึง ผู้ต้องขังแรกรับได้รับการตรวจคัดกรองหาร่องรอยการติด เชื้อไวรัสตับอักเสบซี ด้วยวิธีการตรวจ ทั้งจากทางหลอดเลือดดำ(vein) หรือการเจาะเลือดจากปลายนิ้ว แต่หากมีผลบวกในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ต้องได้รับการตรวจยืนยันผลตามแนวทางมาตรฐานการตรวจ เลอื ดเพื่อหาเช้อื ไวรัสตบั อกั เสบซี ทกุ ราย ได้รับการคัดกรองซิฟิลิส หมายถึง ผู้ต้องขังแรกรับได้รับการตรวจคัดกรองหาร่องรอยการติดเชื้อ ซิฟิลิส ด้วยวิธีการตรวจ ท้ังจากทางหลอดเลือดดำ(vein) หรือการเจาะเลือดจากปลายนิ้ว แต่หากมีผลบวก ในการคัดกรอง กลุ่มเป้าหมาย ต้องได้รับการตรวจยืนยันผลตามแนวทางมาตรฐานการตรวจเลือดเพื่อหาเช้ือ ซิฟิลสิ ทุกราย ประเดน็ การตรวจราชการท่มี ุ่งเน้น เปา้ หมาย มาตรการทดี่ ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ทตี่ ้องการ ในพน้ื ท่ี ประเดน็ การตรวจราชการท่มี ุง่ เน้น รอบ ๑ ๑. การพฒั นาระบบบรกิ ารสาธารณสุขสำหรบั ผตู้ ้องขังในเรือนจำ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ และ กองบรหิ ารการสาธารณสุข (รอบ ๑) แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๗ เปา้ หมาย มาตรการทด่ี ำเนินงาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธท์ ตี่ ้องการ ๑.๑ การเตรยี มการ ในพน้ื ท่ี - หลกั สูตรฝึกอบรม อสรจ. - สัดส่วน อสรจ. ต่อ พฒั นา อสรจ. ในเรอื นจำ - ขอ้ มลู ครูฝึก อสรจ. ผตู้ ้องขงั ไมน่ อ้ ยกวา่ - มีข้อมูลสดั ส่วน อสรจ. - ขอ้ มลู ผูต้ ้องขงั ๑ ตอ่ ๕๐ - มแี ผนการฝกึ อบรม และ/ - ข้อมูล อสรจ. -ความพรอ้ มในการ หรือ แผนการอบรมฟ้นื ฟู พัฒนา อสรจ. อสรจ. ปลี ะ ๒ ครั้ง ในเรือนจำ - มีแผนการสนับสนนุ อสรจ. รว่ มจดั บริการสขุ ภาพ ตามบรบิ ท ๑.๒ โรงพยาบาลแม่ขา่ ย - มีคำสั่งหรือหนังสือ - สสจ./รพ.แม่ขา่ ย - ผู้ต้องขังได้รบั การ จัดบริการตรวจรักษา มอบหมายให้แพทย์เวชปฏบิ ัติ มีหนังสือ/บันทึกมอบหมาย ให้บริการตรวจรักษา ตามเวชปฏิบตั ิ (แพทย์) หรอื อายุรแพทย์โรงพยาบาล งาน/หรือตารางเวร การ ตามเวชปฏิบัติ (แพทย์ ในสถานพยาบาลเรือนจำ แม่ขา่ ยเป็นผรู้ บั ผิดชอบงาน ออกใหบ้ ริการ /รายชื่อ ครบตามเกณฑค์ ู่มือ บรกิ ารสขุ ภาพผตู้ ้องขัง ผู้รับผดิ ชอบงานบริการ แนวทางการพัฒนาระบบ ในเรือนจำ ทัณฑสถาน สุขภาพผตู้ ้องขงั บริการสาธารณสขุ สำหรับ ในพืน้ ท่เี ป้าหมาย ในเรือนจำ ทัณฑสถาน ผู้ต้องขังในเรือนจำ - โรงพยาบาลแม่ข่ายจัดทำ ในพ้นื ทเี่ ป้าหมาย อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ แผนปฏบิ ัติงานการให้บริการ - มสี รุปรายงาน สธรจ.๑๐๑ ตรวจรักษาของแพทย์ ตามแบบฟอรม์ ท่ีกำหนด ตามเกณฑค์ ู่มือฯ - มีการรายงาน สธรจ. ๑๐๑ ทกุ เดือน *หมายเหตุ นับรวม การ ใหบ้ ริการจากแพทย์ทุกสังกัด รวมถึงการบริการ ผา่ นทาง Telemedicine ๒. ด้านบริการสุขภาพช่องปากและการอบรมหลักสตู รการดูแลผสู้ ูงอายุในเรือนจำ (กรมอนามัย) รอบ ๑ ๒.๑ การบริการสุขภาพ ช่องปาก - จำนวนผตู้ ้องขังไดร้ บั การ - มีการให้บรกิ าร ดูแล - มแี ผนการจัดบริการ - ผ้ตู ้องขังไดร้ ับการ ตรวจคัดกรองสุขภาพ บำบดั รกั ษาผ้ตู ้องขังที่มี สุขภาพชอ่ งปากในเรือนจำ บริการสขุ ภาพช่องปาก ช่องปาก อย่างน้อย ปัญหาสขุ ภาพชอ่ งปาก ทรี่ บั ผิดชอบ ตามความเหมาะสม ร้อยละ ๖๐ และบรบิ ทของพ้นื ท่ี - จำนวนผ้ตู ้องขังไดร้ บั - มกี จิ กรรมสง่ เสริมสุขภาพ - มรี ายงานสรุปจำนวน บรกิ ารรักษาทางทันตกรรม ชอ่ งปากในเรือนจำ เช่น ผตู้ ้องขงั ที่ไดร้ ับบริการ อย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี ผ้ตู อ้ งขังไดร้ บั การฝึกทักษะ สขุ ภาพช่องปาก แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๘ เปา้ หมาย มาตรการทด่ี ำเนินงาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธ์ทต่ี ้องการ ในพนื้ ท่ี คดิ เป็นร้อยละ ๓๐ การตรวจฟัน การแปรงฟัน, อสรจ. ไดร้ ับการอบรม เรอื่ งสุขภาพช่องปาก หรือ การจดั การอาหารว่างและ เครอื่ งด่ืมทีม่ โี ทษต่อสุขภาพ ชอ่ งปาก เปน็ ต้น ๒.๒ การอบรมหลกั สูตร การดแู ลผู้สูงอายุ ในเรอื นจำ - จังหวัดและเรอื นจำ มีแผนงาน/โครงการ - ผูต้ อ้ งขังได้รับการอบรม - จงั หวดั และเรือนจำมีการ - ประสานจังหวดั ในการ เพือ่ แก้ไขปัญหาการ ตรวจติดตาม แผนงาน/ ส่งเสริมสขุ ภาพ หลกั สตู รการดูแล ทบทวนมาตรการแนวทาง โครงการ เพ่ือแก้ไขปัญหา ผูส้ ูงอายใุ นเรอื นจำ การส่งเสรมิ สุขภาพผ้สู ูงอายุ ในปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ผู้สงู อายใุ นเรือนจำ ในการดำเนนิ งานท่ีเกย่ี วกบั ในเรือนจำ ในปี ๒๕๖๕ สอดคล้องกับการวิเคราะห์ การดแู ลสง่ เสริมสขุ ภาพ ปัญหาอุปสรรคของการ ดำเนินงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ผู้สูงอายุในเรือนจำเพ่ือนำไป ในเรือนจำทผ่ี ่านมา สู่การแก้ไขปญั หาการดแู ล สุขภาพผสู้ ูงอายุในเรอื นจำ ๓. ด้านบรกิ ารสุขภาพจิต (กรมสุขภาพจิต) รอบ ๑ - มีการให้บรกิ ารตรวจรักษา - เรือนจำนำรอ่ งมี - โรงพยาบาลแม่ขา่ ย และ และใหค้ ำปรึกษาดา้ น ระบบการใหบ้ ริการ หนว่ ยงานในสงั กัดกรม สขุ ภาพจิต รว่ มกับเรือนจำ สุขภาพจิตและจิตเวชผา่ น ตรวจรกั ษาและให้ นำรอ่ ง ใหบ้ รกิ ารตรวจรักษา และใหค้ ำปรึกษาดา้ น Telepsychiatry เพือ่ ลด คำปรกึ ษาดา้ น สขุ ภาพจิตและจิตเวชผา่ น Telepsychiatry การส่งต่อผปู้ ว่ ยออกนอก สุขภาพจิตและจิตเวช เรือนจำ ผา่ น Telepsychiatry ครบทกุ แห่ง - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของ - โรงพยาบาลแม่ข่าย และ - โรงพยาบาลแมข่ า่ ย และ - ผ้ตู ้องขังในเรือนจำ ผู้ตอ้ งขงั ได้รับการคัด หนว่ ยงานในสงั กัดกรม กรองสขุ ภาพจิต สขุ ภาพจติ ประเมินคัดกรอง หน่วยงานในสงั กัดกรม ได้รบั การบริการ - ร้อยละ ๑๐๐ ของ สขุ ภาพจติ และให้บรกิ าร ผู้ตอ้ งขังท่ีคัดกรองแล้ว สุขภาพจติ และจิตเวช สขุ ภาพจติ ประเมินคัดกรอง สุขภาพดา้ น พบปญั หาสุขภาพจิต สำหรบั ผู้ต้องขังในเรือนจำ สขุ ภาพจติ และให้ สขุ ภาพจิตและจิตเวช บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ตามความเหมาะสม สำหรับผู้ต้องขงั ในเรือนจำ ภายใต้แนวทางการ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๙ เป้าหมาย มาตรการทดี่ ำเนินงาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธท์ ี่ต้องการ ในพนื้ ที่ ได้รับการดูแลรกั ษา - สสจ. รบั แจ้งจากเรือนจำวา่ ตามค่มู