ตารางที่ 2 ผลทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศกึ ษา โรงเรยี น ลาดับ ่ีท อายุ คา่ ดชั นมี วลกาย นงั่ งอตวั ขา้ งหน้า ดันพนื้ ประย (ป)ี กก./ ระดับการ ครั้ง ร เพศ ตร.ม ประเมิน ซม. ระดับการ ประเมิน 15 16.67 สมสว่ น 15 1 หญงิ 7 18.58 ทว้ ม 3 ต่า 15 2 หญงิ 7 15.66 สมสว่ น 10 3 ชาย 7 14.35 สมสว่ น 2 ตา่ 17 4 ชาย 7 16.64 สมสว่ น 22 5 หญงิ 8 15.12 สมสว่ น 1 ตา่ 28 6 หญิง 8 16.07 สมส่วน 22 7 ชาย 8 16.64 สมสว่ น 1 ต่า 24 8 ชาย 8 15.02 ผอม 22 9 หญิง 9 13.86 ผอม 5 ปานกลาง 13 10 หญิง 9 16.67 สมส่วน 20 11 หญิง 9 16.83 สมส่วน 4 ต่า 22 12 หญิง 9 15.15 สมสว่ น 22 13 ชาย 9 14.92 ผอม 7 ปานกลาง 23 14 ชาย 9 14.12 ผอม 23 15 ชาย 9 17.56 สมสว่ น 3 ต่า 17 16 ชาย 9 15.16 ผอม 17 17 หญงิ 10 13.64 ผอม 12 ดี 25 18 หญงิ 10 15.12 ผอม 23 19 ชาย 10 15.45 สมสว่ น 8 ปานกลาง 28 20 ชาย 10 16.33 สมสว่ น 20 21 หญิง 11 15.98 สมสว่ น 3 ต่า 12 22 หญิง 11 24.04 ทว้ ม 32 23 ชาย 11 16.00 ผอม 13 ดี 30 24 ชาย 11 16.64 สมส่วน 10 25 ชาย 11 25.63 ทว้ ม 7 ปานกลาง 23 26 หญงิ 12 14.79 ผอม 29 27 หญิง 12 14.88 ผอม 10 ดี 23 28 ชาย 12 20.83 สมสว่ น 23 29 ชาย 12 15.50 ผอม 7 ปานกลาง 30 ชาย 12 ป 8 ปานกลาง สรปุ ผลแต่ละรายการ สรปุ ผลทัง้ หมด 12 ปานกลาง 10 ปานกลาง 7 ตา่ 9 ปานกลาง 15 ปานกลาง 16 ดี -1 ต่ามาก 13 ปานกลาง 5 ต่า 4 ตา่ มาก 13 ปานกลาง 12 ปานกลาง 8 ต่า 12 ปานกลาง ปานกลาง
84 นเจริญรฐั อปุ ถมั ภ์ กลุม่ ทดลอง กอ่ นการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย ยุกต์ ลกุ - นั่ง 60 วนิ าที ยนื ยกเข่าข้ึนลง ระดับการ ประเมิน คร้งั ระดบั การ ครัง้ ระดับการประเมนิ สรุปรายบุคคล ประเมิน ปานกลาง 98 ตา่ ต่า ปานกลาง 19 ปานกลาง 100 ต่า ต่า ปานกลาง 106 ปานกลาง ต่า 19 ปานกลาง 95 ต่า ต่า ต่า 142 ดี ปานกลาง ปานกลาง 22 ดี 140 ดี ปานกลาง 145 ดีมาก ปานกลาง ดี 21 ปานกลาง 146 ดมี าก ปานกลาง ดี 135 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง 22 ปานกลาง 143 ดี ปานกลาง ดี 110 ต่า ตา่ ดี 23 ดี 142 ดี ปานกลาง ตา่ 139 ดี ปานกลาง ดี 30 ดี 129 ดี ปานกลาง ปานกลาง 138 ดี ปานกลาง ปานกลาง 29 ดี 144 ดมี าก ปานกลาง ดี 144 ดี ปานกลาง ดี 31 ดี 145 ดี ปานกลาง ปานกลาง 152 ดี ปานกลาง ปานกลาง 26 ปานกลาง 154 ดี ปานกลาง ดี 200 ดีมาก ปานกลาง ปานกลาง 19 ปานกลาง 202 ดมี าก ปานกลาง ดี 100 ตา่ ตา่ มาก ปานกลาง 29 ดี 213 ดีมาก ดี ตา่ 201 ดมี าก ปานกลาง ดีมาก 24 ปานกลาง 130 ปานกลาง ตา่ มาก ดี 154 ดมี าก ปานกลาง ต่ามาก 26 ปานกลาง 213 ดมี าก ปานกลาง ดี 198 ดมี าก ปานกลาง ดี 27 ดี 218 ดมี าก ปานกลาง ปานกลาง ดี 31 ดี ดี ปานกลาง ปานกลาง 33 ดี 30 ดี 35 ดี 26 ปานกลาง 40 ดีมาก 33 ดี 13 ตา่ มาก 45 ดมี าก 42 ดมี าก 15 ตา่ 30 ดี 49 ดีมาก 41 ดี 42 ดมี าก ดี 84
85 จากตารางที่ 2 แสดงผลการทดสอบ สมรรถภาพทางกายของนักเรยี นระดับประถมศึกษา กอ่ นการฝกึ ออกกาลังดว้ ยเชงิ มวยไทย ของกลุ่มทดลอง โดยผลเฉล่ยี รวมทุกด้าน พบวา่ อยู่ในระดบั ปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านยงั พบอกี ว่า คา่ ดชั นมี วลกายอยรู่ ะหวา่ ง ผอม ถงึ ท้วม ดา้ นความ ออ่ นตวั อยู่ในระดับ ปานกลาง ดา้ นความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกล้ามเน้ือ ส่วนบน อยใู่ นระดับ ปานกลาง ด้านความแขง็ แรงและความอดทนของกล้ามเน้ือหนา้ ท้อง อยู่ในระดับ ดี ด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวยี นเลอื ด อยู่ในระดับ ดี
ตารางท่ี 3 ผลทดสอบสมรรถภาพทางกายของนกั เรียนระดับประถมศกึ ษ ลาดับ ่ีท อายุ คา่ ดัชนมี วลกาย นั่งงอตวั ขา้ งหน้า ดนั (ป)ี เพศ กก./ตร.ม ระดับการ ซม. ระดับการ ครง้ั ประเมิน ประเมิน 17 1 หญงิ 7 16.67 สมส่วน 6 ปานกลาง 17 17 2 หญิง 7 17.53 ทว้ ม 5 ปานกลาง 15 18 3 ชาย 7 15.39 สมส่วน 5 ปานกลาง 25 29 4 ชาย 7 15.15 สมส่วน 4 ปานกลาง 26 27 5 หญงิ 8 16.35 สมสว่ น 8 ปานกลาง 25 20 6 หญงิ 8 14.86 ผอม 7 ปานกลาง 24 25 7 ชาย 8 16.07 สมส่วน 9 ดี 24 26 8 ชาย 8 16.64 สมส่วน 6 ปานกลาง 27 21 9 หญงิ 9 15.62 สมส่วน 13 ดี 22 27 10 หญงิ 9 15.12 สมส่วน 10 ดี 25 29 11 หญิง 9 16.39 สมส่วน 6 ปานกลาง 23 16 12 หญิง 9 16.83 สมส่วน 14 ดี 33 32 13 ชาย 9 15.15 สมสว่ น 10 ดี 27 28 14 ชาย 9 15.45 สมสว่ น 11 ดี 30 26 15 ชาย 9 14.83 ผอม 10 ดี 26 16 ชาย 9 17.56 สมสว่ น 10 ดี 17 หญงิ 10 15.65 ผอม 13 ปานกลาง 18 หญงิ 10 14.26 ผอม 12 ปานกลาง 19 ชาย 10 14.88 ผอม 10 ปานกลาง 20 ชาย 10 15.20 ผอม 11 ปานกลาง 21 หญงิ 11 16.33 ผอม 17 ดี 22 หญงิ 11 17.05 สมสว่ น 17 ดี 23 ชาย 11 23.44 ทว้ ม 4 ตา่ มาก 24 ชาย 11 16.00 ผอม 15 ดี 25 ชาย 11 16.96 สมส่วน 9 ตา่ 26 หญงิ 12 24.78 ทว้ ม 9 ต่า 27 หญิง 12 15.20 ผอม 15 ปานกลาง 28 ชาย 12 15.87 ผอม 14 ปานกลาง 29 ชาย 12 20.33 สมส่วน 11 ปานกลาง 30 ชาย 12 16.12 ผอม 15 ปานกลาง สรุปผลแตล่ ะรายการ ปานกลาง สรปุ ผลทงั้ หมด
86 ษา โรงเรยี นเจริญรัฐอปุ ถัมภ์ กลุม่ ทดลอง หลังการฝึกสัปดาหท์ ่ี 4 นพ้ืนประยกุ ต์ ลกุ - นั่ง 60 วินาที ยนื ยกเข่าขึ้นลง ระดับการ ประเมิน ครั้ง ระดบั การ ครั้ง ระดบั การ สรุปรายบคุ คล ประเมนิ ประเมิน ดี ปานกลาง ดี 23 ดี 100 ตา่ ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง 25 ดีมาก 110 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ดี 26 ดี 115 ปานกลาง ปานกลาง ดมี าก ดี 26 ดี 105 ปานกลาง ดี ดีมาก ปานกลาง ดี 29 ดี 150 ดี ดี ดี ดี 30 ดมี าก 151 ดี ปานกลาง ดี ปานกลาง ดี 31 ดี 155 ดีมาก ปานกลาง ดี ปานกลาง ดี 33 ดีมาก 155 ดีมาก ปานกลาง ดี ดี 34 ดีมาก 140 ดี ดี ดี ดี ดี 33 ดี 149 ดี ปานกลาง ดีมาก ปานกลาง ดี 30 ดี 132 ปานกลาง ปานกลาง ตา่ ปานกลาง ดมี าก 33 ดี 152 ดี ดี ดีมาก ดี ดี 30 ดี 147 ดมี าก ต่า ดี ดี ดี 34 ดี 138 ดี ปานกลาง ดี ปานกลาง ดี 35 ดีมาก 145 ดมี าก ปานกลาง ปานกลาง ดี 35 ดีมาก 154 ดีมาก ปานกลาง ปานกลาง 36 ดีมาก 160 ดมี าก ดี 35 ดีมาก 158 ดีมาก 40 ดีมาก 160 ดีมาก 32 ดี 162 ดมี าก 45 ดมี าก 210 ดมี าก 38 ดมี าก 210 ดีมาก 30 ปานกลาง 120 ตา่ 46 ดีมาก 230 ดีมาก 47 ดีมาก 250 ดมี าก 35 ดี 180 ดมี าก 42 ดีมาก 240 ดมี าก 50 ดีมาก 245 ดีมาก 44 ดีมาก 210 ดมี าก 45 ดมี าก 240 ดีมาก ดีมาก ดี 86
87 จากตารางท่ี 3 แสดงผลการทดสอบ สมรรถภาพทางกายของนักเรยี นระดับประถมศึกษา หลงั การฝกึ ออกกาลงั ดว้ ยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 ของกลมุ่ ทดลอง โดยผลเฉลย่ี รวมทุกด้าน พบวา่ อยู่ ในระดบั ดี เมื่อพจิ ารณาเป็นรายดา้ นยงั พบอกี วา่ คา่ ดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง ผอม ถึง ทว้ ม ด้านความ ออ่ นตวั อยู่ในระดบั ปานกลาง ด้านความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเน้ือแขนและกลา้ มเน้ือ ส่วนบน อยใู่ นระดับ ดี ด้านความแขง็ แรงและความอดทนของกล้ามเน้ือหนา้ ท้อง อยูใ่ นระดับ ดมี าก ด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลอื ด อยู่ในระดับ ดี
ตารางที่ 4 ผลทดสอบสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นระดับประถมศกึ ษ ลา ัดบ ่ที อายุ คา่ ดชั นมี วลกาย นั่งงอตวั ข้างหน้า ดนั (ปี) กก./ ระดบั การ คร้ัง เพศ ตร.ม ประเมิน ซม. ระดับการ ประเมิน 17 16.67 สมส่วน 17 1 หญงิ 7 17.53 ท้วม 6 ปานกลาง 17 2 หญิง 7 15.39 สมส่วน 6 ปานกลาง 18 3 ชาย 7 15.15 สมส่วน 6 ปานกลาง 18 4 ชาย 7 16.35 สมส่วน 5 ปานกลาง 25 5 หญงิ 8 14.86 ผอม 8 ปานกลาง 29 16.07 สมส่วน 8 ปานกลาง 26 6 หญงิ 8 16.64 สมส่วน 9 ดี 27 7 ชาย 8 15.62 สมสว่ น 7 ปานกลาง 25 8 ชาย 8 15.12 สมส่วน 13 ดี 21 9 หญงิ 9 16.39 สมสว่ น 10 ดี 24 10 หญงิ 9 16.83 สมส่วน 7 ปานกลาง 25 11 หญิง 9 15.15 สมสว่ น 14 ดี 24 12 หญิง 9 15.45 สมส่วน 10 ดี 26 13 ชาย 9 14.83 ผอม 11 ดี 27 14 ชาย 9 17.56 สมสว่ น 10 ดี 22 15 ชาย 9 16.40 สมส่วน 10 ดี 22 16 ชาย 9 14.88 ผอม 13 ปานกลาง 27 17 หญงิ 10 14.88 ผอม 12 ปานกลาง 25 15.20 ผอม 10 ปานกลาง 29 18 หญงิ 10 16.84 สมส่วน 11 ปานกลาง 23 19 ชาย 10 18.38 สมสว่ น 17 ดี 17 20 ชาย 10 23.08 ท้วม 17 ดี 33 21 หญงิ 11 15.75 ผอม 6 ต่า 35 22 หญงิ 11 16.71 สมส่วน 15 ดี 27 23 ชาย 11 24.14 ท้วม 9 ตา่ 28 24 ชาย 11 15.42 ผอม 9 ต่า 30 25 ชาย 11 17.12 สมส่วน 15 ปานกลาง 26 26 หญงิ 12 19.84 สมสว่ น 14 ปานกลาง 28 27 หญิง 12 16.22 ผอม 11 ปานกลาง 28 ชาย 12 15 ปานกลาง 29 ชาย 12 ปานกลาง 30 ชาย 12 สรุปผลแตล่ ะรายการ สรุปผลทงั้ หมด
88 ษา โรงเรยี นเจริญรัฐอุปถัมภ์ กลมุ่ ทดลอง หลงั การฝึกสปั ดาห์ท่ี 8 นพ้นื ประยกุ ต์ ลกุ - น่ัง 60 วินาที ยนื ยกเข่าขนึ้ ลง ระดับการ ประเมิน ครง้ั ระดับการ คร้ัง ระดบั การ สรปุ รายบคุ คล ประเมิน ประเมิน ดี ปานกลาง ดี 25 ดมี าก 102 ต่า ปานกลาง ปานกลาง 26 ดมี าก 115 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง 28 ดมี าก 116 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง 27 ดี 108 ปานกลาง ปานกลาง ดี 30 ดีมาก 152 ดมี าก ปานกลาง ดีมาก 32 ดมี าก 153 ดีมาก ดี 33 ดีมาก 156 ดีมาก ดี ดีมาก 35 ดีมาก 156 ดมี าก ปานกลาง ดี 35 ดมี าก 145 ดี ดี 34 ดมี าก 150 ดี ดี ดี 32 ดี 134 ปานกลาง ปานกลาง ดี 34 ดีมาก 154 ดี ปานกลาง ดี 33 ดี 148 ดีมาก ปานกลาง ดี 36 ดมี าก 139 ดี ปานกลาง ดี 37 ดมี าก 147 ดีมาก ปานกลาง ดี 38 ดมี าก 155 ดมี าก ดี 37 ดมี าก 161 ดมี าก ดี ดี 38 ดมี าก 160 ดีมาก ดี ดี 45 ดีมาก 162 ดีมาก ปานกลาง ดีมาก 35 ดี 163 ดมี าก ปานกลาง ดี 46 ดีมาก 210 ดมี าก ปานกลาง ตา่ 40 ดีมาก 210 ดีมาก ปานกลาง ดมี าก 31 ปานกลาง 140 ปานกลาง ดี ดีมาก 48 ดมี าก 233 ดมี าก ดี ดี 50 ดีมาก 255 ดีมาก ตา่ ดี 37 ดีมาก 189 ดีมาก ดี ดี 44 ดมี าก 242 ดมี าก ปานกลาง ดี 51 ดมี าก 246 ดมี าก ปานกลาง ดี 45 ดมี าก 220 ดมี าก ปานกลาง ดี 46 ดมี าก 242 ดมี าก ปานกลาง ปานกลาง ดีมาก ดี ปานกลาง ดี 88
89 จากตารางที่ 4 แสดงผลการทดสอบ สมรรถภาพทางกายของนักเรยี นระดับประถมศึกษา หลงั การฝึกออกกาลงั ดว้ ยเชิงมวยไทยสปั ดาหท์ ี่ 8 ของกลุ่มทดลอง โดยผลเฉลี่ยรวมทุกด้าน พบว่า อยู่ ในระดับ ดี เม่ือพจิ ารณาเป็นรายด้านยงั พบอกี ว่า ค่าดัชนมี วลกายอยูร่ ะหวา่ ง ผอม ถงึ ทว้ ม ด้านความ ออ่ นตัว อยู่ในระดบั ปานกลาง ดา้ นความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อแขนและกล้ามเน้ือ สว่ นบน อยใู่ นระดบั ดี ดา้ นความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อหน้าท้อง อยูใ่ นระดับ ดีมาก ด้านความอดทนของระบบหวั ใจและระบบไหลเวียนเลอื ด อยใู่ นระดบั ดี ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของสมรรถภาพทาง กายด้านองค์ประกอบของร่างกาย ความอ่อนตัว ความแข็งแรงและความอดทนของ กล้ามเน้ือแขนและกล้ามเนื้อส่วนบน ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือหน้า ท้องและความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ของกลุ่มทดลอง ก่อนการ ฝกึ ออกกาลงั กาย หลังการฝกึ สปั ดาห์ท่ี 4 และหลงั การฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 รายการ n ก่อนการฝกึ หลงั การฝึก หลังการฝกึ องคป์ ระกอบของร่างกาย สัปดาห์ที่4 สัปดาห์ท่ี8 X S.D. X S.D. X S.D. 30 16.46 2.69 16.59 2.36 16.68 2.21 ความอ่อนตัว 30 7.63 4.55 10.20 3.78 10.47 3.43 30 20.83 5.76 24.23 4.77 24.60 4.72 ความแขง็ แรง ความอดทนของ 30 29.07 8.99 35.07 7.04 36.93 7.14 กลา้ มเนอื้ ส่วนบนและกลา้ มเนอื้ แขน 30 149.20 36.53 165.77 43.63 168.77 43.45 ความแข็งแรงและความอดทนของ กลา้ มเนื้อหนา้ ท้อง ความอดทนของระบบหวั ใจและ ระบบไหลเวยี นเลือด จากตารางท่ี 5 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านองค์ประกอบของร่างกายก่อนการฝึกออก กาลังกายของกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.69 หลังการฝึก สัปดาหท์ ่ี 4 กลุ่มทดลองมคี า่ เฉล่ียเท่ากบั 16.59 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 2.36 และหลังการฝึก สัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 16.68 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.21 สมรรถภาพทาง กายด้านความอ่อนตัวก่อนการฝึกออกกาลังกายกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.63 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากับ 4.55 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 10.20 ส่วนเบ่ียงเบน
