Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัตติกาล ทองเก่งกล้า

รัตติกาล ทองเก่งกล้า

Published by วิทย บริการ, 2022-07-04 01:52:12

Description: รัตติกาล ทองเก่งกล้า

Search

Read the Text Version

การประเมนิ โครงการขบั เคลอื่ นการจดั การเรียนรู้สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนปู ถมั ภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวัดสมทุ รสาคร โดยใช้รูปแบบการประเมนิ CIPP Model วิทยานพิ นธ์ ของ รัตตกิ าล ทองเก่งกล้า เสนอตอ่ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ เพอื่ เปน็ ส่วนหน่ึงของ การศกึ ษาตามหลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าวิจัยและประเมนิ ผลการศึกษา กันยายน 2564 ลิขสิทธิเ์ ปน็ ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ

การประเมินโครงการขบั เคลื่อนการจดั การเรียนรสู้ ะเต็มศกึ ษา (STEM education) โรงเรยี นออ้ มนอ้ ยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวดั สมทุ รสาคร โดยใชร้ ปู แบบการประเมิน CIPP Model วทิ ยานิพนธ์ ของ รตั ติกาล ทองเก่งกล้า เสนอต่อบัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบงึ เพ่ือเป็นสว่ นหนงึ่ ของ การศึกษา ตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าวิจัยและประเมินผลการศกึ ษา กนั ยายน 2564 ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ

THE EVALUATION OF STEM EDUCATION PROJECT DRIVING OF OMNOISOPHONCHANUPHATHUM SCHOOL AMPHOE KRATHUM BAEN SAMUT SAKHON PROVINCE BY APPLYING CIPP MODEL THESIS BY RATTIKAN THONGKENGKLA Presented in partial fulfillment of the requirements for the Master of Education Program in Research and Evaluation September 2021 Copyright by Muban Chom Bueng Rajabhat Universit

ชอ่ื เรื่องวิทยานิพนธ์ การประเมินโครงการขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัด ชื่อผู้วิจยั สมุทรสาคร โดยใช้รูปแบบการประเมนิ CIPP Model หลกั สูตร นางสาวรตั ตกิ าล ทองเก่งกลา้ อาจารยท์ ่ปี รึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาวิจัยและประเมนิ ผลการศกึ ษา ปีทีส่ ำเรจ็ การศึกษา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชัยฤทธ์ิ ศลิ าเดช คำสำคญั 2564 การประเมนิ โครงการ สะเต็มศกึ ษา รูปแบบการประเมนิ ซิปป์ บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม ใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านบริบท 2) ด้านปัจจัยนำเข้า 3) ด้านกระบวนการ และ 4) ด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่างที่ใชใ้ นการวิจัย จำนวน 101 คน ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ครู นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา และแบบประเมินการสรา้ งสรรค์ชิ้นงาน แบบสอบถามมีค่าความ เชือ่ ม่นั เทา่ กับ 0.71 และ แบบทดสอบวัดทักษะการแกป้ ัญหา มคี ่าความเชอื่ มัน่ เท่ากบั 0.72 สถิติท่ีใช้ ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวจิ ัย มีดังน้ี 1. ดา้ นบริบท พบวา่ มคี วามเหมาะสมในระดับมาก โดยขอ้ ท่มี ีคา่ เฉลีย่ มากทส่ี ุด คอื ความ สอดคล้องของโครงการกับนโยบายของโรงเรียนและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองลงมา คือ ความชัดเจนของนโยบาย 2. ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า มีความเหมาะสมในระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ดา้ นอาคารสถานท่ีและห้องปฏิบัตงิ าน รองลงมา คือ การถ่ายมอบอำนาจการดำเนินงานตามโครงการ จากผู้บริหาร และ การมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนด้านการอำนวยความสะดวกและการให้ ขอ้ แนะนำ

3. ด้านกระบวนการ พบว่า มีความเหมาะสมในระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ความร่วมมือในการดำเนนิ โครงการทง้ั ในระดบั โรงเรียนและในระดับผ้ปู ฏบิ ัตงิ านทุกฝ่าย 4. ด้านผลผลิต พบว่า มีความเหมาะสมในระดับมาก โดยข้อที่มีค่าเฉล่ียมากทีส่ ดุ คือ ระดับ ความสนใจและความตั้งใจของนักเรียนในการปฏิบัติกจิ กรรม รองลงมา คอื ระดับการมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดี ต่อครูและเพื่อนของนักเรียน สำหรับผลของการวัดทักษะการแก้ปัญหา พบว่า นักเรียนมีทักษะการ แก้ปัญหาหลังการเข้าร่วมโครงงานสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโครงงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดบั .01 และ มคี ะแนนเฉลย่ี การสรา้ งสรรคช์ ้นิ งานสูงกวา่ เกณฑ์ทกี่ ำหนดอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิ ที่ระดบั .01

THESIS TITLE THE EVALUATION OF STEM EDUCATION PROJECT DRIVING OF OMNOISOPHONCHANUPHATHUM SCHOOL AMPHOE KRATHUM BAEN SAMUT SAKHON PROVINCE BY APPLYING CIPP MODEL RESEARCHER MISS RATTIKAN THONGKENGKLA CURRICULUM MASTER OF EDUCATION PROGRAM IN RESEARCH AND EVALUATION ADVISOR ASST. PROF. DR.CHAIRIT SILADECH GRADUATION YEAR 2021 KEYWORDS PROJECT EVALUATION, STEM EDUCATION, CIPP MODEL ABSTRACT This study aimed to evaluate the STEM Education project driving of Omnoisophonchanuphathum School Amphoe Krathum baen Samut Sakhon province by using Stufflebeam CIPP Model in 4 aspects: 1) project context; 2) project input; 3) project process; and 4) project product. The sample was 101 informants consisted of the school boards, the head of science and technology department, the head of mathematics department, teachers and Matthayom Sueksa 5 students derived by the purposive selection. The research instruments were the interview form, questionnaire, problem-solving-skill test, and creative-product assessment form. The Cronbach’s reliability coefficient alpha of questionnaire and the creative-product assessment form was 0.71 and 0.72 respectively. The data were analyzed by using mean, standard deviation, and t-test. The results were found that: 1. The project context was appropriate at high level. The highest average aspects were the policy accordance of the school and the basic education commission office and the distinctness of the policy. 2. The project input was appropriate at high level. The highest average aspects were the building facility and laboratory, the transfer of control in running the project, and the contributory of the school boards in making convenient and exhortation.

3. The project process was appropriate at high level. The highest average aspect was the cooperation in running the project both in the school boards and implementers. 4. The project product was appropriate at high level. The highest average aspects were the interest and determination of students in performing activities and good interaction with teachers and peers. The average post-test score of problem- solving skill was higher than pretest with statistically significant at 0.01 level. The average score of creative product was higher than the criterion with statistically significant at .01 level.

ประกาศคณุ ูปการ วิทยานิพนธ์นี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ซึ่งท่านได้กรุณาให้ความรู้ คำแนะนำ ข้อคิดเห็น และช่วย แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่เป็นอย่างดีและผู้วิจัยได้รับคำแนะนำเพิ่มเติมจากผู้ช่วย ศาสตราจารยท์ รงเกยี รติ อิงคามระธร ผู้วจิ ัยขอกราบขอบพระคุณทุกทา่ นเปน็ อย่างสูง ขอขอบพระคุณ รองศาสตรตราจารย์ยนต์ ชุ่มจิต ข้าราชการบำนาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บ้านจอมบึง ที่ให้ความเมตตาช่วยตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เช่น การอ้างอิง การเขียน บรรณานุกรม การใช้ภาษา การใช้ภาษา รูปแบบการพิมพ์ และข้อบกพร่องอื่น ๆ เพื่อช่วยให้งานวจิ ัย ฉบับนีม้ คี วามสมบูรณย์ ิ่งขนึ้ ขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทรงเกียรติ อิงคามระธร ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและ ประเมินผลการศึกษา อาจารย์ ดร.ณิชนันท์ สิรสุนทร ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ และ รองผู้อำนวยการ นางสาวมณีรัตน์ สัจจวิโส ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษาและโครงการ ที่ได้ กรุณาเป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์และแบบทดสอบ พร้อม ทัง้ ให้คำแนะนำเก่ียวกับเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ครั้งน้ี ขอขอบคุณผู้บริหารและคุณครูในโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างให้ ความอนุเคราะห์และอำนวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลแก่ผู้วิจัยอย่างดียิ่งและขอบคุณ นักเรยี นทเี่ ป็นกล่มุ ตวั อยา่ งที่สละเวลาและใหค้ วามร่วมมอื เป็นอย่างดี ขอขอบคุณเพื่อน ๆ พี่ ๆ สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ทา่ นท่ีให้กำลงั ใจและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการทำวทิ ยานพิ นธ์เลม่ น้ี ขอบคุณกำลังใจที่สำคัญที่สุด คือ พ่อ แม่ สามี ลูก ๆ และครอบครัวทองเก่งกล้า และ ครอบครัวโตนดแก้ว ที่ช่วยทำให้ผ่านพ้นอุปสรรคต่าง ๆ จนสามารถทำวิทยานิพนธ์เล่มนี้สำเร็จลุล่วง ไปได้ ความภาคภูมิใจ คือคุณประโยชน์ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ผู้วิจัยขอมอบแด่บิดา มารดา ครูบาอาจารย์ และผมู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องทุกท่านท่ีได้ให้ความช่วยเหลอื ทง้ั ไดใ้ ห้คำแนะนำและเป็นกำลังใจ ท่ีดีเสมอมา รัตตกิ าล ทองเก่งกลา้

สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย.................................................................................................................. (ก) บทคัดย่อภาษาองั กฤษ............................................................................................................. (ค) ประกาศคณุ ปู การ..................................................................................................................... (จ) สารบัญ......................................................................................................................... ............ (ฉ) สารบญั ตาราง.......................................................................................................................... (ซ) สารบัญภาพประกอบ.............................................................................................................. (ญ) บทท่ี 1 บทนำ................................................................................................................... 1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา.............................................................. 1 วตั ถุประสงค์ของการวิจัย..................................................................................... 3 ขอบเขตของการวจิ ัย............................................................................................. 4 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ.................................................................................................. 5 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ.................................................................................... 7 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ........................................................................................ 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง.............................................................................. 9 เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับหลักการ แนวคิด และทฤษฎี............................................. 9 นโยบายการจัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศึกษาในประเทศไทย...................................... 9 บรบิ ทโรงเรยี นอ้อมนอ้ ยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จังหวดั สมุทรสาคร.. 11 โครงการขบั เคลอ่ื นการจัดการเรยี นรสู้ ะเตม็ ศึกษา (STEM education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จงั หวัดสมทุ รสาคร.... 13 แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ ก่ยี วข้องกบั การประเมินโครงการ.......................................... 17 การประเมินโดยรูปแบบจำลองซิป (CIPP Model)………………………………………… 26 การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education)……………………………………… 33 งานวิจัยที่เก่ยี วข้อง................................................................................................ 43 งานวจิ ัยในประเทศ......................................................................................... 43 งานวจิ ัยต่างประเทศ....................................................................................... 46

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวิจยั ...................................................................................................... 48 กล่มุ เป้าหมายในการให้ข้อมูล.............................................................................. 48 เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวิจัย...................................................................................... 49 การเก็บรวบรวมข้อมูล......................................................................................... 54 การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถติ ิท่ีใชใ้ นการวิจยั ......................................................... 55 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล.......................................................................................... 61 สญั ลกั ษณ์ท่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล................................................................... 61 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ......................................................................................... 61 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ........................................................................ 72 สรปุ ผลการวจิ ยั .................................................................................................... 72 อภิปรายผล.......................................................................................................... 74 ขอ้ เสนอแนะ......................................................................................................... 78 บรรณานกุ รม........................................................................................................................ 79 ภาคผนวก............................................................................................................................. 85 ภาคผนวก ก เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ................................................................................ 86 ภาคผนวก ข หนังสอื ขออนุญาตในการเกบ็ ข้อมลู เพื่อทำการวจิ ัย....................................... 103 ภาคผนวก ค ค่า IOC ค่าความเชอ่ื ม่นั และคา่ ทดสอบที………............................................ 105 ภาคผนวก ง รายชอ่ื ผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจยั ..................................................... 116 ประวตั ิยอ่ ผู้วจิ ยั

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้ 1 จำนวนประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างท่ีผทู้ ่ีมสี ว่ นเก่ยี วข้องกบั โครงการ ขับเคลือ่ นการจัดการเรียนรู้สะเตม็ ศึกษา (STEM education)................................... 48 2 แนวทางกระประเมนิ โครงการขบั เคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเตม็ ศึกษา (STEM education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จงั หวดั สมทุ รสาคร................. 59 3 ข้อมลู พืน้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม............................................................................... 62 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแบบสอบถามของผ้รู บั ผิดชอบโครงการและครผู ู้สอนดา้ น บริบท (context)........................................................................................................ 63 5 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู แบบสอบถามของผรู้ ับผิดชอบโครงการและครผู สู้ อนด้าน ปจั จยั นำเขา้ (input)..................................................................................................... 65 6 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลแบบสอบถามของผู้รับผิดชอบโครงการและครูผ้สู อนด้าน กระบวนการ (process)................................................................................................ 66 7 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู แบบสอบถามของผู้รบั ผดิ ชอบโครงการและครผู ู้สอนดา้ น ผลผลิต (product)........................................................................................................ 68 8 การเปรียบเทียบคะแนนทักษะการแกป้ ญั หากอ่ นและหลังการได้เขา้ รว่ มโครงการ ขับเคลอื่ นการจดั การเรยี นรูส้ ะเตม็ ศึกษา (STEM education) โรงเรียนอ้อมนอ้ ย โสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร............................................... 70 9 การเปรยี บเทยี บคะแนนการสร้างสรรคช์ น้ิ งานหลังเขา้ ร่วมโครงการขับเคลือ่ นการจัดการ เรยี นรู้สะเตม็ ศกึ ษา (STEM education) โรงเรียนออ้ มนอ้ ยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จงั หวัดสมทุ รสาคร........................................................................ 71 10 เกณฑก์ ารให้คะแนนในการประเมินพฒั นาการทกั ษะการแก้ปญั หา................................... 97 11 เกณฑก์ ารให้คะแนนในการวัดประเมินการสรา้ งสรรค์ชิน้ งาน............................................ 102 12 ผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของผเู้ ช่ียวชาญจากการประเมิน แบบสอบถาม............................................................................................................... 106

สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี หนา้ 13 ผลการตรวจสอบคา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง (IOC) ของผูเ้ ช่ียวชาญจากการประเมนิ แบบสัมภาษณ์............................................................................................................ 111 14 ผลการตรวจสอบค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ของผเู้ ชีย่ วชาญจากการประเมิน แบบทดสอบทักษะการแก้ปัญหา................................................................................. 112 15 ผลการตรวจสอบคา่ ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ของผูเ้ ชีย่ วชาญจากการประเมนิ การสรา้ งสรรคช์ ิน้ งาน................................................................................................... 113

สารบญั ภาพประกอบ ภาพประกอบท่ี หน้า 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย............................................................................................. 8 2 รปู การประยุกตใ์ ช้รปู แบบจำลองซปิ (CIPP Model) ประเมินโครงการขับเคลอื่ น 25 การจดั การเรยี นรสู้ ะเตม็ ศึกษา (STEM Education) โรงเรียน 30 ออ้ มนอ้ ยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวัดสมุทรสาคร...................... 3 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการประเมนิ กับการตัดสินใจแบบจำลองซิปป์............................

บทท่ี 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยแี ละการสื่อสาร รวมทั้งการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ทำใหท้ ุกประเทศ จะต้องเร่งพัฒนาคุณภาพของประชากรให้มีคุณภาพท่สี งู ขึ้น เพ่อื ท่ีจะสามารถดำรงชีวิตและแข่งขันใน ตลาดแรงงานได้ การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันต้องมีการพัฒนานักเรียน ให้มีความพร้อมทั้งด้านการ เรียนรู้และนวัตกรรม ความก้าวทันต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งทักษะชีวิตและอาชีพที่สามารถ ปรับตัวและยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกได้ สาระวิชามีความสำคัญ แต่ไม่เพียงพอ สำหรับการเรียนรู้เพื่อดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชาควรเป็นการเรียนจาก การค้นคว้าของนักเรียนเอง โดยมีครูช่วยแนะนำ (coach) ช่วยออกแบบกิจกรรม รวมถึงการอำนวย ความสะดวกให้นักเรียน (facilitator) ในการเรียนการสอนการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้น การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้และนวตั กรรม ประกอบด้วย 3 ดา้ น คือ ทักษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการแก้ปัญหา ความคิดสร้างสรรค์และการสร้างสรรค์ชิ้นงาน และทักษะการสื่อสารและความ ร่วมมือ (วิจารณ์ พานิช, 2556, 16-21) ประเทศที่มีความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นรากฐานสำคัญล้วนเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ในขณะที่ประเทศกำลังพัฒนา พยายามพัฒนาสมรรถภาพด้านนีเ้ ชน่ เดียวกับประเทศไทยที่กำลังตื่นตัวในการสร้างความตระหนักถงึ ความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการช่วยผลักดันการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของประเทศ (กำจัด มงคลกุล, 2549, 290) ดังนั้นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงมีบทบาทในการพัฒนาบุคคลในด้าน กระบวนการคิด กระบวนการปัญหา ความสามารถในการตัดสินใจ ทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ ทักษะในการสื่อสาร และที่สำคัญคือ การพัฒนาคนในสังคมให้มีความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือนำไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งในด้านการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ และนำความรู้ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในสังคม (อลิศรา ชชู าติ, 2549, 185-186) กระทรวงศึกษาธิการมีการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์มาโดยตลอด แตพ่ บวา่ การปฏริ ูปการศกึ ษายังไม่เป็นผลสำเรจ็ ตามจดุ มงุ่ หมายเทา่ ที่ควร ท้งั นี้เนื่องมาจากการจัดการ เรียนการสอนของไทย ยังเน้นการสอนท่ีเป็นแบบการท่องจำ (passive Learning) ทำให้นักเรียนขาด ทกั ษะในการเรยี นรู้ และการสรา้ งสรรค์ชน้ื งานใหม่ ๆ เช่น ทักษะในการแกป้ ัญหา ความคดิ สร้างสรรค์ รวมถึงการสื่อสารและการร่วมมือ (ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2546) จากผลการทดสอบโครงการ ประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Program for International Student Assessment หรือ PISA) พบวา่ ในปี พ.ศ. 2558 ผลการประเมนิ การเรียนร้เู รือ่ งวิทยาศาสตรใ์ นภาพรวมท้ังประเทศ

มีนักเรียนที่สามารถตอบข้อสอบวิทยาศาสตร์ได้ถูกต้องได้เพียงร้อยละ 36.1 ซึ่งมีแนวโน้มลดลงเม่ือ เปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2555 (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560) ในการ พัฒนานักเรยี นให้เกดิ ทกั ษะการเรียนรู้และการสรา้ งสรรค์ชน้ิ งานในศตวรรษท่ี 21 สถาบนั ส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต้องการพฒั นาคุณภาพของการศึกษาไทยโดยการดำเนนิ โครงการสะ เต็มศึกษา (STEM education) ซึ่งสะเต็มศึกษาจะสามารถช่วยพัฒนาทักษะการแก้ปั ญหา ด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม รวมถึงการสื่อสารและความร่วมมือได้อย่างดี (ทวีป แซ่ฉิน, 2556, 11) การพฒั นาศักยภาพและคุณภาพผู้เรยี น ใหม้ คี วามเป็นเลิศทางวิชาการจึงมีความจำเป็นอย่าง ยิ่งที่จะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกัน โดยเน้นปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอนของ สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ให้เป็นสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนเชิง สมรรถนะรายบุคคล ตามความสนใจ และความถนัด อย่างเต็มศักยภาพ มีความเป็นเลิศทางด้าน วิชาการ มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (active learning) เช่น การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอนหรือบันได 5 ขั้น (independent Study: IS) การเรียนรู้ เชิงบูรณาการแบบสหวิทยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education: STEM education) เป็นต้น โดยส่งเสริมให้ครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบดิจิทัล (digital learning platform) (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2560) สิ่งสำคัญในขณะที่นักเรียนทำ กิจกรรมนักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นต่อการเรียนรู้และการทำกิจกรรม สามารถพัฒนา ความรคู้ วามเขา้ ใจ ฝึกทกั ษะด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี นักเรียนมีโอกาสนำความรู้ มาออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อตอบสนองความต้องการหรือแก้ ปัญหาที่เกี่ยวข้ องกับ ชีวิตประจำวัน เพื่อให้ได้เทคโนโลยีซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมถึง สามารถพัฒนากระบวนการหรือพัฒนาสิ่งใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและการประกอบ อาชีพในอนาคตไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ (ศูนย์สะเต็มศกึ ษาแห่งชาติ, 2557) การขับเคลื่อน STEM education ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการได้ แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายการจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา จำนวน 3 คณะ ดำเนินการ กำหนดนโยบาย พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา และการขับเคลื่อนการจัดการ ซ่ึง สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเปน็ หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะ เต็มศึกษา ซึ่งจัดให้โรงเรียนมีโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) โรงเรียนขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา 2) โรงเรียนศูนย์ฝึกอบรมและให้คำปรึกษาหลักสูตรฝึกอบรม และให้คำปรึกษาหลักสูตรฝึกอบรม STEM education ประจำจังหวัด 3) โรงเรียนศูนย์สะเต็มศึกษาภาคและโรงเรียนเครือข่ายสะเต็ม

ศึกษา 4) โรงเรียนครู “สะเต็มศึกษา: ต้นกล้า Smart Trainer Team” ดังนั้นโรงเรียนอ้อมน้อย โสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ได้เข้าร่วมเป็นโรงเรียนขับเคลื่อนการจัดการ เรียนรู้สะเต็มศึกษาโดยได้จัดทำโครงการการขับเคลื่อนจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ( STEM education) เกิดขึ้น โดยได้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษาในรายวิชา วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยีใหน้ กั เรยี นไดม้ ที กั ษะในดา้ นตา่ ง ๆ และให้เกดิ องคป์ ระกอบ ความรู้ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ยิ่งขึ้นรวมทั้งได้จัดกิจกรรมการเข้าค่ายจัดการ เรียนรู้สะเต็มศึกษาโดยจัดขึ้นก็เพื่อให้นักเรียนได้นำองค์ความรู้ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ส่งเสริมให้เกิด ทักษะต่าง ๆ ในศตวรรษท่ี 21 ได้ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจทำการประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็ม ศกึ ษา (STEM education) ว่าโครงการนส้ี ามารถบูรณาการทั้ง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และการออกแบบวิศวกรรม ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ชิ้นงาน รวมทั้งการประเมิน ศักยภาพของบุคลากรที่ดำเนินโครงการและการคุ้มค่าที่จำทำโครงการนี้ว่าเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ นักเรียนหรือไม่ พร้อมทั้งการวัดทักษะของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) ในการประเมิน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท (context) ด้านปัจจัยนำเข้า (input) ด้านกระบวนการ (process) และด้านผลผลิต (product) การประเมิน แบบ CIPP MODEL เป็นการประเมินวัตถุประสงค์และรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ เกี่ยวกับโครงการและกิจกรรม มีลักษณะเป็นการประเมินความก้าวหน้าเพื่อชี้จุดเด่นจุดด้อยของการ ดำเนินงาน ทั้งในระยะกอ่ นการดำเนนิ งาน ระหว่างการดำเนนิ งาน และเม่ือเสรจ็ ส้นิ การดำเนนิ งาน ซงึ่ ผลที่ได้จากการประเมินในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ที่มีความเกี่ยวข้องในการปรับปรุงแ ละ แก้ไข พัฒนาโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรียนอ้อม นอ้ ยโสภณชนปู ถมั ภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวดั สมทุ รสาคร ต่อไป วัตถุประสงคข์ องงานวจิ ยั การวิจัยเรื่องการประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดยมี วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย ดังน้ี 1. เพ่อื ประเมินโครงการขบั เคลื่อนการจัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรียน อ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model ของสตฟั เฟิลบีม (Stufflebeam) ในการประเมนิ 4 ด้าน ได้แก่ 1.1 ดา้ นบริบท (context) 1.2 ด้านปัจจัยนำเขา้ (input)

1.3 ด้านกระบวนการ (process) 1.4 ดา้ นผลผลิต (product) ขอบเขตของการวจิ ยั 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1.1 ประชากร ได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็ม ศกึ ษา จำแนกเปน็ 1.1.1 ผู้อำนวยการโรงเรียนออ้ มนอ้ ยโสภณชนปู ถัมภ์ จำนวน 1 คน 1.1.2 ผชู้ ่วยผู้อำนวยการโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ จำนวน 3 คน 1.1.3 หวั หนา้ กลมุ่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีและกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ จำนวน 2 คน 1.1.4 ครูผ้สู อน จำนวน 25 คน 1.1.5 นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 537 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเตม็ ศึกษา จำแนกเปน็ 1.2.1 ผู้อำนวยการโรงเรียนอ้อมนอ้ ยโสภณชนูปถัมภ์ จำนวน 1 คน 1.2.2 ผู้ชว่ ยผอู้ ำนวยการโรงเรียนออ้ มนอ้ ยโสภณชนูปถัมภ์ จำนวน 3 คน 1.2.3 หวั หน้ากลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีและกลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ จำนวน 2 คน 1.2.4 ครูผู้สอน จำนวน 25 คน 1.2.5 นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 70 คน รวมทง้ั สนิ้ 101 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling technique) เงอื่ นไขจากผ้ดู ำรงตำแหนง่ ในปจั จบุ ันและนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ 2. ขอบเขตด้านตัวแปรที่ศึกษาได้แก่ 2.1 ดา้ นบรบิ ท (context) 2.1.1 ความตอ้ งการ การสนบั สนุน การให้ความรว่ มมอื ของผทู้ ่เี กยี่ วข้อง 2.1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 2.1.3 นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 2.2 ดา้ นปจั จยั นำเขา้ (input) 2.2.1 ผบู้ รหิ าร ระบบขอ้ มลู นโยบายของโรงเรียน

2.2.2 แผนงาน กจิ กรรม โครงการ 2.2.3 วัสดอุ ปุ กรณ์ อาคาร สถานที่ 2.2.4 งบประมาณ บคุ ลากร 2.3 ดา้ นกระบวนการ (process) 2.3.1 การจดั กจิ กรรมการจัดการเรียนร้สู ะเตม็ ศกึ ษา 2.3.2 การตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน 2.3.3 การนิเทศ กำกบั ติดตาม การดำเนินงาน 2.4 ดา้ นผลผลิต (product) นักเรียนเกิดทักษะความคิดแกป้ ัญหาและทักษะการสร้างสรรค์ชน้ิ งานจากการจัด โครงการขับเคลื่อนการจดั การเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ การวิจัยเรื่องการประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ( STEM education) โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดยมีนิยาม ศัพทเ์ ฉพาะ ดงั นี้ 1. โครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา หมายถึง แนวทางการจัดการศึกษาที่ บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดย เน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน 2. การประเมนิ โครงการ หมายถงึ กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ ข้อมลู ของการ ดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ แล้วนำมาพิจารณาตามหลักการว่าโครงการนั้นบรรลุวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้หรือไม่ และพิจารณาให้ทราบถึงจุดเด่นและจุดด้อยของโครงการอย่างมีระบบ ถูกต้องและ น่าเชื่อถือ เพื่อใช้เป็นการตัดสินใจปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ สะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรียนอ้อมนอ้ ยโสภณชนูปถมั ภ์ในดา้ นต่าง ๆ ท้งั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 2.1 ด้านบริบท (context) หมายถึง สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินงานโครงการ ขับเคลื่อนการจัดการเรยี นรูส้ ะเต็มศึกษา (STEM education) ได้แก่ความต้องการ การสนับสนนุ การ ให้ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ของโครงการและนโยบายสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 2.2 ด้านปัจจัยนำเข้า (input) หมายถึง สิ่งที่นำมาใช้ระหว่างการดำเนินโครงการขับเคลื่อน การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) ได้แก่ ความรู้ความสามารถของบุคลากร

งบประมาณที่ได้จัดสรร ความพร้อมของวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ดำเนินการ ประสิทธิภาพการบริหาร จัดการ และความถูกต้องครบถ้วนของการจัดการเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษา 2.3 ด้านกระบวนการ (process) หมายถึง การประเมินความเหมาะสมของการดำเนินงาน ของโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) ได้แก่ การตรวจสอบการ ปฏิบตั งิ าน การนิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนนิ งาน และการพฒั นาบุคลากร 2.4 ด้านผลผลิต (product) หมายถึง การประเมินผลที่เกิดขึ้นจากการที่ได้ดำเนินการแล้ว ได้แก่ ความรู้ความสามารถของนักเรียนที่เกิดขึ้นหลังจากการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM education) 2.4.1 ทกั ษะการแกป้ ัญหา หมายถงึ ความสามารถของนกั เรยี นในการหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ รวมถึงพัฒนาการทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน โดยใช้ความรู้และ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ผ่านกระบวนการแก้โจทย์ปัญหา 4 ขั้นตอนหลังไดรับการจัดการ เรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศกึ ษา ตามข้ันตอนของเวียร์ (Weir, 1974, 18) คือ ข้นั ท่ี 1 ขัน้ ตั้งปัญหา หมายถงึ ความสามารถในการระบุปญั หาท่เี กยี่ วข้องกับ สถานการณ์ ท่ีกำหนดให้มากท่ีสดุ ภายในขอบเขตขอ้ เท็จจริงท่ีกำหนดให้ ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ปัญหา หมายถึง ความสามารถในการระบุสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา โดยพจิ ารณาจากขอ้ เท็จจรงิ ของสถานการณ์ท่ีกำหนดให้ ขั้นที่ 3 ขั้นเสนอแนะวิธีการแก้ปัญหา หมายถึง ความสามารถในการวางแผนหรือเสนอ แนวทางในการคิดแก้ปัญหาที่ตรงกับสาเหตุของปัญหาและลงมือปฏิบัติตามที่ระบุไว้อย่าง สมเหตุสมผล ขั้นที่ 4 ขั้นตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากปัญหา หมายถึง ความสามารถในการอธิบายได้ว่า ผลที่เกิดขนึ้ จากการกำหนดวิธีการแกป้ ัญหาน้ันสอดคล้องกับปัญหาทีร่ ะบไุ วห้ รือไม่ 2.4.2 ทกั ษะการสร้างสรรค์ช้นิ งาน หมายถงึ การออกแบบและการสร้างสรรค์ชิ้นงานของ นักเรียน สามารถวัดได้จากแบบประเมินการออกแบบและการสร้างสรรค์ชิน้ งาน ซึ่งสร้างข้ึนตามแนว ทางการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษากับการพัฒนาทักษะใน ศตวรรษที่ 21 โดยกำหนด ประเด็นในการวัด 4 หวั ข้อ คอื 1) การใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและกระบวนการ ออกแบบ ทางวิศวกรรม หมายถึง นักเรียนนำหลักการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและ กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมมาใช้ในการออกแบบและการสรา้ งสรรค์ชน้ิ งาน 2) ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง นักเรียนสามารถใช้ความคิดของตนเองที่มีความ แปลกใหมใ่ นการสรา้ งสรรค์ชิน้ งาน พฒั นาและปรบั ปรงุ ช้นิ งาน

3) ความสำเร็จของงาน หมายถงึ ความสามารถของนกั เรยี นในการสร้างสรรค์ช้นิ งาน จนสำเร็จ 4) ประสิทธิภาพของผลงาน หมายถึง ชิ้นงานของนักเรียนมีการออกแบบวิธีการ ทดสอบการใชง้ านของช้นิ งานไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. แนวทางการจัดการศึกษาสะเต็มศึกษา (STEM education) หมายถึง เป็นแนวทางการจัด การศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่มุ่งแก้ไขปัญหาท่ี พบเห็นในชีวิตจริง เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นการเตรียม ความพร้อมให้กับนักเรียนในการปฏิบัติงานที่ต้องใช้องค์ความรู้และทักษะกระบวนการด้าน วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมท้งั นำไปสู่การสร้างนวตั กรรมในอนาคต 4. ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาโดยดำรง ตำแหน่งผู้อำนวยการ ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถมั ภ์ อำเภอ กระทุ่มแบน จังหวดั สมทุ รสาคร 5. ครูผู้สอน หมายถึง ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ทำหน้าที่จัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) ท่ีเข้ารว่ มโครงการขบั เคล่ือนการจัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวดั สมทุ รสาคร 6. นักเรียน หมายถึง ผู้เรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียน วิทย์-คณิต ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ที่เข้าร่วมโครงการขับเคลือ่ นการจัดการเรยี นรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนูปถมั ภ์ อำเภอกระทุม่ แบน จงั หวดั สมทุ รสาคร ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั การวิจัยเรื่องการประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ( STEM education) โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร มีประโยชน์ท่ี ไดร้ ับจากการประเมินโครงการ ดงั น้ี 1. โรงเรียนทราบผลการดำเนินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ว่ามีผลการดำเนินงานเป็น อยา่ งไร 2. โรงเรียนทราบถึงแนวทางการพัฒนาโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา โรงเรยี นอ้อมนอ้ ยโสภณชนปู ถมั ภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมทุ รสาคร ในระยะตอ่ ไป 3. ครูสามารถนำข้อมูลไปใช้เพื่อเป็นแนวการพัฒนาการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) ใหม้ ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลมากข้นึ