ือแนวทางการ ให้บริการสขุ ภาพจิต - ร้อยละ ๕๐ ของผตู้ ้องขงั มผี ้ตู อ้ งขังปว่ ยจิตเวชหลงั พน้ ให้บริการสขุ ภาพจิตและจิต และจติ เวช สำหรับ ป่วยจติ เวชหลงั ปล่อยตัว โทษออกมาอยูใ่ นจังหวัด เวชสำหรับผู้ตอ้ งขังใน ผตู้ ้องขงั ในเรอื นจำ ได้รับการติดตามต่อเนื่อง และสง่ ต่อข้อมูลใหห้ น่วยงาน เรือนจำ - มีระบบตดิ ตามดแู ล ครบ ๑ ปี (๑ ตลุ าคม ในสังกัดกรมสขุ ภาพจิต ตาม - การใหบ้ ริการคัดกรอง ผตู้ ้องขังป่วยจติ เวช ๒๕๖๔ – ๓๐ กนั ยายน เขตบรกิ ารสุขภาพ หลังจาก ปญั หาสุขภาพจิตผู้ต้องขงั หลังปล่อยตวั อย่าง ๒๕๖๕) นั้นหนว่ ยงานในสังกัดกรม แรกรับรายใหม่และ รายเก่า ตอ่ เน่ืองครบ ๑ ปี (๑ สุขภาพจิต และหนว่ ยบรกิ าร - การดูแลบำบัดรักษา ตุลาคม ๒๕๖๔ – สาธารณสุขในพ้นื ติดตาม ผตู้ ้องขงั ทีม่ ปี ญั หา ๓๐ กันยายน ดูแลผู้ตอ้ งขังปว่ ยจิตเวชใน สุขภาพจิต ๒๕๖๕) เพอ่ื ให้ พ้ืนที่อย่างต่อเนื่อง - ระบบตดิ ตามดูแลผู้ต้องขัง เขา้ ถงึ บริการอย่าง - โรงพยาบาลแมข่ ่าย และ ปว่ ยจติ เวชในพน้ื ทีอ่ ยา่ ง ต่อเนอื่ ง และป้องกนั การก่อคดีซ้ำ หน่วยงานในสังกัดกรม ตอ่ เน่ือง หลังปล่อยตวั สขุ ภาพจติ ตดิ ตามอาการ - หน่วยงานสงั กัดกรม ผตู้ ้องขงั ป่วยจิตชในพ้นื ท่ี สขุ ภาพจติ นำเสนอสถติ แิ ละ อยา่ งต่อเนือ่ งสม่ำเสมอ โดย ขอ้ มลู ผู้ต้องขังปว่ ยจติ เวชที่ สามเดือนแรกตดิ ตามเดือน พ้นโทษออกมาอยู่ในแตล่ ะ ละ ๑ คร้ัง และติดตามทุกๆ จังหวดั ตามเขตบริการ ๓ เดือน จนครบระยะเวลา สขุ ภาพ ๑ ปี โดยติดตามดูแลใน ๑๐ ประเด็น ตามแบบฟอรม์ แบบ รายงานผลการติดตามการ ดแู ลผตู้ อ้ งขังปว่ ยจิตเวชหลัง ปล่อยตวั ของกรมสุขภาพจติ - กรมสขุ ภาพจติ รวบรวม สถิตแิ ละข้อมูลผู้ต้องขังป่วย จติ เวชท่พี ้นโทษออกมาอยู่ใน แตล่ ะจังหวัด ตามเขตบริการ สขุ ภาพ ๔. ด้านควบคุมป้องกันโรค (กรมควบคมุ โรค) รอบ ๑ ๔.๑ คัดกรองวณั โรค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๐ เปา้ หมาย มาตรการทดี่ ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธท์ ีต่ ้องการ ในพืน้ ท่ี - จำนวนเรือนจำ/ - จัดทำแผนการดำเนนิ งาน - มกี ารจดั ทำแผนการ - หน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ทณั ฑสถาน ที่มีการ รว่ มกบั หนว่ ยงานในพนื้ ที่ ดำเนนิ งานระหวา่ ง สคร. ดำเนนิ การตาม คดั กรองวณั โรค ระหว่าง สคร. จังหวดั จังหวัด โรงพยาบาล แผนการดำเนินงาน (๑๔๓ แหง่ ) โรงพยาบาลแม่ข่าย และ แม่ขา่ ย และเรือนจำ/ - เรือนจำ/ทัณฑสถาน เรือนจำ/ ทณั ฑสถาน ในการ ทณั ฑสถาน ในการ จำนวน ๑๔๓ แห่ง คดั กรองเพื่อค้นหาวณั โรค คัดกรองเพ่ือค้นหาวัณโรค มกี ารดำเนนิ การ ในเรอื นจำเป้าหมายทกุ แหง่ คดั กรองวณั โรค ในพน้ื ท่ี ในเรือนจำ - ผู้ต้องขงั แรกรบั ได้รบั - วางแผนการคดั กรอง - มแี ผนการคัดกรอง และ - ผตู้ ้องขงั แรกรับ การคัดกรองวัณโรค วัณโรคในผตู้ อ้ งขังแรกรับ ดำเนินการคดั กรองวัณโรค ไดร้ บั การคัดกรอง รอ้ ยละ ๙๐ และผู้ตอ้ งขงั รายเกา่ ในผตู้ ้องขังแรกรบั และ วณั โรค รอ้ ยละ ๙๐ ผตู้ ้องขังรายเกา่ - ผู้ต้องขังรายเก่าไดร้ ับ - การเก็บรวบรวมและ - มกี ารจัดเก็บรวบรวมและ - ผู้ต้องขังรายเกา่ การคดั กรองวัณโรค ปีละ รายงานข้อมูลผลการ รายงานขอ้ มูลผลการคดั ได้รบั การคัดกรอง ๑ ครัง้ ร้อยละ ๙๐ คัดกรองฯ ตามแบบฟอรม์ กรองฯ ตามแบบฟอร์มท่ี วัณโรคปลี ะ ๑ ครง้ั ทกี่ ำหนด หรือในระบบ NTIP กำหนด หรอื ในระบบ NTIP ร้อยละ ๙๐ - มีการรายงานผล การดำเนินงาน ๔.๒ การคัดกรอง HIV SY HCV - มกี ารดำเนินการ - วางระบบการบรหิ าร - แผนการบรหิ ารจัดการ - หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง คัดกรองเอชไอวีในกลมุ่ จัดการการตรวจคัดกรองเอช การจัดบรกิ ารการตรวจคดั ดำเนินการตาม ผู้ต้องขงั แรกรบั ไอวใี นกล่มุ ผตู้ ้องขงั แรกรับใน กรองเอชไอวใี นกลมุ่ ผตู้ ้องขัง แผนการบรหิ าร ร้อยละ ๕๐ เรือนจำท่ีเหมาะสม แรกรบั ในเรือนจำที่ จัดการ การตรวจ รบั ผิดชอบ คดั กรองเอชไอวี ในกลุ่มผู้ต้องขังแรกรบั ฯ - เตรียมความพร้อมทำความ - รายงานสรปุ จำนวน - การคัดกรองเอชไอวี เข้าใจเป้าหมาย แบ่งบทบาท ผ้ตู อ้ งขงั แรกรับที่ไดร้ ับการ ในกลุ่มผ้ตู อ้ งขงั ความรับผิดชอบ ระหว่าง ตรวจคดั กรอง เอชไอวี แรกรับ รอ้ ยละ ๕๐ หน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องรว่ มกบั ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ทุกไตรมาส (เริ่มเนน้ สสจ. รพแมข่ ่าย เรอื นจำ/ ตง้ั แต่ไตรมาสท่ี ๒) ทัณฑสถาน งานวณั โรค และ สคร. - แผนการบรหิ ารจดั การชดุ ตรวจคัดกรอง จากทุกแหลง่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๑ เปา้ หมาย มาตรการทดี่ ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลพั ธ์ทต่ี ้องการ - มกี ารดำเนนิ การ ในพื้นที่ คดั กรองตับอักเสบซี ในกลุม่ ผูต้ อ้ งขงั แรกรับ ทนุ ได้แก่ สปสช. ในคนไทย รอ้ ยละ ๕๐ กองทนุ โลก (GF) - มีการดำเนินการ คัดกรองซิฟิลิสในกลุ่ม และกรมควบคมุ โรค ผูต้ อ้ งขงั แรกรบั ร้อยละ ๕๐ - วางระบบการบริหาร - แผนการบรหิ ารจดั การ - หนว่ ยงานท่ี จดั การการตรวจคดั กรอง การจัดบรกิ ารการตรวจ เกย่ี วขอ้ งดำเนินการ ตบั อกั เสบซีในกลมุ่ ผตู้ ้องขัง คดั กรองตบั อกั เสบซีในกลุ่ม ตามแผนการบรหิ าร แรกรับในเรือนจำทเ่ี หมาะสม ผตู้ อ้ งขงั แรกรับในเรือนจำ จดั การ การตรวจ ทีร่ บั ผดิ ชอบ คดั กรองตับอักเสบซี ในกล่มุ ผูต้ ้องขงั แรก รับฯ - เตรยี มความพร้อมทำความ - รายงานสรปุ จำนวน - การคดั กรอง เขา้ ใจเป้าหมาย แบง่ บทบาท ผู้ต้องขงั แรกรบั ที่ไดร้ ับการ ตับอกั เสบซี ในกลุม่ ความรบั ผดิ ชอบ ระหว่าง ตรวจคดั กรอง ตับอักเสบซี ผ้ตู ้องขงั แรกรับ หน่วยงาน ท่ีเกี่ยวขอ้ งร่วมกบั ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ร้อยละ ๕๐ ทกุ ไตร สสจ. รพแมข่ ่าย เรือนจำ/ มาส (เริ่มเนน้ ต้งั แต่ ทณั ฑสถานและ สคร. ไตรมาสที่ ๒) - แผนการบริหารจัดการชุด ตรวจคัดกรอง จากทุกแหล่ง ทนุ ไดแ้ ก่ สปสช. ในคนไทย และกรมควบคุมโรค - วางระบบการบริหาร - แผนการบริหารจดั การ - หน่วยงานท่ี จดั การการตรวจคัดกรอง การจดั บรกิ ารการตรวจ เกย่ี วข้องดำเนินการ ซิฟลิ ิสในกลมุ่ ผู้ต้องขังแรกรบั คัดกรองซิฟิลิสในกลุ่ม ตามแผน การบริหาร ในเรอื นจำทเี่ หมาะสม ผู้ตอ้ งขงั แรกรับในเรือนจำ จดั การ การตรวจคัด - เตรียมความพร้อมทำความ ทร่ี ับผดิ ชอบ กรองซิฟลิ ิสในกลุ่ม เข้าใจเปา้ หมาย แบ่งบทบาท - รายงานสรปุ จำนวน ผูต้ ้องขังแรกรับฯ ความรับผิดชอบ ระหวา่ ง ผตู้ ้องขงั แรกรบั ที่ไดร้ ับการ - การคัดกรองซิฟิลสิ หนว่ ยงาน ท่ีเก่ียวข้องรว่ มกับ ตรวจคดั กรองซิฟลิ ิส ในกลุม่ ผูต้ อ้ งขงั แรก สสจ. รพแม่ข่าย เรือนจำ/ ตามเกณฑท์ ่ีกำหนด รบั ร้อยละ ๕๐ ทัณฑสถาน และ สคร. ทกุ ไตรมาส (เร่มิ เนน้ - แผนการบรหิ ารจดั การชุด ตงั้ แต่ไตรมาสท่ี ๒) ตรวจคัดกรอง จากทุกแหลง่ ทนุ ไดแ้ ก่ สปสช. ในคนไทย และกรมควบคุมโรค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๒ เป้าหมาย มาตรการทด่ี ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลพั ธ์ท่ีต้องการ ในพืน้ ท่ี ประเดน็ การตรวจราชการทม่ี งุ่ เน้น รอบ ๒ ๑. การพัฒนาระบบบรกิ ารสาธารณสขุ สำหรับผู้ต้องขงั ในเรอื นจำ กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ และ กองบริหารการสาธารณสขุ (รอบ ๒) ๑.