123 ประเด็นการตรวจราชการทมี่ งุ่ เนน้ (รอบท่ี 1 และรอบที่ 2) เป้าหมาย มาตรการท่ี แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธท์ ี่ ดำเนินงาน ตอ้ งการ ในพืน้ ที่ 1. หน่วยบริการท่ีประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน - ระดบั 7 ไม่เกนิ ร้อยละ 2 - ระดบั 6 ไม่เกนิ ร้อยละ 4 เป้าหมายของมาตรการที่ 1 มาตรการท่ี 1 : ๑.1 เกณฑ์การประเมินความ หนว่ ยบรกิ าร 1.1 หน่วยบริการทผี่ ่านเกณฑก์ ารตรวจสอบ พัฒนาระบบบบญั ชี ถกู ตอ้ งของการบนั ทึกบัญชตี าม บนั ทกึ บญั ชี (Accounting) นโยบายบญั ชขี องหน่วยบริการ อยา่ งถูกต้อง วเิ คราะหง์ บการเงนิ (เพือ่ การบรหิ าร)* สังกดั สำนกั งานปลัดกระทรวง ครบถ้วน เกณฑ์การตรวจสอบกำหนดโดย สาธารณสุข ร้อยละ 100 สว่ นกลาง ประกอบไปดว้ ย ความครบถว้ น ทนั เวลา (ภายในวนั ที่ 10 ของ คา่ เป้าหมาย : ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 95 เดือนถัดไป) ถูกตอ้ งตามหลกั บัญชี และปรับปรุงตามนโยบาย ผลงานไตรมาส 2 ปี 2564 ร้อยละ 94 บญั ชี ผลงานเฉล่ยี ยอ้ นหลงั 3 ปี ร้อยละ 90 รอบ 1 ใช้ข้อมลู ปี 2564 ไตรมาส 4 รอบ 2 ใชข้ อ้ มูลปี 2565 ไตรมาส 2 เป้าหมายของมาตรการท่ี 2 มาตรการท่ี 2 : การบรหิ าร 2.1 หน่วยบริการทมี่ ขี อ้ มลู รายไดท้ ุกประเภท การจัดสรรเงินอย่าง มากกว่าค่าใชจ้ ่าย (NI เป็นบวก) กลมุ่ เปา้ หมาย เพยี งพอ (Budgeting) 2.1 ประเมนิ จาก จดั การแผน : หน่วยบรกิ ารสังกดั สำนักงานปลดั กระทรวง สาธารณสุข จำนวน 899 แหง่ • แผน Planfin มรี ายได้ ทางการเงิน มากกว่าค่าใช้จา่ ย การคลังอย่างมี • การประเมนิ ความพอเพียง ประสทิ ธภิ าพ รายได้ของทกุ กองทุน* ค่าเปา้ หมาย : ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 95 (*ทกุ กองทุน หมายถงึ 5 ผลงานไตรมาส 2 ปี 2564 ร้อยละ 99 ผลงานเฉลี่ยย้อนหลงั 3 ปี ร้อยละ 88 กองทุนหลกั ประกอบดว้ ย รอบที่ 1 ใชข้ ้อมูลแผน Planfin ปี 2565 (1) หลกั ประกันสขุ ภาพ รอบที่ 2 ใช้ข้อมูลเปรียบเทียบแผน - ผล ของ ปี 2565 ไตรมาส 2 ถว้ นหน้า (UC) (2) * หนว่ ยบริการมกี ารจดั ทำแผนเงนิ บำรุง รอ้ ยละ 100 กองทนุ ประกนั สงั คม (3) กองทุนข้าราชการ (4) กองทนุ แรงงานตา่ งด้าว และคนตา่ งด้าว (5) กองทุนบคุ คลท่มี ปี ัญหา สถานะและสทิ ธิ) • การบรหิ ารคา่ ใช้จา่ ยของ 2.2 หน่วยบรกิ ารเมอ่ื วิเคราะหค์ วามเสยี่ งของ หน่วยบรกิ าร แผนทางการเงนิ เป็นแผนแบบท่ีไม่มคี วามเส่ยี ง แผนแบบที่ 1, 2, 3 2.2 ประเมินจาก • EBITDA เป็นบวก แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
เป้าหมาย 124 แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธ์ที่ ต้องการ คา่ เปา้ หมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 มาตรการท่ี ผลงานรอบท่ี 1 ปี 2564 รอ้ ยละ 92.7 ดำเนนิ งาน • ลงทุนไม่เกิน 20% ของ ในพน้ื ท่ี (EBITDA) 1. หน่วยบริการท่ีประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน (ตอ่ ) • สัดส่วน NWC คงเหลือหลัง - ระดับ 7 ไมเ่ กนิ ร้อยละ 2 - ระดบั 6 ไม่เกนิ ร้อยละ 4 ผลงานรอบที่ 2 ปี 2564 รอ้ ยละ 91.3 หักการลงทุน/ต่อรายจ่าย ต่อเดือน เป้าหมายของมาตรการท่ี 3 มาตรการ 3: พัฒนา 3.1 หลักสตู รสำหรบั บคุ ลากรมี 3.1 ผปู้ ฏิบัติงานด้านบัญช/ี ศกั ยภาพบริหารดา้ น การเงินการคลังแก่ ผปู้ ฏิบัตงิ านดา้ นบัญช/ี ศกั ยภาพการ หัวหนา้ กลุ่มงานประกนั /หวั หนา้ งาน เครือข่ายและบุคลากร บริหารงานท่วั ไป (Competency) หัวหน้ากล่มุ งานประกัน/ บริหารจดั การ หวั หนา้ งานบริหารงานทวั่ ไป ด้านการเงนิ การ เช่น หลกั สูตรดงั ต่อไปน้ี คลัง - นกั บัญชมี อื อาชพี / กลยทุ ธ์การวิเคราะหง์ บการเงนิ แบบมืออาชีพ / ข้อควรระวังในการจดั ทำบัญชี 3.2 ผ้บู รหิ ารการเงนิ การคลงั (CFO) รพศ/ 3.2 หลักสตู รสำหรบั ผ้บู รหิ าร รพท/รพช./รองผู้อำนวยการดา้ นบรหิ าร/ เช่น หลกั สูตรดงั ตอ่ ไปน้ี รองนายแพทย์ สสจ. ในระดบั เขต - อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารบญั ชี สว่ นกลาง/เขต/จังหวดั จดั อบรม สำหรบั ผู้บรหิ าร / เจาะลึกบัญชี (ผูน้ ิเทศเขยี นรายงานใน ตก. ทัง้ 2 ขอ้ ) บรหิ ารเพ่ือการวางแผนและ ตัดสนิ ใจ / การเสรมิ สรา้ ง บทบาทและความเป็นมอื อาชีพ ดา้ นการบริหารการเงนิ การ บัญชสี ำหรบั องค์กร / การ บรหิ ารความเสย่ี งและกลยทุ ธ์ ทางการเงนิ หนว่ ยงานทจ่ี ดั อบรม เชน่ สภาวชิ าชีพบัญชฯี / มหาวิทยาลยั เป้าหมายของมาตรการที่ 4 มาตรการที่ 4: สรา้ ง 4.1 สนับสนุนการกระจาย เขตบริหาร 4.1 เขตสขุ ภาพบรหิ ารจัดการด้านการเงนิ การ ประสิทธภิ าพการบรหิ าร อำนาจใหเ้ ขตสุขภาพบริหาร จดั การดา้ น จดั การดา้ นการเงนิ การคลัง การเงินการคลัง คลงั และปรับเกลย่ี ภายในเขตสุขภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
125 เปา้ หมาย มาตรการท่ี แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธ์ท่ี ดำเนินงาน ต้องการ ค่าเป้าหมาย : เขตมนี วตั กรรมเกยี่ วกับการ ในพน้ื ที่ บริหารจดั สรรเงิน ยกตัวอยา่ งเช่น อย่างมี จดั การ (Division of ประสิทธภิ าพ - จัดสรร UC stepladder regional health) - ปรับค่า K - เงนิ ปรบั เกลีย่ CF - การยกหนี้ระหวา่ งโรงพยาบาล 1. หนว่ ยบรกิ ารที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงนิ (ต่อ) - ระดับ 7 ไม่เกนิ ร้อยละ 2 - ระดับ 6 ไมเ่ กนิ ร้อยละ 4 4.2 เขตมีระบบเก่ียวกับสารสนเทศด้าน มาตรการ 5: 4.2 พฒั นานวัตกรรมการเงนิ หน่วยบริการมี การเงนิ การคลัง ติดตาม กำกบั เครื่องมอื การคลังของหน่วยบริการใน ประสิทธภิ าพ (ผ้นู ิเทศเขยี นรายงานใน ตก. ทั้ง 2 ข้อ) ประสทิ ธภิ าพทางการเงิน จดั การดา้ นประสิทธิภาพโดย นำ ทางการเงนิ การ (Efficiency) ระบบสารสนเทศมาใช้ คลงั เป้าหมายของมาตรการที่ 5 5.1 หนว่ ยบริการทผี่ ่านเกณฑ์ประเมิน 5.1 การควบคมุ กำกับ โดย ประสิทธภิ าพหนว่ ยบรกิ าร (Total เกณฑป์ ระเมนิ ประสทิ ธิภาพ Performance Score : TPS) > 10.5 คะแนน หนว่ ยบริการ (Total ( A = ดีมาก, B = ดี) Performance Score : TPS) (คะแนนเตม็ 15 คะแนน) ค่าเปา้ หมาย : ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 40 ผลงานปี 2564 ไตรมาส 3 ร้อยละ 37 Grade คะแนน A ดมี าก > 12 คะแนน B ดี > 10.5 คะแนน แต่ < 12 คะแนน C พอใช้ > 9 คะแนน แต่ < 10.5 คะแนน D ตอ้ ง > 7.5 คะแนน แต่ < 9 คะแนน ปรบั ปรงุ F ไม่ผา่ น < 7.5 คะแนน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
126 เปา้ หมาย มาตรการที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธท์ ี่ ดำเนินงาน ต้องการ ในพื้นที่ * ข้อมลู สำหรบั การตรวจราชการสามารถดาวน์โหลดได้ที่ www. hfo64.cfo.in.th 2. หน่วยบรกิ ารที่มศี นู ยจ์ ดั เก็บรายได้คณุ ภาพ (36 ขอ้ เทา่ กบั 36 คะแนน ) 2.1 มโี ครงสร้างศูนยจ์ ดั เก็บรายได้ 1) มคี ำสั่งแตง่ ตงั้ ประเดน็ ประเมิน ขอ้ 1 จัดต้ัง ศูนย์จดั เกบ็ (Structure) คณะกรรมการศูนย์ จัดเกบ็ รายได้คณุ ภาพ ศนู ยจ์ ัดเกบ็ รายได้ รายได้ ของหนว่ ยงาน 1) คำสั่งแตง่ ต้งั คณะกรรมการ (Structure) จดั เกบ็ รายได้คุณภาพ มีระบบงาน มอี งค์ประกอบ ของคณะทำงาน คุณภาพตาม อย่างนอ้ ย 3 องค์ประกอบ โครงสรา้ งท่ี โดยทำหน้าที่ กำหนดไว้ 1. ตรวจสอบเวชระเบียนทุก สิทธิการรักษา 2. เรยี กเก็บคา่ รักษาพยาบาล ทกุ สทิ ธิการรักษา 3. ติดตามลกู หนที้ ุกสทิ ธกิ าร รกั ษา *สิทธิการรักษาอย่างน้อย 8 สิทธิ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สิทธิประกันสุขภาพถ้วน หนา้ (UC) 2. เบิกจ่ายตรงข้าราชการ (CSMBS) 3. สทิ ธประกนั สงั คม (SSS) 4. สทิ ธิพนกั งานทอ้ งถ่นิ (Local Government Officers : LGO) 5. สทิ ธิประกนั สขุ ภาพตา่ งด้าว (FSS) 6. ผู้มีปญั หาสถานะและสทิ ธิ (Stateless) 7. สิทธชิ ำระเงินเอง (Out of Pocket) 8. สิทธิผู้ประสบภัยจากรถ (พรบ.) 2) มีคำส่ัง/มอบหมาย 2 ) คำสั่ง/มอบหมายหนา้ ที่ หนา้ ทีผ่ ู้รบั ผิดชอบศนู ย์ ผูร้ ับผดิ ชอบ จดั เก็บรายได้ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
127 เปา้ หมาย มาตรการที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ท่ี ดำเนนิ งาน ต้องการ ในพืน้ ท่ี 3) มี Flow chart ระบบ 3) แผนผงั การปฏิบตั งิ านระบบ จัดเกบ็ รายไดค้ ุณภาพ จดั เก็บรายไดค้ ุณภาพ (Flow chart) ประกอบกนั อย่างน้อย 2. หนว่ ยบริการท่ีมีศนู ยจ์ ดั เก็บรายไดค้ ณุ ภาพ (ต่อ) 5 ขั้นตอน 2.2 ระบบงานศูนยจ์ ดั เกบ็ ในการเรยี กเก็บทุก 4) คณะกรรมการจดั เก็บ 3.1) ขัน้ ตอนการ มรี ะบบการเรยี ก กองทุน (System) รายได้ทำการประชุม ประมวลผลผรู้ บั บรกิ าร เก็บทกุ กองทนุ ที่ วิเคราะหร์ ายได้คา่ รกั ษา ของผู้ป่วยในและผปู้ ว่ ย มปี ระสทิ ธิภาพ พยาบาลทกุ สทิ ธิ เพอื่ นอก ในแต่ละสิทธิ เสนอผลการดำเนินงาน ใหผ้ ้บู ริหารทราบ 3.2) การบันทกึ ลกู หนีจ้ าก ๑) มีการปฏบิ ตั ิงานตาม ใบเสร็จคา่ ใชจ้ ่ายของ Flow chart ผ้รู บั บริการของผปู้ ่วย ในและผู้ปว่ ยนอก ใน ๒) การบันทกึ ข้อมูล แต่ละสทิ ธิ ผปู้ ว่ ยนอกและผปู้ ว่ ยใน จำแนกตามรายสิทธิ 3.3) มกี ารส่งขอ้ มลู ท่ีไดร้ ับ การบนั ทึกเพอ่ื เบิกจ่าย (Claim) 3.4) ตรวจสอบผลการ เบกิ จ่าย (Claim) 3.5) มกี ารบนั ทึกลกู หนีท้ ่ี เปน็ ปัจจบุ ัน 4) รายงานการประชมุ ท่ี เกี่ยวขอ้ งกับรายไดค้ า่ รักษา พยาบาลทกุ สทิ ธิ อยา่ งน้อย ปลี ะ 2 ครง้ั ๑) มีการปฏบิ ัตงิ านตาม Flow chart ครบถว้ น และเป็น ปจั จบุ ัน 2) มีการปฏิบัตงิ านตามผัง ระบบ จดั เก็บรายได้คณุ ภาพ (Flow chart) ประกอบกัน อย่างนอ้ ย 5 ข้นั ตอน 2.1) ขน้ั ตอนการ ประมวลผล ผู้รบั บริการของผู้ป่วย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
128 เปา้ หมาย มาตรการท่ี แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ท่ี ดำเนนิ งาน ต้องการ ในพืน้ ที่ ในและผปู้ ่วยนอก ใน 2. หน่วยบรกิ ารที่มศี นู ยจ์ ดั เก็บรายไดค้ ุณภาพ (ตอ่ ) แตล่ ะสิทธิ 2.2) การบันทกึ ลกู หน้จี าก ใบเสรจ็ คา่ ใช้จา่ ยของ ผรู้ บั บรกิ ารของผปู้ ว่ ย ในและผปู้ ่วยนอก ใน แตล่ ะสทิ ธิ 2.3) มีการส่งข้อมลู ท่ีไดร้ ับ การบนั ทึกเพ่อื เบกิ จา่ ย (Claim) 2.4) ตรวจสอบผลการ Claim 2.5) มกี ารบันทกึ ลกู หนีท้ ี่ เปน็ ปจั จบุ ัน *ครบถ้วนและเป็นปัจจบุ นั 3) มกี ารใช้ Software 3) มีการบันทกึ ข้อมูลเวช ในการจัดเกบ็ รายได้ ระเบยี น และรายละเอยี ด ค่าใชจ้ า่ ย ใน Software (สามารถระบชุ ่อื Software ทใี่ ช)้ 2.3 มรี ะบบบคุ ลากรในศนู ยจ์ ัดเกบ็ รายได้ 4) มปี ระสิทธิภาพในการ 4) เกณฑป์ ระสิทธภิ าพทาง บุคลากร (Staff & skill) มจี ำนวน และ ทกั ษะ เรียกเกบ็ ทุกกองทนุ การเงนิ (7 plus efficiency) มี มีจำนวน ความสามารถของบคุ ลากรเหมาะสม ประสิทธภิ าพในการเรยี กเก็บ เพียงพอและมี ตามระดับของ รพช. รพท. รพศ. 1) มีรายชือ่ ตาม Flow ทกุ กองทุน ขวญั กำลงั ใจ chart ของกระบวนงาน ในปฏบิ ตั ิงาน เรยี กเกบ็ รายไดผ้ ู้ปว่ ย 4.1 UC < 60 วัน นอกและผู้ป่วยใน ทุก 4.2 ขรก < 60 วนั สทิ ธิ 4.3 ปกส. < 120 วัน * ผลงาน 7 plus efficiency ไตรมาสทผี่ ่านมา (รอบ 1 Q4/64) 1) ระบผุ รู้ ับผดิ ชอบตามแผนผงั การปฏิบตั งิ าน (Flow chart) ของกระบวนงานเรียกเกบ็ รายได้ผปู้ ่วยนอกและผ้ปู ว่ ยใน ทุกสิทธิ ครบถว้ น อย่างน้อย ตาม 5 ขน้ั ตอนทีก่ ำหนด แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
เปา้ หมาย 129 แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลพั ธท์ ี่ ต้องการ มาตรการท่ี ดำเนนิ งาน ในพ้ืนท่ี 2) มีบคุ ลากรที่ 2) มบี คุ ลากรท่ีรับผิดชอบศนู ย์ รับผดิ ชอบศูนยจ์ ัดเก็บ จัดเก็บรายได้ ตาม Flowchart รายได้ ตามFlowchart (โปรดระบุจำนวนบุคลากร) ไม่น้อยกว่า 5 คน ใน รพช. 10 คน ใน รพท. และ 15 คน ใน รพศ. 2. หน่วยบรกิ ารท่ีมศี นู ย์จัดเก็บรายไดค้ ณุ ภาพ (ต่อ) 3) บคุ ลากรท่ปี ฏิบตั ิ 3) บุคลากรทีป่ ฏิบัตหิ นา้ ทศ่ี ูนย์ หน้าที่ศนู ยจ์ ัดเก็บรายได้ จดั เกบ็ รายได้ ไดร้ บั คา่ ตอบแทน ได้รบั ค่าตอบแทนตาม ตามสิทธิ (ได้แก่ ค่าตอบแทน สทิ ธิ ฉ.11/12 และ พตส.) 4) บคุ ลากรทป่ี ฏบิ ัติ 4) บุคลากรไดร้ ับการอบรมหรือ หน้าที่ศนู ยจ์ ัดเกบ็ รายได้ พัฒนาศกั ยภาพ อย่างนอ้ ย 1 ไดร้ ับการอบรมหรอื คน 1 คร้งั ต่อปี พฒั นาศักยภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
130 เปา้ หมาย มาตรการท่ี แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลพั ธท์ ่ี ดำเนนิ งาน ต้องการ 2.4 มีการบนั ทกึ ขอ้ มลู กจิ กรรมการรักษา ในพืน้ ที่ 1) มคี ำส่ังมอบหมายงานหรือ ครบถ้วน (Care) คณะทำงานเรียกเกบ็ ทุกกองทุน มกี ารบันทกึ 1) มีคำส่งั มอบหมาย ยอ่ ย ในโรงพยาบาล ข้อมูลกิจกรรม หนา้ ที่ผ้รู ับผดิ ชอบ การรักษา กองทุนย่อย ในการ 2) มกี ารบันทึกข้อมลู เวช ครบถ้วน และ บนั ทึกขอ้ มูลการ ระเบียนและรายละเอียด เป็นปจั จุบนั ใน รักษาพยาบาล ค่าใชจ้ ่าย ของผปู้ ว่ ยนอก แยก ระบบศนู ย์ รายกองทนุ ยอ่ ย จัดเก็บรายได้ 2) ผู้ป่วยนอก มกี าร คุณภาพ บันทกึ ขอ้ มลู การรกั ษาใน ผรู้ บั บริการ เฉพาะ กองทุนครบถว้ น 3) ผู้ป่วยใน มีการบนั ทึก 3) มีการบนั ทกึ ขอ้ มลู เวช ขอ้ มูลการรกั ษาใน ระเบยี นและรายละเอยี ด ผ้รู บั บริการ เฉพาะ ค่าใชจ้ า่ ย ของผปู้ ว่ ยใน แยก กองทนุ ครบถว้ น รายกองทนุ ย่อย 4) การส่งข้อมลู การ 4) ส่งข้อมูลเวชระเบยี นและ รักษา รายละเอยี ดค่าใชจ้ า่ ย ให้ หนว่ ยงานทบี่ ันทึกบัญชี กอ่ น เพอ่ื บันทกึ บญั ชกี ่อนวนั ที่ วันที่ 10 ของเดอื นถัดไป 10 ของเดือนถัดไป 2.5 มกี ารบันทึกรหสั การรกั ษาพยาบาล ๑) มคี ำส่ัง/มอบหมาย 1) มคี ำสงั่ คณะทำงาน มกี ารบันทกึ รหสั ครบถว้ น และถูกตอ้ ง (Code) หน้าทีผ่ ้รู ับผดิ ชอบในการ ตรวจสอบเวชระเบยี น ผปู้ ่วย การรักษา ใหร้ หัสการรกั ษาพยาบาล นอกและผูป้ ว่ ยใน พยาบาล ครบถ้วน และ ๒) มกี ารตรวจสอบ 2) มีผลการตรวจสอบการ เปน็ ปัจจุบนั (Audit) การบนั ทกึ ขอ้ มลู บนั ทกึ ขอ้ มูลผ้ปู ่วยนอก และ ในระบบศูนย์ ผปู้ ่วยนอก และผู้ป่วยใน ผู้ปว่ ยใน จดั เกบ็ รายได้ คุณภาพ 2. หน่วยบรกิ ารที่มีศนู ย์จดั เก็บรายได้คุณภาพ (ต่อ) 3) มีการบนั ทกึ รหัส การ 3) มีการบนั ทึกรหัส การรักษา รักษาพยาบาลผู้ป่วยใน พยาบาลผูป้ ่วยใน ภายใน ภายใน 30 วัน 30 วนั 4) บุคลากรที่ปฏิบตั ิ 4) บุคลากรท่ปี ฏิบตั หิ นา้ ท่ี หน้าท่บี นั ทึกรหสั บนั ทึกรหสั การรักษาพยาบาล การรักษาพยาบาลได้รบั ได้รบั การอบรมหรือพฒั นา การอบรมหรอื พัฒนา แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
131 เป้าหมาย มาตรการท่ี แนวทางการตรวจ ตดิ ตาม ผลลพั ธท์ ี่ ดำเนินงาน ต้องการ 2.6 ระบบเบกิ จ่าย (Claim) ของแตล่ ะกองทุน ในพืน้ ที่ ศักยภาพ อยา่ งน้อย 1 คน ต่อ ศกั ยภาพ อยา่ งน้อย 1 คน ต่อ 1 ครง้ั ต่อ 1 ปี 1 ครั้ง ต่อ 1 ปี 1) มรี ายช่อื บคุ ลากรใน Flow chart ของการ 1) มีการปฏบิ ตั งิ านตาม Flow มกี ารเบกิ จา่ ยท่มี ี เบิกจา่ ย (Claim) ในทุก กองทุนยอ่ ย chart ของการเบกิ จ่าย (Claim) ประสิทธภิ าพ ใน 2) การบริหารจดั การ ในทกุ กองทนุ ย่อย ระบบศนู ย์ ข้อมลู ตดิ C ของกองทนุ สปสช. จดั เก็บรายได้ คุณภาพ 2) มกี ารทบทวนและแก้ไข ขอ้ มูลตดิ C ให้ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปจั จุบนั 3) การบรหิ ารจดั การ 3) มีการทบทวนและแกไ้ ข ขอ้ มลู ตดิ Deny ของ ขอ้ มูลติด Deny ให้ครบถ้วน กองทนุ สปสช. ถูกตอ้ งและเปน็ ปจั จบุ นั 4) ไมไ่ ดร้ บั การหกั 5 % 4) ไมไ่ ด้รบั การหัก 5 % เนอ่ื งจากสง่ เบิกจา่ ยลา่ ช้า เนอื่ งจากส่งเบกิ จ่ายลา่ ช้า ใน ทกุ กองทุน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
132 การสุ่มประเมนิ หนว่ ยบริการทีม่ ศี ูนย์จัดเกบ็ รายไดค้ ณุ ภาพ ในสทิ ธเิ บิกจา่ ยตรงกรมบัญชีกลาง (On Site Survey) หนว่ ยบริการท่ีมีศนู ยจ์ ัดเกบ็ รายได้คณุ ภาพในสทิ ธเิ บิกจา่ ยตรงกรมบัญชีกลาง (14 ข้อ เทา่ กบั 14 คะแนน ) 1. มีโครงสรา้ งศนู ย์จดั เกบ็ รายได้ 1) มีคำสง่ั แต่งตงั้ สทิ ธิเบกิ จา่ ยตรงขา้ ราชการ ศนู ย์จัดเกบ็ (Structure) รายได้ คณะกรรมการศูนย์จดั เกบ็ (CSMBS) (Structure) มีระบบงาน รายได้คณุ ภาพของ 1) ผลการปฏิบตั งิ านตามคำส่งั คณุ ภาพตาม โครงสรา้ งที่ หนว่ ยงาน แตง่ ต้งั คณะกรรมการจดั เกบ็ กำหนดไว้ รายได้คณุ ภาพ มีองคป์ ระกอบ ของคณะทำงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. มีผลการตรวจสอบความ ถกู ต้องของการใหส้ ิทธิ 2. มีผลการตรวจสอบคณุ ภาพ ข้อมลู ก่อนการเรียกเกบ็ คา่ รักษาพยาบาล 3. มผี ลรวมของลูกหนส้ี ทุ ธิ ในทุกเดอื น 2. ระบบงานศนู ย์จัดเก็บในการเรยี กเกบ็ ทุก ๑) มีการปฏบิ ัติงานตาม มีการปฏบิ ตั งิ านตามผงั 5 มรี ะบบการเรยี ก ข้ันตอนดงั ตอ่ ไปน้ี เก็บทกุ กองทุนที่ กองทนุ (System) Flow chart 1) มผี ลการตรวจสอบและการ มีประสิทธภิ าพ ยืนยันการเสร็จสนิ้ กระบวนการ รักษาพยาบาล (ปิด Visit) ของ ผปู้ ่วยนอก ๒) การบันทึกข้อมลู ผ้ปู ่วย 2) มีการบันทึกลูกหนผ้ี ู้ปว่ ยนอก นอกและผปู้ ว่ ยในจำแนก ในใบเสรจ็ คา่ ใช้จา่ ยของ ตามรายสิทธิ ผู้รบั บรกิ ารของผู้ปว่ ยใน ครบถว้ น ๓) มีผลการบันทึกสว่ นตา่ งของ ค่ารกั ษาพยาบาลผ้ปู ่วยนอก ๔) มีผลการบันทกึ ส่วนตา่ งของ ค่ารักษาพยาบาลผปู้ ่วยใน *ครบถ้วนและเปน็ ปัจจบุ ัน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
133 2. หน่วยบริการที่มศี ูนยจ์ ดั เกบ็ รายไดค้ ุณภาพ (ตอ่ ) 3. มีการบันทึกขอ้ มลู กิจกรรมการรกั ษา 1) มีคำสัง่ มอบหมาย 1) มคี ำส่ังมอบหมายงานหรือ มกี ารบันทกึ ครบถว้ น (Care) หนา้ ทผี่ ู้รับผิดชอบกองทนุ คณะทำงานการตรวจสุขภาพ ใน ข้อมลู กิจกรรม ยอ่ ย ในการ กลุม่ ข้าราชการภายในพน้ื ท่ี การรักษา บนั ทกึ ขอ้ มลู การ ครบถว้ น และ รกั ษาพยาบาล 2) มกี ารบันทึกข้อมลู เวช เป็นปัจจุบัน ใน ระเบยี นและรายละเอยี ด ระบบศูนย์ 2) ผูป้ ่วยนอก มีการ ค่าใช้จ่าย ในระบบผ้ปู ่วยนอก จดั เก็บรายได้ บันทึกขอ้ มลู การรักษาใน คณุ ภาพ ผรู้ ับบริการ เฉพาะกองทนุ ครบถ้วน 3) ผ้ปู ่วยใน มีการบันทึก 3) มกี ารบนั ทกึ คา่ หอ้ งพิเศษ ข้อมูลการรักษาใน ของผูป้ ว่ ยใน ครบถ้วนถูกตอ้ ง ผู้รบั บรกิ าร เฉพาะกองทุน ตามประเภทของห้องพิเศษท่ี ครบถว้ น โรงพยาบาลกำหนด 4) การสง่ ข้อมลู การรกั ษา 4) สง่ ขอ้ มูลเวชระเบยี นและ เพ่อื บันทกึ บญั ชกี อ่ นวนั ที่ รายละเอยี ดคา่ ใช้จา่ ย ให้ 10 ของเดอื นถดั ไป หนว่ ยงานทีบ่ ันทึกบญั ชี กอ่ น วันที่ 10 ของเดือนถัดไป ๔. มกี ารบันทึกรหสั การรกั ษาพยาบาล ๑) มีการตรวจสอบ 1) มีผลการตรวจสอบเวชของ มีการบันทกึ รหสั ครบถ้วน และถกู ต้อง (Code) การรกั ษา (Audit) การบันทึกขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยใน พยาบาล ครบถ้วน และ ผู้ป่วยนอก และผ้ปู ว่ ยใน เป็นปัจจุบนั ในระบบศนู ย์ ๒) มีการบันทึกรหัส การ 2) มีการส่งเรยี กเกบ็ ภายใน 30 จัดเกบ็ รายได้ คณุ ภาพ รักษาพยาบาลผู้ป่วยใน วันหลงั จากจำหนา่ ยผปู้ ่วยใน ภายใน 30 วัน ๕. ระบบเบกิ จา่ ย (Claim) ของแตล่ ะกองทนุ 1) มกี ารทบทวนและแก้ไขข้อมลู มีการเบิกจา่ ยท่มี ี ทไี่ ม่ผา่ นการอนุมัตกิ ารเบกิ จ่าย ประสทิ ธภิ าพ ภายใน 5 วันทำการ ในระบบศูนย์ จัดเก็บรายได้ คณุ ภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
134 เกณฑ์การประเมนิ ศูนยจ์ ดั เก็บ เกณฑ์การประเมนิ ศนู ย์จดั เก็บรายได้คุณภาพ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน แบง่ เป็น 5 ระดบั ดงั น้ี GRADE ระดับ ช่วงคะแนน A ดีมาก 91 – 100 B ดี 81 – 90 C ปานกลาง 61 – 80 D พอใช้ 51 - 60 F ปรับปรุง น้อยกวา่ 50 คะแนน Small Success 3 เดอื น 6 เดอื น 9 เดอื น 12 เดอื น 1. หนว่ ยบรกิ ารท่ีประสบภาวะวิกฤตทางการเงนิ ร้อยละของหน่วยบริการ รอ้ ยละของหน่วยบรกิ าร รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ าร รอ้ ยละของหน่วยบริการ ประสบภาวะวิกฤตทาง ประสบภาวะวกิ ฤตทาง ประสบภาวะวกิ ฤตทาง ประสบภาวะวิกฤตทาง การเงนิ การเงิน การเงนิ การเงนิ ระดับ 7 ร้อยละ 1 ระดับ 7 รอ้ ยละ 2 ระดับ 7 รอ้ ยละ 0 ระดบั 7 ร้อยละ 0 ระดับ 6 รอ้ ยละ 2 ระดับ 6 ร้อยละ 4 ระดับ 6 ร้อยละ 0 ระดับ 6 รอ้ ยละ 0 2. หนว่ ยบรกิ ารที่มศี ูนยจ์ ดั เก็บรายได้คณุ ภาพ 3 เดือน 6 เดอื น 9 เดอื น 12 เดือน ตรวจราชการรอบที่ 1 ตรวจราชการรอบที่ 2 หน่วยบรกิ ารที่มศี ูนย์จัดเก็บรายไดค้ ุณภาพ หน่วยบรกิ ารท่มี ศี นู ย์จดั เก็บรายได้คุณภาพ ระดับดแี ละดีมาก รอ้ ยละ 75 ระดบั ดีและดมี าก รอ้ ยละ 90 ขึ้นไป ตวั ชีว้ ดั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 1. รอ้ ยละของหน่วยบริการประสบภาวะวกิ ฤตทางการเงนิ ระดบั 7 ไมเ่ กนิ ร้อยละ 2 2. รอ้ ยละของหนว่ ยบริการประสบภาวะวกิ ฤตทางการเงนิ ระดบั 6 ไมเ่ กินร้อยละ 4 3. หนว่ ยบรกิ ารท่มี ศี ูนยจ์ ัดเก็บรายไดค้ ุณภาพ ระดับดแี ละดมี าก รอ้ ยละ 90 ขึ้นไป กลมุ่ เป้าหมาย หนว่ ยบรกิ ารในสังกดั สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ สตู รคำนวณตัวชี้วดั จำนวนหน่วยบรกิ ารสังกดั สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ท่ีประสบภาวะวิกฤติทางการเงนิ x 100 จำนวนหน่วยบรกิ ารสงั กดั สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ทั้งหมด (หน่วยบรกิ ารทจ่ี ัดส่งรายงานงบทดลอง) แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
135 หนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ: กองเศรษฐกิจสขุ ภาพและหลักประกนั สุขภาพ สำนักงานปลดั กระทรวง สาธารณสขุ ผปู้ ระสานงานตวั ช้ีวดั ตำแหน่ง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์/ ประเด็นที่ ชื่อ-สกุล e-mail address รับผดิ ชอบ ผอู้ ำนวยการกอง 02-590-1553 ประเด็นท่ี 6 : 1. นายสรุ วทิ ย์ ศกั ดานภุ าพ เศรษฐกิจสขุ ภาพและ 081-315-1599 ระบบ 2. นายชุมพล นุชผอ่ ง หลักประกันสขุ ภาพ [email protected] ธรรมาภบิ าล นายแพทยช์ ำนาญการ 084-578-5577 3. นางสาวปยิ าภรณ์ ย้ิมศริ ิวฒั นะ พิเศษ 02-590-1556 หวั ขอ้ กองเศรษฐกิจสุขภาพและ [email protected] การบรหิ าร 4. นางณัฐญาภรณ์ เพชรถริ สวัสด์ิ หลกั ประกันสขุ ภาพ จัดการดา้ น นักวิชาการเงินและบัญชี 086-415-2482 การเงนิ การ ชำนาญการพิเศษ 02-590-1797 คลังสขุ ภาพ กองเศรษฐกิจสขุ ภาพและ [email protected] หลกั ประกนั สุขภาพ นกั วิชาการสาธารณสขุ 085-614-3694 ชำนาญการ 02-590-1557 กองเศรษฐกิจสขุ ภาพและ [email protected] หลักประกันสขุ ภาพ ผู้รบั ผิดชอบการรายงานผลการดำเนนิ งาน ชื่อ-สกลุ ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศัพท/์ ประเดน็ ท่ี e-mail address รบั ผดิ ชอบ 1. นางสาวปิยาภรณ์ ย้ิมศริ ิวฒั นะ นักวิชาการเงนิ และบัญชี ชำนาญการพิเศษ 086-415-2482 ประเด็นท่ี 6 : กองเศรษฐกิจสุขภาพและ 02-590-1797 ระบบธรรมา หลกั ประกันสุขภาพ [email protected] ภบิ าล 2. นางณฐั ญาภรณ์ เพชรถริ สวสั ดิ์ นักวิชาการสาธารณสขุ 085-614-3694 หวั ขอ้ ชำนาญการ กองเศรษฐกจิ สขุ ภาพและ 02-590-1557 การบรหิ าร หลกั ประกันสขุ ภาพ [email protected] จัดการดา้ น การเงินการ คลังสขุ ภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
136 แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (Inspection Guideline) ประเดน็ ที่ 6 : Good Governance หวั ข้อ 6.3 การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นศนู ย์ขอ้ มูลกลางดา้ นสุขภาพของประชาชน ตัวช้วี ดั : (ตวั ชีว้ ัดภายใต้ประเด็น/หวั ข้อ) ร้อยละของจังหวัดท่ีมกี ารใช้บริการศนู ยข์ ้อมลู กลางดา้ นสขุ ภาพของประชาชน คำนยิ าม ศูนย์ข้อมูลกลางด้านสุขภาพของประชาชน หมายถึง แหล่งข้อมูลด้านสุขภาพท่ีบริหารจัดการจาก ศูนย์กลางให้มีมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ และมีความพร้อมใช้ให้บริการแก่เจ้าของข้อมูลในรูปแบบของ PHR (Personal Health Record) และความรู้สุขภาพเฉพาะบุคคล (Personal Health Literacy) และพร้อม ให้บริการข้อมูลแก่หน่วยงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาชีวิตและสุขภาพของเจ้าของ ข้อมูล และเพอ่ื ประโยชนแ์ กว่ งการสขุ ภาพและสาธารณสขุ ของประเทศไทย การใช้บริการศนู ย์ข้อมูลกลางด้านสขุ ภาพของประชาชน หมายถงึ โรงพยาบาลเชื่อมโยงข้อมลู ตามชดุ ขอ้ มลู ท่ีกำหนด ระหวา่ งกันได้สำเรจ็ ผา่ น HIS Gateway และจงั หวดั มีมาตรการในการกำกบั ดูแลด้านธรรมาภิ บาล มกี ารแตง่ ตั้งคณะทำงานธรรมาภิบาลดา้ นขอ้ มูลและเทคโนโลยสี ุขภาพ โรงพยาบาล หมายถึง โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ สงั กดั กรมการแพทย์ สังกัดกรมสุขภาพจิต สังกดั กรมควบคุมโรค คณะทำงานธรรมาภิบาลด้านข้อมูลและเทคโนโลยีสุขภาพ ประกอบด้วย ผู้แทนจากสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลชมุ ชน โดยมี หน้าท่ีในการกำหนดนโยบาย กำกับติดตาม ด้านความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ (Cyber Security) การคุ้มครอง ขอ้ มลู สว่ นบุคคล (PDPA) การใชป้ ระโยชน์ขอ้ มูลสขุ ภาพสว่ นบุคคลภายใต้กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ ง การรับสง่ ข้อมูล ตามมาตรฐานท่ีตกลงรว่ มกัน และการนำขอ้ มูลสุขภาพไปใชป้ ระโยชน์ในการให้บริการแก่ประชาชนในรูปแบบ ต่างๆ ประเด็นการตรวจราชการทมี่ ุ่งเน้น เปา้ หมาย มาตรการทดี่ ำเนนิ งาน แนวทางการตรวจ ผลลพั ธ์ทตี่ ้องการ ตดิ ตาม ในพืน้ ท่ี ประเดน็ การตรวจราชการทีม่ ุ่งเนน้ รอบ 1 ทกุ จังหวัด แต่งตัง้ คณะทำงานธรรมา- สง่ ข้อมลู ให้ ศทส.สป. ทุกจังหวดั มกี ารประชมุ ภบิ าลดา้ นขอ้ มูลและ กำกบั ติดตามการดำเนินงาน เทคโนโลยีสุขภาพในระดับ ดา้ นธรรมาภิบาลอยา่ ง จังหวดั สม่ำเสมอ โรงพยาบาลทุกแหง่ เชญิ ชวนให้โรงพยาบาลทกุ ดูผลลพั ธก์ ารเขา้ รว่ ม รพ.ทกุ แห่งทัว่ ประเทศ เขา้ แหง่ เข้ารว่ มอบรมการติดตงั้ อบรม และ รว่ มอบรม ใช้งาน HIS Gateway รุ่น ผลทดสอบ ปจั จบุ ัน หน่วยงานทกุ แหง่ กำกบั ตดิ ตามให้หน่วยงาน ศทส.สป. สรุปผลการ มสี ถานะความพร้อมด้านไซ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
137 เปา้ หมาย มาตรการทดี่ ำเนินงาน แนวทางการตรวจ ผลลพั ธท์ ่ตี ้องการ ในพ้ืนท่ี ตดิ ตาม เบอรใ์ นภาพรวม สธ. ตอบแบบสอบถามสถานะ ตอบ ความพร้อมด้านไซเบอร์ ออนไลน์ ประเดน็ การตรวจราชการทม่ี ุ่งเน้น รอบ 2 ศทส. ดู Log การใช้ รพ. อน่ื ๆ ที่ ประชาชน HIS Gateway จาก เจ้าของข้อมลู เข้ารบั บริการ โรงพยาบาลทกุ แห่ง กำกบั ตดิ ตามใหโ้ รงพยาบาล Server เรยี กใชข้ อ้ มลู ของ ทุกแห่งติดตงั้ HIS Gateway ผู้รบั บริการรายนั้นจาก และใช้ประโยชนอ์ ย่าง โรงพยาบาลอนื่ ไดอ้ ย่างมี สมำ่ เสมอเพื่อคณุ ภาพของ คุณภาพ ขอ้ มลู ที่ประชาชนจะได้รับ Small Success 6 เดือน 9 เดือน 12 เดอื น - 3 เดือน รพ. ที่ตดิ ตั้ง HIS Gateway และมผี ล รพ. ทต่ี ดิ ต้ัง HIS Gateway และมี การเชื่อมโยงขอ้ มลู สำเร็จ มจี ำนวนไม่ ผลการเชอ่ื มโยงข้อมลู สำเร็จ มี ทุกจังหวดั มีการแตง่ ตงั้ นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 20 ของจำนวน รพ. จำนวนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 คณะทำงานธรรมาภบิ าล ท้ังจงั หวัด ของจำนวน รพ. ทั้งจังหวัด ดา้ นขอ้ มูลและเทคโนโลยี สขุ ภาพ สตู รคำนวณตัวชว้ี ดั (กรณวี ัดเชิงปริมาณ) ร้อยละของจงั หวดั ที่มกี ารใช้บรกิ ารศนู ย์ = รพ. ทต่ี ิดต้ัง HIS Gateway และมผี ลการเช่อื มโยงข้อมูลสำเร็จ ข้อมูลกลางด้านสขุ ภาพของประชาชน จำนวน รพ. สังกดั สธ. ทงั้ จังหวดั หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนกั /กอง ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผูป้ ระสานงานตัวชี้วดั ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/หนว่ ยงาน หมายเลขโทรศพั ท/์ e-mail address ประเด็นทีร่ ับผดิ ชอบ นางสาวณัฐกลุ ชูสิทธิ์ นักวิชาการคอมพวิ เตอร์ Tel 025902185 ตอ่ 416-418 HIS Gateway Mobile 0830677279 ปฏบิ ตั ิการ e-mail : [email protected] ประเดน็ ท่ีรบั ผดิ ชอบ HIS Gateway ศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและ หมายเลขโทรศัพท์/e-mail address Tel 025901208 การส่อื สาร Mobile 0870276663 e-mail : [email protected] ผ้รู ับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน ชอื่ -สกลุ ตำแหนง่ /หน่วยงาน นางรุ่งนภิ า อมาตยคง นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ ชำนาญการ ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
กรอบแนวทางการตรวจราชการ แบบบรู ณาการรว่ มกับสำนกั นายกรัฐมนตรี - ประเด็นท่ี 1 โครงการแก้ไขปญั หามลพษิ ทางอากาศ - ประเด็นที่ 2 โครงการพฒั นาเมืองสมุนไพร - ประเด็นท่ี 3 โครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต กลมุ่ เปราะบางรายครวั เรือน - ประเด็นที่ 4 จดั การส่งิ แวดล้อมสีเขยี วเพอื่ ความยั่งยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชวี ภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model) - ประเดน็ ที่ 5 การลดอบุ ตั เิ หตทุ างถนน - ประเด็นที่ 6 โครงการสัตว์ปลอดโรคคนปลอดภยั จากโรค พิษสนุ ัขบา้ ตามพระปณธิ านของ ศ.ดร.สมเดจ็ เจา้ ฟ้าฯ กรม พระศรสี วางควัฒนวรขตั ติยราชนารี จัดทำโดย คณะกรรมการกำหนดประเด็นและตดิ ตามผลการตรวจราชการ
๑๓๘ แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 การตรวจราชการแบบบรู ณาการรว่ มกบั สำนกั นายกรัฐมนตรี ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจราชการ พ.ศ. 2548 ข้อ 8 วรรคสี่ กำหนดให้ สำนักนายกรัฐมนตรีเชิญหัวหน้าหน่วยงานที่มีแผนการตรวจราชการประจำปี หรือผู้ตรวจราชการที่หัวหน้า หน่วยงานมอบหมายมารว่ มประชุมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำแผนการตรวจราชการประจำปี ให้สอดคล้องโดยไม่ ซ้ำซอ้ นกันและเกดิ การบูรณาการ ตลอดท้ังการกำหนดมาตรฐานและเครื่องมอื ในการตรวจตดิ ตามของ ผ้ตู รวจ ราชการให้เป็นแนวทางเดียวกัน สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ อีกทั้งยังเป็นกลไกสำคัญที่สามารถแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ อันเกิดจากการปฏิบัติราชการหรือการจัดทำภารกิจต่างๆ ของภาครัฐ เพ่ือนำมาซึ่ง ประโยชนส์ ุขของประชาชนเปน็ สำคญั สำนักนายกรัฐมนตรีได้กำหนดกรอบแนวทางการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มุ่งเน้นที่ 2 ประเดน็ สำคัญ ดงั น้ี 1. กรอบประเด็นการตรวจราชการแบบบูรณาการของผตู้ รวจราชการ ๑.๑ การขับเคลอ่ื นประเดน็ นโยบายสำคัญของรฐั บาล (Issue) ไดแ้ ก่ ➢การฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ และสงั คมจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID–19) ➢การจัดการส่ิงแวดล้อมสีเขียวเพื่อความย่ังยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกจิ สเี ขียว (BCG Model) ➢การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุม่ เปราะบางรายครวั เรือน ๑.๒ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล เพื่อขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรช์ าตไิ ปสู่การปฏบิ ตั ิ ได้แก่ ➢การเพ่ิมมูลคา่ สนิ คา้ เกษตรแปรรูปและผลิตภณั ฑ์ ➢การเพิม่ ศกั ยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกจิ ฐานราก ๑.๓ การตดิ ตามความคืบหน้าการแก้ไขปญั หาสำคัญในเชิงพน้ื ที่ ได้แก่ ➢การจดั การประมงอยา่ งย่ังยนื ➢การเตรยี มการเพื่อรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพนิเวศของแม่น้ำโขง ➢การพฒั นาเมอื งสมนุ ไพร ➢การแกไ้ ขปญั หามลพิษทางอากาศ ➢การลดอบุ ตั ิเหตุทางถนน ๑.๔ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนหรือข้อร้องเรียนของประชาชน หรอื การผลักดนั การดำเนนิ โครงการ/มาตรการสำคญั ในเชิงพื้นท่ขี องส่วนราชการ ๒. กรอบแนวทางปฏบิ ัตใิ นการตรวจราชการแบบบูรณาการ 1. กรอบประเดน็ การตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการ ประกอบด้วย 1.1 การขับเคลอ่ื นประเดน็ นโยบายสำคัญของรฐั บาล (Issue) จำนวน 3 เรือ่ ง 1.1.1) การฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและสงั คมจากการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID–19) (1) หลกั การและเหตุผล โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ได้เร่ิมตน้ การระบาดในประเทศไทยต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นมา และยังมีการแพร่ระบาดที่รุนแรงและต่อเน่ืองในประเทศไทย ทั้งนี้ รัฐบาลได้ดำเนิน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๓๙ มาตรการต่าง ๆ เพ่ือบรรเทาผลกระทบต่อประชาชนและผู้ประกอบการ จากการแพร่ระบาดของโควิด – 19 รวมท้ังมาตรการสำหรับกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะต่อไปเม่ือสถานการณ์การระบาดคลี่คลายจนอยู่ในระดับท่ี สามารถดำเนินมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจในพนื้ ท่ีต่าง ๆ ของประเทศได้อย่างตอ่ เนอื่ ง รัฐบาลได้จัดทำแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์ โควิด - 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) โดยนำแนวคิด “ล้มแล้วลุกไว” ประกอบด้วย การพร้อมรับ การปรับตัว และการเปล่ียนแปลงเพ่ือพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักคิดใน การพัฒนาประเทศ รวมท้ัง นายกรัฐมนตรีได้มีแถลงการณ์ เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ เร่ืองการเปิดรับ นักท่องเท่ียวเดินทางเข้าประเทศไทยโดยไม่ต้องกักตัว สำหรับผู้ท่ีฉีดวัคซีนครบโดสแล้ว และเดินทางเข้าประเทศ ไทยโดยทางอากาศจากประเทศที่กำหนดวา่ เปน็ ประเทศความเสีย่ งต่ำตัง้ แตว่ ันที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ เป็นตน้ ไป ดังน้ัน จึงเห็นควรที่ผู้ตรวจราชการจะตรวจติดตามการดำเนินการเพ่ือเสริมสร้างศักยภาพ ในการฟ้ืนฟูและขับเคล่ือนประเทศให้สามารถ “ล้มแล้วลุกไว” (Resilience) ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายตามแผน แม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ตลอดจน การเตรียมความพร้อมของจงั หวดั ในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019 หลงั วิกฤตโควิด – 19 และการเตรียมการเพือ่ รองรบั การเปดิ ประเทศ (2) จดุ เนน้ ในการตรวจตดิ ตาม เน้นการตรวจติดตามในภาพรวมของความคืบหน้าการส่งเสริมการจ้างงาน การพัฒนา ทักษะแรงงานและการเรียนรู้ การช่วยเหลือและพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) และการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรคแ์ ละเน้นคณุ ภาพในภาพรวม ตลอดจนการเตรียม ความพร้อมของ จังหวัดในการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 หลงั วิกฤตโควิด – 19 และการเตรยี มการเพ่ือรองรับการเปดิ ประเทศ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๐ (3) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม (๓.๑) ผลการดำเนินการในภาพรวมเพ่ือเสริมสร้างศักยภาพในการฟ้ืนฟูและขับเคล่ือน ประเทศให้สามารถ “ล้มแล้วลุกไว” (Resilience) ตามแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผล มาจากสถานการณ์โควดิ - 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ ๑) การสง่ เสรมิ การจ้างงาน ๒) การพฒั นาทักษะแรงงานและการเรยี นรู้ ๓) การช่วยเหลอื และพฒั นาศกั ยภาพวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ๔) การส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละเนน้ คณุ ภาพ (๓.๒) การเตรียมความพร้อมของจังหวัดในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบ จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หลังวิกฤตโควิด – 19 และ การเตรียมการเพ่ือรองรับการเปิด ประเทศ (อาทิ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจ การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว และการกระตุ้น เศรษฐกจิ ของจงั หวัดในด้านตา่ ง ๆ) (๓.๓) ความพึงพอใจต่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบจากการระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ในเชิงภาพรวมของจงั หวัด (๓.๔) ปัญหา อปุ สรรคในการดำเนนิ งาน และข้อคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ ตารางความเชือ่ มโยงประเด็นนโยบายสำคัญ เรือ่ ง การฟนื้ ฟเู ศรษฐกิจและสงั คมจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง การสง่ เสรมิ การจ้างงาน และการพัฒนาทักษะแรงงาน ดา้ นการตลาด และการเรียนรู้ - กระทรวงพาณชิ ย์ - กระทรวงแรงงาน ดา้ นพฒั นาต่อยอดผลติ ภัณฑ์ โครงการสำคญั ประจำปี ๒๕๖๕ เช่น - กระทรวงศึกษาธิการ - โครงการส่งเสรมิ การมีงานทำของผู้สงู อายุ - กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ - เสริมสมรรถนะแรงงานด้วยเทคโนโลยีรองรับการ วิจยั และนวัตกรรม ทำงานในศตวรรษท่ี ๒๑ ด้านการสนบั สนนุ ข้อมลู การจัดการน้ำ การช่วยเหลือและพัฒนาศกั ยภาพวิสาหกจิ ขนาดกลาง - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม และขนาดยอ่ ม (SMEs) - สำนักนายกรัฐมนตรี - กระทรวงอตุ สาหกรรม (สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ) โครงการสำคัญ ประจำปี ๒๕๖๕ เชน่ ด้านการสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ - โครงการเร่งการจดั ต้งั และขยายธุรกจิ ของ - กระทรวงดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม ด้านการสนับสนนุ ข้อมลู เพื่อการทอ่ งเที่ยว ผู้ประกอบการอจั ฉริยะ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - พฒั นาทักษะการเป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ - กระทรวงวัฒนธรรม การส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรคแ์ ละเน้นคณุ ภาพ ด้านการลดต้นทนุ การผลติ - กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา - กระทรวงพลงั งาน โครงการสำคัญ ประจำปี ๒๕๖๕ เชน่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๑ หน่วยงานหลกั หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง - โครงการสรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนเชงิ ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ สรา้ งสรรค์ผา่ นตลาดมูลคา่ สงู - กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ - เพ่มิ การใช้จา่ ยของนักทอ่ งเที่ยว - กระทรวงยตุ ิธรรม - กระทรวงวัฒนธรรม - โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนท่ีมีศักยภาพดา้ นการ ดา้ นการศกึ ษา ทอ่ งเท่ยี วเชิงสรา้ งสรรคแ์ ละวัฒนธรรม - กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 1.1.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมสีเขียวเพ่ือความยั่งยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน และเศรษฐกิจสเี ขยี ว (BCG Model) (1) หลักการและเหตุผล แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy Model: BCG Model) เป็นแนวคิดการพฒั นาเศรษฐกจิ แบบองคร์ วม ท่ไี มไ่ ด้มงุ่ เน้น เพยี งการพัฒนาเศรษฐกิจเท่าน้ัน แต่ตอ้ งพัฒนาควบคไู่ ปกับการพัฒนาสงั คมและการรกั ษาสิ่งแวดล้อมไดอ้ ย่างสมดุล ให้เกิดความมนั่ คงและยั่งยืนไปพร้อมกัน โดย BCG Model ประกอบดว้ ยเศรษฐกิจหลกั ๓ ดา้ น ไดแ้ ก่ B = เศรษฐกิจ ชีวภาพ (Bio Economy) เป็นการนำความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาพัฒนาต่อยอดจากฐานความเข้มแข็งด้าน ทรัพยากรชีวภาพหรือผลผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า C = เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เป็นการนำทรัพยากรและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ท่ีใช้ประโยชน์ในขั้นแรกไปแล้ว มาแปรรูปใน กระบวนการผลติ อกี คร้ังเพ่อื นำกลบั มาใชใ้ หมห่ รือผลิตเปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยเปน็ การสร้างมูลค่าใหข้ ยะ และมุ่งไปที่ ZERO WASTE หรือการลดปรมิ าณขยะจากภาคการผลติ ให้เปน็ ศูนย์ และ G = เศรษฐกจิ สีเขียว (Green Economy) มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดย คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๖๔ มีมติเห็นชอบให้การขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) : โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืน เปน็ วาระแห่งชาติ ตัง้ แต่ปี ๒๕๖๔ เปน็ ตน้ ไป ท้ังน้ี ในส่วนของการอนุรักษ์ ฟื้นฟู จัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพและ วัฒนธรรมอยา่ งค้มุ ค่าและเต็มศักยภาพ เป็นหนึ่งในเปา้ หมายหลักทีส่ ำคัญในการขับเคลอื่ นพัฒนาประเทศไทย ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG ตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๙ โดยสามารถบรรลุเป้าหมายด้วยยุทธศาสตร์ท่ี ๑ สร้างความย่ังยืนของ ฐานทรัพยากร และความหลากหลายทางชวี ภาพด้วยการจดั สมดลุ ระหว่างการอนรุ ักษ์และการใช้ประโยชน์ และยุทธศาสตร์ ที่ ๒ การพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้เข็มแข็งด้วยทุนทรัพยากร อัตลักษณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ซ่ึงท้ัง ๒ ยทุ ธศาสตรม์ งุ่ เน้นถึงการนำความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมไปบริหารจัดการเพ่ือ การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพและทางวัฒนธรรมได้อย่างเต็มศักยภาพ เกิดความสมดุล ระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์เพ่ือความย่ังยืนของฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๒ และลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตให้เป็นศนู ย์ ตลอดจนสามารถหมุนเวียนทรัพยากรกลบั มาใช้ใหม่ หรือ การนำไปสร้างมูลคา่ เพิม่ ตามหลักเศรษฐกจิ หมุนเวยี น ในการน้ี สำนกั งานปลัดสำนักนายกรฐั มนตรีพิจารณาแล้วเห็นว่า การตรวจราชการแบบ บูรณาการของผู้ตรวจราชการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เห็นควรตรวจติดตาม การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม สีเขียวเพื่อความย่ังยืนตามแนวทางการพั ฒ นาเศรษฐกิจชีวภ าพ -เศรษฐกิจหมุนเวียน -เศรษฐกิจสี เขียว (BCG model) โดยมุ่งเนน้ ใน ๓ ประเดน็ หลกั คือ ๑) การบริหารจัดการป่าไม้ ตามแผนขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิด การเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) ภายใต้แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ประเด็นการปฏิรูป ทรัพยากรทางบก กิจกรรมปฏิรูป (Big Rock) เพิ่มและพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ให้ สามารถบรรลผุ ลได้ตามเปา้ หมายทกี่ ำหนด ๒) การจัดการพื้นท่ีสีเขียว การขับเคล่ือนการพัฒนา และดูแลรักษาพ้ืนที่สีเขียว โดยเฉพาะพ้ืนท่ีป่า พื้นท่ีสวนป่า พื้นที่สวนสาธารณะ และพ้ืนท่ีสีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และพ้ืนที่ สว่ นบุคคล ๓) การใช้ประโยชน์และหมุนเวียนทรัพยากรทางชีวภาพอย่างย่ังยืน และชาญฉลาด การขับเคลื่อนการบริหารจัดการ การหมุนเวียนการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ทั้งด้านการ ผลิต และการบริโภค ท้ังน้ี เพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติเกิดความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ลด ปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ เกิดการหมุนเวียนใช้ทรัพยากรอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า ยั่งยืน และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคมในระยะยาว รวมทั้งเพื่อให้เกิดการขับเคล่ือน ประเทศไทยตามแนวทางเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) อย่างเป็นรูปธรรม และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (SDGs) และ หลกั การของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP) ซ่ึงเป็นหลักสำคญั ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๓ (2) จดุ เนน้ ในการตรวจตดิ ตาม (๒.๑) โครงการ/กิจกรรมด้านการบริหารจัดการป่าไม้ โดยมุ่งเน้นที่การเปล่ียนแปลง พืน้ ท่ปี ่าไม้ การดแู ลพ้ืนท่ปี ่าสมบูรณ์ การดแู ลพ้ืนท่ปี ่าชมุ ชน และการเพิ่มพ้ืนท่ีสเี ขียว รวมถึงการบรหิ ารจัดการ การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ของจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ตามแผน ขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) ภายใต้แผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ประเด็นการปฏิรูป ทรัพยากรทางบก กิจกรรมปฏิรูป (Big Rock) เพิม่ และพัฒนาพน้ื ทป่ี ่าไมใ้ ห้ไดต้ ามเปา้ หมาย (๒.๒) การขับเคลื่อนการดำเนินการการจัดการพ้ืนท่ีสีเขียว โดยมุ่งเน้นท่ีการพัฒนา และดูแลรกั ษาพ้นื ทีส่ ีเขยี ว โดยเฉพาะพ้ืนท่ีป่า พื้นที่สวนป่า พืน้ ท่ีสวนสาธารณะ และพ้ืนท่ี สีเขียวในหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และพ้ืนท่ีส่วนบุคคล ตลอดจนการนำทรัพยากรทางชีวภาพกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ ของจังหวัด และกรุงเทพมหานคร ให้เกิดความสมบูรณ์ย่ังยืน โดยเฉพาะพื้นที่ป่า พื้นท่ีสวนป่า พ้ืนที่ สวนสาธารณะ และพ้ืนที่สีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ ภา คเอกชน และพ้ืนที่ส่วนบุคคล ให้เป็นไปตามแนวทาง เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) (๒.๓) การใช้ประโยชน์และหมุนเวียนทรัพยากรทางชีวภาพอย่างย่ังยืน และชาญ ฉลาด โดยมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการ การหมุนเวียนการใช้ประโยชน์ทรัพยากรท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ท้ังด้านการผลิต และการบริโภค ให้เป็นไปตามแนวทางเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขียว (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model) (3) ประเด็นในการตรวจติดตาม (๓.๑) สถานการณ์พื้นที่สีเขียว และแนวทางการบริหารจัดการพื้นท่ีสีเขียว โดยเฉพาะ พื้นที่ป่า พ้ืนท่ีสวนป่า พ้ืนท่ีสวนสาธารณะ และพื้นท่ีสีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และพ้ืนท่ีส่วน บคุ คล ของจงั หวดั และกรงุ เทพมหานคร (๓.๒) การขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมของจังหวัด และกรุงเทพมหานคร ตามแผน ขบั เคลื่อนกจิ กรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่าง มีนัยสำคัญ (Big Rock) ภายใต้แผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นการปฏิรูป ทรัพยากรทางบก กิจกรรมปฏริ ปู (Big Rock) เพม่ิ และพัฒนาพน้ื ทีป่ ่าไม้ให้ไดต้ ามเป้าหมาย (๓.๓) การดำเนินการของหน่วยงานในระดับพื้นท่ีจังหวัด และกรุงเทพมหานคร ใน การบูรณาการขับเคล่ือนการจัดการพ้ืนท่ีสีเขียว ในพ้ืนที่ที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะพื้นที่ป่า พ้ืนที่สวนป่า พื้นท่ี สวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และพ้ืนท่ีส่วนบุคคล ตลอดจนการบริหาร จัดการ การหมุนเวียนการใช้ประโยชนท์ รพั ยากรทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อม ทง้ั ดา้ นการผลติ และการบริโภค แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๔ ตารางแสดงความเชื่อมโยงประเด็นนโยบายสำคญั เรือ่ ง การจดั การส่ิงแวดล้อมสีเขียวเพ่ือความยัง่ ยืน ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกจิ สเี ขียว (BCG Model) (1) กจิ กรรมปฏิรปู ประเทศท่ี ๑ (Big Rock) : เพ่มิ และพัฒนาพื้นทปี่ ่าไมใ้ ห้ได้ตามเปา้ หมาย หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ด้านทรัพยากรปา่ ไมแ้ ละท่ีดนิ ปา่ ไม้ของรฐั ไดร้ ับการ ป้องกันและถูกบุกรุกลดลง - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (กรมป่าไม้ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธพ์ุ ืช สำนักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ) ดา้ นบรหิ ารจดั การพืน้ ทปี่ า่ ไมใ้ ห้มปี ระสิทธภิ าพเพ่ิมขึ้น - กระทรวงมหาดไทย (กรมท่ีดนิ ) ดา้ นพืน้ ทีเ่ ป้าหมายไดร้ บั การอนุรักษ์ ฟ้นื ฟูและ ใช้ประโยชน์อยา่ งยงั่ ยืน - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพันธ์ุพืช กรมปา่ ไม้ องคก์ ารอุตสาหกรรมปา่ ไม้ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจ จากฐานชวี ภาพ) - กระทรวงมหาดไทย (กรมท่ีดนิ ) - กระทรวงการคลงั (กรมธนารักษ์) ด้านใช้ประโยชน์จากระบบนเิ วศป่าไมใ้ นเชงิ เศรษฐกิจ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (กรมป่าไม้ องคก์ ารอตุ สาหกรรมป่าไม้ สำนกั งาน พฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ) - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงการคลงั - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงสาธารณสขุ ***** - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2) การจดั การพน้ื ทสี่ เี ขยี วในเขตเมืองและชุมชน ตามคุณลักษณะและการใชป้ ระโยชน์ หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง พ้นื ที่สเี ขยี วสาธารณะ (อาทิ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ สนามเด็กเลน่ ) - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงการคลงั - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ - กระทรวงพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๕ หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานที่เก่ียวข้อง วจิ ยั และนวตั กรรม - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กรงุ เทพมหานคร - กระทรวงสาธารณสุข ***** - กระทรวงพาณชิ ย์ - กระทรวงวฒั นธรรม พน้ื ที่สีเขยี วอรรถประโยชน์ (ประกอบดว้ ย พน้ื ทสี่ ีเขยี วสว่ นบคุ คล พ้ืนท่สี ีเขียวภายในหน่วยงานราชการ สถานศกึ ษา สถาบนั และพน้ื ท่สี เี ขียวในพน้ื ทีส่ าธารณูปการ) - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงศึกษาธกิ าร - กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม - กระทรวงวฒั นธรรม - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา - กระทรวงสาธารณสขุ ***** - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงการคลัง - กระทรวงดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม - กรุงเทพมหานคร พ้ืนที่สเี ขยี วทเ่ี ป็นร้ิวยาวตามแนวสาธารณปู การ (อาทิ พ้นื ท่ีริมทางสัญจรทางบก บรเิ วณริมทาง เกาะกลาง ถนน เขตทางรถไฟ พน้ื ท่ีริมทางสัญจรทางนำ้ รมิ แม่นำ้ คลองชลประทาน) - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงการคลัง - กระทรวงวัฒนธรรม - กรงุ เทพมหานคร พ้นื ท่สี เี ขยี วเพอื่ เศรษฐกิจของชมุ ชน (อาทิ พน้ื ทีส่ ีเขยี วที่เป็นแหลง่ ผลติ อาหารแก่ชมุ ชน ประเภทไร่นา สวนผลไม้ และพน้ื ทเ่ี พาะเล้ยี งสัตวน์ ำ้ ) - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม - กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และ นวตั กรรม - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ - กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา - กระทรวงพาณชิ ย์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๖ หน่วยงานหลัก หนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงสาธารณสขุ ***** - กรุงเทพมหานคร พน้ื ทสี่ เี ขยี วธรรมชาติ (อาทิ พื้นทีส่ ีเขยี วบนเนินเขา พรุ แหลง่ น้ำ พนื้ ทีช่ มุ่ น้ำ) - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและ นวตั กรรม - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงการคลัง - กระทรวงสาธารณสขุ ***** - กระทรวงวัฒนธรรม พนื้ ท่สี เี ขยี วท่ยี งั ไม่มกี ารใช้ประโยชน์ หรือรอการพัฒนา (อาทิ พ้ืนท่ีสีเขียวทป่ี ลอ่ ยรกร้าง) - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงศึกษาธกิ าร - กรงุ เทพมหานคร - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงพาณชิ ย์ - กระทรวงการคลัง - กระทรวงสาธารณสขุ ***** - กระทรวงวฒั นธรรม (๓) การบริหารจัดการ การหมนุ เวียนการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทีเ่ ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดา้ นการเกษตรและอาหาร - กระทรวงมหาดไทย (อาทิ การนำสารชวี ภัณฑ์ท่ีพัฒนามาจากพชื - กระทรวงพาณิชย์ สัตว์ หรือจุลนิ ทรีย์ มาใชใ้ นการป้องกนั กำจดั - กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม ศัตรพู ืช การเกษตรปลอดการเผา การไถกลบ - กระทรวงการคลงั ตอซงั ข้าวเพื่อเปน็ ปุ๋ยในดิน การจดั การวัสดุ - กระทรวงคมนาคม เหลือทิง้ ทางการเกษตรเพื่อเพ่ิมมูลค่า (เชน่ การ - กระทรวงศึกษาธิการ ทำปุย๋ หมกั จากฟางขา้ วหรอื ใบอ้อย การแปรรูป - กระทรวงพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ เปน็ เช้ือเพลิงชวี มวล อาหารสัตว์ การสรา้ ง - กระทรวงแรงงาน มลู คา่ เพิ่มเปน็ ผลิตภณั ฑ์ภาชนะใสอ่ าหาร - กระทรวงวฒั นธรรม แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๗ หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง เปน็ ตน้ ) การพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหารเพื่อ - กรุงเทพมหานคร สุขภาพ) - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงสาธารณสุข ***** ด้านสขุ ภาพและการแพทย์ (อาทิ การพฒั นายาและเวชภณั ฑ์ วคั ซีน และเวชสำอาง ทส่ี กัดจากพชื สตั ว์ จลุ นิ ทรีย์ และสมุนไพร) - กระทรวงสาธารณสุข ***** - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงอุตสาหกรรม ดา้ นพลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ (อาทิ การพัฒนาพลังงานชวี ภาพจากวัสดุ เหลอื ทงิ้ ทางการเกษตร และของเสียจาก อุตสาหกรรมและครัวเรือน การสร้างมลู คา่ เพ่ิม จากทรพั ยากรปโิ ตรเลยี ม การใช้พลงั งาน ทดแทน พลังงานทางเลือก และพลงั งานสะอาด ในภาคอุตสาหกรรม ขนสง่ และครวั เรือน การ พัฒนาผลติ ภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ การสรา้ ง โรงไฟฟ้าชุมชน) - กระทรวงพลังงาน - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการท่องเท่ียวและเศรษฐกิจเชงิ สรา้ งสรรค์ (อาทิ การสง่ เสรมิ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เชิงเกษตร เชงิ นเิ วศ) - กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กระทรวงมหาดไทย ดา้ นเศรษฐกจิ หมุนเวียน (อาทิ การบริหารจัดการขยะพลาสติก การลด ขยะและของเสยี จากอตุ สาหกรรมเกษตรและ อาหาร ระบบบำบัดน้ำเสยี เพื่อผลติ ก๊าซชวี ภาพ ในโรงงานแปง้ มนั สำปะหลงั การผลติ ไบโอ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๘ หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง แคลเซียมจากเปลอื กไข่ การผลิตอาหารเสรมิ โปรคอลลาเจนจากเย่ือหมุ้ ไข่ การพัฒนา รูปแบบและแนวทางการก่อสรา้ งท่เี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม) - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงคมนาคม 1.1.๓ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน (๑) หลกั การและเหตผุ ล ยุทธศาสตร์ชาติได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่ังยืน” โดย ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พฒั นาคนในทกุ มิติและในทุกช่วงวยั ใหเ้ ปน็ คนดี เก่ง และ มี คณุ ภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยมียุทธศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม เพื่อสรา้ งความเป็นธรรม ลดความเหล่ือมล้ำ ในทกุ มิติ โดยมีแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ (๑๗) ประเด็น ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสงั คม จึง จะเป็นกลไกสำคัญในการกำจัดวงจรความเหลื่อมล้ำและความยากจนที่จะถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่าง ย่ังยืน โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มเปราะบาง ประกอบด้วยแผนย่อย ๒ แผน ได้แก่ (๑) การ คุ้มครองทางสังคมข้ันพื้นฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ และ (๒) มาตรการแบบ เจาะจงกลุ่มเป้าหมายเพอ่ื แก้ปัญหาเฉพาะกล่มุ ทั้งน้ี ที่ผ่านมารัฐบาลและหน่วยงานที่เก่ียวข้องได้มีมาตรการและการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหล่ือมล้ำอย่างต่อเน่ือง แต่สถานการณ์ปัญหาสังคมท่ีมี จำนวนและความซับซ้อนมากข้ึน รวมท้ังวิกฤตเศรษฐกิจ การเข้าถึงบริการภาครัฐ กระบวนการยุติธรรม และ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชน โดยเฉพาะครอบครัวยากจนท่ีมีคนเปราะบางจะได้รับความเดือดร้อนมากกว่ากลุ่มอ่ืน ความเปราะบางเป็น แนวคิดท่ีมีความเป็นพลวัตรมากกว่าความยากจน ในการขจัดความยากจนในสังคมไทยให้หมดไปจะเกิดขึ้น ไม่ได้ ถ้าหากมีครัวเรือนจำนวนมากยังคงเปราะบางอยู่ ดังน้ัน การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางใน ปัจจุบันจำเป็นต้องอาศัยการแก้ปัญหาแบบบูรณาการเพื่อการมองปัญหาให้รอบด้านในทุกมิติท้ังมิติเศร ษฐกิจ สังคม สขุ ภาพ และสภาพแวดล้อม ในการน้ี นายกรัฐมนตรี จึงได้เป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการบูรณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ระหว่าง 12 กระทรวง 1 หน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา กระทรวงการอุดมศึกษา แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๔๙ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวง วัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข และกรุงเทพมหานคร เม่ือวันท่ี 3 มีนาคม 2564 ณ ตึกภักดีบดินทร์ ทำเนียบรัฐบาล โดยบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฯ ได้นิยาม “ครัวเรือนเปราะบาง หมายถึง ครัวเรือนท่ีมี รายได้น้อย และมีบุคคลที่อยูใ่ นภาวะพึ่งพงิ ทตี่ ้องการไดร้ บั ความช่วยเหลือจากคนอน่ื เช่น ครอบครัวยากจนทมี่ ี เด็กเล็ก แม่เล้ียงเด่ียว ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียงมีปัญหาที่อยู่อาศัย จำเป็นต้องร่วมกันพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ กลุ่มเปราะบางดงั กล่าวอยา่ งเรง่ ดว่ น จรงิ จัง และตอ่ เน่ือง” และมีวัตถปุ ระสงค์ 3 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อบูรณาการความร่วมมือในการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางให้ครอบคลุมทุกมิติแบบ องค์รวม ๒) เพ่ือให้กลุ่มเปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ รวมท้ังพัฒนาคุณภาพชีวิต กลมุ่ เปราะบาง และให้ครอบครวั ม่นั คงมคี วามสุข สามารถพึง่ พาตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยืน ๓) เพ่ือให้มีฐานข้อมูลกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนระดับประเทศท่ีเกิดจากการบูรณา การขอ้ มลู จากทกุ หนว่ ยงาน ทงั้ น้ี นายกรฐั มนตรีได้มขี ้อสั่งการให้หน่วยงานทรี่ ับผิดชอบใช้เป็นแนวทางในการบริหาร ราชการให้เกิดประสทิ ธิภาพ ซึง่ ในประเด็นการบรู ณาการมาตรการให้ความช่วยเหลือกลมุ่ เปราะบาง กำหนดให้ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ สำนักงานปลดั สำนักนายกรัฐมนตรี และหน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง ประสานขอความร่วมมือจากทุกกระทรวงเพ่ือบูรณาการมาตรการที่เกี่ยวข้องกบั การ ให้ความช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง อาทิ งบประมาณ กำลังคน ท้ังน้ี ให้ดำเนินการตามระเบียบและกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ซ่ึงถือเป็นนโยบายรัฐบาล ข้อ 11.1 (นโยบายหลัก/2 นโยบายเร่งด่วน) และอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ ชาติท่ี 4 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจึงเห็นควรที่ผู้ตรวจราชการจะตรวจติดตามปัญหา ความเดือดร้อน ความต้องการของประชาชนกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนในพื้นที่ผล การดำเนินงานของ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง รายครัวเรือนใน 5 มิติ ไดแ้ ก่ รายได้ สขุ ภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเขา้ ถงึ บริการภาครฐั รวมท้ัง การเตรียมความพร้อมของ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการรองรับสังคมผู้สูงอายุเพื่อขับเคล่ือนการบูรณาการการให้ช่วยเหลื อและพัฒนา คณุ ภาพชีวติ กลุ่มเปราะบาง ไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ ทกุ มิติแบบองค์รวม แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๐ (๒) จดุ เนน้ ในการตรวจตดิ ตาม เน้นการตรวจติดตามปัญหาความเดือดร้อน ความต้องการของประชาชนกลุ่มเปราะบาง รายครวั เรือนในพ้ืนท่ี ผลการดำเนนิ งานของหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางรายครวั เรือนใน ๕ มิติ ได้แก่ รายได้ สุขภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเข้าถงึ บรกิ ารภาครัฐ รวมท้ังการดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ เพ่ือขับเคลื่อนการบูรณาการการให้ ความช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางได้อย่างครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม ตลอดจนรับฟัง ข้อคดิ เห็น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในเชิงภาพรวม จากตัวแทนภาครัฐ เอกชน และประชาชน ท่ีมีต่อการ ขบั เคล่ือนการบูรณาการการใหช้ ว่ ยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวติ กลุ่มเปราะบางในเชงิ ภาพรวม (๓) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม (๓.๑) ปัญหาความเดือดร้อน ความต้องการของประชาชนกลุ่มเปราะบางรายครัวเรอื น ใน ภาพรวมของจงั หวดั (๓.๒) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการให้ความช่วยเหลือและพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนใน ๕ มิติ ได้แก่ รายได้ สุขภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเข้าถึง บริการภาครฐั (๓.๓) การบูรณาการการใหค้ วามช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางราย ครัวเรือนใน ๕ มิติ ได้แก่ รายได้ สขุ ภาพ การศึกษา ความเปน็ อยู่ และการเข้าถึงบริการภาครัฐ (๓.๔) การดำเนินงานของหน่วยงานท่เี กยี่ วข้องในการรองรบั สังคมผ้สู งู อายุ (๓.๕) ปญั หา อปุ สรรคในการดำเนนิ งาน และขอ้ คดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะในเรือ่ ง แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๑ ๑) การให้ความช่วยเหลอื และพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ใน ๕ มิติ ไดแ้ ก่ รายได้ สขุ ภาพ การศกึ ษา ความเป็นอยู่ และการเขา้ ถงึ บริการภาครัฐ ๒) การเตรยี มความพร้อมของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการรองรับสงั คมผสู้ ูงอายุ ตารางแสดงความเช่ือมโยงประเดน็ นโยบายสำคัญ เรือ่ ง การพฒั นาคุณภาพชวี ิตกลมุ่ เปราะบางรายครวั เรอื น หนว่ ยงานหลัก หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ดา้ นรายได้ ดา้ นพฒั นาต่อยอดผลติ ภัณฑ์เพอ่ื สนบั สนุนรายได้ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ด้านการสนับสนนุ ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ - กระทรวงพาณชิ ย์ - กระทรวงดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคม - กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ด้านการสนับสนุนการชว่ ยเหลือดา้ นคดีความ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงยุติธรรม - กระทรวงวัฒนธรรม ด้านสขุ ภาพ - กระทรวงสาธารณสขุ ***** - กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา - กรุงเทพมหานคร ดา้ นการศกึ ษา - กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ - กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา - กรงุ เทพมหานคร ดา้ นความเป็นอยู่ - กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงกลาโหม ด้านการเขา้ ถึงบริการภาครฐั - กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงสาธารณสุข ***** - กรุงเทพมหานคร ๑.๒ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล เพื่อขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาตไิ ปสู่การปฏบิ ตั ิ จำนวน ๒ เรือ่ ง ประกอบด้วย (๑.2.1) การเพ่ิมมูลคา่ สนิ ค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภณั ฑ์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๒ (๑) หลกั การและเหตผุ ล แผนแม่บท การเกษตร แผนแม่บทย่อย เกษตรแปรรูป เป้าหมายแผนแม่บทย่อย สินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพ่ิมขึ้น เป็นแผนที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าโดยการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมในการผลิตและแปรรูปสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร ตลอดจนมีการสนับสนุนต่อยอดไปสู่สนิ ค้าเกษตรขน้ั สูงท่ีมีคุณค่าเฉพาะ และผลิตภณั ฑ์คุณภาพสูง โดยกำหนด เป้าหมายและตัวชว้ี ัดของแผนแม่บทยอ่ ย เกษตรแปรรูป ดงั น้ี เป้าหมาย ตวั ช้วี ดั คา่ เป้าหมาย - สินคา้ - อัตราการขยาย ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖-๒๕๗๐ ปี ๒๕๗๑-๒๕๗๕ ปี ๒๕๗๖-๒๕๘๐ เกษตรแปร ตวั ของมลู ค่าสินค้า รูปและ เกษตรแปรรปู และ ขยายตวั ขยายตวั ขยายตวั ขยายตวั ผลติ ภณั ฑม์ ี ผลิตภณั ฑ์ (เฉลยี่ ร้อยละ ๓ ร้อยละ ๖ มูลคา่ เพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ) รอ้ ยละ ๔ ร้อยละ ๕ ทั้งนี้ รายงานสรุปผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2563 จัดทำโดย สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้นำเสนอสถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย การเพ่ิม มูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์ โดยมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ซ่ึง พิจารณากลุ่มท่ีเกี่ยวกับสินค้าเกษตร ได้แก่ อาหาร เคร่ืองด่ืม ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ ยางและผลิตภัณฑ์ ยาสูบ เคร่ืองหนังและผลิตภัณฑ์ และกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ ซ่ึงใน ปี 2562 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมของอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรูปรวม 1.395 ล้านล้านบาท เพ่มิ ข้ึนเล็กนอ้ ยจาก 1.394 ล้านล้านบาท ในปี 2561 หรือคิดเป็นอัตราการขยายตัว ร้อยละ 0.05 ทำให้สถานการณ์ การบรรลุเป้าหมายอยู่ในระดับ ต่ำกว่าค่าเป้าหมายขน้ั วิกฤต (สีแดง) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแล้วเห็นว่าเร่ือง การเพ่ิมมูลค่าสินค้า เกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์ เป็นเรื่องท่ีมีความสำคัญ และเป็นเรื่องท่ีต้องอาศัยการบูรณาการการทำงานของ หน่วยงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาการดำเนินงาน รวมท้ังมีโครงการที่ดำเนินการในเชิงพ้ืนที่ เหมาะสมต่อการ ตรวจราชการฯ และปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาตามเป้าหมายเป็นปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ จึงเห็นควร กำหนดเป็นประเด็นการตรวจราชการแบบบูรณาการฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (2) ประเดน็ ทา้ ทายทีส่ ่งผลต่อการบรรลเุ ปา้ หมายฯ ได้แก่ (๒.๑) เกษตรกร/สถาบันเกษตรกรส่วนใหญ่ยังคงผลติ สินค้าเกษตรในรูปแบบเดมิ และ ไมส่ ามารถเขา้ ถึงเทคโนโลยที ีใ่ ช้ในการแปรรูปสินค้าเกษตรได้ (๒.๒) ค่าใชจ้ ่ายในการจัดหาเทคโนโลยีการแปรรปู คอ่ นข้างสูง จึงไมจ่ ูงใจให้เกษตรกร/ สถาบันเกษตรกรลงทนุ ผลติ สินค้าเกษตรแปรรปู (๒.๓) โครงการท่ีมารองรับปัจจัยการส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปข้ันสูง และส่งเสริม สถาบันเกษตรกรในการผลิตและแปรรปู สนิ ค้าเกษตรยงั คงมนี ้อยและเปน็ เฉพาะกลมุ่ สนิ คา้ (๒.๔) ขาดโครงการท่ีขับเคล่อื นในภาพรวม (๒.๕) ขาดการเช่ือมโยงของหน่วยงานที่มารับช่วงต่อในด้านการแปรรูปสินค้าไปเป็น ผลิตภัณฑข์ น้ั สูงท่ีมีมูลคา่ รวมถงึ ตอ่ ยอดเทคโนโลยีการแปรรปู ผลิตภัณฑส์ กู่ ารผลิตเชงิ พาณิชย์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๓ (๓) จดุ เน้นในการตรวจติดตาม (๓.๑) การดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการส่งเสริมเกษตรกรให้เข้าถึง เทคโนโลยที ใี่ ช้ในการแปรรูปสินคา้ เกษตร (๓.๒) ความต่อเนื่องและการต่อยอดในเชิงพาณิชย์จาก การพัฒนาเทคโนโลยีท่ีใช้ใน การแปรรปู สินค้าเกษตรของหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง (๓.๓) การเข้าถึงแหล่งทุนของเกษตรกรเพ่ือส่งเสริมการเข้าถึงเทคโนโลยีท่ีใช้ในการ แปรรูปสินค้าเกษตร (๔) ประเด็นในการตรวจตดิ ตาม (๔.๑) ผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับเรื่อง เกษตรแปรรูป ระหว่าง ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ในภาพรวม ดังนี้ ๑) การรวมกลุม่ เกษตรกร และการพฒั นาวัตถุดบิ เพ่อื การเกษตรแปรรปู ๒) การพัฒนาและสง่ เสริมเกษตรกรใหส้ ามารถเข้าถึงเทคโนโลยีการเกษตรแปรรปู ๓) การตลาดของสินคา้ เกษตรแปรรูป ๔) การเข้าถึงแหล่งทุนของเกษตรกรเพ่ือปรับเปล่ียนการทำเกษตรแบบเดิมสู่ การเกษตรแปรรูป 5) การบูรณาการของหน่วยงานที่เกยี่ วข้องเพื่อขับเคลื่อน เกษตรแปรรปู ทัง้ ใน เชิงพืน้ ท่ี และในเชิงภาพรวมต่างพน้ื ที่ (ถา้ ม)ี (๔.๒) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานเพ่ือขับเคลื่อนสินค้าเกษตรแปรรูปและ ผลติ ภณั ฑม์ ีมลู คา่ เพ่มิ ข้ึน (๔.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏบิ ัติงาน ตารางแสดงความเช่อื มโยงหน่วยดำเนนิ งาน เรือ่ ง การเพ่ิมมลู คา่ สินคา้ เกษตรแปรรปู และผลิตภณั ฑ์ หนว่ ยงานเจา้ ภาพ : กระทรวงอุตสาหกรรม หนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งหลกั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องสนบั สนนุ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงแรงงาน - กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม - กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน - สำนักงานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - สำนกั งานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม - กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมสง่ เสริมการเกษตร - กรมวชิ าการเกษตร - กรมปศสุ ัตว์ - สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร - กรมประมง - องคก์ ารสง่ เสรมิ กิจการโคนมแห่งประเทศไทย - กรมการข้าว - สำนักงานพฒั นาการวจิ ยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) - การยางแห่งประเทศไทย - องค์การตลาดเพ่ือเกษตรกร กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงสาธารณสุข ***** - กรมการค้าต่างประเทศ - กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก - โครงการสำคัญ ประจำปี ๒๕๖๕ กระทรวงการคลงั แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๔ หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งหลัก หน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องสนับสนุน ทสี่ ง่ ผลให้บรรลเุ ป้าหมายแผนแม่บทย่อย เช่น - องคก์ รสุรา กรมสรรพสามติ - โครงการยกระดับสินคา้ เกษตรสู่เกษตร กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม อุตสาหกรรม - กรมวทิ ยาศาสตร์บรกิ าร - การพัฒนานวัตกรรมกระบวนการผลิตยางและ - สถาบนั วิทยาลัยชุมชน นำ้ ยาง - มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ - มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา - มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ - มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ กระทรวงพาณิชย์ - กรมการคา้ ภายใน ท่มี าของข้อมูล : ระบบ eMENSCR ของสำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รปู ภาพ Value Chain เรอื่ ง การเพิม่ มูลคา่ สนิ คา้ เกษตรแปรรูปและผลติ ภณั ฑ์ ทีม่ าของขอ้ มูล : ระบบ eMENSCR ของสำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (1.2.๒) การเพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถของเศรษฐกจิ ฐานราก (๑) หลักการและเหตผุ ล แผนแม่บท เศรษฐกิจฐานราก แผนแม่บทย่อย การยกระดับศักยภาพการเป็น ผู้ประกอบการธุรกิจ เป้าหมายแผนแม่บทย่อย ศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานรากเพ่ิมขึ้น เป็นแผนท่ีมุ่งเน้นการเพม่ิ พูนองคค์ วามรู้และทกั ษะในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจของเกษตรกร แรงงานทว่ั ไป และกลุ่มประชากรท่ีมีรายได้น้อยและไม่มั่นคงให้เป็นผู้ประกอบการ ผ่านการสนับสนุนการช่วยเหลือทาง วชิ าการต่าง ๆ เพื่อสร้างเสริมองค์ความรู้และทักษะที่สำคัญและจำเป็นในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า เพื่อ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๕ ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและก่อให้เกิดการสร้างรายได้ด้วยตนเอง รวมถึงการบริหาร จัดการหน้ีสิน ครอบคลุมท้ังหนี้ในระบบและนอกระบบ เพ่ือการแก้ไขปัญหาหน้ีสินอย่างยั่งยืน และการใช้ ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรม มายกระดบั ห่วงโซ่อุปทานให้เป็นหว่ งโซค่ ุณค่าท่ีสามารถกอ่ ให้เกดิ การกระจาย รายได้สชู่ มุ ชนได้อยา่ งเป็นธรรม โดยกำหนดค่าเปา้ หมายตัวช้วี ดั ของแผนแมบ่ ทย่อย ดังน้ี เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ค่าเปา้ หมาย ปี ๒๕๗๖-๒๕๘๐ ปี ๒๕๖๖-๒๕๗๐ ปี ๒๕๗๑-๒๕๗๕ - ศักยภาพและ - อตั ราการเติบโตของ ไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ ไม่ต่ำกวา่ ร้อยละ ไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ ไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ ขดี ความ รายได้ของกล่มุ ๑๕ ตอ่ ปี ๒๐ ตอ่ ปี ๒๐ ตอ่ ปี ๒๐ ตอ่ ปี สามารถของ ประชากรร้อยละ๔๐ เศรษฐกจิ ฐาน ที่มรี ายได้ตำ่ สดุ (เฉลยี่ รากเพ่ิมขึ้น รอ้ ยละ) ทั้ งน้ี รายงานสรุปผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2563 จัดทำโดย สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้นำเสนอสถานการณ์การบรรลุเป้าหมาย การเพิ่ม ศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก โดยพิจารณาจากตัวช้ีวัดรายได้เฉลี่ยต่อหัวของ กลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ ๔๐ ท่ีมีรายได้ต่ำสุด จากข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ ครัวเรือน ปี ๒๕๖๒ พบว่า รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ ๔๐ ท่ีมีรายได้ต่ำสุด (๓,๗๒๑ บาท/ คน/เดือน) โตข้ึนจากปี ๒๕๖๐ (๓,๔๐๘ บาท/คน/เดือน) คิดเป็นอัตราการเติบโตเท่ากับร้อยละ ๙.๒ (มีอัตรา การเตบิ โตเฉล่ียร้อยละ ๔.๖ ต่อปี) ทั้งนี้ แมจ้ ะมอี ัตราการเติบโตท่ีสงู ข้ึนมากจากปกี ่อนหน้า (ร้อยละ ๐.๘ ต่อปี ระหว่างปี ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐) แต่ก็ยังคงไม่บรรลุตามค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ และถือว่าอยู่ในระดับต่ำกว่าค่า เป้าหมายข้นั วกิ ฤติ (สีแดง) (๒) ประเด็นท้าทายทีส่ ง่ ผลตอ่ การบรรลเุ ป้าหมายฯ ดังนี้ (๒.๑) กลุ่มประชากรที่มีรายได้น้อยกว่าครึ่งหนึ่งเป็นกลุ่มคน ท่ีไม่ได้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ (Economically Inactive) มีระดับการศึกษาและทักษะต่ำ โดยเฉพาะครัวเรือนแหว่ง กลางทม่ี ีเฉพาะเด็กและผู้สูงอายุในครัวเรือน และครัวเรือนสูงอายุ ทำให้การยกระดับศกั ยภาพและรายไดใ้ ห้แก่ กลุ่มประชากรเหลา่ น้ีมคี วามท้าทาย (๒.๒) โครงการของภาครัฐทย่ี ังคงกระจกุ ตวั อยู่ในเฉพาะ บางพืน้ ที่และการจัดหลักสตู ร อบรมที่เป็นการออกแบบมาจากหน่วยงานส่วนกลาง ซ่ึงอาจจะไม่ตอบสนองต่อความต้องการของคนในพื้นที่ แต่ละพ้นื ท่มี ากนกั (๒.๓) ขาดการดำเนินงานที่ชัดเจนในส่วนของการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการ พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากงานวิจัยและพัฒนา และการปรบั ปรงุ ระเบียบกฎหมายเพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจฐานราก (๓) จดุ เน้นในการตรวจตดิ ตาม (๓.๑) การดำเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการสนับสนุนการช่วยเหลือทาง วชิ าการต่าง ๆ เพ่อื สร้างเสริมองคค์ วามร้แู ละทักษะท่ีสำคัญและจำเป็นให้กบั ประชาชนกลมุ่ ผมู้ ีรายได้น้อย เพื่อ ยกระดับสู่การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ และการส่งเสริมการประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสง่ เสรมิ ความรู้และวินยั ทางการเงินเพื่อแก้ไขปญั หาหนีส้ นิ อย่างย่งั ยืน แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๖ (๓.๒) ความเช่ือมโยงของ Value Chain เพ่ือการยกระดับศักยภาพการเป็น ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ของประชาชน (๔) ประเด็นในการตรวจตดิ ตาม (๔.๑) ผลการดำเนนิ งานการยกระดับศักยภาพการเป็นผ้ปู ระกอบการธุรกิจ ดงั น้ี ๑) การพัฒนาศักยภาพประชาชนกลุ่มผู้มีรายได้น้อยเพื่อยกระดับสู่การเป็น ผูป้ ระกอบการธรุ กิจ ๒) การส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริม ความรแู้ ละวินัยทางการเงินเพ่ือแก้ไขปญั หาหน้ีสนิ อยา่ งยงั่ ยนื (๔.๒) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนศักยภาพและขีดความสามารถ ของเศรษฐกจิ ฐานรากใหเ้ พิม่ ข้นึ (๔.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบตั ิงาน ตารางแสดงความเชอ่ื มโยงหนว่ ยดำเนินงาน เรื่อง การเพ่มิ ศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก หนว่ ยงานเจา้ ภาพ : กระทรวงการคลัง หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องหลกั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องสนบั สนนุ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ - กรมวิชาการเกษตร สำนกั งานบรหิ ารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ กระทรวงอุตสาหกรรม มหาชน) - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง สำนกั งานกองทุนหมูบ่ ้านและชุมชนเมอื งแห่งชาติ - สำนักงานเศรษฐกจิ การคลัง (สทบ.) - กรมธนารักษ์ - โครงการสำคัญ ประจำปี ๒๕๖๕ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทส่ี ่งผลให้บรรลุเป้าหมายแผนแม่บทย่อย เชน่ - สำนกั ปลดั ประทรวงเกษตรและสหกรณ์ - โครงการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากผ่านการ - กรมปศสุ ตั ว์ ท่องเที่ยวโดยชุมชนเชงิ สรา้ งสรรค์ - กรมการขา้ ว - โครงการพัฒนาและยกระดับสินค้าหน่ึงตำบล - กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ดว้ ยวทิ ยาศาสตรว์ ิจยั และนวตั กรรม - สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร - เพมิ่ ผลิตภาพแรงงานสู่ SME 4.0 - กรมประมง - กรมส่งเสรมิ การเกษตร - กรมหม่อนไหม - กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ - สำนักงานการปฏิรปู ท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๗ หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องหลกั หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องสนับสนุน - สำนกั ปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม - กรมวิทยาศาสตร์บริการ - สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย - มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสกลนคร - มหาวทิ ยาลยั ราชเพชรบูรณ์ - มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ - มหาวิทยาลยั ราชภฎั อบุ ล กระทรวงอุตสาหกรรม - สำนักปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม - กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา - องคก์ ารบรหิ ารการพฒั นาพื้นท่ีพเิ ศษเพ่ือการ ทอ่ งเทีย่ วอย่างยงั่ ยนื (องค์การมหาชน) กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ - สถาบนั พฒั นาองค์กรชมุ ชน กระทรวงแรงงาน - กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน ทีม่ าของข้อมูล : ระบบ eMENSCR ของสำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๘ รูปภาพ Value Chain เร่ือง การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกจิ ฐานราก ทม่ี าของข้อมลู : ระบบ eMENSCR ของสำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ๑.๓ การตดิ ตามความคบื หน้าการแกไ้ ขปัญหาสำคญั ในเชิงพื้นท่ี จำนวน ๕ เรื่อง ประกอบด้วย (1.3.๑) การจดั การประมงอย่างยั่งยืน (๑) หลักการและเหตผุ ล สภาวะของทรัพยากรประมงทะเลในปัจจบุ ันอยู่ในภาวะวิกฤตสิ ัตว์ทะเลสำคัญของโลก ได้ถกู นำไปใช้ประโยชน์จนเกินขนาดหรือเกินกำลังที่ธรรมชาติจะผลติ ขึ้นทดแทนใหม่ได้ทนั กับการใช้ประโยชน์ และบางชนิดได้ถูกใช้ไปจนเกือบสูญพันธ์ุ แต่ในทางตรงกันข้ามการลงแรงประมง (Fishing Effort) ของโลก กลับเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ปัญหาการเสื่อมโทรมของทรัพยากรอันเกิดจากการทำการประมงที่ขาดวินัย ขาด ระเบียบแบบแผน และขาดการจัดการที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมเพียงพอ มีการทำการประมงท่ีฝ่าฝืน กฎหมาย และกฎข้อบงั คับด้านการประมงในทุกอาณาเขตทางทะเล สหภาพยุโรป (EU) เป็นกลุ่มประเทศแรก ที่ได้กำหนดมาตรการเพ่ือป้องกันและขจัด การทำประมงท่ีผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม หรือปัญหา IUU Fishing (Illegal Unreported and Unregulated Fishing) ของคณะกรรมาธิการประมง (Committee on Fisheries : COFI) แห่งองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) เพอ่ื ให้เป็นมาตรการในการควบคุมการประมงใหเ้ ปน็ มาตรฐานสากล ท้ังน้ี ประเทศไทยได้รับใบเหลืองจากกรณี IUU จาก EU เม่ือวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๘ เนื่องจากไทยในฐานะรัฐเจ้าของธงเรือ (Flag State) รัฐเจ้าของท่า (Port State) รัฐชายฝั่ง (Coastal State) และรัฐเจ้าของตลาด (Market State) ยังไม่สามารถปฏิบัตหิ น้าท่ีตามพนั ธกรณขี องกฎหมายสากล และ ยังไมม่ ีการดำเนินการเพ่ือป้องกัน ยับยั้งและกำจัดการทำประมง IUU เทา่ ทคี่ วร นอกจากนี้ ยังขาดการติดตาม ควบคุม และดูแลกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับสำหรับสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ท้ังที่นำเข้ามาเพ่ือการ แปรรูปและส่งออกไปยังประเทศในแถบยุโรป ซ่ึง รัฐบาลได้ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา IUU อย่างจริงจังและ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๕๙ ต่อเน่ืองในทุกด้านและทุกมิติ เพื่อเป้าหมายในการสร้างระบบการบริหารจัดการประมงไทยให้มีประสิทธิภาพ และยั่งยืนมากยิ่งขึ้น จนเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๒ คณะกรรมาธิการยุโรปออกแถลงการณ์ยืนยันได้ปลด ใบเหลืองด้านการประมงของไทย และถอนรายช่ือไทยออกจากกลุ่มประเทศที่ถูกเตือนเรื่องความบกพร่องใน การต่อต้านการทำประมงผิดกฎหมายและเป็นเพียงประเทศเดียวที่ได้รับพิจารณาปลดใบเหลืองในคร้ังน้ี เนื่องจากการพฒั นาครง้ั ใหญใ่ นการกำกับดูแลการทำประมงให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล จากการตรวจราชการร่วมกันของ ผูต้ รวจราชการสำนกั นายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการ กระทรวง และผู้ตรวจราชการกรมทเี่ ก่ยี วข้อง เพ่ือขบั เคลื่อนการแก้ไขปัญหาการจัดการประมงอย่างยั่งยืน เมื่อ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า หน่วยงานที่รับผิดชอบ และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทั้งในระดับพื้นที่ และ ระดบั กระทรวง กรม สามารถขับเคล่ือนการดำเนินการตามภารกจิ ของหน่วยงาน รวมถึงตามข้อเสนอแนะของ คณะผู้ตรวจราชการ ท่ีไดใ้ หไ้ ว้ในคราวการตรวจติดตาม เม่ือปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ในการแกไ้ ขปญั หาการ ทำประมงผิดกฎหมายของภาครัฐ และการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรการแก้ไขปัญหาการ ทำประมงผิดกฎหมายของภาครัฐ สำเร็จ ลุล่วง ในระดับหนึ่ง ส่งผลให้กลุ่มชาวประมง/ชุมชน ทำประมงอย่าง ถูกกฎหมายและช่วยป้องกนั ฟื้นฟู และอนรุ ักษ์ทรัพยากร เพ่ือก่อให้เกิดการจัดการประมงอยา่ งยั่งยนื ในการน้ี เพื่อเป็นการรักษามาตรฐานในการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง จึงเห็นควรท่ีผู้ตรวจราชการจะได้ ตดิ ตามความคืบหนา้ ในเร่อื ง การจัดการประมงอย่างยั่งยนื ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (๒) จดุ เนน้ ในการตรวจตดิ ตาม (๒.๑) ความคืบหน้าการขับเคลื่อนการดำเนินการของศูนย์ควบคุมการแจ้งเรือเข้า - ออก (Port In - Port Out : PIPO) (๒.๒) ความคืบหน้าการจัดเรือประมงพ้ืนบ้านเข้าสู่ระบบตามมาตรการจัดการ เรอื ประมงพื้นบ้าน (๒.๓) ความคืบหน้าการช่วยเหลือ เยียวยา เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ได้รับ ผลกระทบจากการแก้ไขปญั หาการทำประมงผดิ กฎหมายของภาครัฐ (๒.๔) ความคืบหนา้ การรวมกลุ่มของเรือประมงพ้ืนบา้ นเพอ่ื สร้างความเข้มแขง็ และให้ ความร่วมมือกับภาครัฐในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งและแก้ไขปัญหาการประมงผิด กฎหมาย เพือ่ ให้เกดิ ความยง่ั ยนื แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๐ (๓) ประเด็นในการตรวจติดตาม (๓.๑) ผลความคืบหน้าการจัดการประมงอยา่ งยง่ั ยืน ๑) การดำเนินการของศนู ย์ควบคมุ การแจง้ เรือเข้า - ออก (Port In-Port Out : PIPO ) เพือ่ ให้เปน็ กลไกทม่ี ปี ระสิทธิภาพในการควบคมุ การออกทำประมงให้ถูกต้อง ๒) การดำเนินการจัดเรือประมงพื้นบ้านเข้าสู่ระบบ ให้เป็นไปตามระเบียบ กฎหมายท่เี กีย่ วข้อง ๓) การให้ความช่วยเหลือ เยียวยา เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนให้กับผู้ได้รับ ผลกระทบจากการแกไ้ ขปัญหาการทำประมงผดิ กฎหมายของภาครัฐ ๔) การรวมกลุ่มของเรือประมงพ้ืนบ้านในพื้นท่ีเพื่อสร้างความเข้มแข็ง และให้ ความร่วมมือกับภาครัฐในการบริหารจัดการ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝ่ังและแก้ไขปัญหาการประมงผิด กฎหมาย เพ่ือให้เกิดความย่งั ยืน (๓.๒) ปัญหาอุปสรรค ขอ้ จำกดั ในการดำเนินงาน (๓.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนา/ปรับปรุง การปฏิบตั ิงาน ตารางแสดงความเช่อื มโยงการติดตามความคบื หนา้ การแก้ไขปัญหาสำคญั ในเชิงพ้ืนท่ี เรอื่ ง การจดั การประมงอย่างยั่งยืน แนวทางการดำเนินงาน หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง (๑) ความคืบหนา้ การดำเนินการ - กระทรวงเกษตรและ - กระทรวงแรงงาน ของศูนย์ควบคุมการแจ้งเรอื เขา้ - สหกรณ์ - กระทรวงคมนาคม ออก (Port In-Port Out : PIPO ) ศูนยป์ ระสานการปฏิบัตใิ นการรกั ษาผล เพื่อให้เปน็ กลไกท่ีมีประสทิ ธภิ าพใน ประโยชน์ของชาตทิ างทะเล (ศรชล.) การควบคุมการออกทำประมงให้ ถกู ต้องตามกฎหมาย ๒) การจัดเรือประมงพืน้ บ้านเขา้ สู่ - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระบบตามมาตรการจัดการ - กองทัพเรอื เรอื ประมงพ้ืนบ้าน (๓) การช่วยเหลือ เยยี วยา เพ่ือ - กระทรวงเกษตรและ - กระทรวงแรงงาน บรรเทาความเดือดร้อนใหก้ บั ผู้ สหกรณ์ - กระทรวงการคลงั ไดร้ บั ผลกระทบจากการแก้ไข - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงมหาดไทย ปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ ของภาครฐั ม่ันคงของมนุษย์ - สำนกั นายกรัฐมนตรี (กรมประชาสัมพนั ธ์) (๔) การรวมกลุ่มของเรือประมง - กระทรวงเกษตรและ - พืน้ บ้านเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง สหกรณ์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๑ แนวทางการดำเนินงาน หนว่ ยงานหลกั หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง และให้ความร่วมมือกับภาครัฐใน การบริหารจดั การ อนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟู ทรพั ยากรชายฝั่งและแก้ไขปัญหา การประมงผิดกฎหมาย เพ่อื ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื (1.3.2) การเตรียมการเพ่ือรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพนเิ วศของแม่นำ้ โขง (๑) หลกั การและเหตุผล ลุ่มแม่น้ำโขงเป็นสภาพนิเวศนานาชาติระหว่างประเทศ ประกอบด้วย จีน เมียนมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม มีกลไกบริหารจัดการร่วมระหว่างประเทศ คือ คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง (Mekong River Commission : MRC) โดยในปัจจุบัน ประเทศไทยประสบปัญหาเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลง ระดับน้ำในแม่น้ำโขงอย่างรวดเร็วและไม่เป็นไปตามช่วงเวลาปกติอันเป็นผลกระทบโดยตรงจากการดำเนิน โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ อาทิเช่น การสร้างเข่ือนขนาดใหญ่บนแม่น้ำโขงท่ีไหลผ่าน แต่ละประเทศ ส่งผลให้ สภาพการไหลของแม่น้ำโขงมีความเปลี่ยนแปลงไม่เป็นไปตามเดิม นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำในแม่น้ำ โขงอย่างรนุ แรง สภาพนิเวศของลุ่มแมน่ ้ำโขงเปลี่ยนแปลงไปโดยมีแนวโน้มท่ีจะเป็นการเปลย่ี นแปลงอย่างถาวร เกิดผลกระทบและความเสยี หายตอ่ การประกอบอาชีพและการใช้ชีวติ ของประชาชนจำนวนกวา่ สองแสนคนใน พ้ืนที่ ๘ จงั หวัด (จังหวัดเชยี งราย เลย หนองคาย บงึ กาฬ นครพนม มกุ ดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี) ๕๔ อำเภอ ๑,๗๓๕ หมู่บา้ น ตามแนวลมุ่ แม่นำ้ โขง ผตู้ รวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ผตู้ รวจราชการกระทรวง และผ้ตู รวจราชการกรม ไดล้ งพ้ืนที่ ๘ จงั หวดั ทีม่ ีแม่น้ำโขงไหลผา่ น ไดแ้ ก่ จงั หวัดเชียงราย เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี เพ่ือตรวจติดตามการเตรียมการเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพนิเวศของ แม่น้ำโขง ตามแผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ พบว่า ท้ัง ๘ จังหวัด ได้รับทราบปัญหาท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของแม่น้ำโขง รวมทั้งได้มีการบูรณาการการทำงาน ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในจังหวัดเพื่อรองรบั ปัญหาดังกล่าว ซึ่งคณะผู้ตรวจราชการได้มีข้อเสนอแนะท้ังใน ระดับพื้นท่ี ในประเด็นที่เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ระดับน้ำและคุณภาพน้ำ การเกษตรริมฝ่ัง การทำประมง การท่องเที่ยวริมฝ่ังแม่น้ำโขง และการขับเคล่ือนการจัดทำแผนบูรณาการเชิงพื้นที่ และข้อเสนอแนะในระดับ นโยบาย ในเร่ืองการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำของเขื่อนทุกเข่ือนบนแม่น้ำโขง การสำรวจปัญหาและความต้องการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ัวประเทศ เพื่อจัดทำเป็นแนวทางการ แก้ไขปัญหาในภาพรวมอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป การบูรณาการการทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบของ หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องเพอื่ จัดทำแผนบูรณาการเชิงพื้นที่ การเจรจาเพื่อทำความตกลงและหาแนวทางการปฏิบัติ ร่วมกันระหวา่ งประเทศสมาชกิ และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย ในการประชุมคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง (MRC) กรอบ ความรว่ มมือล้านช้าง - แม่โขง (MLC) และกรอบความร่วมมือระดับอนุภมู ิภาคอ่ืน ๆ รวมทัง้ ผลักดนั ให้ความรู้ แก่ประชาชนและชุมชน ในการจัดทำธนาคารน้ำใต้ดิน เพ่ือเป็นแหล่งกักเก็บน้ำในทุกพ้ืนท่ี ซึ่งหน่วยงานที่ รบั ผิดชอบและหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง ได้ดำเนินการตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการเรยี บรอ้ ยแลว้ แต่อย่างไรก็ดี จากสถานการณ์ความแปรปรวนของแม่น้ำโขง ท่ียังคงวิกฤตอย่าง ต่อเน่ือง หลังระดับน้ำในแม่น้ำโขงหลายจุดลดลงจนมีระดับน้ำต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ และ สีของแม่น้ำโขงท่ี ต่างกันอย่างเห็นได้ชัด สีน้ำโขงที่จางลงในปี ๒๕๖๔ น้ี สะท้อนถึงปริมาณตะกอนต่ำลง ซึ่งกระทบวิถีความ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๒ เป็นอยู่ของประชาชน และสร้างความเสียหายให้กับระบบนิเวศแม่น้ำอย่างร้ายแรง และเสี่ยงต่อการทำลาย ความม่ันคงทางอาหารของประชาชนและชุมชนติดริมแม่น้ำโขง สำนักงานปลัดสำนักน ายกรัฐมนตรีจึง เห็นสมควรเสนอให้ตรวจติดตามความคืบหน้าในการดำเนินการของ ๘ จังหวัด ริมฝ่ังแม่น้ำโขงในการรองรับ การเปลย่ี นแปลงสภาพนิเวศดังกล่าวในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (๒) จดุ เน้นในการตรวจติดตาม ติดตามปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของแม่น้ำและ ผลความคืบหน้าในการ เตรียมการเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพนิเวศของแม่น้ำโขง ใน ๘ จังหวัดที่มีแม่น้ำโขงไหลผ่าน ได้แก่ จงั หวดั เชียงราย เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจรญิ และอุบลราชธานี (๓) ประเดน็ ในการตรวจตดิ ตาม (๓.๑) สถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลงสภาพนิเวศในล่มุ แม่น้ำโขง (๓.๒) ผลการดำเนินงานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของแม่น้ำโขงของ จงั หวดั และส่วนราชการทีเ่ ก่ียวข้องในสว่ นภูมิภาค (๓.๓) ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพนเิ วศในลุ่ม แมน่ ้ำโขงและแนวทางแกไ้ ข ตารางแสดงความเช่อื มโยงการติดตามความคบื หนา้ การแกไ้ ขปัญหาสำคญั ในเชิงพนื้ ที่ เรอื่ ง การเตรียมการเพ่ือรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของแมน่ ้ำโขง หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งหลกั หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งสนับสนุน การไหลของนำ้ และระดับน้ำ สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ กรมทรัพยากรน้ำ กรมอตุ ุนยิ มวิทยา สถาบันการศึกษาในพน้ื ท่ี การทบั ถมและพงั ทลายของตล่ิง กรมพฒั นาที่ดนิ กรมทรัพยากรธรณี คณุ ภาพนำ้ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรนำ้ กรมประมง การทำประมง กรมประมง สถาบันการศึกษาในพื้นท่ี เกษตรรมิ ฝั่งแมน่ ำ้ โขง กรมสง่ เสริมการเกษตร กรมพัฒนาท่ดี นิ กรมวชิ าการเกษตร ระบบนิเวศ สำนกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กรมการทอ่ งเที่ยว สถาบนั การศึกษาในพน้ื ที่ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๓ (1.๓.3) การพฒั นาเมอื งสมนุ ไพร (๑) หลกั การและเหตุผล รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาสมุนไพรไทย ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาและ ทรัพยากรที่สำคัญของประเทศ จึงได้กำหนดให้การพัฒนาสมุนไพรเป็นวาระแห่งชาติโดยเห็นชอบให้มีการพัฒนา สมุนไพรอย่างครบวงจรตามแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560 – 2564 ประกอบดว้ ย 4 ยุทธศาสตร์หลัก ซึง่ ในยุทธศาสตร์ท่ี 4 ของแผนแม่บทฯ กล่าวถึง การสร้างความเข้มแข็งของการ บริหารและนโยบายของภาครัฐเพ่ือการขับเคล่ือนสมุนไพรไทยอย่างย่ังยืน ได้กำหนดให้การพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) เป็น 1 ใน 6 มาตรการสำคญั และเป็นการถา่ ยทอดมาตรการและแผนงานจากแผนแม่บทแหง่ ชาติฯ ลงไปสู่การพัฒนาในระดับภูมิภาค โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาสมุนไพรอย่างครบวงจรตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง ทั้งการปลูกสมุนไพร การแปรรูป และการทำเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ หลากหลาย สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ และสร้างการเติบโตของชุมชนอย่างย่ังยืน โดยอาศัยกลไกประชารัฐ และ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน อันเป็นกลไกสำคัญในการขับเคล่ือนงานพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ใน พื้นที่จังหวัด โดยคัดเลือกจังหวัดท่ีมีความพร้อมเพ่ือพัฒนาให้เป็นเมืองสมุนไพร (Herbal City) และส่งเสริมการ พัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ให้เป็นบริบทของประเทศ ซ่ึงปัจจุบันมีจังหวัดได้รับการคัดเลือก จำนวน ทั้งสิ้น 14 จังหวัด ท่ัวประเทศ ได้แก่ เชียงราย สกลนคร ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี พิษณุโลก อุทัยธานี มหาสารคาม สุรนิ ทร์ อำนาจเจรญิ สระบรุ ี นครปฐม จนั ทบุรี สงขลา และอดุ รธานี คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ ในคราวประชุมคร้ังที่ 2/2563 เม่ือวันที่ 24 ธันวาคม 2563 ได้มีการพิจารณาการขับเคล่ือนภารกิจของคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ และมีมติ เห็นชอบให้เพ่ิมประเด็นการพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ในการตรวจราชการแบบบูรณาการ ใน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เน่ืองจากมีความจำเป็นต้องบูรณาการขับเคล่ือนการดำเนินงานร่วมกับหลายภาคส่วน ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคมหาวิทยาลยั วสิ าหกิจชุมชน และประชาชนเพ่อื ใหเ้ กิดการขับเคล่ือนการดำเนินงานใน พืน้ ที่จงั หวดั อยา่ งครบวงจรและเปน็ ระบบ สรา้ งมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ และการเติบโตของชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื จากการตรวจติดตามของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี และผู้ตรวจราชการกระทรวง ที่เกี่ยวข้อง เพื่อขับเคล่ือนการดำเนินงานเมืองสมุนไพร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบปัญหาอุปสรรคหลาย ประการที่ยังไมส่ ามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานการพฒั นาเมืองสมนุ ไพร ให้บรรลุผลสำเร็จตามแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรฯ ให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีกำหนดได้ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจึงเห็นสมควร เสนอใหต้ รวจติดตามความคบื หนา้ ในการพัฒนาเมืองสมุนไพร ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๔ (๒) จดุ เน้นในการตรวจติดตาม เน้นการตรวจติดตามการขับเคล่ือนการดำเนินการของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ และ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และการบูรณาการของภาคส่วนต่าง ๆ ใน ๑๔ จังหวัด ภายใต้ ๓ คลัสเตอร์ (เกษตร วัตถุดิบสมุนไพร อุตสาหกรรมสมุนไพร และท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและการแพทย์แผนไทย) ที่มีการ ขับเคล่อื นการพัฒนาเมอื งสมนุ ไพร (Herbal City) (๓) ประเด็นการตรวจติดตาม (๓.๑) ติดตามความคืบหน้าการดำเนินการของหน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบ และหน่วยงาน ทเี่ กี่ยวข้อง รวมท้งั การมีส่วนรว่ มของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในการขับเคล่ือนการพฒั นาเมืองสมุนไพร (Herbal City) ใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์และเปา้ หมายตามนโยบายของรฐั บาล และแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ฉบบั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (ขยายถงึ ๒๕๖๕) ใหม้ คี วามต่อเนอ่ื ง (๓.๒) ปัญหา อปุ สรรค ข้อจำกัดในการดำเนินงาน (๓.๓) ขอ้ สังเกตและขอ้ เสนอแนะในการตรวจตดิ ตาม ตารางแสดงความเชือ่ มโยงการติดตามความคบื หนา้ การแกไ้ ขปัญหาสำคญั ในเชิงพ้ืนท่ี เรือ่ ง การพฒั นาเมืองสมนุ ไพร หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งหลัก หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งสนบั สนนุ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิต กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสขุ ***** การพัฒนา และสรา้ งมลู ค่าเพิ่มผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร กระทรวงสาธารณสุข ***** กระทรวงอตุ สาหกรรม กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา การตลาด การจำหน่ายผลติ ภัณฑ์สมุนไพร กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงสาธารณสขุ ***** การรวมกล่มุ เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๕ (1.3.๔) การแกไ้ ขปัญหามลพิษทางอากาศ (๑) หลักการและเหตุผล ปัญหามลพิษทางอากาศ เป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญด้านส่ิงแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อ สุขภาพอนามยั ของประชาชน ซึ่งหลายพ้ืนท่ีในประเทศไทยมักจะประสบปัญหาเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะช่วงฤดู แลง้ ระหวา่ งเดือนธนั วาคมถึงเมษายน โดยแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศมีความแตกต่างกนั ในแตล่ ะภมู ภิ าค กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมควบคุมมลพิษ ได้จัดให้มีการ ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียน (After Action Review : AAR) การป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า หมอก ควัน และฝุ่นละออง ปี 2564 เม่ือวันที่ 23 สิงหาคม 2564 โดยมี พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน โดยสรุปสถานการณ์ในภาพรวม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 30 มิถุนายน 2564 พบว่า จำนวนจุดความร้อนภายในประเทศลดลง ร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปี 2563 ในช่วงเวลา เดียวกัน ส่วนสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิด 2.5 ไมครอน (PM2.5) พบว่า มีค่าเกินมาตรฐานในบาง จังหวัดและ บางช่วงเวลา เช่น กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ สระบุรี เป็นต้น ดังน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการ แก้ไขปัญหา PM2.5 ภาครัฐยังคงต้องมีการเฝ้าติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อยกระดับการแก้ไขปัญหา ให้ครอบคลุมทุกจังหวัดในประเทศไทย และ พลเอก ประวิตรฯ ได้มอบหมายทุกกระทรวงและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” อย่างเต็มท่ี โดยขยายผล ปรับปรุง และยกระดับการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน โดยกำหนด เป้าหมายให้สถานการณ์ของไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละอองดีขึ้นกว่าปีท่ีผ่านมาอย่างน้อย ร้อยละ 20 ภายใต้ ตัวช้ีวัดที่ชัดเจน พร้อมกับการสร้าง การรับรู้ให้ประชาชน และทุกเครือข่ายผนึกกำลังร่วมมือกันแก้ไขปัญหา เมอ่ื เกดิ สถานการณ์ เพอ่ื คนไทยจะไดส้ ูดอากาศที่สะอาดและมีคณุ ภาพชีวิตทดี่ ีขนึ้ ในทกุ ๆ ปี ทั้งน้ี จากการตรวจราชการร่วมกันของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจ ราชการกระทรวง และผู้ตรวจราชการกรมที่เก่ียวข้อง เพื่อขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ เมอ่ื ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พบวา่ หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ และหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง ทั้งในระดบั พื้นที่ และ ระดับกระทรวง กรม สามารถขับเคล่ือนการดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงาน และการบูรณาการ ดำเนินงานกับทกุ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ตรวจราชการ ทไี่ ดใ้ หไ้ วใ้ น คราวการตรวจติดตาม เม่ือปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ สำเร็จ ลุล่วง ใน ระดับหน่ึง ส่งผลให้สถานการณ์ฝุ่นละอองในภาพรวม ปี 2564 ดีข้ึนกว่าปี 2563 แต่ยังมีปัญหา/ข้อจำกัด บางประการ อาทิ การติดตามการตรวจสอบหรือคาดการณ์ฝุ่นละออง เนื่องจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ยังไม่ครอบคลุมทุกจังหวัด การบังคับใช้กฎหมาย และการบริหารจัดการ ซึ่งหน่วยงานไม่สามารถดำเนินการ ตามอำนาจหน้าท่ีได้อย่างเบ็ดเสร็จ ทำให้ยังคงต้องมีการตรวจติดตามในประเด็นดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง เพ่ือ ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศให้บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติฯ อันนำประเทศไทยไปสปู่ ระเทศไรฝ้ นุ่ และประชาชนมีอากาศท่ีบริสุทธิ์ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๖ (๒) จุดเนน้ ในการตรวจตดิ ตาม (๒.๑) ความคืบหน้าการดำเนินการขับเคลื่อนมาตรการต่าง ๆ ภายใต้แผนปฏิบัติการ ขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” ของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (๒.๒) ความคืบหน้าการดำเนินการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ภายใต้มาตรการ “4 พ้ืนที่ 5 มาตรการบรหิ ารจัดการ” มาตรการตามหลักการบรหิ ารจัดการสาธารณภัย (2P2R) หรือมาตรการอื่น ๆ ที่จงั หวดั ไดม้ กี ารดำเนินการ เพ่ือปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ในชว่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (๓) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม (๓.๑) ผลการดำเนินงานของส่วนราชการ และการบูรณาการระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ตามมาตรการภายใต้แผนปฏิบัติการขบั เคลื่อนวาระ แห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” มาตรการ “4 พ้ืนท่ี 5 มาตรการบรหิ ารจัดการ” มาตรการ ตามหลกั การบริหารจัดการสาธารณภัย (2P2R) หรอื มาตรการอื่น ๆ ทจี่ ังหวัดไดม้ ีการดำเนินการ เพ่ือป้องกัน และแก้ไขปัญหามลพษิ ทางอากาศ (๓.๒) ปัญหาอปุ สรรค ข้อจำกัดในการดำเนินงาน (๓.๓) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการพัฒนา/ปรับปรุงการ ปฏบิ ัติงาน ตารางแสดงความเช่ือมโยงการตดิ ตามความคบื หนา้ การแก้ไขปญั หาสำคัญในเชิงพ้ืนท่ี เร่ือง การแก้ไขปญั หามลพิษทางอากาศ การดำเนนิ การ หน่วยงานหลกั หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง มาตรการที่ 1 : มาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพ - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงเกษตร ในการบริหารจดั การเชิงพน้ื ที่ การบริหาร - กระทรวงทรัพยากร และสหกรณ์ จดั การ/ควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนดิ ใน ธรรมชาตแิ ละ - กระทรวงสาธารณสขุ ***** แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๗ การดำเนนิ การ หน่วยงานหลัก หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง เชิงพ้ืนที่ โดยการกำหนดแนวทางปฏบิ ัติใน สิ่งแวดล้อม - กระทรวงคมนาคม การแก้ไขปญั หาในช่วงวกิ ฤตสถานการณ์ - กรุงเทพมหานคร - กระทรวงอุตสาหกรรม รวมถงึ การดำเนินงานในระยะเรง่ ด่วนในการ - กระทรวงการต่างประเทศ แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศเพอื่ รองรับ - กระทรวงศึกษาธิการ สถานการณ์ในช่วงวกิ ฤตในพื้นทที่ ม่ี ปี ัญหา - กระทรวงการอดุ มศึกษา และพนื้ ทีเ่ สยี่ งปัญหาฝนุ่ ละออง ไดแ้ ก่ วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและ - พื้นท่ี 9 จงั หวดั ภาคเหนือ (จงั หวัด นวตั กรรม เชยี งใหม่ เชยี งราย ลำพูน ลำปาง พะเยา - กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจ แพร่ นา่ น แมฮ่ ่องสอน และตาก) และสังคม - พน้ื ทกี่ รุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - พื้นทป่ี ระสบปัญหาหมอกควันภาคใต้ (จงั หวัดสงขลา ยะลา นราธวิ าส) - พ้นื ทต่ี ำบลหนา้ พระลาน อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั สระบรุ ี - พ้นื ทจ่ี ังหวัดอืน่ ทเี่ ส่ยี งปัญหาฝุ่นละออง เชน่ จงั หวดั ขอนแก่น จงั หวดั กาญจนบรุ ี เปน็ ตน้ มาตรการท่ี 2 : การป้องกันและลดการเกิด - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงพลงั งาน - กระทรวงอตุ สาหกรรม มลพษิ ที่ต้นทาง (แหล่งกำเนิด) (๑) ดา้ นคมนาคม - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงการทอ่ งเท่ียว (ควบคมุ และลดมลพิษจากยานพาหนะ) - กระทรวงทรัพยากร และกีฬา ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม - กระทรวงวฒั นธรรม - กรงุ เทพมหานคร (2) ด้านการเผาในทีโ่ ล่ง - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงคมนาคม (ควบคมุ และลดมลพิษจากการเผาในท่ี - กระทรวงเกษตรและ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ สหกรณ์ และสงิ่ แวดลอ้ ม โล่ง/ภาคการเกษตร) - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงสาธารณสุข ***** - กรุงเทพมหานคร (3) ด้านการกอ่ สร้างและผงั เมือง สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ (ควบคุมและลดมลพิษจากการก่อสร้าง - กระทรวงมหาดไทย - กรุงเทพมหานคร และผงั เมือง) (4) ดา้ นอตุ สาหกรรม - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงพลงั งาน (ควบคมุ และลดมลพษิ จากภาค - กระทรวงทรัพยากร - กระทรวงการท่องเทยี่ ว อุตสาหกรรม) ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และกีฬา มาตรการท่ี 3 : การเพม่ิ ประสิทธิภาพการ - กรงุ เทพมหานคร - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงมหาดไทย แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๘ การดำเนินการ หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง บรหิ ารจัดการมลพิษ - กระทรวงทรัพยากร (1) พฒั นาเครือข่ายการติดตามตรวจสอบ ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม คณุ ภาพอากาศ (2) ทบทวน/ปรับปรงุ กฎหมาย/มาตรฐาน/ - กระทรวงทรัพยากร - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แนวทางปฏบิ ัตใิ หส้ อดคล้องกับ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย สถานการณ์ (3) สง่ เสรมิ การวิจัย/พฒั นาองค์ความรู้ด้าน - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีการติดตามตรวจสอบ การ - กระทรวงมหาดไทย และสง่ิ แวดลอ้ ม ตรวจวิเคราะห์ และนวตั กรรมเพ่อื ลด - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงการอุดมศึกษา มลพิษ ทางอากาศ เพ่ือนำไปประยุกตใ์ ช้ - กระทรวงสาธารณสขุ ** วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและ ด้านการจดั การคณุ ภาพอากาศ รวมถงึ นวตั กรรม เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ และถ่ายทอด - กระทรวงศึกษาธิการ องค์ความรู้ (4) การแก้ไขปญั หามลพิษข้ามแดน - กระทรวงทรัพยากร - กระทรวงการต่างประเทศ ธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม - กระทรวงคมนาคม - กระทรวงมหาดไทย (5) จดั ทำบัญชีการระบายมลพิษอากาศจาก - กระทรวงทรัพยากร - กระทรวงอุตสาหกรรม แหล่งกำเนดิ เป็นระยะ ๆ ธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม - กระทรวงมหาดไทย (6) พฒั นาระบบฐานข้อมลู เฝ้าระวังทเ่ี ปน็ - กระทรวงทรัพยากร - กระทรวงการอดุ มศกึ ษา หน่งึ เดียว ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม วิทยาศาสตร์ วิจัยและ - กระทรวงสาธารณสุข** นวตั กรรม - กระทรวงดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจ และสังคม - กระทรวงมหาดไทย (7) พฒั นาระบบคาดการณ์สถานการณ์ - กระทรวงทรัพยากร - กระทรวงอตุ สาหกรรม ฝ่นุ ละออง ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม - กระทรวงดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจ และสังคม (1.3.๕) การลดอบุ ตั ิเหตทุ างถนน (๑) หลักการและเหตผุ ล ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนสูงที่สุดเป็นอันดับ ที่ 9 ของโลกโดยมี ประมาณการผู้เสียชีวิต 32.7 คนต่อประชากรหนึ่งแสนคน หรือมีผู้เสียชีวิตเฉล่ียปีละ 22,491 คน (60 คน ตอ่ วัน) สถานการณก์ ารบาดเจบ็ และสูญเสียชีวิตจากอบุ ัติเหตทุ างถนนของประเทศไทย มแี นวโนม้ ดีข้นึ เลก็ นอ้ ย ในภาพรวม มีสถิติผู้เสียชีวิตลดลงจากประมาณการคร้ังท่ีผ่านมา ขององค์การอนามัยโลก 2,000 คน รัฐบาล ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการลดอุบัติเหตุทางถนน ซ่ึงผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จึงได้ กำหนดนโยบายของรัฐบาลในการลดอุบัติเหตุทางถนน ไว้ในด้านที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๖๙ ในการแข่งขันของไทย ด้านพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ด้วยการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้าน ความปลอดภยั ทางถนน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. 2560 –2564) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ แนวทางการพัฒนาเพ่ือลดปัจจัยเสี่ยง ด้าน สุขภาพ และให้ทุกภาคส่วนคำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ และให้ส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนน ผ่านการส่ือสารสาธารณะที่เหมาะสมตามกลุ่มเป้าหมายให้มีการปรับพฤติกรรมที่จะลดการเกิดอุบัติเหตุทั้งต่อ ตนเองและผูอ้ น่ื รวมทง้ั มกี ารบรหิ ารจัดการความเสี่ยงดา้ นความปลอดภยั ทางถนนอย่างเปน็ ระบบ แผนแม่บทโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล แผนแม่บทย่อย โครงสร้าง พ้ืนฐานด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ เป้าหมายย่อย ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง เป็นเป้าหมาย เพื่อลดอัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนให้เป็น 12 คนต่อประชากร 1 แสนคน ซ่ึงเป็นค่าเป้าหมายตาม ปฏญิ ญาบราซิเลยี ที่กำหนดใหท้ ุกประเทศลดอัตราผ้เู สียชีวติ จากอบุ ัติเหตทุ างถนนประมาณร้อยละ 50 ภายใน ปี 2563 เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายปัจจัยขับเคลื่อนที่สำคัญ ได้แก่ ความรู้และประสบการณ์ของ คน องค์กร และหน่วยงาน ความพร้อมของถนนและยานพาหนะ วินัยของผู้ใช้รถใช้ถนน และการช่วยเหลือหลังการเกิด อุบตั ิเหตุ รวมทั้งสภาพแวดล้อมทช่ี ว่ ยลดผู้เสยี ชีวิตจากอุบตั เิ หตทุ างถนนในภาพรวม จากการตรวจติดตามการลดอบุ ัติเหตุทางถนนของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ทุกสองสัปดาห์/ทุกเดือน ต้ังแตเ่ ดือนมิถนุ ายน -- ตุลาคม 2564 พบว่า บางพ้ืนที่ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร รวมถงึ เมืองสำคัญ ๆ ท่ีมีความเจริญทางเศรษฐกิจ มีแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ ท่ีมีความคับค่ังทาง ดา้ นการจราจร จะมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนนค่อนข้างสูง โดยเฉพาะช่วงเทศกาลสำคัญ ๆ แม้ว่า ภาคส่วนต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคประชาชน บูรณาการ ร่วมมือกันขับเคล่ือนการลดอุบัติเหตุทางถนนอย่างต่อเนื่องแล้วก็ตาม จึงเห็นสมควรที่จะตรวจติดตามความ คืบหน้าใน การลดอบุ ตั ิเหตุทางถนน ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๗๐ (๒) จุดเนน้ ในการตรวจติดตาม เน้นการตรวจติดตามการขับเคลื่อนการดำเนินการของหน่วยงานที่รับผิดชอบ และ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และการบูรณาการของภาคส่วนต่าง ๆ ในระดับพ้ืนที่ ในการขับเคลื่อนแนวทางการลด อบุ ัติเหตุทางถนนเพ่ือให้อตั ราผบู้ าดเจ็บ และผูเ้ สยี ชวี ติ ลดลงจากอุบัติเหตุทางถนน (๓) ประเดน็ ในการตรวจติดตาม (๓.๑) ผลการดำเนินงานการลดอุบตั ิเหตทุ างถนน ๑) การลดปัจจัยเสย่ี งที่กอ่ ให้เกดิ ผู้เสยี ชีวติ จากอุบัตเิ หตุทางถนน ๒) การขับเคลื่อนการป้องกันและลดผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจบ็ จากอุบัติเหตุทาง ถนน ให้เป็นไปตามแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนนฯ หรือแผนการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนอื่น ๆ ตามทร่ี ฐั บาลกำหนด ๓) การตอบสนองหลังเกิดอบุ ัตเิ หตุ ๔) อน่ื ๆ (๓.๒) ปัญหาและอุปสรรคในการลดอบุ ตั เิ หตุทางถนน (๓.๓) ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ตารางแสดงความเชือ่ มโยงการตดิ ตามความคบื หนา้ การแก้ไขปัญหาสำคัญในเชงิ พืน้ ท่ี เร่อื ง การลดอุบัติเหตุทางถนน เรื่อง หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง - การจดั การเพื่อความปลอดภยั กระทรวงมหาดไทย (กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย) กระทรวงสาธารณสขุ ***** กระทรวงคมนาคม สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - การลดพฤติกรรมเส่ียงที่ทำใหเ้ กิด กระทรวงมหาดไทย (กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย) อุบตั ิเหตุทางถนน กระทรวงสาธารณสุข ***** กระทรวงคมนาคม สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ กระทรวงศึกษาธิการ/กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงการคลงั (กรมสรรพสามิต) - การตรวจสอบ และควบคุมการใช้ กระทรวงคมนาคม ยานพาหนะ อย่างปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ - การตรวจสอบสภาพถนนและ กระทรวงคมนาคม สภาพแวดล้อม ขา้ งทาง กระทรวงมหาดไทย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ - การตอบสนองหลังเกิดเหตุ และการ กระทรวงคมนาคม ช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบอุบตั ิเหตุทางถนน กระทรวงสาธารณสุข ***** แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565
๑๗๑ เรอ่ื ง หน่วยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ 1.4 การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนหรือข้อร้องเรียนของประชาชน หรือการผลักดันการดำเนิน โครงการ/มาตรการสำคัญในเชิงพืน้ ท่ีของส่วนราชการ (๑) ทีม่ าของเรือ่ งทนี่ ำมาดำเนินการ - ปัญหาความเดอื ดร้อนของประชาชนท่ีมีการร้องเรียนผ่านศนู ย์บริการประชาชน ศูนยด์ ำรง ธรรมจังหวัด คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด ฯลฯ โดยเป็นปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ซึ่ง อาจเป็นปัญหาท่ีมีแนวโน้มจะเป็นปัญหามวลชน และการดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ไม่สามารถ ดำเนนิ การไดด้ ว้ ยหน่วยงานใดหนว่ ยงานหน่งึ - การผลักดันการดำเนินโครงการ/มาตรการสำคัญในเชิงพื้นที่ของ ส่วนราชการ อาทิ การ ขับเคลอื่ นเขตเศรษฐกจิ พิเศษ การพฒั นาด่านการคา้ ชายแดน เปน็ ตน้ (๒) วัตถปุ ระสงคใ์ นการตรวจราชการ เพ่ือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนให้เสร็จส้ิน หรือบรรเทาความรุนแรงของ ปัญหาก่อนท่ีจะลุกลามเป็นปัญหาของมวลชน หรือเพื่อให้เกิดการผลักดันการดำเนินโครงการสำคัญในพื้นที่ท่ี สง่ ผลตอ่ ประชาชน หรอื หน่วยงานราชการจำนวนมาก ๒. กรอบแนวทางปฏบิ ัติในการตรวจราชการแบบบูรณาการ สำนักงานปลดั สำนักนายกรฐั มนตรีไดจ้ ดั ทำกรอบแนวทางปฏิบตั ิในการตรวจราชการแบบบรู ณาการ สรปุ ได้ ดงั ตารางต่อไปนี้ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359