90 มาตรฐานเทา่ กับ 3.78 และหลงั การฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 กล่มุ ทดลองมีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 10.47 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 3.43 สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและ กล้ามเนื้อส่วนบนก่อนการฝึกออกกาลังกายกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 20.83 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 5.76 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.23 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากบั 4.77 และหลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 กลุ่มทดลองมีคา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 24.60 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 4.72 สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้อื หน้าท้อง ก่อนการฝึกออกกาลังกายกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.99 หลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 4 กลมุ่ ทดลองมีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 35.07 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 7.04 กลุ่ม และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 36.93 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 7.14 สมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือดก่อนการฝึกออกกาลัง กายกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 149.20 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 36.53 หลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 4 กลมุ่ ทดลองมคี ่าเฉลี่ยเทา่ กบั 165.77 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 43.63 และหลงั การฝึกสัปดาห์ ท่ี 8 กลมุ่ ทดลองมคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 168.77 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 43.45 1.1 ด้านองคป์ ระกอบของร่างกาย ตารางท่ี 6 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย (Mean) ของค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ก่อนการฝึกออกกาลังกาย ด้วยเชงิ มวยไทยกบั หลังการฝกึ สัปดาหท์ ี่ 4 ระหว่างหลงั การฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 กบั หลังการฝึก สปั ดาห์ที่ 8 และระหว่างกอ่ นการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกับหลังการฝึกสปั ดาห์ ท่ี 8 ของกล่มุ ทดลอง ค่าดัชนมี วลกาย (BMI) X S.D. t Sig. ก่อนการฝกึ .223 หลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 16.46 2.69 -1.24 .241 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 4 16.59 2.36 .182 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 16.59 ก่อนการฝึก 16.68 2.36 -1.19 หลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 8 16.46 2.21 16.68 *p < .05 2.69 -1.36 2.21 จากตารางที่ 6 พบว่า ค่าเฉลี่ยดชั นมี วลกาย (BMI) ของกล่มุ ทดลองก่อนการฝึกออกกาลังกาย ด้วยเชิงมวยไทย และหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน โดยค่าเฉล่ียดัชนีมวลกายและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 16.46, 2.69 และ 16.59, 2.36 ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยระหว่างหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสปั ดาห์ที่ 4 กับหลังการฝึกออก กาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน โดยค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายและส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 16.59, 2.35 และ 16.68, 2.21 ตามลาดับ และในการเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยระหว่างก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย กับหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวย
91 ไทยสัปดาหท์ ี่ 8 มีค่าเฉล่ียไม่แตกต่างกัน โดยค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน มีค่า เท่ากบั 16.46, 2.69 และ 16.68, 2.21 ตามลาดบั คา่ ดัชนีมวลกาย BMI 16.7 เซนติเมตร/ตารางเมตร 16.65 16.68 16.6 16.55 16.59 16.5 16.45 16.46 16.4 16.35 ก่อนการฝึก หลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี หลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 48 ภาพประกอบท่ี 72 การเปรียบเทียบค่าเฉลยี่ ของค่าดชั นมี วลกาย (BMI) ก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วย เชงิ มวยไทย หลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 4 และหลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่มทดลอง จากภาพประกอบที่ 72 การเปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยของค่าดชั นมี วลกาย (BMI) กอ่ นการฝกึ ออก กาลงั กายด้วยเชิงมวยไทย หลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 4 และหลังการฝึกสปั ดาห์ท่ี 8 ของกลมุ่ ทดลอง พบว่า กอ่ นการฝึกมีคา่ เฉล่ียเท่ากับ 16.46 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 16.59 และหลังการฝึก สปั ดาห์ท่ี 8 มีคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 16.68 ตามลาดับ ดังนั้น จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกอ่ น การฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉล่ียของค่าดัชนีมวล กาย (BMI) ในการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และสัปดาห์ที่ 8 มีค่า เพ่ิมขึ้นตามลาดับ
92 1.2 ด้านความอ่อนตวั ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย (mean) ของสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว ก่อนการฝึก ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกับหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 ระหว่างหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กับหลังการฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 และระหว่างกอ่ นการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกับหลัง การฝึกสปั ดาห์ที่ 8 ของกลุ่มทดลอง ความอ่อนตวั X S.D. t Sig. กอ่ นการฝกึ .000 หลงั การฝึกสัปดาห์ที่ 4 7.63 4.55 -13.10* 10.20 3.78 หลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 10.20 3.78 -2.80* .009 หลังการฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 10.47 3.43 กอ่ นการฝกึ 7.63 4.55 -10.95* .000 หลังการฝกึ สปั ดาหท์ ี่ 8 10.47 3.43 *p < .05 จากตารางท่ี 7 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวของกลุ่มทดลองก่อนการฝึกออก กาลังกายด้วยเชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยและ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 7.63, 4.55 และ 10.20, 3.78 ตามลาดบั จะเหน็ ไดว้ า่ หลงั การฝึกออก กาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉล่ียด้านความอ่อนตัวที่ดีกว่าก่อนการฝึก แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ระหว่างหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 กบั หลังการฝกึ ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาหท์ ่ี 8 มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 10.20, 3.78 และ 10.47, 3.43 ตามลาดับ แสดงให้เห็นว่าหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย สัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ยี ด้านความอ่อนตัวทีด่ ีกว่าหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 ซ่ึงแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และระหว่างก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิง มวยไทยกับหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าเฉล่ียด้านความอ่อนตัวและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานก่อนการฝึก ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเท่ากับ 7.63, 4.55 และ 10.47, 3.43 ตามลาดบั
93 ความอ่อนตัว 12 10 10.2 10.47 เซนติเมตร 8 6 7.63 4 2 0 กอ่ นการฝึก หลงั การฝกึ สปั ดาหท์ ่ี 4 หลงั การฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 ภาพประกอบที่ 73 การเปรยี บเทียบค่าเฉลี่ยด้านความออ่ นตัว ก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิง มวยไทย หลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 8 ของกล่มุ ทดลอง จากภาพประกอบท่ี 73 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว ก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของ กลมุ่ ทดลอง พบว่า ก่อนการฝกึ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.63 หลงั การฝกึ สัปดาหท์ ี่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 10.20 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 10.47 ตามลาดับ ดังนั้น จากการฝกึ ออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทย หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ยของ สมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีความสามารถท่ีดีกว่าก่อนการฝึก และหลงั ฝกึ สปั ดาห์ที่ 4
94 1.3 ด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนือ้ แขนและกล้ามเนอื้ ส่วนบน ตารางท่ี 8 การเปรยี บเทยี บค่าเฉล่ยี (Mean) ของสมรรถภาพทางกายดา้ นความแขง็ แรงและความ อดทนของกลา้ มเนอื้ แขนและกลา้ มเนื้อสว่ นบน กอ่ นการฝกึ ออกกาลงั กายด้วยเชิงมวย ไทยกับหลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 4 ระหว่างหลงั การฝกึ สปั ดาหท์ ี่ 4 กับหลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 และระหว่างก่อนการฝกึ ออกกาลังกายด้วยเชงิ มวยไทยกบั หลงั การฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลมุ่ ทดลอง ความแขง็ แรงและความ X S.D. t Sig. อดทนของกลา้ มเนื้อแขน และกลา้ มเนือ้ ส่วนบน 20.83 5.76 -6.33* .000 กอ่ นการฝึก 24.23 4.77 .025 หลังการฝกึ สปั ดาหท์ ่ี 4 24.23 .000 หลังการฝึกสปั ดาหท์ ี่ 4 24.60 4.77 -2.36* หลังการฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 20.83 4.72 ก่อนการฝกึ 24.60 หลงั การฝึกสปั ดาหท์ ่ี 8 5.76 -6.62* 4.72 *p < .05 จากตารางท่ี 8 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ แขนและกล้ามเน้ือส่วนบนของกลุ่มทดลองก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกับหลังการฝึก ออกกาลงั กายดว้ ยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 20.83, 5.76 และ 24.23, 4.77 ตามลาดับ จะเห็นได้ว่า หลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 มี ค่าเฉลี่ยด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและกล้ามเน้ือส่วนบนที่ดีกว่าก่อนการ ฝกึ ซง่ึ แตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05 ระหว่างหลังการฝึกออกกาลังกายดว้ ยเชิงมวย ไทยสัปดาห์ท่ี 4 กบั หลงั การฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 8 มีคา่ เฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบน มาตรฐานเทา่ กับ 24.23, 4.77 และ 24.60, 4.72 ตามลาดบั แสดงให้เหน็ ว่าหลงั การฝึกออกกาลังกาย ด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและ กล้ามเนื้อส่วนบนที่ดีกว่าหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 ซึ่งแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และระหว่างก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกับหลังการฝึก ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 โดยค่าเฉลี่ยด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกล้าม เน้ือส่วนบนและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิง มวยไทยสัปดาหท์ ี่ 8 มีคา่ เทา่ กับ 20.83, 5.76 และ 24.60, 4.72 ตามลาดบั
95 ความแขง็ แรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อแขนและกล้ามเน้อื ส่วนบน 25 24 24.23 24.60 23 คร้ัง 22 21 20 20.83 19 18 ก่อนการฝึก หลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 4 หลงั การฝึกสปั ดาหท์ ี่ 8 ภาพประกอบท่ี 74 การเปรียบเทยี บค่าเฉลีย่ ของสมรรถภาพทางกายด้านความแขง็ แรงและความ อดทนของกล้ามเนือ้ แขนและกลา้ มเน้ือสว่ นบน ก่อนการฝึกออกกาลังกายดว้ ย เชิงมวยไทย หลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลมุ่ ทดลอง จากภาพประกอบท่ี 74 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรง และความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกล้ามเนื้อส่วนบน ก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 20.83 สัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.23 และสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.60 ตามลาดับ ดังนั้น จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย แสดงให้เห็นว่าค่าเฉล่ียของสมรรถภาพ ทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกล้ามเน้ือส่วนบน หลังการฝึก สปั ดาหท์ ี่ 8 มีความสามารถทด่ี กี ว่ากอ่ นการฝกึ และหลังการฝกึ สปั ดาหท์ ี่ 4
96 1.4 ด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้อื หน้าทอ้ ง ตารางที่ 9 การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลีย่ (Mean) ของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความ อดทนของกล้ามเนือ้ หน้าท้อง ก่อนการฝึกออกกาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยกบั หลังการฝกึ สปั ดาหท์ ี่ 4 ระหว่างหลังการฝึกสปั ดาหท์ ี่ 4 กบั หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 และระหว่างก่อน การฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยกบั หลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 8 ของกล่มุ ทดลอง ความแขง็ แรงและ X S.D. t Sig. ความอดทนของกล้ามเน้อื 29.07 8.99 -7.71* .000 หนา้ ทอ้ ง 35.07 7.04 .046 กอ่ นการฝึก 35.07 .000 หลงั การฝกึ สัปดาห์ท่ี 4 36.93 7.04 -10.91* หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 29.07 7.14 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 36.93 กอ่ นการฝึก 8.99 -9.86* หลังการฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 7.14 *p < .05 จากตารางที่ 9 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ หน้าทอ้ งของกลุ่มทดลองกอ่ นการฝกึ ออกกาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 มคี ่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 29.07, 8.99 และ 35.07, 7.04 ตามลาดับ จะเห็นได้ว่า หลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉล่ียด้านความ แข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนอื้ หนา้ ท้องทด่ี ีกว่ากอ่ นการฝึก ซง่ึ แตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ระหว่างหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกออก กาลังกายดว้ ยเชิงมวยไทยสปั ดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลย่ี แตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 โดย มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 35.07, 7.04 และ 36.93, 7.14 ตามลาดับ และระหว่าง ก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยค่าเฉล่ียด้านความแข็งแรงและความ อดทนของกล้ามเน้ือหน้าท้องและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย และหลงั การฝกึ ออกกาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาหท์ ี่ 8 มคี า่ เทา่ กับ 29.07, 8.99 และ 36.93, 7.14 ตามลาดบั
97 ความแขง็ แรงและความอดทนของกล้ามเนื้อท้อง 40 35.07 36.93 คร้ัง 30 29.07 20 10 0 กอ่ นการฝกึ หลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 4 หลงั การฝกึ สัปดาหท์ ี่ 8 ภาพประกอบที่ 75 การเปรียบเทยี บค่าเฉล่ียของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและ ความอดทนของกลา้ มเนื้อหนา้ ทอ้ ง กอ่ นการฝึกออกกาลงั กายด้วยเชงิ มวยไทย หลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 8 จากภาพประกอบที่ 75 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรง และความอดทนของกล้ามเน้ือหน้าท้อง ในการฝึกออกกาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝกึ หลังการ ฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 29.07 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 35.07 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 36.93 ตามลาดับ ดังน้ัน จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย แสดงให้เห็นว่าค่าเฉล่ียของ สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อหน้าท้องหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มคี วามสามารถที่ดกี ว่ากอ่ นการฝึก และหลงั การฝกึ สปั ดาหท์ ี่ 4
98 1.5 ด้านความอดทนของระบบหวั ใจและระบบไหลเวียนเลือด ตารางที่ 10 การเปรียบเทียบคา่ เฉล่ีย (Mean) ของสมรรถภาพทางกายดา้ นความอดทนของระบบ หัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ก่อนการฝึกออกกาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยกับหลงั การฝึก สัปดาห์ที่ 4 ระหว่างหลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 4 กับหลงั การฝึกสปั ดาห์ท่ี 8 และระหว่างกอ่ น การฝกึ ออกกาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยกับหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่มทดลอง ความอดทนของระบบหวั ใจ X S.D. t Sig. และระบบไหลเวยี นเลือด .000 .000 กอ่ นการฝกึ 149.20 36.53 -5.24* .000 หลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 165.77 43.63 หลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 4 165.77 43.63 -4.15* หลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 8 168.77 43.45 ก่อนการฝกึ 149.20 36.53 -5.79* หลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 168.77 43.45 *p < .05 จากตารางท่ี 10 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบ ไหลเวยี นเลือดของกลุม่ ทดลองกอ่ นการฝกึ ออกกาลังกายด้วยเชงิ มวยไทยกับหลังการฝึกออกกาลังกาย ด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 149.20, 36.53 และ 165.77, 43.63 ตามลาดับ จะเห็นได้ว่า หลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 มี ค่าเฉล่ียด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือดที่ดีกว่าก่อนการฝึก ซ่ึงแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ระหว่างหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 4 กบั หลงั การฝกึ ออกกาลังกายด้วยเชงิ มวยไทยสปั ดาหท์ ่ี 8 มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 165.77, 43.63 และ 168.77, 43.45 ตามลาดับ แสดงให้เห็นวา่ หลงั การฝกึ ออกกาลังกายด้วยเชิงมวย ไทยสปั ดาห์ที่ 8 มคี ่าเฉล่ียดา้ นความอดทนของระบบหวั ใจและระบบไหลเวียนเลือดท่ีดกี ว่าหลงั การฝึก ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ที่ 4 ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ ระหว่างก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย สัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าเฉล่ียด้านความอดทน ของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือดและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนการฝึกออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทยและหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเท่ากับ 149.20, 36.53 และ 168.77, 43.45 ตามลาดบั
คร้ัง 99 ความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด 175 170 165 168.77 160 165.77 155 150 145 149.2 140 135 กอ่ นการฝกึ หลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 4หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ภาพประกอบที่ 76 การเปรยี บเทียบค่าเฉลยี่ ของสมรรถภาพทางกายดา้ นความอดทนของระบบหวั ใจ และระบบไหลเวียนเลอื ดในการฝกึ ออกกาลงั กายดว้ ยเชิงมวยไทยก่อนการฝกึ หลังการฝึกสปั ดาห์ท่ี 4 และหลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 8 ของกลุม่ ทดลอง จากภาพประกอบที่ 76 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้านความอดทน ของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ในการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝึก หลัง การฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 149.20 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 165.77 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 168.77 ตามลาดับ ดังน้ัน จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ย ของสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด หลังการฝึกสัปดาห์ ท่ี 8 มีความสามารถท่ีดกี วา่ ก่อนการฝกึ และหลงั การฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทยี บผลการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของ นักเรียนระดับประถมศึกษาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลงั การฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 การวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้เปรียบเทียบผลการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยท่ีมีต่อสมรรถภาพ ทางกายของนักเรียนระดบั ประถมศึกษา กอ่ นการฝกึ หลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และสปั ดาห์ท่ี 8 ดังน้ี 1. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย (Meanของสมรรถภาพทางกายระหว่างการฝึกการฝึก ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยของกลุ่มทดลองกบั การออกกาลังกายแบบปกติของกลุ่มควบคมุ กับ ท้งั 5 ดา้ น ดังน้ี
100 2.1 ด้านองค์ประกอบของรา่ งกาย ตารางท่ี 11 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย (Mean) ของค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ก่อนการฝึก หลังการฝึก สัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ระหว่างการฝึกออกกาลังกายของกลุ่มทดลอง กบั กลุ่มควบคุม ดัชนีมวลกาย (BMI) n X S.D. t Sig. ก่อนการฝึก กลุ่มทดลอง 30 16.46 2.69 1.94 .062 กลมุ่ ควบคุม 30 17.19 2.32 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 4 กลุ่มทดลอง 30 16.59 2.36 -1.71 .098 กลุ่มควบคมุ 30 17.19 2.32 หลงั การฝกึ สัปดาห์ท่ี 8 กลุ่มทดลอง 30 16.68 2.21 -1.54 .135 กลุ่มควบคุม 30 17.23 2.26 *p < .05 จากตารางท่ี 11 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านค่าดัชนีมวลกายก่อนการฝึกออกกาลังกาย กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.46 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.69 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 17.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.32 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 16.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.35 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 17.19 ส่วน เบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 2.32 และหลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองมคี ่าเฉล่ียเทา่ กบั 16.68 สว่ น เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.26 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.23 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.26 แสดงให้เห็นว่าสมรรถภาพทางกายด้านค่าดัชนีมวลกายของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี ค่าเฉลีย่ ทไี่ มแ่ ตกต่างกนั
101 คา่ ดัชนมี วลกาย BMI 17.4 กิโลกรัม/ตารางเมตร 17.2 17.19 17.23 17.19 17 16.8 16.6 16.59 16.68 16.4 16.46 16.2 16 ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 หลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม ภาพประกอบท่ี 77 การเปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยของคา่ ดัชนีมวลกาย (BMI) กอ่ นการฝึก หลงั การฝึก สปั ดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 ระหว่างการฝึกออกกาลงั กายดว้ ยเชิง มวยไทยของกลมุ่ ทดลองกบั การออกกาลังกายแบบปกติของกลมุ่ ควบคุม จากภาพประกอบที่ 77 การเปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ยของคา่ ดัชนมี วลกาย (BMI) ก่อนการฝกึ หลัง การฝึกสปั ดาห์ที่ 4 และหลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 พบวา่ กลุม่ ควบคุมก่อนการฝึกมคี า่ เฉลยี่ เทา่ กบั 17.19 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.19 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 17.23 ตามลาดับ และกลุ่มทดลองก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.46 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉลี่ย เท่ากบั 16.59 และหลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ 16.68 ตามลาดบั ดังนนั้ จากการฝึกออก กาลงั กายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝึก หลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 4 และหลังการฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 และการฝึก ออกกาลงั กายแบบปกติ แสดงใหเ้ หน็ วา่ คา่ ดชั นีมวลกาย (BMI) มคี ่าเฉลย่ี ทเี่ พิม่ ขึ้น
102 3.2 ดา้ นความออ่ นตวั ตารางที่ 12 การเปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ย (Mean) ของสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ระหว่างการฝึกออกกาลังกายของ กลุ่มทดลองกบั กลมุ่ ควบคมุ ความอ่อนตวั n X S.D. t Sig. ก่อนการฝกึ 30 7.63 4.55 -0.60 .550 กลุ่มทดลอง 30 7.20 4.23 กลุ่มควบคุม 30 10.20 3.78 -3.72* .001 หลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 4 30 8.10 3.35 กล่มุ ทดลอง กลุม่ ควบคุม 30 10.47 3.43 -4.30* .000 30 8.17 3.27 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลอง กลมุ่ ควบคุม *p < .05 จากตารางท่ี 12 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว ก่อนการฝึกออกกาลังกายของ กลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคุมมีค่าเฉลี่ยไมแ่ ตกตา่ งกนั โดยมคี ่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.63, 4.55 และ 7.20, 4.23 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียที่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยมีค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10.20, 3.78และ8.10, 3.35 ตามลาดับ และหลังการฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มคี ่าเฉล่ียท่ีแตกต่างกันทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยมีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10.47, 3.43และ8.17, 3.27 ตามลาดับ
103 ดา้ นความอ่อนตวั 12 เซนติเมตร 10 10.2 10.47 8.1 8.17 8 6 7.63 7.2 4 2 0 หลงั การฝกึ สปั ดาห์ที่ 4 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 8 กอ่ นการฝึก กลุ่มทดลอง กล่มุ ควบคมุ ภาพประกอบท่ี 78 การเปรียบเทียบคา่ เฉล่ยี ของสมรรถภาพทางกายด้านความออ่ นตัวก่อนการฝึก หลงั การฝกึ สัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝกึ สปั ดาหท์ ่ี 8 ระหวา่ งการฝกึ ออกกาลังกาย ของกลุ่มทดลองกบั กลมุ่ ควบคมุ จากภาพประกอบท่ี 78 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 พบว่า กลุ่มทดลองก่อนการฝึกมี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 7.63 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.20 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.47 และกลุ่มควบคุมก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.20 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มี ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 8.10 และหลงั การฝึกสปั ดาหท์ ่ี 8 มีค่าเฉลยี่ เท่ากับ 8.17 ตามลาดบั ดงั น้นั จากการฝึก ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 แสดงให้เห็นว่า ค่าเฉลยี่ ของสมรรถภาพทางกายดา้ นความอ่อนตวั ดีกว่าการฝกึ ออกกาลงั กายแบบปกติ
104 3.3 ด้านความแขง็ แรงและความอดทนของกลา้ มเน้ือแขนและกล้ามเนื้อสว่ นบน ตารางที่ 13 การเปรียบเทยี บค่าเฉลี่ย (Mean) ของสมรรถภาพทางกายด้านความแขง็ แรงและความ อดทนของกล้ามเน้ือแขนและกลา้ มเนอ้ื สว่ นบน ก่อนการฝกึ หลงั การฝึกสปั ดาหท์ ่ี 4 และ หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ระหวา่ งการฝึกออกกาลงั กายของกลมุ่ ทดลองกับกลุม่ ควบคมุ ความแข็งแรงและความอดทน n X S.D. t Sig. ของกล้ามเนือ้ แขนและกลา้ มเนื้อ 30 20.83 5.76 -0.39 .699 สว่ นบน 30 20.47 5.97 ก่อนการฝึก 30 24.23 4.77 -3.15* .004 กล่มุ ทดลอง 30 21.50 5.99 กลุ่มควบคุม 30 24.60 4.72 -3.47* .002 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 4 30 21.67 5.75 กลุ่มทดลอง กลมุ่ ควบคมุ หลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลอง กลมุ่ ควบคุม *p < .05 จากตารางท่ี 13 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของ กล้ามเนื้อแขนและกล้ามเนื้อส่วนบนก่อนการฝึกออกกาลังกายกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ย ไม่แตกต่างกัน โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 20.83, 5.76 และ 20.47, 5.98 ตามลาดับ หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กลุม่ ทดลองและกลมุ่ ควบคุมมคี ่าเฉล่ียแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญ ทางสถิติท่ีระดบั .05 โดยมคี ่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 24.23, 4.77 และ 21.50, 5.99 ตามลาดับ และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยมีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 24.60, 4.72 และ 21.67, 5.75 ตามลาดับ
105 ดา้ นความแขง็ แรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกลา้ มเนอ้ื สว่ นบน 30 25 24.23 24.6 21.5 21.67 20 คร้ัง 20.83 20.47 15 10 5 0 หลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 4 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กอ่ นการฝกึ กลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคุม ภาพประกอบท่ี 79 การเปรียบเทยี บค่าเฉล่ยี ของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความ อดทนของกลา้ มเนื้อแขนและกลา้ มเนื้อส่วนบนก่อนการฝึก หลงั การฝกึ สปั ดาหท์ ี่ 4 และหลงั การฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 ระหวา่ งการฝกึ ออกกาลงั กายของกลุม่ ทดลองกับ กลุม่ ควบคุม จากภาพประกอบท่ี 79 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรง และความอดทนของกล้ามเนื้อแขนและกล้ามเนื้อส่วนบน ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และ หลังการฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 พบวา่ กล่มุ ทดลองก่อนการฝกึ มีคา่ เฉล่ยี เท่ากบั 20.83 หลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.23 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.60 และกลุ่มควบคุมก่อน การฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.47 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.50 และหลังการฝึก สัปดาห์ท่ี 8 มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ 21.67 ตามลาดบั ดงั นนั้ จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลัง การฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้าน ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกล้ามเนื้อส่วนบน ดีกว่าการฝึกออกกาลังกาย แบบปกติ
106 3.4 ด้านความแขง็ แรงและความอดทนของกลา้ มเน้ือหน้าทอ้ ง ตารางท่ี 14 การเปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี (Mean) ของสมรรถภาพทางกายดา้ นความแขง็ แรงและความ อดทนของกลา้ มเนอ้ื หน้าทอ้ ง ก่อนการฝกึ หลงั การฝกึ สปั ดาห์ท่ี 4 และหลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 8 ระหว่างการฝึกออกกาลังกายของกลุ่มทดลองกบั กลุ่มควบคุม ความแขง็ แรงและความอดทน n X S.D. t Sig. ของกลา้ มเนอื้ หน้าท้อง กอ่ นการฝกึ กลุ่มทดลอง 30 29.07 8.99 -0.67 .508 กลุ่มควบคมุ 30 29.70 7.68 หลงั การฝึกสัปดาหท์ ี่ 4 กลุ่มทดลอง 30 35.07 7.04 -5.00* .032 กลมุ่ ควบคุม 30 30.67 7.75 หลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 8 กลมุ่ ทดลอง 30 36.93 7.14 -7.37* .021 กลมุ่ ควบคุม 30 30.93 7.68 *p < .05 จากตารางท่ี 14 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ หน้าท้องก่อนการฝึก ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยที่ไม่แตกต่างกัน โดยมีค่าเฉล่ียและ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานดงั น้ี กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ยี เท่ากบั 29.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 8.99 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.70 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.68 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กล่มุ ทดลองมีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 35.07สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.04 กลุม่ ควบคุมมคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 30.67 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.75 และหลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ 36.93 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.14 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 30.93 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากับ 7.68 ตามลาดับ ซ่ึงพบว่า หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของ กลุม่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ มคี า่ เฉลย่ี ทแ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .05
107 ดา้ นความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนอ้ื หนา้ ทอ้ ง 40 35.07 36.93 35 30.67 30.93 30 คร้ัง 25 29.07 29.7 20 15 หลังการฝึกสัปดาหท์ ่ี 4 หลงั การฝกึ สปั ดาห์ท่ี 8 10 5 0 ก่อนการฝกึ กลุม่ ทดลอง กลุ่มควบคุม ภาพประกอบท่ี 80 การเปรยี บเทยี บค่าเฉลยี่ ของสมรรถภาพทางกายด้านความแขง็ แรงและความ อดทนของกล้ามเน้อื หนา้ ทอ้ งก่อนการฝกึ หลงั การฝกึ สัปดาหท์ ี่ 4 และสปั ดาหท์ ่ี 8 ระหวา่ งการฝึกออกกาลังของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคมุ จากภาพประกอบที่ 80 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรง และความอดทนของกล้ามเน้อื หนา้ ทอ้ ง ก่อนการฝกึ หลังการฝกึ สปั ดาหท์ ่ี 4 และหลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 8 พบว่า กลุ่มทดลองก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.07 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 35.07 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 36.93 ตามลาดับกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.70 หลงั การฝึกสัปดาห์ที่ 4 มคี ่าเฉลีย่ เท่ากับ 30.67 และหลังการฝกึ สัปดาหท์ ่ี 8 มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 30.93 ตามลาดับ ดังนั้น จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลังการฝึก สัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉล่ียของสมรรถภาพทางกายด้านความ แข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้อื หนา้ ท้องดีกว่าการฝึกออกกาลงั กายแบบปกติ
108 3.5 ด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลอื ด ตารางท่ี 15 การเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย (Mean) ของสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบ หัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึก สัปดาหท์ ี่ 8 ระหวา่ งการฝึกออกกาลงั กายของกลมุ่ ทดลองกบั กล่มุ ควบคมุ ความอดทนของระบบหัวใจและ n X S.D. t Sig. ระบบไหลเวียนเลือด .560 30 149.20 36.53 -0.59 .000 ก่อนการฝกึ 30 147.27 30.11 .000 กลุ่มทดลอง กลมุ่ ควบคมุ 30 165.77 43.63 -4.52* 30 147.30 29.96 หลงั การฝกึ สัปดาหท์ ่ี 4 กลมุ่ ทดลอง 30 168.77 43.45 -5.09* กล่มุ ควบคมุ 30 147.70 29.05 หลังการฝกึ สัปดาห์ท่ี 8 กล่มุ ทดลอง กลมุ่ ควบคุม *p < .05 จากตารางที่ 15 พบว่า สมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบ ไหลเวียนเลือดกอ่ นการฝกึ ออกกาลังกายกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีคา่ เฉล่ียทไ่ี ม่แตกต่างกนั โดยมี คา่ เฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 149.20, 36.53 และ 147.27, 30.11 ตามลาดับ หลังการ ฝึกสัปดาห์ที่ 4 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยมีค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 165.77, 43.63 และ 147.30, 29.96 ตามลาดับ และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิตทิ ีร่ ะดบั .05 โดยมคี า่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 168.77, 43.45และ147.70, 29.05 ตามลาดับ
109 ดา้ นความอดทนของระบบหวั ใจและระบบไหลเวยี นเลือด 175 170 165 168.77 165.77 160 คร้ัง 155 150 147.3 147.7 145 149.2 147.27 140 135 หลังการฝึกสปั ดาหท์ ่ี 4 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 กอ่ นการฝึก กลุ่มทดลอง กล่มุ ควบคมุ ภาพประกอบท่ี 81 การเปรียบเทียบค่าเฉลยี่ ของสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหวั ใจ และระบบไหลเวียนเลอื ดก่อนการฝึก หลังการฝึกสปั ดาห์ท่ี 4 และหลงั การฝึก สปั ดาหท์ ี่ 8 ระหวา่ งการฝึกออกกาลังกายของกลุ่มทดลองกับกล่มุ ควบคุม จากภาพประกอบที่ 81 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้านความอดทน ของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ก่อนการฝึก หลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสปั ดาห์ ที่ 8 พบว่า กลมุ่ ทดลองกอ่ นการฝึกมคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 149.20 หลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 4 มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 165.77 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 168.77 ตามลาดับ และกลุ่มควบคุมก่อนการ ฝึกมคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 147.27 หลังการฝึกสปั ดาห์ท่ี 4 มคี ่าเฉลย่ี เท่ากบั 147.30 และหลังการฝึกสปั ดาห์ ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 147.70 ตามลาดับ ดังน้ัน จากการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย หลังการ ฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ยของสมรรถภาพทางกายด้าน ความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลอื ดดีกว่าการฝึกออกกาลังกายแบบปกติ
110 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยเร่ือง ผลการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยท่ีมีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ระดบั ประถมศึกษา ผู้วจิ ยั ได้สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ โดยมลี าดบั การนาเสนอ ดงั น้ี สรุปผลการวิจยั การวิจัยเร่ืองผลของการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของ นกั เรียนระดับประถมศกึ ษา ผู้วจิ ยั ได้สรปุ ผลการวิจัย โดยมีลาดับการนาเสนอ ดงั นี้ 1. ผลของการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยทมี่ ีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นระดับ ประถมศึกษา ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 และหลังฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่มตัวอย่าง มดี ังนี้ 1.1. กลุ่มทดลอง 1.1.1 สมรรถภาพทางกาย 1.1.1.1 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ในการฝึกการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝึกมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.69 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.36 และหลังการฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 16.68 ส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.21 ตามลาดบั ซงึ่ ผลเทยี บเกณฑ์อย่รู ะหว่าง ผอม ถงึ ท้วม 1.1.1.2 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของสมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัวในการฝึกการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 7.63 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.55 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.78 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 10.47 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.43 ซ่ึงผลเทียบเกณฑ์อยู่ในระดับ ปานกลาง, ปาน กลาง, และ ปานกลาง ตามลาดบั 1.1.1.3 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและ กล้ามเน้ือส่วนบน ในการฝึกการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 20.83 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5.76 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.23 ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากับ 4.77 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 24.60 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.72 ซง่ึ ผลเทียบเกณฑอ์ ยู่ในระดับ ปานกลาง, ดี, และ ดี ตามลาดับ 1.1.1.4 กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ีย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนื้อหนา้ ท้อง ในการ ฝึกการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 29.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 8.99 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 35.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.04
111 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 36.93 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.14 ซ่งึ ผลเทียบ เกณฑ์อยู่ในระดบั ดี, ดมี าก และ ดีมาก ตามลาดับ 1.1.1.5 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือดในการ ฝึกการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 149.20 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 36.53 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 165.77 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 43.63 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 168.77 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 43.45 ซึ่งผลเทยี บเกณฑอ์ ยู่ในระดับ ดี, ดี และ ดี ตามลาดบั 2. การเปรียบเทียบผลการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของ นักเรียนระดับประถมศึกษาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มดี ังนี้ 2.1 สมรรถภาพทางกาย 2.1.1 ค่าเฉล่ีย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของค่าดัชนี มวลกาย (BMI) ของกลุ่มทดลองก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.69 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.36 และหลัง การฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.68 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.21 และกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 17.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.32 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 17.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.32 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 17.23 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.26 ตามลาดับ เมื่อนาไปทดสอบค่าความแตกต่าง พบวา่ ไมแ่ ตกต่างกัน 2.1.2 ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของ สมรรถภาพทางกายด้านความอ่อนตัว ก่อนการฝึกออกกาลังกายของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.63, 4.55 และ 7.20, 4.23 ซ่ึงมีค่าเฉล่ียไม่แตกต่างกัน หลังการฝึกสปั ดาหท์ ่ี 4 ของกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ มีคา่ เฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 10.20, 3.78 และ 8.10, 3.35 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มี ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10.47, 3.43 และ 8.10, 3.35 ตามลาดับ เม่ือนาไป ทดสอบคา่ ความแตกตา่ ง พบว่า มคี ่าเฉลย่ี ที่แตกตา่ งกนั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 2.1.3 ค่าเฉล่ีย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของ สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและกล้ามเน้ือส่วนบนก่อน การฝึก ออกกาลังกายกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 20.83, 5.76 และ 20.47, 5.97 ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 ของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม มีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 24.23, 4.77 และ 21.50, 5.99 และ หลงั การฝึกสัปดาห์ที่ 8 ของกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ มคี ่าเฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 24.60, 4.72และ21.67, 5.75 ตามลาดับ เมื่อนาไปทดสอบค่าความแตกต่าง พบว่า มีค่าเฉลี่ยท่ี แตกต่างกันทางสถิตทิ ่ีระดบั .05
112 2.1.4 ค่าเฉล่ีย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของ สมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือหน้าท้อง ก่อนการฝึก ของกลุ่ม ทดลองและกลมุ่ ควบคุม มีคา่ เฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 29.07, 8.99 และ 29.70, 7.68 ซ่ึงมีค่าเฉล่ียไม่แตกต่างกัน หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 35.07, 7.04 และ 30.67, 7.75 และหลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม มีคา่ เฉล่ียและส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 36.93, 7.14 และ 30.93, 7.68 ตามลาดบั เมื่อนาไปทดสอบคา่ ความแตกต่าง พบว่า มีค่าเฉลี่ยทแี่ ตกต่างกนั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 2.1.5 ค่าเฉล่ีย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของ สมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ก่อนการฝึกของกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 149.20, 36.53 และ 147.27, 30.11 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มี ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 165.77, 43.63 และ 147.30, 29.96 และหลังการฝึก สัปดาห์ที่ 8 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 168.77, 43.45 และ 147.70, 29.05 ตามลาดับ เมื่อนาไปทดสอบค่าความแตกต่าง พบว่า มีคา่ เฉลยี่ ทแ่ี ตกตา่ ง กนั ทางสถิติทีร่ ะดับ .05 อภิปรายผลการวจิ ยั จากสรุปผลการวิจัยเรื่องการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยท่ีมีต่อสมรรถภาพทางกายของ นกั เรียนระดับประถมศึกษา สามารถอภปิ รายผลการวจิ ยั ได้ดังน้ี 1.ผลของการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยของนักเรียนระดับประถมศึกษา พบว่า สมรรถภาพทางกาย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านองค์ประกอบของร่างกาย มีค่าดัชนีมวลกายมีค่าเฉล่ียอยู่ ระหว่าง ผอม ถึง ท้วม ซึ่งเม่ือนาไปทดสอบค่าความแตกต่าง พบว่าไม่แตกต่างกัน อันมีผลมาจากตัว แปรที่ไม่สามรถควบคุมได้คือการเจริญเติบโตทางร่างกายของเด็กในวัยแรกรุ่น ดังท่ี ศศิวรา บุญรัศมี และ เทอดพงศ์ ทองศรีราช (2559, 13) กล่าวว่าเด็กในชว่ งวัยน้ีน้าหนักเพมิ่ ขึน้ 3-3.5 กโิ ลกรัม ต่อปี ส่วนสูงเพ่ิมข้ึน 6-7 เซนติเมตรต่อปี รอบศีรษะเพ่ิมขึ้น 2-3 เซนติเมตรตลอดท้ังช่วงอายุ 6-10 ปี สอดคล้องกับ เกียรติธนพัฒน์ หิมหงษ์ (2560) กล่าวว่า วัยแรกรุ่นอายุ 10-13 ปี การเปล่ียนแปลง ทางดา้ นร่างกายของวยั แรกรนุ่ จะเจริญเตบิ โตอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 10-13 ปี และจะลดอตั ราการ เจริญเติบโตเม่ือเข้าสู้วัยรุ่นตอนกลาง สิ่งสาคัญในการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายได้แก่ ขนาดของ รา่ งกาย การเปลี่ยนแปลงของกระดูก การเปล่ียนแปลงของไขมันและกล้ามเน้ือและการเปล่ียนแปลง ของโครงสร้างใบหน้า 2) ด้านความอ่อนตัว 3) ด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขน และกล้ามเน้ือส่วนบน 4) ด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือหน้าท้อง และ 5) ด้าน ความอดทนของระบบหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ซ่ึงในหลังการฝึกออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทย มคี ่าเฉล่ียงสูงกว่ากอ่ นการฝึกออกกาลังกาย ทัง้ นี้เปน็ เพราะการออกกาลงั กายด้วยเชงิ มวยไทยเป็นการ ออกกาลังกายท่ีทาให้ร่างกายของนักเรียนได้พัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความแข็งแรง ความอ่อน ตัว ความอดทนของกล้ามเน้ือ รวมทัง้ อวัยวะที่เกย่ี วข้องกับระบบไหลเวยี นเลือดและระบบหายใจใหไ้ ด้ ทางานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ทาให้สมรรถภาพทางกายของนกั เรียนมีพฒั นาการทางสมรรถภาพทาง
113 กายเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สาราญ สุขแสวง (2562, 20) กล่าวว่า การออกกาลัง ด้วยศิลปะมวยไทยเชิงมวยก็สามารถทาให้สมรรถภาพทางกายมีการพัฒนาขึ้นได้ และจะสามารถทา ให้ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ แตท่ ้ังนกี้ ารออกกาลังกายจะต้อง คานึงถึงหลักการออกกาลังท่ีเหมาะสมกับอายุด้วย เช่น กิจกรรมการออกกาลังกาย ความหนัก ระยะเวลาของการพัก และสิ่งสาคัญคือ ความปลอดภัยต่อผู้ออกกาลังกาย ดังนั้น หลักการกาลังกาย จะช่วยให้การพัฒนาสมรรถภาพทางกายหลังการออกกาลังกายได้ สอดคล้องกับ สุทธิพงศ์ ภูเก้าแก้ว (2559, 10) ท่ีได้ศกึ ษาการเปรยี บเทียบผลของการฝึกกายบริหารด้วยแม่ไม้มวยไทยและลกู ไม้มวยไทย ทมี่ ีผลต่อสมรรถภาพทางกาย พบว่า สมรรถภาพทางกายทางกายหลังการฝึกมีค่าเฉล่ียสูงกว่าก่อนฝึก ทาให้สมรรถภาพทายกายทั้ง 5 ด้าน มีการพัฒนาข้ึนประกอบไปด้วย 1) ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ท้อง 2) ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา 3) ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ และ 4) ความอ่อนตัวและการทรงตัว ผลการเปรียบเทียบภายในกลุ่ม ก่อนการฝึก หลังการฝึก สัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เนื่องจาก การฝึกกายบริหารด้วยแม่ไม้มวยไทยและลูกไม้มวยไทยทาให้สมรรถภาพทางกายมีการพัฒนาเพ่ิมขึ้น ดังน้ัน การออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยของนักเรียนระดับประถมศึกษา จะเห็นได้ว่ามีความ สอดคล้องที่จะไปพัฒนาสมรรถภาพทางกายท่ีสาคัญของนักเรียนที่สาคัญตามอายุท่ีจะทาให้นักเรียน เกิดพัฒนาตามวัยที่เหมาะสม สอดคล้องกับ เทพฤทธิ์ สิทธินพพันธ์ (2555, 26) ได้ศึกษาการพัฒนา สมรรถภาพทางกายของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ตามแนวการทดสอบสมรรถภาพทางกายของ คณะกรรมการนานาชาติเพื่อจัดมาตรฐาน การทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย (ICSPFT) ผลการวิจัย พบว่า แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายประกอบไปด้วย 5 รายการ ได้แก่ 1) ว่ิง 50 เมตร 2) ยืน กระโดดไกล 3) ลุก-นั่ง 30 วินาที 4) น่ังงอตัวไปข้างหน้า และ 5) วิ่งเก็บของ ซึ่งหลังการจัดกิจกรรม พัฒนาสมรรถภาพทางกายตามแนวการทดสอบสมรรถภาพทางกายของคณะกรรมการนานาชาติเพ่ือ จัดมาตรฐานทาให้นักเรียนมีผลค่าเฉล่ียท่ีสูงกว่าก่อนการฝึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะกิจกรรมพัฒนา สมรรถภาพทางกายมีความเหมาะสมกับการพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียนช้ันชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 ทาให้นักเรยี นมพี ฒั นาการทางดา้ นสมรรถภาพทางกายมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลทีด่ ีข้นึ 2.ผลการเปรยี บเทียบผลการออกกาลังกายด้วยเชงิ มวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของ นักเรียนระดับประถมศึกษาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 8 พบว่า การออกกาลังกายดว้ ยเชิงมวยไทยและการออกกาลงั กายแบบปกติ ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกัน แต่หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 พบว่า การ ออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยมีค่าเฉลี่ยท่ีดีกวา่ การออกกาลังกายแบบปกติ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ท้ังนี้เป็นเพราะการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การ อบอุ่นร่างกาย 5 นาที 2) การออกกาลังกายด้วยท่าเชิงมวยไทย 20 นาที และ 3) การผ่อนคลาย 5 นาที นอกจากน้ีการออกกาลังด้วยเชิงมวยไทยเป็นการออกกาลังกายท่ีมีระยะเวลาการออกกาลังกาย ความหนักของกิจกรรม และท่าทางท่ีเหมาะสม จึงทาให้การออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยมีค่าเฉล่ีย ดีกว่าการออกกาลังกายแบบปกติ แสดงให้เห็นว่าการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสามารถนาไปใช้ กับนักเรยี นระดบั ประถมศึกษาได้จริงและมปี ระสิทธภิ าพ ซ่ึงสอดคล้องกบั แนวคดิ ของ ทิติภา ศรสี มัย , และคนอ่ืน ๆ (2560,750) ได้ศึกษาวจิ ัยเรื่อง ผลของการออกกาลังกายด้วยรามวยโบราณประยกุ ต์ต่อ
114 สมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุชาวไทย : การศึกษานาร่อง พบว่า สมรรถภาพในการออกกาลังกาย ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา การทรงตัว และคุณภาพชีวิตหลังการฝึกดีกว่าก่อนการฝึก อย่างมี นัยสาคัญ ซ่ึงมีโปรแกรมการออกกาลังกายประกอบด้วย 1) การอบอุ่นร่างกายและยืดเหยียด กล้ามเนื้อ 5 นาที 2) การออกกาลังกายด้วยรามวยโบราณประยุกต์ และ 3) ผ่อนคลายกล้ามเน้ือด้วย การยืดเหยียด 5 นาที เพราะการออกกาลังกายด้วยรามวยโบราณประยุกต์ เป็นการเคล่ือนไหวส่วน ต่าง ๆ ของร่างกาย มีการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การหดตัว คลายตัวของกล้ามเนื้อ เป็นการเพิ่มความ แข็งแรงของกลา้ มเน้อื นอกจากนี้ยงั มีเพลงประกอบจังหวะในการรามวยโบราณ ทาให้สมรรถภาพทาง กายมีการพัฒนาท่ีดีขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ สาราญ สุขแสวง (2562, 55) ท่ีได้ศึกษาเรื่องการพัฒนา รูปแบบการออกกาลังกายด้วยศิลปะมวยไทยเชิงมวยเพ่ือพัฒนาสมรรถภาพทางกายสาหรับผู้สูงอายุ โดยมรี ปู แบบการออกกาลงั กายแบ่งเปน็ 3 ช่วง เพื่อให้เหมาะกับการออกกาลังกายทถ่ี ูกต้องและความ เหมาะสมของผู้สูงอายุ ได้แก่ 1) ช่วงการร่ายราเพ่ือคารวะบูชาครู ใช้เวลา 5 นาที โดยออกกาลังกาย ด้วยท่ากายบริหารยืดเหยียดกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 2) ช่วงการออกกาลังกายแสดงท่า ศิลปะมวยไทยเชิงมวย ใช้เวลา 20 นาที และ 3) ช่วงการร่ายราเพือ่ ล่าลาครู ใช้เวลา 5 นาที โดยใช้ท่า ที่สามารถช่วยผ่อนคลายกล้ามเน้ือและช่วยระบายกรดแลคติกออกจากร่างกาย นอกจากน้ียังใหอ้ ัตรา การเต้นของหัวใจค่อย ๆ ปรับตัวลดลง ซึ่งเป็นผลดีต่อการช่วยระบายของเสียออกจากร่างกาย ทาให้ รา่ งกายฟื้นสภาพกลบั คืนส่สู ภาวะปกตไิ ด้เรว็ ขึน้ ข้อเสนอแนะ ในการวิจยั คร้งั น้ี ผู้วจิ ัยมขี ้อเสนอแนะในการนาเสนอผลวจิ ัย ดังน้ี 1. จากการวิจัยพบว่า ผลของการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยท่ีมีต่อสมรรถภาพทางกาย ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ในระยะเวลา 8 สัปดาห์ มีผลทาให้สมรรถภาพทางกายของกลุ่ม ทดลองพัฒนาข้ึนกว่ากิจกรรมการออกกาลังกายแบบปกติของกลุ่มควบคุม มีผลทาให้ความสามารถ ดา้ นสมรรถภาพทางกายของนักเรียนของกลมุ่ ทดลองพฒั นาเหน็ ผลได้อยา่ งชัดเจน 2. สถานศึกษาทีม่ ีการจัดการเรยี นการสอนมวยไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล ศกึ ษา ควรนาผลการวิจัยไปใช้พัฒนาหลกั สตู รและการเรยี นการสอนในวิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา ข้อเสนอแนะสาหรับการทาวจิ ัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการทดสอบการเปรียบเทียบผลของการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มีต่อ สมรรถภาพทางกายนักเรียนประถมศึกษากับกฬี าประเภทอื่นในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพล ศึกษา 2. ควรมีการนาไปพัฒนาเป็นกิจกรรมออกกาลังกายสาหรับนักเรียนระดับมัธยมหรือ ระดับอุดมศกึ ษาตามความเหมาะสม
. บรรณานกุ รม
117 บรรณานุกรม กรมพลศกึ ษา. (2556). ค่มู ือแบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสาหรับประชาชน ไทย อายุ 19-59 ปี. กรุงเทพฯ : ผูแ้ ต่ง. . (2560). แผนพฒั นาการกีฬาแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2560 -2564). กรงุ เทพฯ : ผูแ้ ต่ง. . (2562ก). คูม่ อื แบบทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย ของนักเรยี น ระดับประถมศึกษา อายุ 7-12 ป.ี กรงุ เทพฯ : ผู้แต่ง. . (2562ข). แบบทดสอบเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียน ระดบั ประถมศึกษาอายุ 6-12 ปี. กรงุ เทพฯ : ผูแ้ ต่ง. กรมวิชาการ. (2551) หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 2551. กรงุ เทพฯ : ผู้แต่ง. กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม. (2553). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ผูแ้ ต่ง. กรมอนามยั . (2556). คมู่ ือการส่งเสรมิ การออกกาลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง. กลุ ธดิ า เหมาเพ็ชร, คมกรชิ เชาวพ์ านชิ , และ พรเพญ็ ลาโพธ.์ิ (2555). พฤติกรรมการออกกาลังกาย ของบคุ ลากรมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน. กรงุ เทพฯ : สถาบนั วิจัย และพฒั นาแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. เกยี รตธิ นพัฒน์ หมิ หงษ์.(2562).การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวัยรุ่น. คน้ เมือ่ กรกฎาคม 25, 2562, จาก https://sites.google.com/a/surinarea1.go.th/keattanapat ขา่ วสานกั งานรัฐมนตรี. (2560). รมช.ศธ.เปิดโครงการสามัคคีสมั พันธส์ านฝันห้องเรียนกีฬา. ค้นเม่อื พฤษภาคม 1, 2563, จาก https://www.moe.go.th/websm/2017/oct/522.html คณะแพทย์ศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล. ศริ ริ าชฟิตเนสเซ็นเตอร.์ (2555). วธิ สี รา้ งเสรมิ สมรรถภาพทาง กาย. คน้ เม่ือ สงิ หาคม 31, 2563, จากhttps://www.si.mahidol.ac.th/th/division/hp h/admin/news_files/149_49_1.pdf จตรุ งค์ เหมรา. (2561). การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ฉลอง อภิวงค.์ (2554). พฤตกิ รรมการออกกาลังกายของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั หอการค้าไทย. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. ชมรมวิง่ บางขุนเทยี น. (2556). พฤตกิ รรมของมนุษยเ์ กีย่ วกับการออกกาลงั กาย. คน้ เม่ือ เมษายน 15, 2563, จาก https://www.facebook.com/BKTrunningclub/posts ชาญชยั ยมดษิ ฐ์, ตอ่ ศกั ด์ิ แก้วจรัสวิไล, วรยทุ ธ์ ทพิ ย์เท่ยี งแท้, จัตุชัย จาปาหอม, ธรี พล พบลาภ, รุ่งอรุณ สุทธพิ งษ์, และ วลิ าวัณย์ ไชยอ่อน. (2553). การสรา้ งสมรรถนะครูมวยไทย ABC License. ราชบรุ ี : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ . เชาวลิต ภมู ภิ าค, และ กัลยภฏั ร ศรไี พโรจน์. (2551). ูคม่ ือครูแผนการจัดการเรยี นูร้กูลม่ สาระการ เรียนูร้สขุ ศกึ ษาและ พลศกึ ษา. กรุงเทพฯ : วฒั นาพานชิ ตอ่ ศักด์ิ แก้วจรัสวไิ ล. (2559). การสร้างรปู แบบการออกกาลังกายดว้ ยศิลปะมวยไทยโบราณสาหรบั เยาวชน. วารสารศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลัยขอนแก่น, 39, 77-84.
118 บรรณานุกรม (ตอ่ ) ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์. (2560). ผลของโปรแกรมการฝกึ แบบวงจรดว้ ยกล่มุ เพื่อนทมี่ ตี ่อ สมรรถภาพทางกายของวยั ร่นุ หญิงทมี่ ีภาวะนาหนักเกนิ . วารสารวทิ ยาศาสตร์การกฬี าและ สขุ ภาพ, 18, 77-92. ถาวร กมทุ ศรี, อารมย์ ตรรี าช, อรวรรณ เจริญผล, สนิ ตยา ชดู า, วฒั นชยั หาทรพั ย์, และ นลินรตั น์ สมหวงั . (2562). เกณฑส์ มรรถภาพทางกายนักกีฬามหาวิทยาลยั แห่งประเทศไทย. วารสาร วิทยาศาสตร์การกฬี าและสุขภาพ, 19, 69-90. เทพฤทธิ์ สิทธนิ พพนั ธ.์ (2555). การพัฒนาสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ตามแนวการทดสอบสมรรถภาพทางกายของคณะกรรมการนานาชาติเพอื่ จดั มาตรฐาน การทดสอบความสมบูรณท์ างกาย (ICSPFT). กรุงเทพฯ : โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม). ทิตภิ า ศรีสมัย, เสาวนยี ์ นาคมะเริง, พลลพัฏฐ ์ยงฤทธิปกรณ์, และ วัณทนา ศริธราธิวิตร. (2560). ผล ของการออกกาลังกายด้วยรามวยโบราณประยกุ ต์ตอ่ สมรรถภาพทางกายในผูส้ งู อายชุ าวไทย : การศึกษานาร่อง. วารสารจุฬาเมดเจ, 61, 745-755. ปรวฒั น์ แขกสนิ ทร. (2562, สงิ หาคม 31). อาจารย์. มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ . สัมภาษณ์. การกีฬาแหง่ ประเทศไทย ฝา่ ยวทิ ยาศาสตร์การกีฬา. (2555). สมรรถภาพทางกายของประชาชน ไทย. กรงุ เทพฯ : ผ้แู ตง่ . วรศกั ดิ์ เพียรชอบ. (2548). ปรชั ญา หลักการ วธิ ีสอนและการวดั เพ่ือประเมินผลทางพลศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย วัลนิกา ฉลากบาง. (2555). พัฒนาการของเด็กประถมศกึ ษา. ค้นเม่ือ สิงหาคม 30, 2563, จาก http://old-book.ru.ac.th/e-book/e/EEa353/ee353-3.pdf วิชติ ชเี ชิญ. (2552). ศลิ ปะการต่อสู้ปอ้ งกันตัวแบบไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันอาศรมศิลป์. ศศวิ รา บุญรศั มี, และ เทอดพงศ์ ทองศรีราช. (2559). การสง่ เสริมพัฒนาการในเด็กวัยเรียนและ วยั รุ่น. สงขลา : สหมิตรพัฒนาการพิมพ์. ศิวนนั ท์ พุทธะไชยทัศน์. (2560). การออกกาลังกายในเดก็ . สานักงานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสริม สขุ ภาพ. คน้ เมอื่ เมษายน 25, 2563, จาก https://www.kidactiveplay.com/ content.php สนธยา สลี ะมาด. (2547). หลักการฝึกกีฬาสาหรบั ผู้ฝกึ สอนกีฬา. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สนอง แยม้ ดี. (2553). สมรรถภาพทางกายของนกั ศึกษาสถาบันการพลศกึ ษา ในเขตภาคเหนอื ปีการศกึ ษา 2551. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. สนทิ พิเคราะห์ฤกษ์ . (2524). สมรรถภาพทางกายของนักศกึ ษาวิทยาลัยพลศกึ ษา. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
119 บรรณานกุ รม (ต่อ) สมชาย ลีอินทอง. (2550).การเคลือ่ นไหวและการออกกาลังกายสาหรับเดก็ และเยาวชน สราง เดก็ ไทยใหเตม็ ศักยภาพดวยการออกกาลังกาย. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการ พฒั นาการ เศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ. สมบูรณ์ ตะปนิ า. (2553). กีฬามวยไทย. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์พรนิ ติงแอนด์พบั ลิชชิง่ . สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ. (2553). มวยไทย. กรงุ เทพฯ : ผู้แต่ง. สาราญ สขุ แสวง. (2560). การสรา้ งโปรแกรมการฝกึ ซอ้ มมวยไทยสาหรับนกั มวยไทยอาชพี . วทิ ยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชามวยไทยศึกษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง. . (2562). การพฒั นารูปแบบการออกกาลังกายด้วยศลิ ปะมวยไทยเชิงมวยเพื่อพฒั นา สมรรถภาพทางกายสาหรบั ผู้สงู อายุ. ราชบรุ ี : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ . สทุ ธพิ งศ์ ภูเก้าแกว้ . (2560). ผลการฝึกกายบรหิ ารด้วยแม่ไมม้ วยไทยและลูกไม้มวยไทยที่มตี ่อ สมรรถภาพทางกาย ของนักเรียนชว่ งชันที่ 2. วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36, 175-180 สุพิตร สมาหิโต, วลั ลยี ์ ภทั โรภาส, เพิ่มศกั ด์ิ สรุ ยิ ะจันทร,์ ราตรี เรอื งไทย, สิริพร ศศิมณฑลกลุ , อาพร ศรียาภยั , ชลาธิป สมาหิโต, นนั ทวนั เทยี นแกว้ , อิษฎี กฏุ อินทร์, อาริสร์ กาญจนศิลานนท,์ ไพลิน เผอื กประคอง, และ เพ็ญนิภา พลู สวัสด์ิ. (2555). แบบทดสอบและเกณฑ์มาตรฐาน สมรรถภาพทางกายสาหรับเดก็ ไทยอายุ 7-18 ปี. กรุงเทพฯ : สานกั วิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา. American College of Sports Medicine. (2009). Classification of exercise intensity for cardiorespiratory endurance (Table) 3rd. Philadelphia, PA: Author. Bompa, T., & Carrera, M. (2015). Conditioning young athlete. Illinois: Human Kinetics. United State. Dale, D., B. (2013). Physical fitness and academic performance in middle school students. Retrieved August 31, 2019, from https://doi.org/10.1111/apa.12278 Vega, D. M. (2015). Effects of a physical education-based programme on health- related physical fitness and its maintenance in high school students: A cluster-randomized controlled trial. Retrieved August 15, 2019, from https://doi.org/10.1177/1356336X15599010. Edward, T. H., & Frank B. D. (1992). Health fitness instructor’s handbook. IL: Human Kinetics, Champaign. Getchell, B. (1998). Physical fitness: A way of life. new York: John Wiley and Sons. Hoeger, W. W. K. (1989). Lifetime physical fitness and wellness. Colorado: Morton.
120 บรรณานุกรม (ตอ่ ) Kirkendall, D., R., Gurber, J., J., & Johnson, R., E. (1987). Measurement and evaluation for physical education (2nded.). IA: Brown. Morrow, R. et al. (2000). Measurement and evaluation in human performance (2nded.). United Stated of America: Human Kinetics. Hindawi, O. S. (2003). The influence of early physical activity: Sampling in ADHD males and physical education teaching majors. Digital Repository@ Iowa State University, http://lib.dr.iastate.edu. Power. S. K., & Howley, E. T. (2001). The effect of cardiovascular responses after aerobic exercise in menstrual cycle. Exercise physiology: Theory and application to fitness and performance (6thed.). South Korea: Yongin. Safrit, M. J. (1990). Introduction of measurement in physical education and exercise science (2nded.). Missouri: Mosby Lee, S. (1995). Comparison by age, gender and body size of physical fitnesstest scores of korean students ages. Iowa: Iowa State University.
121 ภาคผนวก
122 ภาคผนวก ก รายชอื่ ผเู้ ช่ยี วชาญ
123 รายช่ือผเู้ ชีย่ วชาญพิจารณาคุณภาพเครอื่ งมอื 1. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ราชนั ย์ เฉลียวศิลป์ ผฝู้ กึ สอนและผูค้ วบคุมนักกฬี าสาขาพละศึกษา มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแห่งชาติ วทิ ยา เขตสุพรรณบุรี มีความเชี่ยวชาญทางดา้ น วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา 2. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ประยุทธ วงศ์ปรเมษฐ์ ผู้ฝกึ สอนและผคู้ วบคมุ นักกฬี ามวยไทย มหาวิทยาลัยการกฬี าแหง่ ชาติ วิทยาเขต ชยั ภูมิ มคี วามเช่ียวชาญทางดา้ น มวยไทย 3. วา่ ทร่ี ้อยตรี ดร.สุเทพ แก้วรัตน์ ควบคมุ การซอ้ มและผฝู้ ึกสอนนกั กีฬามวยไทยนกั เรยี น โรงเรยี นวดั ราชาธวิ าส มคี วามเชย่ี วชาญทางด้าน การเรียนการสอนวิชาพลศกึ ษา
124 ภาคผนวก ข คา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) ของการหาคณุ ภาพเครือ่ งมือของกจิ กรรมการ ออกกาลงั กายด้วยเชงิ มวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา
125 คา่ ดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) ของการหาคุณภาพเครื่องมือของกิจกรรมการ ออกกาลงั กายดว้ ยเชงิ มวยไทยท่ีมตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นระดับประถมศึกษา โดยการหาคา่ ดัชนีความสอดคลอ้ งของวตั ถปุ ระสงค์ (IOC : Index of Item Objective) ซง่ึ กาหนดเกณฑ์การพจิ ารณาความเท่ยี งตรง ดังนี้ + 1 = แน่ใจว่าคาถามมีความเหมาะสมวัดได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ 0 = ไมแ่ น่ใจว่าคาถามมีความเหมาะสมวดั ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ - 1 = แน่ใจว่าคาถามไมม่ คี วามเหมาะสมวัดได้ไม่ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ตารางที่ 56 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงหมัดที่ใช้ในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของ ผู้เชี่ยวชาญด้าน การสรา้ งโปรแกรมและหลกั การฝกึ จานวน 3 ทา่ น ดงั นี้ ข้อ รายการพจิ ารณา ความเหน็ ของผู้เช่ียวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 เชงิ หมดั 1 กาจิกไข่ +1 +1 +1 3 +1 2 พระพรายล้มสิงขร +1 +1 +1 3 +1 3 วานรหกั ดา่ น +1 +1 +1 3 +1 4 พระกาฬเปิดโลก +1 +1 +1 3 +1 5 โขกนาสา +1 +1 +1 3 +1 6 อินทราขว้างจักร +1 +1 +1 3 +1 7 พระลกั ษณห์ า้ มพล +1 +1 +1 3 +1 8 ผจญช้างสาร +1 +1 +1 3 +1 9 หนุมานถวายแหวน +1 +1 +1 3 +1 10 ลว่ งแดนเหรา +1 +1 +1 3 +1 11 นาคาพน่ ไฟกาฬ +1 +1 +1 3 +1 12 หกั ด่านลมกรด +1 +1 +1 3 +1 13 องคตควงพระขรรค์ +1 +1 +1 3 +1 ตารางที่ 56 (ต่อ)
126 ข้อ รายการพจิ ารณา ความเหน็ ของผู้เชี่ยวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 14 ฤๅษีลมื ญาณ 15 หนมุ านจองถนน +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 จากตารางที่ 1 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงหมัดท่ีใช้ในกิจกรรมการออก กาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของผ้เู ชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน จะเห็นได้ว่ากระบวนท่าเชิงหมัด 15 ท่า เหมาะสมในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มี ตอ่ สมรรถภาพทางกายของนกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษาทุกกระบวนทา่ ตารางที่ 57 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงเท้าที่ใช้ในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของ ผู้เช่ียวชาญด้าน การสร้างโปรแกรมและหลกั การฝึก จานวน 3 ท่าน ดังน้ี ขอ้ รายการพิจารณา ความเหน็ ของผูเ้ ช่ียวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 เชิงเทา้ 3 +1 1 เปิดทวาร +1 +1 +1 3 +1 2 ลงดานประตู +1 +1 +1 3 +1 3 กระทขู้ รวั ตา +1 +1 +1 3 +1 4 โยธาสนิ ธพ +1 +1 +1 3 +1 5 มานพเล่นขา +1 +1 +1 3 +1 6 มจั ฉาเล่นหาง +1 +1 +1 3 +1 7 กวางเลน่ โป่ง +1 +1 +1 3 +1 8 ณรงค์พยุหบาท +1 +1 +1 3 +1 9 จระเข้ฟาดหาง +1 +1 +1 ตารางท่ี 57 (ต่อ)
127 ข้อ รายการพจิ ารณา ความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 10 กินรเี ลน่ น้า 3 +1 11 ตามด้วยแขง้ +1 +1 +1 3 +1 12 แปลงอินทรีย์ +1 +1 +1 3 +1 13 พาชสี ะบดั ย่าง +1 +1 +1 3 +1 14 นางสลับบาท +1 +1 +1 3 +1 15 กวาดธรณี +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 จากตารางท่ี 2 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงเท้าท่ีใช้ในกิจกรรมการออก กาลังกายด้วยเชิงมวยไทยที่มตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของผเู้ ชี่ยวชาญท้ัง 3 ท่าน จะเห็นได้ว่ากระบวนท่าเชิงเท้า 15 ท่า มีความเหมาะสมในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วยเชิงมวย ไทยท่ีมตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดบั ประถมศึกษาทุกกระบวนท่า ตารางท่ี 58 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงเข่าท่ีใช้ในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทยท่ีมีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของผู้เช่ียวชาญด้าน การสร้างโปรแกรมและหลกั การฝึก จานวน 3 ทา่ น ดงั น้ี ข้อ รายการพิจารณา ความเหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 เชงิ เขา่ 3 +1 1 กุมภัณฑ์พ่งุ หอก +1 +1 +1 3 +1 2 หยอกนาง +1 +1 +1 3 +1 3 เชยคาง +1 +1 +1 3 +1 4 พรางศตั รู +1 +1 +1 ตารางที่ 58 (ต่อ)
128 ขอ้ รายการพจิ ารณา ความเห็นของผู้เช่ียวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 5 งูไล่ตกุ๊ แก 6 ตาแก่ตีชดุ +1 +1 +1 3 +1 7 หยดุ โยธา 8 ภผู าสะทา้ น +1 +1 +1 3 +1 9 หกั คอช้างเอราวณั 10 ดน้ั ภูผา +1 +1 +1 3 +1 11 ศลิ ากระทบ +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 จากตารางที่ 3 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงเข่าที่ใช้ในกิจกรรมการออก กาลังกายด้วยเชิงมวยไทยท่ีมตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน จะเห็นได้ว่ากระบวนท่าเชิงเข่า 11 ท่า มีความเหมาะสมในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วยเชิงมวย ไทยท่ีมตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดบั ประถมศึกษาทกุ กระบวนทา่ ตารางที่ 59 ผลความคิดเห็นความเหมาะสมในกระบวนท่าเชิงศอกท่ีใช้ในกิจกรรมการออกกาลังกายด้วย เชิงมวยไทยท่ีมีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของ ผู้เช่ียวชาญด้าน การสรา้ งโปรแกรมและหลกั การฝึก จานวน 3 ท่าน ดังน้ี ขอ้ รายการพิจารณา ความเหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 เชิงศอก 3 +1 1 พุ่งหอก +1 +1 +1 3 +1 2 ศอกฝานหนา้ +1 +1 +1 3 +1 3 พรา้ ยายแก่ +1 +1 +1 ตารางที่ 59 (ต่อ)
129 ขอ้ รายการพจิ ารณา ความเห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ ∑ ������ IOC คนที 1 คนที 2 คนที 3 4 แงล่ ูกคาง 5 ถางปา่ +1 +1 +1 3 +1 6 ฟ้าล่นั 7 ยนั พยคั ฆ์ +1 +1 +1 3 +1 8 จกั รนารายณ์ 9 ทรายเหลียวหลัง +1 +1 +1 3 +1 10 กวางสะบดั หนา้ 11 คชาตกมนั +1 +1 +1 3 +1 12 พสุธาสะท้าน 13 ยันโยธี +1 +1 +1 3 +1 14 อัคคีส่องแสง 15 กาแพงภผู า +1 +1 +1 3 +1 16 นาคาคาบหาง 17 ช้างประสานงา +1 +1 +1 3 +1 18 สู่แดนนาคา 19 โยธาเคล่ือนทัพ +1 +1 +1 3 +1 20 ยันสองกร 21 ฆ้อนตีท่ัง +1 +1 +1 3 +1 22 ขวา้ งพสธุ า 23 ฤาษีบดยา +1 +1 +1 3 +1 24 นาคาเคลือ่ นกาย +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 +1 +1 +1 3 +1 จากตารางที่ 59 ผลความคิดเหน็ ความเหมาะสมในกระบวนทา่ เชงิ เข่าท่ีใชใ้ นกจิ กรรมการออก กาลงั กายดว้ ยเชงิ มวยไทยที่มีต่อสมรรถภาพทางกายของนักเรียนระดับประถมศึกษาของผเู้ ชยี่ วชาญทง้ั 3 ท่าน จะเหน็ ได้ว่ากระบวนท่าเชิงศอก 24 ทา่ มีความเหมาะสมในกจิ กรรมการออกกาลังกายดว้ ยเชิงมวย ไทยท่ีมตี ่อสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นระดับประถมศึกษา ทุกกระบวนท่า
130 ภาคผนวก ค กิจกรรมการออกกาลงั กายดว้ ยเชงิ มวยไทยสานกั เรียนประถมศกึ ษา
131 กิจกรรมการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสานักเรยี นประถมศกึ ษา ข้อ รายการ 1 ระยะเวลาของกจิ กรรมการออกกาลังกายด้วยเชิงมวยไทยสานกั เรียนประถมศึกษา จานวนทั้งสน้ิ 8 สัปดาห์ 2 ความหนกั ของการฝกึ (Intensity) จานวน 3 วันต่อสปั ดาห์ (วนั จนั ทร์ วนั พุธและ วันศุกร)์ เวลาฝกึ 30 นาทีต่อวนั (15.30-16.00 น.) สัปดาห์ท่ี 1 - 8 3 กจิ กรรมการฝึกเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี นประถมศกึ ษา ท้งั 5 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นดัชนีมวลกาย ดา้ นความอ่อนตัว ดา้ นความแข็งแรง และอดทนของกล้ามเน้ือ ด้าน ระบบหายใจและระบบไหลเวยี นเลอื ด 3.1 ยืดเหยียดกลา้ มเน้อื (Warm up) (5 นาท)ี 1. ทา่ สวัสดี - กางแขนทั้ง 2 ข้าง หมนุ ไหล่ข้ึน - หมุนแขนลง ในทา่ พนมมอื 2. ท่ายักไหล่ - ยืนกางแขน ออกจากลาตัวเล็กนอ้ ย กามือ หลวมๆ - ยักไหล่ ซ้าย ขึ้นแลว้ ลง(1) - ยักไหล่ ขวา ขึน้ แล้วลง(2) - ยักไหล่ ทัง้ 2ขา้ งขน้ึ พรอ้ มกัน แลว้ ลง(3) - ยกั ไหล่ ท้ัง2ข้างขนึ้ พร้อมกันอกี 1คร้งั แล้วลง(4) - นับเปน็ 1 ครงั้ 3. ท่าบวั ตูมบวั บาน - วาดแขนโก่งตวั ไปดา้ นหน้า - กางแขน ยืดอก แอ่นตัว เงยหน้า 4. ท่ากระทบไม้ - เหยยี ดแขนตรงทง้ั 2ข้างไปด้านหน้า ฝ่ามอื ประกบกัน ระดับไหล่ - วาดแขนซา้ ย เอ้ียวตวั ไปทางขวา เหยียดแขนมาดา้ นหลงั - บิดตัวกลบั เหยยี ดแขน ฝ่ามือประกบกนั - วาดแขนขวา เอี้ยวตัวไปทางซา้ ย เหยยี ดแขนมาด้านหลัง 5. ทา่ ไผ่ลู่ลม - ชูแขนซา้ ยข้ึนเหนือศีรษะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245