๑ การพฒั นา อสรจ. - มขี อ้ มูลสัดส่วน อสรจ. - รายงานผลการพัฒนา - อสรจ. ได้รบั การ ในเรือนจำ - มีการฝกึ อบรม และ/หรือ อสรจ. ในเรอื นจำ อบรม และ/หรือ อบรมฟ้ืนฟู อบรมฟ้ืนฟู อสรจ. ๒ ครั้ง ตอ่ ปี - อสรจ. ร่วมจดั บริการ - มีการสนบั สนุน อสรจ. รว่ ม สุขภาพตามบริบท จดั บรกิ ารสุขภาพตามบรบิ ท - สัดสว่ น อสรจ. ตอ่ ผตู้ อ้ งขัง ไม่น้อยกว่า ๑.๒ โรงพยาบาลแม่ขา่ ย - เหมือนรอบที่ ๑ - เหมือนรอบท่ี ๑ ๑ ตอ่ ๕๐ จัดบริการตรวจรักษา - เหมือนรอบท่ี ๑ ตามเวชปฏบิ ตั ิ (แพทย์) ในสถานพยาบาลเรือนจำ ตามเกณฑค์ ู่มือแนวทาง การพัฒนาระบบบริการ สาธารณสุขสำหรับ ผ้ตู ้องขังในเรือนจำ อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ ๒. ด้านบรกิ ารสุขภาพช่องปากและการอบรมหลักสูตรการดูแลผสู้ ูงอายใุ นเรือนจำ (กรมอนามัย) รอบ ๒ ๒.๑ การบริการสขุ ภาพ - เหมือนรอบท่ี ๑ - เหมือนรอบท่ี ๑ เหมือนรอบท่ี ๑ ช่องปาก - จำนวนผู้ต้องขังไดร้ บั การ ตรวจคัดกรองสุขภาพ ชอ่ งปาก อย่างน้อย ร้อยละ ๖๐ - จำนวนผู้ต้องขังไดร้ ับ บริการรักษาทางทันตกรรม อย่างน้อย ๑ คร้ัง/ปี ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๓๐ ๒.๒ การอบรมหลักสูตร การดแู ลผสู้ ูงอายุ - จงั หวัดจงั หวัดและเรือนจำ - การรายงานผลการ - จังหวัดและเรอื นจำ ในเรอื นจำ - จงั หวดั และเรอื นจำมี แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๓ เปา้ หมาย มาตรการทด่ี ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ท่ีต้องการ ในพนื้ ท่ี การดำเนนิ การได้ตาม มีการดำเนินการตาม ดำเนินงานตามแผน ดำเนนิ การไดต้ าม แผนที่กำหนดในรอบ มาตรการเปา้ หมาย ท่ีกำหนดในโครงการ แผนท่ีกำหนดในรอบ ๙ เดือน ท่กี ำหนดไวใ้ นแผน และ small success ๙ เดือน รอบ ๙ เดอื น รอบ ๙ เดือน รวมท้ังปญั หา - จงั หวัดดำเนนิ การ อปุ สรรคและแนวทางแกไ้ ข ไดต้ ามทีร่ ะบใุ น small success รอบ ๙ เดอื น ๓. ด้านบริการสุขภาพจิต (กรมสุขภาพจิต) รอบ ๒ - โรงพยาบาลแม่ข่าย และ - มีการให้บริการตรวจรกั ษา - เรอื นจำนำร่องมี หนว่ ยงานในสงั กัดกรม และใหค้ ำปรึกษาด้าน ระบบการให้บริการ สุขภาพจิต ร่วมกบั เรือนจำ สขุ ภาพจิตและจติ เวชผา่ น ตรวจรักษาและให้ นำร่อง ให้บริการตรวจรักษา Telepsychiatry เพ่ือลด คำปรกึ ษาดา้ น และใหค้ ำปรึกษาดา้ น การส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ยออกนอก สุขภาพจิตและจติ เวช สขุ ภาพจิตและจติ เวชผ่าน เรอื นจำ ผ่าน Telepsychiatry Telepsychiatry ครบทุกแห่ง - รอ้ ยละ ๑๐๐ ของ - โรงพยาบาลแม่ขา่ ย และ - โรงพยาบาลแม่ข่าย และ - ผ้ตู อ้ งขังในเรือนจำ ผู้ต้องขังไดร้ ับการคัด หน่วยงานในสังกัดกรม หนว่ ยงานในสังกดั กรม ได้รบั การบริการ กรองสุขภาพจิต สขุ ภาพจิต ประเมินคดั กรอง สขุ ภาพจิต ประเมนิ คดั กรอง สุขภาพดา้ น - ร้อยละ ๑๐๐ ของ สขุ ภาพจติ และให้บรกิ าร สขุ ภาพจติ และให้ สุขภาพจิตและจิตเวช ผู้ต้องขังท่ีคัดกรองแล้ว สุขภาพจติ และจิตเวช บรกิ ารสุขภาพจิตและจิตเวช ตามความเหมาะสม พบปัญหาสขุ ภาพจติ สำหรบั ผู้ตอ้ งขงั ในเรือนจำ สำหรับผตู้ ้องขังในเรอื นจำ ภายใต้แนวทางการ ไดร้ ับการดูแลรักษา - สสจ. รับแจง้ จากเรอื นจำว่า ตามคู่มือแนวทางการ ให้บริการสขุ ภาพจติ - ร้อยละ ๕๐ ของผูต้ ้องขงั มผี ตู้ ้องขังปว่ ยจิตเวชหลังพน้ ให้บรกิ ารสขุ ภาพจิตและจิต และจิตเวช สำหรับ ป่วยจติ เวชหลังปล่อยตัว โทษออกมาอยู่ในจังหวดั เวชสำหรับผู้ต้องขงั ใน ผู้ต้องขังในเรือนจำ ได้รบั การติดตามต่อเนื่อง และสง่ ต่อขอ้ มูลให้หนว่ ยงาน เรอื นจำ - มีระบบตดิ ตามดแู ล ครบ ๑ ปี (๑ ตลุ าคม ในสงั กดั กรมสขุ ภาพจิต ตาม - การใหบ้ ริการคัดกรอง ผตู้ ้องขังปว่ ยจติ เวช ๒๕๖๔ – ๓๐ กันยายน เขตบรกิ ารสขุ ภาพ หลังจาก ปัญหาสุขภาพจติ ผู้ต้องขัง หลงั ปล่อยตัวอย่าง ตอ่ เน่ืองครบ ๑ ปี (๑ ๒๕๖๕) น้ันหนว่ ยงานในสงั กัดกรม แรกรับรายใหม่และ รายเก่า ตลุ าคม ๒๕๖๔ – สขุ ภาพจติ และหนว่ ยบริการ - การดูแลบำบัดรกั ษา ๓๐ กนั ยายน สาธารณสขุ ในพ้นื ตดิ ตาม ผู้ตอ้ งขังทม่ี ปี ญั หา ๒๕๖๕) เพื่อให้ ดแู ลผู้ตอ้ งขังปว่ ยจติ เวชใน สขุ ภาพจติ เขา้ ถึงบริการอย่าง แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๔ เป้าหมาย มาตรการทด่ี ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธท์ ่ตี ้องการ ในพน้ื ที่ พื้นท่ีอยา่ งต่อเนอ่ื ง - ระบบตดิ ตามดูแลผู้ตอ้ งขงั ต่อเน่ือง และป้องกัน - โรงพยาบาลแม่ขา่ ย และ ป่วยจิตเวชในพืน้ ทอ่ี ยา่ ง การก่อคดีซำ้ หน่วยงานในสังกดั กรม ต่อเนอ่ื ง หลังปล่อยตัว สขุ ภาพจิตตดิ ตามอาการ - กรมสขุ ภาพจิตนำเสนอ ผตู้ ้องขงั ป่วยจติ ชในพ้ืนที่ สถติ แิ ละข้อมูลผู้ต้องขังปว่ ย อยา่ งต่อเน่ืองสมำ่ เสมอ โดย จติ เวชท่พี ้นโทษออกมาอยู่ สามเดอื นแรกตดิ ตามเดือน ในแตล่ ะจงั หวดั ตามเขต ละ ๑ ครงั้ และติดตามทุกๆ บรกิ ารสุขภาพ ๓ เดอื น จนครบระยะเวลา ๑ ปี โดยติดตามดูแลใน ๑๐ ประเดน็ ตามแบบฟอรม์ แบบ รายงานผลการติดตามการ ดแู ลผ้ตู ้องขังป่วยจติ เวชหลัง ปลอ่ ยตวั ของกรมสุขภาพจติ - หน่วยงานสังกัดกรม สขุ ภาพจิตรวบรวมสถิติและ ข้อมลู ผูต้ ้องขังป่วยจติ เวชท่ี พน้ โทษออกมาอยูใ่ นแตล่ ะ จงั หวดั ตามเขตบรกิ าร สขุ ภาพ ๔. ด้านควบคุมป้องกันโรค (กรมควบคมุ โรค) รอบ ๒ ๔.๑ คดั กรองวัณโรค - การเก็บรวบรวมและ - ดำเนินการคัดกรองคน้ หา - หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง - มีการดำเนนิ การ คัดกรองค้นหาวัณโรค รายงานขอ้ มลู ผลการคัดกรองฯ วณั โรคในผ้ตู อ้ งขังแรกรับ ดำเนินการตามแผน ในผู้ตอ้ งขังแรกรับ ร้อยละ ๙๐ ตามแบบฟอรม์ ท่ีกำหนด และผตู้ อ้ งขงั รายเกา่ บูรณาการฯ หรอื ในระบบ NTIP - มีการเกบ็ รวบรวมและ - ผ้ตู ้องขังแรกรับ รายงานขอ้ มูลผลการคัดกรองฯ ไดร้ ับการคดั กรอง - ผ้ตู ้องขังรายเกา่ ได้รบั ตามแบบฟอร์มทก่ี ำหนด วณั โรค รอ้ ยละ ๙๐ การคดั กรองวณั โรค หรือในระบบ NTIP - ผู้ต้องขงั รายเก่า ปีละ ๑ ครัง้ รอ้ ยละ ๙๐ ได้รบั การคดั กรอง วัณโรคปลี ะ ๑ ครั้ง แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๕ เปา้ หมาย มาตรการทด่ี ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธ์ทต่ี ้องการ ในพื้นท่ี ๔.๒การคดั กรองHIVSYHCV - มีรายงานสรุปจำนวน ร้อยละ ๙๐ ๑ .มีการดำเนินการ - ดำเนินการ คดั กรองเอชไอวี ผูต้ อ้ งขังแรกรบั ที่ได้รบั การ - มีการรายงานผล คัดกรองเอชไอวใี นกล่มุ ในผตู้ ้องขังแรกรับ ตรวจคดั กรอง เอชไอวี ตาม การดำเนินงาน ผู้ต้องขงั แรกรับ เพ่ิมการคัดกรองดว้ ยการใช้ เกณฑ์ท่กี ำหนด ร้อยละ ๕๐ ชดุ ตรวจ Oral Fluid - หนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง screening Test - มรี ายงานสรปุ จำนวน ดำเนินการตามแผน - มกี ารดำเนนิ การ - เกบ็ รวบรวมและรายงาน ผู้ตอ้ งขังแรกรบั ที่ไดร้ บั การ การบริหารจัดการ คดั กรองตบั อกั เสบซี ข้อมูลผลการคดั กรองฯ ตาม ตรวจคัดกรอง ตบั อักเสบซี การจดั บริการการ ในกลุ่มผูต้ อ้ งขังแรกรับ แบบฟอร์มที่กำหนด ตามเกณฑท์ ี่กำหนด ตรวจคดั กรองเอชไอวี รอ้ ยละ ๕๐ ในกลุ่มผู้ต้องขังแรกรบั ฯ - ดำเนนิ การ คัดกรอง - มรี ายงานสรปุ จำนวน - การคดั กรองเอชไอวี - มีการดำเนนิ การ ตบั อักเสบซีในผู้ต้องขังแรกรับ ผ้ตู ้องขงั แรกรับที่ได้รับการ ในกลมุ่ ผตู้ ้องขงั คดั กรองซิฟลิ สิ ในกลุ่ม ตรวจคดั กรอง ซิฟิลิส แรกรบั ร้อยละ ๕๐ ผตู้ ้องขงั แรกรบั - เก็บรวบรวมและรายงาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด - หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง รอ้ ยละ ๕๐ ขอ้ มลู ผลการคัดกรองฯ ตาม ดำเนนิ การตามแผน แบบฟอรม์ ท่ีกำหนด การบริหารจดั การ - ดำเนนิ การ คัดกรองซิฟลิ สิ การจัดบริการการ ในผู้ตอ้ งขังแรกรับ ตรวจคัดกรอง ตับอักเสบซีในกลมุ่ - เก็บรวบรวมและรายงาน ผ้ตู ้องขังแรกรบั ฯ ข้อมูลผลการคดั กรองฯ - การคดั กรองตบั อกั เสบซี ในกลมุ่ ผตู้ ้องขงั แรกรบั ร้อยละ ๕๐ - หนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง ดำเนินการตามแผน การบรหิ ารจดั การ การจดั บรกิ ารการ ตรวจคัดกรองซิฟิลิส ในกลุ่มผตู้ ้องขังแรกรับฯ - การคดั กรองซิฟลิ ิส ในกลุม่ ผ้ตู ้องขงั แรกรบั แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๖ เป้าหมาย มาตรการทดี่ ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลัพธ์ท่ตี ้องการ ในพนื้ ท่ี ร้อยละ ๕๐ ตามแบบฟอรม์ ทก่ี ำหนด แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๗ Small Success ๓ เดอื น ๖ เดอื น ๙ เดือน ๑๒ เดอื น ๑.การพฒั นาระบบบรกิ ารสาธารณสุขสำหรับผู้ต้องขงั ในเรือนจำ ๑.๑ สัดส่วน อสรจ. - สดั สว่ น อสรจ. ๑ ตอ่ ๕๐ - สัดสว่ น อสรจ. ๑ ตอ่ ๕๐ - มรี ายงานผลการ ๑ ต่อ ๕๐ - มแี ผนการฝึกอบรม และ/ - อบรม อสรจ. และ/หรอื พฒั นา อสรจ. ๑.๒ มหี ลกั สูตร อสรจ. หรอื อบรมฟืน้ ฟู อสรจ. อบรมฟ้ืนฟู ๒ ครั้งต่อปี ในเรือนจำ ๑.๓ มขี อ้ มูลวิทยากร ๒ ครั้งตอ่ ปี - สดั สว่ น อสรจ. ๑.๔ มีข้อมูลผู้ต้องขงั ๑ ตอ่ ๕๐ ๑.๕ มขี อ้ มูล อสรจ. - มีแผนการสนับสนนุ อสรจ. - มกี ารสนบั สนนุ อสรจ. รว่ มจดั บริการสุขภาพ ร่วมจัดบริการสุขภาพ ตามบรบิ ท ตามบริบท ๑.๖ รพ.แมข่ า่ ย - มสี รุปรายงานการ - มีสรปุ รายงานการปฏบิ ัตงิ าน - มสี รปุ รายงาน มแี ผนการปฏบิ ตั ิงานของ ปฏิบตั ิงานของทีม ตามแนวทาง ของทีม ตามแนวทาง การปฏบิ ัตงิ าน ทีมแพทย์/พยาบาลในการ การจัดบริการสขุ ภาพ การจดั บรกิ ารสุขภาพ ของทีม ตามแนวทาง ให้บรกิ ารตรวจรักษา สำหรบั ผูต้ ้องขงั ในเรือนจำ สำหรบั ผูต้ อ้ งขังในเรือนจำ การจัดบรกิ ารสุขภาพ ตามเวชปฏบิ ตั ิ (แพทย์) ตามกจิ กรรมและความถ่ี ตามกจิ กรรมและความถี่ สำหรับผู้ต้องขัง ให้กบั ผู้ต้องขงั ในเรือนจำ ในการปฏิบัติสถานพยาบาล ในการปฏบิ ัตสิ ถานพยาบาล ในเรอื นจำตาม ทัณฑสถานพืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย เรือนจำ แยกรายแผนก/ เรือนจำ แยกรายแผนก/ กจิ กรรมและความถ่ี รายเรือนจำ ๙ เดือน ในการปฏิบัติ รายเรอื นจำ ๖ เดอื น (ต.ค.๖๔-ม.ิ ย.๖๕) สถานพยาบาล (ต.ค.๖๔-ม.ี ค.๖๕) เรือนจำ แยกราย แผนก/รายเรอื นจำ ๑๒ เดอื น (ต.ค.๖๔-ก.ย.๖๕) - มรี ายงานผลการ - มีรายงานผลการดำเนนิ งาน - มีรายงานผลการดำเนนิ งาน ดำเนินงานตามแบบ - มรี ายงานผลการดำเนินงาน ตามแบบรายงาน สธรจ. ๑๐๑ ตามแบบรายงาน สธรจ.๑๐๑ รายงาน สธรจ.๑๐๑ ตามแบบรายงาน สธรจ. ๑๐๑ ๖ เดือน อยา่ งน้อย ๔๕% ๙ เดอื น อยา่ งน้อย ๕๕% ๑๒ เดือน อยา่ งน้อย ๓ เดอื น อยา่ งน้อย ๓๕% (๖๑ แหง่ ) (๗๔ แหง่ ) ๖๐% (๘๑ แห่ง) (๔๗ แหง่ ) ๒. ด้านบรกิ ารสุขภาพช่องปากและการอบรมหลักสตู รการดูแลผสู้ ูงอายใุ นเรือนจำ (กรมอนามัย) ๒.๑ การบริการสขุ ภาพ ชอ่ งปาก ๑ ถา่ ยทอดนโยบายและ - จำนวนผตู้ ้องขังได้รับการ - จำนวนผู้ตอ้ งขังได้รับการ - จำนวนผู้ตอ้ งขงั พฒั นาศักยภาพบคุ ลากร ตรวจคดั กรองสขุ ภาพชอ่ งปาก ตรวจคดั กรองสุขภาพช่องปาก ได้รบั การตรวจ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๘ ๓ เดอื น ๖ เดือน ๙ เดือน ๑๒ เดอื น และเครือขา่ ย อย่างน้อยร้อยละ ๓๐ อยา่ งน้อย รอ้ ยละ ๕๐ คดั กรองสขุ ภาพ ช่องปาก อย่างน้อย ๒ จดั ทำแผนงานการ - จำนวนผูต้ อ้ งขงั ได้รับ - จำนวนผตู้ อ้ งขังได้รบั ร้อยละ ๖๐ จดั บริการสุขภาพชอ่ งปาก บริการรกั ษาทางทนั ตกรรม บริการรกั ษาทางทันตกรรม - จำนวนผตู้ อ้ งขงั อยา่ งนอ้ ย ๑ ครง้ั /ปี อย่างน้อย ๑ คร้งั /ปี ได้รบั บริการรกั ษาทาง ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๒๐ ทันตกรรมอยา่ งน้อย ๑ ครั้ง/ปี ไมน่ ้อยกวา่ ๒.๒ การอบรมหลกั สูตร - ความครอบคลุมของการ - ผู้สูงอายใุ นเรือนจำ ร้อยละ ๓๐ การดูแลผ้สู ูงอายุ ข้ึนทะเบยี นผู้สูงอายใุ น ท้งั รายใหมแ่ ละรายเก่า ๑. ทบทวนและวิเคราะห์ เรือนจำท้ังรายใหม่และราย เปน็ กลุม่ เปา้ หมายทจ่ี ะได้ - ผู้สูงอายุในเรือนจำ สถานการณผ์ ูส้ ูงอายุ เก่าทกี่ ลบั เข้าของกล่มุ วัย เข้ารับการอบรมหลักสตู ร ทง้ั รายใหมแ่ ละรายเกา่ ในเรอื นจำ ผสู้ งู อายุ ผูด้ แู ลผู้สูงอายุ(Caregiver) เป็นกลุ่มเปา้ หมาย ๒. ทบทวนสถานการณ์ ในเรือนจำ รอ้ ยละ ๓๐ ทจ่ี ะไดเ้ ข้ารับการ ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายใุ นเรือนจำ อบรมหลักสตู รผู้ดูแล ในเรือนจำแยกตาม ทั้งรายใหมแ่ ละรายเก่า ผู้สูงอายุ(Caregiver) ประเดน็ ปญั หาสุขภาพ เป็นกลมุ่ เปา้ หมายทจ่ี ะได้ ร้อยละ ๔๐ ๓. จัดทำแผนงานการ เขา้ รบั การอบรมหลักสูตร สง่ เสริมสุขภาพของ ผู้ดแู ลผู้สงู อายุ(Caregiver) นกั โทษในเรือนจำท่ีเปน็ รอ้ ยละ ๒๐ กลมุ่ วัยผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ๔. ทบทวนมาตรการ วเิ คราะห์ปญั หาอุปสรรค ของการดำเนินงาน เพือ่ นำไปสกู่ ารแก้ไข ปญั หาการดำเนินงาน สขุ ภาพผู้สูงอายใุ นแต่ละ เรือนจำ ๕.จดั ทำแผนปฏิบตั กิ าร และกิจกรรมสำคัญ มาตรการเรง่ รัดผลสำเรจ็ ของตวั ชว้ี ดั แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๑๙ ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดอื น ๑๒ เดอื น ๓. ดา้ นการบริการสุขภาพจติ (กรมสุขภาพจิต) - โรงพยาบาลแมข่ ่าย และ - ผู้ต้องขงั ไดร้ ับการ หน่วยงานในสังกดั กรม คดั กรองสขุ ภาพจิต - โรงพยาบาลแม่ข่าย - โรงพยาบาลแม่ข่าย และ สขุ ภาพจติ ประเมินคดั กรอง ตามเกณฑ์ที่กำหนด สขุ ภาพจิตผูต้ อ้ งขงั ใน รอ้ ยละ ๑๐๐ และหนว่ ยงานในสังกัด หน่วยงานในสังกดั กรม เรอื นจำ ไมน่ ้อยกว่า ร้อยละ - ผูต้ ้องขงั ทค่ี ดั กรอง ๙๐ แล้วพบปัญหา กรมสขุ ภาพจิต ประเมนิ สุขภาพจิต ประเมินคัดกรอง - ผตู้ อ้ งขังท่ีคัดกรองแล้วพบ สุขภาพจติ ไดร้ บั การ ปญั หาสขุ ภาพจิตไดร้ ับการ ดูแลรกั ษา ร้อยละ คัดกรองสุขภาพจติ สุขภาพจติ ผตู้ ้องขังใน ดแู ลรักษา ร้อยละ ๑๐๐ ๑๐๐ - โรงพยาบาลแม่ข่าย และ - ผ้ตู อ้ งขังปว่ ยจติ เวช ผตู้ ้องขังในเรือนจำ ไม่ เรือนจำ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ หนว่ ยงานในสงั กัดกรม หลังปลอ่ ยตวั ไดร้ ับ สุขภาพจิตติดตามอาการ การติดตามตอ่ เน่ือง น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๓๐ ๖๐ ผู้ต้องขงั ป่วยจติ เวชในพืน้ ที่ ครบ ๑ ปี (๑ ตุลาคม อย่างต่อเนือ่ งสมำ่ เสมอ โดย ๒๕๖๔ – ๓๐ - ผตู้ ้องขงั ที่คดั กรองแลว้ - ผู้ตอ้ งขังท่ีคดั กรองแล้วพบ สามเดอื นแรกตดิ ตามเดือน กนั ยายน ๒๕๖๕) ไม่ ละ ๑ ครั้ง และตดิ ตามทุกๆ น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ พบปญั หาสุขภาพจิตไดร้ บั ปญั หาสขุ ภาพจิตไดร้ ับการ ๓ เดอื น จนครบระยะเวลา ๑ ปี (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ – - การดำเนินงาน การดแู ลรกั ษา ร้อยละ ดูแลรักษา รอ้ ยละ ๑๐๐ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕) ตาม สะสม รอ้ ยละ ๙๐ แบบฟอรม์ แบบรายงานผล ๑๐๐ - โรงพยาบาลแมข่ ่าย และ การตดิ ตามการดูแลผู้ต้องขัง ป่วยจิตเวชหลงั ปลอ่ ยตวั - โรงพยาบาลแมข่ ่าย หน่วยงานในสังกัดกรม ของกรมสขุ ภาพจิต ไม่น้อย กวา่ รอ้ ยละ ๔๐ และหน่วยงานในสงั กัด สขุ ภาพจติ ตดิ ตามอาการ - การดำเนินงานสะสม กรมสขุ ภาพจิตตดิ ตาม ผู้ต้องขงั ป่วยจิตเวชในพน้ื ที่ ร้อยละ ๙๐ อาการผ้ตู ้องขังปว่ ยจติ เวช อย่างต่อเนอ่ื งสม่ำเสมอ โดย ในพ้ืนท่ีอย่างต่อเน่ือง สามเดอื นแรกติดตามเดอื น สมำ่ เสมอ โดยสามเดือน ละ ๑ ครง้ั และตดิ ตามทุกๆ แรกติดตามเดอื นละ ๑ ๓ เดือน จนครบระยะเวลา ครง้ั และตดิ ตามทุกๆ ๓ ๑ ปี (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ – เดอื น จนครบระยะเวลา ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕) ตาม ๑ ปี (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๔ – แบบฟอร์มแบบรายงานผล ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๕) การตดิ ตามการดูแลผตู้ ้องขัง ตามแบบฟอร์มแบบ ปว่ ยจติ เวชหลังปล่อยตวั รายงานผลการติดตาม ของกรมสุขภาพจิต ไมน่ ้อย การดูแลผู้ตอ้ งขงั ปว่ ยจติ กว่า รอ้ ยละ ๓๐ เวชหลังปลอ่ ยตัว ของ กรมสขุ ภาพจติ ไม่น้อย กวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ๔. ด้านควบคุมป้องกันโรค (กรมควบคุมโรค) ๔.๑ คดั กรองวณั โรค ๑. คัดกรองค้นหาวัณโรค - มีแผนการดำเนินงานการ ในผูต้ ้องขังแรกรบั คัดกรองวณั โรคในผ้ตู ้องขงั แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๐ ๓ เดือน ๖ เดือน ๙ เดอื น ๑๒ เดือน แรกรบั และผลการ ๒. คัดกรองค้นหาวัณโรค ดำเนนิ งาน - การดำเนนิ งานสะสม - การดำเนินงาน ในผตู้ อ้ งขังรายเกา่ รอ้ ยละ ๙๐ ร้อยละ ๙๐ สะสม ร้อยละ ๙๐ - มีแผนการดำเนินงานการ ๔.๒ การคัดกรอง คดั กรองวณั โรคในผตู้ ้องขงั - ๕๐ (ร้อยละ) - ๕๐ (ร้อยละ) HIV SY HCV รายเก่า ปีละ ๑ ครงั้ - ๕๐ (ร้อยละ) - ๕๐ (ร้อยละ) ๑. มแี ผนการดำเนินการ รอ้ ยละ ๙๐ - ๕๐ (รอ้ ยละ) - ๕๐ (รอ้ ยละ) คัดกรองเอชไอวใี นกลุ่ม ผ้ตู ้องขงั แรกรับ - ๕๐ (รอ้ ยละ) ๒. มีแผนการดำเนินการ คดั กรองตับอักเสบซี - ๕๐ (รอ้ ยละ) ในกลุ่มผตู้ ้องขงั แรกรบั ๓. มแี ผนการดำเนนิ การ - ๕๐ (รอ้ ยละ) คดั กรองซิฟิลิสในกลมุ่ ผตู้ อ้ งขังแรกรบั แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๑ ตวั ช้วี ัดทีเ่ กย่ี วขอ้ ง สตู รคำนวณตัวชี้วัด ๑.การพัฒนาระบบบรกิ ารสาธารณสขุ สำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ ๑. มสี ดั ส่วน อสรจ. ตอ่ ผู้ตอ้ งขัง ไมน่ ้อยกวา่ ๑ ต่อ ๕๐ ๒. มีการฝกึ อบรม และ/หรือ อบรมฟ้ืนฟู อสรจ. ๒ ครง้ั ต่อปี ๓. มกี ารสนับสนนุ อสรจ. รว่ มจดั บริการสุขภาพตามบรบิ ท ๔. (เชิงคุณภาพ) สรุปรายงานการปฏิบัติงานของทีม ตามแนวทางการจัดบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขัง ในเรือนจำ ตามกิจกรรมและความถี่ในการปฏิบัติในสถานพยาบาลเรือนจำ แยกรายแผนก/รายเรอื นจำ (รายงานผล/ สรปุ รายไตรมาส ๓,๖,๙,๑๒ เดอื น) ๕. ร้อยละของจำนวน รพ.แม่ข่าย ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีรายงานผลการ ดำเนนิ งานตามแบบรายงาน สธรจ. ๑๐๑ ตามแบบฟอร์มทก่ี องบรหิ ารการสาธารณสุขกำหนด สูตรคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถึง จำนวน รพ.แม่ข่าย ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีรายงานผล การดำเนนิ งานตามแบบรายงาน สธรจ. ๑๐๑ ตามแบบฟอรม์ ท่ีกองบริหารการสาธารณสุขกำหนด (แห่ง) B หมายถงึ จำนวนสถานพยาบาลเรือนจำท้ังหมด ๒. ดา้ นบริการสขุ ภาพช่องปากและการอบรมหลักสูตรการดูแลผสู้ ูงอายุในเรือนจำ (กรมอนามยั ) ๑. ผู้ตอ้ งขงั ไดร้ ับการตรวจคัดกรองสขุ ภาพชอ่ งปาก คิดเป็นร้อยละ ๖๐ ๒. ผูต้ อ้ งขังไดร้ บั บริการรกั ษาทางทนั ตกรรมอย่างน้อย ๑ คร้ัง/ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๐ ๓.ร้อยละของผตู้ ้องขังทไี่ ด้รับการตรวจคดั กรองสุขภาพช่องปาก สตู รคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถงึ จำนวนผู้ต้องขังผ้ตู อ้ งขงั ท่ีได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพชอ่ งปาก (คน) B หมายถงึ จำนวนผตู้ อ้ งขังทั้งหมด (คน) ๔. ร้อยละของผู้ตอ้ งขงั ได้รับบริการรักษาทางทนั ตกรรมอย่างน้อย ๑ คร้ัง/ปี สูตรคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถงึ จำนวนผู้ต้องขงั ผ้ตู อ้ งขงั ท่ีได้รับบริการรักษาทางทนั ตกรรมอยา่ งน้อย ๑ คร้ัง/ปี B หมายถงึ จำนวนผูต้ ้องขังท้ังหมด ๕.ร้อยละของผู้สูงอายุในเรือนจำผา่ นการอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะ ผดู้ แู ลผ้สู งู อายุ (Caregiver) สูตรคำนวณ (A/B) x ๑๐๐ A หมายถึง จำนวนผู้สูงอายุรายใหม่/เก่า ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้เข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้ดูแล ผู้สงู อายุ (Caregiver) B หมายถึง จำนวนผู้สูงอายุท้ังหมดในเรือนจำท้งั ใหม/่ เกา่ ท้ังหมด ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓. ด้านการบรกิ ารสุขภาพจติ (กรมสุขภาพจิต) ๑. รอ้ ยละของผ้ตู อ้ งขังไดร้ ับการคัดกรองสุขภาพจิต ๒. ร้อยละของผู้ต้องขังท่คี ัดกรองแลว้ พบปญั หาสุขภาพจิตไดร้ บั การดูแลรกั ษา ๓. ร้อยละของผตู้ ้องขังปว่ ยจิตเวชหลังปลอ่ ยตัวไดร้ ับการติดตามต่อเนื่องครบ ๑ ปี ๔. รอ้ ยละของผู้ต้องขงั ได้รับการคัดกรองปญั หาสุขภาพจิต สูตรคำนวณ (A/B) x ๑๐๐ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๒ A หมายถึง จำนวนผตู้ อ้ งขงั ได้รับการคดั กรองปัญหาสุขภาพจติ B หมายถงึ จำนวนผตู้ ้องขังทงั้ หมดในเรือนจำ ๕. ร้อยละของผ้ตู ้องขังท่คี ดั กรองแลว้ พบปญั หาสขุ ภาพจติ ได้รับการดูแลรกั ษา สตู รคำนวณ (A/B) x ๑๐๐ A หมายถงึ จำนวนผู้ต้องขงั ท่ีคัดกรองแลว้ พบปัญหาสุขภาพจิตได้รับการดูแลรักษา B หมายถงึ จำนวนผตู้ อ้ งขงั ทค่ี ดั กรองแลว้ พบปญั หาสขุ ภาพจิตทั้งหมด ๖. ร้อยละของผู้ตอ้ งขงั ปว่ ยจติ เวชหลังปล่อยตัวไดร้ บั การติดตามตอ่ เนื่องครบ ๑ ปี สูตรคำนวณ (A/B) x ๑๐๐ A หมายถึง จำนวนผู้ต้องขังป่วยจิตเวชหลังปล่อยตัวได้รับการติดตามต่อเน่ืองครบ ๑ ปี (๑ ตุลาคม ๒๕๖๔– ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕) B หมายถึง จำนวนผูต้ ้องขังป่วยจติ เวชทไี่ ด้รบั การปล่อยตัว ๔. ด้านควบคุมปอ้ งกันโรค (กรมควบคมุ โรค) ๔.๑ การคดั กรองวณั โรค ๑. ร้อยละของผ้ตู ้องขังแรกรับได้รบั การคัดกรองวณั โรค สตู รคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถงึ ผตู้ ้องขงั แรกรบั ท่ไี ดร้ ับการคดั กรองวัณโรค B หมายถึง จำนวนผู้ต้องขงั แรกรบั ทง้ั หมด ๒. ร้อยละของผู้ต้องขงั รายเก่าท่ไี ด้รบั การคัดกรองวัณโรคอยา่ งน้อยปลี ะ ๑ ครัง้ สูตรคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถงึ ผู้ตอ้ งขงั รายเก่าทไ่ี ดร้ ับการคดั กรองวณั โรคอย่างน้อยปีละ ๑ ครง้ั B หมายถึง จำนวนผ้ตู อ้ งขงั รายเก่าทง้ั หมด หมายเหต:ุ ตัวหาร คือ ผู้ต้องขังแรกรับท้ังหมด โดยไม่นับรวมผู้ต้องขังแรกรับท่ีถูกปล่อยตัว (เช่น กรณีศาลยกฟ้อง หรอื ประกันตัวออกไปกอ่ น ในระหว่างระยะเวลาท่กี ำหนดตามนิยาม ๔.๒ การคัดกรองเอชไอวี ตบั อักเสบซี ซิฟลิ สิ ๑. รอ้ ยละของผู้ต้องขงั แรกรบั ได้รบั การคัดกรองเอชไอวี สตู รคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถึง จำนวนผ้ตู ้องขงั แรกรบั ที่ไดร้ บั การคัดกรองเอชไอวี B หมายถงึ จำนวนผู้ต้องขงั แรกรบั ทัง้ หมด ๒. ร้อยละของผ้ตู ้องขงั แรกรบั ไดร้ ับการคัดกรองตับอักเสบซี สตู รคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถึง จำนวนผู้ตอ้ งขังแรกรบั ที่ได้รบั การคดั กรองตบั อักเสบซี B หมายถึง จำนวนผู้ต้องขงั แรกรับทงั้ หมด ๓. ร้อยละของผตู้ ้องขังแรกรบั ไดร้ ับการคดั กรองซิฟิลสิ สูตรคำนวณ (A/B) x๑๐๐ A หมายถงึ จำนวนผตู้ ้องขงั แรกรบั ที่ได้รบั การคดั กรองซิฟิลิส B หมายถงึ จำนวนผตู้ ้องขงั แรกรบั ทั้งหมด แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๓ หมายเหต:ุ ตัวหาร คือ ผู้ต้องขังแรกรับทั้งหมด โดยไม่นับรวมผู้ต้องขังแรกรับท่ีถูกปล่อยตัว (เช่น กรณีศาลยกฟ้อง หรอื ประกันตัวออกไปก่อน) ในระหว่างระยะเวลาที่กำหนดตามนยิ าม หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ: ๑. กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ (อสรจ.) ๒. กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (แพทย์/ระบบรายงานข้อมูลการ บริการสุขภาพผตู้ ้องขังในเรอื นจำ/สรปุ ผลการดำเนินงาน) ๓. สำนักทันตสาธารณสุข (ด้านบริการสุขภาพช่องปาก) /สำนักอนามัยผู้สูงอายุ (การอบรมหลักสูตรการ ดแู ลผู้สงู อายุในเรือนจำ) กรมอนามยั ๔. สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต ๕. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการโครงการพระราชดำริฯ /กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทาง เพศสมั พนั ธ์ /กองวณั โรค (การคดั กรองโรคตดิ ตอ่ สำคัญ) กรมควบคมุ โรค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๔ ผู้ประสานงานตัวช้ีวัด/ผรู้ ับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ชอ่ื -สกุล ตำแหนง่ /หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท์/ ประเดน็ ท่ี e-mail address รับผดิ ชอบ นายจรสั รัชกลุ ผู้อำนวยการกอง โทร. ๐๘ ๖๒๘๗ ๘๒๐๔ ประสานกำหนด สนับสนนุ สุขภาพ [email protected] แนวทางการ ภาคประชาชน ประเมนิ และ นายสมภพ อาจชนะศกึ นักวิชาการสาธารณสขุ โทร. ๐๘ ๐๐๑๓ ๖๔๗๗ พฒั นา ชำนาญการพิเศษ [email protected] * หมายเหตุ กรมสนบั สนุนบริการ รับผิดชอบเรอ่ื ง สุขภาพ อสรจ. นายเชาวลติ นาคสวสั ดิ์ นักวิชาการสาธารณสขุ โทร. ๐๘ ๖๑๔๙ ๑๒๓๔ ชำนาญการ [email protected] กรมสนับสนนุ บริการ สขุ ภาพ ผู้ตรวจราชการและผู้นิเทศก์งาน จากศูนยส์ นบั สนนุ บริการสขุ ภาพท่ี ๑-๑๒ (๑๒ แห่ง) รว่ มตรวจราชการ สังกดั กรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ และนเิ ทศกง์ าน ในพนื้ ท่ี นางยุภา คงกลิ่นสุคนธ์ นักวชิ าการสาธารณสุข โทร.๐๒ ๕๙๐ ๒๔๕๗ * หมายเหตุ ชำนาญการพิเศษ ๐๘ ๓๐๙๔ ๔๔๙๙ รบั ผิดชอบ เรือ่ ง กองบรหิ ารการ [email protected] แพทย/์ ระบบ สาธารณสขุ รายงานข้อมูล/ นางสาวอรรฉราพรรณ นักวิชาการสาธารณสุข โทร. ๐๒ ๕๙๐ ๒๔๕๗ สรปุ ผลการ ชมภู่ ปฏบิ ตั ิการ ๐๙ ๘๘๘๙ ๙๘๑๙ ดำเนินงาน กองบริหารการ [email protected] สาธารณสขุ นางสาวจิราภรณ์ อดุ จงั นกั วชิ าการสาธารณสขุ โทร. ๐๒ ๕๙๐ ๒๔๕๗ ปฏิบัตกิ าร ๐๘ ๑๔๙๒ ๔๘๖๑ กองบริหารการ [email protected] สาธารณสุข นางสาวสุชาดา กิติคำ นักวิชาการสาธารณสขุ โทร. ๐๒ ๕๙๐ ๒๔๕๗ กองบรหิ ารการ ๐๙ ๘๗๒๓ ๓๐๒๑ สาธารณสขุ [email protected] นายณัฐพงค์ ผู้อำนวยการ โทร. ๐๙ ๔๔๔๒ ๐๕๕๕ สนับสนุน/ กันทะวงค์ สถาบันปัณณทตั [email protected] ประสานงาน/ กรมอนามยั กำหนดแนวทาง พัฒนาระบบ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๕ ชอ่ื -สกุล ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศพั ท์/ ประเด็นท่ี e-mail address รบั ผิดชอบ บรกิ ารสขุ ภาพ นางรัชนี บุญเรืองศรี นักสงั คมสงเคราะห์ โทร.๐๙ ๙๖๑๖ ๕๓๙๖ ช่องปาก * หมายเหตุ ชำนาญการพเิ ศษ [email protected] รบั ผิดชอบ - หลักสูตรผดู้ ูแล สำนกั /กองสำนักอนามัย ผ้สู งู อายุ (Caregiver) ผู้สูงอายุ กรมอนามยั . สนบั สนุน/ นางสาวธนภรณ์ แจ่มแจ้ง นักวชิ าการสาธารณสุข โทร. ๐๙ ๕๕๕๗ ๗๐๑๕ ประสานงาน/ กำหนดแนวทาง ปฏิบัติการ [email protected] พัฒนาระบบ บรกิ ารสุขภาพจติ สำนกั อนามัยผสู้ ูงอายุ ภาพรวมการ กรมอนามัย ดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้ ดร.แพทยห์ ญิงเบ็ญจมาส ผูอ้ ำนวยการกอง โทร. ๐๒ ๕๙๐ ๘๑๖๒ โครงการราชทัณฑ์ พฤกษก์ านนท์ ยทุ ธศาสตร์และแผนงาน Benjamasprukkanone กรมสขุ ภาพจติ @gmail.com นางพรทิพย์ ดำรงปัทมา นักวิเคราะห์นโยบาย โทร. ๐๒ ๕๙๐ ๘๐๘๐ และแผนชำนาญการพเิ ศษ [email protected] กองยุทธศาสตร์และ แผนงาน กรมสขุ ภาพจติ นางสาวอุทยา นาคเจริญ พยาบาลวิชาชีพชำนาญ โทร.๐๘ ๑๔๔๒ ๑๖๖๗ การพเิ ศษสถาบนั กลั ยา [email protected] กรมสุขภาพจติ นายแพทย์ศรตุ พนั ธ์ุ ผู้อำนวยการ โทร.๐๒ ๔๔๑ ๖๑๐๐ จกั รพันธ์ุ ณ อยุธยา สถาบันกัลยาณ์ [email protected] ราชนครินทร์ กรมสขุ ภาพจติ นายแพทยอ์ ภิชาต สถาบนั กลั ยาณ์ โทร. ๐๒ ๔๔๑ ๖๑๐๕ แสงสนิ ราชนครินทร์ [email protected] กรมสขุ ภาพจติ นางพาหุรัตน์ ผู้อำนวยการสำนกั งาน โทร. ๐๘ ๖๓๕๔ ๒๔๔๕ คงเมือง ทัยสุวรรณ์ เลขานุกาคณะกรรมการ [email protected] โครงการพระราชดำริฯ กรมควบคุมโรค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

๒๖ ชอ่ื -สกุล ตำแหน่ง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์/ ประเด็นท่ี แพทยห์ ญิงผลนิ e-mail address รับผิดชอบ กมลวัทน์ ผอู้ ำนวยการกองวัณโรค โทร. ๐๘ ๔๖๐๕ ๖๗๑๐ นางสาวสุดจิตต์ กรมควบคุมโรค [email protected] ปันสขุ ฯ/วณั โรค/ ตรีวิจิตรศิลป์ นักประชาสมั พันธ์ โทร. ๐๙ ๕๙๕๓ ๑๖๗๗ โรคเอดสแ์ ละ สำนักงานเลขานุการ [email protected] โรคติดต่อทาง นายยศพนธ์ แกน่ จันทร์ คณะกรรมการโครงการ [email protected] เพศสัมพนั ธ์ พระราชดำริฯ นายปรมัติ ศกั ดิ์แสน กรมควบคุมโรค โทร. ๐๘ ๑๒๖๒ ๘๑๑๘ ตำแหนง่ นักวิชาการ [email protected] นางเครอื ทิพย์ จนั ทรธานวี ฒั น์ สาธารณสขุ ปฏบิ ัตกิ าร โทร. ๐๒ ๒๑๒ ๒๒๗๙ ตอ่ สำนักงานเลขานุการ ๑๒๕๑ [email protected] คณะกรรมการโครงการ โทร. ๐๒ ๕๙๐ ๓๒๐๗ พระราชดำรฯิ ๐๘ ๙๓๐๕ ๒๘๙๗ กรมควบคุมโรค [email protected] นักวิชาการสาธารณสุข ปฏบิ ตั ิการ กองวณั โรค กรมควบคุมโรค นักวชิ าการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ กองโรคเอดส์และ โรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์ กรมควบคุมโรค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ประเดน็ การตรวจราชการท่ีม่งุ เน้น ประเด็นที่ 2 กญั ชาทางการแพทย์ จัดทำโดย คณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการ

25 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (Inspection Guideline) ประเด็นที่ ๒ : กัญชาทางการแพทย์ หัวข้อ กัญชาทางการแพทย์ ตัวชวี้ ัด : ร้อยละของหน่วยบรกิ ารสาธารณสุขท่มี ีการจัดบรกิ ารคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์ - รอ้ ยละของ รพ.สงั กดั สป.สธ.ทมี่ ีการจัดบรกิ ารคลินิกกญั ชาทางการแพทย์ - รอ้ ยละของโรงพยาบาลสงั กัดกรมวชิ าการท่มี ีการจัดบรกิ ารคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์ - จำนวนสถานพยาบาลเอกชนที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ในแต่ละเขตสขุ ภาพ - รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยทม่ี กี ารวนิ ิจฉัยระยะประคบั ประคอง (Palliative care) ทีไ่ ด้รบั การรกั ษาด้วยยากัญชา ทางการแพทย์ - ร้อยละของผู้ปว่ ยท้ังหมดทีไ่ ด้รับการรักษาดว้ ยยากัญชาทางการแพทย์ คำนิยาม 1. การจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ หมายถึง การจัดบริการ คัดกรอง ตรวจ วินิจฉัย รักษา โรค จ่ายยา และให้คำปรึกษาผู้ป่วยทีต่ ้องใช้ยากัญชาด้วยแพทย์แผนปัจจุบัน และ/หรือ แพทย์แผนไทย โดยมี การจัดการบริการให้ผู้ป่วยเข้าถึงโดยง่าย เช่น มีระบบการคัดกรองหรือนัดหมายล่วงหน้า ระบบ Care manager ประสานงานใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั บริการ 2. หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ หมายถึง 2.1 โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน สังกัดสำนักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 2.2 โรงพยาบาลสงั กดั กรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ตามกลมุ่ ภารกิจด้านพัฒนา การแพทย์ หมายถึง โรงพยาบาลในสังกัดกรมสุขภาพจิต 14 แห่ง (สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา โรงพยาบาลศรีธัญญา สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ โรงพยาบาลสวนปรุง โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวช นครราชสีมาราชนครินทร์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชสระแกว้ ราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ โรงพยาบาลจติ เวชเลยราช นครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลก), กรมการแพทย์ 17 แห่ง (โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์(วัดไรข่ ิง) สถาบันมะเร็งแห่งชาติ โรงพยาบาลมหา วชิราลงกรณธัญบุรี โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี สถาบันโรคผิวหนัง โรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้จังหวัดตรัง สถาบันประสาทวิทยา โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ โรงพยาบาลสงฆ์) และกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1 แห่ง (โรงพยาบาลการแพทย์แผน ไทยและการแพทย์ผสมผสาน) (เปา้ หมายจำนวน 32 แหง่ ) 2.3 สถานพยาบาลภาคเอกชน หมายถึง สถานพยาบาลตามพระราชบัญญัตสิ ถานพยาบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 ที่ได้รับอนุญาตให้จำหน่าย (จ่าย) ยากัญชา ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ.2562 3. ผู้ให้บริการ หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตตามกฎหมาย 4. ยากัญชา หมายถงึ ยาสารสกดั กญั ชา ตำรบั ยาแผนไทยทม่ี กี ัญชาปรุงผสม หรือนำ้ มันกัญชา แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

26 5. Palliative care หมายถึง ผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (รหัส ICD10 กรณีแพทย์ แผนปจั จุบนั Z51.5 กรณแี พทย์แผนไทย U50-u77 และ Z51.5) ประเดน็ การตรวจราชการทม่ี ุง่ เน้น เป้าหมาย มาตรการที่ดำเนินงาน แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ ในพ้ืนที่ แผนงาน สรา้ งการรบั รูแ้ ละ มคี วามพร้อมในการ การเขา้ ใจ แลกเปลยี่ น ดำเนนิ งานคลนิ กิ กัญชาทาง ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเนน้ รอบ 1 เรยี นรู้ในการจดั ตั้งคลนิ ิก การแพทย์ กญั ชาทางการแพทย์ ใหพ้ ืน้ ทม่ี ีความเข้าใจการ มแี ผนการจดั ตง้ั คลนิ ิกกญั ชา คน้ หาผู้ปว่ ยท่มี ีการวนิ ิจฉยั มผี ้ปู ว่ ยท่ีมีการวินจิ ฉยั ระยะ ระยะประคับประคอง ประคับประคอง (Palliative ดำเนินการการจดั ต้งั ทางการแพทย์ (Palliative care) ท่ไี ดร้ ับ care) ทไ่ี ด้รบั การรกั ษาดว้ ย การรักษาดว้ ยยากญั ชาทาง ยากัญชาทางการแพทย์ คลินกิ กญั ชา การแพทย์ มีการจัดคลินิกบรกิ ารกัญชา มีการค้นหาผูป้ ่วยที่มกี าร มแี ผนการคน้ หาผูป้ ่วยท่ีมี จำนวนโรงพยาบาลท่ี ทางการแพทย์ ให้บรกิ ารคลินิกกญั ชาทาง วินจิ ฉยั ระยะ การวินจิ ฉัยระยะ การแพทย์ ประคบั ประคอง ประคับประคอง (Palliative (Palliative care) ที่ care) ทไ่ี ดร้ บั การรกั ษาดว้ ย ได้รับการรักษาด้วยยา ยากัญชาทางการแพทย์ กัญชาทางการแพทย์ ประเดน็ การตรวจราชการท่มี ุ่งเน้น รอบ 2 การดำเนินงานคลินิก การจดั บรกิ ารคลินกิ กัญชา กัญชาทางการแพทย์ เพอ่ื ให้ผู้ปว่ ยเข้าถงึ โดยง่าย จำนวนผูป้ ่วยท่มี ีการ มแี ผนการค้นหาผู้ปว่ ยที่มี จำนวนผู้ปว่ ยทีม่ ีการวินจิ ฉยั มีผูป้ ว่ ยท่มี ีการวนิ จิ ฉัยระยะ วนิ ิจฉยั ระยะ การวนิ จิ ฉยั ระยะ ระยะประคบั ประคอง ประคบั ประคอง (Palliative ประคบั ประคอง ประคบั ประคอง (Palliative (Palliative care) ทีไ่ ด้รับ care) ทีไ่ ด้รบั การรกั ษาด้วย (Palliative care) ที่ care) ท่ีได้รบั การรักษาดว้ ย การรกั ษาดว้ ยยากญั ชาทาง ยากญั ชาทางการแพทย์ ได้รับการรักษาดว้ ยยา ยากัญชาทางการแพทย์ การแพทย์ กญั ชาทางการแพทย์ เกณฑเ์ ปา้ หมาย รายการ ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 100 รพ.สังกัด สป.สธ. รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 90 รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100 โรงพยาบาลสังกัดกรม รอ้ ยละ 70 วชิ าการ สถานพยาบาลเอกชน เขตสขุ ภาพละ 3 เขตสขุ ภาพละ 5 เขตสุขภาพละ 10 เขตสขุ ภาพละ 15 แห่ง แหง่ แหง่ แหง่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

27 รายการ ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 ร้อยละ ๑o ร้อยละ ๑๕ ร้อยละ ๒o ผ้ปู ว่ ยท่ีมีการวินจิ ฉัย รอ้ ยละ ๕ ระยะประคบั ประคอง (Palliative care) ท่ี ไดร้ บั การรักษาด้วยยา กญั ชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยท้ังหมดท่ีไดร้ บั เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 5 เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 7 เพิ่มข้นึ ร้อยละ 10 เพ่ิมขึน้ ร้อยละ 12 การรักษาดว้ ยยา กญั ชาทางการแพทย์ Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดอื น 12 เดอื น ๑. มีแนวทางการจัดบริการ 1. มแี ผนการจดั ตง้ั คลนิ ิก 1. มีการจัดบริการคลินิก 1. มีการจดั บริการคลินกิ คลนิ ิกกัญชาทางการแพทย์ กัญชาทางการแพทย์ กัญชาทางการแพทยใ์ น รพ. กญั ชาทางการแพทยใ์ น (กรมการแพทย์ กรมการ 2. ผ้ใู หบ้ ริการ ไดร้ ับการ สังกดั สำนกั งาน โรงพยาบาลสังกดั สำนักงาน แพทยแ์ ผนไทยฯ กรม อบรมความรู้ในการ ปลัดกระทรวง สาธารณสขุ ปลดั กระทรวงสาธารณสุข สุขภาพจิต กบรส.สป. กรม จดั บรกิ ารคลินิกกัญชาทาง รอ้ ยละ 50 (กบรส.สป. ร้อยละ 70 (กบรส.สป. สบส.,สถาบันกัญชาฯ) การแพทย์ (กรมการ กรมการแพทย์ แผนไทยฯ กรมการแพทย์แผนไทยฯ 2. มกี ารพฒั นาหลกั สตู รการ แพทย์ กรมการแพทย์ กรมการแพทย์) กรมการแพทย์ ) อบรมความรู้ การจดั บริการ แผนไทยฯ สถาบันกัญชา 2. มีการจัดบรกิ ารคลินกิ 2. มีการจดั บรกิ ารคลินกิ คลินิกกญั ชาทางการแพทย์ สป.) กญั ชาทางการแพทยใ์ น รพ. กญั ชาทางการแพทยใ์ น (กรมการแพทย์ กรมการ 3. มีระบบสารสนเทศ สงั กัดกรม วิชาการ โรงพยาบาลสงั กดั กรม แพทย์แผนไทยฯ สถาบัน สนับสนนุ คลินิกกัญชาทาง กระทรวง สาธารณสขุ ร้อย วชิ าการ กระทรวง กญั ชาฯ) การแพทย์ ลดความ ละ 50 (กรมการแพทยแ์ ผน สาธารณสขุ รอ้ ยละ 70 3. มีแผนการค้นหาผปู้ ่วย ซ้ำซ้อน (อย. กบรส. ไทยฯ กรมการแพทย์) 3. มกี ารจัดบริการคลนิ กิ ทุกกลุ่มโรคและผู้ปว่ ยทีม่ ี ศทส.) กัญชาทางการแพทย์แผน การวนิ จิ ฉยั ระยะ 4. ผ้ปู ่วยที่มีการวินิจฉัย ปจั จุบนั และ/หรอื แพทย์ ประคับประคอง (Palliative ระยะประคับประคอง แผนไทย ในสถานพยาบาล care) เพอื่ ให้ไดร้ บั การรักษา (Palliative care) ที่ไดร้ ับ เอกชน เขตสุขภาพละ 3 ด้วยยากัญชาทางการแพทย์ การรักษาดว้ ยยากัญชาทาง แหง่ โดยดำเนนิ การใน 12 (กรมการแพทย์ กรมการ การแพทย์ ร้อยละ 3 เขตสุขภาพ (กรมการแพทย์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565