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาและประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดยมี กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั โดยใช้รูปแบบการประเมนิ CIPP Model ดังนี้ การประเมนิ โครงการขบั เคล่ือนการจัดการเรียนร้สู ะเต็มศึกษา (STEM Education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร ดา้ นบรบิ ท ด้านปจั จยั นำเขา้ ด้านกระบวนการ ด้านผลผลติ (context) (input) (process) (product) 1. ความต้องการ การ นักเรียนเกิดทักษะ สนบั สนนุ การให้ความ 1. ผู้บริหาร ระบบ 1. การจดั ทำโครงการ การแก้ปัญหาและมี ร่วมมือของผูท้ ี่ ขอ้ มลู นโยบายของ 2. การจัดกิจกรรมการ ทักษะการสร้างสรรค์ เกีย่ วขอ้ ง โรงเรียน จัดการเรียนรู้สะเต็ม ช ิ ้ น ง า น จ า ก ก า ร จั ด 2. วัตถปุ ระสงค์ของ 2. แผนงาน กจิ กรรม ศึกษา โครงการขับเคลื่อน โครงการ โครงการ 3. การตรวจสอบการ การจัดการเรียนรู้สะ 3. นโยบายสำนกั งาน 3. วสั ดุอุปกรณ์ อาคาร ปฏิบตั งิ าน เ ต ็ ม ศ ึ ก ษ า ( STEM คณะกรรมการ สถานที่ 4. การนิเทศ กำกับ education) การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 4. งบประมาณ ตดิ ตาม การดำเนินงาน บุคลากร ภาพประกอบท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง การประเมินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM education) โรงเรียน อ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model ผ้วู ิจัยไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ซึง่ มีประเดน็ ที่นำเสนอ ดงั นี้ เอกสารท่ีเกย่ี วข้องกับหลักการ แนวคิด และทฤษฎี 1. นโยบายการจดั การเรียนรู้สะเต็มศกึ ษาในประเทศไทย 2. บริบทโรงเรียนออ้ มน้อยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จังหวดั สมทุ รสาคร 3. โครงการขับเคล่ือนการจัดการเรยี นรู้สะเตม็ ศึกษา (STEM education) โรงเรียนอ้อมนอ้ ย โสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จงั หวดั สมุทรสาคร 4. แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ยี วข้องกบั การประเมนิ โครงการ 4.1 ความหมายของการประเมินโครงการ 4.2 ประเภทของการประเมนิ โครงการ 4.3 รปู แบบการประเมนิ โครงการ 5. การประเมนิ โดยรูปแบบจำลองซปิ (CIPP Model) 6. การจดั การเรยี นรสู้ ะเต็มศึกษา (STEM education) 6.1. ความหมายของสะเตม็ ศกึ ษา 6.2 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกับสะเต็มศึกษา 6.3 องค์ประกอบของสะเตม็ ศึกษา 6.4 แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการสะเต็มศึกษา 6.5 ประโยชน์ของสะเตม็ ศึกษา งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง 1. งานวิจยั ในประเทศ 2. งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ เอกสารท่ีเกยี่ วของกบั หลักการ แนวคดิ และทฤษฎี 1. นโยบายการจดั การเรยี นร้สู ะเตม็ ศึกษาในประเทศไทย นโยบายปจั จุบนั ทเี่ กี่ยวข้องกับสะเตม็ (STEM) พ.ศ. 2557 ดา้ นที่ 4 การศึกษาและเรยี นร้กู ารทะนุบำรงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม

ด้านที่ 8 การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ พฒั นาและนวัตกรรม ข้อเสนอเชงิ นโยบาย แนวนโยบายสะเต็ม (STEM) แห่งชาติ พ.ศ. 2559–พ.ศ. 2568 1. เร่งรัดพัฒนาระบบสะเต็มแห่งชาติตามมาตรฐานระดับนานาชาติ รวมทั้งพัฒนาระบบ สะ เต็มศึกษาของ ประเทศ พัฒนากำลังคนที่มีทักษะด้านสะเต็ม ส่งเสริมอาชีพด้านสะเต็ม และพัฒนา ระบบสนับสนุนสะเตม็ 2. สร้างกำลังคนด้านสะเต็มและใช้กำลังคนด้านสะเต็มทั้งในระบบการศึกษาและการประกอบ อาชีพ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของคนไทยอันเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศอยา่ งท่วั ถงึ และย่ังยนื 3. เร่งรัดพัฒนากำลังคนขั้นสูงระดับมืออาชีพด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และ คณิตศาสตร์ ให้มจี ำนวนมาก 4. เร่งรัดพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็นกำลังคนแห่งอนาคต ที่มีคุณภาพและความสามารถในการ แข่งขันระดับสากลโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา ริเริ่ม สร้างสรรค์ พัฒนานวตั กรรม และนำไปใชป้ ระโยชน์ ในอาชพี และชวี ติ ประจำวนั 5. สร้างความร่วมมืออย่างเข้มแข็งและต่อเนื่องยั่งยืนระหว่างหน่วยงานภาครัฐและองค์กร ท้องถิ่น ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ภาคพาณิชย์ และภาคบริการ ภาคประชาสังคม และ สอื่ สารมวลชน เพ่อื สนบั สนุน ระบบสะเตม็ ในการผลติ กำลงั คน ทม่ี ที กั ษะตามความ ตอ้ งการของภาค เศรษฐกจิ และสอดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลง ในสงั คมโลกอนาคต 6. ประสานเชื่อมโยงและพัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศและองค์กรระหว่าง ประเทศให้การดำเนนิ งานสะเต็มแหง่ ชาตสิ อดคลอ้ งกับมาตรฐานระดบั นานาชาติ 7. จัดสรรงบประมาณ สนับสนุนหน่วยงานภาครัฐที่ร่วมดำเนินงานสะเต็มแห่งชาติ ตาม นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัตกิ ารทไ่ี ด้กำหนด 8. กำหนดสิทธิประโยชน์ เพื่อจูงใจให้ภาคเอกชนและสังคมเข้าร่วมในการดำเนินการด้านสะ เต็ม และการใช้ประโยชน์กำลังคนด้านสะเต็ม ตลอดจนการพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ ที่ต้องใช้ ทกั ษะสะเตม็ 9. ขับเคลอ่ื นระบบสะเต็มที่ม่งุ เน้นการสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ (demand-driven) โดย การสรา้ งความ เชอ่ื มต่อและการเปน็ ห้นุ สว่ นความร่วมมอื ระหว่างภาครัฐและเอกชน (public-private partnership) โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างผู้ใช้กำลังคนในภาครัฐและเอกชน กับผู้พัฒนากำลังคนใน ภาคการศกึ ษา 10. พัฒนาระบบยกย่องเชิดชูหน่วยงานและบุคคลที่ดำเนินการและสนับสนุนด้านสะเต็มอย่าง เขม้ แข็งและต่อเนือ่ ง

11. ดำเนินการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสังคมมีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนัก รวมทัง้ แรงจูงใจในการรว่ มมือสนบั สนุนการดำเนินงานสะเต็มแห่งชาติ 12. ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานการดำเนินงานสะเตม็ แห่งชาติอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง โดยความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาครัฐและองค์กรท้องถิ่น ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ภาคพาณิชย์ และภาคบริการ ภาคประชาสังคมและสื่อสารมวลชน (คณะกรรมาธิการการสื่อสารมวลชน การวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ สภานิติบัญญัติ แหง่ ชาติ, 2558) 2. บรบิ ทโรงเรยี นอ้อมนอ้ ยโสภณชนปู ถมั ภ์ อำเภอกระท่มุ แบน จงั หวดั สมุทรสาคร 2.1 ประวัตโิ รงเรยี นออ้ มน้อยโสภณชนปู ถมั ภ์ โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2525 โดยพระครูโสภณธรรมสาคร เจ้าอาวาสวัดอ้อมน้อย จังหวัดสมุทรสาครซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอกระทุ่มแบน พร้อมด้วยกำนันผู้ใหญ่บ้านและประชาชนตำบลอ้อมน้อยได้ยื่นเรื่องขอจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษาต่อ ดร.เกษม ศิริสัมพันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในสมัยนั้น โดยขอจัดตั้งโรงเรียนในที่ธรณี สงฆข์ องวัดอ้อมน้อยซึ่งมเี น้ือท่ีประมาณ 12 ไร่ กรมสามญั ศึกษาอนุมตั ิใหเ้ ปิดเรียนต้ังแต่วันจันทร์ท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 โดยให้เป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนกระทุ่มแบน “วิเศษสมุทรคุณ” และ ประกาศ จัดตั้งเป็นทางการในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 โดยมีนายสมปอง สุวรรณโฉมเป็น อาจารย์ใหญ่ คนแรก เนื่องจากโรงเรียนอยู่ในความอุปถัมภ์ของพระครูโสภณธรรมสาครและ ประชาชนชาวตำบลอ้ อมน ้อยให้ การ อุป ถั มภ์เ ป็น มงคล นามแก่ โร งเร ียน จึงขอใช้ชื ่ อโรงเรี ย น ว่ า “โรงเรยี นอ้อมนอ้ ยโสภณชนปู ถมั ภ์” โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ เปิดทำการสอนในปีการศึกษา 2525 รับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 ห้อง มีนักเรียนจำนวน 88 คน ครูอาจารย์จำนวน 5 คนเป็นโรงเรียน สหศึกษาในปี พ.ศ. 2527 โรงเรียนได้รับงบประมาณจัดสร้างอาคารเรียนแบบ 318 ล/30 เป็นอาคาร เรียน 3 ชั้น (อาคาร1) และอาคารโรงฝึกงาน แบบ 107/27 ในปี พ.ศ. 2528 โรงเรียนได้รับ งบประมาณจัดสร้างอาคารโรงฝึกงานแบบ 107/27 เป็นอาคาร ฝึกงาน หลังที่ 2 ในปี พ.ศ. 2529 โรงเรียนได้รับมอบ “พระศรีสมุทรสาครภูมิบาล” จากจังหวัดสมุทรสาครซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจำ สถานศึกษาเนื่องในมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เจริญพระชนมายุ ครบ 60 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เพื่อเป็นหลักในการอบรมให้นักเรียนยึดมั่นในพระศาสนา เป็นผู้มี ศีลธรรมจรรยาอันดี ซึ่งตั้งประดิษฐานอยู่ที่ศาลาตะเคียนนุช ในปี พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้รับ งบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบพิเศษ 7 ชั้น และได้รับพระราชทานนามว่า “อาคารเฉลิม พระเกยี รติ 6 รอบพระชนพรรษา”

2.2 วสิ ัยทศั น์ เปน็ สถาบันที่สรา้ งคนดี มคี วามรู้ พฒั นาสูส่ ากล 2.3 อัตลักษณ์ แจ่มใส ไหวง้ าม 2.4 เอกลกั ษณ์ คิดเป็น เดน่ กิจกรรม 2.5 พันธกจิ 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม อยใู่ นสงั คมได้อย่างมีความสุข 2. สง่ เสรมิ การใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ตามความถนัดของผเู้ รยี น 3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผ้เู รียนรู้จักใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.6 เปา้ ประสงค์ 1. ผ้เู รียนมีคุณธรรมและจริยธรรม 2. ผ้เู รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ข้นึ 3. ผเู้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การศกึ ษาได้ 2.7 คตพิ จน์ ปัญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต = ปัญญาคอื แสงสวา่ งส่องในโลก 2.8 ปรชั ญา ร้สู ิทธิ รหู้ น้าท่ี มวี นิ ัย 2.9 เพลงประจำโรงเรยี น เพลงมาร์ช อ.ส.ช. คำรอ้ ง-ทำนอง นายพันศักดิ์ สวุ รรณน้อย แสดแรงส่องแสงเป็นสงา่ แสดฟ้าศกึ ษาสถาบัน สรา้ งความรเู้ ชดิ ชชู าตศิ าสน์มนั่ ใฝ่ผันทุกวนั เราทำดี ปญั ญา โลกสมิ คือธรรมะประจำจติ ผองศษิ ย์ อ.ส.ช. ต่อเตมิ แสงสวา่ งชที้ างสอ่ งธรรม ปชั โชโต การกีฬาแกร่งกลา้ พฒั นาจติ รู้สทิ ธิ์ รหู้ นา้ ทีม่ ีวนิ ัย การศึกษาใหค้ ณุ ค่ากว่าสิ่งใด เราน้ันไซรอ์ อ้ มนอ้ ย โสภณชนปู ถมั ภ์

3. โครงการขบั เคลอื่ นการจดั การเรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษา (STEM education) โรงเรียน อ้อมน้อยโสภณชนปู ถมั ภ์ อำเภอกระทุ่มแบน จงั หวดั สมุทรสาคร โครงการ ขบั เคล่ือนการจัดการเรยี นร้สู ะเตม็ ศึกษา แผนงาน บริหารงานวชิ าการ ลกั ษณะโครงการ/กจิ กรรม  โครงการใหม่  โครงการต่อเน่ือง ระยะเวลา  ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 (1 ตุลาคม 2562–31 มนี าคม 2563)  ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 (1 เมษายน 2563–30 กันยายน 2563) ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางสาวอรอมุ า กลนิ่ โลกยั สอดคล้องตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ความพอประมาณ วิเคราะห์โครงการและกจิ กรรมย่อยต่าง ๆ ให้อยภู่ ายใต้งบประมาณทจ่ี ำกัด แต่ใหป้ ระโยชน์ สูงสดุ ในการสนองวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หลักความมเี หตุผล การนำเสนอโครงการและกิจกรรมย่อยต่าง ๆ จะผ่านการวิเคราะห์ ถึงผลดีที่ได้รับ ความ คุ้มค่างบประมาณ ทรัพยากร และเวลาที่สูญเสีย จากบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อให้โครงการ ขับเคลื่อนการจดั การเรยี นรู้สะเตม็ ศึกษามีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู สดุ หลักการมีภูมคิ ุ้มกันท่ดี ีในตวั ในการดำเนินงานจะมีปัญหา อุปสรรค์ตา่ ง ๆ เกดิ ข้นึ เปน็ ปกติ ต้องฝกึ ใจใหค้ ณะทำงานพร้อม ยอมรับปัญหาและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โดยการประชุม พยายามคิดงานให้เป็นระบบ มองงานใน หลายมติ แิ ละทำขั้นตอนการทำงานใหล้ ะเอียด เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และแก้ปัญหาในทิศทาง เดียวกัน เงอื่ นไขความรู้ ตอ้ งคดั เลือกกจิ กรรมใหต้ อบสนองวตั ถุประสงค์ของโครงการ เง่อื นไขคณุ ธรรม คณะกรรมการดำเนินโครงการมีความสามัคคีในหมู่คณะ ดำรงตนตามวิถีประชาธิปไตยมี ความเสียสละเพื่อส่วนรวม มีน้ำใจโอบอ้อมอารี เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน และเปี่ยมล้นด้วยความ ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ความสมดุล 4 มติ ิ เศรษฐกิจ มีการวางแผนการดำเนินการตามกิจกรรมโดยคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ประหยัดและ คุ้มค่าที่สุดสังคม สังคมไทย ดำรงอยู่บนพื้นฐานของความสามัคคี ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน

วัฒนธรรม ส่งเสริมให้โรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ มีวัฒนธรรมเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทำให้บุคลากรในโรงเรียนทั้งครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและผู้ปกครองเป็น สิ่งแวดล้อมท่มี ีชวี ติ ทีม่ ีความสุขตอ่ กนั 1. หลักการและเหตุผล สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการศึกษาที่ได้บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิชาการ ได้แก่ ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ทางด้านวิศวกรรม และความรู้ด้านคณิตศาสตร์เข้า ด้วยกัน เป็นกระบวนการในการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน อันจะนำไปสู่การพัฒนาระดับ มาตรฐานทางการศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของประเทศ ดังนั้น การให้ความรู้และ ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้แนวทางสะเต็มศกึ ษาแก่ครวู ิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนอย่างตอ่ เน่ือง จงึ เปน็ สิง่ จำเป็นท่ีตอ้ งดำเนินการควบคไู่ ปกบั การสร้างเสริม ความรูด้ า้ นอ่นื ๆ จงึ ไดจ้ ัดให้มีโครงการน้ขี น้ึ 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 ผู้เรียนมีทักษะการคิดสรา้ งสรรค์สร้างนวัตกรรมและแก้ปญั หาในชีวิตจริงท่ีใช้สะเตม็ ศึกษา เปน็ พืน้ ฐาน 2.2 เพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้แนวทางสะเต็มศึกษา 2.3 เพือ่ กระตนุ้ ให้ครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพวิ เตอร์ จดั การเรยี นการสอนโดยใช้ แนวทางสะเต็มศึกษาในโรงเรียนมากยิ่งขึน้ 2.4 เพื่อสร้างความร่วมมือและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการสอนระหว่างครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพวิ เตอร์ 3. เปา้ หมาย/ผลผลติ 3.1 ดา้ นปริมาณ 3.1.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ร้อยละ 65 สามารถจดั การเรยี นการสอนโดยใช้แนวทางสะเต็มศกึ ษาในโรงเรียน 3.1.2 ผู้เรยี นรอ้ ยละ 65 ไดร้ บั การพฒั นาตามศกั ยภาพโดยใชแ้ นวทางสะเต็มศกึ ษา 3.2 ดา้ นคุณภาพ 3.2.1 ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์สามารถจัดการ เรียนการสอนโดยใช้แนวทางสะเตม็ ศกึ ษาในโรงเรียน 3.2.2 ผเู้ รยี นไดร้ บั การพัฒนาตามศักยภาพ สามารถคดิ วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหา ในชวี ติ จรงิ และสร้างนวตั กรรมที่ใช้สะเตม็ ศึกษาเป็นพน้ื ฐาน

4. วธิ ีการดำเนินการ/แผนการดำเนินกจิ กรรม กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมา ผู้รับผดิ ชอบ ดำเนนิ งาน ณ คณะกรรมการ การวางแผน (P: Plan) - สะเตม็ ศึกษา คณะกรรมการ 1 ศกึ ษาข้อมูลสารสนเทศก่อนปฏบิ ัตงิ าน 1 ต.ค.62 สะเต็มศึกษา คณะกรรมการ 2 ประชุมคณะทำงาน/กรรมการ เพ่ือ 1 ต.ค.62 - สะเตม็ ศึกษา วางแผน กำหนดวธิ กี ารทำงาน ขัน้ ตอน กอ่ น ครอู รอุมา ครอู รอุมา ปฏบิ ตั งิ าน ครูอรอุมา 3.แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานและ 1 ต.ค.62 - มอบหมายหน้าที่ในการปฏบิ ตั ิงาน การปฏิบตั ิงาน (D: Do) ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 (ระหวา่ งวนั ท่ี 1 ต.ค.62–31 มี.ค.63) กิจกรรมที่ 1 ค่ายสะเตม็ ศกึ ษา 15 ต.ค.62– 19,202 15 ม.ี ค.63 กจิ กรรมที่ 2 การจดั การเรียนรสู้ ะเต็มศึกษา 15 ต.ค.62– - 15 มี.ค.63 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 (ระหว่างวนั ท่ี 1 เม.ย.63–30 ก.ย.63) 16 พ.ค.63- กจิ กรรมที่ 1 การจดั การเรียนรสู้ ะเต็มศกึ ษา 15 ส.ค.63 - 4. ประชุมทบทวนการปฏบิ ัตงิ าน 1 ธ.ค. 62 - คณะกรรมการ (AAR)ระหวา่ งปฏิบตั ิงาน 15 ส.ค.63 - สะเต็มศึกษา การศกึ ษา (S: Study) 5. ประเมนิ และสรปุ ผลการปฏิบตั งิ าน/สรปุ 10 ก.ย. 63 - ครอู รอุมา โครงการ 6. ศึกษา/เรยี นร้/ู เปรียบเทียบผลการ 10 ก.ย. 63 - ปฏิบตั งิ านกบั ปที ผ่ี า่ นมา คณะกรรมการ

กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมา สะเต็มศึกษา ดำเนนิ งาน ณ ผรู้ บั ผิดชอบ การปรบั ปรงุ และพฒั นางาน (A: Act) คณะกรรมการ สะเต็มศึกษา 7. นำผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อหา 15 ก.ย. 63 - แนวทางปรับปรงุ แก้ไข 8. ระดมความคิดเพ่ือกำหนดแนวทางพัฒนา 15 ก.ย. 63 - งานในอนาคตให้ดขี ้ึน 5. งบประมาณ เงนิ อดุ หนุน (เรยี นฟรี 15 ป)ี รวมทงั้ สน้ิ 19,202 บาท 6. คณะทำงาน/ผดู้ ำเนนิ งาน 6.1 นางสาววรี ินทร์ จ่ันทอง ประธาน 6.2 คณะกรรมการขบั เคลอื่ นสะเต็มศึกษาของโรงเรยี น กรรมการ 6.3 นางสาวอรอมุ า กลิน่ โลกยั กรรมการและเลขานุการ 7. การประเมนิ ผล/การตดิ ตามผลโครงการตามตัวช้ีวัด ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ วิธีประเมนิ เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการ สำรวจ ประเมนิ 1. ครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และ สำรวจ แบบสำรวจ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ รอ้ ยละ 65 จดั การ เรยี นการสอนโดยใชแ้ นวทางสะเตม็ ศึกษา แบบสำรวจ 2. ผู้เรยี นรอ้ ยละ 65 ไดร้ ับการพัฒนาตามศกั ยภาพ โดยใชแ้ นวทางสะเตม็ ศึกษา 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 8.1 ผ้เู รียนเรยี นรู้อยา่ งมีความสุข และมองเหน็ เสน้ ทางการประกอบอาชพี ในอนาคต 8.2 ครกู ล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และคอมพวิ เตอร์ ออกแบบและจัดการ เรียนรตู้ ามแนวทางสะเต็มศึกษาไดอ้ ย่างม่นั ใจ 8.3 ผลสมั ฤทธิใ์ นการเรียนวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยสี ูงข้ึน

4. แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการประเมนิ โครงการ 4.1 ความหมายของการประเมินโครงการ การประเมิน หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจัดทำและนำเสนอข้อมูล เพื่อประกอบการ ตัดสินใจ (สุพักตร์ พิบูลย์, 2551, 11) กระบวนการศึกษาสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย การ ประเมินเป็นการตรวจสอบการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้การประเมินเป็นการช่วยเสนอ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ การประเมิน เป็นการตอบสนองสารสนเทศแก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งหลายด้วย การบรรยายอย่างลุ่มลึกและการประเมินเปน็ การตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มงุ่ ประเมนิ (ศริ ิชัย กาญจนวาสี, 2552, 22) การตรวจสอบและวัดสิ่งที่แผนหรือโครงการได้กำหนดไว้ในขั้นตอนของการวางแผน และ เมื่อนำไปดำเนนิ การแล้วส่ิงที่เปลีย่ นแปลงและเกดิ ขึ้นนั้นเป็นไปตามทีก่ ำหนดและคาดหมายไว้เพียงใด เพื่อผู้วางแผนจะได้นำไปพิจารณาและประกอบการตัดสินใจต่อไป การประเมินมีวัตถุประสงค์เพื่อ ทบทวนความสอดคล้องของโครงการกับแผนพัฒนาหรือนโยบายและกลยุทธ์ เพื่อตรวจสอบความ เหมาะสมด้านเทคนิคการดำเนินงานและความสามารถที่จะนำไปปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพและ เพื่อยืนยันว่าโครงการมีความเป็นไปได้ทางด้านการเงินและเศรษฐกิจ (กนกวรรณ จันทร์เจริญชัย , 2553, 2-8) กระบวนการค้นหาหรือตัดสินคุณค่าหรือจำนวนของบางสิ่ง บางอย่าง โดยใช้มาตรฐาน ของการประเมนิ รวมท้งั การตัดสนิ ใจโดยอาศัยเกณฑ์ภายในและ/หรือ เกณฑภ์ ายนอก (เยาวดี รางชยั กุล วิบลู ยศ์รี, 2551, 22) ผู้วจิ ัยสรปุ ความหมายของการประเมินโครงการ ไดว้ ่า เป็นกระบวนการของการรวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตัดสินคุณค่าของบางสิ่งโดยใช้มาตรฐานของการประเมิน เกณฑ์ภายนอก และ เกณฑ์ภายในควบคู่กันไป และนำผลลัพธ์ที่ได้มาเป็นแนวทางประกอบในการตัดสินใจปรับปรุง โครงการหรอื ควรจะดำเนนิ งานต่อไปหรอื ไม่อย่างไร 4.2 ประเภทของการประเมินโครงการ การประเมินโครงการเป็นการตัดสินคุณค่าของหลักการและเหตุผล นโยบาย วัตถุประสงค์ ความพร้อมของทรัพยากร กิจกรรม วิธีการดำเนินงาน ผลผลิต และผลต่อเนื่องจาก โครงการซึ่ง สามารถจำแนกประเภทของการประเมนิ โครงการได้ ดงั นี้ (ธรี ศกั ดิ อุ่นอารมยเ์ ลิศ, 2556, 11-14) 4.2.1 แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการประเมิน 4.2.1.1 การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) เป็นการประเมิน โครงการ ขณะที่โครงการเริ่มดำเนินการหรือกำลังดำเนินการเพื่อให้ได้รับสารสนเทศเพื่อนำไปสู่การ เตรยี มความพร้อม หรือปรับปรุงและพัฒนาการดำเนนิ โครงการเพื่อบรรลุเป้าหมาย 4.2.1.2 การประเมินสรุปผลรวม (summative evaluation) เป็นการประเมิน โครงการใน ระยะเวลาโครงการสน้ิ สุดวงจรของโครงการเพ่ือสรุปตัดสนิ ความสำเร็จหรือความล้มเหลว ของโครงการ เพ่อื นำไปสูก่ ารยตุ หิ รือขยายผลโครงการต่อไปเป็นงานประจำ

4.2.2 แบง่ ตามหลักยดึ ในการประเมนิ 4.2.2.1 การประเมินที่อิงวัตถุประสงค์ ( goal–based evaluation) เป็นการ ประเมินผล ตามวัตถุประสงคข์ องโครงการทีต่ ั้งไว้ 4.2.2.2 การประเมินที่ไม่อิงวัตถุประสงค์ (goal–free evaluation) เป็นการประเมิน โครงการที่นอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของโครงการที่ตั้งไว้ ทำให้การประเมินมีความครอบคลุม มาก ยง่ิ ข้ึน 4.2.3 แบง่ ตามลำดบั เวลาทีป่ ระเมิน 4.2.3.1 ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ก ่ อ น เ ร ิ ่ ม โ ค ร ง ก า ร ( preliminary evaluation, pre– implementation evaluation) ได้แก่ การศึกษาความเป็นไปได้ (feasibility study) และความ ต้องการจำเป็นเร่งด่วน (needs assessment) และความพร้อมของปัจจัยนำเข้า (input evaluation) หรืออาจเรยี กรวม ๆ กันวา่ การวเิ คราะห์โครงการ (project analysis/project appraisal) 4.2.3.2 การประเมินระหว่างการดำเนินงาน (formative, implementation, on– going, process evaluation) ได้แก่ การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแผนงาน/โครงการ เพื่อให้บรรลุ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 4.2.3.3 การประเมินหลังการดำเนินงาน (summative evaluation) ได้แก่ การ สรุปผลตาม วัตถปุ ระสงค์ความสำเรจ็ /ล้มเหลว การขยายหรือยุติโครงการ 4.2.3.4 การประเมินเพื่อการติดตามผล (follow–up evaluation) ได้แก่ การ ประเมินผลกระทบ (impact evaluation) และการประเมินผลลัพธ์ (outcome evaluation) เป็น ตน้ 4.2.3.5 การประเมินงานประเมิน (meta evaluation) หรือการประเมินอภิมานซึ่ง เป็นการประเมินคุณภาพของรายงานประเมินอีกครั้งหนึ่ง สามารถประเมินได้ทั้งโครงการเดียวหรือ หลาย ๆ โครงการพร้อมกัน ซึ่งเป็นการประเมินเพื่อการตรวจสอบความถูกต้อง คุณภาพ และความ เหมาะสม ของงานประเมนิ ซ่งึ นยิ มประเมินใน 4 มาตรฐาน ดังนี้ (ไชยยศ ไพวทยิ ศิรธิ รรม, 2550, 63- 66) 1) มาตรฐานด้านการใช้ประโยชน์ (utility standards) เป็นมาตรฐานที่มี เจตนาเพื่อให้แน่ใจว่าการประเมินน้ันให้สารสนเทศที่จำเปน็ แก่ผู้เกีย่ วข้องประกอบด้วยเกณฑ์จำนวน 8 ขอ้ ดังนี้ U1 การระบุผู้เกี่ยวข้องที่ต้องการใช้สารสนเทศ : จะเป็นการระบุผู้เกี่ยวข้อง หรอื ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบเกยี่ วกบั การประเมนิ หรือผตู้ อ้ งการใชส้ ารสนเทศในการประเมิน U2 ความเป็นที่น่าเชื่อถือของผู้ประเมิน : ผู้ประเมินจะต้องผู้ที่รู้ถึงวิธีการ ประเมินผปู้ ระเมินจะตอ้ งเป็นทนี่ ่าเช่ือถือและไดร้ ับการยอมรบั ตลอดจนมคี วามซอ่ื สัตย์ (นา่ ไว้วางใจ)

U3 การรวบรวมข้อมูลครอบคลุมและตอบสนองความต้องการใช้สารสนเทศ ของผู้เกี่ยวข้อง : การรวบรวมสารสนเทศจะต้องมีความครอบคลุมและเลือกใช้สารสนเทศที่ตรงกับ วตั ถปุ ระสงค์ การประเมินตลอดจนตอบสนองตอ่ ความต้องการและความสนใจของผูเ้ กยี่ วข้อง U4 การแปลความหมายและการตัดสินคุณค่ามีความชัดเจน : การแปล ความหมายจากข้อค้นพบที่ได้จะต้องใช้มุมมองกระบวนการและเหตุผลโดยจะต้องบรรยายอย่าง ระมัดระวังและการตัดสินคณุ คา่ จะตอ้ งมคี วามยุติธรรม U5 รายงานการประเมินมีความชัดเจนทุกขั้นตอน : รายงานการประเมิน จะต้องบรรยายตัง้ แต่วัตถุประสงค์ของการประเมินบรบิ ทของการประเมินความมุ่งหมายกระบวนการ และข้อค้นพบของการประเมินโดยจะต้องมีการอธิบายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับผลการประเมินได้เข้าใจว่า ประเมินอะไรประเมินทำไมใช้สารสนเทศอะไรบทสรุปเปน็ อยา่ งไรและมขี ้อเสนอแนะอะไรบ้าง U6 การเผยแพร่ผลการประเมินไปยังผู้เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึง : ข้อค้นพบที่ได้ จากการประเมินจะต้องเผยแพร่ไปยังผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน โดยที่ผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน สามารถประเมินและนำข้อคน้ พบไปใช้ได้ U7 รายงานการประเมินเสรจ็ ทันเวลาสำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ : รายงาน การประเมินจะต้องเสร็จทันเวลาผู้เกี่ยวข้องกับการประเมิน สามารถใช้สารสนเทศที่ได้จากรายงาน การประเมนิ มากท่ีสุด U8 การประเมนิ ส่งผลกระทบในการกระตนุ้ ใหม้ ีการดำเนินการประเมินต่อไป อยา่ งตอ่ เนือ่ ง : การประเมินจะต้องกระตุ้นใหเ้ กดิ การวางแผนและปฏิบัตติ ่อไป 2) มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ (feasibility standards) เป็นมาตรฐานที่มี เจตนาเพื่อให้แน่ใจว่าการประเมินน้ันสอดคล้องกับความเป็นจริงสามารถปฏิบัติได้จริง มีความ รอบคอบ ถว้ นถี่ ประหยัดและค้มุ คา่ ประกอบดว้ ยเกณฑจ์ ำนวน 3 ขอ้ ดงั น้ี F1 วิธกี ารประเมนิ สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง : กระบวนการของการประเมิน สามารถปฏิบตั ิไดจ้ รงิ F2 การเป็นที่ยอมรับได้ทางการเมือง : การออกแบบและการปฏิบัติการ ประเมนิ ควรได้รับการยอมรับจากผูท้ เี่ ก่ยี วข้องทกุ ฝ่าย F3 ผลทีได้มีความคุ้มค่า : การประเมินควรได้รับสารสนเทศที่เพียงพอที่จะ พสิ ูจนถ์ ึงความถกู ตอ้ งเพื่อที่จะสามารถปรับปรงุ ขยายงานหรือการล้มเลิก 3) มาตรฐานดา้ นความเหมาะสม (propriety standards) เปน็ มาตรฐานที่มีเจตนา เพอื่ ให้คำนึงถงึ กฎระเบยี บจริยธรรม/จรรยาบรรณและความปลอดภยั ของผู้ท่เี กี่ยวข้องกับการประเมิน ประกอบด้วยเกณฑ์จำนวน 8 ข้อดงั น้ี

P1 การกำหนดข้อตกลงของการประเมินอย่างเป็นทางการ : มีการกำหนด ข้อตกลงเบือ้ งต้นในการประเมิน (ทำไมถงึ ประเมนิ ประเมินอย่างไรใครเปน็ ผู้ให้ข้อมลู ประเมนิ เมอ่ื ใด) P2 การแก้ปัญหาของความขัดแย้งในการประเมินด้วยความเป็นธรรมและ โปร่งใส : การให้ความสนใจเกย่ี วกบั ความขัดแย้ง (ท่ีเกิดขึน้ และหลีกเลียงไม่ได้) และการปฏิบัติกับ ส่ิง ที่เกดิ ขน้ึ อยา่ งซ่อื สตั ย์และตรงไปตรงมา P3 รายงานผลการประเมินอย่างตรงไปตรงมาเปิดเผยและคำนึงถึงข้อจำกัด ของการประเมิน : การรายงานการประเมินจะต้องมีความตรงไปตรงมาซื่อสัตย์เปิดเผยตรงกับข้อ ค้นพบทไี่ ด้จากการประเมนิ และบอกถึงข้อจำกัดของการประเมินดว้ ย P4 มีการให้ความสำคัญต่อสิทธิในการรับรู้ข่าวสารของสาธารณะ : การ ประเมินจะต้องให้ความเคารพและรับรองสิทธิในการรับรู้ข่าวสาร โดยจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัย และ สทิ ธิส่วนบคุ คล P5 การคำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง : การประเมินจะต้อง ออกแบบและปฏิบัติโดยคำนึงถึงสิทธิและความปลอดภัยของกลุม่ ตัวอย่าง ทั้งนี้จะต้องให้ความเคารพ และปกป้องกลมุ่ ตวั อย่าง P6 การเคารพสิทธิในการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เกี่ยวข้อง : ผู้ประเมินจะต้อง เคารพสิทธศิ ักดิศรีความเปน็ มนุษยใ์ นการมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับบุคคลทเี่ กย่ี วข้องกบั การประเมนิ P7 มีรายงานผลการประเมินที่สมบูรณ์ยุติธรรมและเสนอทั้งจุดเด่นจุดด้อย ของสงิ่ ทป่ี ระเมนิ : รายงานการประเมินจะต้องมคี วามสมบูรณ์และยตุ ิธรรมในการนำเสนอจุดเดน่ และ จุดดอ้ ยของสงิ่ ทท่ี ำการประเมนิ P8 ผู้ประเมินทำการประเมินด้วยความรับผิดชอบและมีจรรยาบรรณ : ผู้ ประเมินจะต้องใช้ทรพั ยากรอย่างรอบคอบมีความรบั ผิดชอบและมีจริยธรรม/จรรยาบรรณ 4) มาตรฐานด้านความถูกต้อง (accuracy standards) เป็นมาตรฐานที่มีเจตนา เพื่อให้แน่ใจว่าการประเมินเป็นไปอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา มีการใช้เทคนิควิธีการเพื่อให้ได้ สารสนเทศท่เี พียงพอสำหรับการตัดสินคุณค่าทางด้านรูปธรรม และนามธรรมของส่ิงท่ีทำการประเมิน ประกอบด้วยเกณฑจ์ ำนวน 11 ขอ้ ดังนี้ A1 มีการระบุวัตถุประสงค์ของการประเมินอย่างชัดเจน : วัตถุประสงค์ของ การประเมนิ จะตอ้ งไดร้ ับการตรวจสอบอยา่ งดีและจะต้องมีความชัดเจน A2 มีการวิเคราะห์บริบทของการประเมินอย่างเพียงพอ : จะต้องมีการ ตรวจสอบรายละเอยี ดของบรบิ ทการประเมนิ ในรายงานการประเมิน

A3 มีการบรรยายจุดประสงค์และกระบวนการประเมินอย่างชัดเจน : วัตถุประสงค์และกระบวนการประเมินจะต้องมีการบรรยายอย่างละเอียด เพียงพอ และสามารถ ปฏิบัตไิ ด้ A4 มีการบรรยายแหล่งข้อมูลและการได้มาอย่างชัดเจน : จะต้องมีการ บรรยายแหลง่ สารสนเทศ (ขอ้ มูล) ทจ่ี ะใช้อย่างละเอยี ดชดั เจนและเพียงพอ A5 การพัฒนาเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความตรง : เครื่องมือ และกระบวนการประเมินจะต้องมคี วามตรงและได้สารสนเทศท่ีถกู ตอ้ งแม่นยำ A6 การพฒั นาเครอื่ งมอื และการเก็บรวบรวมข้อมูลทีม่ ีความเท่ยี ง : เครือ่ งมือ และกระบวนการประเมนิ จะต้องมคี วามเที่ยงและไดส้ ารสนเทศทมี่ ีความคงเสน้ คงวา A7 มีการจัดระบบควบคุมสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์และ การรายงาน : การรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์และการรายงานในการประเมินได้รับการพิจารณา ตรวจสอบเพอื่ ให้ได้ผลการประเมนิ ทไี่ มม่ ขี ้อบกพร่องผิดพลาด A8 มกี ารวิเคราะหข์ ้อมลู เชิงปริมาณ : มีการใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ในการประเมนิ เพ่ือสนบั สนุนการแปลความหมายของผลการประเมนิ A9 มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ : มีการใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง คณุ ภาพ ในการประเมินเพ่อื สนบั สนุนการแปลความหมายของผลการประเมนิ A10 มกี ารลงสรปุ ทม่ี ีเหตุผลและมีผลการประเมินสนับสนุน : การสรุปผลการ ประเมินจะต้องมคี วามแนน่ อนชดั แจง้ มเี หตุผลสนบั สนุน A11 มกี ารเขียนรายงานที่มคี วามเป็นปรนัย (objectivity) : การเขียนรายงาน การประเมินจะต้องมีความชัดเจนถูกต้องตามข้อค้นพบจากการประเมินโดยปราศจากข้อคิ ดเห็นที่ ลำเอยี งของผปู้ ระเมนิ แบง่ ตามลักษณะของกิจกรรมท่ีต้องการประเมนิ 1. การประเมนิ องค์การ (organization evaluation) ได้แก่ การประเมนิ ประสิทธิภาพหรือ ประสทิ ธผิ ลในการดำเนินงานขององค์การ เชน่ การประเมินคุณภาพการศึกษา การประเมนิ บุคลากร การประเมนิ ผลสมั ฤทธิข์ ององค์การ เปน็ ตน้ 2. การประเมินการวางแผน (planning evaluation) ได้แก่ การประเมินความเหมาะสม ของการวางแผนในแต่ละระดับของการดำเนินงาน หรือการประเมินความเหมาะสมของ แผนการ ดำเนินงาน 3. การประเมินนโยบาย (policy evaluation) ได้แก่ การประเมินผลความเหมาะสม ใน การนำนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 4. การประเมินแผนงาน (program evaluation) ได้แก่ การประเมินแผนงานของ หน่วยงานซง่ึ มีโครงการหลาย ๆ โครงการอยู่ภายใต้แผนงาน

5. การประเมินโครงการ (project evaluation) ไดแ้ ก่ การประเมนิ โครงการแตล่ ะโครงการ ซ่งึ อยู่ภายใตแ้ ผนงานหรืออาจจะเปน็ โครงการหลักสตู รก็ได้ 6. การประเมินกจิ กรรม (activity evaluation) ได้แก่ การประเมนิ กจิ กรรมทจ่ี ดั ขึ้น อาจจะ อยู่ภายใต้โครงการหรือไม่อย่ใู นโครงการก็ได้ 4.2.4 แบ่งตามวิธีประเมนิ 1) วิธีการประเมินเชิงระบบ (systematic approach) การประเมินแนวทางน้ีเชื่อใน หลักการของปฏิฐานนิยม ประจักษ์นิยม (positivism/ empiricism) โดยการประเมินคุณค่าของส่ิง ต่าง ๆ โดยมองว่าคุณค่าของแต่ละส่ิงมีเพียงคุณค่าเดียว (single merit/worth/value) จะต้องได้ ข้อมูล จากวิธีการเชิงปริมาณ ซึ่งสามารถวัดออกเป็นตัวเลข ซึ่งมีความเป็นวัตถุวิสัยสูง (objectivity) อาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์อย่างเคร่งครัด โดยปราศจากอคติส่วนบุคคล โดยจะทำให้ได้ทราบ คุณค่าทแ่ี ทจ้ ริงโดยปราศจากคา่ นยิ ม (Value Free) เขา้ มาปะปนดว้ ย 2) วธิ ีการประเมินเชงิ ธรรมชาติ (naturalistic approach) การประเมินตามแนวทางนเี้ ช่ือ ในหลักการของการตีความและการสร้างความรู้ (interpretativism/constructivism) โดยการมุ่ง แสวงหาความรู้คุณค่าจากปรัชญาปรากฏการณ์นยิ ม (phenomenology) หรือการได้ข้อเท็จจริงตอ้ ง มาจากการตีความ (interpretative) โดยมองว่าความจริงเป็นสิ่งที่ซ่อนเร้นไม่ปรากฏชัดเจน นัก ประเมินจะสามารถเข้าถงึ ความจรงิ ได้ด้วยการเข้าไปสมั ผสั หรือมีส่วนร่วมในปรากฏการณ์ในเชิงลึก มี ความยืดหยนุ่ สูงแลว้ สรุปข้อเท็จจริงจากการตีความปรากฏการณโ์ ดยเชื่อมโยงกบั ข้อค้นพบตา่ ง ๆ แล้ว สรุปออกมาเป็นคุณค่าของสิ่งที่ประเมนิ มองว่าคุณค่าของแต่ละส่ิงมีได้มากกว่าหนึง่ คุณค่า (multiple merit/worth/value) 3) วธิ ีการประเมินเชงิ ผสมผสาน (mixed method approach) การประเมนิ แนวน้ีเชื่อใน หลักการของปฏิบัตินิยมและประโยชน์นิยม (pragmatism/utilitarianism) โดยมองการประเมินที่มี คุณค่าจะต้องนำสารสนเทศของการประเมินไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยใช้ทั้งวิธีการเชิงระบบเพื่อให้ เกิดความเปน็ ปรนัยวิสยั และใช้วิธีการเชิงธรรมชาตเิ พื่อใหเ้ กิดการเขา้ ใจปรากฏการณ์อย่าง ลุ่มลึกเพื่อ การนำไปสกู่ ารใช้ประโยชน์ได้อยา่ งแทจ้ รงิ 4.2.5 แบ่งตามลักษณะรปู แบบการประเมิน รูปแบบการประเมนิ แบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ คือ 1) รูปแบบการประเมินที่เน้นจุดมุ่งหมาย (objective based model) เป็นรูปแบบท่ี เนน้ การตรวจสอบผลท่ีคาดหวังไดเ้ กิดข้นึ หรือไม่ หรอื ประเมนิ โดยตรวจสอบผลที่ระบุไวใ้ นจุดมุ่งหมาย กับผลที่เกิดจากการปฏิบัติงานโครงการว่าบรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ ได้แก่ รูปแบบการ ประเมินของไทเลอร์ (Ralph W. Tyler) ครอนบาค (Cronbach) และเคิรก์ แพทรคิ (Kirkpatrick)

2) รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า (judgemental evaluation model) เป็นรูปแบบการประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศสำหรับกำหนดและวินิจฉัย คุณค่าของโครงการนั้น ๆ ได้แก่ รูปแบบการประเมินของ สเตค (Stake) สคริฟเว่น (Scriven) โพรวัส (Provus) 3) รูปแบบการประเมินที่เน้นการตัดสินใจ (decision–oriented evaluation model) เป็นรูปแบบการประเมินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ เพื่อช่วยให้ผู้บริหาร ในการตัดสินใจเลือกทางเลือกต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ได้แก่ รูปแบบการประเมินของเวลช์ (Welch) สตฟั เฟิลบีม (Stufflebeam: CIPP) อลั คิน (Alkin) ผู้วิจัยสรุปความหมายของ ประเภทของการประเมินมีหลายประเภท แลว้ แต่ว่าใช้เกณฑ์ใด เป็นหลักในการแบ่งการประเมิน ซึ่งเกณฑ์แต่ละประเภทจะมีวิธีการประเมินตั้งแต่ก่อนเริ่มโครงการ จนสิ้นสุดโครงการ หรือบางประเภทก็แบ่งได้ไม่ครอบคลุมตามแต่ว่าจะเน้นตรงจุดใดมากจุดใดน้อย เป็นสำคัญ โดยการประเมินก่อนดำเนินงานจะใช้การประเมินบริบทและการประเมินปัจจัยนำเข้า การประเมินระหว่างการดำเนินงานจะใช้การประเมินกระบวนการ สำหรับการประเมินหลังการ ดำเนินงานจะใช้การประเมนิ ผลผลติ ของโครงการนน่ั เอง 4.3 รปู แบบการประเมนิ โครงการ จากแนวคิดและทฤษฎีที่ได้รับการพัฒนามาหลายยุคหลายสมัย นักประเมินได้พยายาม เสนอรูปแบบไว้หลายลักษณะแต่ละรูปแบบมีแนวคิด ทฤษฎี และหลักเหตุผลของการพัฒนา โดยเฉพาะมีความเชื่อและปรัชญาที่แตกต่างกันไป ที่สำคัญคือ รูปแบบแต่ละรูปแบบที่นำเสนอมี วัตถุประสงค์เฉพาะของการประเมินที่แตกต่างกัน ผู้วิจัยจึงได้นำเสนอรูปแบบการประเมินโครงการ ตามแนวคดิ การประเมนิ ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971 สตัฟเฟิล บีม และคณะ ได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเล่ม ชื่อ “Educational Evaluation and Decision Making” หนังสือเล่มนี้ ได้เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง เพราะให้ แนวคิดและวิธีการ ทางการวัดและประเมินผล ได้อย่างน่าสนใจและทันสมัยด้วย นอกจากนั้น สตัฟเฟิลบีมก็ได้เขียน หนังสือเกี่ยวกับการประเมินและรูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ท่านผู้นี้เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน เรยี กวา่ CIPP Model เป็นการประเมนิ ท่ีเป็นกระบวนการต่อเนื่อง มีจุดเนน้ ท่ีสำคญั คือ ใช้ควบคกู่ ับ การบริหารโครงการ เพื่อหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจ อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา วัตถุประสงค์การ ประเมิน คือ การให้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เน้นการแบ่งแยก บทบาทของการทำงานระหว่าง ฝ่ายประเมินกับฝ่ายบริหารออกจากกันอย่างเด่นชัด กล่าวคือฝ่าย ประเมินมีหน้าที่ระบุ จัดหา และ นำเสนอสารสนเทศให้กบั ฝ่ายบริหาร สว่ นฝ่ายบรหิ ารมีหน้าท่ีเรยี กหา ขอ้ มลู และนำผลการประเมินท่ี

ได้ไปใช้ประกอบการตดั สนิ ใจ เพื่อดำเนนิ กจิ กรรมใด ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง แล้วแต่กรณี ท้ังนี้เพือ่ ปอ้ งกนั การมี อคตใิ นการประเมนิ และเขาไดแ้ บง่ ประเดน็ การประเมนิ ผล ออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (context evaluation: C) เป็นการประเมิน ให้ได้ ขอ้ มลู สำคัญ เพื่อช่วยในการกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ เป็น การตรวจสอบว่าโครงการทีจ่ ะทำสนองปัญหาหรือความต้องการจำเป็นที่แท้จริงหรือไม่ วัตถุประสงค์ ของ โครงการชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ หรือ นโยบายหน่วยเหนือหรือไม่ เป็น โครงการที่มีความเป็นไปได้ในแง่ของโอกาสที่จะได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่าง ๆ หรือไม่ เป็นต้น การประเมินสภาวะแวดล้อมจะช่วยในการตัดสินเกี่ยวกับเรื่องโครงการควรจะทำใน สภาพแวดล้อมใด ตอ้ งการจะบรรลเุ ปา้ หมายอะไร หรือต้องการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์เฉพาะอะไร เป็นตน้ 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้นหรือปัจจัยป้อน (input evaluation: I) เป็นการประเมินเพื่อ พิจารณา ถึง ความเปน็ ไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพยี งของทรัพยากรท่ีจะใช้ใน การดำเนิน โครงการ เช่น งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ เวลา รวมทั้งเทคโนโลยีและแผนการ ดำเนินงาน เป็นต้น การประเมินผลแบบนี้จะทำโดยใช้ เอกสารหรืองานวิจัยที่มีผู้ทำไว้แล้ว หรือใช้ วิธีการวิจยั นำร่องเชิงทดลอง (pilot experimental project) ตลอดจนอาจให้ผู้เชี่ยวชาญ มาทำงาน ให้ อยา่ งไรกต็ าม การประเมินผลนีจ้ ะต้องสำรวจส่ิงท่ีมีอยู่เดิมก่อนวา่ มีอะไรบ้าง และตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการ ใดใชแ้ ผนการดำเนินงานแบบไหน และต้องใชท้ รัพยากรจากภายนอก หรือไม่ 3. การประเมินกระบวนการ (process evaluation: P) เป็นการประเมินระหว่างการ ดำเนินงานโครงการ เพอื่ หาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการ ท่ีจะใช้เปน็ ขอ้ มูลในการพฒั นา แก้ไข ปรับปรุง ให้การดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใชใ้ นโครงการ ภาวะผู้นำ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทึกไว้เป็น หลักฐานทุกข้ันตอน การประเมินกระบวนการนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากตอ่ การค้นหาจุดเด่น หรือ จุดแข็ง (strengths) และจุดด้อย (weakness) ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ มักจะไม่สามารถ ศกึ ษาไดภ้ ายหลังจากส้ินสุดโครงการแล้ว การประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสำคัญในเรื่องการให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นระยะ ๆ เพ่ือ การตรวจสอบการดำเนนิ ของโครงการโดยทั่วไป การประเมนิ กระบวนการมีจดุ มงุ่ หมาย คอื 3.1 เพื่อการหาข้อบกพร่องของโครงการ ในระหว่างที่มีการปฏิบัติการ หรือการ ดำเนนิ งานตามแผนนนั้ 3.2 เพ่อื หาข้อมลู ตา่ ง ๆ ทีจ่ ะนำมาใช้ในการตดั สนิ ใจเกยี่ วกับการดำเนินงานของโครงการ 3.3 เพือ่ การเกบ็ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทไี่ ด้จากการดำเนนิ งานของโครงการ

4. การประเมนิ ผลผลิต (product evaluation: P) เปน็ การประเมินเพื่อเปรยี บเทยี บผลผลิต ที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือความต้องการ เป้าหมายที่กำหนดไว้ รวมทั้งการพิจารณา ในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (impact) และผลลัพธ์ (outcomes) ของนโยบาย แผนงาน โครงการ โดยอาศัยข้อมูลจากการ ประเมินสภาวะแวดล้อม ปัจจัยเบื้องต้นและกระบวนการร่วมด้วย จะเห็นได้ว่า การประเมินแบบ CIPP เป็นการประเมินที่ครอบคลุมองค์ประกอบของระบบทั้งหมด ซึ่งผู้ประเมินจะต้องกำหนด วัตถุประสงคข์ องการประเมินท่ีครอบคลมุ ทั้ง 4 ด้าน กำหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวช้ีวัด กำหนด แหล่งข้อมูลผู้ให้ข้อมูล กำหนดเครื่องมือการประเมิน วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนด แนวทางการวเิ คราะห์ข้อมลู และเกณฑ์การประเมินทีช่ ดั เจน แสดงรูปการประยุกต์ใช้รปู แบบจำลองซิป (CIPP Model) ประเมนิ โครงการ การประเมินโครงการขบั เคลอื่ นการจดั การเรียนรสู้ ะเต็มศึกษา (STEM Education) โรงเรยี นอ้อมน้อยโสภณชนปู ถัมภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวดั สมุทรสาคร ด้านบรบิ ท ด้านปจั จยั นำเข้า ด้านกระบวนการ ดา้ นผลผลติ (context) (input) (process) (product) - ความตอ้ งการ การ นกั เรยี นเกิดทักษะ สนับสนุน การให้ - ผู้บริหาร ระบบ - การจดั ทำโครงการ การแก้ปัญหาและมี ความรว่ มมอื ของผ้ทู ี่ ขอ้ มูล นโยบายของ - การจัดกิจกรรมการ ทกั ษะการ เกี่ยวข้อง โรงเรยี น จดั การเรยี นรูส้ ะเต็ม สร้างสรรค์ช้ินงาน - วตั ถุประสงค์ - แผนงาน กจิ กรรม ศึกษา จากการจัดโครงการ ของโครงการ โครงการ - การตรวจสอบการ ขับเคลื่อนการ - นโยบายสำนกั งาน - วัสดุอุปกรณ์ อาคาร ปฏบิ ตั งิ าน จัดการเรียนรูส้ ะเต็ม คณะกรรมการ สถานท่ี - การนเิ ทศ กำกับ ศึกษา(STEM การศึกษาข้ันพื้นฐาน - งบประมาณ และ ตดิ ตาม การ education) บุคลากร ดำเนินงาน ภาพประกอบท่ี 2 รูปการประยุกต์ใช้รูปแบบจำลองซิป (CIPP Model) ประเมินโครงการขับเคลื่อน การจดั การเรยี นร้สู ะเต็มศกึ ษา (STEM education) โรงเรียนออ้ มน้อยโสภณชนูปถมั ภ์ อำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวัดสมุทรสาคร

กลา่ วโดยสรปุ วา่ “การวจิ ยั ประเมินโครงการ” เปน็ การวิจยั ประเมนิ สภาวะแวดล้อม ไดแ้ ก่ การ วิเคราะหโ์ ครงการ การประเมิน ปจั จยั นำเขา้ ได้แก่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู และนกั เรยี น ท่ีเข้ารว่ มโครงการ การประเมินกระบวนการบรหิ ารโครงการ และการจัดการวธิ ีดำเนินการโครงการ รวมทงั้ การประเมนิ ผลลัพธ์ของโครงการในการผลิตความสำเรจ็ โครงการ ทั้งนเี้ พ่อื ศึกษาประสิทธิผล และประสิทธิภาพตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการนัน้ 5. การประเมนิ โดยรปู แบบจำลองซิป (CIPP Model) นักการศึกษา นักวิชาการ และ นักวิจัย ได้กล่าวถึงรูปแบบจำลองซิป (CIPP Model) ไว้หลาย ท่านดังนี้ สตัฟเฟิลบีม (อ้างถึงใน Worthen & Sander, 1987) ได้เสนอแบบจำลองการประเมินผลที่ เรียกว่า CIPP Model ซึ่งเป็นแบบจำลองที่เน้นกิจกรรมการประเมินควบคู่ไปกับการบริหารงาน โดย ประกอบด้วย การประเมิน 4 ประเภท และมีลักษณะสอดคล้องกับโครงสร้างของ ระบบงานโดยทั่วไป ดังน้ี 1. การประเมินผลที่เกี่ยวกับบริบท (context evaluation) เป็นการประเมินให้ได้ข้อมูล สำคัญ เพื่อช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ ความเป็นไปได้ของโครงการ เป็นการ ตรวจสอบว่าโครงการที่จะทำสนองปญั หาหรือความต้องการจำเป็นที่แท้จริงหรอื ไม่ วัตถุประสงค์ของ โครงการชัดเจน เหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ หรือ นโยบายหน่วยเหนือหรือไม่ เป็น โครงการที่มีความเป็นไปได้ในแง่ของโอกาสที่จะได้รบั การสนับสนนุ จากองค์กรต่าง ๆ หรือไม่ เป็นตน้ การประเมินสภาวะแวดล้อมจะช่วยในการตัดสินเกี่ยวกับเรื่องโครงการควรจะทำในสภาพแวดล้อมใด ตอ้ งการจะบรรลเุ ป้าหมายอะไร หรือตอ้ งการบรรลุวัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะอะไร เปน็ ตน้ 2. การประเมินผลที่เกี่ยวกับตัวป้อน (input evaluation) เป็นการประเมินเพื่อพิจารณา ถึง ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพยี งของทรัพยากรท่ีจะใช้ในการดำเนิน โครงการ เช่น งบประมาณ บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ เวลา รวมทั้งเทคโนโลยีและแผนการดำเนินงาน เป็นต้น การประเมินผลแบบนี้จะทำโดยใช้ เอกสารหรืองานวิจัยที่มีผู้ทำไวแ้ ล้ว หรือใช้วิธีการวจิ ัยนำ ร่องเชิงทดลอง (pilot experimental project) ตลอดจนอาจให้ผู้เชี่ยวชาญ มาทำงานให้ อย่างไรก็ ตาม การประเมินผลนี้จะตอ้ งสำรวจส่ิงท่มี อี ยู่เดมิ ก่อนวา่ มอี ะไรบ้าง และตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการใด ใช้ แผนการดำเนินงานแบบไหน และต้องใชท้ รพั ยากรจากภายนอก หรอื ไม่ 3. การประเมินผลที่เกี่ยวกับกระบวนการ (process evaluation) เป็นการประเมินระหว่าง การดำเนินงานโครงการ เพื่อหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการ ที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง ให้การดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทึก ไว้เป็น หลักฐานทุกขั้นตอน การประเมินกระบวนการนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหา จุดเด่น

หรือจดุ แขง็ (strengths) และจดุ ดอ้ ย (weakness) ของนโยบาย แผนงาน โครงการ มักจะไม่สามารถ ศึกษาได้ภายหลังจากสิ้นสุดโครงการแล้วการประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสำคัญในเรื่องการให้ ข้อมูลย้อนกลับเป็นระยะ ๆ เพื่อการตรวจสอบการดำเนินของโครงการโดยทั่วไป การประเมิน กระบวนการมีจุดมุง่ หมาย ดังน้ี เพ่อื การหาข้อบกพร่องของโครงการในระหวา่ งท่ีมีการปฏิบัติการหรือ การดำเนินงาน ตามแผนนั้น เพื่อหาข้อมูลต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดำเนินงาน ของโครงการ และเพ่อื การเกบ็ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่ได้จากการดำเนนิ งานของโครงการ 4. การประเมินผลที่เกี่ยวกับผลผลิต (product evaluation) วัตถุประสงค์ของการประเมิน ประเภทนี้ ก็เพ่ือตรวจสอบความสมั พนั ธ์ระหว่างผลสัมฤทธจิ์ ากโครงการกับเกณฑ์ทตี่ งั้ ไว้ว่าเป็นไปตาม วัตถุประสงคข์ องภารกจิ หรอื ไม่ การประเมินผลประเภทน้ี อาจอาศยั การเปรยี บเทียบผลผลติ กับเกณฑ์ มาตรฐาน (absolute หรือ relative standards) ที่กำหนดไว้ หรืออาจอาศัยข้อมูลที่ได้รับจากการ รายงานการประเมินผลทั้ง 3 ประเภทข้างต้น อย่างไรก็ตามในการทำประเมินผลการบริหารงานเชิง ระบบ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ หวั หน้างาน ครู ตลอดจน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง จะต้องคำนึงถึงภารกิจบทบาทหน้าที่ของตนเองเป็นสำคัญ จะทำให้ เกิดความสอดคล้องไม่ซ้ำซ้อนของเนื้องานในการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขต่อไป การพฒั นาปรับปรุงแก้ไข (modification) นับว่าเป็นส่วนสำคัญในการบริหารงานเชิงระบบ ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนควรตระหนัก ถึง เรื่องเหล่านี้ ซึ่งจะทำให้ขั้นตอนการทำงานมีความสมบูรณ์และครบวงจรเป็นส่วนสัมพันธ์ในการ พัฒนางาน หรือปรับปรุง แก้ไขงานอย่างแท้จริง เพราะเป็นการนำเอาการประเมินมาวิเคราะห์อาจมี บางสิ่ง บางอย่างที่ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ หรือยังไม่บรรลุจุดประสงค์ จึงต้องพิจารณากำหนดแนว ทางแก้ไขและพัฒนาต่อไป การพัฒนาปรับปรุง แก้ไข เป็นขั้นตอนหรือวิธีการตรวจสอบข้อขัดแย้ง ระหว่าง วัตถุประสงค์กับผลที่ได้จากการประเมิน ว่าจะพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขในสว่ นใดของระบบ หรอื ต้อง พัฒนาปรับปรุงแก้ไขทั้งระบบ การประเมินโดยใช้แบบจำลองซิป (CIPP Model) เป็นการประเมินที่เป็นกระบวนการตอ่ เนื่อง โดยมีจุดเน้นที่สำคัญ คือ ใช้ควบคู่กับการบริหาร โครงการ เพื่อหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจอย่าง ตอ่ เน่ืองตลอดเวลา ซ่ึงแนวทางการประเมนิ ในดา้ น ตา่ ง ๆ มีรายละเอียด ดังน้ี 1. การประเมินสภาพแวดล้อม (context evaluation) เป็นการประเมินเพื่อให้ได้ข้อมูล สำคัญ เพ่ือชว่ ยในการกำหนดวตั ถุประสงค์ ของโครงการความเป็นไปได้ของโครงการ 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้น (input evaluation) เป็นการประเมินเพื่อใช้ข้อมูลตัดสินใจ ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการว่าเหมาะสมหรือไม่ โดยดูว่าปัจจัยที่ใช้จะมีส่วนช่วยให้บรรลุ จดุ ม่งุ หมายของโครงการหรอื ไม่

3. การประเมินกระบวนโครงการ (process evaluation) เป็นการประเมินระหว่างการดำเนิน โครงการ เพื่อหาข้อดีและข้อบกพร่องของการดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ท่กี ำหนดไว้และ เป็นการ รายงายผลการปฏิบัตกิ ารของโครงการนั้นด้วย 4. การประเมินผลผลิต (product evaluation) เป็นการประเมินเพื่อดูว่าผลที่เกิดขึ้นเมื่อส้นิ สดุ โครงการเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ หรือตามทีค่ าดหวังหรือไม่ โดยอาศัยข้อมูลจากการรายงานผล ที่ได้ จากการประเมินสภาพแวดล้อมปัจจัยเบื้องต้นและกระบวนการร่วมด้วย (สมคิด พรมจุ้ย, 2542, 55-58) การประเมนิ ตามแบบจำลองของซิป (CIPP Model) มีดงั นี้ 1. Context evaluation หมายถงึ การประเมนิ ผล วัตถุประสงค์ หรือจดุ มุ่งหมายตา่ ง ๆ 2. Input evaluation หมายถงึ การประเมินผลระบบโครงสร้างรวมทง้ั ระบบการจัดการบริหาร ตา่ ง ๆ ด้วย 3. Process evaluation หมายถงึ การประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ 4. Product evaluation หมายถึง การประเมินผลทเี่ กิดขึ้นจากการจดั กจิ กรรมนัน้ การประเมินตามแบบจำลองซิป (CIPP Model) สามารถแบ่งเป็น 4 ประเภท และเพื่อ สอดคลอ้ งกับการพัฒนาโครงการ ซึ่งแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ คือ 1. การประเมินก่อนเริ่มโครงการ ซึ่งเป็นการประเมินเพื่อวางแผนโครงการ ซึ่งเป็นการ กำหนดวัตถุประสงค์และวิธีการของโครงการ โดยเขียนในรูปเอกสารโครงการในแบบซิปโมเดล การ ประเมินก่อนเริ่มโครงการ ประกอบด้วย 1.1 การประเมินสภาวะแวดล้อมหรือการประเมินบริบท อันเป็นการประเมินความ ต้องการจำเป็นเพื่อกำหนดโครงการ การประเมินบริบทเป็นการประเมินสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง ตลอดจนปัญหา อุปสรรคตา่ ง ๆ อนั นำไปสทู่ ศิ ทางและวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1.2 การประเมินปัจจัยหรือทรัพยากร เป็นการตรวจสอบความพร้อมด้านทรัพยากร ท้ัง ด้านปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนระบบบริหารจัดการ เพื่อวิเคราะห์และกำหนดทางเลือกท่ี เหมาะสมท่สี ดุ ทีจ่ ะทำใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ท่ีกำหนด อกี ทั้งมีความเปน็ ไปได้ทางดา้ นทรัพยากร 2. การประเมินขณะดำเนนิ โครงการซ่ึงเปน็ แบบซปิ โมเดล คอื การประเมินกระบวนการ การ ประเมินกระบวนการเป็นการประเมินการดำเนินงานเมื่อนำโครงการที่วางไว้ไปสู่ปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อ ศึกษาจุดแข็งและจุดอ่อนตลอดจนปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินโครงการ อะไรเป็นมูลเหตุที่ทำ ให้สามารถหรือไม่สามารถดำเนินโครงการได้อย่างทันท่วงที การประเมินในขั้นนี้ จึงมีบทบาทสำคัญ ต่อความสำเร็จของการดำเนินโครงการ (formative evaluation) ด้วยการจัดระบบการกำกับงาน (monitoring system) เพือ่ ติดตามความกา้ วหนา้ และเรง่ นัดการดำเนินโครงการให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ ภายในทรพั ยากรและเวลาท่ีกำหนด

3. การประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ เป็นการประเมินผลผลิตโครงการ เป็นการประเมินที่ มุ่ง ตอบคำถามว่าโครงการประสบความสำเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ ผลผลิตของโครงการเป็นไปตาม วัตถุประสงค์หรือไม่ ผลการดำเนินงานโครงการคุ้มค่าเพียงใด การประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ประเมินทันทีหลังสิ้นสุดโครงการ ซึ่งเป็นผลลัพธ์และการประเมินผลกระทบ ของ โครงการทั้งในทางบวกและทางลบ ซึ่งนิยมทำการประเมินด้วยเทคนิคการติดตามผลผลการ ประเมิน หลังสิ้นสุดโครงการจะให้สารสนเทศเพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตของโครงการว่าควรจะ ดำเนินการ ต่อไปอย่างไร ควรจะมีการปรับขยายแล้วดำเนินการต่อไปอีกระยะหนึ่งหรอื ควรจะสิ้นสุด โครงการไป ตามเวลาที่กำหนดไว้ (สมหวัง พิธยิ านวุ ฒั น์, 2544, 166) การประเมนิ โดยใช้การประเมนิ แบบซปิ (CIPP Model) คำว่า CIPP model ของ Daneil L. Stufflebeam ได้ใชต้ ัวย่อของคำ ดงั ต่อไปน้ี C-Context หมายถงึ บริบท หรือสภาวะแวดล้อมรอบ ๆ ทอ่ี าจตอ้ งมองใหค้ รอบคลุม I-Input หมายถงึ ปัจจัยเบ้ืองต้น เป็นตวั ป้อนในการดำเนินการในเรอ่ื งตา่ ง ๆ P-Process หมายถงึ กระบวนการ ข้นั ตอนของการดำเนินการ P-Product หมายถงึ ผลผลิตหรอื ผลทเ่ี กดิ การประเมนิ แบบซิป ประกอบด้วยประเมนิ 4 ขั้นตอน คือ 1. การประเมินสภาวะแวดล้อม หรือ บริบท ประเมินความต้องการและความจำเป็นทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง และการศึกษา ตลอดจนศึกษาปัญหาอุปสรรคทั้งในและ นอกระบบสังคมปัจจบุ นั เพื่อนำไปสกู่ ารกำหนดทศิ ทางและวัตถุประสงคข์ องโครงการ 2. การประเมินปัจจัยเบื้องต้น เป็นการตรวจสอบความพร้อมของปัจจัยต่าง ๆ ทั้งในด้าน กำลังคน วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ตลอดจนระบบบริหาร ระบบการจัดการ เพื่อวิเคราะห์หาทาง เลือกที่เหมาะสมที่สุดกับทรัพยากรที่มีอยู่และเป็นทางเลือกที่มีโอกาสทำให้บ รรลุวัตถุประสงค์ตาม โครงการได้มากที่สดุ 3. การประเมินกระบวนการ เป็นการประเมินการดำเนินงานเมื่อนำโครงการที่วางแผนไว้ไป ปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อศึกษาว่าการดำเนินงานตามโครงการนั้นจะมีปัญหาอุปสรรคอย่างไร เพื่อที่จะได้ สามารถปรับปรงุ แก้ไขไดท้ ันที 4. การประเมินผลผลิตหรือผลงาน เป็นการประเมินเพื่อให้ทราบว่า โครงการนั้นประสบ ผลสำเร็จหรอื ไม่ โดยพิจารณาวา่ ผลที่ไดร้ ับบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไวห้ รือดวู า่ ผลจากโครงการ ค้มุ คา่ หรอื ไม่ ข้อมูลเก่ยี วกบั ประเดน็ การประเมนิ แบบ CIPP Model ทั้ง 4 ประการ และประเภทของ การตัดสินใจดังกล่าวข้างต้น พอจะสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของการประเมินกับการ ตัดสินใจ ซึ่ง Stuffle beam ได้เสนอแนวคิดในการสร้างแบบแผนการประเมินผลซึ่งสอดคล้องกับ

CIPP Model อาจนำไปประยุกต์ใช้กับการประเมินผลในรูปแบบอืน่ ๆ ได้แบบแผนการประเมินผล มี ดงั น้ี 1. การบรรยายจุดมุ่งหมาย และการกำหนดนโยบายในการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วย ขอบเขตความรับผิดชอบว่ามีขอบเขตระดับท้องถิ่นระดับจังหวัดหรือระดับประเทศ เวลาและแนว ทางเลือก ตัวแปรในการวัดและมาตรฐานที่ใช้ในการตัดสินใจ และนโยบายในการปฏิบัติงานของผู้ ประเมนิ ผล 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แหล่งข้อมูลที่จะเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการ เครอ่ื งมอื วธิ ีการสุม่ กลมุ่ เป้าหมาย สภาพการณ์ในการเกบ็ ขอ้ มลู 3. การวิเคราะหข์ ้อมลู 4. การรายงานผลหรอื สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 5. การบริหารการประเมินผล เพื่อเตรียมแผนการดำเนินงานทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอน คือ กำหนดโครงร่าง กำหนดบุคลากรและทรัพยากร กำหนดวิธีการปฏิบัติ ประเมินผล ประสิทธิภาพของเครื่องมือ กำหนดวิธีการที่จะพัฒนาแบบแผนการประเมิน และการจัดหา งบประมาณที่ใช้ในการดำเนนิ งานการประเมินผลตลอดโครงการ ดังภาพประกอบที่ 3 ประเภทของการประเมิน ลกั ษณะการตดั สนิ ใจ 1. ประเมนิ สภาวะแวดลอ้ ม เลอื ก/ปรับวตั ถปุ ระสงค์ของ (Context Evaluation) โครงการ 2. ประเมินปจั จัยเบื้องตน้ เลอื ก/กิจกรรม/ปรบั เปลีย่ น (input evaluation) ปัจจยั เบอ้ื งต้น 3. ประเมนิ กระบวนการ ปรบั ปรงุ แนวทาง หรือ (process evaluation) กระบวนการทำงาน 4. การประเมนิ ผลผลิต ปรับปรุง/ขยาย/ลม้ เลกิ /ยตุ ิ (product evaluation) โครงการ ภาพประกอบที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างการประเมนิ กบั การตดั สินใจแบบจำลองซิปป์ ท่มี า : สมหวัง พธิ ิยานวุ ตั น์ (2544, 233)

การประเมินผลโครงการนั้นต้องมีเกณฑ์และตัวชี้วัด (indicator) ระดับความสำเร็จของ โครงการให้ทราบ โดยท่วั ไปแลว้ เกณฑ์ ท่ใี ชใ้ นการประเมินผลโครงการ (วรเดช จนั ทรศร และ ไพโรจน์ ภทั รนรากุล, 2546, 44) มดี ังน้ี 1. เกณฑ์ประสิทธิภาพ (efficiency) มีตัวชี้วัด เช่น สัดส่วนของผลผลิตต่อค่าใช้จ่าย ผลิต ภาพตอ่ หน่วยเวลา ผลติ ภาพต่อกำลังคน ระยะเวลาในการใหบ้ ริการตอ่ ผู้บรกิ าร 2. เกณฑ์ประสิทธิผล (effectiveness) มีตัวชี้วัด เช่น ระดับการบรรลุเป้าหมาย ระดับการ บรรลุตามเกณฑม์ าตรฐาน ระดบั การมีส่วนรว่ ม ระดบั ความเสย่ี งของโครงการ 3. เกณฑ์ความพอเพียง (adequacy) ตัวชี้วัด เช่น ระดับความพอเพียงของทรัพยากร การขาดแคลนปัจจยั การผลิตและปัจจัยอืน่ เป็นตน้ 4. เกณฑ์ความพึงพอใจ (satisfaction) ตัวชี้วัด เช่น ระดับความพึงพอใจของโครงการ และ ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ของโครงการ เป็นต้น 5. เกณฑค์ วามเป็นธรรม (equity) ตวั ช้ีวดั คือ การใหโ้ อกาสกับผดู้ ้อยโอกาส ความเป็นธรรม ระหว่างเพศ ระหว่างกลุ่มอาชีพ ฯลฯ 6. เกณฑ์ความก้าวหน้า (progress) ตัวชี้วัด เช่น ผลผลิตเปรียบเทียบกับเป้าหมายรวม กจิ กรรมทีท่ ำแลว้ เสรจ็ ทรัพยากร และเวลาท่ใี ช้ไป มคี วามเหมาะสมเพียงใด เป็นตน้ 7. เกณฑ์ความยง่ั ยนื (sustainability) ตวั ชี้วดั เชน่ ความอยู่รอดของโครงการด้าน เศรษฐกิจ สมรรถนะดา้ นสถาบนั ความเปน็ ไปได้ในด้านการขยายผลของโครงการ 8. เกณฑ์ความเสียหายของโครงการ (externalities) ตัวชวี้ ดั เช่น ผลกระทบดา้ น ส่งิ แวดล้อม ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น สำหรับตัวชี้วัด (indicators) ความสำเร็จของโครงการนั้น หมายถึง ตัวชี้วัดที่แสดงหรือ ระบุประเด็นที่ต้องการจะวัดหรือประเมิน หรือตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคมที่ต้องทำการศึกษา โดยจะมีการระบุลักษณะที่ค่อนข้างเป็น รปู ธรรม ทั้งสว่ นทมี่ ลี ักษณะเชงิ ปริมาณและลักษณะเชงิ คุณภาพ หลกั การสร้างตวั ช้วี ดั ที่ดี การสรา้ งตวั ช้ีวดั ทีด่ ีจำเปน็ จะตอ้ งมีหลักการทใี่ ช้เปน็ เปา้ หมายในการดำเนินการ ดงั นี้ 1. เลือกใช้/สร้างตวั ชี้วดั ทเี่ ปน็ ตวั แทนท่ีสำคญั เท่านนั้ 2. คำอธบิ าย หรอื การกำหนดตัวชีว้ ดั ควรเป็นวลีทม่ี คี วามชดั เจน 3. ตัวชีว้ ัดอาจจะกำหนดได้ทั้งเชงิ ปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพก็ได้ 4. ควรนำจดุ ประสงคข์ องโครงการ หรอื ประเด็นการประเมนิ มากำหนดตวั ชีว้ ดั 5. การเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับตวั ชีว้ ัดควรรวบรวมข้อมูลทั้งจากแหลง่ ปฐมภูมิและทุติยภูมิ การจำแนกประเภทของตัวชวี้ ัด

ตัวอย่าง การจำแนกประเภทของตัวชี้วัดตามลักษณะของสิ่งที่ได้รับการประเมินตาม แบบจำลองการประเมินผลตาม CIPP Model คือ ตวั ชีว้ ดั ดา้ นบรบิ ท (context) ตัวชว้ี ดั สามารถ พิจารณาไดจ้ ากสงิ่ ต่าง ๆ ดงั น้ี 1. สภาวะแวดล้อมของ กอ่ นมโี ครงการ (ปัญหาวกิ ฤต) 2. ความจำเป็น หรอื ความต้องการขณะนั้นและอนาคต 3. ความเข้าใจรว่ มกนั ของทุกฝ่ายท่ีเก่ยี วขอ้ งกับโครงการ ตวั ช้ีวดั ดา้ นปัจจัยนำเข้า (input) ตวั ช้ีวดั สามารถพจิ ารณาได้จากสงิ่ ต่าง ๆ ดังนี้ 1. ความชัดเจนของวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2. ความพร้อมของทรัพยากร เช่น งบประมาณคน วัสดุอุปกรณ์ เวลา และ กฎระเบียบ 3. ความเหมาะสมของขน้ั ตอนระหวา่ งปัญหา สาเหตุของปญั หา และกิจกรรม ตวั ชี้วัดด้านกระบวนการ (process) ตวั ช้วี ัดสามารถพิจารณาได้จากส่งิ ตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. การตรวจสอบกจิ กรรม เวลา และทรพั ยากรของโครงการ 2. ความยอมรบั ของประชาชนและหน่วยงานที่เกยี่ วข้องกับโครงการในพืน้ ที่ 3. การมีสว่ นรว่ มของประชาชน และหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับโครงการ 4. ภาวะผู้นำในโครงการ ตวั ชีว้ ัดดา้ นผลผลิต (product) ตวั ชีว้ ดั สามารถพิจารณาไดจ้ ากสงิ่ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. อตั ราการมีงานทำของประชาชนที่ยากจน 2. รายไดข้ องประชาชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการ 3. ความพงึ พอใจของประชาชนที่เข้ารว่ มโครงการ เกณฑ์ และตัวชี้วัดดังกล่าวนี้ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลโครงการได้ดี ซึ่งจะ ครอบคลุม มิติด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านบริหารจัดการ ด้านทรัพยากร และด้านสิ่งแวดล้อม เป็นต้น นอกจากนั้นยังสามารถวัดถึงความสำเร็จ และความล้มเหลวของโครงการพัฒนาต่าง ๆ ของรัฐได้ ซึ่ง ในทางปฏิบัตินักประเมินผล จะต้องนำเกณฑ์ และตัวชี้วัดดังกล่าวมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะ และบรบิ ทของโครงการดว้ ย ดังนั้น การประเมินทั้งระบบแบบ CIPP เป็นการประเมินที่ครอบคลุมองค์ประกอบทั้งหมด ซึ่งผู้ประเมินจะต้องกำหนดวตั ถุประสงค์ของการประเมนิ ทีค่ รอบคลุมทั้ง 4 ด้าน กำหนดประเด็นของ ตัวแปรหรือตัวช้ีวัด กำหนดแหล่งข้อมูลผู้ให้ข้อมูล กำหนดเครอื่ งมือการประเมินวิธีการท่ีใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล กำหนดแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลและเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจนโดยข้อมูลที่ได้รับ จากการประเมินนอกจากจะทำให้ทราบคุณค่าของโครงการแล้ว ยังชว่ ยให้สามารถค้นหาข้อบกพร่องท่ี

เกิดขึ้นกบั โครงการ รวมถึงนำไปใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นาโครงการให้สามารถดำเนินไปตามแผนท่ี วางไวอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพตอ่ ไป 6. การจดั การเรียนรู้สะเต็มศกึ ษา (STEM education) 6.1 ความหมายของสะเตม็ ศกึ ษา สะเต็มศึกษา หมายถึง แนวทางการจัด การศึกษาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถ บูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ไปใช้ใน การเชื่อมโยงและแก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้ง การพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ควบคู่ไปกับ การพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม หรือโครงงานที่บูรณาการการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ผนวกกับกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยนกั เรียนจะได้ทำกิจกรรม เพ่อื พัฒนาความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะด้าน วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และ เทคโนโลยแี ละนำความรู้มาออกแบบชิน้ งานหรือวิธีการเพื่อตอบสนอง ความต้องการหรือแก้ปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เพื่อให้ได้เทคโนโลยี ซึ่งเป็นผลผลิตจาก กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ลักษณะสำคญั ของสะเตม็ ศึกษาประกอบด้วย 5 ประการ ไดแ้ ก่ 1. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้บูรณาการความรแู้ ละทักษะของวิชาท่ีเก่ียวข้องในสะเต็มศึกษาใน ระหวา่ งการเรียนรู้ 2. มกี ารทา้ ทายนักเรยี นให้ไดแ้ กป้ ญั หาหรือสถานการณ์ท่ผี ้สู อนกำหนด 3. มีกจิ กรรมกระตนุ้ การเรยี นรู้แบบลงมือปฏิบตั ิ (Active learning) ของนกั เรยี น 4. ช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านการทำกิจกรรมหรือ สถานการณ์ที่ ผสู้ อนกำหนดให้ 5. สถานการณห์ รอื ปญั หาทใ่ี ช้ในกิจกรรมมีความเช่ือมโยงกับชีวิตประจำวนั ของนักเรียนหรือ การประกอบอาชีพในอนาคต (ศูนยส์ ะเต็มแห่งชาติ, 2557) สะเต็มศึกษา เป็นแนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการ หรอื ผลผลติ ใหมท่ ่ีเป็นประโยชนต์ ่อการดำเนนิ ชีวิตและการทำงาน (สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2558) การบูรณาการความรู้ทั้ง 4 วิชาเข้าด้วยกัน ได้แก่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ โดย ทง้ั 4 วิชามคี วามสำคญั เท่ากนั เพื่อให้ นกั เรียนนำความรทู้ ุกแขนงมาใช้เพ่ือแก้ปัญหา คน้ คว้า สรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาส่ิงตา่ ง ๆ ในสถานการณ์ โลกปจั จุบนั (อภิสทิ ธิ์ ธงชยั , 2556)

แลนซ์ (Lantz, 2009) ได้ให้ความหมายของสะเต็มศึกษาว่า เป็นการบูรณาการความรู้ทั้ง 4 วิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพอ่ื ใหน้ กั เรียนได้เช่ือมโยงความร้ทู ่ีได้จากโรงเรียนสโู่ ลกแหง่ ความเปน็ จริง โอแนล (O’Neil, Yamagata, & Togioka, 2012) ได้ให้ความหมายของสะเต็มศึกษาว่าเป็น การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน โดยมี จุดมุ่งหมายให้นักเรียน เห็นถึงความสัมพันธ์ของแต่ละวิชาที่บูรณาการและสามารถนำไปใช้ในการ ออกแบบส่งิ ประดษิ ฐ์ เพอื่ แกป้ ญั หาในชีวติ จริง กล่าวโดยสรุป สะเต็มศึกษาเป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมหรือ โครงงานที่บูรณาการความรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ผนวกกับกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม โดยนักเรียนจะ ได้ทำกิจกรรม และนำความรู้ที่ได้มาออกแบบชิ้นงานหรือวิธีการเพื่อตอบสนองความต้องการหรือ แกป้ ญั หาท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ชีวติ ประจำวัน 6.2 ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้องกับสะเต็มศกึ ษา สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2558) ไดก้ ลา่ วถึงทฤษฎีการเรียนรู้ท่ี สนับสนุนการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการสะเต็มศึกษา ไดแ้ ก่ 1. ทฤษฎกี ารเรยี นรตู้ ามแนวคอนสตรัคชันนิสซึม (constructionism) เปน็ การเรียนรู้ที่เกิด จากการสร้างพลังความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของนักเรียน หากนักเรียนมีโอกาสได้สร้างความคิด และนำความคิดตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมจะทำให้เห็น ความคิดนั้นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน (ทวีป แซ่ฉิน, 2556, 11) กรอบแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้ตาม แนวคอนสตรัคชันนิสซึม (constructionism) ได้แก่ 1) เปิดโอกาสให้นักเรียนไดเ้ ลอื กตามความสนใจ จะทำให้นักเรียนมีแรงจูงใจในการคิดทำและการเรียนรูต้ ่อไป 2) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมที่มีความ แตกต่างกันอันจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างองค์ความรู้ เช่น ความถนัด ความสามารถและ ประสบการณ์แตกต่างกัน ซึ่งจะเอื้อให้มีการช่วยเหลือกันและกัน การสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ รวมทั้งพัฒนาทักษะทางสังคมด้วย 3) เป็นบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร เป็นกันเองที่ทำให้นักเรียน รู้สกึ อบอนุ่ ปลอดภยั สบายใจ จะเอือ้ ให้การเรียนร้เู ป็นไปอย่างมคี วามสุข 2. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เป็นทฤษฎีที่ให้ความสำคัญกับตัวนักเรียนจุดเน้นของ การเรียนแบบมีส่วนร่วม คือ การให้นักเรียนมีส่วนร่วมทางด้านจิตใจ การได้รับประสบการณ์ที่ สัมพันธ์กับชีวิตจริง ได้รับการฝึกฝนทักษะชีวิตต่าง ๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจัดการความรู้ การแสดงออก การสรา้ งความรู้ใหม่ และการทำงาน (จริ าณี เมอื งจันทร์, 2557, 3) กรอบแนวคิด ของ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ไดแ้ ก่

2.1 นักเรียนแต่ละคน มีส่วนร่วมทำ ให้เกิดการเรียนรู้ทั้งทางตรงและทางอ้อม อาศัย หลักการเรยี นรู้เชิงประสบการณ์ และการเรยี นรู้ท่ีมปี ระสิทธภิ าพได้รบั ประสบการณ์ท่ีสัมพันธ์กับชีวิต จรงิ ได้รบั การฝกึ ฝนทักษะการแสวงหาออก ทักษะการสร้างความรู้ใหม่ และทักษะการทำงานกลุ่ม 2.2 เปดิ โอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น ตดั สนิ ใจเลือก บทเรียนที่ ต้องการเรียนรู้ในลักษณะกลุ่มหรือศึกษาด้วยตนเอง นักเรียนจะร่วมกันจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ทุก ขัน้ ตอนฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารวางแผนการทำกจิ กรรมการเรยี นรูร้ ่วมกนั และทำรายงานผลการเรียนรู้ 2.3 นกั เรียนได้รับผิดชอบตอ่ การเรยี นรขู้ องตนเองได้ลงมือปฏิบัติทำกิจกรรมกลุ่ม ฝึกฝน ทักษะการเรียนรู้ทักษะการบริหารการจัดการการเป็นผู้นำผู้ตามและที่สำคัญเป็นการเรียนรู้ที่มี ความสัมพันธส์ อดคล้องกบั ชีวติ จริงของนกั เรยี น 2.4 ครมู บี ทบาทกระตุ้นให้นักเรียนได้เลา่ ประสบการณ์ของตนเอง ผสู้ อนอาจใช้ใบช้ีแจง กำหนดกิจกรรมของนกั เรียน ในการนำเสนอประสบการณ์ ในกรณีทีน่ ักเรยี นไมม่ ีประสบการณ์ในเรื่อง ที่จะสอนหรือมนี อ้ ย ผูส้ อนอาจจะยกกรณีตัวอย่าง หรอื สถานการณ์กไ็ ด้ 3. ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ (Bruner) บรูเนอร์เชื่อว่ามนุษย์เลือกจะรับรู้สิ่งที่ตนเอง สนใจและการเรยี นรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง (discovery learning) (วารณุ ี หนองห้าง, 2553, 35) กรอบแนวคิดของทฤษฎีการเรยี นรูข้ องบรเู นอร์ (Bruner) ไดแ้ ก่ 3.1 ผู้สอนควรจัดประสบการณ์ให้นักเรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งเป็น กระบวนการเรยี นรทู้ ดี่ ี มคี วามหมายต่อนักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี 3.2 ก่อนสอนผู้สอนต้องมีการวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระให้เหมาะสม กับ การเรียนรูข้ องนักเรียน 3.3 ผู้สอนควรจดั ความคดิ รวบยอด เนือ้ หาสาระ วธิ กี ารสอนและกระบวนการเรียนรู้ ให้ เหมาะสมกบั ข้นั พฒั นาการสตปิ ัญญาของนักเรียน ซง่ึ จะช่วยใหน้ ักเรยี นเกิดการเรียนร้ไู ดด้ ี 3.4 ผู้สอนควรส่งเสริมให้นักเรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิด สร้างสรรคข์ องนักเรียน 3.5 ผ้สู อนสร้างแรงจงู ใจภายในให้แก่นกั เรียน 3.6 ผสู้ อนควรสอนความคดิ รวบยอดใหแ้ ก่นกั เรยี น 4. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (meaningful verbal learning) เน้นความสำคัญ ของการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจและมีความหมาย การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อนักเรียนได้เรียนรวมหรือ เชื่อมโยง (subsume) สิ่งที่เรียนใหมห่ รือข้อมูลใหม่ ซึ่งอาจจะเปน็ ความคิดรวบยอด (concept) หรือ ความรู้ที่ได้รับใหม่ในโครงสร้างสติปัญญากับความรู้เดิมที่อยู่ในสองของนักเรียนอยู่แล้ว (สุมาลี ชัยเจริญ, 2557) กรอบแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (meaningful verbal learning) ได้แก่

4.1 ผู้สอนควรมีการแนะนำ บทเรียนก่อนการเรียนการสอน และก่อนที่จะสอนสิ่งใด ใหมม่ กี ารสำรวจความรู้ความเขา้ ใจของนักเรียนเสยี ก่อนวา่ มพี อทีจ่ ะทำความเขา้ ใจเร่ืองที่จะเรยี น ใหม่ หรอื ไม่ ถา้ ยงั ไม่มีตอ้ งจัดใหก้ อ่ นสอนเรือ่ งใหม่ 4.2 ผู้สอนควรสอนโดยไม่เน้นการท่องจำ แต่สอนให้เกิดการสร้างความเชื่อมโยง ระหวา่ งความรู้ท่ีมีมาก่อนกบั ข้อมูลใหม่หรือความคิดรวบยอดใหมท่ ่จี ะต้องเรยี น 4.3 ผู้สอนควรใช้ advance organizer เป็นเทคนิคที่ช่วยให้นักเรียนได้เรียนอย่างมี ความหมายจากการสอนหรอื การบรรยายของผสู้ อน 4.4 ผู้สอนควรช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการจัดเรียบเรียง ขอ้ มูลข่าวสารท่ตี อ้ งการให้เรยี นร้อู อกเปน็ หมวดหมู่ 4.5 ผ้สู อนควรนำเสนอกรอบหลกั การกว้าง ๆ กอ่ นทีจ่ ะให้เรยี นรู้ในเรอ่ื งใหม่ จากการศึกษางานวิจัยและเอกสาร พบว่าทฤษฎีการเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ แบบ บรู ณาการสะเต็มศึกษา ไดแ้ ก่ ทฤษฎีการเรียนร้ตู ามแนวคอนสตรัคชันนสิ ซึม ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วม ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์และทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย จากทฤษฎีทั้งหมด ดังกล่าวเน้นตัวนักเรียนเป็นสำคัญ เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเกิดกระบวนการค้นพบด้วยตนเองได้ เกดิ การเรยี นรดู้ ้วยตนเองจากการลงมือปฏิบตั ิ มีสว่ นร่วมในการเรียนร่วมกับผู้อนื่ ท้ังนี้การสอนผู้สอน ควรให้อิสระทางความคิดกับนักเรยี นให้คิดได้อย่างอสิ ระ ไม่เน้นให้นักเรยี นท่องจำ เนื้อหา ส่งเสริมให้ นกั เรยี นจัดระบบ และสรา้ งความคดิ รวบยอด ทำให้ความคิดของนกั เรยี นนนั้ เปน็ รปู ธรรมมากย่ิงข้นึ 6.3 องค์ประกอบของสะเตม็ ศกึ ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2558) ได้กล่าวถึง องค์ประกอบ ของ สะเต็มศึกษาว่าเป็นการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาการหรือวิทยาการที่เป็นหลัก 4 วิชาด้วยกัน ได้แก่ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ( science) ค ณ ิ ต ศ า ส ต ร ์ ( mathematics) เ ท ค โ น โ ล ย ี ( technology) แ ล ะ วศิ วกรรมศาสตร์ (engineering) สะเตม็ ศึกษามีความเกีย่ วขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 3 กลมุ่ สาระฯ กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ และกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และ เทคโนโลยี การจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีนน้ั มีเป้าหมายหลักในการพัฒนา นักเรียนให้เป็นผู้รู้วิทยาศาสตร์ (science literate) ผู้รู้คณิตศาสตร์ (math literate) และผู้รู้ เทคโนโลยี (technology literate) ซึ่งเป้าหมายของการเรยี นรู้ในวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสะเตม็ ศึกษา ประกอบดว้ ย 1. เป้าหมายของการสอนวิทยาศาสตร์ คือ การพัฒนาให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเนื้อหา (หลักกฎและทฤษฎี) วิชาวิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และโลก อวกาศ ดารา

ศาสตร์) สามารถเชื่อมโยงความเกี่ยวเนื่องเนื้อหาระหว่างสาระวิชา และมีทักษะในการปฏิบัติการเชงิ วิทยาศาสตร์ มีทักษะในการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถค้นหาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสนิ ใจโดยใชข้ ้อมูลท่หี ลากหลายและมปี ระจกั ษ์พยานทีต่ รวจสอบได้ 2. เป้าหมายของการสอนคณิตศาสตร์ คือการพัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการ วิเคราะห์ ให้เหตุผลและการประยุกต์แนวคิดทางคณิตศาสตร์ เพื่ออธิบายและทำนายปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ภายใต้บริบทที่แตกต่างกันรวมถึงตระหนักถึงบทบาทของคณิตศาสตร์และสามารถใช้ คณติ ศาสตรช์ ่วยในการวนิ ิจฉัยและการตดั สินใจที่ดี 3. เป้าหมายของการสอนเทคโนโลยี คือ การพัฒนาให้นักเรียนมีความเข้าใจ และ ความสามารถในการใชง้ านจัดการและเข้าถึงเทคโนโลยี (กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น เพื่อ ตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์) 4. เป้าหมายของการสอนวิศวกรรมศาสตร์ คือ การพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะใน ออกแบบ และสร้างเทคโนโลยี โดยประยุกต์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่าง คุ้มคา่ จาการศึกษาเอกสารท่ีกล่าวมา สรุปได้ว่าองค์ประกอบของสะเต็มศกึ ษาเป็นการบูรณาการของ 4 วิชาคือ วิทยาศาสตร์ (Science) คณิตศาสตร์ (Mathematics) เทคโนโลยี (Technology) และ วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหา สามารถเชื่อมโยงเนื้อหา ระหวา่ งสาระวิชา มีการนำ เทคโนโลยี มาใชใ้ นการเรยี นการสอน มีทักษะในออกแบบในเชิงวิศวกรรม จากการประยุกต์ใช้ความรู้วิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า สามารถ คน้ หาความรแู้ ละแกป้ ญั หา อย่างเป็นระบบได้ 6.4 แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการสะเต็มศึกษา สำหรับแนวทางการจัดการเรียนการแบบบูรณาการสะเต็มศึกษา สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2558) ไดเ้ สนอไว้ ดงั นี้ 1. จัดกิจกรรมสอดแทรกไปตามเนื้อหาที่เกี่ยวข้องของแต่ละรายวิชาภายในคาบเรียนซ่ึง กิจกรรมสะเต็มศึกษา ที่จะนำเข้าไปสอดแทรกในคาบเรียนนั้น มักจะเป็นกิจกรรมที่มีจำนวนชั่วโมงท่ี เหมาะสมทีจ่ ะสามารถจดั กิจกรรม ได้เสรจ็ สิน้ ภายในคาบเรียน โดยผู้เรยี นแตล่ ะรายวชิ าอาจพิจารณา จากตัวชี้วัดของกิจกรรมนั้นเป็นเกณฑ์ หรือพิจารณาจากจุดประสงค์ของกิจกรรมก็ได้ว่าเกี่ยวข้องกับ เนื้อหาเนื้อหาใดบ้าง จากนั้นเมื่อถึงคาบของการเรียนการสอน ในเนื้อหานั้น ๆ ก็สามารถนำกิจกรรม สะเตม็ ศกึ ษาเข้าไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนได้ 2. จัดกิจกรรมไว้ในรายวิชาเลือกวิชาเสรีของกลุ่มวิชาต่าง ๆ โดยการสอนในรูปแบบนี้อาจ ทำได้รายได้ในรายวิชา ที่เกี่ยวข้องกับการแกโ้ จทย์ปญั หาพิเศษ หรือการทำโครงงาน เป็นต้น รูปแบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook