Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore anatomy

anatomy

Published by wasya sinsakul, 2020-01-24 04:26:28

Description: การศึกษา

Search

Read the Text Version

การพัฒนาสือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์: กายวิภาคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพืนฐานของมนุษย์ E–learning Media Development: Basic Human Anatomy and Physiology โดย ศรีรัฐ ภกั ดีรณชิต วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ 2556 งานวิจยั ฉบบั นีได้รับทุนอุดหนุนตามโครงการวิจัยจากงบรายได้ ของวทิ ยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประจาํ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2555

งานวิจยั ฉบบั นีได้รับทุนอุดหนุนตามโครงการวิจยั จากงบรายได้ ของวทิ ยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2555

บทคดั ย่อ การวิจยั เรือง การพฒั นาพฒั นาสือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์: กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา พนื ฐานของมนุษย์ มีจุดมุ่งหมายเพือจดั ทาํ สือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ รายวชิ ากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยา พืนฐานของมนุษย์ นาํ เสนอผา่ นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพือศึกษา ผลสมั ฤทธิทางการเรียนของนิสิตวิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคมทีเรียนผ่านสือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย์ และเพือศึกษาความพึงพอใจของนิสิต ทีมีต่อการ ใชบ้ ทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ รายวชิ ากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของมนุษย์ งานวิจยั นีเป็ นการวิจยั และพฒั นา โดยดาํ เนินการร่วมกนั ระหว่างผวู้ ิจยั ผเู้ ชียวชาญดา้ นเนือหา ดา้ นสือเทคโนโลยีการศึกษา และ นิสิต กลุ่มตวั อย่างทีใชใ้ นการวิจยั ประกอบดว้ ยผเู้ ชียวชาญ และผเู้ รียน โดยกลุ่มตวั อย่างทีเป็ นผเู้ ชียวชาญ ประกอบดว้ ยผเู้ ชียวชาญดา้ นเนือหา จาํ นวน 3 คน และผเู้ ชียวชาญดา้ นสือเทคโนโลยกี ารศึกษา จาํ นวน 5 คน จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และกลมุ่ ตวั อยา่ งทีเป็นผเู้ รียน จากการเลือกแบบเจาะจง จาก นิสิตชนั ปี ที 2 วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ทีศึกษารายวิชากายวิภาค ศาสตร์และสรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย์ ในภาคเรียนที 1 ปี การศกึ ษา 2555 จาํ นวน 46 คน การวิจยั และพฒั นาสือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์: กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพนื ฐานของมนุษย์ สามารถสรุปผลการวิจยั ไดด้ งั นี 1. การตรวจสอบคุณภาพของสือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์: กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐาน ของมนุษยท์ ีผวู้ จิ ยั สร้างขึน จากผลการวจิ ยั เชิงทดลอง จาํ นวน 3 ครัง พบว่า การทดลองครังที 1 สือบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพเท่ากบั 81.25/83.33 การทดลองครังที 2 สือบทเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์มี ประสิทธิภาพเท่ากบั 84.17/90.69 และการทดลองครังที 3 สือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์มีประสิทธิภาพเท่ากบั 85.50/91.00 และเป็นไปตามสมมติฐานทีตงั ไว้ 2. การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิทางการเรียนของนิสิตชนั ปี ที 2 วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ เมอื ใชส้ ือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์: กายวิภาคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพนื ฐานของ มนุษย์ จากผลการวิจยั พบว่า ในแต่ละหน่วยการเรียนและรวมหน่วยการเรียนทงั หมด นิสิตในกลุ่มตวั อยา่ งมี คะแนนเฉลยี หลงั ใชส้ ือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ิทีระดบั .05 3. การสาํ รวจความพงึ พอใจของผเู้ รียนทีมีต่อสือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์: กายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย์ จากผลการวจิ ยั พบว่า ผเู้ รียนมีความพึงพอใจต่อสืออยใู่ นเกณฑ์ระดบั มาก และ พบว่าผูเ้ รียนมีความพึงพอใจระดับมากในทุก ๆ ดา้ น โดยมีคะแนนรวมเรียงจากมากไปน้อย ไดแ้ ก่ ดา้ น กิจกรรมการเรียนรู้ของบทเรียนและเว็บไซต์ ดา้ นการนําเสนอเนือหา และดา้ นรูปแบบการเรียนการสอน ตามลาํ ดบั

Abstract The research on E–learning Media Development: Basic Human Anatomy and Physiology has three main objectives which are; 1) to create E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology presenting on computer network system and evaluate efficiency of the creating E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology 2) to study compared the learning achievement of students who studied E– learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology and 3) to study the satisfaction of academic in College of Social Communication Innovation, Srinakharinwirot University students who studied E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology. This research uses the method of study in developing research by conducting together between researcher, experts in contents and educational Technology and students. The Sample of this research consists of experts and students, there are 3 contents experts and 5 educational technology in the sample of expert which chosen by purposive sampling. For the sample of students have also chosen by purposive sampling from 46 students of College of Social Communication Innovation, Srinakharinwirot University who learn E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology in first semester, the year of 2012. The results of this research are; 1) The effectiveness of the E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology that the researcher has developed, the results of 3 tests have found that in the first test, the efficiency of the lesson is 81.25/83.33, in the second test, the efficiency of the lesson is 84.17/90.69 and in the last test, the efficiency of the lesson is 85.50/91.00, it was higher than criteria set 80/80. 2) The comparison of the success in the study of academic in College of Social Communication Innovation when studied by E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology, founded that in each unit study and all, the sample group of students has the average score after studied by E–learning Media higher than before study of .05. 3) The research of students satisfaction toward E–learning Media Development in Basic Human Anatomy and Physiology, found that students has high satisfaction with E–learning Media in every fields, according to the scores from highest to the lowest which arranged by following; learning activities of electronic media, presentation of contents and learning method.

สารบญั หนา้ บทที 1 บทนาํ 1 1.1 ความสาํ คญั และทีมาของปัญหาทีทาํ การวิจยั 5 1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงการการวิจยั 5 1.3 กรอบแนวคิดของการวจิ ยั 6 1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั 6 1.5 คาํ จาํ กดั ความทีใชใ้ นการวจิ ยั 7 1.6 ประโยชนค์ าดวา่ จะทีไดร้ ับ 8 บทที 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเกยี วขอ้ ง 8 2.1 เอกสารทีเกียวขอ้ งแนวคิดเกียวกบั บทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-learning) 13 2.2 เอกสารทีเกียวขอ้ งกบั แนวคิดเกียวกบั การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ 27 2.3 เอกสารทีเกียวขอ้ งกบั แนวความคิดเกียวกบั กายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยาของมนุษย์ 46 2.4 เอกสารทีเกียวขอ้ งกบั แนวคิดเกียวกบั ความพงึ พอใจ 51 2.5 งานวิจยั ทีเกียวขอ้ ง 58 บทที 3 วิธีดาํ เนินการวิจยั 58 3.1 ระเบียบวิธีการวจิ ยั 61 3.2 การสร้างเครืองมือทีใชใ้ นการวจิ ยั 66 3.3 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 67 3.4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 71 บทที 4 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 78 บทที 5 สรุปผล อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ 82 82 สรุปผลการวิจยั 85 อภิปรายผลการวจิ ยั 86 ขอ้ เสนอแนะ 91 รายการอา้ งอิง 108 ภาคผนวก ประวตั ิผวู้ จิ ยั

สารบัญตาราง ตาราง 1 การหาประสิทธิภาพของการพฒั นาสือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ หนา้ ตาราง 2 รายวิชา กายวิภาคศาสตร์ และสรี รวิทยาพืนฐานของมนุษย์ 72 ตาราง 3 การทดลองครังที 1 ตาราง 4 กา ร ห าปร ะสิ ท ธิ ภาพ ข องก าร พ ัฒน าสื อบ ท เรี ย น อิ เล็ก ท รอนิ ก ส์ 73 ตารางที 5 รายวิชา กายวิภาคศาสตร์ และสรี รวิทยาพืนฐานของมนุษย์ การทดลองครังที 2 74 กา ร ห าปร ะสิ ท ธิ ภาพ ข องก าร พ ัฒน าสื อบ ท เรี ย น อิ เล็ก ท รอนิ ก ส์ รายวิชา กายวิภาคศาสตร์ และสรี รวิทยาพืนฐานของมนุษย์ 75 การทดลองครังที 3 76 เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งผลสัมฤทธิทางการเรียนก่อนและ หลงั เรียน แสดงความพึงพอใจของนิสิต วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม มหาวิทยาลัย ศรี นคริ นทรวิโร ฒทีมีต่อการใช้สื อบทเรี ย น อิเลก็ ทรอนิกส์ รายวชิ า กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของ มนุษย์

1 บทที 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสําคญั ของปัญหา ในยคุ แห่งการแข่งขนั ทางสงั คมค่อนขา้ งสูงในปัจจุบนั ส่งผลต่อการปรับตวั ให้ทดั เทียมและเท่าทนั กบั ความเปลียนแปลงทีเกิดขึนในบริบททางสงั คมในทุกมิติรอบดา้ น ดังนนั การเสริมสร้างองคค์ วามรู้ (Content Knowledge) ทกั ษะเฉพาะทาง (Specific Skills) ความเชียวชาญเฉพาะดา้ น (Expertise) และสมรรถนะของการ รู้เท่าทนั (Literacy) จึงเป็นตวั แปรสาํ คญั ทีตอ้ งเกิดขึนกบั ตวั ผเู้ รียนในการเรียนรู้ยคุ สงั คมแห่งการเปลยี นแปลงใน ศตวรรษที 21 นีไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ (สุรศกั ดิ ปาเฮ, 2555) กระแสการปรับเปลยี นทางสงั คมทีเกิดขึนในศตวรรษที 21 ซึงเป็ นยคุ แห่งความเป็ นโลกาภิวตั น์ (The Globalization) ทีไดเ้ กิดวิวฒั นาการความกา้ วหนา้ ในทุก ๆ มิติเป็ นไปอยา่ งรวดเร็วและรุนแรง ส่งผลต่อวิถีการ ดาํ รงชีพของสังคมอย่างทัวถึง ดงั นันการกาํ หนดยุทธศาสตร์และการสร้างความพร้อมทีจะรับมือกบั การ เปลียนแปลงทีเกิดขึนนนั เป็ นสิงทีทา้ ทายศกั ยภาพและความสามารถของมนุษยท์ ีจะสร้างนวตั กรรมทางการ เรียนรู้ในลกั ษณะต่าง ๆ ใหเ้ กิดขึน และสามารถรองรับการเปลียนแปลงดงั กล่าว โดยสภาพแวดลอ้ มทางการ เรียนรู้ในศตวรรษที 21 (21st Century Learning Environment) ดงั นี (Partnership for 21st Century Skills, 2555) 1) สร้างสรรค์แนวปฏิบัติทางการเรียน การรับการสนับสนุนจากบุคลากรและสภาพแวดลอ้ มทาง กายภาพทีเกือหนุน เพือช่วยใหก้ ารเรียนการสอนบรรลผุ ล 2) สนบั สนุนทางวิชาชีพแก่ชุมชนทงั ในดา้ นการให้การศึกษา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันสิงปฏิบตั ิที เป็นเลิศระหวา่ งกนั รวมทงั การบูรณาการหลอมรวมทกั ษะหลากหลายสู่การปฏบิ ตั ิในชนั เรียน 3) สร้างผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้จากสิงทีปฏิบตั ิจริงตามบริบท โดยเฉพาะการเรียนแบบโครงงาน 4) สร้างโอกาสในการเขา้ ถึงสือเทคโนโลยี เครืองมือหรือแหล่งการเรียนรู้ทีมคี ุณภาพ 5) ออกแบบระบบการเรียนรู้ทีเหมาะสมทงั การเรียนเป็นกลุ่มหรือการเรียนรายบุคคล 6) นาํ ไปสู่การพฒั นาและขยายผลสู่ชุมชนทงั ในรูปแบบการเผชิญหนา้ หรือระบบออนไลน์ ดงั นนั จะเห็นไดว้ า่ การศกึ ษาในปัจจุบนั ควรเนน้ ในส่วนของการนาํ สือเทคโนโลยีมาใชเ้ ป็ นเครืองหรือ แหลง่ การเรียนรู้ทีมคี ุณภาพ โดยเนน้ การเรียนรู้ร่วมกนั และแบบรายบุคคลในรูปแบบออนไลน์ ซึงหลกั การนี สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิมเติม (ฉบบั ที 3) พ.ศ. 2553 หมวด 9 มาตรา 66 ทีกลา่ วว่า ผเู้ รียนมสี ิทธิไดร้ ับการพฒั นาขีดความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยเี พือการศึกษาในโอกาสแรกที ทาได้ เพอื ใหม้ คี วามรู้และทกั ษะเพียงพอทีจะใชเ้ ทคโนโลยีเพือการศึกษาในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองได้ อยา่ งต่อเนืองตลอดชีวติ (สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, 2553) ดงั นนั รูปแบบการเรียนการสอนใน

2 ลกั ษณะทีผสู้ อนเป็ นผถู้ ่ายทอดเนือหาความรู้โดยใชว้ ิธีการบรรยายประกอบการใชส้ ือการสอนสาํ หรับการ จดั การเรียนรู้ในชนั เรียนตามตารางเวลาทีกาํ หนด รูปแบบการสอนแบบนี เป็ นรูปแบบการสอนทีไม่ตอบสนอง ต่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพราะผเู้ รียนขาดความกระตือรือร้นทีจะแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง (เขมณัฏฐ์ มิงศิริ ธรรม, 2552) เวลิ ด์ ไวด์ เวบ็ หรือบริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซึงไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพร่หลายในปัจจุบนั เริมเขา้ มาเป็ นทีรู้จกั ในวงการศึกษาในประเทศไทยตงั แต่พ.ศ. 2538 เว็บไดเ้ ขา้ มามีบทบาทสาํ คญั ทางการศึกษาและ กลายเป็นคลงั แห่งความรู้ทีไร้พรมแดนซึงผสู้ อนไดใ้ ชเ้ ป็นทางเลอื กใหมใ่ นการส่งเสริมการเรียนรู้เพือเปิ ดประตู การศึกษาจากหอ้ งเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อนั กวา้ งใหญ่รวมทงั การนาํ การศึกษาไปสู่ผทู้ ีขาดโอกาสดว้ ย ขอ้ จาํ กดั ทางดา้ นเวลาและสถานที การสอนบนเวบ็ (Web-Based Instruction ) เป็นผลของความพยายามในการ ใชเ้ วบ็ เพอื ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การเรียนการสอนแก่ผเู้ รียนทงั นีเพอื ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการ เรี ยนการสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) เป็ นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยีปัจจุบันกับ กระบวนการออกแบบการเรียนการสอนเพือเพิมประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแกป้ ัญหาในเรืองขอ้ จาํ กดั ทางดา้ นสถานทีและเวลาโดยจะประยกุ ตใ์ ชค้ ุณสมบตั ิและทรัพยากรของเวลิ ด์ ไวด์ เวบ็ ในการจดั สภาพแวดลอ้ ม ทีส่งเสริมและสนบั สนุนการเรียนการสอนการเรียนการสอนทีจดั ขึนผา่ นเวบ็ นีอาจเป็นบางส่วนหรือทงั หมดของ กระบวนการเรียนการสอนก็ไดก้ ารสอนบนเว็บเป็ นรูปแบบการเรียนการสอนทีแตกต่างไปจากการเรียนใน หอ้ งเรียน กลา่ วคือผเู้ รียนจะเรียนผ่านจอคอมพิวเตอร์ซึงต่อเขา้ กบั เครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยผเู้ รียนจะสามารถ เรียนจากทีใดกไ็ ดใ้ นเวลาใดกไ็ ด้ ยกเวน้ ในบางหลกั สูตรทีออกแบบใหผ้ เู้ รียนเขา้ มาเรียนในเวลาทีกาํ หนดเช่นใน ลกั ษณะของการออกอากาศบนเวบ็ (Web Cast) โดยปกติแลว้ ขนั ตอนการสอนบนเวบ็ จะเริ มจากการทีผเู้ รียนเขา้ สู่ระบบอินเตอร์เน็ตหรืออินทราเน็ต และใชบ้ ราวเซอร์(โปรแกรมอ่านเวบ็ )เปิ ดไปยงั เวบ็ ไซตก์ ารศกึ ษาทีไดอ้ อกแบบไวบ้ างกรณีผเู้ รียนจะตอ้ งมีการ ลงทะเบียนก่อนเพอื ขอรหสั ผา่ นเขา้ เรียน หลงั จากนนั ผเู้ รียนจะศกึ ษาเนือหา โดยวธิ ีในการศึกษาอาจเป็นการอา่ น ขอ้ ความบนจอหรือโหลดเนือหาลงมายงั เครืองของตนหรือสังพิมพอ์ อกทางเครืองพิมพเ์ พือศึกษาภายหลงั ก็ได้ โดยผเู้ รียนจะจะมกี ารโตต้ อบกบั เนือหาบทเรียนซึงใชก้ ารนาํ เสนอในลกั ษณะของไฮเปอร์มีเดียหรือสือประสม ต่าง ๆ อนั ไดแ้ ก่ ข้อความ ภาพนิง เสียง กราฟิ ก วีดีทศั น์ภาพเคลือนไหว ซึงสามารถออกแบบให้เนือหาทีมี ความสมั พนั ธก์ นั เชือมโยง (ลิงค)์ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ทาํ ใหผ้ เู้ รียนนอกจากจะสามารถเรียกอ่านเนือหาทีผสู้ อนเตรียม ไวไ้ ดต้ ามปรกติแลว้ ยงั สามารถเรียกอ่านเนือหาทีผสู้ อนลงิ คไ์ วจ้ ากเวบ็ ไซตอ์ ืน ๆ จากทวั โลกไดน้ อกจากนีผเู้ รียน จะสามารถโตต้ อบกบั ผเู้ รียนอนื หรือกบั ผสู้ อนไดโ้ ดยการโตต้ อบนีอาจเป็นไดท้ งั แบบเวลาเดียวกนั และต่างเวลา กนั และในลกั ษณะของบุคคลต่อบุคคล บุคคลต่อกลมุ่ หรือกล่มุ ต่อกลุม่ ก็ไดใ้ นบางครังผเู้ รียนอาจจะตอ้ งทาํ การ ทดสอบหลงั จากการเรียนดว้ ยและในกรณีทีผสู้ อนทาํ การสอนบนเวบ็ อยา่ งเต็มรูปแบบผเู้ รียนจะตอ้ งรับ-ส่งงาน

3 และเขา้ มาตรวจสอบผลป้ อนกลบั บนเวบ็ ไซตด์ ว้ ยราชบณั ฑิตไดบ้ ญั ญตั ิคาํ ศพั ท์ \"Web-Based Instruction\" ไวว้ ่า \"การสอนโดยใชเ้ วบ็ เป็นฐาน\" หรือ \"การสอนบนเวบ็ \" ซึงเป็นคาํ ทีนิยมใชก้ นั มากกว่า นอกจากนียงั มีใชว้ ่า \"การ เรียนการสอนผา่ นเวบ็ \" \"การสอนผา่ นเวบ็ \" \"คอร์สออนไลน์\" และ \"โฮมเพจรายวิชา\"ดว้ ย (ถนอมพร เลาหจรัส แสง, 2542) การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ เป็นการเรียนการสอนทีอาศยั โปรแกรมไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) มาช่วย ในการสอนโดยนาํ เอาคุณลกั ษณะและทรัพยากรต่าง ๆ ของเวิลด์ ไวด์ เวบ็ มาใชป้ ระโยชน์ และสร้างการเรียนรู้ อยา่ งมคี วามหมาย (Khan, 1997) ไดเ้ ปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนทุกหนทุกแห่งในโลกมีโอกาสเขา้ ถึงขอ้ มลู ทีอย่ใู นเว็บ ไดใ้ กลเ้ คียงกนั (สมปอง เพชรโรจน,์ 2549) อีกทงั ยงั ตอบสนองความแตกต่างระหว่างผเู้ รียนแต่ละบุคคล ผเู้ รียน สามารถควบคุมการเรียนตามความตอ้ งการและความสามารถของตนเองไดโ้ ดยผสู้ อนคอยให้ความช่วยเหลือ แนะนาํ การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ จึงเป็นเครืองมอื สาํ คญั ของการจดั การเรียนรู้ทีมีคุณค่ายิงต่อการเชือมโยงและ จดั การขอ้ มลู สารสนเทศต่าง ๆ เพอื ถา่ ยทอดและนาํ เสนอแนวทางในการเรียนรู้จากขอ้ มลู สารสนเทศเพอื นาํ มาใช้ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ดว้ ยการนาํ ตนเองได้ (Jonassen, 2007) ดงั นนั สรุปไดว้ ่าการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) หรือการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web- based Instruction =WBI ) หรือการสอนออนไลน์ เป็ นรูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม่ ทีมีการประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยสี ืออิเลก็ ทรอนิกส์สมยั ใหม่ มวี ตั ถุประสงคท์ ีเอืออาํ นวยใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรู้องคค์ วามรู้ไดโ้ ดยไม่ จาํ กดั เวลาและสถานที เพือใหร้ ะบบการเรียนการสอนเป็ นไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากขึนและเพือใหผ้ เู้ รียน สามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องกระบวนวิชาทีเรียนนนั ๆ ทงั นีอาจเป็ นการจดั การเรียนการสอนเพียงบางส่วน หรือทงั รายวชิ า โดยอาศยั หลกั และวธิ ีการออกแบบการเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบ เป็ นการใชป้ ระโยชน์จาก คุณลกั ษณะและทรัพยากรของอนิ เตอร์เน็ตและเวิลดไ์ วด์เวบ็ ในการสือสารและถ่ายทอดความรู้ เพือสนับสนุน การเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ อกี ทงั ยงั สามารถแกป้ ัญหาในเรืองขอ้ จาํ กดั ของเวลา สถานที และจาํ นวน คนไดอ้ ีกดว้ ย นอกจากนีรูปแบบการเรียนกม็ ีความสาํ คญั โดย Blended Learning(BL) หรือการเรียนรู้แบบผสมผสาน เป็นการมาบรรจบกนั โดยการผสมผสานของลกั ษณะการเรียนการสอนทีมสี ิงแวดลอ้ มแตกต่างกนั กล่าวคือ ดา้ น แรกเป็นลกั ษณะของสิงแวดลอ้ มทางการเรียนการสอนแบบดงั เดิมในชนั เรียน (Traditional Classroom) ทีผสู้ อน และผเู้ รียนมีปฏิสัมพนั ธก์ นั แบบเผชิญหนา้ (face-to-face) อีกดา้ นหนึงเป็ นการนาํ เอาลกั ษณะของสิงแวดลอ้ ม ทางการเรียนการสอนทีนาํ เอาความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยีสือคอมพิวเตอร์(Computer-mediated)แบบ ออนไลน์เขา้ มามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน เพือใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้แมว้ ่าไม่ไดอ้ ย่ภู ายในชนั เรียน อตั ราส่วนทีนิยมในการจดั การเรียนการรู้แบบผสมผสาน คือ การเรียนรู้โดยใชส้ ือคอมพิวเตอร์ออนไลน์ นอกชนั เรียนประมาณ30%-70%ซึงการแบ่งช่วงของการเรียนรู้ภายในชนั เรียนและภายนอกชนั เรียนขึนอย่กู บั

4 ความเหมาะสมของ เนือหา วตั ถุประสงคต์ ลอดจนความพร้อมของอุปกรณ์ผเู้ รียน และผสู้ อน (ศรีศกั ดิ จามรมาน , 2552 อา้ งถึงใน ฐิติชยั รักบาํ รุง, 2555) มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ เป็นสถาบนั การศกึ ษาของรัฐสถาบนั หนึงทีมงุ่ ส่งเสริมและพฒั นาระบบ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพือเป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้ทีมีความยืดหยนุ่ ไร้ขีดจาํ กดั เรืองสถานทีและ เวลา มากขึน รวมทงั ยงั อาจเป็นกระบวนการทีเขา้ ถึงผเู้ รียนโดยใชส้ ือทีเด็กวยั นีสนใจเป็ นสือกลางในการปรับที ท่าและกระบวนการเรียนการสอนให้แตกต่างไปจากเดิม ปัจจุบนั มหาวิทยาลยั ศรี นครินทรวิโรฒ ยงั มีการจดั ให้บริ การอินเตอร์เน็ตไร้สายให้กับนิสิตโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพือเอือประโยชน์ในแง่ข้อจํากัดของ หอ้ งปฏิบตั ิการหรือห้องเรียน ช่วยให้นิสิตสามารถเชือมโยงอินเทอร์เน็ตส่วนตัวของนิสิตเข้าใชใ้ นระบบ อนิ เทอร์เน็ตไร้สายของมหาวทิ ยาลยั ไดต้ ลอดเวลา วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ไดด้ าํ เนินการเปิ ดสอนหลกั สูตรวิทยา ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวตั กรรมสือสาร ตงั แต่ปี การศึกษา 2550 และหลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขา นวตั กรรมการสือสาร ในปี การศึกษา 2554 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือผลติ บุคลากร ทีมคี วามรู้ความเชียวชาญเฉพาะ ดา้ น และสามารถนาํ ความรู้ทีไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั การดาํ เนินงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ หลกั สูตรที เปิ ดสอนในวิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คมเป็นหลกั สูตรทีบูรณาการผสมผสานศาสตร์ดา้ นการสือสาร ศิลปะ คอมพิวเตอร์และการจดั การเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั อีกทงั วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคมเป็ นหน่วยงานทีเกิดขึนใหม่ นบั เป็นคณะวิชาทีเกียวพนั กบั สือร่วมสมยั เป็นหลกั อุปกรณ์หลกั ของวิทยาลยั คือ เครืองคอมพิวเตอร์ นิสิตทุก คนทีศึกษาในทุกสาขามสี มรรถนะหลกั ทีสาํ คญั กค็ ือการใชค้ อมพวิ เตอร์ ดว้ ยเหตุผลดงั กล่าวการจดั การศึกษาให้กบั นิสิตของวิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม จึงตอ้ งมีแนว ทางการจดั การเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลยี นแปลงของสังคม และนวตั กรรมเทคโนโลยีร่วมสมยั หนึงใน ระบบเทคโนโลยที ีมีความสาํ คญั ต่อนิสิตก็คือระบบอินเตอร์เน็ต ดงั นนั การการจดั การเรียนการสอนดว้ ยระบบ e-learningในลกั ษณะออนไลนอ์ นั เป็นกระบวนการและสือทีตรงกบั ลกั ษณะความสนใจของวยั ผเู้ รียนนัน น่าจะ เป็นทางเลอื กหนึงทีบุคลากรผสู้ อนในวิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คมมคี วามจาํ เป็ นตอ้ งเลือกใชใ้ หเ้ กิดรูปแบบ การเรียนแบบผสมผสาน(hybrid learning) อนั จะช่วยเร้าความสนใจของผเู้ รียนใหส้ ามารถเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งต่อเนือง ผวู้ จิ ยั จึงไดเ้ ลอื กศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การจดั การเรียนรู้แบบเอกตั ภาพและ การพฒั นาสือ การเรียนการสอนการสร้างบทเรียนออนไลน์ มาทดลองพฒั นาบทเรียนผ่านระบบการเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (e– learning) อนั จะเอือประโยชน์ในการพฒั นาการเรียนรู้ของนิสิตในวิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒต่อไป

5 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั 1. เพอื จดั ทาํ สือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (e–learning) รายวชิ ากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของ มนุษย์ นาํ เสนอผา่ นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพือศกึ ษาผลสมั ฤทธิทางการเรียนของนิสิตวิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคมทีเรียนผา่ นสือบทเรียน อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-learning) รายวชิ ากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพืนฐานของมนุษย์ 3. เพอื ศึกษาความพงึ พอใจของนิสิต วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ที มตี ่อการใชบ้ ทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e–learning) รายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของมนุษย์ กรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั การจดั ทาํ และพฒั นาสือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ แนวคดิ จาก : รายวิชา “กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพนื ฐานของ - การออกแบบและพฒั นารูปแบบการเรียน มนุษย”์ ใหก้ บั นิสิต วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสังคม การสอน มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ - การเรียนการสอนผา่ นสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ - แนวคิดทฤษฎกี ารเรียนรู้ร่วมกนั - รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน - การจดั ทาํ สือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ รายวชิ า “กายวิภาค ศาสตร์และสรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย”์ - การหาประสิทธิภาพของสือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ รายวชิ า “กายวิภาคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพนื ฐานของ มนุษย”์ - การทดลองใชส้ ือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รายวิชา “กาย วภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย”์ ผลผลิตทีต้องการ - สือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รายวชิ า “กายวิภาคศาสตร์และ สรีรวทิ ยาพนื ฐานของมนุษย”์ ทีผ่านการพฒั นา - ความพงึ พอใจของนิสิต วทิ ยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒทีมีตอ่ สือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รายวิชา “กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย”์

6 ขอบเขตของการวจิ ยั 1. รูปแบบการวจิ ยั การวิจยั ครังนีผวู้ ิจยั ทดลองพฒั นาสือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์รายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา พืนฐานของมนุษย์ ตามหลกั สูตรศิลปศาสตรบัณทิต สาขาวิชานวตั กรรมการสือสาร (การสือสารสุขภาพ) วิทยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ เพือใชใ้ นระบบการเรียนการสอนบนเว็บ (Web-based Instruction) 2. ประชากรทใี ช้ในการวจิ ยั กลุ่มประชากรเป้ าหมายทีใชใ้ นการวิจยั ครังนี คือ นิสิต วทิ ยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ปี การศึกษา 2555 จาํ นวน 1,310 คน 3. กล่มุ ตวั อย่างทีใช้ในการวจิ ยั การวิจยั ครังนีกาํ หนดใหเ้ ป็นกลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง โดยจะใชน้ ิสิตชนั ปี ที 2 ทีศึกษารายวชิ ากายวิภาค ศาสตร์และสรีรวิทยาพนื ฐานของมนุษย์ ในภาคเรียนที 1 ปี การศกึ ษา 2555 จาํ นวน 46 คน 4. ตวั แปรทศี ึกษา ตวั แปรทีศกึ ษาประกอบดว้ ย 4.1 ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่ สือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกสร์ ายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพืนฐาน ของมนุษย์ 4.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ประสิทธิภาพของสือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์รายวิชากายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยาพืนฐานของมนุษย์ ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 คาํ จาํ กดั ความทใี ช้ในการวจิ ยั สือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนทีไดร้ ับการออกแบบอย่างเป็ นระบบ เพอื ส่งเสริมสนบั สนุนการเรียนการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ โดยอาศยั คุณสมบตั ิและทรัพยากรของเวิลด์ไวดเ์ ว็บ มาเป็นสือกลางในการถ่ายทอด โดยอาจจดั เป็นการเรียนการสอนทงั กระบวนการหรือนาํ มาใชเ้ พยี งส่วนหนึงของ กระบวนการ และแกป้ ัญหาเรืองขอ้ จาํ กดั ดา้ นสถานทีและเวลา กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพนื ฐานของมนุษย์ หมายถึง ในงานวิจยั นี คือ รายวิชารายวิชากายวิภาค ศาสตร์และสรีรวทิ ยาพืนฐานของมนุษย์ (IC 242) สาํ หรับใหน้ ิสิตเรียน โดยในรายวิชานีเนน้ ทางลกั ษณะรูปร่าง ตาํ แหน่งและสรีรวิทยาซึงเป็ นการศึกษาการทาํ งานของอวยั วะต่างๆของมนุษยโ์ ดยศึกษาอยา่ งเป็ นระบบ เช่น ระบบกระดูกและกลา้ มเนือ ระบบประสาท ระบบขบั ถ่าย เป็ นตน้ เพือเป็ นความรู้และนาํ ไปสู่ความเขา้ ใจใน ระบบสุขภาพของมนุษย์

7 ความพึงพอใจของผู้เรียน หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจของนิสิตทีมีต่อสือบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รายวชิ ากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาพนื ฐานของมนุษย์ ประโยชน์คาดว่าจะทไี ด้รับ 1. ไดบ้ ทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์รายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของมนุษยข์ องมนุษย์ อนั เออื ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในวทิ ยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คม มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ 2. เพือเป็ นแนวทางในการจดั การเรียนการสอนทีนาํ เอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอนในรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานบนเวบ็ 3. ส่วนหนึงของการดาํ เนินการตามแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลัยนวตั กรรมสือสารสังคมและ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒทีมุ่งพฒั นาสืออเี ลก็ ทรอนิกส์เพอื เครือข่ายการศกึ ษาของไทย

8 บทที 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี กยี วข้อง ในการวิจยั เรือง การพฒั นาสือบทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์: กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของ มนุษย์ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือศกึ ษาผลสมั ฤทธิทางการเรียนของนิสิตวทิ ยาลยั นวตั กรรมสือสารสงั คมทีเรียนผ่านสือ บทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-learning) รายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพืนฐานของมนุษย์ ผวู้ ิจยั ไดศ้ ึกษา แนวคิด ทฤษฎี หลกั การและงานวจิ ยั ทีเกียวขอ้ ง โดยมีเนือหาครอบคลุมถึงในดา้ นต่างๆดงั นี 1. แนวคิดเกียวกบั บทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-learning) 2. แนวคิดเกียวกบั การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ 3. แนวคิดเกียวกบั กายวิภาคศาสตร์และสรีรวทิ ยาของมนุษย์ 4. แนวคิดเกียวกบั ความพงึ พอใจ 5. งานวิจยั ทีเกียวขอ้ ง 1. แนวคดิ เกยี วกบั บทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การเรี ยนแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ อีเลิร์นนิง (E-Learning) ได้แพร่ กระจายสู่การศึกษาใน ระดบั อุดมศึกษา ดว้ ยสาเหตุทีว่าการเรียนรู้ในรูปแบบนีมีความยืดหยุ่นสูงสาํ หรับผสู้ อนในการบูรณาการ เทคโนโลยแี ละสือสารการศกึ ษาเขา้ ไปในกระบวนการเรียนการสอน ผสู้ อนสามารถกาํ หนดการเรียนการสอนที มปี ระสิทธิภาพไดม้ ากยงิ ขึนโดยเพิมกลยทุ ธก์ ารเรียนการสอนโดยใหผ้ เู้ รียนเป็ นศนู ยก์ ลาง ทงั ยงั ลดขอ้ จาํ กดั ใน เรืองของเวลาและสถานทีของผเู้ รียนในการทีจะศกึ ษาหาความรู้ อีกทงั ยงั เอือประโยชน์ให้กบั ผเู้ รียนโดยเฉพาะ ในเรืองของการใหโ้ อกาสทางการศึกษาโดยจะใหโ้ อกาสผเู้ รียนไม่วา่ จะเป็นใคร สามารถเรียนจากทีไห และเวลา ใดก็ได้ โดยการเรียนแบบอีเลิร์นนิงนันเป็ นการเรียนการสอนทีจาํ แนกได้เป็ น 3 ประเภทตามแนวทางของ การศกึ ษาทางไกลกลา่ วคือ (1) การศกึ ษาทีผเู้ รียนอยตู่ ่างสถานทีและเขา้ เรียนต่างเวลา ดงั นันอีเมลแ์ ละกระดาน สนทนาจึงถูกใช้เป็ นเครื องมือหลกั ในการติดต่อสือสาร (2) ในบางกรณีของการศึกษาทางไกลทีการ ติดต่อสือสารระหว่างผเู้ รียนและผสู้ อนเกิดขึนในเวลาเดียวกนั (Synchronous communication) แต่ต่างสถานที เช่น การเรียนผา่ นทางระบบ teleconference การใชแ้ ชทเพือการสนทนาโตต้ อบ และ (3) การศึกษาทีผเู้ รียนและ ผูส้ อนอยู่สถานทีเดียวกันแต่เขา้ ร่ วมการเรี ยนต่างเวลากันจึงใช้การติดต่อสือสารแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous communication) (Davidson & Shiver, 2005) ซึงจะเห็นไดว้ ่าเนือหาและกิจกรรมนาํ เสนอผา่ น อินเทอร์เน็ตทงั 3 ประเภทนนั ไดต้ อบโจทยใ์ นเรืองของขอ้ จาํ กดั ในเรืองของการศึกษาหาความรู้ของแต่ละบุคคล โดยผเู้ รียนสามารถเขา้ ถึงและศกึ ษาขอ้ มูลเนือหาการเรียนการสอนเมือใดและเวลาใดก็ได้ การใหผ้ เู้ รียนมีส่วน ร่วมในการเรียนรวมทงั การแลกเปลียนความรู้ความคิดระหว่างผเู้ รียนทงั ในหอ้ งเรียน และสามารถต่อยอดได้

9 ผา่ นสงั คมการเรียนรู้ออนไลน์ ดงั นนั เวลาทีมีค่าในชนั เรียนผสู้ อนสามารถฝึ กทกั ษะต่างๆ ตลอดจนเสริมสร้าง เจตคติทางการเรียนทีจาํ เป็ น และการพฒั นาทักษะการคิดของผเู้ รียนในเรืองของการพฒั นาและใชเ้ พือการ ตดั สินใจ การแกป้ ัญหาต่างๆ เช่นกิจกรรมกรณีศึกษา ทงั นีแนวโนม้ ของการศกึ ษาทางไกลนนั ยงั เนน้ ในเรืองของ เทคโนโลยเี วบ็ 2.0 ทีเนน้ การปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั มากขึน ซึงนาํ ไปสู่การแลกเปลียนเรียนรู้และสงั คมแห่งการ เรียนรู้ออนไลน์ (Online learning community) ตลอดจนการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองผ่านบริบทสงั คมแห่งการ เรียนรู้ ถือเป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตอีกดว้ ย (Monsakul, 2008; Naidu, 2006; Davidson & Shiver, 2005; Sloan Consortium Foundation, 2005; Clark, 2002; จินตวีร์ คลา้ ยสงั ข์ และประกอบ กรณีกิจ, 2552) LOCATION Same Different TIME Same x  Different   แผนภาพแสดงประเภทของเนือหาและกิจกรรมนาํ เสนอผา่ นอินเทอร์เน็ต จาํ แนกตามมติ ิเรืองเวลาและสถานที (ดดั แปลงจาก: Davidson และ Shiver, 2005) องค์ประกอบของการเรียนแบบอเี ลริ ์นนงิ การเรียนแบบอีเลิร์นนิงนีมีความยืดหยุ่นสูงสําหรับผสู้ อนในการบูรณาการเทคโนโลยีและสือสาร การศกึ ษาเขา้ ไปในกระบวนการเรียนการสอน และยงั ลดขอ้ จาํ กดั ของความพยายามทีจะใชเ้ ทคโนโลยีทีมีอยู่ ใน เรืองของการออกแบบเฉพาะตวั เพือใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียนรายบุคคลมากทีสุด ดงั ตวั อยา่ งเช่นการเรียนการสอน แบบอเี ลริ ์นนิงหรือออนไลน์เต็มรูปแบบทีเนน้ ในเรืองของการเรียนการสอนทีไม่มขี อ้ จาํ กดั ของเวลาและสถานที กาลดช่องว่างในการติดต่อสือสารระหว่างกนั ทงั กับผูส้ อนและผเู้ รี ยนและผูเ้ รี ยนด้วยกันเอง อีกทังจาก คุณประโยชน์ของเว็บ 2.0 เทคโนโลยีทีใชใ้ นการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงทาํ ให้เกิดสังคมการเรียนรู้ ออนไลน์ ทีผเู้ รียนได้เกิดการเรียนรู้ ใฝ่ รู้ ตระหนักรู้ ตลอดจนการสร้างความรู้ด้วยตนเองมากยิงขึนผ่าน สารสนเทศต่างๆ ทีผูส้ อนและผูเ้ รียนได้ร่วมกันสร้างขึนในสังคมแห่งการเรียนรู้ออนไลน์ การสอนแบบ อีเลิร์นนิงประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลกั ทีสาํ คัญคือ (1) ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (2) บทเรียน อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (3) การติดต่อสือสาร และ (4) การประเมินผลการเรียน (Bonk and Graham, 2006; Wilson and Smilanich, 2005; Waterhouse, 2005; Western Cooperative for Educational Telecommunications: WCET (2009); Sloan Consortium Foundation, 2005; จินตวรี ์ มนั สกุล, 2551; จินตวีร์ คลา้ ยสงั ข์ และประกอบ กรณีกิจ, 2552) โดยมีรายละเอียดดงั นี

10 1)ระบบบริหารจดั การการเรียนรู้ (LMS : Learning Management System) เป็นโปรแกรมบริหารจดั การ การเรียนรู้ทีทาํ หนา้ ทีเป็นศนู ยก์ ลางการจดั การและสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ ซึงใชเ้ ทคโนโลยอี ินเทอร์เน็ตมา จดั การใหเ้ กิดปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รียน ผเู้ รียนกบั ผเู้ รียน และผเู้ รียนกบั แหลง่ ขอ้ มลู ทงั นีจะช่วยให้ ผเู้ รียนและผสู้ อนสามารถเขา้ ถึงเนือหาและใชง้ านไดง้ ่าย โดยมีเครืองมือทางดา้ นการจดั การ การปรับปรุง การ ควบคุม การสาํ รองขอ้ มลู การสนบั สนุนขอ้ มลู การบนั ทึกสถิติผเู้ รียน และการประเมินผล ตลอดจนการตรวจ ใหค้ ะแนนผเู้ รียน ทงั นีอาจแบ่งไดเ้ ป็น 6 กลมุ่ ไดแ้ ก่ เครืองมอื สือสาร (Communication tools) เครืองมืออาํ นวย ประโยชน์ (Productivity tools) เครืองมือสนบั สนุนผเู้ รียน (Student involvement tools) เครืองมือบริหาร รายวิชา (Administration tools) เครืองมือส่งผ่านรายวิชา (Course delivery tools) และเครืองมือสาํ หรับการ ออกแบบหลกั สูตร (Curriculum design) 2)บทเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (courseware) เป็นเนือหาสาระทีนาํ เสนอในรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ซึงส่วน ใหญ่มีลกั ษณะเป็นสือประสม โดยเนน้ การออกแบบทีใชว้ ิธีการ กลยทุ ธ์ และการให้ขอ้ มลู ป้ อนกลบั แก่ผเู้ รียน โดยทนั ทีในการนําเสนอ ทีกระตุ้นให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงคท์ ีกาํ หนดไว้ ซึงผเู้ รียนสามารถ เขา้ ถงึ เนือหาไดต้ ามความตอ้ งการ ตลอดจนอาจมแี บบฝึกหดั หรือแบบทดสอบเพือใหผ้ เู้ รียนสามารถตรวจสอบ ความเขา้ ใจได้ 3)เครืองมือติดต่อสือสาร (Communication Tools) ประกอบดว้ ยเครืองมือในการติดต่อสือสารเป็ น เครืองมอื ทีช่วยใหผ้ เู้ รียนไดต้ ิดต่อสอบถาม ปรึกษาหารือและ แลกเปลียนความคิดเห็นระหวา่ งผเู้ รียนและผสู้ อน และระหว่างผเู้ รียนกับเพือนร่วมชันเรียนคนอืนๆ โดยเครืองมือทีใช้ในการติดต่อสือสารอาจแยกได้เป็ น 2 ประเภท คือ แบบประสานเวลา (Synchronous) ไดแ้ ก่ แชท การประชุมทางไกลผา่ นระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ และ แบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous) ไดแ้ ก่ ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มข่าว กระดานอภิปรายและ กระดานประกาศ บลอ็ ก และวิกิ เป็นตน้ 4)เครืองมอื การวดั และประเมินผลการเรียน (Assessment and Evaluation Tools) โดยในการเรียนแบบอี เลิร์นนิงนี การวดั ระดบั ความรู้ก่อนเรียน (Pre-test) เพือให้ผเู้ รียนไดเ้ ลือกเรียนในบทเรียนหรือหลกั สูตรที เหมาะสมถอื วา่ มีความสาํ คญั และส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนทีสูงขึนดว้ ย นอกจากนีในแต่ละรายวิชา อาจมี การจดั สอบยอ่ ยทา้ ยบท (Quiz) และการสอบใหญ่ก่อนทีจะจบหลกั สูตร (Final Examination) โดย ระบบ จดั การการเรียนรู้จะเรียกขอ้ สอบทีจะใชม้ าจากระบบบริหารคลงั ขอ้ สอบซึงเป็ นส่วนยอ่ ยทีรวมอย่ใู นระบบจกั การการเรียนรู้ โดยมีขอ้ สอบหลายรูปแบบให้ผสู้ อนเลือกใช้ ไดแ้ ก่ แบบเลือกตอบ แบบถูกผดิ แบบเติม คาํ ตอบ และแบบจบั คู่ นอกจากนีการประเมนิ ระหวา่ งเรียนไมว่ ่าจะเป็นจาํ นวนครังการเขา้ เรียนและการเขา้ ร่วม กิจกรรมในหอ้ งเรียนออนไลน์ เวลาทีเขา้ ใช้ ความถีและคุณภาพในการแสดงความคิดเห็นหรือการอภิปราย เช่น

11 ความถีในการอภิปรายในหอ้ งเรียนหรือในกระดานอภิปราย ก็ลว้ นมคี วามสาํ คญั ในการวดั และประเมินผลการ เรียนแบบอีเลิร์นนิงดว้ ยเช่นเดียวกนั Khan (1997) แบ่งองคป์ ระกอบของการเรียนอเี ลิร์นนิงออกเป็น 8 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1. องคป์ ระกอบดา้ นการพฒั นาเนือหาบทเรียน มสี ่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1.1 ทฤษฎีการเรียนการสอน (Learning and Instructional Theories) 1.2 การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) 1.3 การพฒั นาหลกั สูตร (Curriculum Development) 2. องคป์ ระกอบดา้ นมลั ติมีเดีย มสี ่วนประกอบยอ่ ยไดแ้ ก่ 2.1 ตวั อกั ษรและภาพกราฟิ ก (Text and Graphics) 2.2 เสียง (Audio Streaming) 2.3 วดิ ีทศั น์ (Video Streaming) 2.4 ภาพกราฟิ กทีเป็นส่วนต่อประสานกบั ผเู้ รียน (Graphical User Interface: GUI) 2.5 เทคโนโลยี (Compression Technology) 3. องคป์ ระกอบดา้ นเครืองมอื อินเทอร์เน็ต มสี ่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 3.1 เครืองมือการสือสาร แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ (1) การสือสารต่างเวลา ไดแ้ ก่ ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ จดหมายข่าว เป็นตน้ (2) การสือสารในเวลา ไดแ้ ก่ Chat IRC 3.2 เครืองมอื การเขา้ ใชท้ างไกล ไดแ้ ก่ การเขา้ ใชง้ านระบบ และการถา่ ยโอนขอ้ มลู 3.3 เครืองมือการนาํ ทางของอินเทอร์เน็ต ไดแ้ ก่ การเขา้ ใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลและเอกสารจาก เวบ็ ไซต์ อาทิ Gopher, Lynx 3.4 การคน้ หาและเครืองมอื อนื ๆ ไดแ้ ก่ ระบบสืบคน้ ขอ้ มลู และเครืองมือนบั จาํ นวน 4. องคป์ ระกอบดา้ นคอมพวิ เตอร์และคลงั เก็บขอ้ มลู มีส่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 4.1 ระบบปฏบิ ตั ิการของคอมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ Window DOS Macintosh 4.2 เครือง Server Hard drives CD-ROM 5. องคป์ ระกอบดา้ นการเชือมต่อและการบริการสนบั สนุน มสี ่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 5.1 โมเดม 5.2 การเชือมต่ออินเทอร์เน็ตผา่ นโทรศพั ท์ 5.3 การเขา้ ถึงบริการของเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต

12 6. องคป์ ระกอบดา้ นภาษาคอมพวิ เตอร์ มีส่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 6.1 โปรแกรมภาษา ไดแ้ ก่ HTML VRML JAVA 6.2 เครืองมือทีช่วยใหใ้ ชง้ านโปรแกรมภาษา 6.3 การแปลงและการเขียนภาษา HTML 7. องคป์ ระกอบดา้ น Servers มสี ่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 7.1 เวบ็ ไซต์ URL HTTP Servers 7.2 Common Gateway Interface (CGI) 8. องคป์ ระกอบดา้ นโปรแกรม Browsers และการประยกุ ตใ์ ชอ้ ืนๆ มสี ่วนประกอบยอ่ ย ไดแ้ ก่ 8.1 การเชือมโยงแบบตวั อกั ษร ภาพกราฟิ ก 8.2 การเชือมต่อดว้ ย Links 8.3 การประยกุ ตใ์ ชท้ ีสามารถเขา้ ถึง Web Browsers ไดโ้ ดยง่าย นอกจากองคป์ ระกอบดา้ นเทคโนโลยตี ่างๆ แลว้ ยงั ให้ความสาํ คญั กบั การออกแบบการเรียนการสอน กระบวนการและกลยทุ ธก์ ารเรียนการสอนต่างๆ อนั จะนาํ ไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเรียนใน รูปแบบนีมากทีสุด โดยการเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสานศาสตร์การสอนเป็ นกระบวนการพฒั นาทีช่วยให้ ผเู้ รียนเรียนรู้อยา่ งตืนตวั ทาํ งานร่วมกนั สร้างความรู้และเขา้ ถึงขอ้ มูลไดไ้ ม่จาํ กดั หนทาง ระบบการเรียนอีเลิร์ นนิงแบบผสมผสานศาสตร์การสอนนันเป็ นการบูรณาการระหว่างทฤษฎีการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ และการใช้ เทคโนโลยี ต่างๆ สาํ หรับกิจกรรมทีแตกต่างกนั ในสภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้เสมือน Phillips, 2010; Hannafin, Land, & Oliver, 1997; จินตวีร์, 2554) ดงั ตวั อย่างเช่นงานวิจยั ของ จินตวีร์ คลา้ ยสงั ข์ (2554) ทีอย่ใู นระหว่าง การศึกษาและพฒั นารูปแบบการเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสานศาสตร์การสอนตามแนวทางคอนสตรัคติวิสต์ ดว้ ยเครืองมือทางปัญญาเพือเสริมสร้างการสร้างความรู้ของผเู้ รียนในระดบั อุดมศึกษา Hou (2010) กล่าวถึง ความสาํ คญั ของการเรียนอเี ลริ ์นนิงแบบผสมผสานศาสตร์การสอน โดยเฉพาะการนาํ การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงการ เป็นหลกั ทีผนวกเขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มบนเวบ็ วา่ เป็นคุณลกั ษณะสาํ คญั ของเทคโนโลยกี ารศึกษา ซึงเป็ นแนวคิด ทางการสอนทีเนน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลางและสามารถช่วยผเู้ รียนพฒั นาทกั ษะการคิดไดเ้ ป็ นอย่างดี และงานวิจัย ของโสภาพนั ธ์ สอาด ตวงรัตน์ ศรีวงษค์ ล และ ปรัชญนนั ท์ นิลสุข (2550) ไดน้ าํ เสนอแนวทางการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นหลกั ร่วมกบั การใชเ้ ทคโนโลยวี า่ เป็นความสามารถทีถอื ว่าเป็นศกั ยภาพทางการศกึ ษาทียงิ ใหญ่ในการ เรียนการสอนจะช่วยพฒั นาทกั ษะการคิดของผเู้ รียน

13 การเรียนอีเลิร์นนิงแบบผสมผสานศาสตร์การสอน เป็นการเรียนการสอนออนไลน์โดยมีการนาํ วิธีการ สอนทีเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมเป็นสาํ คญั ในบริบทของกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ โดยจากการบูรณา การเทคโนโลยสี ารสนเทศดงั กล่าวกบั ศาสตร์การสอนนนั จะเสริมสร้างประสิทธิภาพของการเรียนการสอนให้ดี ยิงขึน ทงั นีในงานวิจยั การสํารวจรูปแบบการสอนในระดบั อุดมศึกษาทีคาดว่าจะไดร้ ับความนิยมจากผสู้ อน ออนไลนจ์ าํ นวน 544 คน ของ Huang & Zhou (2005) ผลปรากฏว่า 5 อนั ดบั แรกคือ (1) การเรียนออนไลน์โดย ใชว้ ธิ ีการเรียนแบบการร่วมมือกนั แกป้ ัญหา (Group problem solving and collaborative tasks) คิดเป็น 65.4% (2) การเรียนออนไลน์โดยใชว้ ธิ ีการแกป้ ัญหา (Problem-based learning) คิดเป็ น 58.1% (3) การเรียนออนไลน์โดย ใชว้ ิธีการอภิปราย (Discussion) คิดเป็ น 43.6% (4) การเรียนออนไลน์โดยใช้กลยทุ ธ์กรณีศึกษา (Case-based strategies) คิดเป็น 41.2% และ (5) การเรียนออนไลนโ์ ดยใชว้ ิธีการสร้างสถานการณ์จาํ ลองหรือบทบาทสมมติ (Simulation or Role play) คิดเป็น 36.4% 2. การเรียนการสอนผ่านเวบ็ การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกนั ระหวา่ งเทคโนโลยี ปัจจุบนั กบั กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพอื เพิมประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแกป้ ัญหาในเรืองขอ้ จาํ กดั ทางดา้ นสถานทีและเวลา โดยการสอนบนเวบ็ จะประยกุ ตใ์ ชค้ ุณสมบตั ิและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการ จดั สภาพแวดลอ้ มทีส่งเสริมและสนบั สนุนการเรียนการสอน ซึงการเรียนการสอนทีจดั ขึนผ่านเว็บนีอาจเป็ น บางส่วนหรือทงั หมด ของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้ เวิลด์ ไวด์ เวบ็ เป็นบริการบนเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตซึง ไดร้ ับความนิยมอยา่ งแพร่หลายใน ปัจจุบนั เริมเขา้ มาเป็น ทีรู้จกั ในวงการศึกษาในประเทศไทยตงั แต่ พ.ศ. 2538 ทีผา่ นมาเวบ็ ไดเ้ ขา้ มามีบทบาทสาํ คญั ทางการศึกษาและ กลายเป็นคลงั แห่งความรู้ทีไร้พรมแดน ซึงผสู้ อนไดใ้ ช้ เป็นทางเลอื กใหม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพือเปิ ดประตู การศึกษาจากหอ้ งเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อนั กวา้ งใหญ่ รวมทงั การนาํ การศึกษาไปสู่ผทู้ ีขาดโอกาสดว้ ย ขอ้ จาํ กดั ทางดา้ นเวลาและสถานที (ถนอมพร เลาห จรัสแสง, 2544) การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ มชี ือเรียกหลายลกั ษณะ เช่น การจดั การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เว็บการเรียน (Web-Based Learning) เวบ็ ฝึ กอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึ กอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน (Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เวบ็ ฝึ กอบรม (WWW- Based Training) และเวิลดไ์ วดเ์ ว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล, 2545) ทงั นีมีผู้ นิยามและใหค้ วามหมายของการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ เอาไวห้ ลายนิยาม ไดแ้ ก่

14 ใจทิพย์ ณ สงขลา (2548) กลา่ วว่า การเรียนการสอนบนเวบ็ (Web-based Instruction-WBI) หมายถึงการ ใชค้ ุณสมบตั ิของไฮเปอร์มีเดียและคอมพิวเตอร์เครือข่าย ซึงรวมทงั เครืองมือสือสารในการสรรค์สร้างกิจกรรม การเรียนทาํ ให้เกิดการเรียนรู้ โดยนักเรียนผสู้ อนไม่จาํ เป็ นตอ้ งอย่พู ร้อมกนั ณ สถานทีเดียวกนั โดยเน้นการ จดั การเรียนการสอนทีหวงั ผลการเรียนรู้เชิงวชิ าการในรูปแบบต่างๆ วรี ะ ไทยพานิช (2551) การเรียนการสอนบนเวบ็ (web-based instruction) เป็นการบูรณาการกนั ระหว่าง เทคโนโลยีปัจจุบนั กบั กระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพือเพิมประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และการ แกป้ ัญหาเรืองขอ้ จาํ กดั ทางดา้ นสถานทีและเวลา โดยการสอนบนเวบ็ จะประยกุ ตใ์ ชค้ ุณสมบตั ิและทรัพยากรของ เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ ในการจดั การสภาพแวดลอ้ มทีส่งเสริมและสนบั สนุนการเรียนการสอน ซึงการเรียนการสอนทีจดั ขึนผา่ นเวบ็ นี อาจเป็นบางส่วนหรือทงั หมดของกระบวนการสอน การเรียนการสอนบนเวบ็ เป็ นการเปิ ดโอกาส ใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนทุกสถานที ทุกเวลา เป็ นการส่งเสริมใหเ้ กิดความเสมอภาคกันทางการศึกษาและส่งเสริม แนวคิดในเรืองของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการเรียนรู้ทีกระตือรือร้นและนกั เรียนเป็นศนู ยก์ ลางของการเรียนรู้ จากแนวคิดของนักการศึกษาข้างตน้ สรุปได้ว่า การเรียนการสอนบนเว็บ หมายถึง การนาํ เสนอ โปรแกรมบทเรียนบนเวบ็ เพจ โดยนาํ เสนอผา่ นบริการเวลิ ด์ ไวดเ์ วบ็ ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ประกอบดว้ ยส่วน ของเนือหา กิจกรรม แบบฝึ กหดั ทีนกั เรียนตอ้ งการฝึ กฝน ซึงประกอบไปดว้ ยภาพนิง ภาพเคลือนไหว โดย จะตอ้ งคาํ นึงถึงความสามารถและบริการทีหลากหลายของอินเทอร์เน็ต โดยนักเรียนสามารถเรียนไดท้ ุกทีทุก เวลา โดยอาศยั องคป์ ระกอบทีสาํ คญั ต่างๆบนเวบ็ มาใชป้ ระโยชน์ ไดแ้ ก่ กระดานสนทนา หอ้ งสนทนาบลอ็ ก และทรัพยากรต่างๆเพือใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละมคี วามหมาย ประเภทของการเรียนการสอนผ่านเวบ็ Hannum (1990) ไดแ้ บ่งประเภทของการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ ออกเป็น 4 ลกั ษณะ ใหญ่ๆ คือ 1. รูปแบบการเผยแพร่ รูปแบบนีสามารถแบ่งไดอ้ อกเป็น 3 ชนิด คือ 1.1 รูปแบบหอ้ งสมุด (Library Model) เป็นรูปแบบทีใชป้ ระโยชนจ์ ากความสามารถในการเขา้ ไปยงั แหลง่ ทรัพยากร อิเลก็ ทรอนิกส์ทีมีอยหู่ ลากหลาย โดยวิธีการจดั หาเนือหาใหผ้ เู้ รียนผา่ นการเชือมโยงไปยงั แหลง่ เสริมต่างๆ เช่นสารานุกรม วารสาร หรือหนงั สือออนไลน์ทงั หลาย ซึงถือไดว้ า่ เป็นการนาํ เอาลกั ษณะทาง กายภาพของห้องสมุดทีมีทรัพยากรจํานวนมหาศาลมาประยุกต์ใช้ ส่วนประกอบของรูปแบบนี ได้แก่ สารานุกรมออนไลน์ วารสารออนไลน์ หนงั สือออนไลน์ สารบญั การอ่าน ออนไลน์ (Online Reading List) เวบ็ หอ้ งสมุด เวบ็ งานวิจยั รวมทงั การรวบรวมรายชือเวบ็ ทีสมั พนั ธก์ บั วชิ าต่างๆ

15 1.2 รูปแบบหนังสือเรียน (Textbook Model) การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ รูปแบบนี เป็ นการจดั เนือหาของหลกั สูตรในลกั ษณะออนไลน์ใหแ้ ก่ผเู้ รียน เช่น คาํ บรรยาย สไลด์ นิยาม คาํ ศพั ทแ์ ละส่วนเสริมผสู้ อน สามารถเตรียมเนือหาออนไลน์ทีใชเ้ หมือนกบั ทีใช้ ในการเรียนในชนั เรียนปกติและสามารถทาํ สาํ เนาเอกสาร ใหก้ ับผเู้ รียนได้ รูปแบบนีต่างจากรูปแบบห้องสมุดคือรูปแบบนีจะเตรียมเนือหาสาํ หรับการเรียน การสอน โดยเฉพาะ ขณะทีรูปแบบหอ้ งสมุดช่วยให้ผเู้ รียนเขา้ ถึงเนือหาทีตอ้ งการจากการเชือม โยงทีไดเ้ ตรียมเอาไว้ ส่วนประกอบของรูปแบบหนงั สือเรียนนีประกอบดว้ ยบนั ทึกของหลกั สูตร บนั ทึกคาํ บรรยาย ขอ้ แนะนาํ ของ ห้องเรียน สไลด์ทีนาํ เสนอ วิดีโอและภาพ ทีใชใ้ นชันเรียน เอกสารอืนทีมีความสัมพนั ธ์กบั ชันเรียน เช่ น ประมวลรายวิชา รายชือในชนั กฎเกณฑ์ขอ้ ตกลงต่างๆตารางการสอบและตวั อยา่ งการสอบครังทีแลว้ ความ คาดหวงั ของชนั เรียน งานทีมอบหมาย เป็นตน้ 1.3 รูปแบบการสอนทีมีปฏิสมั พนั ธ์ (Interactive Instruction Model) รูปแบบนีจดั ให้ผเู้ รียน ไดร้ ับประสบการณ์การเรียนรู้จากการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั เนือหาทีไดร้ ับ โดยนาํ ลกั ษณะของบทเรียน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) มาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นการสอนแบบออนไลน์ทีเนน้ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ มกี ารให้ คาํ แนะนาํ การปฏิบตั ิ การใหผ้ ลยอ้ นกลบั รวมทงั การใหส้ ถานการณ์จาํ ลอง 2.รูปแบบการสือสาร (Communication Model) การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ รูปแบบนีเป็ นรูปแบบทีอาศยั คอมพิวเตอร์มาเป็ นสือเพือ การสือสาร (Computer - Mediated Communications Model) ผเู้ รียนสามารถทีจะ สือสารกบั ผเู้ รียนคนอนื ๆ ผสู้ อนหรือกบั ผเู้ ชียวชาญได้ โดยรูปแบบการสือสารทีหลากหลายในอินเทอร์เน็ต ซึง ไดแ้ ก่ จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มอภิปรายการสนทนาและการอภิปรายและการประชุมผ่านคอมพิวเตอร์ เหมาะ สาํ หรับการเรียนการสอนทีตอ้ งการส่งเสริมการสือสารและปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างผู้ ทีมีส่วนร่วมในการ เรียนการสอน 3. รูปแบบผสม (Hybrid Model) รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเวบ็ รูปแบบนีเป็ นการนาํ เอารูปแบบ 2 ชนิด คือ รูปแบบการเผยแพร่กบั รูปแบบการสือสารมารวมเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เช่น เวบ็ ไซตท์ ีรวมเอารูปแบบหอ้ งสมดุ กบั รูปแบบหนังสือเรียนไวด้ ว้ ยกนั เวบ็ ไซต์ทีรวบรวมเอาบันทึกของหลกั สูตรรวมทังคาํ บรรยายไวก้ บั กลุ่ม อภิปราย หรือเวบ็ ไซตท์ ีรวมเอารายการแหลง่ เสริมความรู้ต่างๆ และความสามารถของจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ไว้ ดว้ ยกนั เป็นตน้ รูปแบบนีมปี ระโยชนเ์ ป็นอยา่ งมากกบั ผเู้ รียนเพราะผเู้ รียนจะไดใ้ ช้ ประโยชน์ของทรัพยากรทีมี ในอนิ เทอร์เน็ตในลกั ษณะทีหลากหลาย 4. รูปแบบหอ้ งเรียนเสมอื น (Virtual classroom model) รูปแบบหอ้ งเรียนเสมอื นเป็นการนาํ เอาลกั ษณะ เด่นหลายๆ ประการของแต่ละรูปแบบทีกล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ มาใช้ Hiltz (1993) ไดน้ ิยามว่าห้องเรียนเสมือนเป็ น สภาพแวดลอ้ มการเรียนการสอนทีนาํ แหล่ง ทรัพยากรออนไลนม์ าใชใ้ นลกั ษณะการเรียนการสอนแบบร่วมมือ โดยการร่วมมอื ระหว่างนกั เรียนดว้ ยกนั นกั เรียนกบั ผสู้ อน ชนั เรียนกบั สถาบนั การศึกษาอืน และกบั ชุมชนทีไม่

16 เป็นเชิงวิชาการ (Khan, 1997) ส่วน Turoff (1995) กลา่ วถงึ หอ้ งเรียนเสมือนวา่ เป็นสภาพแวดลอ้ มการเรียน การ สอนทีตงั ขึนภายใตร้ ะบบการสือสารผา่ นคอมพิวเตอร์ในลกั ษณะของการเรียน แบบร่วมมอื ซึงเป็นกระบวนการ ทีเน้นความสําคัญของกลุ่มทีจะร่วมมือทาํ กิจกรรมร่วมกัน นักเรียนและผสู้ อนจะได้รับความรู้ใหม่ๆ จาก กิจกรรมการสนทนาแลกเปลียนความคิดเห็นและข้อมูล ลกั ษณะเด่นของการเรียนการสอนรูปแบบนีก็คือ ความสามารถในการลอกเลียนลกั ษณะ ของหอ้ งเรียนปกติมาใชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอนผา่ นเครือข่าย อนิ เทอร์เน็ต โดยอาศยั ความสามารถต่างๆ ของอินเทอร์เน็ต โดยมีส่วนประกอบคือ ประมวลรายวิชา เนือหาใน หลกั สูตร รายชือแหล่งเนือหาเสริม กิจกรรมระหว่าง ผเู้ รียนผสู้ อน คาํ แนะนําและการให้ผลป้ อนกลบั การ นาํ เสนอในลกั ษณะมลั ติมีเดีย การเรียนแบบร่วมมือ รวมทงั การสือสารระหว่างกนั รูปแบบนีจะช่วยใหผ้ เู้ รียน ไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเรียน โดยไมม่ ีขอ้ จาํ กดั ในเรืองของเวลาและสถานที การจัดการเรียนการสอนบนเวบ็ นนั ผสู้ อนและนักเรียนจะมีปฏิสัมพนั ธ์กนั โดยผ่านระบบเครือข่าย อนิ เทอร์เน็ต ทาํ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถรับ-ส่งข่าวสารขอ้ มลู รูปแบบต่าง ๆ ถึงกนั ไดด้ ว้ ยความสะดวกรวดเร็ว ซึง วิชุดา รัตนเพยี ร (2542) ไดแ้ บ่งรูปแบบของการจดั การสอนบนเวบ็ ไว้ 2 แบบ คือ 1. Synchronous Learning คือ รูปแบบการเรียนการสอนทีมีกิจกรรมการเรียนการสอนในเวลาเดียวกนั นกั เรียนตอ้ งมาเรียนพร้อม ๆ กนั โดยใชก้ ารรับส่งข่าวสารขอ้ มลู ทีผสู้ ่งและผรู้ ับสารติดต่อกนั ไดใ้ นเวลาเดียวกนั หรือพร้อมกนั เช่น บริการพดู คุยสนทนา (chat) บริการรับส่งขอ้ ความ เสียง ภาพ และภาพเคลือนไหว 2. Asynchronous Learning คือ รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บทีนกั เรียนและผสู้ อนไม่จาํ เป็ นตอ้ งมี กิจกรรมการเรียนการสอนในเวลาเดียวกนั เพราะรูปแบบการรับส่งขอ้ มูลข่าวสารทีผูร้ ับและผสู้ ่งไม่จาํ เป็ นตอ้ ง ทาํ งานพร้อมกนั เช่น บริการจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ กลมุ่ สนทนารวมทงั บริการ World Wide Web เป็นตน้ การออกแบบการเรียนการสอนบนเวบ็ Toporski และ Foley (สุจิตรา เขียวศรี, 2550) ไดน้ าํ เสนอกลยทุ ธส์ าํ หรับการเรียนในสภาพแวดลอ้ มแบบ ออนไลน์ไว้ 7 ประการ ดงั นี 1. จดั ใหม้ ีปฏิสมั พนั ธ์ เนืองจากความรับผดิ ชอบในการเรียนแบบออนไลนเ์ ป็นของนกั เรียน ซึง จะตอ้ งมสี ่วนร่วมอยา่ งกระตือรือร้นมากกว่าการเป็ นผรู้ ับความรู้ สภาพการเรียนแบบมีปฏิสัมพนั ธก์ ระตุน้ การ เรียนรู้โดยการคน้ พบ การทดลอง การลงมอื ปฏิบตั ิทีมกี ารนาํ เสนอความรู้ทีหลากหลาย 2. สร้างความสนใจและแรงจูงใจ แรงจูงใจมีผลมาจากภาระงาน สภาพแวดลอ้ มในการเรียน ผสู้ อนและนกั เรียน และการเรียนรู้จะไม่เกิดขึนถา้ ปราศจากแรงจูงใจ วิธีการทีการเรียนการสอนแบบออนไลน์ จะช่วยใหเ้ กิดแรงจงู ใจและเพิมความสนใจ ไดแ้ ก่ 1) จดั ให้มีสิงแปลกใหม่ สิงทีทาํ ใหแ้ ปลกใจ เหตุการณ์ทีไม่

17 คาดคิดและไม่ชดั เจน 2) การตงั คาํ ถามหรือปัญหาใหน้ กั เรียนหาคาํ ตอบ 3) สบั เปลียนองค์ประกอบต่างๆในการ สอน และ 4) ใชต้ วั อยา่ งทีเป็นรูปธรรมหรือสิงทีคุน้ เคยทีเกียวขอ้ งกบั ประสบการณ์เดิมของนกั เรียน 3. ใชส้ ิงทีมีอยใู่ นบริบท นักเรียนตอ้ งแกไ้ ขปัญหาโดยใชค้ วามรู้และทกั ษะในชีวิตประจาํ วนั การเรียนรู้ตอ้ งไมแ่ ยกออกจากบริบทซึงสร้างความหมายใหก้ ารเรียนนนั 4. จดั ใหม้ ีความหลากหลาย สภาพแวดลอ้ มการเรียนรู้ออนไลน์ สนบั สนุนการนาํ เสนอไดห้ ลาย รูปแบบ โดยสามารถใชส้ ือหลายๆชนิด เช่น ขอ้ ความ ภาพนิง ภาพเคลือนไหว วีดิทศั น์ เสียง และสถานการณ์ จาํ ลอง ซึงทาํ ใหก้ ารเรียนรู้สามารถเกิดขึนโดยใชช้ ่องทางการรับรู้ต่างๆ 5. ใชก้ ลยทุ ธก์ ารร่วมมอื นกั เรียนสามารถมรี ะดบั การเรียนรู้สูงขึน เมอื มกี ารทาํ งานแบบร่วมมือ เนืองจากความแตกต่างของกลุ่มและประสบการณ์เป็ นผลดีต่อกระบวนการเรี ยนรู้ 6. ลดภาระดา้ นพทุ ธิปัญญา ภาระดา้ นพุทธิปัญญาคือระดบั ของพลงั งานของสมองทีใชใ้ นการ จดั การกบั ขอ้ มลู ทีไดร้ ับเมอื ปริมาณขอ้ มลู ทีรับเพิมมากขึนจะมีผลต่อภาระดา้ นพุทธิปัญญา การให้ขอ้ มลู ทีมาก เกินไปพร้อมๆกนั โดยมขี อ้ มลู ทีเบียงเบนหรือแยง่ ความสนใจจะเป็นการเพิมความซบั ซอ้ นของขอ้ มลู และทาํ ให้ เกิดผลเสียต่อภาระดา้ นพทุ ธิปัญญาซึงเกียวกบั การใชพ้ ลงั งานสมอง การแบ่งขอ้ มลู ออกเป็ นส่วนยอ่ ยๆ ดึงความ สนใจโดยใชค้ าํ อธิบาย ลดการใหข้ อ้ มลู มากเกินไป และจดั การสนบั สนุนทีเหมาะสมสามารถช่วยลดภาระดา้ น พุทธิปัญญาได้ 7. จดั การช่วยเสริมศกั ยภาพทีพอเพียง การช่วยเสริมศกั ยภาพเป็ นโครงสร้างการสนับสนุนที จาํ เป็ นต่อความสําเร็จของนักเรียน เมือนกั เรียนมีความสามารถเพิมขึน ผสู้ อนจะปล่อยให้นักเรียนเรียนดว้ ย ตนเองและถอนการสนบั สนุนออกไป การลดการช่วยเหลอื และการเริมแนะนาํ บริบททีซบั ซอ้ นมากขึน เพือช่วย ใหน้ กั เรียนสามารถแยกแยะระหว่างสิงทีจาํ เป็นและไม่จาํ เป็นได้ Ally (2005) อธิบายว่า การเรียนการสอนออนไลน์เกิดขึนเมือนกั เรียนใชเ้ ว็บเพือเรียนรู้ตามลาํ ดบั การ สอนเพือทาํ กิจกรรมการเรียนรู้ใหส้ มบรู ณ์และบรรลตุ ามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้และผลการเรียนรู้ทีตอ้ งการ ซึง ควรมกี ารใชก้ ิจกรรมการเรียนรู้ทีหลากหลายเพอื เออื ใหน้ กั เรียนทีมแี บบการเรียนทีแตกต่างกนั โดยนกั เรียนจะ เลอื กกลยทุ ธท์ ีเหมาะสมกบั ความตอ้ งการในการเรียนรู้ของตนเอง ซึงองค์ประกอบหลกั ทีควรพิจารณาในการ ออกแบบการเรียนการสอนออนไลน์ไดแ้ ก่ 1) การเตรียมนกั เรียน 2) กิจกรรมของนักเรียน 3) การปฏิสัมพนั ธ์ ของนกั เรียน 4) การถา่ ยโอน โดยมีรายละเอียดดงั นี 1.การเตรียมนกั เรียน (Learner Preparation) กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆสามารถใชเ้ พือการเตรียมนักเรียน ให้พร้อมในการเรียนรู้รายละเอียดของบทเรียน และเป็ นการเชือมดยงและจูงใจให้นักเรียนเรียนบทเรียน ออนไลน์ ควรมีการบอกเหตุผลเพอื ใหน้ กั เรียนทราบความสาํ คญั และประโยชน์ทีนกั เรียนจะไดร้ ับจากบทเรียน มีการใชผ้ งั มโนทศั น์ (Concept Map) เพอื ช่วยจดั โครงสร้างทางปัญญา (Cognitive Structure) ใหร้ ายละเอยี ดของ

18 บทเรียนและกระตุน้ โครงสร้างเดิมทีนกั เรียนมีอยู่ เพอื ช่วยใหน้ กั เรียนสามารถเรียนรู้รายละเอียดของบทเรียนได้ นอกจากนนั ผงั มโนทศั นย์ งั ช่วยใหน้ กั เรียนเห็นภาพรวมของบทเรียนอกี ดว้ ย ควรแจง้ ใหน้ กั เรียนทราบถึงผลการ เรียนรู้ของบทเรียน เพอื ใหน้ กั เรียนทราบวา่ อะไรคือสิงทีตอ้ งการและสามารถตงั เกณฑไ์ ดว้ ่าเมอื ใดจะบรรลุผล การเรียนรู้ของบทเรียน ควรมีการใช้ Advance Organizer เพือจดั โครงสร้างในการจดั เนือหาในบทเรียนเพือ เชือมโยงสิงทีนกั เรียนรู้อยแู่ ลว้ กบั สิงทีนักเรียนจะตอ้ งรู้ นอกจากนันจะตอ้ งบอกให้นกั เรียนทราบถึงความรู้ พนื ฐานทีจาํ เป็ นในการเรียนเพือให้นักเรียนตรวจสอบว่าตนเองมีความพร้อมในการเรียนบทเรียนนันหรือไม่ การบอกเกียวกบั ความรู้พนื ฐานยงั ช่วยกระตุน้ โครงสร้างทางปัญญาทีจาํ เป็นในการเรียนรู้สาํ หรับนกั เรียนอกี ดว้ ย การจดั ใหม้ กี ารประเมินตนเอง (Self-Assessment) ในช่วงเริมตน้ ของบทเรียนช่วยใหน้ กั เรียนตรวจสอบวา่ คนเอง มีความรู้และทกั ษะทีสอนในบทเรียนแลว้ หรือไม่ และควรใหน้ กั เรียนสามารถทาํ แบบทดสอบหลงั เรียนได้ การ ประเมนิ ตนเองยงั ช่วยใหน้ กั เรียนจดั ระบบเนือหาของบทเรียนและระลึกถึงเนือหาทีสาํ คญั ของบทเรียนได้ เมือ นกั เรียนไดร้ ับการเตรียมพร้อมสาํ หรับรายละเอียดของบทเรียน นักเรียนจะสามารถทาํ กิจกรรมการเรียนรู้ใน บทเรียนออนไลน์เพือเรียนรายละเอยี ดของบทเรียนไดส้ าํ เร็จ 2. กิจกรรมของนักเรียน (Learner Activities) ควรมีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีหลากหลาย เพือการ บรรลุผลการเรียนรู้ของบทเรียน และสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของนกั เรียน เช่น กิจกรรมการเรียนรู้อาจ ประกอบไปดว้ ย การอา่ นเนือหาทีเป็นขอ้ ความ การฟัง หรือการดจู ากสือทีเป็นภาพหรือวีดิทศั น์ นกั เรียนสามารถ คน้ หาความรู้บนอนิ เทอร์เน็ตและเชือมโยงไปยงั แหล่งขอ้ มลู และหอ้ งสมดุ ออนไลน์เพือหาขอ้ มูลทีตอ้ งการ การ จดั เตรียมการบนั ทึกการเรียนรู้ (Learning Journal) ช่วยใหน้ กั เรียนสะทอ้ นสิงทีไดเ้ รียนรู้และสร้างความหมาย ให้กับขอ้ มูล ควรจัดแบบฝึ กหัดในการประยุกต์ใชท้ ีเหมาะสมสอดแทรกไวต้ ลอดบทเรียนเพือสร้างความ เชือมโยงระหว่างเนือหา และควรจดั กิจกรรมการฝึ กหัด โดยมีการให้ขอ้ มลู ป้ อนกลบั ไวเ้ พือให้นักเรียนได้ ติดตามตรวจสอบการปฏิบตั ิของตนเอง เพือสามารถปรับวิธีการเรียนรู้ถา้ จาํ เป็ น และควรมีการสรุปหรือให้ นกั เรียนสรุปบทเรียนเพอื ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ระดบั สูงและเป็นการสินสุดบทเรียน 3. ปฏิสัมพนั ธ์ของนักเรียน (Learner Interaction) การทีนกั เรียนจะทาํ กิจกรรมการเรียนรู้ได้สาํ เร็จ นักเรียนจะต้องมีปฏิสัมพนั ธ์หลากหลายชนิด กล่าวคือ นักเรียนตอ้ งมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ส่วนต่อประสานผูใ้ ช้ (Interface) เพือเขา้ ถึงเนือหา ส่วนต่อประสานผใู้ ชไ้ มค่ วรมขี อ้ มลู มากเกินไปและควรจดั ทาํ ให้นกั เรียนสามารถ รับรู้ขอ้ มลู ไดง้ ่ายเพือถา่ ยโอนไปยงั ประสาทรับรู้และหน่วยความจาํ ระยะสนั และจดั กระทาํ ต่อไป นกั เรียนตอ้ งมี ปฏิสมั พนั ธ์กบั เนือหาเพือให้ไดข้ อ้ มูลทีจาํ เป็ นในการสร้างความรู้ และควรมีปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างนักเรียนกบั นักเรี ยนอืนๆ ระหว่างนักเรี ยนกับผูส้ อน และนักเรี ยนกับผูเ้ ชียวชาญเพือการร่ วมมือ มีส่วนร่ วมในการ แลกเปลียนความรู้ความเขา้ ใจ สร้างเครือข่ายทางสงั คมและจดั Social Presence ซึงนกั เรียนควรจะสามารถมี ปฏสิ มั พนั ธก์ บั บริบทของตนเพือจดั การขอ้ มลู ส่วนบุคคลและสร้างความหมายของตนเอง

19 4. การถา่ ยโอนของนกั เรียน (Learner Transfer) ควรจดั โอกาสใหน้ กั เรียนไดถ้ า่ ยโอนสิงทีไดเ้ รียนรู้โดย ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง เพือให้นักเรียนสามารถมีความคิดสร้างสรรค์และทาํ ไดน้ อกเหนือจากสิงทีมีอยู่ใน บทเรียน ใจทิพย์ ณ สงขลา (2547: 78-79) ไดก้ ล่าวว่า การออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บเป็ นการประยุกต์ หลักการเรี ยนรู้ของบุคคลเขา้ กับคุณสมบัติของเทคโนโลยี เวิล์ด ไวด์ เว็บ และคุณสมบัติของเครื อข่าย คอมพิวเตอร์เพอื สร้างบทเรียนและกิจกรรมในการเรียนรู้ และไดก้ ล่าวถงึ หลกั ในการออกแบบกิจกรรมการเรียน การสอนบนเว็บว่า ควรพิจารณาองค์ประกอบ 3 ดา้ นคือ 1) ดา้ นการปฏิสมั พนั ธท์ างการเรียน 2) ดา้ นมิติเวลา และ 3) ดา้ นวธิ ีวทิ ยาการสอน/การประเมนิ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี 1. การปฏิสมั พนั ธท์ างการเรียนการสอนบนเวบ็ การปฏิสมั พนั ธ์ทางการเรียนการสอนบนเว็บ แบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ การปฏิสัมพนั ธ์ ระหวา่ งนกั เรียนกบั เนือหาสาระในรูปแบบไฮเปอร์มีเดีย และการปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างนกั เรียนดว้ ยกนั และผสู้ อน 1.1 การปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างนักเรียนกบั เนือหาสาระ (Learner – Content Interaction) หมายถึง กิจกรรมการเรียนในรูปของบทเรียนทีสร้างดว้ ยไฮเปอร์มีเดียทีผสู้ อนไดอ้ อกแบบไวแ้ ลว้ อย่างเป็ น ระบบ โดยการออกแบบกิจกรรมการเรียนระหว่างนกั เรียนกบั เนือหา 1.2 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันและผสู้ อน การปฏิสัมพนั ธ์ระหว่าง นกั เรียนดว้ ยและผสู้ อนเป็นการเรียนรู้ทีเกิดขึนจากการปฏิสมั พนั ธโ์ ตต้ อบ อภิปราย แลกเปลยี นความคิดระหว่าง บุคคล 2. มติ ิเวลาในการเรียนการสอนบนเวบ็ การเรียนการสอนบนเวบ็ ใชเ้ ทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เครือข่ายให้โอกาสนักเรียนผสู้ อนทีจะ สร้างการปฏิสมั พนั ธ์การเรียนรู้ในมิติเวลาทีนักเรียนออนไลน์พร้อมกันและต่างเวลากันโดยใช้เทคโนโลยี ประยกุ ตเ์ ขา้ กบั วิธีการ ไดแ้ ก่ การเรียนในมิติประสานเวลา (Synchronous Mode of Learning) และการเรียนใน มิติต่างเวลา (Asynchronous Mode of Learning) 2.1 การเรียนในมิติประสานเวลา เป็ นการจดั กิจกรรมการเรียนทีกาํ หนดให้นักเรียน ผสู้ อนออนไลน์พร้อมกนั การเรียนดว้ ยวิธีนีทาํ ให้นกั เรียน ผสู้ อน สือสารโตต้ อบกลบั ไดใ้ นทนั ทีเป็ นวิธีการที เหมาะสมในการเรียนทีผสู้ อนตอ้ งการไดร้ ับปฏิกิริยาตอบสนองจากนกั เรียนในทนั ที หรือการอภิปรายทีตอ้ งการ การตดั สินใจหรือขอ้ สรุป การเรียนแบบประสานเวลามกั จะใชเ้ ครืองมือหลกั ไดแ้ ก่ การใชโ้ ปรแกรมการบรรยาย อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-lecture) ควบคู่ไปกบั โปรแกรมการสือสารอิเล็กทรอนิกส์ (White/Electronic Board) การร่วม ใชโ้ ปรแกรม (Share Application)

20 2.2 การเรี ยนในมิติต่างเวลา เป็ นการใช้เครื องมือทางเทคโนโลยีเพือสร้างการ ปฏสิ มั พนั ธท์ างการเรียนใหเ้ กิดขึนบนเวบ็ โดยนกั เรียนไม่จาํ เป็ นตอ้ งออนไลน์พร้อมกบั ผสู้ อนหรือนกั เรียนอืน ซึงมกั จะใชเ้ ครืองมือหรือเทคโนโลยี เช่น การใชไ้ ฮเปอร์ลิงคห์ รือการเชือมโยงด้วยสือหลายมิติ ไปรษณีย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ กระดานอภิปรายในการจดั เสวนา (Forum) 3. ดา้ นวิธีวทิ ยาการสอนและการประเมนิ การเรียนการสอนบนเว็บเป็ นการเรียนทีเน้นลกั ษณะการเรียนทีนกั เรียนเป็ นศนู ยก์ ลาง ซึง ผสู้ อนทาํ หน้าทีเป็ นผชู้ ีแนะการเรียนรู้ดว้ ยการสร้างสิงแวดลอ้ มบนเว็บทีสนับสนุนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ผอู้ อกแบบการเรียนการสอนบนเวบ็ ควรตอ้ งคาํ นึงถึงกระบวนการสาํ คญั ในการจดั การเรียนรู้เช่นเดียวกบั การ เรียนการสอนในหอ้ งเรียน คือ การเรียนการสอนและการวดั และประเมนิ 3.1 วิธีวิทยาการสอน เมือพิจารณาการเรียนการสอนบนเว็บสามารถอธิบายลกั ษณะ การสอน 2 แนวทางหลกั คือ การเรียนการสอนทีเนน้ เป้ าหมาย (Objectivist / Insurrectionism) และการเรียนการ สอนทีเนน้ การสร้างความรู้แนวพุทธิปัญญานิยม (Constructivist) 3.1.1 การเรียนการสอนทีเนน้ เป้ าหมาย (Objectivism / Insurrectionism) เป็ น การเรียนการสอนทีปฏิบตั ิกนั อยทู่ วั ไปในหอ้ งเรียนและเป็นแนวทางหลกั ในการเรียนการสอนดว้ ยคอมพิวเตอร์ ตงั แต่ระยะเริมตน้ และในเวลาต่อมากลุ่มการเรียนทีเนน้ เป้ าหมายเป็นหลกั คือ การเรียนการสอนในแนวทางของ พฤติกรรมนิยมไดผ้ สมผสานกบั แนวคิดพทุ ธิปัญญานิยม (Cognitive) ซึงมหี ลกั การและวิธีการดงั นี คือ ใชว้ ธิ ีการ สร้างเงือนไข การให้ผลป้ อนกลบั และการเสริมแรงเพือสร้างให้เกิดการเรียนรู้และพฤติกรรมทีตอ้ งการซึง สามารถวดั และประเมนิ ได้ 3.1.2 กล่มุ การสอนแนวทางการสร้างความรู้ กลุ่มการสอนแนวนีไดแ้ ก่กลุ่ม ในแนวคิดพทุ ธิปัญญานิยม ไดแ้ ก่ แนวคิด Constructivist และ Constructionist มีหลกั การว่านกั เรียนแต่ละคนมี ประสบการณ์ความแตกต่างกนั จึงมีพืนฐานความคิดและความรู้ทีแตกต่างกนั กระบวนการเรียนรู้เกิดจากการ เชือมโยงต่อเติมเนือหาสาระและประสบการณ์เดิม 3.2 การประเมินผลการเรียนบนเวบ็ การประเมินผลการเรียนรู้ของนกั เรียนเป็นองคป์ ระกอบทีสาํ คญั ในกระบวนการเรียน การสอน ลกั ษณะของการประเมินผลการเรียนดว้ ยเว็บทีสาํ คญั คือ เป็ นการประเมินโดยผสู้ อนไม่ไดพ้ บปะกบั นกั เรียนจริง การประเมนิ สามารถทาํ ไดส้ องลกั ษณะคือ การประเมินผลความกา้ วหน้า (Formative Evaluation) และการประเมินผลรวม (Summative Evaluation)

21 หลกั และวิธีการประเมินผลการเรียนบนเว็บ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เครือข่ายเปิ ด โอกาสให้การประเมินสามารถทาํ ไดใ้ น 2 ลกั ษณะคือ การประเมินผลสัมฤทธิและการประเมินผลความจริง (Authentic Assessment) 3.2.1 การประเมินผลสัมฤทธิ โดยทวั ไป การประเมินผลการเรียนผา่ นเว็บที เนน้ วตั ถุประสงคส์ ามารถวดั ไดใ้ นเชิงปริมาณ เมือมีการกาํ หนดวตั ถุประสงคใ์ นเบืองตน้ แลว้ จะกาํ หนดเกณฑ์ การวดั และประเมิน วิธีการประเมินสามารถจัดทาํ ไดด้ ้วยเทคโนโลยี โดยออกแบบโปรแกรมและระบบ ฐานขอ้ มลู สาํ หรับการประเมินผลเพือใหน้ กั เรียนไดร้ ับทราบผลไดท้ นั ที 3.2.2 การประเมินผลตามจริง หมายถึง เทคโนโลยีเว็บและคอมพิวเตอร์ เครือข่ายไดใ้ หค้ วามยดื หยนุ่ กบั การประเมนิ ผลความจริง เช่น การเก็บผลของพฒั นาการทางการเรียน และการ ประเมินทีใชก้ ารสือสารแบบประสานเวลาและต่างเวลา เช่น 1) การประเมินจากงานเขียน 2) การประเมินที นกั เรียนมสี ่วนร่วม จากแนวคิดของนักการศึกษาข้างต้น กล่าวไดว้ ่า การออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ นอกจากจะมีเนือหาทีนําเสนอใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงค์แลว้ การเรียนแบบมีปฏิสัมพนั ธ์ ระหวา่ งนกั เรียนกบั นกั เรียน และนกั เรียนกบั ผสู้ อนก็ยงั มคี วามสาํ คญั เช่นเดียวกนั ทีจะช่วยใหน้ กั เรียนเขา้ ใจใน เนือหาทีเรียนมากยงิ ขึน เพราะนักเรียนไดเ้ ปิ ดโอกาสของตนเองในการแลกเปลียนความคิดเห็นกบั เพือนหรือ ผสู้ อน นอกจากนนั นกั เรียนยงั ไดเ้ ห็นมุมมองทีแตกต่างไปจากมุมมองของตนเอง เป็ นการต่อยอดความคิดให้ ชดั เจนมากยงิ ขึน ดงั นนั ในการวิจยั ครังนี ผวู้ จิ ยั ไดน้ าํ รูปแบบการมีปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างนกั เรียนกบั นกั เรียน และ ผสู้ อนมาใชก้ บั เครืองมือสือสารบนเว็บ นันก็คือ หอ้ งสนทนาออนไลน์ และกระดานสนทนา เพือช่วยในการ พฒั นาความสามารถในการแกป้ ัญหา และศกั ยภาพการเรียนรู้ ประโยชน์ของการเรียนการสอนบนเวบ็ การเรียนการสอนผ่านเว็บมีประโยชน์มากมายหลายประการ ทังนีขึนอยกู่ ับวตั ถุประสงค์ของการ นาํ ไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน ซึงเป็นมิติใหมข่ องเครืองมือและกระบวนการในการเรียนการสอน โดยมีผู้ กลา่ วถึงประโยชน์ของการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ ไวด้ งั นี ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) ไดก้ ล่าวถงึ ประโยชน์ของการเรียนการสอนบนเวบ็ ไวด้ งั นี 1. การเรียนการสอนบนเวบ็ เป็นการเปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนทีอยหู่ ่างไกลหรือไม่มีเวลาในการเขา้ ชนั เรียน ไดเ้ รียนในเวลา และสถานทีทีกาํ หนดไวไ้ ดน้ ักเรียนสามารถเขา้ ไปใชบ้ ริการทางอินเทอร์เน็ตไดจ้ ากทีบา้ น ที ทาํ งาน หรือสถานศกึ ษาใกลเ้ คียง

22 2. การเรียนการสอนบนเวบ็ เป็นการส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกนั ทางการศึกษา นักเรียน สามารถ ทาํ การศกึ ษารายวชิ านนั ๆ ดว้ ยมาตรฐานเดียวกนั นอกจากนีนกั เรียนทีศึกษาอยใู่ นสถาบนั การศึกษาส่วนกลาง หรือในส่วนภูมภิ าคก็สามารถทีจะศกึ ษาหรืออภิปรายกบั ผสู้ อนซึงสอนอยใู่ นสถาบนั การศกึ ษาอืน หรือแมแ้ ต่ใน ต่างประเทศไดเ้ หมือน ๆ กนั 3. การเรียนการสอนบนเวบ็ นี ยงั ช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรืองของการเรียนรู้ตลอดชีวติ เนืองจากเว็บเป็ น แหล่งความรู้ทีเปิ ดกวา้ งใหผ้ ทู้ ีตอ้ งการศึกษาในเรืองใดเรืองหนึง นักเรียนสามารถคน้ ควา้ หาความรู้ไดอ้ ย่าง ต่อเนืองและตลอดเวลา การสอนบนเว็บสามารถตอบสนองต่อนกั เรียนทีมีความใฝ่ รู้ รวมทงั มีทกั ษะในการ ตรวจสอบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (meta-cognitive skills) ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 4. การเรียนการสอนบนเวบ็ ช่วยลดขอ้ จาํ กดั ของหอ้ งเรียนทีจาํ กดั อยแู่ ต่ในสถาบนั การศึกษา และยงั ช่วย เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนสามารถเขา้ ถึงแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและมปี ระสิทธิภาพ 5. การเรียนการสอนบนเวบ็ เป็นการสอนทีมศี กั ยภาพ เนืองจากเวบ็ ไดก้ ลายเป็ นแหล่งคน้ ควา้ ขอ้ มูลทาง วิชาการรูปแบบใหม่ทีครอบคลุมสารสนเทศทัวโลก การสอนบนเว็บช่วยแก้ปัญหาของข้อจาํ กดั ของแหล่ง คน้ ควา้ แบบเดิมจากห้องสมุด ไดแ้ ก่ ปัญหาทรัพยากรการศึกษาทีมีอย่จู าํ กดั และเวลาทีใชใ้ นการคน้ หาขอ้ มูล เนืองจากเวบ็ มีขอ้ มลู ทีหลากหลายและเป็ นจาํ นวนมาก รวมทงั การทีเวบ็ ใชล้ กั ษณะการเชือมโยงจึงทาํ ให้การ คน้ หาทาํ ไดส้ ะดวกและง่ายดายกวา่ การคน้ หาขอ้ มลู แบบเดิม 6. การเรียนการสอนบนเวบ็ จะช่วยสนบั สนุนการเรียนรู้ทีกระตือรือร้น เนืองจากคุณลกั ษณะของเวบ็ ที เอืออาํ นวยให้เกิดการศึกษาในลกั ษณะทีนักเรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อย่ตู ลอดเวลาโดยไม่ จาํ เป็นตอ้ งเปิ ดเผยตวั ตนทีแทจ้ ริง 7. การเรียนการสอนบนเวบ็ เอือให้เกิดปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างนักเรียนดว้ ยกนั และระหว่างนกั เรียนกบั ผสู้ อน 8. การเรียนการสอนบนเวบ็ ยงั เป็นการเปิ ดโอกาสสาํ หรับนกั เรียนในการเขา้ ถงึ ผเู้ ชียวชาญสาขาต่างๆทงั ในและนอกสถาบนั จากในประเทศและนอกประเทศทวั โลก โดยนกั เรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาและขอ ขอ้ มูลต่าง ๆ ทีตอ้ งการจากผเู้ ชียวชาญจริงไดโ้ ดยตรง ซึงไม่สามารถทาํ ไดใ้ นการเรียนการสอนแบบดงั เดิม นอกจากนียงั ประหยดั ทงั เวลาและค่าใชจ้ ่ายเมอื เปรียบเทียบกบั การติดต่อสือสารในลกั ษณะเดิม ๆ 9. การเรียนการสอนบนเวบ็ เปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนไดม้ ีโอกาสแสดงผลงานของตนสู่บุคคลทวั โลกได้ ดงั นนั จึงเป็นการสร้างแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอยา่ งหนึงสาํ หรับนกั เรียน 10. การเรียนการสอนบนเวบ็ เปิ ดโอกาสใหผ้ สู้ อนสามารถปรับปรุงเนือหาไดอ้ ยตู่ ลอดเวลา ทาํ ใหเ้ นือหา การเรียนมีความยดื หยนุ่ มากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิมและเปลียนแปลงไปตามความตอ้ งการของนักเรียน เป็นสาํ คญั

23 11. การเรียนการสอนบนเวบ็ สามารถนาํ เสนอเนือหาในรูปของสือประสม ไดแ้ ก่ ขอ้ ความภาพนิง เสียง ภาพเคลือนไหว วีดิทศั น์ และภาพ 3 มติ ิ โดยผสู้ อนและนกั เรียนสามารถเลอื กรูปแบบของการนาํ เสนอเพือใหเ้ กิด ประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน ปรัชญนนั ท์ นิลสุข (2548) กลา่ วถงึ คุณลกั ษณะสาํ คญั ของเวบ็ ซึงเอือประโยชน์ต่อการจดั การเรียนการ สอนไว้ 7ประการ ไดแ้ ก่ 1. การทีเว็บเปิ ดโอกาสใหเ้ กิดการปฏิสัมพนั ธ์ (Interactive) ระหว่างผเู้ รียนกบั ผสู้ อนและผเู้ รียนกับ ผเู้ รียน หรือผเู้ รียนกบั เนือหาบทเรียน 2. การทีเวบ็ สามารถนาํ เสนอเนือหาในรูปแบบของสือประสม (Multimedia) 3. การทีเวบ็ เป็นระบบเปิ ด (Open System) ซึงอนุญาตใหผ้ ใู้ ชม้ อี สิ ระในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดท้ วั โลก 4. การทีเวบ็ อุดมไปดว้ ยทรัพยากรเพือการสืบคน้ ออนไลน์ (Online Search/Resource) 5. ความไม่มีข้อจํากดั ทางสถานทีและเวลาของการสอนบนเว็บ (Device, Distance and Time Independent) ผเู้ รียนทีมคี อมพิวเตอร์ในระบบใดกไ็ ด้ ซึงต่อเขา้ กบั อนิ เทอร์เน็ตจะสามารถเขา้ เรียนจากทีใดก็ได้ ในเวลาใดก็ได้ 6. การทีเวบ็ อนุญาตใหผ้ เู้ รียนเป็นผคู้ วบคุม (Learner Controlled) ผเู้ รียนสามารถตามความพร้อม ความ ถนดั และความสนใจของตน 7. การทีเวบ็ มคี วามสมบรู ณ์ในตนเอง (Self-Contained) ทาํ ใหเ้ ราสามารถจดั กระบวนการเรียนการสอน ทงั หมดบนเวบ็ ได้ การทีเวบ็ อนุญาตใหม้ ีการติดต่อสือสารทงั แบบเวลาเดียว (Synchronous Communication) เช่น Chat และต่างเวลากนั (Asynchronous Communication) เช่น Webboard เป็นตน้ วธิ จี ดั การเรียนการสอนบนเวบ็ จากทีกล่าวมาแลว้ ว่า การเรียนการสอนบนเวบ็ มีลกั ษณะการเรียนการสอนทีแตกต่างกนั ไปจากากรเรียน การสอนในชนั เรียนปกติทีคุน้ เคยกนั ดี อีกทงั การจดั การเรียนการสอนแบบดงั เดิมในชันเรียนส่วนใหญ่จะมี ลกั ษณะทีเนน้ ใหผ้ สู้ อนเป็นผปู้ ้ อนความรู้ใหแ้ ก่ผเู้ รียน ทาํ ให้ผเู้ รียนไม่ใฝ่ ทีจะหาความรู้เพิมเติม ซึงในลกั ษณะ ดงั กล่าวจะคาํ นึงถึงแต่การเรียนเพอื ใหผ้ เู้ รียนสามารถทาํ การสอบใหผ้ า่ นเท่านนั ซึงตามหลกั การพืนฐานของการ เรียนรู้นนั เชือวา่ ผเู้ รียนทีแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจะเกิดการเรียนรู้ทีลกึ ซึงกว่าการจดั การเรียนการสอนบนเว็บ สนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนใฝ่ หาความรู้ดว้ ยตนเอง อีกทงั ยงั ส่งเสริมให้ผเู้ รียนไดม้ ีโอกาสเขา้ มาร่วมทาํ กิจกรรมต่าง ๆ กบั กลมุ่ ผเู้ รียนและระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อนทงั ในเชิงเสาะหาขอ้ มลู ดว้ ยบริการในอนิ เทอร์เน็ตดว้ ยตนเองและการ ตอบโตท้ างจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ หากมองในภาพกวา้ งจะเห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจนกวา่ การเรียนการสอนแบบดงั เดิม ในชนั เรียนนัน ผสู้ อนจะเป็ นฝ่ ายพูดและแสดงความคิดเห็นมากกว่าผเู้ รียน ซึงจะเห็นไดจ้ ากเวลาทีใชส้ อนจะ

24 จาํ กดั ดว้ ยเวลาทีสอนเท่านนั ซึงไม่มีความต่อเนือง หากการเรียนการสอนจาํ เป็นตอ้ งใชเ้ วลามากกว่าทีมีอย่ทู าํ ให้ การเรียนการสอนเกิดการขาดตอน นอกจากนี การเรียนการสอนในบางครังเกิดขึนในลกั ษณะการเรียนร่วมกนั ในหมคู่ ณะทีใหญ่ ไมเ่ กิดความคล่องตวั และไม่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึงแต่ละคนก็มี การรับรู้และความสามารถในการเรียนไม่เท่ากนั นอกจากนนั การจดั วางโตะ๊ และเกา้ อีในชนั เรียนปกติ มีการจดั วางใหผ้ เู้ รียนหนั หนา้ ไปมองเฉพาะผสู้ อน ความสนใจจะอยทู่ ีผสู้ อนเท่านนั แต่หากมองในลกั ษณะการเรียนการ สอนบนเวบ็ แบบใหม่ ใหผ้ เู้ รียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นไดม้ ากขึน และการเรียนการสอนก็เป็นไปอยา่ งทวั ถงึ อีกทงั ยงั สามารถกาํ หนดการเรียนการสอนเป็นในกลมุ่ ยอ่ ยไดห้ ากตอ้ งการ ผเู้ รียนสามารถกาํ หนดการเรียนการ สอนเป็นกลุ่มยอ่ ยได้ หากตอ้ งการ ผเู้ รียนสามารถกาํ หนดและเลือกเรืองทีตอ้ งการเรียน การสอนผสู้ อนสามารถ ใหอ้ าํ นาจบางส่วนหรือทงั หมดแก่ผเู้ รียนในการกาํ หนดวธิ ีการเรียนการสอน การตอบสนอง การให้รางวลั หรือ การลงโทษซึงเป็นไปตามระบบเสรีมากขึน อีทงั ยงั เป็นการสนบั สนุนแนวคิดทีใหผ้ เู้ รียนเป็นศูนยก์ ลางการเรียน ดว้ ย Angelo (1993 อา้ งถึงใน วิชุดา รัตนเพียร, 2545) ไดส้ รุปหลกั การพนื ฐานของการจดั การเรียนการสอน กบั การเรียนการสอนบนเวบ็ 5 ประการ ดงั นี 1. การจดั การเรียนการสอนโดยทวั ไปแลว้ ควรส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนและผสู้ อนสามารถติดต่อสือสารกนั ได้ ตลอดเวลา การติดต่อระหวา่ งผเู้ รียนและผสู้ อนมสี ่วนสาํ คญั ในการสร้างความกระตือรือร้นกบั การเรียนการสอน โดยผสู้ อนสามารถใหค้ วามช่วยเหลือผเู้ รียนไดต้ ลอดเวลาในขณะกาํ ลงั ศกึ ษา ทงั ยงั ช่วยเสริมสร้างความคิดและ ความเขา้ ใจ ผเู้ รียนทีเรียนบนเวบ็ สามารถสนทนา แลกเปลียนความคิดเห็น รวมทงั ซกั ถามขอ้ ขอ้ งใจกบั ผสู้ อนได้ โดยทนั ทีทนั ใด เช่น การมอบหมายงานส่งผา่ นอินเทอร์เน็ตจากผสู้ อน ผเู้ รียนเมือไดร้ ับมอบหมายก็จะสามารถ ทาํ งานทีไดร้ ับมอบหมายและส่งผา่ นอินเทอร์เน็ตกลบั ไปยงั ผสู้ อน หลงั จากนนั อาจารยผ์ สู้ อนสามารถตรวจและ ใหค้ ะแนนพร้อมทงั ส่งผลยอ้ นกลบั ไปยงั ผเู้ รียนไดใ้ นเวลาอนั รวดเร็วหรือในทนั ทีทนั ใด 2. การจดั การเรียนการสอน ควรสนบั สนุนใหม้ ีการพฒั นาความร่วมมือระหว่างผเู้ รียน ความร่วมมือ ระหวา่ งกลมุ่ ผเู้ รียนจะช่วยพฒั นาความคิดความเขา้ ใจไดด้ ีกวา่ การทาํ งานคนเดียว ทงั ยงั สร้างความสัมพนั ธเ์ ป็ น ทีมโดยการแลกเปลียนความคิดเห็นระหว่างกัน เพือหาแนวทางทีดีทีสุด เป็ นการพฒั นาการแกไ้ ขปัญหาการ เรียนรู้และการยอมรับความคิดเห็นของคนอนื มาประกอบ เพือหาแนวทางทีดีทีสุด ผเู้ รียนทีเรียนบนเวบ็ แมว้ ่าจะ เรียนจากคอมพิวเตอร์ทีอยู่กนั คนละที แต่ดว้ ยความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทีเชือมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทัวโลกไวด้ ้วยกนั ทาํ ให้ผูเ้ รียนสามารถติดต่อสือสารกนั ไดใ้ นทันทีทนั ใด เช่น การใชบ้ ริการ สนทนาแบบออนไลน์ทีสนบั สนุนใหผ้ เู้ รียนติดต่อสือสารกนั ไดต้ งั แต่ 2 คนขึนไป จนถงึ ผเู้ รียนทีเป้ นกลุ่มใหญ่ 3. ควรสนบั สนุนให้ผเู้ รียนรู้จกั แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง (Active Learners) หลีกเลียงการกาํ กบั ให้ ผสู้ อนเป็นผปู้ ้ อนขอ้ มลู หรือคาํ ตอบ ผเู้ รียนควรเป็นผขู้ วนขวายใฝ่ หาขอ้ มลู องคค์ วามรู้ต่าง ๆ เองโดยการแนะนาํ

25 ของผสู้ อน เป็นทีทราบดีอยแู่ ลว้ ว่า อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งขอ้ มูลทีใหญ่ทีสุดในโลก ดงั นนั การจดั การเรียนการ สอนบนเวบ็ นีจะช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถหาขอ้ มลู ไดด้ ว้ ยความกระตือรือร้นในการใฝ่ หาความรู้ 4. การใหผ้ ลยอ้ นกลบั แก่ผเู้ รียนแบบทนั ทีทนั ใด ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดท้ ราบถึงความสามารถของตน อีกทงั ยงั ช่วยใหผ้ เู้ รียนสามารถปรับแนวทางวธิ ีการหรือพฤติกรรมใหถ้ กู ตอ้ งได้ ผเู้ รียนทีเรียนบนเวบ็ สามารถไดร้ ับผล ยอ้ นกลบั จากทงั ผสู้ อนเองหรือแมก้ ระทงั จากผเู้ รียนคนอืน ๆ ไดท้ นั ทีทนั ใด แมว้ ่าผเู้ รียนแต่ละคนจะไม่ไดน้ ัง เรียนในชนั เรียนแบบเผชิญหนา้ กนั ก็ตาม 5. ควรสนับสนุนการจดั การเรียนการสอนทีไม่มีขีดจาํ กดั สาํ หรับบุคคลทีใฝ่ หาความรู้ การเรียนการ สอนบนเวบ็ เป็นการขยายโอกาสใหก้ บั ทุก ๆ คนทีสนใจศึกษา เนืองจากผเู้ รียนไม่จาํ เป็ นจะตอ้ งเดินทางไปเรียน ณ ทีใดทีหนึง ผทู้ ีสนใจสามารถเรียนไดด้ ว้ ยตนเองในเวลาทีสะดวก สรรรัชต์ ห่อไพศาล (2544 อา้ งถงึ ใน เขมณัฏฐ์ มิงศริ ิธรรม, 2552) กล่าววา่ การจดั การเรียนการสอนบน เวบ็ นนั ผสู้ อนและผเู้ รียนจะตอ้ งมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีเชือมโยงคอมพิวเตอร์ ของผเู้ รียนเขา้ ไวก้ บั กบั เครืองคอมพิวเตอร์ของผใู้ ชบ้ ริการเครือข่าย (File Server) และเครืองคอมพิวเตอร์ของผู้ ให้บริการเว็บ (Web Server) อาจเป็ นการเชือมโดยระยะใกลห้ รือระยะไกลผ่านทางระบบการสือสารและ อินเทอร์เน็ต การจดั การเรียนการสอนทางอนิ เทอร์เน็ตทีเป็นเวบ็ นนั ผสู้ อนจะตอ้ งมีขนั ตอนการจดั การเรียนการ สอน ดงั นี 1. กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนการสอน 2. การวเิ คราะหผ์ เู้ รียน 3. การออกแบบเนือหารายวชิ า 3.1 เนือหาตามหลกั สูตรและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รียน 3.2 จดั ลาํ ดบั เนือหา จาํ แนกหวั ขอ้ ตามหลกั การเรียนรู้และลกั ษณะเฉพาะในแต่ละหวั ขอ้ 3.3 กาํ หนดระยะเวลาและตารางการศกึ ษาในแต่ละหวั ขอ้ 3.4 กาํ หนดวิธีการศึกษา 3.5 กาํ หนดสือทีใชป้ ระกอบการศึกษาในแต่ละหวั ขอ้ 3.6 กาํ หนดวธิ ีการประเมนิ ผล 3.7 กาํ หนดความรู้และทกั ษะพืนฐานทีจาํ เป็นต่อการเรียน 3.8 สร้างประมวลรายวิชา 4. การกาํ หนดกิจกรรมการเรียนการสอนทางอนิ เทอร์เน็ต โดยใชค้ ุณสมบตั ิของอนิ เทอร์เน็ตทีเหมาะสม กบั กิจกรรมการเรียนการสอนนนั ๆ

26 5. การเตรียมความพร้อมสิงแวดลอ้ ม การเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต ไดแ้ ก่ 5.1 สาํ รวจแหล่งทรัพยากรสนบั สนุนการเรียนการสอนทีผเู้ รียนสามารถเชือมโยงได้ 5.2 กาํ หนดสถานที และอปุ กรณ์ทีใหบ้ ริการและทีตอ้ งใชใ้ นการติดต่อทางอินเทอร์เน็ต 5.3 สร้างเว็บเพจเนือหาความรู้ตามหัวขอ้ ของการเรียนการสอนรายสัปดาห์ สร้างแฟ้ มขอ้ มูล เนือหาวชิ าเสริมการเรียนการสอนสาํ หรับการถ่ายโอนแฟ้ มขอ้ มลู 6. การปฐมนิเทศผเู้ รียน ไดแ้ ก่ 6.1 แจง้ วตั ถปุ ระสงค์ เนือหา และวธิ ีการเรียนการสอน 6.2 สาํ รวจความพร้อมของผเู้ รียนและเตรียมความพร้อมของผเู้ รียน ในขนั ตอนนีผสู้ อนอาจจะ ตอ้ งมีการทดสอบหรือสร้างเวบ็ เพจเพิมขึน เพือใหผ้ เู้ รียนทีมีความรู้พืนฐานไม่เพียงพอ ไดศ้ ึกษาเพิมเติมในเวบ็ เพจเรียนเสริม หรือใหผ้ เู้ รียนถา่ ยโอนขอ้ มลู จากแหล่งต่าง ๆ ไปศกึ ษาเพิมเติมดว้ ยตนเอง 7. จดั การเรียนการสอนตามแบบทีกาํ หนดไวโ้ ดยในเว็บเพจจะมีเทคนิคและกิจกรรมต่าง ๆ ทีสามารถ สร้างขึน ไดแ้ ก่ 7.1 การใชข้ อ้ ความเร้าความสนใจทีอาจเป็นภาพกราฟิ ก ภาพการเคลือนไหว 7.2 แจง้ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมของรายวชิ าหรือหวั ขอ้ ในแต่ละสปั ดาห์ 7.3 สรุปทบทวนความรู้เดิมหรือโยงไปหวั ขอ้ ทีศึกษาแลว้ 7.4 เสนอสาระของหวั ขอ้ ต่อไป 7.5 เสนอแนะแนวทางการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมสนทนาระหว่างผเู้ รียนกบั ผสู้ อน และระหว่าง ผเู้ รียนกับผูเ้ รียน กิจกรรมการอภิปรายกลุ่ม กิจกรรมการคน้ ควา้ หาขอ้ มลู เพิมเติม กิจกรรมการตอบคาํ ถาม กิจกรรมการประเมนิ ตนเอง กิจกรรมการถา่ ยโอนขอ้ มลู 7.6 เสนอกิจกรรม แบบฝึกหดั หนงั สือหรือบทความ การบา้ น การทาํ รายงานเดียว รายงานกลุ่ม ในแต่ละสปั ดาห์ และแนวทางในการประเมินผลในรายวชิ านี 7.7 ผเู้ รียนทาํ กิจกรรม ศกึ ษา ทาํ แบบฝึกหดั และการบา้ นส่งผสู้ อน ทงั ทางเอกสาร ทางเว็บเพจ และส่งผลงานของตนเองเพือใหผ้ เู้ รียนคนอนื ๆ ไดร้ ับทราบดว้ ย 7.8 ผสู้ อนตรวจผลงานของผเู้ รียนส่งคะแนนและขอ้ มลู ยอ้ นกลบั เขา้ สู่เวบ็ เพจประวตั ิของผเู้ รียน รวมทงั การใหค้ วามคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ ไปสู่เวบ็ เพจผลงานของผเู้ รียนดว้ ย 8. การประเมินผล ผสู้ อนสามารถใชก้ ารประเมินผลระหว่างเรียนและการประเมนผลเมือสิ นสุดการ เรียน รวมทงั การเรียน ประเมนิ ผลผสู้ อน และการประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอน ทงั รายวิชาเพือใหผ้ สู้ อน นาํ ไปปรับปรุงแกไ้ ขระบบการเรียนการสอนทางอินเทอร์เน็ต

27 จากการศึกษาเอกสารเกียวกบั การเรียนการสอนบนเวบ็ พอสรุปไดว้ ่า เว็บสามารถช่วยอาํ นวยความ สะดวกในการเรียนการสอนไดเ้ ป็นอยา่ งดี ความเหมาะสมต่อการเรียนรู้ของนกั ศึกษา ซึงมีความสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ Mcgreal (1997) ทีเห็นว่า เวบ็ ไซตม์ เี ครืองมือต่าง ๆ ทีเชือมโยงสนบั สนุนใหเ้ กิดการเรียนรู้ และเป็ น โปรแกรมทีได้ออกแบบทีอยู่บนพืนฐานของทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) มี องคป์ ระกอบต่าง ๆ ตามทีกลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ และไดอ้ อกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในลกั ษณะทีใหผ้ สู้ อน กบั นกั ศึกษาสามารถติดต่อสือสารกนั ไดส้ ะดวก ทงั ในเวลาเดียวกนั และต่างเวลากนั เนือหาบทเรียนรายวิชาที นาํ มาวางบนเวบ็ ไซตผ์ สมผสานกบั กิจกรรมต่าง ๆ ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของนกั ศึกษาเป็นอยา่ งมาก จากการสังเคราะห์งานวิจัยทีเกียวขอ้ งกบั การเรียนการสอนบนเวบ็ พบว่า การเรียนการสอนบนเว็บ ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนกั เรียนทาํ ใหน้ กั เรียนเกิดการเรียนรู้ทีหลากหลาย และสามารถเรียนไดท้ ุกทีทุกเวลา และ ทาํ ใหผ้ ลสมั ฤทธิทางการเรียนของนกั เรียนดีขึน และในดา้ นการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั นักเรียน หรือผสู้ อนนันทาํ ให้ ระดบั ความกา้ วหนา้ ทางการเรียนรู้ของนกั เรียนดีขึนกว่าการเรียนกบั เนือหาเพียงอยา่ งเดียว 3. แนวคดิ เกยี วกบั กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาของมนุษย์ แนวคดิ นาํ พร อินสิน (2555) กล่าวว่า ร่างกายมนุษย์ ประกอบไปดว้ ยการทาํ งานของอวยั วะหลายระบบที ทาํ งานร่ วมกันเพือทีจะให้ร่างกายของเราสามารถทีจะดาํ รงความสมดุลและสามารถทาํ งานได้อย่างปกติ การศึกษาใหเ้ ขา้ ใจโครงสร้างของร่างกายมนุษยต์ ลอดจนหนา้ ทีของแต่ละอวยั วะ จะช่วยให้เขา้ ใจธรรมชาติการ ทาํ งานและเป็นพนื ฐานนาํ ไปสู่การดแู ลรักษาโรค การป้ องกนั โรคต่างๆ ทีเกิดจากการทีส่วนของร่างกายมีความ ผดิ ปกติไดเ้ ป็นอยา่ งดี ความหมายของกายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยาของมนุษย์ กายวิภาคศาสตร์ (Human anatomy) หมายถึง เป็ นวิทยาศาสตร์ทีเกียวขอ้ งถึงการศึกษาเกียวกับ โครงสร้าง (structure) รูปร่างลกั ษณะ (morphology) และตาํ แหน่งทีตงั ของอวยั วะต่างๆของมนุษยค์ าํ ว่า Anatomy มรี ากศพั ทม์ าจากภาษากรีก แบ่งออกเป็น 2 คาํ คือ Ana มหี มายความว่า การแยกเป็ นส่วนๆ และ Tomy มาจากคาํ วา่ tome หมายความว่า การตดั ดงั นนั คาํ ว่า Anatomy จึงหมายความว่า การตดั ออกเป็ นส่วนๆ(Mader, 2004) สรีวิทยา (Physiology) เป็ น วิทยาศาสตร์ทีเกียวขอ้ งถึงการศึกษาเกียวกับหน้าที (Function)และการ ทาํ งานของอวยั วะต่างๆของร่างกาย (Mader, 2004)

28 กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ (Human Anatomy) หมายถึง วิชาทีศึกษาเกียวกบั โครงสร้างของร่างกาย มนุษย์ ทีประกอบเป็นรูปร่างของร่างกาย รวมถึงตาํ แหน่งทีตงั ของอวยั วะต่างๆ ว่าอย่สู ่วนไหนของร่างกาย และ ส่วนต่างๆนี เกียวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั อยา่ งไร (นาํ พร อนิ สิน, 2555) สรีรวทิ ยาของมนุษย์ (Human Physiology) คือวิชาทีศึกษาหนา้ ทีการทาํ งานของส่วนหรืออวยั วะต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ เมือรวมเขา้ กนั เป็ นอวยั วะและระบบต่างๆ เหล่านีตอ้ งทาํ งานประสานกันเพือให้ร่างกาย สามารถดาํ รงอยไู่ ดต้ ามปกติ (นาํ พร อนิ สิน, 2555) ดงั นนั การศกึ ษากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ จึงเป็ นการศึกษาถึงโครงสร้างร่างกายและ ส่วนประกอบต่างๆ ของร่างกายทงั ระดบั ภายนอกและภายใน ระดบั โครงสร้างขนาดใหญ่จนถงึ โครงสร้างขนาด เลก็ ตลอดจนการศึกษาถึงหนา้ ทีการทาํ งานของระบบร่างกาย ดงั นนั การเรียนร่างกายมนุษยใ์ นระบบต่างๆ จึง ตอ้ งศึกษาทงั กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษยไ์ ปควบคู่กนั ทงั คนปกติและคนทีเจ็บป่ วย เพือให้เรา สามารถดแู ลรักษาและป้ องกนั การเจ็บป่ วยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม วธิ ีการศึกษากายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยา แบ่งออกไดห้ ลายวิธีดงั นี (นาํ พร อนิ สิน, 2555) 1. การศึกษาส่วนต่างๆของร่างกายทีเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า (Gross anatomy) เช่น ศกึ ษาโครงสร้างของของ ศีรษะ ทอ้ ง แขน ขา กระดูก เป็นตน้ 2. การศึกษาส่วนประกอบของอวยั วะทีตอ้ งใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ (Microscopic Anatomy) ซึงแยก ออกเป็ น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ การศึกษาเกียวกับเซลล์ (Cytology) การศึกษาเกียวกับเนือเยือ (Histology) และ การศกึ ษาเกียวกบั อวยั วะ (Organology) 3. การศกึ ษาถงึ กาํ เนิดของอวยั วะต่างๆ รวมตลอดทงั ตวั และการเจริญเติบโตของตวั อ่อน(Embryology or Developmental anatomy) 4. การศึกษาลกั ษณะ และหนา้ ทีของระบบต่างๆ (Systemic anatomy) 5. การศกึ ษาโครงสร้างของระบบประสาท (Neuroanatomy) 6. การศกึ ษาเปรียบเทียบกายวิภาคศาสตร์ (Comparative anatomy) การจดั ระบบร่างกาย(Organization of the body) ร่างกายของมนุษยม์ กี ารจดั ระบบงาน 2 ระดบั คือ การทาํ งานระดบั ยอ่ ย ซึงหมายถึงการทาํ งานของเซลล์ และการทาํ งานระดบั รวม เป็ นการทาํ งานระดับอวยั วะ (Organs) เซลลห์ ลายๆเซลล์ประกอบขึนเป็ นเนือเยือ (Tissue) เนือเยอื จาํ นวนมากประกอบขึนเป็นอวยั วะ (Organs) อวยั วะหลายอนั รวมกนั แบ่งเป็ นระบบ (System)

29 ดงั นนั ร่างกายของมนุษยจ์ ึงแบ่งออกเป็นระบบๆ และตอ้ งทาํ งานประสานเกียวพนั เป็นอนั หนึงอนั เดียวกนั เสมอ เพือใหช้ ีวติ อยไู่ ด(้ นาํ พร อินสิน, 2555) Cell Tissue Organs System รูป การจดั ระบบการทาํ งานภายในร่างกาย ทีมา : Mader (2004) ส่วนต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ (นาํ พร อินสิน, 2555)สามารถแบ่งเป็นส่วนต่างๆ ไดด้ งั นี 1) ศรี ษะและคอ (Head and Neck) • สมอง (Brain) • ใบหนา้ (Face) • หู (Ears) • เบา้ ตา (Orbit) • ตา (Eye) • ปาก (Mouth) • ลิน(Tongue) • ฟัน (Teeth) • จมกู (Nose) • หนงั ศรี ษะ (Scalp) • กลอ่ งเสียง (Larynx) • คอหอย (Pharynx)

30 • ต่อมนาํ ลาย (Salivary Glands) • เยอื หุม้ สมอง (Meninges) • ต่อมไทรอยด์ (Thyroid) • ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland) 2) ลาํ ตวั แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ อก ทอ้ ง ทอ้ งนอ้ ย • กระดกู สนั หลงั (Vertebra) และไขสนั หลงั (Spinal Cord) • ต่อมนาํ นม (Mammary Gland) • ปอด (Lungs) • หวั ใจ (Heart) • ประจนั อก (Mediastinum) • หลอดอาหาร (Esophagus) • กะบงั ลม (Diaphragm) • ต่อมไทมสั (Thymus) • เยอื บุช่องทอ้ ง (Peritoneum) • กระเพาะอาหาร (Stomach) • ลาํ ไสเ้ ลก็ ส่วนตน้ หรือ ดูโอดีนมั (Duodenum) • ลาํ ไส้ (Intestine) • ลาํ ไสเ้ ลก็ (Small Intestine) • ลาํ ไสใ้ หญ่ (Colon) • ตบั (Liver) • มา้ ม (Spleen) • ตบั อ่อน (Pancreas) • ไต (Kidney) • ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland) • ไสต้ ิง (Vermiform Appendix) • เชิงกราน (Pelvis) • กระเบนเหน็บ (Sacrum) • กน้ กบ (Coccyx) • รังไข่ (Ovaries)

31 • ท่อนาํ ไข่ (Fallopian Tube) • มดลกู (Uterus) • ช่องคลอด (Vagina) • โยนี (Vulva) • คลิตอริส หรือ ป่ ุมกระสนั (Clitoris) • ฝีเยบ็ (Perineum) • กระเพาะปัสสาวะ (Urinary Bladder) • อณั ฑะ (Testicles) • ไสต้ รง (Rectum) • องคชาต (Penis) 3) แขนและขา • กลา้ มเนือ (Muscle) • กระดกู (Skeleton) • เสน้ ประสาท (Nerves) • มือ (Hand) • ขอ้ มอื (Wrist) • ขอ้ ศอก (Elbow) • ไหล่ (Shoulder) • สะโพก (Hip) • เข่า (Knee) • ขอ้ เทา้ (Ankle) การแบ่งระบบภายในร่างกาย Mader (2004) แบ่งระบบภายในร่างกายออกเป็น 9 ระบบดงั นี 1. ระบบปกคลุมร่างกาย (Integumentary system) 2. ระบบโครงร่าง หรือระบบกระดกู (Skeletal system) 3. ระบบกลา้ มเนือ (Muscular system) 4. ระบบประสาท (Nervous system) 5. ระบบไหลเวยี น (Circulatory system) 6. ระบบหายใจ (Respiratory system)

32 7. ระบบยอ่ ยอาหาร (Digestive system) 8. ระบบขบั ถา่ ย (Excretory system) 9. ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine glands system) 10. ระบบสืบพนั ธุ์ (Reproductive system) ช่องวา่ งในร่างกาย (Cavities of the body) แบ่งออกเป็น 2 ช่องใหญ่คือ 1. ช่องดา้ นหลงั (Dorsal cavity) 2. ช่องดา้ นหนา้ (Ventral cavity) ช่องด้านหลงั มกี ระดกู ลอ้ มรอบโดยเป็นช่องจากกระดกู กะโหลกศรี ษะและกระดกู สนั หลงั แบ่งออกไดอ้ กี คือ 1. ช่องทอี ย่ใู นกระดูกกะโหลกศีรษะ (Cranial cavity) โดยมีสมองบรรจุอยภู่ ายในและยงั มีช่องเลก็ ๆที อยภู่ ายในกะโหลกศรี ษะคือ 1.1 ช่องเบา้ ตา (Orbital cavity) บรรจุตาอยภู่ ายใน 1.2 ช่องจมกู (Nasal cavity) ใหอ้ ากาศผา่ น 1.3 ช่องปาก (Mouth or Oral cavity)ใหอ้ าหารและอากาศผา่ น 2. ช่องทีอยู่ภายในกระดูกสันหลงั (Spinal cavity) ติดต่อกบั กะโหลกศีรษะโดยมีไขสนั หลงั (Spinal cord) ทอดทะลถุ งึ กนั ช่องด้านหน้าเป็นช่องทีอยขู่ า้ งหนา้ กระดกู สนั หลงั ช่องนีใหญ่กว่าช่องดา้ นหลงั มากเป็นช่องทีไม่มกี ระดกู ลอ้ มรอบอยคู่ รบบางส่วนมีกลา้ มเนือแบ่งกนั หรือเรียกว่าเป็นช่องวา่ งลาํ ตวั ประกอบดว้ ย 1. ช่องอก (Thorax or Thoracic cavity) เป็นช่องวา่ งส่วนบนของลาํ ตวั โดยมกี ลา้ มเนือกะบงั ลม (Diaphragm) กนั อยรู่ ะหวา่ งช่องอกและช่องทอ้ งบรรจุอวยั วะทีสาํ คญั คือ 1.1 หวั ใจและเสน้ เลอื ดใหญ่ (Cardiac and Artery) 1.2 ปอดและทางผา่ นของอากาศโดยมหี ลอดลมและหลอกลมขวั 9 ปอด 1.3 หลอดอาหาร (Esophagus) 2. ช่องท้อง (Abdomen or Abdominal cavity) เป็นส่วนทีอยตู่ าํ จากกะบงั ลมลงมาบรรจุอวยั วะคือ 2.1 กระเพาะอาหาร (stomach) 2.2 ลาํ ไสเ้ ลก็ (Small intestine) 2.3 ลาํ ไสใ้ หญ่ (Large intestine) 2.4 ตบั (Liver) 2.5 ตบั ออ่ น (Pancreas)

33 2.6 มา้ ม (Spleen) 2.7 ไต (Kidneys) 2.8 หลอดไต (Urethra) 3. ช่องท้องน้อย (Pelvis or Pelvic cavity)เป็นส่วนหนึงของช่องทอ้ งทีอยตู่ าํ ลงมา ไม่มีอะไรกนั บรรจุ อวยั วะคือ 3.1 กระเพาะปัสสาวะ (Bladder) 3.2 อวยั วะสืบพนั ธุ์ (Reproductive Organs) 3.3 ลาํ ไสใ้ หญ่ส่วนปลาย (Rectum) จากส่วนหลกั ของร่างกายเหล่านี จะเห็นไดว้ ่ามนุษยเ์ พศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกนั อย่างมาก นอกจากนี เพศหญิงและเพศชายยงั มีลกั ษณะอืนทีแตกต่างกนั เช่น เพศชายมีกลา้ มเนือมากกว่าเพศหญิงและ บึกบึนกว่า ในขณะทีเพศหญิงจะกลมกลึงและสวยงามกว่า นอกจากนีความแตกต่างทีเห็นไดช้ ดั เจนทีสุด คือ อวยั วะสืบพนั ธุแ์ ละลกั ษณะทางเพศ การจดั ลาํ ดับโครงสร้างร่างกายมนุษย์ ในปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบแลว้ ว่า ร่างกายของมนุษย์นันประกอบดว้ ยส่วนประกอบ ยอ่ ยๆ หลายส่วนมารวมกนั เพือทาํ หนา้ ทีร่วมกนั (Mader, 2004) โดยสามารถจดั ลาํ ดบั โครงสร้างของร่างกาย มนุษยไ์ ดด้ งั นี 1) อะตอม เป็นหน่วยยอ่ ยทีสุดของสารซึงเราไม่สามารถมองเห็นได้ 2) โมเลกุล เกิดจากการรวมตวั กนั ของอะตอมของธาตุแต่ละชนิด ไดส้ ารทีมขี นาดใหญ่ขึน และ มหี นา้ ทีเฉพาะในร่างกาย เช่น สารอาหารต่างๆ ฮอร์โมน เอนไซม์ นาํ ยอ่ ย เป็นตน้ 3) เซลล์ จดั เป็นหน่วยยอ่ ยทีสุดในการทาํ งานของร่างกายมนุษย์ เซลลเ์ หล่านีประกอบขึนจาก การรวมของโมเลกลุ ต่างๆ ซึงมกั มองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ ห็น เซลลม์ ีรูปร่างแตกต่างกนั โดยรูปร่างของเซลลจ์ ะเหมาะ กบั ลกั ษณะการทาํ งานของเซลล์ เช่น เซลลป์ ระสาทมีแขนงมากมายซึงจะทาํ หนา้ ทีส่งขอ้ มูลข่าวสารระหว่าง เซลล์ 4) เนือเยอื เกิดจากการรวมกลุ่มของเซลลช์ นิดเดียวกนั เพอื มาทาํ หน้าทีร่วมกนั โดยเฉพาะ เช่น เนือเยอื ปอด เนือเยอื บุผวิ เป็นตน้ 5) อวยั วะ เกิดจากการรวมกลุ่มของเนือเยือหลายชนิดทีมาทาํ หน้าทีร่วมกนั เช่น หัวใจ ประกอบดว้ ยเนือเยอื บุผวิ ชนั นอก กลา้ มเนือชนั กลางและกลา้ มเนือชนั ใน รวมตวั กนั เพือทาํ หนา้ ทีในการสูบฉีด เลือดไปเลยี งส่วนต่างๆ ของร่างกาย

34 6) ระบบอวยั วะ เป็นกลุ่มของอวยั วะทีเกียวขอ้ งกนั อวยั วะในระบบเดียวกนั อาจมคี วามสมั พนั ธ์ ร่วมกนั ไดห้ ลายทาง แต่มกั จะมีลกั ษณะหน้าทีการทาํ งานเกียวขอ้ งกนั เช่น ระบบขบั ถ่ายประกอบดว้ ยอวยั วะ หลายอยา่ งทีทาํ หนา้ ทีร่วมกนั ในการผลิต เก็บ และขบั ปัสสาวะออกมาจากร่างกายหน้าทีของระบบอวยั วะมกั จะ มีหนา้ ทีทบั ซอ้ นกนั เช่น ต่อมไฮโปทาลามสั (Hypothalamus) เป็ นอวยั วะทีทาํ หน้าทีทังในระบบประสาท (Nervous System) และระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) ทาํ ให้การศึกษาทงั สองระบบมกั จะทาํ ร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (Neuroendocrine System) หรือระบบกลา้ มเนือและกระดูก (Musculoskeletal System) ซึงเป็นความเกียวขอ้ งกนั ระหว่างระบบกลา้ มเนือ (Muscular System) และ ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) 7) ร่างกายมนุษย์ เกิดจากการรวมกนั ของระบบอวยั วะทุกระบบในร่างกาย รูป ช่องวา่ งของร่างกาย a) แสดงการแบ่งช่องดา้ นหนา้ และช่องหลงั b) แสดงการแบ่งช่องดา้ นหนา้

35 การแบ่งพนื ทขี องร่างกาย (General body plane) Anatomical position คือ ท่ายนื ในท่าตวั ตรง หนา้ ดูตรงไปทางขา้ งหนา้ ส้นเทา้ ชิดกนั แขนทงั สองขา้ ง หอ้ ยติดกบั สีขา้ ง และแบมอื ใหฝ้ ่ ามอื หนั ไปขา้ งหนา้ (ใหน้ ิวกอ้ ยจดกบั โคนขา นิ วหัวแม่มือหนั ไปทางดา้ นนอก) (Mader, 2004) 1. Sagittal plane of Longitudinal plane เสน้ ทีแบ่งลาํ ตวั จากดา้ นหนา้ มาดา้ นหลงั แบ่งร่างกายใหเ้ ป็นขา้ ง ซา้ ยและขา้ งขวา 2. Frontal plane or Coronal plane เสน้ ทีแบ่งลาํ ตวั จากขา้ งหนึงไปอีกขา้ งหนึง แบ่งร่างกายเป็นดา้ นหน้า และดา้ นหลงั 3. Transverse plane or Horizontal plane เส้นทีแบ่งลาํ ตวั ออกตามขวาง แบ่งร่างกายเป็ นส่วนบนและ ส่วนล่าง 4. Superior ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ขา้ งบน 5. Inferior ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ขา้ งลา่ ง 6. Anterior ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ดา้ นหนา้ (Front) บางทีใชค้ าํ ว่า Ventral 7. Posterior ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ดา้ นหลงั (Back) บางทีใชค้ าํ วา่ Dorsal 8. Lateral ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยไู่ กลจากเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของร่างกาย (Middle line) 9. Median ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยใู่ กลเ้ สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของร่างกายหรืออวยั วะ 10. Distal ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยไู่ กลลาํ ตวั 11. Proximal ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยใู่ กลล้ าํ ตวั 12. External ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ภายนอกร่างกาย หรือภายนอกอวยั วะ 13. Internal ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ภายในร่างกาย หรือภายในอวยั วะ 14. Visceral ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั อวยั วะภายใน แต่ไมใ่ ช่อวยั วะภายในเช่น เยอื หุม้ ปอด ชนั นอก 15. Parietal ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ดา้ นนอกร่างกาย 16. Superficial ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยหู่ รือใกลก้ บั ผวิ ภายนอก 17. Deep ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยลู่ กึ หรือไกลจากผวิ ดา้ นนอก 18. Peripheral ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยไู่ กลจากศนู ยก์ ลางของร่างกาย หรือส่วนปลาย 19. Medial ใชเ้ ป็นคาํ ประกอบเกียวกบั ส่วนทีอยใู่ กลก้ บั เสน้ ผา่ กลางของร่างกายหรืออวยั วะ ซึง เรียกวา่ Median line

36 รูป ท่าAnatomical position และการตดั แบ่งร่างกายตามเสน้ ต่างๆ ทีมา : Mader (2004) รูป การเรียกชือส่วนต่างๆของร่างกาย (a) ดา้ นหนา้ (b) ดา้ นหลงั ทีมา : Mader (2004)

37 ส่วนต่างๆ ของร่างกาย (Anatomical parts of the body) (Mader, 2004) ร่างกายของมนุษยแ์ บ่งออกเป็นส่วนต่างๆดงั นี 1. ศีรษะ (Head) 2. คอ (Neck) 3. ลาํ ตวั (Trunk) 4. แขน (Upper limbs) 5. ขา (Lower limbs) ศีรษะ แบ่งออกเป็นส่วนๆ คือ 1. ขมอ่ ม (Crown or Vertex)2. หนา้ ผาก (Frontal region) 2. ทา้ ยทอย (Occipital) 3. ขมบั (Temple or Temporal region) 4. หู (Ears) 5. ใบหนา้ (Face) นบั จากโหนกคิว9 ไปถงึ คาง มตี า (Eye) จมกู (Nose) และปาก (Mouth) 6. คอ เชือมติดต่อระหว่างศรี ษะกบั ลาํ ตวั ลาํ ตวั แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1. อก (Thorax or Chest) แบ่งเป็นส่วนต่างๆ คือ 1.1 ส่วนหนา้ อก (Breast) ดา้ นหนา้ ทรวงอก 1.2 เตา้ นม (Mamma) 1.3 หลงั (Back) 1.4 ช่องอก (Thoracic cavity) 2. ทอ้ ง (Abdomen) นบั ตงั แต่ยอดอกถงึ หวั หน่าว แบ่งเป็นส่วนๆ คือ 2.1 สะดือ (Umbilicus or Navel) 2.2 สีขา้ ง (Hank) 2.3 ขาหนีบ (Groin) 2.4เนือนูนเป็นสนั 2 ขา้ งของสนั หลงั ตอนเอว (Lumbus or Loin) 2.5 ช่องทอ้ ง (Abdominal cavity)

38 3. ท้องน้อย (Pelvis) บริเวณหัวหน่าวถึงฝี เยบ็ ระหว่างซอกขาทงั 2 ขา้ ง แบ่งเป็ นส่วน ต่างๆคือ 3.1 อวยั วะสืบพนั ธุ์ (Genital organs) 3.2 ฝีเยบ็ (Perineum) 3.3 กน้ (Buttock or Nates) 3.4 ซอกกน้ (Natal cleft) 3.5 ช่องทอ้ งนอ้ ยหรืออุง้ เชิงกราน (Pelvic cavity) แขน (Upper limp or Extremity) ติดต่อกบั ลาํ ตวั ตรงหวั ไหล่ แบ่งเป็นส่วนต่างๆ คือ 1. ตน้ แขน (Arm) 2. ขอ้ ศอก (Elbow) 3. ปลายแขน (Forearm) 4. มือ (Hand) 4.1 ขอ้ มือ (Wrist) 4.2 ฝ่ ามือ (Palm) 4.3 หลงั มือ (Back or Dorsum of hand) 5. นิวมือ(Fingers) แบ่งเป็น 5.1 นิวหวั แม่มือ(Thump) 5.2 นิวชี (Index finger) 5.3 นิวกลาง(Middle finger) 5.4 นิวนาง(Ring finger) 5.5 นิวกอ้ ย(Little finger) ขา (Lower limp or Extremity) ส่วนของร่างกายตงั แต่สะโพกถงึ เทา้ ส่วนต่อระหวา่ งลาํ ตวั ตอนทอ้ งนอ้ ย กบั ขาเรียกว่า ตะโพก (Hip) ส่วนต่างๆจากบนมาลา่ งมดี งั นี 1. ตน้ ขา (Thigh) 2. หวั เข่า (Knee) 3. ปลายขา (Leg) มีหนา้ แขง้ (Shin) กบั น่อง (Calf) 4. ขอ้ เทา้ (Ankle) 5. เทา้ (Foot) 6. สน้ เทา้ (Heel of Calyx)

39 7. ฝ่ าเทา้ (Sole) 8. หลงั เทา้ (Back or Dorsum of foot) 9. นิวเทา้ (Toes) 9.1 นิวหวั แมม่ ือ(Bigionorcreater) 9.2 นิวเทา้ อนั ทีสอง(Second toe) 9.3 นิวเทา้ อนั ทีสาม(Third toe) 9.4 นิวเทา้ อนั ทีสี (Fourth toe) 9.5 นิวเทา้ อนั ทีหา้ (Fifth toe or Little) โครงสร้างและหน้าทกี ารทํางานของระบบร่างกายมนุษย์ ระบบในร่างกายมนุษย์ มีทงั สิน11 ระบบดว้ ยกนั โดยแต่ละระบบจะทาํ หน้าทีประสานงานกนั เพือคง ความสมดุลของร่างกายไว้ (Mader, 2004) หน้าทกี ารทํางานของร่างกายมนุษย์ 1) หน้าทีห่อหุ้มร่างกาย เป็ นหนา้ ทีของระบบผวิ หนงั ซึงจะทาํ หน้าทีในการห่อหุม้ ปก คลุมส่วนต่างๆ ของร่างกายไว้ ช่วยควบคุมอณุ หภูมิร่างกาย และยงั มีเนือเยอื ทีทาํ หนา้ ทีรับความรู้สึกอีกดว้ ย 2) หนา้ ทีคาํ จุนและเคลือนไหว เป็ นหน้าทีของระบบกระดูกและระบบกลา้ มเนือ ซึงจะ คอยทาํ หนา้ ทีในการคาํ จุนโครงสร่างของส่วนต่างๆ ในร่างกาย เป็ นแกนของร่างกายและทาํ ใหร้ ่างกายสามารถ เคลือนไหวได้ 3) หนา้ ทีในการประมวลผลและประสานงาน เป็ นหนา้ ทีของระบบประสาทและระบบ ต่อมไร้ท่อ ระบบอวยั วะทังสองนีจะทาํ งานร่วมกนั ในการรับสัญญาณการเปลียนแปลงจากทังภายในและ ภายนอกร่างกาย หลงั จากนนั จะทาํ หนา้ ทีในการประมวลผลสัญญาณต่างๆ แลว้ ปรับสมดุลของร่างกาย โดย ระบบประสาทจะทาํ หน้าทีในการส่งสญั ญาณประสาทไปควบคุมอวยั วะต่างๆ ส่วนระบบต่อมไร้ท่อ จะทาํ หนา้ ทีในการสร้างฮอร์โมนหรือสารเคมตี ่างๆ ออกมาเพือไปควบคุมส่วนต่างๆ ของร่างกายเช่นกนั 4) หน้าทีในการขนส่งสาร เป็ นหน้าทีของระบบหัวใจและหลอดเลือดและระบบ นําเหลือง ทังสองระบบนีเป็ นระบบทีมีลกั ษณะเป็ นท่อเชือมโยงทัวร่างกาย และคอยขนส่งทงั สารอาหาร ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ฮอร์โมน เอนไซม์ หรือสารอืนๆ ไปตามหลอดเลอื ดและหลอดนาํ เหลอื ง 5) หนา้ ทีในการดูดซึมสารและขบั ถา่ ยของเสีย เป็นหนา้ ทีของระบบทางเดินอาหาร ระบบ หายใจ และระบบทางเดินปัสสาวะ ทงั สามระบบนีจะทาํ หน้าทีประสานงานกนั ตงั แต่การดูดซึมสารอาหาร ออกซิเจน และการขบั ถ่ายของเสียต่างๆ

40 6) หน้าทีในการสืบพนั ธุ์ เป็ นหน้าทีของระบบสืบพนั ธุ์ โดยจะสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศ หญิงและเซลลส์ ืบพนั ธุเ์ พศชาย เพอื ใหก้ าํ เนิดชีวติ ใหมแ่ ละดาํ รงเผา่ พนั ธุข์ องมนุษย์ ระบบอวยั วะ ประกอบดว้ ย 1) ระบบผวิ หนงั หรือระบบห่อหุ้มร่างกาย (Integumentary System) ผิวหนงั ทาํ หน้าทีปก คลุมห่อหุม้ ร่างกาย คอยป้ องกนั อนั ตรายจากภายนอก ป้ องกนั สารแปลกปลอมและเชือโรคเขา้ สู่ร่างกาย รวมทงั ป้ องกนั อนั ตรายจากรังสีอลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ รับความรู้สึก ไม่ว่าจะเป็นความเจ็บปวด ความรู้สึกร้อน เยน็ รับความรู้สึกสมั ผสั ช่วยควบคุมอณุ หภูมิของร่างกาย ทาํ หนา้ ทีเป็ นอวยั วะขบั ถ่าย คือ มีต่อมเหงือทาํ หน้าที ขบั เหงือและมีต่อมไขมนั จะสร้างออกมาหล่อเลียงเส้นผม และขน ให้เป็ นเงางามอย่เู สมอและไม่แหง้ อีกดว้ ย นอกจากนีผวิ หนงั ยงั ช่วยสร้างวิตามินดีให้แก่ร่างกาย โดยแสงแดดจะเปลียนไขมนั ชนิดหนึงทีผิวหนงั ให้เป็ น วิตามินดีได้ ผวิ หนัง ของมนุษยส์ ามารถแบ่งไดเ้ ป็นสองส่วน คือ หนงั กาํ พร้าและหนงั แท้ (Mader, 2004) • หนงั กาํ พร้า (Epidermis) เป็นผวิ หนงั ทีอยู่ ชนั บนสุด มีลกั ษณะบางมาก ประกอบไปดว้ ยเชลล์ เรียงซอ้ นกนั เป็นชนั ๆ โดยเริมตน้ จากเซลลช์ นั ในสุด ติดกบั หนงั แท้ ซึงจะแบ่งตวั เติบโตขึนแลว้ ค่อยๆ เลอื นมาทดแทนเซลลท์ ีอยชู่ นั บนจนถงึ ชนั บนสุด แลว้ ก็ กลายเป็นขีไคลหลุดออกไป ในชนั ของหนงั กาํ พร้าไม่มีหลอดเลือด เส้น ประสาท และต่อมต่างๆ นอกจากเป็ นทางผา่ นของรูเหงือ เส้นขน และ ไขมนั เท่านนั นอกจากนีในชนั หนงั กาํ พร้ายงั มเี ซลล์ เรียกว่า เมลานินปะปนอย่ดู ว้ ย เมลานินมีมากหรือนอ้ ยขึน อยกู่ บั บุคคลและเชือชาติ สีผวิ ของคนแต่ละคนจะมีสีผิวต่างกนั เพราะมีจาํ นวนเมด็ สีเมลานินในหนงั กาํ พร้าไม่ เท่ากนั ถา้ มีมากจะทาํ ใหผ้ วิ สีดาํ ถา้ มีนอ้ ยจะทาํ ใหผ้ วิ สีขาว นอกจากนีสีของเลือด ความหนาของผิวหนงั ก็มีส่วน กาํ หนดสีผวิ ดว้ ย • หนงั แท้ (Dermis) เป็นผวิ หนงั ทีอยชู่ นั ล่าง ถดั จากหนงั กาํ พร้า และหนา กว่าหนงั กาํ พร้ามาก ผวิ หนงั ชนั นีประกอบไปดว้ ยเนือเยอื คอลลาเจน (Collagen) และอลี าสติน (Elastin) หลอดเลอื ดฝอย เสน้ ประสาท กลา้ มเนือเกาะเสน้ ขน ต่อมไขมนั ต่อมเหงือ และขุม ขนกระจายอย่ทู วั ไปเลบ็ ขน ผม เป็นส่วนทีเจริญเปลยี นแลง ไปจากผวิ หนงั ส่วนประกอบอนื ๆของผวิ หนงั ทีเราตอ้ งศึกษาดว้ ยกค็ ือ กลา้ มเนือ ขนลกุ ต่อมไขมนั ต่อมเหงือ และเหงือ บริเวณผวิ หนงั ทีปกคลมุ ร่างกายของเรามีอวยั วะภายนอกทีสาํ คญั เช่น 1. ตา หน้าทีของตา ตาเป็ นอวยั วะทีสําคัญสําหรับการรับสัมผสั เกียวกับแสงสีและภาพ มี ลกั ษณะกลมบรรจุในเบา้ ตา ไม่ควรขยีตาแรง ๆ เมือมีฝ่ ุนละอองเขา้ มา และควรอ่านหนงั สือในทีทีมีแสงสว่าง เพียงพอ

41 2. หู หนา้ ทีของหู หูเป็นอวยั วะสาํ คญั ทีรับการสมั ผสั เกียวกบั เสียงและการทรงตวั เราไมค่ วรใช้ ของแข็งแคะหู เมอื หูผดิ ปกติเราตอ้ งรีบไปพบหมอทนั ที 3. จมกู หนา้ ทีของจมกู จมกู เป็นอวยั วะทีรับรู้เรืองกลิน การดูแลรักษาจมูกไม่ใชข้ องแข็งแคะ จมกู หรือนาํ สิงแปลกปลอมเขา้ สู่จมกู ระบบกระดูก (Skeletal System)เป็นระบบทีทาํ หนา้ ทีคอยคาํ จุนโครงสร้างของร่างกาย และยงั เป็ นทียึด เกาะของกลา้ มเนือและเอน็ ต่างๆ ช่วยคงรูปร่างของร่างกายโดยทาํ หนา้ ทีเป็ นแกนภายใน กระดูกเป็ นอวยั วะที ประกอบดว้ ยเซลล์ เสน้ ใยพงั ผืด และเกลือแร่ โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส ซึงทาํ ใหก้ ระดูกมีทงั ความ แข็งแรงและความยดื หยนุ่ ร่างกายของมนุษยท์ ีเจริญเติบโตเตม็ ทีจะประกอบดว้ ยกระดูกทงั หมด 206 ชินแบ่งเป็น (Mader, 2004) • กระดกู แกน 80 ชิน เช่น กะโหลกศีรษะ กระดกู สนั หลงั กระดูกกน้ กบ กระดูกซีโครง • กระดูกรยางค์ จาํ นวน 126 ชิน เช่น กระดูกแขนขา สะบกั ไหปลาร้า เชิงกราน กระดูกมีหนา้ ที สาํ คญั คือ - เป็นทีเก็บแร่ธาตุ Calcium ในร่างกาย - ป้ องกนั เสน้ ประสาทและหลอดเลอื ดทีทอดอยตู่ ามแนวของกระดกู นนั - ทาํ หนา้ ทีเป็นโครงร่างของร่างกายใหร้ ่างกายคงรูปอยไู่ ด้ - ป้ องกนั อนั ตรายใหแ้ ก่อวยั วะทีสาํ คญั เช่น สมอง ไขสนั หลงั หวั ใจ ปอด - เป็นทียดึ ของกลา้ มเนือ การทีเราเคลอื นไหวไดเ้ ป็ นผลมาจากการหดตวั และคลายตวั ของกลา้ มเนือ ทียดึ ติดกบั กระดูกขอ้ ต่อและเอน็ เชือมกระดกู ขอ้ ต่อเกิดจากกระดูกตงั แต่ 2 ชินขึนไปทีอยใู่ กลก้ นั มาเชือมต่อกนั โดยมีเอ็นละกลา้ มเนือช่วยยึดเสริมความแข็งแรง ทาํ ให้มีความยืดหยุ่นในการเคลือน ไหวได้ สะดวกขึน ระบบกล้ามเนือ (Muscular System)กลา้ มเนือทาํ ให้ส่วนของร่างกายเคลือนไหวไดโ้ ดยการหดตวั กลา้ มเนือ (Muscle) จดั เป็นเนือเยอื ยดื หยนุ่ พิเศษพบไดท้ ุกส่วนของร่างกาย กลา้ มเนือบางชนิดอยใู่ ตอ้ าํ นาจจิตใจ สามารถบงั คับได้ กลา้ มเนืออีกกลุ่มหนึงเป็ นกลา้ มเนือนอกอาํ นาจจิตใจหรือกลา้ มเนือทีไม่สามารถบงั คบั ได้ กลา้ มเนือในร่างกายแบ่งเป็น 3 ชนิด ดงั นี (Mader, 2004) กลา้ มเนือภายในร่างกายแบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนิด คือ กลา้ มเนือลาย หรือ กลา้ มเนือในอาํ นาจจิตใจ กลา้ มเนือเรียบหรือกลา้ มเนือนอกอาํ นาจจิตใจ และกลา้ มเนือหวั ใจ • กลา้ มเนือลาย (Striated Muscles)กลา้ มเนือลาย หรือ กลา้ มเนือในอาํ นาจจิตใจ เป็ นกลา้ มเนือ ทวั ๆไป หรือกลา้ มเนือแดงของร่างกาย กลา้ มเนือนีมีประมาณ 40% ของร่างกาย และอย่ใู นอาํ นาจจิตใจภายใต้ การควบคุมของระบบประสาทส่วนกลางกลา้ มเนือลายมีหนา้ ทีเคลอื นไหวร่างกายทีขอ้ ต่อต่างๆเคลอื นไหวลกู ตา

42 ช่วยในการเคียวและการกลนื เคลือนไหวลิน เคลือนไหวใบหนา้ แสดงอารมณ์ต่างๆ และยงั ประกอบเป็ นผนังอก และผนงั ทอ้ ง ตลอดจนการควบคุมการขบั ถ่ายปัสสาวะและอจุ จาระ • กลา้ มเนือเรียบ (Smooth Muscles) เป็ นกลา้ มเนือทีอย่ทู ีอวยั วะต่างๆภายในของร่างกาย มี หน้าทีควบคุมการทาํ งานของอวยั วะย่อยอาหารและอวยั วะภายในต่างๆ เช่น ลาํ ไส้ กระเพาะอาหาร อวยั วะ สืบพนั ธุ์ มดลกู เสน้ เลือดดาํ ฯลฯ ซึงอยนู่ อกอาํ นาจของจิตใจ แต่อยภู่ ายใต้ การควบคุมของระบบประสาทอิสระ (Autonomic Nervous System) มลี กั ษณะเป็นเซลลร์ ูปกระสวย มีนิวเคลยี สรูปไข่อยตู่ รงกลาง • กลา้ มเนือหัวใจ (Cardiac Muscles) กลา้ มเนือหวั ใจ ประกอบเป็ นกลา้ มเนือหวั ใจเพียงแห่ง เดียวอยนู่ อกอาํ นาจจิตใจ มลี กั ษณะเป็นเซลลร์ ูปทรงกระบอกมีลายตามขวางเป็ นแถบสีทึบสลบั กบั สีจาง เซลล์ กลา้ มเนือนีมีแขนงไปประสานกบั แขนงของเซลล์ใกลเ้ คียง เซลลท์ งั หมดจึงหดตวั พร้อมกนั และหดตวั เป็ น จงั หวะตลอดชีวิต ควบคุมโดยระบบประสาทอตั โนมตั ิ การทาํ งานของกลา้ มเนือ ไดแ้ ก่ - การเคลอื นไหวของร่างกาย เกิดจากการทาํ งานร่วมกนั ของโครงกระดกู กลา้ มเนือ และ ระบบประสาท โดยมีการหดตวั ของกลา้ มเนือทียดึ ติดกบั โครงกระดูก ทาํ ใหก้ ระดูกและขอ้ ต่อเกิดการเคลอื นไหว - การหดตวั ของกลา้ มเนือ มีผลทาํ ใหเ้ กิดการเคลือนเซลลข์ องกลา้ มเนือไดพ้ ฒั นาขึนมา เป็นพเิ ศษเพือการหดตวั โดยเฉพาะ กลา้ มเนือบางชนิดสามารถหดตวั ไดเ้ ร็วมาก เช่น การเคลือนไหวของนยั น์ตา หารเคลอื นไหวจะเกิดขึนเร็วหรือชา้ ก็ตามกลา้ มเนือจะทาํ งานโดยการหดตวั และเมือหยดุ ทาํ งานกลา้ มเนือจะ คลายตวั (Mader, 2004) ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)อวยั วะต่างๆในระบบทางเดินอาหาร ไดแ้ ก่ ปาก ต่อมนาํ ลาย คอ หอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาํ ไสเ้ ลก็ ลาํ ไสใ้ หญ่ ทวารหนกั ช่อง ทวารหนกั ตบั ถงุ นาํ ดี และตบั ออ่ น ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary System)อวยั วะทีอยใู่ นระบบนี ไดแ้ ก่ ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อ ปัสสาวะ ระบบหายใจ ( Respiratory System) มนุษยท์ ุกคนตอ้ งหายใจเพือมีชีวิตอยู่ หนา้ ทีสาํ คญั ของระบบ หายใจคือ การแลกเปลียนกา๊ ซออกซิเจนในอากาศทีหายใจเขา้ ไปและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด อวยั วะ ในระบบหายใจ จะแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนทีเป็นทางผา่ นของลมหายใจ ไดแ้ ก่ จมูก ปาก คอหอย กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ หลอดลมยอ่ ยและแขนง และส่วนทีทาํ หนา้ ทีแลกเปลยี นกา๊ ซ คือ ถุงลม การหายใจเขา้ ออก อากาศผา่ นไปตามอวยั วะของระบบหายใจตามลาํ ดบั ดงั นี • จมกู (Nose) จมกู ส่วนนอกเป็นส่วนทียนื ออกมาจากตรงกึงกลางของใบหนา้ รูปร่างของจมกู มี ลกั ษณะเป็ นรูปสามเหลียมพีระมิด ฐานของรูปสามเหลียมวางปะ ติดกบั หนา้ ผากระหว่างตาสองขา้ ง สันจมกู หรือดงั จมกู มรี ูปร่างและขนาดต่างๆกนั ยนื ตงั แต่ฐานออกมาขา้ งนอกและลงขา้ งล่างมาสุดทีปลายจมูก อีกดา้ น

43 หนึงของรูปสามเหลยี มหอ้ ยติดกบั ริมฝี ปากบนรู จมูกเปิ ดออกสู่ภายนกทางดา้ นนี รูจมกู ทาํ หน้าทีเป็ นทางผา่ น ของอากาศทีหายใจเขา้ ไปยงั ช่องจมกู และกรองฝ่ นุ ละอองดว้ ย • หลอดคอ (Pharynx) เมอื อากาศผ่านรูจมูกแลว้ ก็ผ่านเขา้ สู่หลอดคอ ซึงเป็ นหลอดตงั ตรงยาว ประมาณยาวประมาณ 5 \" หลอดคอติดต่อทงั ช่องปากและช่องจมกู จึงแบ่งเป็นหลอดคอส่วนจมูก กบั หลอดคอ ส่วนปาก โดยมีเพดานออ่ นเป็นตวั แยกสองส่วนนีออกจากกนั โครงของหลอดคอประกอบดว้ ยกระดกู ออ่ น 9 ชิน ดว้ ยกนั ชินทีใหญ่ทีสุด คือกระดูกไทรอยด์ ทีเราเรียกวา่ “ลกู กระเดือก” ในผชู้ ายเห็นไดช้ ดั กว่าผหู้ ญิง • หลอดเสียง (Larynx) เป็นหลอดยาวประมาณ 4.5 ซม. ในผชู้ าย และ 3.5 ซม. ในผหู้ ญิง หลอด เสียงเจริญเติบโตขึนมาเรือยๆ ตามอายุ ในวยั เริ มเป็ นหนุ่มสาว หลอดเสียงเจริญขึนอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะใน ผชู้ าย เนืองจากสายเสียง (Vocal cord) ซึงอยภู่ ายในหลอดเสียงนียาวและหนาขึนอยา่ งรวดเร็วเกินไป จึงทาํ ให้ เสียงแตกพร่า การเปลยี นแปลงนีเกิดจากฮอร์โมนของเพศชาย • หลอดลม (Trachea) เป็นส่วนทีต่ออกมาจากหลอดเสียง ยาวลงไปในทรวงอก ลกั ษณะรูปร่าง ของหลอดลมเป็ นหลอดกลมๆ ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือรูปตวั U ซึงมีอยู่ 20 ชิ น วางอยู่ ทางดา้ นหลงั ของหลอดลม ช่องวา่ ง ระหวา่ งกระดกู อ่อนรูปตวั U ทีวางเรียงต่อกนั มีเนือเยอื และกลา้ มเนือเรียบมา ยดึ ติดกนั การทีหลอดลมมกี ระดูกอ่อนจึงทาํ ใหเ้ ปิ ดอยตู่ ลอดเวลา ไม่มีโอกาสทีจะแฟบเขา้ หากนั ไดโ้ ดยแรงดนั จากภายนอก จึงรับประกนั ไดว้ ่าอากาศเขา้ ไดต้ ลอดเวลา หลอดลม ส่วนทีตรงกบั กระดูกสันหลงั ช่วงอกแตก แขนงออกเป็นหลอดลมแขนงใหญ่ (Bronchi) ขา้ งซา้ ยและขวา เมือเขา้ สู่ปอดก็แตกแขนงเป็ นหลอดลมเล็กใน ปอดหรือทีเรียกว่า หลอดลมฝอย (Bronchiole) และไปสุดทีถุงลม (Alveoli) • ปอด (Lung) และถุงลม (Alveoli) ปอดมอี ยสู่ องขา้ ง วางอยใู่ นทรวงอก มีรูปร่างคลา้ ยกรวย มี ปลายหรือยอดชีขึนไปขา้ งบนและไปสวมพอดีกบั ช่องเปิ ดแคบๆของทรวงอก ซึงช่องเปิ ดแคบๆนีประกอบขึน ดว้ ยซีโครงบนของกระดูกสนั อกและกระดกู สนั หลงั ฐานของปอดแต่ละขา้ งจะใหญ่และวางแนบสนิทกบั กระบงั ลมระหว่างปอด 2 ขา้ ง จะพบว่ามหี วั ใจอยู่ ปอดขา้ งขวาจะโตกว่าปอดขา้ งซา้ ยเลก็ นอ้ ย และมอี ยู่ 3 กอ้ น ส่วนขา้ ง ซา้ ยมี 2 กอ้ นหนา้ ทีของปอดคือ การนาํ กา๊ ซ CO2 ออกจากเลือด และนาํ ออกซิเจนเขา้ สู่เลอื ด ปอดจึงมีรูปร่างใหญ่ มีลกั ษณะยดื หยุ่นคลา้ ยฟองนาํ ถุงลม (Alveoli) ซึงเป็ นการทีอากาศอยู่ ใกลก้ บั เลือดในปอดมากทีสุด จึงเป็ น บริเวณแลกเปลียนกา๊ ซออกซิเจน กบั คาร์บอนไดออกไซด์ • เยอื หุม้ ปอด (Pleura) เป็นเยอื ทีบางและละเอยี ดออ่ น เปี ยกชืน และเป็ นมนั ลืน หุ้มผิวภายนอก ของปอด เยอื หุม้ นี ไมเ่ พยี งคลุมปอดเท่านนั ยงั ไปบุผวิ หนงั ดา้ นในของทรวงอกอีก หรือกล่าวไดอ้ ีกอยา่ งหนึงว่า เยอื หุม้ ปอดซึงมี 2 ชนั ระหว่าง 2 ชนั นีมี ของเหลวอย่เู ล็กน้อย ซึงช่วยลดแรงเสียดสีระหว่างเยือหุ้มมีโพรงว่าง เรียกวา่ ช่องระหวา่ งเยอื หุม้ ปอด

44 ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด (Cardiovascular system)อวยั วะสาํ คญั ของระบบเลือดไหลเวียน ไดแ้ ก่ หวั ใจ หลอดเลอื ดแดง และหลอดเลอื ดดาํ ระบบนาํ เหลอื ง (Lymphatic System) ระบบประสาท (Nervous system)ทาํ หนา้ ทีควบคุม และประสานการทาํ งานของส่วนต่างๆของร่างกาย อวยั วะสําคญั ของระบบประสาทไดแ้ ก่ สมอง ไขสันหลงั เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสนั หลงั และ ประสาทระบบอตั โนมตั ิ ระบบต่อมไร้ ท่อ (Endocrine system)ทําหน้าทีสร้างฮอร์โมน ซึงเป็ นสารเคมีทีจะไปควบคุม สมรรถภาพของเซลลข์ องอวยั วะอืน ไดแ้ ก่ ต่อมหมวกไต ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไธรอยด์ ต่อมไธมสั ต่อมใต้ สมอง ต่อมเพศ ฯลฯ เป็นตน้ ระบบสืบพนั ธ์ุ (Reproductive system) ในการศกึ ษาระบบสืบพนั ธุข์ องชาย จะตอ้ งศกึ ษาถึงอณั ฑะ ท่อ อณั ฑะ ต่อมเซนลั เวสิเคิล ท่อฉีดอสุจิ และต่อมลกู หมาก ถา้ เป็ นระบบสืบพนั ธุข์ องหญิง จะตอ้ งศึกษาถึง รังไข่ ท่อมดลูก มดลูก ช่องคลอด อวยั วะสืบพนั ธุ์ภายนอก รวมทงั ต่อมนมเป็ นกระบวนการผลิตสิงมีชีวิตทีจะแพร่ ลกู หลานและดาํ รงเผา่ พนั ธุข์ องตนไว้ โดยต่อมใตส้ มองซึงอย่ภู ายใตก้ ารควบคุมของสมองส่วนไฮโพทาลามสั โดยจะหลงั ฮอร์โมนกระตุน้ ต่อมเพศชายและหญิงใหผ้ ลิตฮอร์โมนเพศ ทาํ ใหร้ ่างกายเปลยี นแปลงไปสู่ความเป็ น หนุ่มสาวพร้อมทีจะสืบพนั ธุไ์ ด้ ต่อมเพศในชาย คือ อณั ฑะ ต่อมเพศในหญิง คือ รังไข่ (Mader, 2004) หลกั การรักษาสมดุลของร่างกายมนุษย์ ปัจจยั ทีจาํ เป็นต่อการรักษาสมดุลของร่างกายมนุษย์ (นาํ พร อินสิน, 2555) ระบบอวยั วะต่างๆ ในร่างกายมนุษยน์ ัน จะสามารถทาํ งานได้อย่างเป็ นปกติ เพือใหร้ ่างกายมนุษย์ สามารถดาํ รงชีวิตอยไู่ ด้ จาํ เป็นตอ้ งอาศยั ปัจจยั ต่อไปนี 1) นาํ 2) อาหาร 3) ออกซิเจน 4) พลงั งานความร้อน 5) ความดนั ทีเหมาะสม การรักษาสมดุลของร่างกายในภาวะปกติ หากมปี ัจจยั บางอยา่ งทีกระทบระบบการทาํ งานของร่างกาย ไมว่ ่าจะเป็นจากปัจจยั ภายนอก เช่น เชือโรค สารเคมี หรือปัจจยั ทีเกิดจากความเสือมของร่างกายเราเอง เช่น ความชรา ความผิดปกติของพนั ธุกรรม ก็ย่อม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook