Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้

วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้

Published by วิทย บริการ, 2022-07-06 01:52:33

Description: วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยาลัยราชภัฏหมู่ ้บานจอมบึงลลี าไม้ตายมวยไทยของยอดนักมวยไทย วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง มกราคม 2565

คำนำ หนังสือลลี าไม้ตายยอดมวยไทย เป็นหนงั สือที่เก่ยี วกับเน้ือหาไมต้ ายของนักมวยไทยอาชีพที่ เป็นระดับแชมป์เปี้ยน เวทีมวยมาตรฐานของประเทศไทย และนักมวยไทยอาชีพที่ได้รับรางวัล ถ้วยพระราชทาน โดยใช้ลีลาไม้ตายของแต่ละคนไปใช้ในการแข่งขันมวยไทยอาชีพจนประสบ ผลสำเร็จในอาชีพของการเป็นนักมวยไทย โดยเน้ือหาในหนังสือฉบับนจ้ี ะเปน็ เน้ือหาที่รวบรวมลีลาไม้ ตายของยอดมวยไทย ที่เป็นวิธีการฝกึ วิธีการนำไปใช้ ที่ประกอบไปด้วย ลีลาไม้ตายหมัด ลีลาไม้ตาย เขา่ ลีลาไมต้ ายเทา้ และลีลาไมต้ ายศอก เพอื่ ผอู้ า่ นไดม้ ีความรู้ความเข้าใจลีลาไม้ตายของยอดมวยไทย ในการนำไปฝกึ ซอ้ มสำหรับการแข่งขนั ใหม้ ีประสิทธิภาพต่อไป สำหรับหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้เขียนขึ้นศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากการสัมภาษณ์ ยอดมวยไทย และนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์เรียบเรียงเนื้อหา โดยได้แบ่งเนื้อหาไว้จำนวน 5 บท ไดแ้ ก่ 1) ความเปน็ มาของลลี าไมต้ าย 2) ลลี าไมต้ ายหมัด 3) ลีลาไม้ตายเข่า 4) ลีลาไมต้ ายเท้า และ 5) ลีลาไมต้ ายศอก ในการเรียบเรียงหนงั สือฉบบั นี้ ผู้เขียนไดศ้ ึกษาค้นคว้าจากเอกสารหลายเล่ม ที่สำคัญไดแ้ ก่ ศาสตร์และศิลปะมวยไทย คู่มือการฝึกมวยไทย เอกสารประกอบการสอนมวยไทยต่างๆ รวมทั้ง งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมวยไทย และใช้ประสบการณ์ด้านมวยไทยที่ผู้เขียนได้ผ่านการชกมวยมาใน ระยะเวลา 15 ปี ผเู้ ขียนหวังอย่างยิ่งวา่ หนงั สอื ฉบับน้จี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผ้อู า่ น ตอ่ นกั วชิ าการ และผทู้ ีส่ นใจ วรยทุ ธ์ ทิพย์เทย่ี งแท้ 31 มกราคม 2565 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

ข สารบญั คำนำ…………………………………………………………………………………..……………………….….. หนา้ สารบญั …………………………………………………………………………………………………………..... ก สารบัญภาพ………………………………………………………………………………………………….….. ข มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง ง บทที่ 1 บทนำ…………………………………………………………………………………………………… 1 ความเป็นมาของลลี าการตอ่ สูข้ องไทย…….………………............................................ 1 ความหมายของลลี าไม้ตาย……………………………………….…..….…………..……………… 6 หลักการของไม้ตาย…………................................................................................ ..... 9 จุดอนั ตรายทเ่ี ป็นเป้าหมายของการชกมวยไทย………………………………………………. 10 การถา่ ยทอดลลี ามวยไทย………………….………………................................................ 15 สรปุ ท้ายบท……………………………………………………………………………………………….. 30 คำถามท้ายบท………………………….……………….………………..................................... 30 เอกสารอ้างอิง……………………………………………………….…………………………………... 30 บทที่ 2 ลลี าไมต้ าย “หมดั ”……………………………………………………………………………….. 32 ลีลาไมต้ ายมวยไทย “หมดั ” ของยอดนักมวยไทย…………………………………………… 32 32 วธิ กี ารฝกึ ลลี าไมต้ ายมวยไทย “หมัด” ของยอดนักมวยไทย…………..…………… 35 วิธีการปฏิบัตลิ ลี าไม้ตายมวยไทย “หมดั ” ของยอดนักมวยไทย…..……………… 60 สรุปท้ายบท……………………………………………………………………………………………….. 60 คำถามทา้ ยบท………………………….……………….………………..................................... 61 บทท่ี 3 ลีลาไมต้ าย “เท้า” ………………………………………………………………………………… 61 61 ลลี าไมต้ ายมวยไทยด้วยการใชเ้ ท้า…….………………..……......................................... 62 ลีลาไมต้ ายมวยไทย “เตะ” ของยอดนกั มวยไทย……………………………………………. 65 วธิ กี ารฝึกลลี าไม้ตายมวยไทย “เตะ” ของยอดนักมวยไทย…………..….…..…… 82 วธิ ีการปฏิบตั ิลีลาไมต้ ายมวยไทย “เตะ” ของยอดนักมวยไทย…..…..…….…… 82 ลีลาไมต้ ายมวยไทย “ถีบ” ของยอดนกั มวยไทย……………………………………….……. 83 วธิ ีการฝกึ ลลี าไม้ตายมวยไทย “ถบี ” ของยอดนกั มวยไทย…………..….………… 92 วิธีการปฏิบตั ลิ ีลาไมต้ ายมวยไทย “ถบี ” ของยอดนักมวยไทย…..…..…….…..… 93 สรปุ ท้ายบท……………………………………………………………………………………………….. คำถามทา้ ยบท………………………….……………….……………….....................................

ค สารบัญ (ต่อ) หน้า เอกสารอ้างอิง……………………………………………………….…………………………………... 93 บทท่ี 4 ลีลาไม้ตาย “เข่า”………………………………………………………………………………..มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง94 ลลี าไมต้ ายมวยไทย “เข่า” ของยอดนกั มวยไทย…………………………………………… 94 94 วิธีการฝกึ ลีลาไม้ตายมวยไทย “เข่า” ของยอดนกั มวยไทย…………..…………… 95 วิธีการปฏบิ ัตลิ ลี าไมต้ ายมวยไทย “เข่า” ของยอดนักมวยไทย…..……………… 108 สรุปทา้ ยบท……………………………………………………………………………………………….. 108 คำถามท้ายบท………………………….……………….………………..................................... 108 เอกสารอ้างอิง……………………………………………………….…………………………………... บทที่ 4 ลลี าไม้ตาย “ศอก”……………………………………………………………………………….. 109 ลลี าไม้ตายมวยไทย “ศอก” ของยอดนกั มวยไทย…………………………………………… 109 109 วิธีการฝึกลีลาไม้ตายมวยไทย “ศอก” ของยอดนักมวยไทย…………..…………… 110 วธิ กี ารปฏิบตั ลิ ีลาไม้ตายมวยไทย “ศอก” ของยอดนกั มวยไทย…..……………… 126 สรปุ ท้ายบท……………………………………………………………………………………………….. 127 คำถามท้ายบท………………………….……………….………………..................................... 127 เอกสารอ้างอิง……………………………………………………….…………………………………... บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………. 128

ง สารบัญภาพ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ หน้า 1.1 จดุ สำคัญของรา่ งกายดา้ นหนา้ ………………………………………………….………..……….. 11 1.2 จดุ สำคญั ของร่างกายด้านหลัง……………………………………….……………………….……. 11 2.1 การชกหมดั ตรงกบั เป้าหมาย……………………………………………………………………..… 36 2.2 การสอนจดมวยและการชกหมดั ……….……………………………………………………….… 36 2.3 เตรยี มชกหมัดตรง โดยจดมวยเหลีย่ มขวายกแขนซา้ ยไวด้ ้านหนา้ …………………….. 37 2.4 ลกั ษณะแขนในการชกหมดั ตรงเปน็ เสน้ ตรง…………………………………………………… 37 2.5 จดุ กระทบของหมัดตรงโดยใช้ฝา่ มอื รับหมดั …………………………………………………… 37 2.6 การชกหมดั บริเวณปลายคาง โดยการสบื เท้าเดินเขา้ หาคตู่ อ่ สู้…………………………. 38 2.7 การจดมวยเหลยี่ มขวาเท้าซ้ายและแขนซ้ายอยดู่ ้านหน้า…………………………………. 39 2.8 ชกหมัดตรงซ้ายท่ปี ลายคาง และถ่ายน้ำหนักตวั ไปดา้ นหนา้ เพ่อื ส่งแรง (1)………… 39 2.9 ชกหมัดตรงขวาทปี่ ลายคาง และถา่ ยนำ้ หนักตวั ไปด้านหนา้ เพอ่ื ส่งแรง (2)………… 40 2.10 การชกหมัดขวาทห่ี นา้ ………………………………………………………………………………… 41 2.11 การจดมวยยืนเตม็ ฝา่ เท้าและย่อเขา่ เลก็ น้อย………………………………………………… 41 2.12 การชกหมดั ขวาทีใ่ บหน้า……………………………………………………………………………. 42 2.13 จงั หวะทช่ี กหมดั ขวาที่เปา้ หมาย………………………………………………………………….. 42 2.14 การชกหมัดซ้ายที่ใบหน้าและถา่ ยน้ำหนักตัวไปด้านข้าง…………………………………. 42 2.15 การชกหมดั เหวี่ยงสัน้ กับเป้าหมายที่มือ………………………………………………………… 43 2.16 การจดมวยโดยยกมือทั้งสองเตรยี มพร้อมออกอาวธุ ………………………………………. 44 2.17 การชกหมัดเหว่ยี งสั้นขวา…………………………………………………………………………… 44 2.18 การชกหมดั เหวี่ยงสน้ั ซา้ ย…………………………………………………………………………… 45 2.19 การชกหมดั เหว่ยี งสั้นขวา…………………………………………………………………………… 45 2.20 การชกหมดั ทหี่ นา้ อกหรือปลายคาง โดยใชก้ ระสอบทรายเปน็ เปา้ หมาย…………… 46 2.21 การกำหมัดให้แนน่ ไม่มรี ู และชกหมัดเปน็ เส้นตรง…………………………………………. 47 2.22 การเงื้อหมัดโดยยืนนำ้ หนกั ตัวอยู่บนเทา้ ทัง้ สองข้าง……………………………………….. 47 2.23 ชกหมดั ไปท่เี ป้าหมายและถ่ายน้ำหนกั ตัวไปดา้ นหน้า…………………………………….. 47 2.24 การชกหมดั ตรงโดยใช้สนั หมัดถกู ท่ปี ลายคาง………………………………………………… 48

จ สารบัญภาพ (ตอ่ ) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ หน้า 2.25 การจดมวยเหล่ียมขวาใช้แขนซา้ ยไวด้ ้านหน้า……………………………………………….. 49 2.26 การชกหมดั ตรงบิดหัวไหล่ บิดสะโพก ทิ้งนำ้ หนักตัวไปขา้ งหนา้ ………………………. 49 2.27 การใชม้ ือซ้ายตงั้ การด์ มวยป้องกนั ที่ใบหน้า…………………………………………………… 50 2.28 การชกหมดั ตรงบริเวณปลายคาง…………………………………………………………………. 51 2.29 การชกหมัดตรงขวาเปน็ เสน้ ตรงมือซา้ ยปอ้ งกนั หน้า………………………………………. 52 2.30 การชกหมัดตรงซ้ายเป็นเสน้ ตรงมอื ขวาป้องกนั หน้า………………………………………. 52 2.31 เตรียมการชกหมดั ซ้ายเหวีย่ งส้นั มอื ขวานป้องกันค่ตู อ่ สู้………………………………….. 52 2.32 การชกหมัดเสยซ้ายและทปี่ ลายคางแขนขวายกป้องกันไว้………………………………. 53 2.33 การชกหมัดตรงซา้ ยพรอ้ มเตะเท้าซ้ายท่ลี ำตัว……………………………………………….. 54 2.34 จดมวยและเตะซา้ ยพร้อมเงือ้ หมัดซา้ ย เตรียมชกหมดั ตรง……………………………… 54 2.35 การเตะซา้ ยชกซา้ ย……………………………………………………………………………………. 55 2.36 การชกหมดั ตรงหน้าคว่ำมือเพ่อื ใหส้ นั หมดั ถูกเป้าหมาย…………………………………. 56 2.37 การกำหมัดและชกหมดั ตรงหน้าและกดข้อมือให้สันหมดั ถูกเป้าหมาย……………… 57 2.38 การจดมวยเหล่ียมซา้ ยใชม้ ือขวาไว้ดา้ นหน้า………………………………………………….. 57 2.39 ชกหมดั ตรงหนา้ และถา่ ยนำ้ หนกั ตัวไปข้างหน้า……………………………………………… 58 2.40 การจดมวยเหลีย่ มขวา……………………………………………………………………………….. 59 2.41 ลำดับข้ันตอนการกำหมัดไม่ให้มีรู และการจดมวยเหล่ียมขวา…………………………. 59 3.1 การเตะซา้ ยสวนตอกไปยังค่ตู ่อสใู้ นจุดสำคัญ คือ ข้อพับ…………………………………. 66 3.2 ตำแหนง่ ในการเตะบรเิ วณหน้าท้องโดยใชก้ ระสอบทรายเปน็ เป้าหมาย…………….. 67 3.3 การยืนทา่ เตรียมเตะโดยยนื ด้วยปลายเทา้ หน้าและถ่ายน้ำหนักตวั ไปดา้ นข้าง……. 67 3.4 การเตะไปยังเป้าหมายด้วยหนา้ แขง้ ลำตัวเอนไปดา้ นหน้า………………………………. 68 3.5 การเตะรวบคูต่ ่อสู้บริเวณขาท่อนลา่ ง นำ้ หนักตัวอยทู่ ี่ขาหน้า…………………………… 69 3.6 การก้าวเทา้ ซ้ายแล้วเตะรวบขาแลว้ ใชม้ อื ขวาผลักค่ตู ่อสู้ให้ล้ม…………………………. 69 3.7 การเตะรวบขาพรอ้ มมือผลกั ให้คู่ตอ่ ส้ลู ้มลง…………………………………………………… 70 3.8 การเตะขวาบริเวณก้านคอถา่ ยน้ำหนักตวั มาทางด้านซ้าย……………………………….. 70 3.9 การยืนทา่ เตรียมพร้อม……………………………………………………………………………….. 71 3.10 การเตะขวาที่ก้านคอ โดยใชห้ ัวไหลแ่ ละสะโพกช่วยออกแรง…………………………… 71

ฉ สารบัญภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หน้า มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง3.11 การเตะซ้าย พร้อมกับยกส้นเท้าขวาเลก็ น้อย เพ่ือการทรงตัว………………………….. 72 3.12 การยืนทา่ เตรียมพร้อมในการเตะจังหวะบวกถีบกระสอบทราย………………………. 73 3.13 การเตะซ้ายท่ีลำตวั โดยใชก้ ระสอบทรายเป็นเป้าหมายแขนยกข้ึนชว่ ยในการทรงตวั . 73 3.14 การเตะซ้าย โดยใชห้ น้าแข้งถบี เป้าหมาย ยกสะโพกและเหว่ียงแขนช่วยส่งแรง…. 73 3.15 การเตะขวาบรเิ วณก้านคอ………………………………………………………………………….. 74 3.16 ท่าเตรยี มพร้อมก่อนเตะกา้ นคอ…………………………………………………………………… 75 3.17 การเหวย่ี งขาขวาเตะก้านคอและเหว่ียงแขนชว่ ยในการเตะ…………………………….. 75 3.18 การเตะขวาที่กา้ นคอโดยใชห้ น้าแขง้ ……………………………………………………………. 76 3.19 เตะขวาไปยงั เป้าหมายโดยการยกสน้ เท้าสูง บิดสน้ เท้าชว่ ยส่งแรง…………………… 77 3.20 การยนื ทา่ เตรยี มพร้อม………………………………………………………………………………. 77 3.21 เตะขวาขึ้นโดยยกสะโพกชว่ ยและเหวี่ยงแขนช่วยในการทรงตวั ………………………. 78 3.22 การเตะบรเิ วณก้านคอและปลายคาง…………………………………………………………… 79 3.23 ลำดบั การเตะล่างและวกเตะกา้ นคอ……………………………………………………………. 79 3.24 การเตะขาขวาทีก่ า้ นคอลำตัวเอนหลงั แขนอีกขา้ งยกไว้เพอื่ ป้องกนั ตวั …………….. 80 3.25 ยนื ทา่ เตรยี มพรอ้ ม…………………………………………………………………………………….. 81 3.26 การเตะขาซา้ ยทีก่ า้ นคอ โดยใช้หน้าแขง้ ………………………………………………………. 81 3.27 การถีบกระสอบทราย โดยใช้ปลายเท้าถบี จิก………………………………………………… 83 3.28 การยืน พร้อมถ่ายนำ้ หนักตัวไปดา้ นหลงั แขนทงั้ สองยกปอ้ งกนั ตัว…………………. 84 3.29 การถีบจิกที่ท้องด้วยเท้าซ้ายแขนทั้งสองยกขึ้นเพื่อป้องกันอาวุธคู่ต่อสู้และเพื่อการ ทรงตวั ……………………………………………………………………………………………….. 84 3.30 การยกเท้ายันคูต่ ่อสูท้ งั้ เท้า…………………………………………………………………………. 85 3.31 การถีบกระสอบทรายด้วยส้นเท้า………………………………………………………………… 86 3.32 ลักษณะการวางเท้าในการถบี ด้วยฝา่ เท้า………………………………………………………. 86 3.33 การถีบด้วยสน้ เท้าปลายเทา้ จะงอขึน้ …………………………………………………………… 87 3.34 การถบี เท้าซ้ายดว้ ยสน้ เทา้ ………………………………………………………………………….. 87 3.35 การหลอกเตะลำตวั แล้วบดิ เทา้ ถบี หนา้ ท้อง…………………………………………………. 88 3.36 การยืนจดมวยและเตรยี มพร้อมในการออกอาวุธ…………………………………………… 89

ช สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หน้า 3.37 ลักษณะการเคลือ่ นที่ก่อนการถบี …………………………………………………………………. 89 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3.38 การถบี เท้าซา้ ย………………………………………………………………………………………….. 89 3.39 การถีบเท้าขวา………………………………………………………………………………………….. 90 3.40 ลกั ษณะการถบี ขา้ ง……………………………………………………………………………………. 91 3.41 จดุ กระทบของปลายเท้ากบั เป้าหมาย…………………………………………………………… 91 3.42 ลกั ษณะการถบี ข้างดว้ ยเท้าซา้ ยแขนซา้ ยเหยยี ดไปทางขาที่ถีบ………………………… 92 4.1 การแทงเขา่ ขวาและยกแขนท้ังสองขา้ งข้ึนปอ้ งกันคู่ตอ่ สู้…………………………………. 96 4.2 การยืนจดมวย ยืนด้วยโคนนิ้วหรือปลายเท้าพร้อมกับกระโดดเข้าไปคว้าคอเพื่อแทง เขา่ …………………………………………………………………………………………………….. 96 4.3 การแทงเขา่ ลอยขวา โดยลำตัวเอนหลังแขนตรงขา้ มพับเขา่ ยกสูง……………………. 97 4.4 การแทงเขา่ ลอยซ้ายเขา่ แหลมปลายเทา้ งุ้มลงและลำตัวเอนหลงั ……………………… 97 4.5 การกระโดดเขา่ ลอยเข้าทล่ี นิ้ ปี่มอื ท้ังสองใช้ปอ้ งกนั ตัว…………………………………….. 98 4.6 การยนื ทา่ เตรียมพรอ้ มมือท้ังสองยกขึ้นป้องกันตวั ………………………………………….. 98 4.7 การใช้มือคำ้ เมื่อคู่ต่อสเู้ พ่ือเข่าลอย………………………………………………………………. 99 4.8 การกระโดดเข่าลอยปลายเท้างุ้มลง………………………………………………………………. 99 4.9 แทงเข่าขวาที่บรเิ วณชายโครงมอื ทั้งสองจับคอและดงึ คตู่ ่อสู้เข้ามาหาเขา่ ………….. 100 4.10 การยนื ทา่ เตรยี มพร้อมทีจ่ ะคว้าคอคู่ตอ่ สู้……………………………………………………… 101 4.11 การกระโดดแทงเขา่ ท่ีชายโครง……………………………………………………………………. 101 4.12 ยืนเตรยี มพร้อมในการแสดงการบดิ เข่าถบี กระสอบทราย……………………………….. 102 4.13 การใช้แขนคำ้ กระสอบทรายยกเข่าแทง……………………………………………………….. 103 4.14 การเหวีย่ งกระสอบฝึกแทงเขา่ …………………………………………………………………….. 103 4.15 การแทงเขา่ พับขวาบังท่อนล่างบนเข้าหากบั ปลายเท้างุม้ ลงเขา่ แหลม……………… 104 4.16 การยืนท่าเตรียมพร้อมออกอาวุธ…………………………………………………………………. 105 4.17 การเข้าไปจบั คู่ตอ่ สู้เพอ่ื แทงเข่า…………………………………………………………………… 105 4.18 ลักษณะดึงแขนคตู่ ่อส้เู พ่ือแทงเข่า……………………………………………………………….. 105 4.19 การจบั คอและดนั หน้าแข้ง…………………………………………………………………………. 107 4.20 ขั้นตอนการแทงเข่าขวาและเข่าซ้าย ปลายเทา้ งุ้มลงงอไปดา้ นหลัง เพ่ือให้เข่าแหลม.. 107

ซ สารบญั ภาพ (ต่อ) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบงภาพที่ หน้า 5.1 การปิดตาค่ตู ่อสู้ดว้ ยมือขวาตีศอกดว้ ยศอกซา้ ย……………………………………………… 111 5.2 การปิดตาคู่ต่อสดู้ ว้ ยมอื ซา้ ยแขนขวาเตรยี มตศี อก………………………………………….. 111 5.3 การใช้หัวไหล่ช่วยออกแรงในการตีศอก………………………………………………………… 112 5.4 การปดิ ตาคตู่ ่อสู้ดว้ ยมอื ขวาฟนั ด้วยศอกซ้าย…………………………………………………. 112 5.5 การสาธิตตำแหนง่ ของศอกที่ใชศ้ อกเป้าหมาย……………………………………………….. 113 5.6 การฟันศอกมาด้านหน้า โดยใช้หัวไหลช่ ว่ ยพับแขน………………………………………… 114 5.7 ตำแหนง่ ของศอกท่ีถูกเป้าหมาย…………………………………………………………………… 114 5.8 การฟันศอกแล้วพบั แขนเขา้ หาอก………………………………………………………………… 114 5.9 ฟันศอกขวา……………………………………………………………………………………………….. 116 5.10 การใช้มือปดั แขนคู่ต่อส้แู ลว้ ศอก…………………………………………………………………. 116 5.11 การฟันด้วยศอกขวา โดยการถา่ ยนำ้ หนักตัวไปดา้ นหนา้ ………………………………… 117 5.12 ปดั มือซา้ ยคตู่ ่อสูแ้ ลว้ ฟนั ศอกขวา………………………………………………………………… 117 5.13 ทา่ เตรยี มพรอ้ มจดมวยเหล่ยี มซ้าย………………………………………………………………. 118 5.14 เทคนิคการใช้ไมต้ ายศอกซ้ายแขนขวาปอ้ งกันหน้าไว้…………………………………….. 118 5.15 ศอกขวาตีบริเวณหน้าและหัวลำตัวเอนดา้ นหนา้ …………………………………………… 120 5.16 ลักษณะจดมวยเหลยี่ มซ้าย…………………………………………………………………………. 120 5.17 การฟันศอกซา้ ย โดยการบดิ เอวและไหลช่ ว่ ยออกแรง……………………………………. 121 5.18 การฟนั ศอกซ้าย………………………………………………………………………………………… 121 5.19 การตีศอกขวาบรเิ วณใบหนา้ ………………………………………………………………………. 122 5.20 ท่าเตรียมพรอ้ ม…………………………………………………………………………………………. 123 5.21 การตศี อกขวาบรเิ วณใบหนา้ ………………………………………………………………………. 123 5.22 ฟันศอกบริเวณใบหนา้ ……………………………………………………………………………….. 124 5.23 การจดมวยเหล่ียมขวา……………………………………………………………………………….. 125 5.24 การยืนจดมวยเหลย่ี มขวาแขนซา้ ยไวด้ ้านหนา้ แขนขวาอยู่ด้านหลัง…………………. 125 5.25 การตีศอกตัดซ้ายที่ปลายคาง………………………………………………………………………. 125 5.26 การตศี อกขวาตีที่หน้า………………………………………………………………………………… 126

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทที่ 1 บทนำ การต่อสู้ของชนชาติไทย ตั้งแต่โบราณกาลใช้ทุกส่วนของร่างกายเป็นอาวุธในการป้องกันตัว และทำร้ายคตู่ อ่ สไู้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพอนั เป็นลีลาการป้องกันตัวเฉพาะของชนชาตไิ ทยมาต้ังแต่สมัย โบราณเพื่อการรบชิงผืนแผ่นดินกับประเทศเพื่อนบ้านจนมาถึงปัจจุบันที่นำมาใช้เป็นกีฬาใน การ แข่งขันที่เรียกว่า “มวยไทย” ที่เป็นวิชาการต่อสู้และป้องกันตัวชนิดหนึ่งที่มีลักษณะผิดแผกแตกต่าง ไปจากมวยหรือการต่อสู้ของประเทศอื่น ๆ ด้วย กล่าวคือ อวัยวะทุกส่วนมิได้ปล่อยนิ่ง กำลังกาย กำลังใจ กำลังความคิดเป็นสิ่งที่นักมวยทุกคนพึงมีและเป็นสิ่งที่นักมวยทุกคนต้องมีความว่องไวกับคู่ ต่อสู้โดยปราศจากการใช้อาวธุ ต่อสกู้ ันอย่างเต็มความสามารถในเวลาการแข่งขนั ให้เกิดประสิทธิภาพ ซึ่งนักมวยแต่ละคนจะมีลีลาและไม้ตายในการชกเพื่อใช้เผด็จศึกคู่ต่อสู้ไม่ให้คู่ต่อสู้สามารถแข่งขันต่อ ได้ ดงั นนั้ ในบทน้ี ผเู้ ขียนจะมาขอนำเสนอความเป็นมาของลลี าไม้ตายยอดมวยไทย โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ความเป็นมาของลีลาการตอ่ สู้ของไทย การศึกษาลีลาการต่อสู้ของไทยผูเ้ ขียนได้ศึกษา วิวัฒนาการของลลี าการตอ่ สู้ปอ้ งกันตวั และ วิวฒั นาการของวัฒนธรรมลลี าการต่อสู้ป้องกนั ตวั ในอดีต ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้ วิวัฒนาการของลีลาการต่อสู้ป้องกันตัว จากการศึกษาค้นคว้าทำให้เรารู้ว่ามนุษย์มีความ เจริญขึ้นเรื่อย ๆ จากการที่มนุษย์รู้จักคิดรู้จักการทำงานทำให้สมองของมนุษย์มีการฝึกฝนคิดค้น จึงเกิดการพัฒนาการเรียนรู้ ประสบการณ์ สามารถเรียนรู้เงื่อนไขทางธรรมชาติและทางสังคมเป็น เหตุให้มนุษย์สามารถปรับตัวต่อสู้กบั ธรรมชาตมิ ีชีวติ ดำรงชีพอยู่ได้จนถึงทุกวันนี้ (ฉัตรมงคล ชาแท่น, 2517, 5-6) การพัฒนาชีวิตและการต่อสูก้ ับปัญหาต่าง ๆ ก่อให้เกิดบทเรียน สะสมประสบการณ์และ สะสมความชำนาญด้วยจิตใจที่เข้มแข็งไม่ท้อถอย นำเอาเหตุผลที่สะสมมาคิดค้นจนเกิดความสำเร็จ ชนะตอ่ อุปสรรคทเ่ี กิดข้ึน ด้วยเหตนุ ีก้ ารต่อสู้จึงเป็นสิง่ ท่ีติดตัวมนุษย์ซึ่งตรงกับคำพังเพยว่า “ชีวิต คือ การตอ่ สู้” จากปรากฏการณ์ต่างๆ มหี ลกั ฐานยืนยนั อยู่ในประวัติของชีวิตมนุษยชาติ มนุษย์ระยะแรก ไดอ้ าศยั มอื และเท้าสองขา้ งรักษาชีวติ ดำรงอย่แู ละพฒั นามาสูส่ ภาพชีวติ ในปจั จุบนั วิธีการต่อสู้และปอ้ งกันทีม่ นุษยท์ ุกคนต้องแสวงหาไว้กับตัวเพ่ือรักษาชวี ติ และทรัพย์สนิ ให้คง อยู่ เริ่มต้นจากการที่มนุษย์ใชม้ ือเปล่า เท้า ปากต่อสู้ ต่อมาก็ใช้กรวด หิน ดิน ทราย กระดูก สัตว์ กิ่ง ไม้ ท่อนไม้ เมื่อมนุษย์เจริญยิ่งขึ้นก็คิดค้นประดิษฐ์อาวุธนำมาใช้ประหัตประหาร ซึ่งกันและกัน เช่น มีด ไม้ หลาว แหลน หอก ดาบ ทวน ง้าว โล่ ดั้ง เป็นต้น การพัฒนาอย่างไม่สิ้นสุดของการผลิต

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2 เครื่องมือทำลายล้างจนกลายมาเป็นปืนและระเบิดที่มีประสิทธิภาพสูง สิ่งเหล่านี้ก็ล้วนแล้วแต่เป็น เครื่องมือในการทำลายล้างของมนุษย์ทคี่ ิดคน้ ข้นึ มาเพ่ือการต่อสู้ทัง้ สนิ้ (ฉตั รมงคล ชาแท่น, 2517, 6- 8) การต่อสู้ คือ การป้องกันตัว ตามปกติมนุษย์มีการป้องกันตัวอยู่ทุกขณะและพร้อมอยู่เสมอ การ ปอ้ งกนั ตัวนี้เปน็ สญั ชาตญาณของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ 1) ป้องกนั ตัวโดยการต่อสู้ และ 2) ป้องกันตวั โดยการหนีภัยเน่ืองจากคนเรามีอารมณ์และความนึกคิดไมเ่ หมือนกนั ฉะน้ันการป้องกันตัว ของคนจึงไม่เหมือนกัน ดังที่กล่าวไว้สองอย่างนั้น สัญชาตญาณการป้องกันตัวโดยการต่อสู้เป็นการ กระทำที่ยากกว่าการหนีภัย ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถและความเชื่อใจตนเอง ลำพังแต่ความ โกรธ อย่างเดียวอาจทำให้การต่อสู้ไปไม่ได้ตลอดหรือได้ผลไม่สมความมุ่งหมาย ส่วนการหนีไม่ต้อง อาศัยความรู้ ความสามารถมากและการที่หนีก็เพราะไม่เชื่อใจว่าจะสู้ได้ ประกอบกับความกลัวย่อม ถือการหลบหนีดีกว่า (ฉัตรมงคล ชาแท่น, 2517, 5-6) สอดคล้องกับ เขตร ศรียาภัย (2550, 113) กล่าวถึง หลักการต่อสู้ว่า “เขาแข็งเราอ่อน เขาอ่อนเราตี เขาหนี เราไล่” ธรรมชาติได้สร้าง สัญชาตญาณการป้องกันตัวมาพร้อมกันกับการกำเนิดแล้วทุกคน ทุกคนจะต้องเรียนรู้ว่าควรป้องกัน ตัวอย่างไร แต่การจะป้องกันตัวให้ดีหรือไม่ดีนั้นไม่ใช่เป็นเรื่องของสัญชาตญาณที่จะต้องรับผิดชอบ เปน็ เร่ืองของตัวเองท่ีจะต้องเรยี นรูแ้ ละอบรมเพอื่ จะได้ปฏิบตั ใิ หถ้ ูกต้อง มนุษย์พยายามคิดค้นที่จะหาวิธีการต่อสู้แบบต่าง ๆ เพื่อป้องกันชีวิตของตนเองและเผ่าพันธ์ุ มนุษย์สังเกตวิธีการและลีลาการตอ่ สู้จากธรรมชาติรอบตัว เช่น การต่อสู้ระหวา่ งสัตว์กบั สัตว์ สัตว์กับ คน และคนกับคนสะสมเป็นประสบการณ์นำมาประกอบกันสร้างเป็นแบบของ “วิธีการต่อสู้ป้องกัน ตวั ” ทั้งแบบทีใ่ ช้อาวธุ และไมใ่ ช้อาวธุ ซ่ึงมนุษยแ์ ตล่ ะซีกโลกหรือแต่ละภาคของโลกต่างก็มีวิธีการต่อสู้ และปอ้ งกันตวั เป็นของตนเองแตกต่างจากของคนอื่น ข้นึ อยู่กบั ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วิธีการต่อสู้ ดงั กล่าวไดม้ ีการพัฒนาเป็นลีลาการต่อส้ปู ้องกนั ตวั ประจำชาติ เชน่ ยูโด คาราเต้ ลลี าการต่อสู้ป้องกัน ตัวของญี่ปุ่น มวยไท้เก็ก และกังฟู เป็นลีลาการต่อสู้ป้องกันตัวของจีน เทควันโดเป็นลีลาการต่อสู้ ปอ้ งกนั ตวั ของเกาหลี เป็นต้น (จรวย แกน่ วงษค์ ำ, 2530, 7) สรุปไดว้ า่ การเรยี นรู้ลลี าการต่อสู้การป้องกนั ตัว เป็นสิง่ ทจี่ ำเป็น นอกจากเป็นการเสริมสร้าง สมรรถภาพ ความแข็งแรง ความเข้มแข็งของร่างกาย และจิตใจแล้ว ในภาวะที่หลีกเลี่ยงจากภัยหรือ การรกุ รานทำร้ายจากคนอันธพาล ก็สามารถใช้ลลี าป้องกันตัวช่วยผ่อนภัยหนักใหเ้ ป็นเบาหรือรอดพ้น จากอันตรายได้ วิวัฒนาการของวัฒนธรรมลีลาการต่อสู้ป้องกันตัวในอดีต ลีลาการต่อสู้ป้องกันตัวก็ เช่นเดียวกับวัฒนธรรมอื่นๆที่นับแต่อดีตกาลมีทั้งส่วนที่เกิดขึ้นเองในท้องถิ่นและอีกส่วนหนึ่งมาจาก การเรียนรู้ แลกเปลี่ยนหรือหยิบยมื จากท้องถิ่นข้างเคียงจากอาณาจักรหรือจักรวรรดิ ที่เป็นศูนย์รวม แกนความคิดหลักต่าง ๆ ของโลกในภูมิภาคละแวกนั้น ๆ ลีลาการต่อสู้ป้องกันตัวของไทยในอดีต ได้ แสดงถึงภาพของความหลากหลายทางวัฒนธรรมนี้เช่นกัน โดยวัฒนธรรมประเภทนี้ได้แสดงสาย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 สัมพันธ์อันกลมกลืนกับสภาพการดำรงชีวิตของ แต่ละท้องถิ่นได้ค่อนข้างชัดเจน ซึ่งเราสามารถ วเิ คราะหไ์ ด้จากตวั อยา่ งดังตอ่ ไปน้ี วิชาหมัดมวยต่าง ๆ แมเ้ ป็นการยากท่จี ะบอกประวตั ิความเปน็ มาเกย่ี วกบั วิชาความรู้ประเภท นีไ้ ดอ้ ย่างชัดเจน แตจ่ ากการสันนิษฐานจากเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ และหลักฐานทป่ี รากฏตามการยนื ยนั ของ ชนชาตอิ น่ื ๆ เราสามารถพบไดถ้ งึ อดีตของวิวัฒนาการอันมคี วามหลากหลายของวิชาความรูป้ ระเภทนี้ โดยสามารถสังเกตเห็นได้ถึงเอกลักษณ์ที่มีความแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น และยุคสมัย อาทิ ในช่วงเวลาตั้งแต่สมัยอาณาจักรน่านเจ้าจนถึงกรุงสุโขทัย การปกครองอาณาจักรนั้นต้องควบคู่ไปกบั การศึกษาตำราพิชัยสงครามและวิชาการต่อสู้ต่าง ๆ ที่มีการสอนกันโดยฆราวาสหนึ่งในนั้นมีวิชาท่ี เรียกว่า “เจง๋ิ ” (เชงิ ตามสำเนียงไทยกลาง) ซ่งึ เปน็ วชิ าการต่อสู้ชนิดหนง่ึ ทีม่ ลี ักษณะคล้ายกับมวยจีน โดยในปัจจุบันนี้ยังปรากฏหลักฐานให้เห็นอยู่ในรูปของลีลาท้องถิ่น ประเพณีต่าง ๆ เช่น การฟ้อน การละเล่นที่เป็นวัฒนธรรมของชาวไทยล้านนาในภาคเหนือ เป็นต้น หรือไม่ว่าจะเป็ นการปรากฏ หลกั ฐานตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั การฝึกหัดลีลาการต่อสู้ ในหลายประเทศของภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ซง่ึ มลี ักษณะท่เี ปน็ เอกลักษณ์ โดยใช้ชื่อเรยี กทแี่ ตกต่างกันออกไป เช่น ในกมั พูชา เรยี กวา่ ประด่ัญ เซ เรยี (ขอมมวย) ลาว เรียก “มวยลายลาว” (มวยเสือลากหาง) หรือแม้กระทัง่ มวยของชาวไทยมุสลิมใน ท้องถิ่นทางภาคใต้ตลอดจน แหลมมลายู เรียกว่า ซีละหรือปัญจะสีลัต เป็นต้น (ประมวล บัวทอง, 2537, 46) ในสมัยอยธุ ยาตอนปลายจนถงึ กรงุ รตั นโกสินทรต์ อนตน้ ยงั ปรากฏหลักฐานสำคญั ตา่ ง ๆ ท่ี แสดงใหเ้ หน็ ประวัติของสายมวยทมี่ ีช่ือเสียง 4 สาย ซง่ึ มจี ุดเดน่ และอตั ลักษณ์แตกต่างกนั ออกไป โดย แต่ละสายมวยดังกล่าวนั้นเป็นเสมือนสัญลักษณ์และชื่อเสียงภูมิภาคท้องถิ่นแต่ละภาคของประเทศ ไทยในชว่ งเวลานัน้ เริ่มจากภาคอีสาน มีบันทึกว่า “มวยโคราช” เฟื่องฟูมากในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นมวยต่อยวง กว้างเรียกกันว่า “เหวี่ยงควาย” มีเอกลักษณ์ของการคาดเชือกที่ใช้ด้ายคาดหมัดแล้วขมวดรอบ ๆ แขนจรดข้อศอกเพื่อป้องกันการเตะ นักมวยที่มีชื่อได้แก่ นายแดง ไทยประเสริฐ จากเมืองโคราชซ่ึง ได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหม่นื ชงดั เชิงชก เตะรนุ แรง มหี มัดเหวีย่ งที่โด่งดงั อีกคนคือ นายยัง หาญทะเล จากวังเปรมประชากรของกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ผู้สอนท่าหนุมานถวายแหวน ควานสมุทร (สมัยรัชกาลที่ 6) (น้าชาติ ประชาชื่น, 2530, 22) เช้า วาทโยธา (2550, 173-189) กล่าวถึง การฝึกมวยไทยตำราโคราช มีอยู่ 3 ขั้นตอนรวมทั้งสิ้น 47 ท่า ดังน้ี ท่าการใช้อาวุธเบื้องต้น ประกอบด้วย 1) ท่าอยู่กับที่ 5 ท่า ประกอบด้วย ท่าต่อยตรงอยู่กับที่ท่าต่อยเหวี่ยงอยู่กับที่ ท่าต่อย ขึ้นอยู่กับที่ ท่าต่อยด้วยศอกอยู่กับที่ ท่าต่อยลงอยู่กับที่ 2) ท่าเคลื่อนที่ 5 ท่า ประกอบด้วย ท่าต่อย ตรงสลับกับเคลื่อนที่ ท่าเตะเหวี่ยงกลับด้วยศอกเคลื่อนที่ ท่าต่อยด้วยศอกและเข่าเคลื่อนที่ ท่าเตะ สลับกบั เคล่ือนที่ ท่าเตะแล้วต่อยตามพลกิ ตัวไปกนั

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 ฝึกลูกไม้แก้ทางมวย 11 ท่า จะต้องใช้การฝึกร่วมกับคู่ซ้อม โดยผลัดเปลี่ยนกันรุกและ ผลัดเปลี่ยนการตั้งรับ ประกอบด้วย ท่ารับต่อยตรงด้วยการใช้เทา้ ถีบรับ ท่ารับต่อยเหวี่ยงใช้หมัดตรง ข้ามรับ ท่าต่อยเหวี่ยงแล้วเตะตามใช้หมัดตรงชกแก้ ท่ารับลูกเตะ ท่าเตะแลกเปลี่ยนอยู่กับที่ท่าเตะ ฝากหนงึ่ ท่าเตะฝากสอง ทา่ รบั ลกู เตะฝากหนึ่ง ทา่ เตะปัด ทา่ ทดั มาลาแกล้ ูกเตะสงู ทา่ ลูกตอแหล ฝึก ท่าแม่ไม้สำคัญ ได้แก่ 1) ทา่ แมไ่ มค้ รู 5 ทา่ ประกอบด้วย ชักหมดั มา เตะตีนหนา้ พร้อมหมดั ชัก ชักปิด ปกด้วย ศอก ชกข้ามไหล่ เมื่อเข้าให้ชกนอกเมื่อออกให้ชกใน ชกช้างประสานงา 2) ท่าแม่ไม้สำคัญ แบบโบราณ 27 ท่า ประกอบด้วย ทัศมาลา กาฉีกรัง หนุมานถวายแหวน ล้มพลอยอาย ลิงชิงลูกไม้ กุมภัณฑ์หักหอก ฤๅษีมุดสระ ทศกัณฑ์โศก ตะเพียนแฝงตอ นกคุ้ม เข้ารัง คชสารกวาดหญ้า หักหลัก เพชร คชสารแทงโรง หนุมานแหวกฟอง ลิงพลิ้ว กาลอดบ่วง หนุมานแบกพระ หนูไต่ราว ตลบนก หนมุ านถอนตอและท่าโกหก ภาคกลางมี “มวยลพบุรี” เป็นสายมวยทีม่ ชี ื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 5 ในงานพระเมรุกรม ขุน มรุพงษ์ศิริพัฒน์ ณ ท้องทุ่งพระเมรุ ป้อมเผด็จดัสกร กรุงเทพฯมีการตีมวยหน้าพระที่นั่งครั้งใหญ่เปน็ มวยที่เลื่องชื่อว่าชกหมัดตรงดี ต่อยแหวกการคุมได้ดีกว่ามวยถิ่นอื่น คาดหมัดเพียงครึ่งแขนใช้ด้าย ผ้าดิบมีนายกลึง โตสะอาด จากเมืองลพบุรี ครูมวยดังซึ่งได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหมื่นมือ แม่นหมัด เป็นผู้มีลีลาการชกฉลาด รุกรับหลบหลีกว่องไว ใช้หมัดตรงดียอดเยี่ยม (ประมวล บัวทอง, 2537, 39-46) ชนทัต มงคลศิลป์ (2550, บทคัดย่อ) กล่าวถึง ไม้มวยลพบุรีมี 16 กระบวนท่า ได้แก่ กระบวนท่ายอเขาพระสุเมรุ หักงวงไอยรา ขุนยักษ์จับลิง หักคอเอราวัณ เอราวัณเสยงา ขุนยักษ์พา นาง พระรามน้าวศร กวางเหลียวหลัง หิรัญม้วนแผ่นดิน หนุมานถวายแหวน ล้มพลอยอาย ลิงชิง ลูกไม้ คชสารถอนหญ้า คชสารแทงงา ลิงพลิ้วและหนุมานถอนตอ ครูมวยและนักมวยลพบุรี ได้แก่ ครดู ัง้ ตาแดง ครนู วล ลพบุรี หม่ืนมอื แมน่ หมัด นายซิว อกเพชร นายแอ ประจำการ นายเย็น อบทอง นายเพิก ฮวบสกุล นายจันทร์ บัวทอง นายชาญ ศิวารักษ์ นายสมทรง แก้วเกิด และครูประดิษฐ์ เล็ก คง นับได้ว่ามวยลพบรุ ี เป็นประวัติศาสตร์ของมวยไทยซึง่ เป็นมวยทอ้ งถ่ินที่เกา่ แก่ทีส่ ดุ ของอาณาจักร สยาม มีอายุ 1,350 ปี ต่อมาได้แก่ ภาคใต้ มีมวยเรียกว่า “มวยไชยา” นักมวยที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ หมื่นมวยมีชื่อ หรือนายปล่อง จำนงทอง (นายปรง ตามหลักฐานที่ปรากฏในเอกสารราชการ) ผมู้ ีทา่ เสอื ลากหางเป็น อาวุธสำคัญ การต่อสู้เน้นวงในใช้ความคมของศอก เข่า ประวัติมวยไชยาสืบค้นได้ถึงพระยาวจีสัตยา รกั ษ์ (ขำ ศรียาภยั ) เจา้ เมอื งไชยา ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ถ่ายทอดมายังบุตรชาย คือ ปรมาจารย์เขตร ศรี ยาภัย ซึ่งภายหลังย้ายมาตั้งรกรากที่กรุงเทพฯ เผยแพร่มวยไชยาแก่ศิษย์มากมายจนกระทั่ง ถึงแก่ กรรมในปี พ.ศ. 2521 จัตุชยั จำปาหอม (2550, 190-200) กล่าวถงึ กระบวนทา่ ของมวยไทยไชยา พบว่า มที ัง้ หมด 5 ชุด คือ แม่ไม้มวยไทยไชยา 7 ท่าได้แก่ 1)ปั้นหมัด 2) พันแขน 3)พันหมัด 4)กระโดดตบศอก 5)พัน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 หมดั พลกิ เหลีย่ ม 6)เต้นแร้งเตน้ กา และ 7)ย่างสามขุม ชดุ ทา่ บรหิ ารเพื่อพหยุ ุทธ์ 12 ทา่ ท่ามวยไทย ไชยาพาหุยุทธ์ 4 ท่า คือหมัด เท้า เข่า ศอก และลูกไม้มวยไทยไชยา 24 ได้แก่ 1) ชวาซัดหอก 2)เถร กวาดลาน 3) อิเหนาแทงกริช 4)ฝานลูกบวบ 5)ไต่เขาพระสุเมรุ 6)สับหัวมัจฉา 7) ตาเถรค้ำฟัก 8) พระเจ้าตานั่งแท่น 9) มอญยันหลัก 10) สุครีพถอนต้นรัง 11)ปักลูกทอย 12) กวางเหลียวหลัง 13) จระเข้ฟาดหาง 14) ทะแยค้ำเสา 15) นาคาบิดหาง 16) พม่ารำขวาน 17) ขุนยักษ์จับลิง 18) พระรามเดินดง 19) หักคอเอราวัณ 20) เสือลากหาง 21) มณโฑนั่งแท่น 22) หิรัญม้วนแผ่นดิน 23) นาคามุดบาดาล และ 24)หนุมานถวายแหวน ท่าที่สำคัญ คือ ท่าเสือลากหาง เคล็ดมวยไทยไชยา ท่า ป้องกันท่ีดที สี่ ุดคือ ป้อง ปดั ปิด เปดิ สุดท้ายภาคเหนือมี “มวยท่าเสา” มีนักมวยที่สร้างชื่อมาตั้งแต่ยุคกรุงธนบุรี ซึ่งพระยาพิชัย ดาบหกั เจ้าเมอื งพชิ ยั จดั การแขง่ ขันชกมวยเสมอ ๆ บนสังเวียนลานดนิ นักมวยผูท้ ี่มชี ื่อเสยี งของมวย จากภาคเหนือ ได้แก่ นายเมฆ จากบ้านท่าเสา นายเที่ยง บ้านแก่ง นายห้าว แขวงเมืองตาก นายนิล ทุ่งยั้ง นายถึก ศิษย์ครูนิลและเมื่อปี พ.ศ. 2472 นายแพ เลี้ยงประเสริฐ จากบ้านท่าเสา อุตรดิตถ์ ชก นายเจีย แขกเขมร ตายด้วยหมัดคาดเชือก ทำให้รัฐบาล (สมัยรัชกาลที่ 7) มีคำสั่งให้การชกมวยไทย ทั่วประเทศเปลี่ยนจากคาดเชอื กเปน็ สวมนวม (นา้ ชาติ ประชาชืน่ , 2530, 22) สมพร แสงชัย และคณะ (2549, 28-30) กล่าวถึง เชิงมวยท่าเสา ประกอบด้วย การเตะเป็น การเตะเฉียงแบบนาคาสะบัดหาง คือ การเตะแบบครึ่งแข้ง ครึ่งเข่า แล้วค่อยสะบัดแข้งเข้าสู่ก้านคอ ของคตู่ อ่ สู้เป็นการเตะท่ีว่องไวรวดเรว็ การเตะชนิดน้ีมีสืบทอดต้งั แต่ยุคของครูเมฆ ซึ่งเป็นครูมวยของ พระยาพชิ ยั ดาบหกั เม่ือคร้ังเปน็ เดก็ ชายจ้อยเปน็ เด็กวัดอยู่ทวี่ ดั พระธาตุ เมืองพิชัย การเตะของมวยท่า เสาประกอบดว้ ย เตะรุก เตะแกห้ มดั เตะแกเ้ ตะสูง เตะแกเ้ ตะต่ำ เตะแกศ้ อกและเตะแก้ถีบ การใช้ศอก เป็นการใช้ศอกเฉียงมีความรุนแรงมาก เพราะเป็นการแกว่งแขนในลักษณะ เดียวกับการแกว่งแขนหรือวิ่งเร็ว มีลักษณะของการป้องกันตัวในขณะเดียวกันมือท่อนแขนจะลดมา ปิดหน้าให้ลำตัวและท่อนแขนสามารถจะชกั กลับมาป้องกันชายโครงไดอ้ ย่างรวดเร็ว การใช้ศอกเฉียง จะมลี กั ษณะคล้ายกับการใช้มดี ส้ัน คือ สามารถชกั ขึน้ เป็นศอกเฉียงได้รวดเรว็ และฟาดลงเปน็ ศอกจาม หรอื ศอกสับไดป้ ระกอบดว้ ย ศอกรกุ ศอกแก้หมดั ศอกแก้เตะ ศอกแก้เขา่ ศอกแก้ศอก และศอก แก้ ถบี การใช้เข่าของมวยท่าเสาไม่โด่งดังเท่าการเตะและการใช้ศอก นิยมใช้เข่าหลายชนิด เช่น เข่ารุก ประกอบด้วย เข่ารุก เตะแล้วเข่าตาม ต่อยแล้วเข่าตาม ถีบแล้วเข่าตาม ศอกแล้วเข่าตามต่อย พลาดแล้วควา้ คอและกระชากตเี ข่า เข่าแก้หมดั เขา่ แก้เตะ เขา่ แกถ้ ีบและเขา่ แก้ศอก การถีบของมวยท่าเสา ประกอบด้วย ถีบขา หรือถีบท้องน้อย แล้วตามด้วยศอก หมัดเข่า และเตะยาว

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6 การต่อยของมวยทา่ เสา ประกอบดว้ ย ต่อยรกุ หน่งึ สอง ตอ่ ยแกก้ ารรกุ ต่อยแกห้ มัด ต่อยแก้ เตะ ตอ่ ยแก้ถีบ ต่อยแก้เขา่ และตอ่ ยแกศ้ อก มวยท่าเสา ใช้การเตะแบบครึ่งแข้งอย่างแรงมากกว่าการปัดอาวุธของคู่ต่อสู้ ฉากออกนอก แล้วตามด้วยเตะ มวยท่าเสา ใช้อาวธุ พนั ลำหรือลงิ พนั หลักเป็นสว่ นมาก ซงึ่ เปน็ การตอ่ สู้อย่างต่อเน่ือง ในการจะเปิดช่องว่างให้มวยท่าเสาจะไม่ใช้เข่าลอย ศอกกลับหรือจระเข้ฟาดหางโดยเด็ดขาด เพราะ ผใู้ ช้จะไม่มหี ลกั และเปน็ การเปดิ โอกาสใหค้ ูต่ อ่ ส้ทู ำอันตรายดา้ นหลงั ได้ จากเอกลกั ษณต์ ่าง ๆ ทปี่ รากฏเดน่ ชดั ของสายมวยท่ีมชี ่ือเสียงของไทยทั้ง 4 ภาค ดังกล่าวน้ี จึงมีคำกล่าวขานถึงมวยไทยโบราณเหล่านี้ไว้ว่า “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา ไวกว่าท่า เสา” หรือ “หมัดตรงลพบุรี เตะดีโคราช ศอกสามารถไชยา ไวกว่าท่าเสา” ปรากฏในวงการหมัดมวย ของไทยมาถงึ ปจั จุบัน ดังน้ันจะเห็นไดว้ า่ ทีม่ าของมวยในแตล่ ะสายน้ันจะกระบวนท่าที่มชี อ่ื และลีลาไม้ ตายเปน็ ของตวั เอง ซ่งึ จะเห็นไดว้ ่าจากอดตี จนถึงปัจจบุ ันก็เห็นลลี าไม้ตายท่ีแตกต่างกนั ไป โดยเฉพาะ อย่างยิ่งของนักมวยไทยที่นำลีลาไม้ตายของแต่ละคนมาใช้ในการแข่งขันเพื่ อให้ได้รับชัยชนะในการ แขง่ ขนั ตอ่ คตู่ อ่ สู้ ความหมายของลลี าไม้ตาย ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของ ลลี า หมายถึง ทา่ ทางอนั งดงาม (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2554, 256) และไมต้ าย หมายถงึ การใชไ้ ม้มวยออกไปแลว้ ค่ตู ่อสู้ไม่สามารถแก้ไขได้หรือแก้ไขได้ยาก (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554, 345) ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ลีลาไม้ตาย หมายถึง ท่าทางการใช้อาวุธมวย ไทย ประกอบด้วย หมัด เท้า เข่า และศอก ที่ทำให้คู่ต่อสู้ไม่สามารถทำการต่อสู้ได้อีก เพราะได้รับ บาดเจบ็ หมดสติ หรอื ถูกนอ็ ก จัตุชัย จำปาหอม (2552) กล่าวว่า ลีลาไมต้ ายของมวยไชยา ไดแ้ ก่ ท่าเสือลากหางเป็นอากัป กริยาของเสือที่กำลังหมอบอยู่พร้อมที่จะตะครุบได้ทุกเวลา อากัปกริยาดังกล่าวทำให้คิดว่าผู้ที่ใช้ท่า เสือลากหางหมดแรงต่อสู้ จึงเกิดความประมาทพรอ้ มทีจ่ ะเข้าเผด็จศึก โดยการเข้าหาพร้อมเตะใสผ่ ้ทู ่ี ใชท้ ่าเสือลากหางย่อหลบต่ำพร้อมกระโจนเขา้ หาจับขาที่เตะและจับทุ่มลงทนั ที โดยใช้เข่าและศอกกด ทบั ลูกอัณฑะบริเวณอวยั วะเพศ และลกู กระเดอื กทำใหค้ ตู่ อ่ สเู้ จบ็ ปวด เขตร ศรียาภัย (2550, 289) กล่าวว่า ไม้มวยที่แก้ไม่ได้ คือ การใช้เข่าตามแบบฉบับไม้มวย ไทยที่ถูกต้องและแก้ไขไม่ได้มีอยู่แบบหนึ่ง คือ ตีหรืออัดเข่า ขณะที่ฝ่ายรุกกำลังจะเข่า ฉะนั้น การศึกษาให้ชำนาญจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดแก่ผู้ต้องการความรู้เกี่ยวกับมวยไทย และ เขตร ศรียาภัย (2550, 107) ยังกล่าวอีกว่า อีกไม้หนึ่งซึ่งเป็นการใชห้ มัดพิฆาต (หมัดหลัง) เป็นไม้เด็ดเมื่อปฏิปักษ์จะ โนม้ คอ (ซึ่งควรเป็นผลงานของการล่อให้โน้ม) และขณะท่ีปฏิปักษ์ตกหลุมลอ่ โดยเอ้ือมมือมาน้ันให้รีบ ยอ่ ตัว (ความจรงิ ย่อเข่า) ลงจากระดับที่คุมประมาณ 9-10 นิ้ว เปา้ หมายหรอื จุดอ่อนท่ีควรจะลั่นหมัด

7 คอื ท่ลี น้ิ ป่ีหรอื ทอ้ งน้อย หมดั นีเ้ ปน็ หมัดเด็ดหรือ “ทเี ดียวอยู่” จึงตอ้ งล่ันเต็มแรง อย่างไรกด็ ีเมื่อได้ล่ัน หมดั แล้วไม่ตอ้ งรีรอ อย่าลืมวา่ ขณะนี้ (เรา) กำลังอย่ใู นท่ายอ่ ตวั ควรใช้ “เขา่ โดด” หรือโดดตีเข่า โดย หมายเป้าที่ลูกกระเดือกหน้าอก หน้าท้อง ฯลฯ และหลังจากตีเข่าแล้วควรสบั ศอก (Chopping) ที่หัว ปฏิปักษ์อีก 1 ที หากถูกเป้า แรงศอกผสมกับน้ำหนักตัวจะทำให้เกิดแผลฉกรรจ์ การแข่งขันอาจยุติ ตามเหตุผลของหลักวิชา (TKO) และมวยไทยที่ท่าสำคัญเหล่านี้ เรียกว่า “แม่ไม้กล” ซึ่งอำนวยผล มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง เด็ดขาดแต่ไม่มใี ครนำออกมาใชเ้ พราะไม่สนใจ โบราณท่านไดจ้ ำแนกไว้เป็นคู่ ๆ เพื่อชว่ ยความจำ ซ่ึง เขตร ศรียาภยั (2550, 13) ได้ยกตวั อย่างเปน็ สงั เขปทำให้ทราบกนั ไว้ดงั นี้ เถรกวาดลาน ฝานลูกบวบ มอญยนั หลกั ปกั ลกู ทอย หกั งวงไอยรา นาคาบิดหาง สบั หัวมจั ฉา ปกั ษาแหวกรงั ในอดีตการชกมวยในแตล่ ะครั้งนกั มวยไดใ้ ช้อาวุธประจำตัวใช้พิชิตคู่ต่อสูห้ รือที่เรียกวา่ ลีลา ไม้ตาย ตัวอย่างดังนี้ ในการชกระหว่างนายแพ เลี้ยงประเสริฐ กับนายเจีย แขกเขมร นายแพ เลี้ยง ประเสริฐไดน้ ำไม้เด็ด (ทีเดียวอยู่) ออกมาใชท้ ่วงทา่ เข้ามวยประกอบสองแขนช้ขี ้ึนตรงไปเบอ้ื งหน้าเป็น ลักษณะคุมที่ตัดปัญหาการบุกตรงหน้าและยังมีตนี พร้อมที่จะแข่งหรือเตะหรือเหน็บอันเป็นไม้ (มวย) สำคัญเหนือหมัดอีกด้วย ฉะนั้นเมื่อนายเจีย แขกเขมร เผลอเพียงเสี้ยววินาที จึงถูกนายแพ หนุมาน ถวายแหวนโดยฉับพลนั ยังพออนั ตรายรา้ ยแรงให้นายเจียเสยี ชีวติ (เขตร ศรียาภัย, 2550, 227) พระ เจ้าเสือทรงมีฝีมือการชกมวยไทยชำนาญมาก เคยใช้ลีลามวยไทยไล่ชกเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ซึ่งเป็น ฝรั่งที่สมเด็จพระนารายณ์โปรดปรานมาก โดยใช้วิธีการเตะ ต่อย แล้วลงเข่า เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ ได้รับบาดเจ็บบอบช้ำเป็นอย่างมาก (ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 81, 2510, 45) นายทองดี ฟันขาว เป็นคนเมืองพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ชกกับนายถึกมวยดังร่างใหญ่ กระโดดเหยียบเข่าด้วย ไม้หนุมาน เหยียบลงกา กระโจนข้ามหัวใช้ส้นเท้าโขกท้ายทอย และกระโดดลงไปข้างหลังรีบหันกลับมาเตะก้าน คออย่างเต็มแรง นายถึกล้มทั้งยืนแน่นิ่งกลางสนาม ชกกับครูนิลในท่าปลดดาบจนครูนิลไม่สามารถ ออกอาวุธได้และแทงเข่าขวาเข้าที่หน้าท้อง ศอกขวาทีป่ ลายคางและหมัดซ้ายปากครึ่งจมูกครึ่ง ครูนิล สลบคาที่ ต่อมาได้ชกกับครูห้าวใช้ไม้ หนุมานเหยียบลงกาขึน้ ฟันศอกคูบ่ นศรี ษะพร้อมกับตีลงั กาข้าม ศรี ษะไปทางดา้ นหลงั และเตะปากครึ่งจมูกครึง่ และเตะตามเขา้ ท่ีขากรรไกร ครูห้าวสลบคาที่ ต่อมาชก กับครูหมึกใช้ท่าเตะจากสำนักท่าเสาเรียกว่า นาคาสะบัดหาง ครูหมึกสลบแน่นิ่งกับที่ ต่อมาได้เป็น ทหารคู่พระชนม์ของพระเจ้ากรุงธนบุรีหรือพระเจ้าตากสินมหาราชจนได้นามว่า พระยาพิชัยดาบหัก (กฤษณะ แก้วศรนี าค, 2542, 74-75) ในการชกระหว่างนายทับ จำเกาะ นักมวยฝีมือยอดเยี่ยมมาก นักมวยจากวังเปรมประภากร โดยมีกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์เป็นผู้ควบคุมการฝึกซ้อมกับนายประสิทธิ บุญอารมณ์ ซึ่งเป็น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 8 ครูพลศึกษาเคยฝึกซ้อมอยู่กับ “ครูทิม” การฝึกซ้อมอยู่ในการควบคุมดูแลของพระยาภักดีนรเศรษฐ์ พระยาโอวาทวรกิจและพระยาฤทธิ์ไกรเกรียงหาญ ณ สนามมวยสวนกุหลาบ การชกเป็นไปแบบ ระมัดระวังมาก เพราะต่างก็มีไม้ตายด้วยกันทั้งสองฝ่าย นายทับใช้ชั้นเชงิ หลอกต่อยผิด นายประสิทธิ์ จึงวิ่งเข้าต่อยแต่เป็นจังหวะที่นายทับเตะตามอย่างรุนแรง และนายทับได้เตะติดต่อกันหลายครั้งจน นายประสิทธิ์ล้มลงด้วยความเจ็บปวดและยอมแพ้ไป (สำนักงานงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่ง ชาติ, 2540, 47) ในการชกระหว่างนายสิน ดิลกวลิ าสกับนายพนู ศักดาประชาชนต่างลุกขึ้นยืนเม่ือได้ เห็น นายสิน ดลิ กวลิ าส ต้องหยดุ ชะงักหงายหลังออกมาเพราะแรง “ศอกกลบั ” อนั เป็นไมล้ ับ ซ่ึงนาย พนู ศกั ดา งัดออกมาใช้เป็นคร้งั แรกเม่ือปี พ.ศ. 2464 (เขตร ศรยี าภัย, 2550, 140) ในการชกระหว่าง ณรงค์นอ้ ย เกียรตบิ ัณฑติ นกั มวยฝีมือดีของไทย ชกกับเบนนี่ อควิ เดช แชมเปี้ยนคาราเต้ของอเมริกา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2520 ณ สนามโอลิมปิค ออดิทอเรียม นครลอสแองเจลีส ผลปรากฏว่า ณรงค์ น้อยสามารถเตะปลายคางอคิวเดช หลับกลางยกสุดท้าย (สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ, 2540, 66) นอกจากนี้ อเล็ก ซุย (2551) กลา่ วว่า สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ในชว่ งปี ค.ศ. 1555-1605 หลังจากได้รับอิสรภาพจากการเป็นเชลยของประเทศพม่าในปี ค.ศ. 1574 เข้ารับ ตำแหนง่ ผสู้ ำเร็จราชการแผ่นดินในเมืองพิษณโุ ลก โดยมกี ารฝกึ มวยให้กองทัพอยา่ งเปน็ ความลับ การ ฝึกดว้ ยพหุยุทธ์พนั ลำเป็นการฝึกการต่อสู้แบบไม้ตายซึ่งเป็นการฝึกใหผ้ ชู้ ายสามารถใชส้ ่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายในการต่อสู้กับศัตรู โดยการใชย้ ทุ ธวิธีท่รี ุนแรง เช่น การฉีกและการกัด หลักสำคัญของการฝึก ที่กล่าวไว้ในประวตั ิศาสตร์ คอื การฝกึ ความเร็ว การเคลื่อนไหว การเตน้ ของหวั ใจ ถ้ามคี วามสามารถ เขา้ ใจในหลกั การดังกล่าวกจ็ ะนำไปสชู่ ยั ชนะ มวยไทยมีวิธีทำและวิธีแก้เป็นคู่ ๆ ซึ่งรู้จักกันในนาม “ไม้ตายไม้เป็น” ไม้ตายของหมัดคาด เชือกตามวิธีการของมวยไทยดัง้ เดิม อาจใช้นิ้วควักนัยน์ตาได้ ผู้ที่เคยควักนัยน์ตาจนเลือ่ งลือกระฉ่อน เป็นที่หวาดเกรงของคู่ปรปักษ์มาแล้ว คือ ครูกันกี้ ปรมาจารย์มวยจากเมืองตะกั่วป่า (เขตร ศรียาภัย, 2550, 67) ไม้เป็นคือ การแก้ไขการกระทำของปฏิปักษ์ให้พ้นอันตราย อาทิเช่น นักมวยลูกประดู่วัน เมืองจันทร์ มีวิธีปราบคู่ปฏิปักษ์ด้วยการโน้มคอตีเข่า ซึ่งสมัยโบราณเรียกมวยไทยนี้ว่า “หักคอ เอราวัณ” กล่าวได้ว่า เป็นไม้ตายของวัน เมืองจันทร์ เพราะนักมวยฝีมือดีถูกวันเมืองจันทร์ปราบเชน่ ทวี จิตรขุม, เสงี่ยม จุฑาเพ็ชร์, เหม ชิตปรีชา, เลิศ รำสูงเนิน มวยดีโคราช, นามั่น ใจเด็ดและจีนไก่ แซ่อมุ้ ฯลฯ (เขตร ศรียาภยั , 2550, 90) กลา่ วว่า ถึงแมว้ ัน เมืองจันทร์จะมีไม้ตายหักคอเอราวัณ แต่ ขึ้นชื่อว่าไม้ตายก็ต้องมีไม้แก้ กล่าวคือ ในการชกระหว่างวัน เมืองจันทร์กับเติม บุณโยบล ซึ่งเติม บุณโยบลไม่มีคอให้คล้อง โดยเหยียดหมัดซ้าย ซึ่งยาวกว่าศอกไปยันหน้าวัน เมืองจันทร์ไว้หน้าหงาย ตวัด (Uppercut) หมัดขวาอันทรงพลังเข้าเป้าใต้ราวนมซ้ายอันเป็นจุดตรงหัวใจและไกลเลื่อนขึ้นไป ถึงยอดคาง (Point) สลับกันไปเรื่อย ๆ ที่ราวนม กระบังลม ลิ้นปี่ ซ้ำแล้วซ้ำเล่าจนถึงจุดจบของวัน เมืองจนั ทร์

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 9 จากการกล่าวมาเบื้องต้นสรปุ ได้ว่า ลีลาไม้ตาย หมายถึงเป็นไม้มวยที่ใช้อวยั วะหมัด เท้า เข่า และศอก ออกไปลักษณะบังคับแล้วคู่ต่อสู้ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม้ตายเป็นความสามารถเฉพาะบุคคล ซึ่งนักมวยแต่ละคนจะมีไม้ตายแตกต่างกันไป ที่จะสามารถนำไปใช้ในการแข่งขันเพื่อสู่ชัยชนะในการ เผด็จศึกคู่สู้ในระหว่างการแข่งขัน ทำให้ได้รับการยอมรับถึงชั้นเชิงการใช้ไม้ตายจนไปสู้ผลสำเร็จใน อาชีพของการเป็นนักมวยไทยอาชพี เชน่ เปน็ แชมป์ในเวทีมวยมาตรฐาน ไดร้ ับรางวลั โล่เกียรติยศต่าง ๆ เป็นต้น ส่งให้เปน็ ยอดมวยไทยทค่ี นไทยและคนต่างประเทศยอมรบั และนบั ถือ หลกั การของไม้ตาย อำนาจ พุกศรีสขุ (2552) ผเู้ ชีย่ วชาญด้านมวยไทย กล่าววา่ ครูบางทา่ นบอกวา่ ทา่ นไี้ ม้ตายท่า นั้นไม้ตาย แต่ว่าไม้ตายไม่ใช่เป็นแค่ท่า เป็นท่าที่นำออกไปแล้วก็เป็นไม้ตายเลย แต่มีองค์ประกอบ ก่อนที่เราจะไปถึงไม้ตาย เราจะต้องเข้าใจหลักการของหลักพื้นฐานของการต่อสู้แบบไทยก่อน หลัก พื้นฐานการต่อสู้แบบไทยที่ถ่ายทอดสืบกันมาทางสำนักดาบศรีไตรรัตน์ โดยครูทองหล่อ ไตรรัตน์ ประกอบไปด้วยองค์ 3 ส่วน 4 หลัก 7 องค์ 3 ประการของการตอ่ สู้ ประกอบด้วย 1) การทำหรือการ โจมตขี ้าศึก 2) การรบั และ 3) การหลบ สว่ น 4 ขององค์ 3 ประการ แบง่ ออกเปน็ อยา่ งละ 4 ทักษะ คือ การทำ ได้แก่ 1.1) ทำจริง 1.2) ทำเล่น 1.3) ทำจริงเป็นเล่น และ 1.4) ทำเล่นเป็นจริง การรับ ได้แก่ 2.1) รับนอก 2.2) รับใน 2.3) รับไขว้ และ 2.4) รับแหวก การหลบ ได้แก่ 3.1) หลบใน 3.2) หลบยอก 3.3) หลบนอก และ 3.4) หลบเข้า นั่นก็คือ องค์ 3 ส่วน 4 การปฏิบัติองค์ 3 ส่วน 4 เมื่อ ผสมกันแล้วก็จะใช้งานได้อยู่ที่หลัก 7 ประการหลักของการต่อสู้ ประกอบด้วย 1)หลักของขวัญ คือ จิตใจ จิตวิญญาณในการต่อสู้ ขวัญต้องดี ตัวอย่างของศิลปะการต่อสู้ไทย เรื่องขวัญ คือ การใช้ เครื่องรางของขลังทั้งหลายทำให้มีจิตใจรุกร 2)สร้างสามเหลี่ยม หมายถึง สร้างฐานให้มั่นคงฐานท่ี ม่ันคงท่สี ดุ ของการต่อสู้คือฐานสามเหลี่ยม ไมว่ า่ จะยืนคนเดยี วสหู้ รอื ใชก้ องทพั ตอ่ สู้ในทางทหาร กลุ่ม กองพลหรือกองทัพน้อยว่าหน้าหนึ่งหลังสองทั้งนั้นเป็นรูปสามเหลีย่ ม ถ้าเป็นในทางธุรกิจหรือในทาง ทหารก็ต้องมีที่ตั้งมั่นที่เหมาะเจาะ 3)ทำความพร้อม หมายถึง พร้อมกับศัตรู คือสอดคล้องกับศัตรู เรียกว่า “ซิงโค ไนเซชั่น” ก็คือว่าด้วยอัตราเร็วที่สอดคล้องกับศัตรคู ืออาจจะเริ่มทีหลังศัตรูนิดหนอ่ ย เมื่อเราสังเกตได้แล้วเราจึงทำการให้สอดคล้องกับศัตรู ความพร้อมเหมือนกับการเคลื่อนที่ของการ ต่อสู้มันจะมีช่วงทีเ่ ป็นกับช่วงที่ตาย คือขณะที่เราจดมวยอยู่คือช่วงเป็น แต่เมื่อเราตัดสินใจไปแล้วพุ่ง หมัดไปแล้ว ขณะที่หมัดส่งออกไปยังไม่ถึงเป้าเป็นช่วงตาย เพราะเราไม่สามารถจะย้ายมันไปที่อื่นได้ จนกว่ามันไปสุดแล้วมันจะเป็นช่วงเป็นอีกครั้งหนึ่ง เพราะฉะนั้นช่วงตายคือช่วงที่เราเริ่ม พุ่ งหมัด เหมือนกบั อธิบายว่าแมลงวันท่ีเกาะอย่บู นโต๊ะอยู่ดี ๆ เราไปจบั มนั ไม่ไดเ้ พราะมันอยู่ในช่วงเป็นพอเรา เออื้ มไปมันกเ็ ป็นไปในทิศทางไหนเราไม่รู้ แต่ถ้าเราเคาะโต๊ะให้มนั บินข้ึนมาแล้วเราจบั ในลักษณะแบบ นี้ คือ เป็นตายเป็น อันนี้คือลักษณะที่จะทำการให้เกิดความพร้อม 4) ทอนกำลังมีทั้งทอนให้น้อยลง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 10 กับทอนให้มากขึ้นด้วย ทอนกำลังแบ่งออกเป็นหลักปฏิบัติ คือ 4.1) ตัดต้นกำลัง คือ โจมตีตรงส่วนที่ เป็นต้นกำลังของศัตรู 4.2) เพิ่มแรงเหวี่ยงใหม้ ากขึ้น คือ เสริมแรงเหวี่ยงคู่ต่อสู้ใหม้ ากขึ้น อาจจะเพ่ิม แล้วส่งไปเลยหรือเพิ่มดดู ซับไวแ้ ล้วก็สำรอกกลับไป 4.3) รับแรงเหวี่ยง คือ การคำนวณเชิงมุมว่าด้วย อัตราส่วนของกำลัง 4.4) งัดกำลังกด คือ การใช้หลักของการดีดการงัด อธิบายโดยตรงตัวก็ได้ อธบิ ายดว้ ยองค์ประกอบก็ได้ คือ องค์ประกอบของมนั ก็คือเปลีย่ นกฎของการต่อสู้หรือเปลี่ยนเกมเลย ถ้าในจังหวะที่ทำอะไรแล้วเคลื่อนไหวไม่ได้ต้องใช้หลักของการงัด คือ ไม่เปลี่ยนกฎก็เปลี่ยนเกมสอง อย่างนี้ และ 4.5) เข้ามุมผิด คือ ไม่ว่าคู่ต่อสู้จะโจมตีมาด้วยกำลงั ด้วยแรงขนาดไหนก็ตาม ให้เคลื่อน ตัวเขา้ ไปในมมุ ท่ีการโจมตีของศัตรทู ำอะไรไปแลว้ ผดิ 5)สัดส่วน คำนวณระยะตอ่ ส้วู า่ ถ้าศัตรูยาวขนาด นี้ เราะจะต้องตอบโต้ด้วยอาวุธที่มีความยาวขนาดนี้ ควรจะเข้าไปในมุมไหน คือเรียกว่าเหลี่ยมมุม เหลี่ยมดี มุมดี คือลักษณะของการปฏิบัติแบบสัดส่วน 6)กลยุทธ์ คือชั้นเชิงยุทธศาสตร์ ถ้าแปลเป็น ภาษาไทยเรยี กวา่ แมไ่ มห้ รือลูกไมใ้ ชเ้ คลื่อนทโี่ จมตีด้วยกลยุทธ์ แมไ่ ม้และลูกไมจ้ ะเป็นไม้รุกหรือไม้รับก็ สุดแล้วแต่ และสุดท้ายเลยทจ่ี ะเกยี่ วข้องกบั ไม้ตายก็คือ 7) ลักษณะบังคบั คือการกระทำใด ๆ ออกไป แล้ว คู่ต่อสู้จะตอบโต้หรือไม่ตอบโต้ ก็จะไม่สามารถแก้การสูญเสียได้ คือยังไงต้องโดน ลักษณะบังคบั ถ้าทำง่าย ๆ คือการโจมตีเข้าไปในวงรอบของการตัดสินใจของศัตรูคือการให้วงรอบการตัดสินใจของ ศัตรูนั้นยาวกว่าวงรอบการตัดสินใจของเรา การที่จะเอาชนะศัตรูดว้ ยลักษณะบังคับคือโจมตีเข้าไปใน ระบบวงรอบการตัดสินใจตรงจุดไหนก็ได้แล้วทำให้วงรอบการตัดสินใจของศัตรูนั้นมันกว้างขึ้นแล้วก็ ทำให้วงรอบการตัดสินใจของเราแคบลง อีกส่วนคือโจมตีไปที่ 3 ส่วนคือ 7.1) ทางจิตวิญญาณ 7.2) โจมตีที่ความรู้สึกนึกคิด 7.3) โจมตีที่ร่างกาย การโจมตีทั้ง 3 ส่วนนี้ ต้องปฏิบัติพร้อม ๆ กันจะทำให้ ศตั รู ไม่สามารถเปลย่ี นแปลงวงรอบการตดั สนิ ใจของตวั เองเพ่มิ ขึ้นได้ จากการกล่าวมาเบื้องต้นสรุปได้ว่า หลักการของไม้ตาย ประกอบด้วยองค์ 3 ส่วน 4 องค์ ไดแ้ ก่ 3 ส่วน คือ การทำ การรบั และการหลบ ส่วน 4 ขององค์ 3 แบ่งออกเป็นอยา่ งละ 4 ทกั ษะ การ ปฏิบัติ องค์ 3 ส่วน 4 ให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายอยู่ที่หลักการต่อสู้ 7 ประการ คือ หลัก ของขวัญ สร้างสามเหลย่ี ม ทำความพรอ้ ม ทอนกำลงั สดั สว่ น กลยทุ ธแ์ ละลกั ษณะบังคับ ดังน้ันการท่ี จะฝึกการใช้ลีลาไม้ตายมวยไทยนั้น ผู้ฝึกจะต้องเรียนรู้และเข้าใจของหลักการใชข้ องไม้ตายเพราะจะ ทำให้ไมต้ ายนัน้ มีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลทดี่ ที ี่สดุ จดุ อนั ตรายท่เี ปน็ เปา้ หมายของการชกมวยไทย ร่างกายของมนุษย์ทุกคนย่อมมีจุดอ่อน ถ้าหากถูกกระทบกระเทือนอย่างแรงหรือปานกลาง อาจจะทำให้ระบบต่าง ๆ หยุดนิ่งชั่วขณะหรือเป็นอันตรายได้ เนื่องจากส่วนนั้นเปราะบางและมี เส้นประสาทอยู่ จุดสำคัญในร่างกายของคนเราที่มีความสำคัญต่อการชกกีฬามวยไทยหรือเป็น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 11 เป้าหมายในการชกมีหลายแห่ง และเมื่อมนุษย์รู้จุดอ่อนของตนเอง ก็จะต้องหาทางป้องกันจุดสำคัญ ของรา่ งกายเพอ่ื ความปลอดภัยไม่ให้ค่ตู ่อสูท้ ำร้ายได้ในขณะฝึกหรือขณะทำการชกจริง ภาพที่ 1.1 จดุ สำคญั ของร่างกายดา้ นหนา้ ที่มา : สำนกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ (2540, 519) ภาพท่ี 1.2 จุดสำคัญของร่างกายดา้ นหลัง ทม่ี า : สำนักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ (2540, 520) 1. หน้าผากหรือแสกหน้า ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณคิ้วทั้งสองข้างขึ้นไปจนถึงโคนผมด้านหน้า หน้าผากหรือแสกหน้า เป็นบริเวณที่เมื่อถูกกระแทกทำให้แตกง่าย เนื่องจากมีกระดูกรองรับ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 12 โดยเฉพาะบริเวณสันของหวั ค้วิ เปน็ กระดูกมรี ูปลักษณะเว้าเป็นโพรง ถ้าหากเกดิ การแตกขนึ้ ท่ีบริเวณนี้ อาจทำให้เลอื ดไหลเข้าไปที่บรเิ วณลูกตา อาจเป็นการลดความสามารถในการมองเหน็ อาวธุ ท่ีใช้ได้ผล และทำให้บรเิ วณนี้เกดิ การบาดเจ็บและถึงแตกไดค้ ือ โดยการใช้ศอกตี หรือโดยการใชห้ มัดชก 2. ขมับหรือทัดดอกไม้ ตำแหน่งที่ตั้ง ตั้งอยู่บริเวณปลายคิ้วจนถึงใบหูส่วนบน บางครั้งเรา นยิ มเรียกกนั วา่ ทัดดอกไม้ คำว่า ทดั หมายถงึ เอาสิ่งของหรือดอกไมเ้ หน็บหูตรงบรเิ วณท่ีเรียกว่า ทัดดอกไม้ ทัดดอกไม้ คือ สว่ นอวยั วะบริเวณระหวา่ งหกู บั ขมับ (ราชบณั ฑติ สถาน, 2531, 383) กระดูกส่วนนี้มีลักษณะบาง เมื่อกระแทกแรงอาจจะยุบตัวลงหรือร้าว และก่อให้เกิดการ เจ็บปวด มึนงง อาจหมดสตไิ ด้ อาวธุ ท่ีทำใหบ้ รเิ วณนไี้ ดร้ ับอนั ตรายและไดผ้ ลคือโดยการใชศ้ อกตี การ ใชห้ มดั ชก การใชเ้ ทา้ เตะบริเวณนี้ 3. จมูก ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณหัวคิ้วผ่านลงมาระหว่างตรงกลางของใบหน้าเป็นส่วนที่ยื่น ออกมา ถ้าหากถูกกระแทกอย่างรุนแรงดั้งจมูกอาจหักหรือยุบได้ ทำให้เกิดการเจ็บปวด ภายในมี เส้นโลหิตฝอยเป็นจำนวนมากเมื่อถูกกระแทกอาจมีโลหิตไหลออกมาทางจมูกหรือที่เราเรียกว่าเลือด กำเดา ทำให้ไม่สะดวกต่อการหายใจ ทำให้เหนื่อยง่าย อาวุธที่ใช้ได้ผล และทำให้บริเวณนี้ได้รับ อันตรายโดยการใช้ศอกตแี ละชกหมดั ตรง 4. ลูกตา ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณเบ้าตา ลูกตาทำหน้าที่ในการมองเห็นคู่ต่อสู้ว่าจะไป ทิศทางใดใช้อาวุธอะไร เมื่อลูกตากระทบกระเทือนหรอื ถูกกระแทกอาจมองเห็นไม่ชัดหรือมองไม่เหน็ ซึ่งจะเป็นผลทำให้การเคลือ่ นไหวหลบหลีกคู่ต่อสู้ไมด่ ีหรือหลบไม่ทันเป็นอุปสรรคในการต่อสู้ อาวุธท่ี ใช้ไดผ้ ลและทำใหบ้ ริเวณน้ไี ดร้ ับอันตราย คือโดยการใชศ้ อกตีและหมัดชกถูกบรเิ วณนี้ 5. ใต้กกหู ตำแหน่งทีต่ ั้งอยรู่ ะหวา่ งกระดูกขมับด้านล่างกบั กระดูกโหนกแก้มด้านหลังภายใน หูจะมีอวัยวะที่ทำหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการทรงตัว เมื่อบริเวณนี้ถูกกระแทกจะทำให้หูอื้อ หู ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หูชั้นนอก หูชั้นกลาง หูชั้นใน นอกจากจะเกี่ยวกับการได้ยินแล้ว ยังช่วยใน การทรงตัวด้วย โดยมีประสาทที่รับความรู้สึกเกี่ยวกับการทรงตัวและมีหน้าที่เกี่ยวกับการทรงตัว (สุคนธ์ คอนดี และ เกศินี เห็นพิทักษ์, 2531, 180-182) ถ้าหากถูกกระทบกระเทือนมาก อาจทำให้ หมดสตไิ ด้ อาวธุ ท่ใี ช้ไดผ้ ลทำให้บริเวณน้ีไดร้ ับอนั ตราย โดยการใช้ศอกตีลงไปบริเวณน้ีหรือใช้หมัดชก หมัดเหวยี่ งบางครัง้ อาจจะถูกเทา้ เตะทำใหเ้ ป็นอันตรายได้ 6. คางและขากรรไกร ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณที่ส่วนล่างใบหน้า บริเวณตรงที่ตั้งของปาก และบริเวณของริมฝีปากทั้งสองข้าง เรียกว่า ขากรรไกร ส่วนคางคือ อยู่ใต้ปากลงไปด้านล่าง จุด บริเวณน้ี เมอื่ ได้รบั การกระแทกจะทำให้กรามบนกบั กรามล่างกระทบกันทำให้ประสาทในส่วนนี้ได้รับ การกระทบกระเทือนเกิดอาการมนึ งง ถ้าหากกระทบกนั แรงมากจะทำให้กระดูกกรามล่างเคลื่อนท่ีไป จากเดิม อาจจะหลุดหรือหักได้ บางครั้งอาจทำให้เกิดอาการหมดสติได้ อาวุธที่ใช้ได้ผลและทำให้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 บรเิ วณน้ไี ด้รับอันตราย คือ โดยการใช้ศอกตี ศอกงัด หมัดตรง หมดั เสย หมัดเหว่ียง เตะตรง เตะเฉียง เข่าโหนทีถ่ กู บรเิ วณนี้ 7. ลิ้นปี่ ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณกระดูกใต้หน้าอก หรืออยู่บริเวณช่องต่อระหว่าง ท้องกับ หน้าอกกระดูกตรงหน้าอกมีกระดูกซี่โครงโค้งเข้ามาเป็นมุม มีกล้ามเนื้อท้องหลายมัด ถ้าถูกกระแทก จะทำให้เกิดอาการจุก เสียด หายใจไม่ค่อยสะดวก อาวุธที่ใช้ได้ผลและทำให้บริเวณนี้ได้รับอันตราย คือ โดยการใชห้ มดั ชก หมดั ตรง หมดั เสย เข่าหรือใชถ้ บี 8. คอต่อและท้ายทอย ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณคอด้านข้างและคอด้านหลัง ส่วนท้ายทอย ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังติดกับคอ บริเวณดังกลา่ ว ถ้าได้รับการกระทบกระแทกจะทำใหก้ ระเทือนไปถงึ ระบบประสาท บางครั้งถ้าโดนที่บริเวณคออาจทำให้กระดูกบริเวณนี้หัก อาจทำให้หมดสติหรือ เสียชีวิตได้ อาวุธท่ใี ช้ได้ผลและทำใหบ้ รเิ วณนีไ้ ดร้ บั อันตราย คือ โดยการใช้เท้าเตะหรือใช้หมดั ชก 9. ต้นแขน คอื บริเวณแขนท่อนบนที่ตอ่ กบั ช่วงไหล่ มกี ลา้ มเนอ้ื อย่หู ลายมดั เมอื่ ถกู กระแทก หรอื มีการบอบชำ้ มาก ไมส่ ามารถท่จี ะใช้แขนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ถ้าโดนกระแทกอย่างแรงอาจทำ ให้กระดูกโคนแขนหักได้หรือข้อต่อตรงหัวไหล่อาจจะหลุดออกจากที่เดิม อาวุธที่ใช้ได้ผลและทำให้ บรเิ วณนไี้ ด้รบั อันตราย คอื โดยการใช้ศอกตีหรือใช้เทา้ เตะ 10. ชายโครง ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณข้างลำตัวแนวของกระดูกซี่โครง ตั้งแต่บริเวณรักแร้ลง ไปถงึ กระดูกซีโ่ ครงซี่สดุ ท้ายถา้ ได้รับการกระแทกจะเกิดอาการเจ็บปวดและอาจจะหักหรือแตกร้าวได้ อาวธุ ที่ใชไ้ ด้ผลและทำใหบ้ ริเวณนี้ไดร้ ับอันตราย คอื โดยการใชเ้ ท้าเตะหรือใชเ้ ข่าตี ไปบนบรเิ วณน้ี 11. สะดอื และท้อง ตำแหน่งทตี่ ้ังอยู่บริเวณจดุ ศูนย์กลางของลำตวั ด้านหน้าภายในช่องท้อง เป็นที่ตั้งของอวัยวะต่าง ๆ หลายชนิด เช่น กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ ลำไส้ใหญ่ ลำไส้เล็ก ถา้ หากนกั กีฬามวยไทยไม่มีความสมบูรณ์หรือกล้ามเน้ือไม่แข็งแรง เมอื่ ถกู กระแทก อยา่ งแรงจะทำให้ อวัยวะต่าง ๆ ได้รับความกระทบกระเทือนเป็นอันตรายได้ อาวุธที่ใช้ได้ผลและ ทำให้บริเวณนี้ได้รับ อนั ตราย คอื โดยการใชเ้ ทา้ เตะ ถบี และเข่า 12. กระดูกสันหลัง ตำแหน่งที่ตั้งอยู่ส่วนหลังของร่างกาย ลักษณะเป็นกระดูกที่ต่อกันเป็น ข้อๆ ถ้าได้รับการกระแทกอาจจะหัก หรือได้รับการกระทบกระเทอื นจะได้รับอันตราย เพราะกระดูก สนั หลังจะเกย่ี วกับการทำงานของระบบประสาท อาวธุ ที่ใชไ้ ด้ผลและทำให้บริเวณนี้ไดร้ ับอันตราย คือ โดยการใชเ้ ท้าเตะ และ เขา่ 13. ที่ต้ังของไต ตำแหน่งทตี่ ง้ั อยบู่ ริเวณเหนือเอวด้านหลัง ไตขา้ งซา้ ยจะตงั้ อยู่สูงกว่าข้างขวา เล็กน้อย ถ้าถูกกระทบกระเทือน ไตอาจจะแตกได้ ถ้าหากรักษาไม่ทันอาจจะเสียชีวิตได้ อาวุธที่ใช้ ไดผ้ ลและทำให้บริเวณน้ไี ด้รับอนั ตราย คือ โดยการใช้เท้าเตะ และเขา่ 14. ท่ตี ั้งของอวยั วะเพศ ตำแหนง่ ท่ตี งั้ ตั้งอยใู่ นบรเิ วณใตก้ ระดูกหวั เหนา่ ระหวา่ งขาหนบี เป็น อวัยวะที่สำคัญอย่างหนึ่ง เมื่อได้รับการกระทบกระเทือนจะทำให้ไม่สามารถใช้อวัยวะของร่างกายได้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 14 อย่างมปี ระสิทธภิ าพ อาวุธทใี่ ช้ได้ผลและทำใหบ้ รเิ วณน้ีไดร้ ับอันตราย คอื โดยการใชเ้ ท้าถบี เตะ และ เข่า 15. ต้นขา คือบริเวณส่วนแยกออกไปจากเอวลงไปถึงเข่า ต้นขาหรือโคนขาประกอบด้วย กล้ามเนื้อหลายมัด และถ้าหากกล้ามเนื้อได้รับความบอบช้ำ จะทำให้เกิดการเจ็บปวด ทำให้การ เคลื่อนไหวของเท้าไมม่ ีประสิทธิภาพ บางครง้ั อาจจะยืนอยู่ไม่ได้ อาวุธท่ีใชไ้ ด้ผลและ ทำให้บริเวณนี้ ไดร้ บั อนั ตราย คอื โดยการใช้เทา้ เตะและเข่า 16. ขาพับ ตำแหนง่ ที่ต้ังอยดู่ ้านหลังของเข่า มีเอ็นและเยื่อหุ้มบริเวณน้ีรอบ ๆ และยึดอยู่กับ ข้อต่อนี้ ถ้าถูกกระแทกหรือกระทบบ่อยครั้ง จะทำให้เกิดอาการเจ็บปวดเป็นอุปสรรคต่อการ เคลื่อนไหว ทำให้การทรงตัวไม่ดีอาจทำให้เส้นเอ็นเกิดการอักเสบหรือฉีกขาดได้ อาวุธที่ใช้ได้ผลและ ทำให้บริเวณน้ีไดร้ ับอันตราย คือ โดยการใชเ้ ท้าเตะตดั ลา่ ง 17. น่อง ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังของหน้าแข้งใต้ขาพับลงมาเล็กน้อย ประกอบด้วย กล้ามเนอ้ื มดั ตา่ ง ๆ ทีส่ ำคัญ หนา้ ทเี่ ก่ียวกบั การช่วยในการเคล่ือนไหวของเทา้ ถ้ากล้ามเน้ือส่วนน้ีได้รับ การบอบช้ำจะเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหวและการใช้เท้าให้เป็นประโยชน์ อาวุธที่ใช้ได้ผลและทำ ใหบ้ รเิ วณน้ีไดร้ บั อันตราย คอื โดยการใชเ้ ท้าเตะตัดล่าง 18. หน้าแขง้ ตำแหนง่ ที่ต้งั อยู่บริเวณดา้ นหน้าของน่อง หน้าแข้งเปน็ อวัยวะทแี่ ข็งแรง เพราะ มีกระดูกหน้าแข้งและผิวหนังหุ้มอยู่ แต่ส่วนนี้เป็นอันตรายได้ง่าย คือ บริเวณด้านข้างด้านนอก และ ด้านในของหน้าแข้ง เมื่อถูกกระแทกจะเดาะหรือหักง่าย อาวุธที่ใช้ได้ผลและทำให้บริเวณนี้ได้รับ อนั ตราย คอื โดยการใชเ้ ทา้ เตะตดั ลา่ ง 19. หลังเท้า ตำแหน่งที่ตั้ง คือ ตั้งแต่ข้อเท้าลงไปถึงปลายนิ้วเท้า กระดูกเล็ก ๆ มีเส้นเลือด และเส้นเอ็นอยู่มากมาย เมื่อถูกกระแทกจะเจ็บปวดมาก อาวุธท่ีใช้ได้ผลและทำให้บริเวณนี้ได้รับ อันตราย คอื โดยการใชศ้ อก เข่า และเตะตัดล่าง สรุปได้ว่า จดุ สำคญั ของรา่ งกายทเ่ี ป็นเป้าหมายของการชก มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1) หนา้ ผากหรือแสก หนา้ 2)ขมับ หรอื ทัดดอกไม้ 3)จมกู 4)ลูกตา 5)ใตก้ กหู 6)คางและขากรรไกร 7)ลิ้นป่ี 8)คอตอ่ และท้าย ทอย 9)ต้นแขน 10)ชายโครง 11)สะดือและท้องน้อย 12)กระดูกสันหลัง 13)ที่ตั้งของไต 14)ที่ตั้งของ อวัยวะเพศ 15)ต้นขา 16)ขาพับ 17)น่อง 18)หน้าแข้ง และ 19)หลังเท้า ดังนั้น การที่จะไม้ตายเป็น ลีลาของนักมวยในการใช้พิชิตคู่ต่อสู้ ผู้ฝึกหรือผู้ที่จะนำไปใช้จะต้องเรียนและเข้าใจจุดสำคัญและจดุ อันตรายของร่างกายที่จะสามารถไปใช้เป็นเป้าหมายในการใช้ไม้ตายให้เกิดผลดีที่สุดในเวลาการ แขง่ ขนั กบั คู่ตอ่ สู้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 15 การถ่ายทอดลีลามวยไทย การศึกษาการถ่ายทอดลีลามวยไทยผู้วิจัยได้ศึกษาวิธีการถ่ายทอดมวยไทยหลกั เบื้องต้นของ การฝึกมวยไทย การใช้หมัด เท้า เข่า และศอก ไม้มวยไทย การฝึกซ้อมมวยไทยสมัยโบราณ และการ ฝกึ ซอ้ มมวยไทยสมัยปัจจุบัน ซึ่งมรี ายละเอียดดงั น้ี 1. วธิ กี ารถ่ายทอดมวยไทย 1.1 ระดบั ของการถา่ ยทอดองค์ความร้วู ถิ ีชีวิตและประเพณี เรอ่ื งการผสมผสานถ่ายเททางวัฒนธรรมน้ี มคี วามสัมพันธ์อย่างสูงกบั ความหลากหลายของศิลปะการ ต่อสู้ป้องกันตัว ซึ่งในยุคสมัยนี้เราสามารถแบ่งระดับของการถ่ายทอดองค์ความรู้ วิถีชีวิตประเพณี เหล่าน้ีได้ 3 ลักษณะหลัก ๆ คอื 1.1.1 การถ่ายทอดระหว่างหลวง คือ การแลกเปลี่ยนผสมผสานระหว่างกลุ่มสังคม ของชนช้นั สูงหรือชนชัน้ ปกครองดว้ ยกันไม่ว่าจะในอาณาจักรเดียวกนั หรือกับอาณาจักรอื่น ๆ ดังท่ีเรา ได้จากการหยิบยืมนวัตกรรมต่าง ๆ จากต่างประเทศมาใช้ หรือไม่ว่าจะเป็นการว่าจ้างนักรบทหาร อาสาจากชาตอิ น่ื มารับราชการในหลาย ๆ รัชสมัย สถานการณเ์ ช่นน้ีย่อมต้องมีการแลกเปล่ียนความรู้ กนั เพื่อใชใ้ นงานราชการเปน็ เร่ืองปกติ 1.1.2 การถ่ายทอดจากหลวงสู่ราษฎร์ คือ การถ่ายทอดวัฒนธรรมจากกลุ่มสังคม ของชนชั้นสูงสู่ชนชั้นถูกปกครอง อาจมีได้หลายลักษณะ เช่น โดยคำสั่ง ด้วยการละเล่น การมี ประเพณรี ่วมกนั หรือจากการทผ่ี ู้พ้นจากการเข้ารบั ราชการนำส่ิงเหล่าน้ไี ปถ่ายทอดส่ังสอนให้กับสังคม ทไี่ ปอยอู่ าศัยด้วย เป็นตน้ ศลิ ปะการต่อสู้ของไทยกม็ ักมกี ารถ่ายโอนในกรณนี ี้เช่นกัน 1.1.3 การถ่ายทอดกันระหว่างราษฎรมีทั้งการแลกเปลี่ยนผสมผสานกันระหว่าง สังคมที่อยู่ใกล้เคียงกัน เช่น ในกรณีของคำว่า ลาวแกมไทย ในข้างต้นหรือทั้งกรณีของการอพยพ โยกย้ายถิ่นฐานของผู้ที่ครอบครององค์ความรู้ ประเพณีจากที่หนึ่งสู่อีกที่หนึ่ง รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์ วธิ อี น่ื ๆ ทเี่ กิดขน้ึ ระหวา่ งกล่มุ สงั คมระดบั ราษฎร์ด้วยกนั ทั้งหมด (ทรงพล นาคเอี่ยม, 2550, 7) กลา่ วได้ว่า การถ่ายทอดองค์ความรู้ วถิ ีชีวติ และประเพณี แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะ คือ 1) การถ่ายทอดระหว่างหลวง 2) การถ่ายทอดจากหลวงสู่ราษฎร และ 3) การถ่ายทอดระหว่าง ราษฎร 2.1 การถ่ายทอดศิลปะการตอ่ สู้ปอ้ งกันตวั ไทยของครูมวยโบราณ การถ่ายทอดวิชาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวไทยจากกระบวนการของคนโบราณมาจนถึง ช่วงของการเปลี่ยนผ่านยุคสมัย ก็จะพบประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับระบบคุณค่าที่ใช้กำกับควบคุมใน เรือ่ งของความรนุ แรงอันตรายประการหน่ึง ซ่ึงอาจจะมองไดท้ ้ังในแง่ความฉลาด และคุณธรรมของคน โบราณหรือในแง่ของปัญหาความครบถ้วนทางวิชาการที่ถ่ายทอดมาจนถึงปัจจุบัน นั่นก็คือเรื่องของ กระบวนการคัดเลือกผู้สืบทอดและการเลือกระดับการถ่ายทอดวิชาของผู้เป็น ครูในสมัยโบราณ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 16 ศิลปะการต่อสู้เป็นเรื่องของศาสตร์ของความถึงพร้อม เมื่อคนต่อสู้กันต้องมีความถึงพร้อมทั้งร่างกาย จติ สมาธิ การฝกึ การต่อสู้ สมยั โบราณ จึงเปน็ เรือ่ งของการขดั เกลา ย่ิงฝึกย่งิ เกล้ยี ง ย่ิงเข้าไปสู่การขัด เกลาในระดับสูงขึ้นไปอีก ฉะนั้นท่วงท่า ลีลา การขยับเขยื้อนร่างกายต้องเกิดจากการฝึกครั้งแล้วครง้ั เล่า ฝึกตัว ฝึกความอดทน ฝึกจิตใจ เพราะถ้าไม่อดทนมันก็จะผา่ นกระบวนการเหล่านี้ไปไมไ่ ด้ ก็ต้อง จบลง (ปริญญา สัญญะเดช, อ้างถึงใน ทรงพล นาคเอี่ยม, 2550, 98) ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวเป็น วิชาที่ถ่ายทอดมาจากผู้ที่มีศิลปะ ยกตัวอย่างเช่น เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดินก็จะไปฝากตัวเรียนกับหลวงพ่อ วิถชี วี ติ ไทยก็คือ วิถีพุทธ ทีถ่ ่ายทอดสบื ต่อกนั มา ดงั นั้นเขาจะสอนให้เป็นคนดี (วิชิต ชี้เชิญ, อ้างถึงใน ทรงพล นาคเอี่ยม, 2550, 84) สำนักงานมวยนี้อยู่ในวัดหมดเลยเพราะคนสอนมกั เป็นพระเพราะพระ เหล่านี้คือนักรบเก่าอาวุโสมากแล้ว ส่วนใหญ่พอออกจากราชการก็มาล้างบาปที่ได้ฆ่าคนไปเยอะแยะ แตย่ ังมตี ัวตนอยู่ คนทรี่ ้จู กั เจา้ ขุนมูลนาย ลูกเจ้าพระยาลูกน้องเก่า ว่าท่านมฝี ีมอื กเ็ อาลูกหลานมาฝาก กส็ อนให้ ครูมวยสมยั ก่อนจะตอ้ งมคี วามรูเ้ รือ่ งการดหู มอดูโหวเฮง้ พอ่ แมน่ ำบตุ รมาฝากตอ้ งดูลักษณะ ว่าเปน็ ยงั ไง ดูวัน เดือนทเ่ี กิดไอ้เรื่องน้ีนน้ั ควรจะเรยี นศาสตร์สาขาไหน (หัสดนิ ทร์ เชาวนปรีชา, อ้าง ถึงใน ทรงพล นาคเอยี่ ม, 2550, 97) หลายวิชาทีม่ นั รนุ แรง มนั มกี ตกิ า พอ่ แม่ ปูย่ ่าตายายเขามักจะไม่ สอนให้ลกู หลานเพราะสงสารมันแลว้ บางทผี ู้ใหญ่เขาเหน็ วถิ ชี วี ติ ของการเป็นคนยุคปัจจุบันมันมีส่ิง ล่อ ใจมากมันไม่น่าจะสามารถรักษากติกาบางตัวไว้ได้มันจะผิดครู มันจะเกิดภัยพิบัติแก่ตนเองและ ครอบครวั เพราะฉะน้ันอย่าเรยี นเลยมันรักษายาก (หัสดนิ ทร์ เชาวปรีชา, อา้ งถึงในทรงพล นาคเอี่ยม, 2550, 110) มันหายไป เพราะว่าครูเก่า ๆ เมื่อสิ้นชีวิตแล้วไม่สามารถที่จะหาทายาทได้ บางทีตลอด ชีวิตคัดเลือกไม่ได้เลย ไม่มีใครที่จะมาแทนได้เลย ยุคสมัยมันต่างกันด้วย บางทีมาบอกถ้าจะมากิน ปรัชญาอย่างครูอย่างเดียวผมก็อดตายสิ ยังงี้ไป ครูสมัยก่อนเขามีจรรยาบรรณสูง ถ้าไม่เจอคนดีพอ เขากไ็ ม่ให้วิชาเลย เขาพยายามรักษาจรรยาบรรณของสถาบันครูไวน้ ่ะ (สมบูรณ์ ทองอร่าม, อ้างถึงใน ทรงพล นาคเอ่ยี ม, 2550, 110) กล่าวสรุปได้ว่า กระบวนการถ่ายทอดวิชา ผู้ที่ถ่ายทอดผู้ที่รับการถ่ายทอดและผู้ที่จะคิดรับ การถ่ายทอดบุคคลทั้งหมดต้องผ่านการขัดเกลาทางความคิดจิตใจไปด้วยกัน พร้อมกับการเล่าเรียน และฝกึ วชิ าดว้ ยหลกั คุณธรรม ครูบาอาจารยส์ มัยกอ่ นมีคุณธรรมสูงมาก ถอื วา่ เอาความรู้ไปสอนกับคน ไม่ดีเอาไปรังแกคนอื่น บาปกรรมจะตกถึงเขา เพราะฉะนั้นถ้าไม่เจอคนดีที่มีคุณธรรมคู่ควรพอเขาก็ ปลอ่ ยให้วิชาตายตามตวั ไปดีกว่า 2. หลักเบ้อื งต้นของการฝกึ มวยไทย ในการฝึกมวยไทยจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการพื้นฐานก่อน เพราะเป็นทักษะ เบื้องต้นไปสู่การเรียนแม่ไม้มวยไทยและกลมวย เพื่อนำไปสู่การมีทักษะในขั้นสูงต่อไป หลักการ ดังกลา่ ว สำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ (2540, 137-140) ไดก้ ลา่ วไวด้ ังนี้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 17 2.1 การตั้งท่าจดมวย หมายถึง การวางเท้าและวางมือให้ถูกต้องตามหลักการฝึก ซึ่งใน การจดมวยนั้นต้องทราบคำว่าเหลีย่ มมวย เหลี่ยมมวย หมายถงึ การแสดงการใช้มือและเท้าที่ถนดั ออกมาให้เห็น โดยปกติมวยจะมี สองเหลี่ยม คือ เหลี่ยมซ้ายกับเหลี่ยมขวา “เหลี่ยมซ้าย” หมายถึง การยื่นหมัดขวาไว้ข้างหน้า สูง เหนือระดับหางคิ้วในขณะที่เท้าขวายื่นไปข้างหน้า แขนขนานลำตัว หมัดซ้ายปิดคาง เท้าซ้ายอยู่หลงั ลำตัวเหยียดตรง ไม่เกร็ง ปล่อยตัวตามสบาย โดยน้ำหนักอยู่ที่เท้าซ้าย โดยที่เท้าทั้งสองห่างกันหนึ่ง ช่วงตวั สายตามองผ่านมือไปยังคู่ต่อสู้ตลอดเวลา “เหลีย่ มขวา” หมายถึง การยน่ื หมัดซ้ายไปข้างหน้า สูงเหนือระดับหางคิ้ว ในขณะที่เท้าซ้ายไปข้างหนา้ แขนซ้ายขนานกับลำตัว หมัดขวาปิดคาง เท้าขวา อยู่ดา้ นหลังลำตัวเหยยี ดตรงไม่เกรง็ ปลอ่ ยตวั ตามสบาย ใหน้ ำ้ หนกั อยทู่ ี่เท้าขวา สายตามองผ่านมือไป ยังคูต่ ่อส้ตู ลอดเวลา 2.2 การวางตำแหนง่ อวัยวะที่ใชจ้ ดมวย หมายถึง การกำหมดั การวางเทา้ มือ และลำตวั การกำหมัดที่ถูกต้องมีลักษณะแบมือให้นิ้วทั้งสี่เรียงติดกันแล้วงอข้อแรกของ ปลายน้ิว กระชับเข้าหาอุ้งมือ แล้วกดทับด้วยนิ้วหัวแม่มือทาบลักษณะเฉียงกับนิ้วชี้และนิ้วกลางเพื่อให้หมัด กระชบั โดยไมเ่ กรง็ การวางเท้า ให้วางเท้าห่างกันหนึ่งช่วงไหล่ เท้าที่ไม่ถนัดวางไว้ด้านหน้าห่างจากเท้าท่ี ถนดั ซ่งึ อยู่หลงั (ผู้รู้บางทา่ นกลา่ ววา่ หา่ งกันหนงึ่ ช่วงแผ่นกระดาน) การวางมือ ในการวางมือนั้นให้มือข้างที่ไม่ถนัดยกสูงระดับหางคิ้ว ห่างจากคิ้ว ไม่เกิน หนึ่งคืบ ยกไหล่ขน้ึ เลก็ นอ้ ยเพอื่ ชอ้ นคาง มอื ท่ีอย่ดู า้ นหลงั กำหมัดหนั ฝา่ มือเขา้ หาใบหน้าหา่ งจากโหนก แกม้ เล็กน้อย โดยใหศ้ อกแนบกับชายโครง การวางลำตัว ลำตัวปล่อยตามสบายไม่เกร็ง ไม่ก้ม เข่าไม่งอ โดยหน้าและไหล่เกือบเป็น แนวเดียวกัน 2.3 การเคลื่อนไหว เป็นพื้นฐานของการใช้แม่ไม้มวยไทย ทั้งการรุกและการรับ โดยการ เคลื่อนไหวในการฝึกมวยไทย มีดังน้ี การรุกและการถอยเป็นเส้นตรง แบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ 1) การรุกหรือถอยแบบ เดินหน้าหรือถอยหลัง โดยการสืบเท้า โดยการรุกให้ใช้แรงส่งจากเท้าหลัง เท้าหน้าก้าวรุกไปข้างหน้า เท้าหลังสบื ตามเป็นจงั หวะ โดยอาจจะยกเท้าหรอื ไม่ก็ได้ ในขณะทเี่ วลาถอยก็ใชแ้ รงส่งจากเท้าหน้าให้ เท้าหลังก้าวออกไป แล้วเท้าหน้าก้าวตามเป็นจังหวะ โดยจะยกเท้าหรือไม่ก็ได้ และ 2) การรุกหรือ ถอยแบบสลับมือเท้า หมายถึง การรุกที่มีการสลับมือเท้า เมื่อฝึกได้อย่างมีทักษะแล้วให้เดินรุกสลับ เท้าและถอยสลับเท้าให้คล่องแคลว่ จะช่วยให้นำไปใชใ้ นการฝึกทักษะขั้นสูงต่อไป การรกุ และถอยฉาก หมายถึง การเพมิ่ จากการรุกธรรมดา โดยใช้เทา้ ทไ่ี ม่ถนดั ต้ังนำ ก้าว เทา้ ท่ไี มถ่ นดั ไปขา้ งหนา้ เท้าที่ถนดั กา้ วส่งตาม ตอ่ จากนั้นใช้เทา้ ท่ีไม่ถนดั สืบออกฉากด้านขา้ ง ส่งเท้าท่ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 18 ถนัดตามไปอยู่หน้าของเท้าที่ไม่ถนัด ลักษณะการเคลื่อนที่มีลักษณะอยู่ในมุมฉาก โดยมีจังหวะการ ฉากดงั น้ี (สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ, 2540, 141) การรุกฉาก มีลักษณะจังหวะการเคลื่อนไหว ดังนี้ 1) การรุกฉากขวาแบบธรรมดาจาก การตั้งท่าขวานำ วิธีฝึกดังนี้ จังหวะที่ 1 รุกไปด้านหน้าในท่าธรรมดา จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาฉากไป ทางขวาเล็กน้อย และจังหวะที่ 3 ก้าวเท้าซ้ายฉากตามไปทางขวาโดยให้เท้าซ้ายไปอยู่หน้าเท้าขวา และ 2) การรุกฉากซ้ายแบบรุกเท้าสลับจากการตั้งท่าขวานำ วิธีฝึกดังนี้ จังหวะที่ 1 รุกไปด้านหน้า แบบรุกธรรมดา จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าซ้ายฉากไปทางซ้ายเล็กน้อย และจังหวะท่ี 3 ชักเท้าขวาฉากตาม ใหอ้ ยูห่ น้าของเท้าซ้าย การถอยฉาก ในบางโอกาสสำหรับการเคลื่อนที่ของเท้าจำเป็นจะต้องถอยโดยการถอย ฉากเพื่อต้องการที่จะให้ตำแหน่งของการตั้งท่าเปลี่ยนทิศทาง เพื่อไม่ให้เป็นเป้าหมายของคู่ต่อสู้ ในขณะรุก ดังนั้น เราสามารถถอยฉากได้ ดังนี้ 1) ฉากขวา จากการตั้งท่ามือซ้าย เท้าซ้ายอยู่หน้า วิธี ฝึกดังน้ี จังหวะที่ 1 ถอยไปด้านหลังโดยการถอยแบบเท้านำเท้าตาม จงั หวะท่ี 2 ก้าวเทา้ ขวาฉาก ไปทางด้านขวา และจังหวะที่ 3 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปทางขวาให้ไปอยู่หน้าเท้าขวา 2) ฉากขวา (ไม่ ต้องถอย) จากการตั้งท่ามือซ้ายอยู่หน้า วิธีฝึกดังนี้ จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าขวาฉากไปข้างขวาเพียง เล็กน้อย และจังหวะที่ 2 ชักเท้าซ้ายเฉียงไปทางขวาให้มาอยู่หน้าเท้าขวา การตั้งท่าเท้าซ้ายนำ 3) ฉากซ้าย จากการตั้งท่ามือซ้ายเท้าซ้ายอยู่หน้า วิธีฝึกดังนี้ จังหวะที่ 1 ถอยไปข้างหลังแบบเท้านำเทา้ ตาม จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าซ้ายฉากไปทางซ้ายมือ และจังหวะที่ 3 ชักเท้าขวาถอยหลงั ให้ไปอยู่หลังเทา้ ซ้ายในลักษณะการตั้งท่าซ้ายนำอยู่หน้า และ 4) ฉากซ้าย (ไม่ต้องถอย) จากการตั้งท่า มือซ้าย เท้า ซ้ายอยู่หน้า วิธีฝึกดังนี้ จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงให้ฉากไปทางซ้ายเล็กน้อยและจังหวะที่ 2 ฉาก หรอื ชกั เทา้ ขวาไปหลงั เท้าซา้ ยใหม้ าอย่ใู นลักษณะการต้ังท่าแบบซา้ ยนำ การถอยฉากหรือรุกฉากนั้น เรามักจะได้ยินคำว่า ฉากนอกหรือฉากใน ฉากนอกน้ัน หมายถึงการเคลอื่ นทอ่ี อกนอกแนวการกระทำของคู่ต่อสู้ แตก่ ารหลบออกไปน้นั จะต้องมีความพร้อมท่ี จะทำการต่อสู้ ส่วนฉากใน หมายถึง การเคลื่อนของเทา้ เพื่อจะใช้จังหวะในการรุกและรับ โดยเคล่อื น เทา้ เข้าหาค่ตู ่อสู้ การเคลื่อนที่เป็นวงกลม คือ การเคลื่อนที่โดยใช้การรุกและถอยแบบการเคลื่อนที่ของ แบบเท้าธรรมดาในลักษณะเท้านำเท้าตามที่เคลื่อนที่ไปด้านหน้า ไปด้านหลัง ไปทางข้างซ้ายหรือไป ทางข้างขวา 1) การเคลื่อนที่ตามแนวรอบวงกลม การเคลื่อนที่แบบน้ีให้เคลื่อนตามคูต่ ่อสู้ไปเป็นแนว วงกลม จะรุกหรือถอยให้ใช้แบบการรุกและถอยแบบธรรมดา คือใช้แบบเท้านำเท้าตามหรือจะใชก้ าร รุกแบบเท้าสลับก็ได้ ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับโอกาสของการเคลื่อนที่ และ 2) การเคลื่อนที่ไปทางซ้ายหรือ ทางขวา การเคลื่อนที่แบบนี้เป็นการเคลื่อนที่โดยมีคู่ต่อสู้เป็นแกนกลาง วิธีฝึก ดังนี้จังหวะที่ 1 การ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 19 เคล่ือนท่ีแบบน้ีเป็นการเคลื่อนที่ไปทางดา้ นขวา การเคลอ่ื นที่จะต้องเอาเทา้ หลังไปก่อน และจังหวะที่ 2 กา้ วเท้าหนา้ ตามไป ถา้ หากเคล่ือนท่ีไปทางด้านซ้ายมือจะต้องใช้เท้าหน้านำไปก่อนแล้วเอาเท้าหลัง เคลื่อนท่ีตามไป การก้าวยา่ ง หมายถึง การเดนิ หรือการสืบเท้านนั่ เองใช้ในโอกาสท้งั รุกและถอย ลักษณะ การก้าวย่างในมวยไทยนั้น คือการยกเข่าขึ้นสูงพร้อมทั้งยกแขนขึ้นเป็นแนว การยกเข่าขึ้นให้ติดกับ ศอกหรือเกือบติดกับศอก เข่าที่ยกนั้นอาจจะยกก่อนแล้วสืบเท้า การเคลื่อนที่ลักษณะดังกล่าวนี้เรา เรียกวา่ “การกา้ วยา่ ง” บางคร้งั อาจจะสืบเท้าไปข้างหน้าก่อนยกเขา่ ขนึ้ ในบางโอกาสอาจจะถอยแล้ว ยกเข่าเกือบติดศอกก็ได้ การที่ยกเข่าขึ้นติดศอกนั้น เป็นการป้องกันคู่ต่อสู้ บางครั้งอาจทำสลับกันได้ ทั้งดา้ นซ้ายนำและขวานำ การย่างสามขุม คือ การเดินจุดสามจุดโดยการเปลี่ยนตำแหน่งของเท้า วิธีการคือให้ กำหนดจุดสามจุดที่จะใช้ในการเปลี่ยนตำแหน่งของเท้า เช่น เท้าซ้ายอยู่หน้าให้เปลี่ยนไปเป็นอยู่ ด้านหลงั กล่าวคอื เป็นการเปลีย่ นเหลี่ยมของร่างกายนั่นเอง การย่างสุขเกษม คือ การก้าวย่างหรือการเคลื่อนที่โดยการก้าวเท้าออกไปข้างนอก พรอ้ มกับการโยกตวั ใช้มอื ปดั ลงมาขา้ งล่าง ในขณะท่อี กี มอื หนึ่งยกข้นึ ระดับใบหน้าเพื่อเป็นการป้องกัน อาวุธ ส่วนมือที่ปัดลงมาใช้กรณีเมื่อคู่ต่อสู้ถีบมาหาเราก็ใช้มือปัดป้องกัน ส่วนมือที่อยู่ข้างบนก็ใช้ ป้องกันอาวุธได้ ทั้งนี้ในการกระทำน้ันจะต้องบิดสะโพกตามไปด้วย พร้อมกับปัดมือล่างให้ผ่านลำตวั สว่ นเทา้ เคลอ่ื นทกี่ า้ วไปพร้อมกบั การปัดมือผ่านลำตัว สรุปได้ว่า หลักเบื้องต้นของการฝึกมวยไทย ประกอบด้วย การตั้งท่าจดมวย ได้แก่ เหลี่ยมซ้าย เหลี่ยมขวา การวางตำแหน่งอวัยวะและการกำหมัด การวางเท้า การวางมือ และการวาง ลำตัว การเคลอ่ื นไหวพนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ การรกุ และถอยเป็นเส้นตรง มี 2 ลักษณะ คือ 1) การรกุ หรือถอย แบบเดินหน้าหรือถอยหลัง และ 2) การรุกหรือถอยแบบสลับมือเทา้ การรกุ และถอยฉาก การเคลอื่ นที่ เป็นวงกลม การกา้ วย่าง การยา่ งสามขุมและการยา่ งสขุ เกษม 3. การใช้หมดั เท้า เขา่ และศอก ในการฝึกมวยไทยต้องเข้าใจอาวุธมวยไทยพื้นฐาน ได้แก่ หมัด เท้า เข่า และศอก โดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540, 147-216) กล่าวถึงไว้ ดงั นี้ 3.1 การใชห้ มดั มดี ังน้ี หมดั ตรง หมายถงึ การใชห้ มัดทถ่ี นัดพุ่งไปยังเป้าหมายโดยอาศยั แรงจากไหล่ ลำตวั และ เท้ายันพืน้ โดยน้ำหนกั ตวั อยทู่ ่ีเท้าหนา้ ใชแ้ รงส่งจากเท้าหลงั และไหล่

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 20 หมัดตัด หมายถึง การใช้หมัดเหวี่ยงในลักษณะโค้งครึ่งวงกลมบริเวณลำตัวหรือใบหน้า หรือศีรษะของคู่ต่อสู้ ผู้รู้บางท่านเรียกว่า หมัดเหวี่ยง แบ่งออกเป็นหมัดเหวี่ยงสั้นและ เหวี่ยงยาว เหว่ยี งสัน้ หมายถึง การเหวีย่ งวงแคบ ส่วนเหว่ียงยาวหมายถงึ การเหวยี่ งวงกวา้ ง หมัดตวัด หมายถึง การใช้บริเวณสันหมัดกดลงบริเวณอวัยวะสำคัญของคู่ต่อสู้ ใน ลกั ษณะตงึ เหยยี ดแบนออกไป พรอ้ มชกตวัดวงแคบ หมดั เสย หมายถึง การใช้หมดั ชกเขา้ หาคู่ต่อสโู้ ดยงอศอก เกร็งข้อศอกหงายหมัดพุ่งหมัด ยกขึ้นสูเ่ ปา้ หมาย ได้แก่ ปลายคาง ดงั้ จมกู หรือใบหนา้ ค่ตู อ่ สู้ 3.2 การใช้เทา้ แบง่ ออกเปน็ 2 ไม้ คอื การเตะและการถบี 3.2.1 การเตะ หมายถึง การใช้อวัยวะส่วนขาตั้งแต่ใต้เข่าลงไปจนถึงปลายเท้าแบ่ง ออกเป็น เตะตรง หมายถงึ การเตะเสยขึน้ จากพื้นข้ึนไปกบั ส่วนบนในลักษณะตั้งฉากกบั พ้นื เตะตัด หมายถงึ การเตะที่ใช้เท้าวาดข้ึนขนานกบั พ้ืน สามารถเตะตัดได้ทง้ั ลา่ ง ลำตวั และส่วนบนของอวยั วะ เตะตวัดหรือเตะเฉียง หมายถึง การเตะที่ทิศของการเตะจะเฉียงลงจากพื้นสู่ เปา้ หมาย กลับหลังเตะ หมายถึง การหมุนตัวหันหลังด้านหลังให้ส้นเท้าปะทะเป้าหมายของคู่ ตอ่ สู้ เตะริด หมายถึง การเตะยกเข่าขึ้นเหมือนจะตีเข่าแต่ดีดปลายเท้าออกไปอย่าง รวดเร็ว 3.2.2 การถีบ หมายถึง การใช้ปลายเท้า ฝ่าเท้า หรือส้นเท้าปะทะคู่ต่อสู้ โดยให้ส้น เท้าหรอื ปลายเท้าปะทะคู่ตอ่ สู้ การถีบขั้นพ้ืนฐานแบง่ ออกได้ดงั น้ี การถีบตรง หมายถึง การถีบออกไปตรง ๆ ให้ปลายเท้าสับเท้าหรือฝาเท้าปะทะ เป้าหมายในสว่ นต่าง ๆ ของคู่ต่อสู้ โดยอาจเหยยี ดเทา้ ตรงหรืองอเขา่ ถบี ก็ได้ การถีบข้าง หมายถึง การใช้ปลายเท้าถีบออกไปด้านข้างของลำตัวโดยเอียงศีรษะ ออกไปหา่ งจากลำตัว การถีบกลับหลัง หมายถึง การถีบตรงออกไปทางด้านหลังอาจเหยียดขาตรง หรือ งอเขา่ แลว้ เหยยี ดตรงออกไปยังเป้าหมาย 3.3 การใช้เข่า หมายถึง การใช้อวัยวะที่เป็นข้อต่อระหว่างกระดูกขาส่วนบนกับกระดูก ขาสว่ นลา่ ง แล้วงอพับขากระทุ้งไปยงั เป้าหมายของคตู่ ่อสู้ การใชเ้ ขา่ พ้ืนฐานมีดังนี้ เข่าตรง หมายถงึ เขา่ ที่พงุ่ ตรงไปข้างหน้าเข้าส่กู ลุ่มเปา้ หมาย เขา่ เฉยี ง หมายถึง เข่าท่ตี ีเฉยี งเขา้ สู่เป้าหมายด้านตรงกบั เขา่ ที่พุง่ ไป

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 21 เข่าตัด หมายถึง เข่าที่พุ่งออกจากขวาไปซ้ายขนานกับพื้น โดยปลายเท้าขนาน เป็น เส้นตรงขนานกบั พ้นื โดยให้สว่ นของหัวเข่าปะทะเป้าหมาย เข่าโค้ง หมายถึง การบิดสะโพกให้ควำ่ ลงพร้อมเหวีย่ งเข่าให้มีรัศมีโค้งจากบน กดลงล่าง ปะทะเปา้ หมายใหป้ ลายเท้าเหยียดเป็นเสน้ ตรงกับขาและเข่า เขา่ โยน เปน็ การกระโดดโยนเขา่ ขนึ้ ไป เข่าลอย หมายถึง การกระโดดขึ้นสูง ทะยานพุ่งเข่าลอยสูงจากพื้นตีไปที่เป้าหมาย ซ่ึง ใกลเ้ คยี งกบั เขา่ โยนแต่ลอยสงู กวา่ 3.4 การใชศ้ อกขั้นพืน้ ฐานมีหลายลักษณะ ได้แก่ ศอกตี บางท่านเรียกว่าศอกกลบั โดยสับจากวิธีการตีจากบนลงสู่ด้านล่าง เฉียงคลา้ ยมมุ ฉาก บางครง้ั อาจบิดตัวตี โดยมีแรงสง่ จากไหล่ ลำตัว และเทา้ ศอกตัด หมายถงึ การตตี ดั ขนานกบั พื้นจากด้านหน่งึ ไปอีกด้านหนงึ่ ศอกงดั หมายถึง ตีศอกจากล่างงัดขน้ึ ไปขา้ งบนตรงเป็นมุมฉาก ศอกพุ่ง หมายถึง การต้งั ฉากศอกตรงเป้าหมาย เมอ่ื ค่ตู ่อสเู้ ขา้ มากพ็ งุ่ ศอกไปยงั เป้าหมาย ศอกกระทงุ้ หมายถงึ การใชศ้ อกพุ่งออกไปด้านหลงั ในลักษณะกระทงุ้ แกไ้ ขสถานการณ์ ทค่ี ่ตู ่อสู้ประชดิ เข้ามาดา้ นหลัง ศอกกลับ หมายถึง การหมุนตั้งตีศอกกลับไปทางด้านหลังตามจังหวะที่สัมพันธ์กับการ เคลือ่ นตัวลงเท้า สรปุ ได้ว่า อาวธุ มวยไทยพื้นฐานประกอบดว้ ย หมัด เทา้ เข่า และศอก การใช้หมดั ได้แก่ หมดั ตรง หมดั ตัด หมดั ตวดั และหมัดเสย การใช้เท้า แบ่งออกเปน็ 2 ไม้ คือ การเตะและการถีบ การ เตะไดแ้ ก่ เตะตรง เตะตัด เตะตวดั กลับหลังเตะ และเตะริด การถบี ได้แก่ ถบี ตรง ถบี ข้าง และถบี หลัง การใชเ้ ขา่ ได้แก่ เขา่ ตรง เขา่ เฉยี ง เข่าตดั เขา่ โค้ง เข่าโยน และเขา่ ลอย การใชศ้ อก ได้แก่ ศอกตี ศอก ตัด ศอกงัด ศอกพงุ่ ศอกกระทุ้ง และศอกกลบั 4. ไมม้ วยไทย ไมม้ วยไทย หมายถงึ ทา่ ของการผสมผสานการใช้หมัด เท้า เข่า และศอก เพ่ือการรุกหรือรับ ในการต่อสู้ด้วยมวยไทย (สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2540, 250) รายละเอียดของ ไม้มวยทมี่ ีการแบง่ ไว้ชดั เจนมี 3 ลกั ษณะ ได้แก่ กลมวย เชิงมวย แม่ไมแ้ ละลกู ไมม้ วยไทย 4.1 กลมวย หมายถึง ท่าของการใช้ศิลปะมวยไทยทั้งการรุกและการรับในการต่อสู้ด้วย มวยไทย เรียกชื่อตามลักษณะการใช้ ถ้าใช้ในการรกุ เรียกว่า กลมวยจู่โจม ถ้าใช้ในการรับหรือตอบโต้ เรียกว่า กลมวยแก้ ถ้ารับและตอบโต้หมัด เรียกว่า กลมวยแก้หมัด ถ้ารับและตอบโต้เทา้ เรียกว่า กล มวยแก้เท้า ถ้ารับและตอบโต้เข่า เรียกว่า กลมวยแก้เข่า ถ้ารับและตอบโต้ศอก เรียกว่า กลมวยแก้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 22 ศอก ยศ เรืองสา (2545, 112) ได้กล่าวถึงกลมวยไว้ในตำรามวยไทยตำรับพระเจ้าเสือ ดังนี้ กลมวย แบ่งเป็น กลมวยแก้หมัด 28 กล กลมวยแก้เท้า 23 กล กลมวยแก้เข่า 3 กล กลมวย แก้ศอก 4 กล และกลมวยจูโ่ จม 23 กล กลมวยแก้หมัด 28 กล ได้แก่ สลับฟันปลา ปักษาแหวกรัง ชวาซัดหอก อิเหนาแทงกริช ยอเขาพระสเุ มรุ ตาเถรคำ้ ฟกั มอญยนั หลัก ขนุ ศึกตที วน ดบั ชวาลา หนูไตร่ าว เอราวณั เสยงา หนมุ าน ถวายแหวน หงสป์ กี หกั สกั พวงมาลยั ฝานลกู บวบ ปดิ ปกชกดว้ ยศอก สวนทวน คลื่นกระทบฝง่ั บาทา ลูบพักตร์ ขุนยกั ษพ์ านาง พระรามจองถนน นารายณ์บนั่ เศียร ลูกคางจบั หมัด รักแร้หกั แขน ศอกท้าย ทอย นารายณ์ขวา้ งจักร ลม้ ขุนทวน หนุมานหกั ดา่ น และจระเขฟ้ าดหาง กลมวยแกเ้ ทา้ 23 กล ได้แก่ ปักลูกทอย นาคาบิดหาง หักงวงไอยรา วริ ฬุ หกกลบั ไกรสร ข้ามห้วย หิรัญม้วนแผ่นดิน นาคมุดบาดาล ทะแยค้ำเสา ฤๅษีเหิร พระรามเดินดง บรรพตถล่ม นาง มณโฑนั่งแท่น รัดงวงเอราวัณ ยันรุกขมูล โค่นรุกขมูล นางมณโฑนั่งตัก หักสลักเพชร หนุมานฟาด กมุ ภัณฑ์ ลิงพลิ้ว ญวนทอดแห ทวนขนุ ศึก กวาดมาร และหนมุ านแบกแขง้ กลมวยแก้เขา่ 3 กล ได้แก่ พลิกแผน่ ดิน กังหนั ต้องลม และเบนสุเมรุ กลมวยแก้ศอก 4 กล ได้แก่ พระรามน้าวศร พระรามหักศร พระรามฟาดศร และ พระรามยนั ศร กลมวยจโู่ จม 23 กล ได้แก่ หักคอไอยรา ขุนยักษจ์ ับลงิ กวางเหลียวหลัง ตลบข้ึน อีกาฉีก รัง ตลบลง หนุมานแหวกฟอง นกคุ้มเข้ารัง ฤๅษีมุดสระ หนุมานทะยาน หักคอเอราวัณ ตะเพียนแฝง ตอ จระเข้ฟาดหาง ยันเอราวัณ เถรกวาดลาน พระรามตีทัพ พระรามสะกดทัพ บั่นเศียรทศกัณฐ์ ขว้างจักรนารายณ์ พระรามเหยียบลงกา รามสูรขว้างขวาน หนุมานขา้ มลงกา และนารายณข์ า้ มสมุทร 4.2 เชิงมวย หมายถึง วิธีการใช้หมัด เท้า เข่า และศอก เป็นท่าทางหรือแบบแผนในการ รุกและรับแบบต่าง ๆ อุทัย สินธุสาร ได้กล่าวถึงเชิงมวยไว้ดังนี้ เชิงมวยแบ่งเป็น 4 เชิง คือ เชิงหมัด 15 เชงิ เชิงเทา้ 15 เชงิ เชิงเข่า 11 เชิง เชิงศอก 24 เชิง มชี อื่ เรยี กแตกต่างกนั ดงั ตอ่ ไปนี้ 4.2.1 เชิงหมัด 15 เชิง ได้แก่ กาจิกไข่ (หมัดตรงนำ) พระพายล้มสิงขร (หมัดตรง ตาม) วานรหักด่าน (หมัดเหวี่ยงข้าง) พระกาฬเปิดโลก (หมัดหงาย) โขกนาสา (หมัดงอตวัด) อินทรา ขว้างจักร (หมัดขว้าง) พระลักษณ์ห้ามพล (หมัดอัด) ผจญช้างสาร (ชกพร้อมกับเท้า) หนุมานถวาย แหวน (หมัดคู่) ล่วงแดนเหรา (ชกพร้อมเข่า) นาคาพ่นไฟกาฬ (หมัดสลับ) หักด่านลมกรด (หมัดปน ศอก) องคตควงพระขรรค์ (หมดั ควง) ฤๅษลี ืมญาณ (หมัดหลอก) และหนมุ านจองถนน (หมัดควำ่ บน) 4.2.2 เชิงเท้า 15 เชิง ไดแ้ ก่ เปดิ ทวาร (เตะนำ) ลงดานประตู (เตะเหวี่ยง) กระทขู้ รัว ตา (เตะถีบ) โยธาสินธพ (ถีบเตะตรง) มานพเล่นขา (เท้าหน้าเตะเหวี่ยง) มัจฉาเล่นหาง (เตะสามไม้ เตะเท้า คาง และถีบ) กวางเล่นโป่ง (กระโดดเตะ) ณรงค์พยุหบาท (ถีบเตะเหวี่ยง) จระเข้ฟาดหาง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 23 (เตะเหวี่ยงหลงั ) กินรเี ลน่ นำ้ (สน้ เทา้ ตขี นึ้ ) ตามดว้ ยแข้ง (เตะด้วยแข้ง) แปลงอินทรยี ์ (เท้าพร้อมหมัด) พาชีสะบดั ย่าง (เตะตดิ ตาม) นางสลับบาท (เตะสลับเทา้ ) และกวาดธรณี (เตะเหว่ยี งต่ำ) 4.2.3 เชิงเข่า 11 เชิงได้แก่ กุมภัณฑ์พุ่งหอก (เข่าตรง) หยอกนาง (เข่าตะแคง) เชย คาง (เข่าคู่) พรางศัตรู (เข่าข้าง) งูไล่ตุ๊กแก (เข่าสลับ) ตาแก่ตีชุด (เข่าคู่ศอก) หยุดโยธา (เข่าพร้อม ศอก) ภูผาสะท้าน (เข่าอัด) หักคอช้างเอราวัณ (โน้มคอตีเข่า) ดั้นภูผา (เข่าพร้อมหมัด) และศิลา กระทบ (เข่ากระทบ) 4.2.4 เชิงศอก 24 เชิง ได้แก่ พุ่งหอก (ศอกนำ) ศอกฝานหน้า (ศอกฟันหน้า) พร้า ยายแก่ (ศอกเหว่ยี ง) แงล่ กู คาง (ศอกตัด) ถางปา่ (ศอกควำ่ ) ฟา้ ลนั่ (ศอกปนแขน) ยันพยคั ฆ์ (ศอกอัด) จักรนารายณ์ (ศอกกลับ) ทรายเหลียวหลัง (ศอกเฉียงหลัง) กวางสะบัดหน้า (ศอกสลัด) คชาตกมัน (ศอกฟันหลัง) พสุธาสะท้าน (ตสี องศอก) ยันโยธี (ศอกอดั หลัง) อัคคสี อ่ งแสง (ศอกสลับหมัด) กำแพง ภูผา (ศอกสลับหลัง) นาคาคาบหาง (ศอกพร้อมเข่า) ช้างประสานงา (ศอกคู่) สู่แดนนาคา (ศอกตบ กลับ) โยธาเคลื่อนทัพ (ศอกพุ่งหน้า) ยันสองกร (ศอกยันหลัง) ฆ้อนตีทั่ง (ศอกปัก) ขว้างพสุธา (ศอก ขวา้ งหลงั ) ฤๅษบี ดยา (ศอกคำ้ ปัก) และนาคาเคล่อื นกาย (ศอกควง) 4.3 แม่ไม้และลูกไม้มวยไทยหมายถึง ท่าของการใช้ศิลปะมวยไทยที่สำคัญที่สุดอันเป็น พื้นฐานของการใช้ไม้มวยไทย ซึ่งผู้ฝึกมวยไทยจะต้องเรียนรู้และปฏิบัติให้ได้ก่อนที่จะฝึกลูกไม้ ซึ่ง ถือว่าเป็นการใช้ไม้มวยไทยที่ละเอียดขึ้น (โพธิ์สวัสดิ์ แสงสว่าง อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแหง่ ชาติ, 2540, 414) โบราณอาจารย์ผ้ทู รงคณุ วุฒิได้จัดแบง่ แม่ไม้มวยไทยเปน็ 15 ไม้ ดังน้ี (ฟอง เกิดแก้ว และสุภาพ เจริญสวัสดิ์ อ้างถึงในสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2540, 414) แม่ไม้ 15 ไม้ ได้แก่ สลับฟันปลา ปกั ษาแหวกรัง ชวาซดั หอก อเิ หนาแทงกรชิ ยอเขาพระ สุเมรุ ตาเถรค้ำฟัก มอญยันหลกั ปักลูกทอย จระเข้ฟาดหาง หักงวงไอยรา นาคาบดิ หาง วิรุฬหกกลับ ดับชวาลา ขนุ ยกั ษจ์ ับลงิ และหกั คอเอราวัณ 4.4 ลูกไม้มวยไทย หมายถึง ท่าของการใช้ศิลปะมวยไทยที่แตกย่อยออกไปจากแม่ไม้มี ลักษณะละเอียดอ่อนมากมายหลายอย่าง ซึ่งผู้ฝึกจะต้องผ่านการฝึกหัดแม่ไม้มวยไทยก่อนจึงจะฝึก ลูกไม้ได้ดี โบราณอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิได้จัดแบ่งลูกไม้มวยไทยออกเป็น 15 ไม้ ดังนี้ (โพธิ์สวัสดิ์ แสง สวา่ ง อา้ งถึงใน สำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ, 2540, 414) ลูกไม้ 15 ไม้ ได้แก่ เอราวัณเสยงา บาทาลูบพักตร์ ขุนยักษ์พานาง พระรามน้าวศร ไกรสรข้ามห้วย กวางเหลียวหลัง หิรัญม้วนแผ่นดนิ นาคมุดบาดาล หนุมานถวายแหวน ญวณทอดแห ทะแยคำ้ เสา หงส์ปกี หัก สักพวงมาลยั เถรกวาดลาน และฝานลูกบวบ สรุปได้ว่า ไม้มวยไทย แบ่งไว้มี 3 ลักษณะประกอบด้วย กลมวยเชิงมวยแม่ไม้และลูกไม้ มวยไทย กลมวย ได้แก่ กลมวยแกห้ มัด 28 กล กลมวยแก้เทา้ 23 กล กลมวยแก้เขา่ 3 กล กลมวยแก้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 24 ศอก 4 กล และกลมวยจู่โจม 23 กล เชิงมวย แบ่งออกเป็น 4 เชิงได้แก่ เชิงหมัด 15 เชิง เชิงเท้า 15 เชิง เชิงเข่า 11 เชิง และเชิงศอก 24 เชิง แม่ไม้ลูกไมม้ วยไทยแม่ไม้มวยไทย 15 ไม้ และลูกไม้มวย ไทย 15 ไม 5. การฝึกซอ้ มมวยไทยสมัยโบราณ การฝึกซ้อมมวยไทยในสมยั โบราณแมจ้ ะไม่มีอปุ กรณ์สำหรับฝึกซ้อมมวยไทยโดยเฉพาะดงั ใน ปัจจุบัน แต่พื้นฐานของการออกกำลังกายของนักมวยในแต่ละวันจะแฝงอยู่กับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้ แรงกายในการประกอบอาชีพ ซึ่งเปน็ วถิ ีชีวติ ของชาวบ้าน เชน่ การหาบน้ำ กระเดยี ดน้ำ ผ่าฟืน ทำไร่ ไถนา ตำข้าว วิ่งเล่นตามทุง่ นา ซึ่งเป็นส่วนชว่ ยให้ไดอ้ อกกำลังกายทุกวันรา่ งกายจึงแข็งแรงสม่ำเสมอ ส่วนอปุ กรณ์ทน่ี ำใชฝ้ ึกหัดมวยไทยจะเป็นของพื้นบ้านพื้นเมืองทหี่ าไดง้ ่ายและมีอย่ทู วั่ ไปในชนบท เช่น ต้นกล้วย ต้นมะพร้าว ผลมะนาว เป็นต้น ในสมัยโบราณยังไม่มีอุปกรณ์สำหรับฝึกมวย ครูมวยจึงต้อง ใช้ภูมิปัญญาคิดค้น วิธีการฝึก เพื่อให้นักมวย มีสมรรถภาพทางกายที่สมบูรณ์แข็งแรงและเพื่อพัฒนา ทักษะทุก ๆ ด้าน จนนักมวยมีความเก่งกาจ จนสามารถชกชนะคู่ต่อสู้เสมอ ครูมวยสมัยโบราณมี วธิ กี ารฝึกนักมวยโดยอาศัยปจั จัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการดำรงชวี ติ ประจำวนั ดงั น้ี 5.1 การหัดมวยสมัยโบราณ โดยใช้ผา้ ผลัดอาบนำ้ หรือผ้าขาวมา้ มีความสำคญั มาก เขตร ศรียาภัย (2550, 28) กล่าวว่า ผู้หัดมวยต้องใช้ผ้าขาวม้าพาดที่คอด้านหลังมือซ้ายขวาม้วนชายผา้ ทั้ง สองพันหมัด ยกมือซ้ายหรือขวาก็ได้ขึ้นเสมอระดับหน้าผากตรงอุณาโลม (กลาง หัวคิ้ว) ห่างหน้า ประมาณ 8-12 นิ้ว อีกมือหนึ่งระดับปลายคาง ศอกของมือนี้ห้อยปิดลำตัวห่างซี่โครงประมาณ 2-3 นิ้ว เพอื่ เตรยี มมือหรอื หมัดตาม “ท่า” ดงั กล่าวแล้ว ก้าวเทา้ ซา้ ยหรือขวาก็ได้ออกไปข้างหน้าเต็มก้าว ขอ้ สำคญั หากก้าวเท้าซ้ายออกหมัดท่ีอย่รู ะดับหน้าก็ต้องเป็นมือซ้ายดว้ ย ลำตัวจึงจะไมบ่ ิด “ท่า” เป็น การฝึกใหก้ ลา้ มเนอื้ คลุมหัวไหล่แขง็ แรงและหมัดไม่ตกเวลาเอาจริงจงั การใชผ้ ้าขาวมา้ พนั หมัดผ่านคอ ด้านหลังเพื่อช่วยบังคับให้มีการใช้สมองทำงานด้วยในตัว เพราะผู้ฝึกจะต้องสนใจคอยระวังหมัดที่ เสมอกับระดับหน้าและช่วยรั้งให้หมัดหลังอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะเจาะตลอดเวลา การเปลี่ยนหมัด นอกจากนั้นสมองยังต้องระมัดระวังมิให้ผ้าขาวม้าถูกก้านคอจนเกิดอาการอักเสบได้ ผลการฝึกส่งผล ให้สมองเกิดความเคยชนิ เป็นอตั โนมตั ิ 5.2 ลูกประคบ เมื่อนักมวยฝึกโดยใช้ผ้าขาวม้าคล้องคอได้ดีพอสมควรแล้ว เขตร ศรียา ภัย (2550, 29) กล่าวว่า ให้เลิกใช้กลับให้ใช้ผ้า 2 ผืนม้วนเป็นแบบลูกประคบรวบชายไว้มือละลูกใช้ แทนนวม (สมัยนั้นยังไม่มีนวม) ชกกับคู่ซ้อมที่มีความสามารถพอๆ กัน การทำลูกประคบชกต่อยต้อง คอยพลิกปรบั ลูกประคบให้ถกู เป้า เมอื่ ฝึกคลอ่ งจากท่าน้แี ลว้ กใ็ หค้ ลลี่ ูกประคบแยก พนั มือ โดยมิให้ขอ้ นิ้วโผล่ ลักษณะหมัดตอนนี้คล้าย ๆ สวมนวม แต่ก็ยังต่อยกันรุนแรงไม่ได้ เพราะผ้าพันหมัดอาจเล่อื น หลุดบ่อย ๆ การปดั หมดั ปดิ หมดั ด้วยแขนชักจะชินและชำนาญข้นึ และต้องเพิ่มการส่ายหน้าหลบด้วย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 25 ต่อจากนั้นก็ถึงขั้นคอ่ นข้างเจบ็ คือ ผ้าที่พันหมัดจะถูกสั่งเปล่ียนให้พันสอดผา่ นง่ามนิ้วมือ ทำให้ผ้าตึง ขึ้นกว่าพันแบบเก่าและมีข้อนิ้วมือโผล่ การลั่นหมัดก็ถนัดขึ้นกว่าเดิม นิ้วมือก็อาจทิ่มเข้าตาได้ เพราะฉะนั้นการคุม (Guard) ป้องกันหน้า (ส่วนตั้งแต่เชิงกระหม่อมตลอดลำคอ) จึงต้องเพิ่มความ ระมัดระวังให้แน่นกระชบั ยิ่งขึน้ หากพลาดพลั้งปิดปัดหรอื หลบผิดจังหวะก็หมายถึงปากกบเลอื ดหรือ คว้ิ โปน ฯลฯ 5.3 ลูกมะนาว การป้องกันหน้า โดยใช้ลูกประคบเพื่อให้ชำนาญแล้ว เช้า วาทโยธา (2551, 152) กล่าวว่า ต้องฝึกเสริมในขั้นสูงขึ้น โดยใช้ลูกมะนาวผูกติดกับด้ายแขวนห้อยไว้กับไม้รวก หา่ งกนั พอประมาณ 4-5 ลูก ระดบั เสมอคอ ผู้ฝกึ จะใช้หมดั ศอกและแขนรับ โดยมขี ้อกำหนดไม่ให้ลูก มะนาวแกวง่ ถกู หนา้ ไม่ให้ด้ายท่ีแขวนลูกมะนาวพันกันและอย่าให้ข้วั มะนาวหลุด ผฝู้ กึ จะต้องใช้สมอง ต้องค่อย ๆ ต่อย เมื่อปรากฏว่าฝึกหัดหลบรอดได้คล่องตัวดีพอแล้วค่อยเพิ่มเติมลูกมะนาวขึ้นอีกฝึก แบบนี้นอกจากฝึกเพื่อให้เกิดความคล่อง ฝึกสายตาแล้ว ยังเป็นการฝึกหัดความหนักแน่น อดทนและ ฝกึ จติ ใจใหเ้ กิดความเยือกเย็นไมว่ ู่วาม บางคนฝึกยังไมท่ ันเทา่ ไรกเ็ กิดความเบ่ือหน่ายและท้ิงไปในที่สุด มักเป็นอุปเท่ห์อย่างหนึ่งของครูที่ต้องการทราบถึงนิสัยใจคอของผู้เป็นศิษย์คนใดมี สมาธิมีความแน่ว แนแ่ คไ่ หน ควรแก่การรับการถา่ ยทอดวิชามากนอ้ ยเพียงไร 5.4 ดพู ระอาทติ ย์ ดูพระอาทติ ย์เป็นกุศโลบายของครมู วยสมยั โบราณ ซ่ึง เขตร ศรียาภัย (2550, 31) กล่าวว่า ครูบาอาจารย์ท่านต้องการให้ลุกขึ้นดูพระอาทิตย์ตอนเช้ามืด อากาศตอนน้ัน บริสุทธิ์ เมื่อลุกขึ้นแล้วก็ต้องออกวิ่ง นักมวยจำต้องวิ่งไปตามท้องไร่ท้องนา ซึ่งมีพื้นผิวขรุขระและถ้า พบน้ำค้างเป็นหย่อมละอองขาว ๆ นักมวยก็จะนอนเกลือกกลิ้งโดยเข้าใจว่าน้ำค้างจะซึมเข้าเนื้อหนัง ทำให้เกิดพลังและความทรหด ถ้าลองคิดดูให้ลึกซึ้งก็จะเห็นได้ว่า พื้นที่ซึ่งมีผีตากผ้าอ้อมตามปกติไม่ เป็นพ้ืนเรียบ ตะปุ่มตะป่ำด้วยรอยตนี ควาย ซงึ่ เมอื่ แห้งแล้วมคี วามแขง็ นอ้ ง ๆ คอนกรีต การที่นักมวย นอนกลิ้งเกลือกเช่นนั้น ทำให้เนื้อหนังคล้ายถูกทุบนวดด้วยของแข็ง ความคายจากใบหญ้าหรือพืช จิปาถะย่อมอำนวยผลใหผ้ ิวหนังระคายแล้วด้านจนหนาเตอะ ทำนองเดียวกบั แขนทถ่ี ูกนวมผ้าใบเฉียด เกดิ อาการแสบแล้วแสบอีกจนเคยชิน เรยี กวา่ ดา้ นจนเกอื บหมดความรู้สึก 5.5 ก่อนอาบน้ำ ก่อนที่นักมวยจะอาบน้ำ เขตร ศรียาภัย (2550, 31-32) กล่าวว่า นักมวยจะต้องวิ่งตามหาดทราย คะเนว่าน้ำลึกประมาณ 6-8 นิ้ว ต้องกระแทกตีนให้มองเห็นทราย ทุก ๆ ก้าวที่วิ่ง เมื่อเสร็จตอนนี้แล้วก็ต้องขึ้นบกและวิ่งลงลุยนำ้ ลึกเท่าท่ีจะลุยได้ ซึ่งโดยมากพอลึกถึง หน้าขาก็ล้มพยายามวิ่งเช่นนี้หลาย ๆ เที่ยว กล้ามเนื้อก็ต้องแข็งแรงเป็นธรรมดา แต่ยังไม่เสร็จสิ้น นักมวยยงั ต้องเดนิ ลงไปทางน้ำลกึ ถงึ ระดับหนา้ ท้อง แบมือตบลงไปในน้ำ แลว้ พลิกมอื เพ่อื ใหเ้ กิดมีก้อน อากาศผุดขึ้นเหนือน้ำ แต่ก้อนอากาศยังไม่ทันผุดนักมวยต้องใช้ศอกของอีกมือหนึ่งถองลงตรงกลาง ก้อนอากาศ ซึ่งต้องมีการโยกตวั ไปมาตามคราวที่ผลัดเปลี่ยนมอื และต้องก้มต้องเงยทำให้การสา่ ยหัว คล่องแคล่ว กล้ามเนื้อตอนบั้นเอวหย่อน กล้ามเนื้อท้องแข็งแรงทนทานต่อการกระทบกระแทก คร้ัน

26 แล้วต้องขยบั ลงไปเพื่อใหร้ ะดับน้ำอย่ตู อนราวนม ใช้มอื ทัง้ ซ้ายขวา (ดา้ นนิ้วกอ้ ย) สับให้น้ำกระเด็นเข้า ตา นยั วา่ เพื่อให้ตาแข็ง ประโยชนด์ ังกล่าวนจ้ี ะเท็จจรงิ ประการใดก็ตาม แต่ถา้ บรหิ ารแบบตา่ ง ๆ นี้ทุก วันแน่นอน กล้ามเนื้อหน้าแขนและท้องแขน (biceps and triceps) ย่อมพัฒนาเมื่อกล้ามท้องแขน พัฒนาการลั่นหมัดก็แรงขึ้น สอดคล้องกับ เช้า วาทโยธ (2551, 150) กล่าวถึง กลอนของครูนิล นิล อาชา (วดั อ่มิ ) เกย่ี วกับการอาบน้ำนกั มวย ไวว้ า่ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง เม่อื เวลาเราลงสรงสนาน ในทอ้ งธารคงคาชลาสนิ ธุ์ ใหด้ ำนำ้ ลืมตาเป็นอาจิณ จะเพม่ิ พนิ แสงตากลา้ ขึน้ ไป ลงในน้ำเพยี งคออยา่ ทอ้ แท้ ใหล้ งศอกถองกระแสอย่าสงสัย ทัง้ สองศอกชะมนุ ออกวนุ่ ไป จนตัวลอยในวารนี ทั ธธี าร วฒุ นิ ี้ดีเหลือครเู ช่อื แล้ว ใหค้ ล่องแคล่วศอกแสกก็แตกฉาน สหู้ ากเพียรเรยี นทำให้ชำนาญ เมือ่ ต้องการกจ็ ะสมอารมณเ์ รา 5.6 กระเดียดน้ำ ในสมัยโบราณคนไทยยังไม่มีน้ำประปาใช้อาศัยอาบกิน อาศัยน้ำฝน และน้ำท่าจากบ่อห้วยหนอง คลองและบึง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ ซึ่งต้องหาจากรายทางใกล้ไกล ไม่แน่นอน ภาชนะที่ใช้บรรจุไม่มีถังหรือปี๊บต้องดัดแปลงชามหมากเป็นภาชนะ กระออมหรือชะลอม สานจากไม้ไผ่ “ลาฟอน” ทาด้วยส่วนผสมชันและน้ำมันยางเพื่อมิให้รั่ว เช้า วาทโยธา (2550, 151) กล่าวว่า อาจใช้กระบอกไม้ไผ่หนึ่งปลอ้ งยาวผิวบางทะลวงข้อขึ้นไปแต่ละกระบอกยาว 1.50 เมตร ใช้ ตักน้ำจากแหล่งน้ำแล้วเอาแขนหนีบไว้กับชายโครงด้านข้าง เรียกว่า “กระเดียดน้ำ” สอดคล้องกับ เขตร ศรียาภัย (2550, 38) กล่าวว่า “ไม้ผาก” (ไม้ไผ่ชนิดหนึ่งปล้องยาวผิวบาง) ทะลวงข้อขึ้นเป็น กระบอกยาวประมาณ 1.2-3 เมตร ตักน้ำแบกขึ้นบ่าหรือกระเดียด คือ ใช้แขนหนีบไว้กับสีข้างขนนำ้ มาบ้าน ภารกิจประจำวันดังกล่าวทำให้ร่างกายบึกบึนแข็งแรง กล้ามเนื้อไหล่พัฒนากล้ามเนื้อชาย โครงแข็งแกรง่ เป็นตน้ กำเนิดเฉพาะวิชาวา่ “กระเดยี ดน้ำ” ซง่ึ หมายถงึ ซโ่ี ครงอันเป็นจุดอ่อนแห่งหนึ่ง ที่นักมวยพึงระมัดระวังปิดป้อง ฉะนั้นหากพี่เลี้ยงหรือครูจะแนะนำทำให้เตะซี่โครงคู่ต่อสู้ก็ไม่ต้อง ตะโกนดงั ๆ “เตะซ่ีโครง” เตะซโ่ี ครง อนั จะก่อใหเ้ กดิ ความรำคาญและผดิ กติกาสมัยใหมเ่ พียงกระซิบ วา่ “กระเดยี ดน้ำ” เท่าน้นั ก็เป็นทีเ่ ขา้ ใจกนั 5.7 การตำข้าว การตำข้าวในสมัยโบราณเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายอีกวิธีหนึ่งท่ี พัฒนากล้ามเนื้อข้อมือ แขน หัวไหล่ และหน้าท้อง เพราะลักษณะการตำข้าวของไทยนั้น ใช้ไม้เน้ือ แข็ง ยาวประมาณ 1-1.5 เมตร น้ำหนัก 5-6 กิโลกรัม ลักษณะคอดกึ่งกลาง เรียกว่า “คอ” เช้า วาท โยธา (2550, 151) กล่าวว่า คนตำจะต้องจับสากตรงกลาง ยกแขนขึ้นสุด ประคองตำให้ตรงกึ่งกลาง ครก การยกสากขึ้น ๆ ลง ๆ เป็นชั่วโมงเป็นประจำทุกวัน เป็นการออกกำลังกายคล้ายกับการ ยกดัมเบลล์ (Dumbbells) ในปัจจุบัน เขตร ศรียาภัย (2550, 38-39) กล่าวว่า ตามปกติเวลาตำข้าว

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 27 ตอ้ งใชเ้ สอ่ื ปูกอ่ นตั้งครกเพื่อมใิ ห้ขา้ วกระเด็นลงดนิ แตก่ ารตำขา้ วของพวกนักมวย ไม่ปเู สื่อ ทุกคนต้อง ประคองสาก (ใชส้ มาธิ) ตำให้ตรง หากจะแสดงลวดลายกป็ ล่อยมือ เมอ่ื ยกสากแลว้ จึงคว้าให้พอดีตรง คอเมอ่ื ตำลงอาจมีการเปลย่ี นมือตำเพือ่ ความถนดั ท้งั ซ้ายและขวา 5.8 การผา่ ฟนื การผา่ ฟนื เปน็ กิจวัตรในการครองชีพอย่างหนงึ่ เพราะคนไทยสมัยโบราณ ใช้ฟืนหุงข้าว ซึ่งตามปกติแล้วต้องหาไม้ทำฟืนจากในป่า เขตร ศรียาภัย (2550, 39) กล่าวว่า ถ้าเป็น ไม้ท่อนต้องใช้ขวานปูลู (ขวานด้ามยาวสำหรับตัดไม้ขอน) หรือขวานโยน (ขวานที่ต้องจับสองมือ) ตัด ไม้ ผ่า บัน่ ทอน ลงมาทำให้ข้อมือไหล่ สนั หลัง ขา หนา้ อก หน้าทอ้ งแข็งแรงขึ้น ซ่ึงกล่าวได้ว่าปู่ย่าตา ยายของเรารู้จักคน้ ควา้ วธิ อี นั ชาญฉลาดตามยคุ ตามสมยั ของทา่ นพวกเรา จงึ ไดร้ บั มรดกอันสำคญั 5.9 เตะต้นกล้วย ในสมัยโบราณไม่มีกระสอบทรายสำหรับฝึกซ้อม ครูมวยจึงให้ลูกศิษย์ ไปตัดต้นกล้วยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-6 นิ้ว ยาวประมาณ 3 ศอก ตั้งไว้ตรงพื้นที่เรียบ ๆ เขตร ศรี ยาภัย (2550, 32) กล่าวว่า นักมวยจะต้องเตะประคองทั้ง 1 เท้าซ้ายและเท้าขวาและต้องไม่ให้ต้น กล้วยล้ม ผลัดเปลี่ยนเตะตลอดต้น คือ ตั้งแต่ระดับต่ำถึงสูง (เรียกวา่ เตะบนเตะล่าง) หรือกลับกันเมื่อ เกิดความชำนาญและคล่องแคล่วดีแลว้ กค็ ่อย ๆ ผลดั เปลย่ี นตน้ กล้วยท่มี ขี นาดใหญ่ข้นึ และฝกึ เตะแบบ เดียวกัน 5.10 ลากเลื่อน การฝึกความแข็งแรงของขาเป็นองค์ประกอบทางสมรรถภาพทางกายท่ี สำคญั ของนกั มวยไทย เขตร ศรยี าภยั (2550, 32) กล่าววา่ นกั มวยไทยที่ถูกเตะแล้วลม้ ง่ายนบั วา่ ไม่ใช่ มวยไทยครบเครื่อง เพราะฉะน้นั นักมวยต้องฝึก “ลากเล่อื น” วธิ ีการฝกึ คือ ใหเ้ พ่ือนจับขาข้างหน่ึงพา ว่ิงหรือถอยหลัง เลี้ยวไปทางซา้ ยทางขวาสุดแต่เพอ่ื นจะแสร้งสมมตุ ิว่าเปน็ คู่ต่อสู้ นักมวยทย่ี ืนเท้าเดียว จะต้องเขย่งเท้าตามหรือกระถดถอยหลงั โดยตอ้ งคอยปรับศนู ย์มิให้ลม้ หรือเสียหลักงา่ ย ๆ มือก็ไม่ให้ ตกจากการคุมและยังกล่าวอีกว่าบรรพบุรุษของพวกเราท่านมีวิธีสอนอันเหมาะสมแก่สมัยของท่าน เพ่ือรกั ษามรดกอันลำ้ คา่ มิใหเ้ สอ่ื มสญู ขอใหพ้ วกเราชั้นลูกหลานชว่ ยกันปรบั ปรุงใหด้ ีขน้ึ อย่าใหเ้ ลวลง 5.11 ปะแป้ง การฝึกมวยไทยด้วยวิธีการปะแป้ง เขตร ศรียาภัย (2550, 30) กล่าวว่า เป็นการทดสอบขั้นสุดท้าย โดยใช้แป้งนวลผสมน้ำปะหน้าแล้วให้ขึ้นนั่งขัดสมาธิบนก้นครก (ครกตำ ขา้ วควำ่ ปาก) ต่อจากน้นั ครูจะให้คู่ซ้อมสวมนวมเยบ็ กันเองดว้ ยผ้าใบ แบนน้ิวท้งั หา้ โผล่ออกมาใต้นวม นวมชนิดนี้ไมผ่ ิดอะไรมากนักกบั หมดั คาดเชือกคซู่ ้อมคนใดทนี่ ่ังบนกน้ ครกต้องพยายามปิดหมัดยิ่งกว่า ปัดใหห้ มดั เฉียดและหากนักมวยตกจากกน้ ครกบ่อย ๆ จะถูกหาวา่ หลกั ยังไม่น่ิงหรือแปง้ ที่ปะหน้าแห้ง แตม่ รี อยถกู เช็ด (เพราะนวมเฉียด) ครูจะจ้ำจจี้ ำไชใหฝ้ ึกจนกวา่ จะพอใจ จากการศกึ ษายงั พบอีกว่า การฝกึ ซอ้ มการใช้หมัดของนายยัง วันธงชัย นักมวยในอดีตใช้ มะพร้าวห้าวลอยน้ำ แล้วใช้หมัดทั้งซ้ายและขวาผลัดกันต่อยจนกระทั่งเปลือกมะพร้าวด้านนอกช้ำ และเปื่อยยุ่ย เปลือกมะพร้าวจึงดูดน้ำทำให้มะพร้าวไม่ลอยเหนือผิวน้ำเหมือนตอนแรกหากฝึกซ้อม เป็นประจำจะทำให้หมัดแข็ง (เขตร ศรียาภัย, 2516, 30) และเขตร ศรียาภัย (2550, 553) ยังกล่าว

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 28 อีกว่านายทองดี ฟันขาวหรือพระยาพิชัยดาบหัก ก่อนชกกับนายห้าว ครูมวยแห่งเมืองตาก ขณะ อาศัยอยู่ที่วัดดอนเขาแก้ว ปัจจุบันเป็นวัดร้างอยู่บนเนินเขาแก้ว ตรงข้ามกับที่ตั้งจังหวัดตากฝึกชก หมัดของตนเอง โดยฝึกซ้อมชกลูกขนุน ซึ่งมีติดต้นอยู่บริเวณวดั จนเน่าคาต้นไปหลายสิบลูก กระทั่ง สันหลังหมัดเกิดเนื้อด้านดำเป็นตะปุ่มตะป่ำหนาเตอะและนอกจากน้ี ทรงพล นาคเอี่ยม (2550, 72) กล่าวว่า เด็กชายจ้อยหรือนายทองดี ฟันขาว ขณะเป็นเด็กมีความคิดในการสร้างวิธีการฝึกให้กับ ตนเองขนึ้ มา เชน่ การเตะตน้ กล้วยท่ตี ัดมา ต้ังไวม้ ใิ ห้ลม้ การเตะต้นกล้วย เช่น การเตะต้นกล้วยท่ีตัด ให้สูงขึ้นเรื่อย ๆ จนเกือบถึง 4 ศอก โดยไม่ให้ต้นกล้วยล้มหรือกระทั่งการผูกลูกมะนาวกับเชือกให้ ห้อยเสมอหน้าแล้วชกศอก ปัดป้อง หลบหลีก โดยเพิ่มจำนวนลูกมะนาวขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่ให้ลูก มะนาวถูกหน้าเลย และ สมพร แสงชัย (อ้างถึงในทรงพล นาคเอี่ยม, 2550, 96) กล่าวว่า ผมจำได้ อย่างหนึ่งเมื่อเวลาสอนแม่ไม้พ่อผมจะสอนเดือนมืดแล้วปิดไฟหมดเลย เราก็สงสัยเลยถามพ่อทำไม สอนกันมดื ๆ พอ่ กบ็ อกว่าแม่ไม้น่เี ราจะไม่เปิดเผยให้คนอื่นรู้ เราจะใหร้ ้กู ันเฉพาะลูกศิษย์เพราะนับว่า สำคัญเวลาเราใช้เตะจะได้เตรียมตวั ไมท่ นั โพธิ์สวัสดิ์ แสงสว่าง (2551) ได้บรรยายให้นิสิตปริญญาเอก สาขามวยไทยเมื่อเดือน กรกฎาคม 2551 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง สรุปถึงวิธีการฝึกมวยไทยสมัยโบราณ ประกอบด้วยกุศโลบายของครูมวย กิจกรรมการละเล่นพื้นเมืองนำไปสู่การฝึกมวยไทยและกิจกรรม การฝึกมวยไทย รายละเอียด ดังนี้ กุศโลบายของครูมวย ประกอบด้วย 1) ตักน้ำ, กระเดียดน้ำ, กระออม, ครุ 2) ตำข้าว, ครกใหญ่, ครกมอง 3) ผ่าฟืน 4) ตีเหล็ก, ทำมีด, ทำพร้า และ 5) ฟันต้นไม้ กิจกรรมการละเลน่ พ้นื เมอื งนำไปสกู่ ารฝึกมวยไทย ประกอบดว้ ย 1) มวยหมู่ 2) มวยเผียก 3) มวยตบั จาก 4) มวยใบตองแห้ง 5) มวยทะเล 6) ปิดตาต่อยมวย 7) ขี่ช้างต่อยมวย 8) ชิงบัลลังก์ 9) ชนช้าง 10) ชนไก่ 11) ชักเย่อ 12)แย้ลงรู 13)เต้นขาเดียว และ 14)ตีกลองน้ำ และกิจกรรมการฝึกมวยไทย ประกอบด้วย 1) วิ่งข้ามทุ่ง 2) วิ่งบนทราย 3) วิ่งลุยน้ำ 4) ว่ายน้ำ 5) สับน้ำเข้าตา 6) ดำน้ำ 7) หลบ หลีกหวาย 8) เตะต้นกล้วย 9) ต่อยลูกมะนาว 10) ปีนต้นมะพร้าว 11) โหนเถาวัลย์ 12) เล่นเชิงลาน วัด 13) เตะกระสอบทรายแกลบ/ขี้เลื่อย 14) ฝึกแม่ไม้ ลูกไม้ 15) ฝึกยืดหยุ่น 16) ฝึกโยคะ 17) ฝึก สมาธิ 18) กอดรดั ทุม่ ปลำ้ 19) การทำใหล้ ้ม 20) ดำน้ำ 21) ตำข้าว 22) ตีเหล็ก และ 23) ผ่าฟืน สรุปได้ว่า การฝึกซ้อมมวยไทยสมัยโบราณจะใช้อุปกรณ์ตามธรรมชาติ เช่น ต้นกล้วย ลูกมะพร้าว ผลมะนาวและจะฝึกเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายตามวิถีชีวิต เช่น การหาบน้ำการ กระเดยี ดนำ้ ผา่ ฟืน ตำข้าว และวง่ิ เล่นตามทงุ่ 6. การฝึกซอ้ มมวยไทยสมัยปจั จุบนั ปัจจุบันการฝึกซ้อมมวยไทยเปลี่ยนแปลงไปจากการฝึกซ้อมในสมัยโบราณ เพราะมีการนำ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายมาใช้ในการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายของนักมวย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 29 และมีอุปกรณ์เสริมสำหรับฝึกซ้อมที่ทันสมัย เช่น เวทีมวย นวม กระสอบ เป้าล่อหมัด-ถีบ-เตะ-เข่า และศอก ฯลฯ การฝกึ ซอ้ มมวยไทยสมยั ปจั จุบนั จะต้องอาศยั ผู้ฝึกสอนที่มีความรู้มีประสบการณ์อาศัย หลกั การฝึกซ้อมท่ีถูกต้อง การฝึกซ้อมมวยไทยให้ได้ผลดนี ้นั จะตอ้ งซอ้ มวนั เว้นวันหรือซ้อมหนัก 1 วัน พัก 2 วัน หรือซ้อมหนัก 2 วัน พัก 1 วัน สลับกัน ถ้าไม่จำเป็นแล้วไม่ควรจะฝึกซ้อมหนักทุกวัน ติดต่อกันเพราะการฝึกซ้อมหนักแล้วพักเป็นชว่ ง ๆ จะทำให้เซลล์ของกล้ามเน้ืออวัยวะและระบบต่าง ๆ ในรา่ งกายมีโอกาสสรา้ งและซ่อมแซม รวมทงั้ การปรับปรงุ ตนเองและได้อย่างสมบูรณ์ ซึง่ เป็นผลทำ ให้การฝกึ ซอ้ มได้ผลดีตามหลักการทางกายวิภาคสรีรวทิ ยาและทางจติ วิทยา (สำนกั งานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ, 2540, 509) ยงั กลา่ วถึงกระบวนการฝึกมวยไทยเพอ่ื การแขง่ ขันไว้ดังน้ี 6.1 ฝกึ สมรรถภาพทางกายทัว่ ไป 6.2 ฝึกสมรรถภาพทางกายเฉพาะมวยไทย 6.3 ฝึกทกั ษะเบือ้ งตน้ ทางกีฬามวยไทย 6.4 ฝึกไมร้ ุกและไม้รับในกฬี ามวยไทย 6.5 ฝึกการใชห้ มัด เท้า เข่า ศอก กบั กระสอบ เปา้ นง่ิ เป้าเคล่อื นท่ี 6.6 ฝึกการใชห้ มัด เท้า เข่า ศอก กบั มอื เปา้ 6.7 ฝึกเล่นเชงิ และปล้ำคูผ่ ลดั 6.8 ฝึกทุกอยา่ ง ทบทวนหลาย ๆ ครัง้ จนชำนาญ 6.9 ทดสอบโดยให้ซ้อมกับคู่ซ้อมท่ีมฝี มี อื มชี นั้ มวย แลว้ เทยี บช้ัน เทยี บฝมี ือ 6.10 แขง่ ขันจริงเพือ่ หาประสบการณ์บนเวที 6.11 แก้ไขปรบั ปรงุ ขอ้ บกพร่องเพม่ิ เติมศลิ ปะมวยไทย และนอกจากนี้สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (2540, 532) กล่าว สรุปถึงการ ฝึกซ้อมมวยไทยให้ประสบผลสำเร็จได้ขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ คุณลักษณะของผู้สอน ตัว นักมวยเอง และกระบวนการฝึกซ้อม ผู้ฝึกสอนจะต้องมลี ักษณะของผู้นำมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี ความรู้ มปี ระสบการณ์ และความประพฤตดิ ี มีระเบียบวินยั ซงึ่ จะเปน็ ตวั อย่างทีด่ ีและสามารถควบคุม การฝึกซ้อมของนักมวยได้ ส่วนตัวนักมวยจะต้องมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ มีความพร้อม และมี ความศรัทธาที่จะฝึกมวยเพื่อชัยชนะในการแข่งขัน ด้านการฝึกซ้อมมวยไทยแบ่งเป็นการฝึก สมรรถภาพทางกายท่วั ไปและฝกึ สมรรถภาพทางกายเฉพาะ การฝึกสมรรถภาพทางกายเฉพาะสำหรับ กีฬามวยไทย ได้แก่ การฝึกชกลม เล่นเชิง ซ้อมเป้า ซ้อมกระสอบ ลงนวมปล้ำคู่ และที่สำคัญที่ขาด ไม่ได้ คือ ชั้นเชิงของไม้มวยไทยต่าง ๆ ส่วนการเพิ่มความแข็งแกร่งให้กล้ามเนื้อท้อง โดยการลุก-นั่ง การทุบท้อง เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับคางและคอโดยการกัดเชือก ที่แขวนลูกเหล็ก ยกขึ้นลง การวิ่ง และการกระโดดเชือก รวมทั้งการยกน้ำหนักเป็นกิจกรรม ที่จำเป็นมากในการฝึกสมรรถภาพ ทั่วไปสำหรบั กฬี ามวยไทย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 30 สรุปได้ว่า การฝึกซ้อมมวยไทยสมัยปัจจุบันจะมีอุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น เวทีมวย นวม กระสอบ เป้าล่อ และฝึกสมรรถภาพทางกาย จะนำเคร่อื งมอื ทางวทิ ยาศาสตร์มาช่วย เช่น การฝึกด้วย น้ำหนักโดยใช้ดรัมเบล บาร์เบล เชือกที่แขวนลกู เหล็ก ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สำคัญมากในการฝึกมวยไทย นอกจากน้ยี ังเปน็ การฝึกตามหลักการฝึกกีฬาที่ถูกต้อง ทีม่ โี ปรแกรมการและวตั ถปุ ระสงค์การฝึกอย่าง ชดั เจนท่เี หมาะสมตอ่ ผฝู้ ึกมวยไทย สรุปท้ายบท ความเป็นมาของลีลามวยไทยนั้นมีความเป็นมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งวิธีการฝึกและ วิธีการถ่ายทอดลีลาไม้ตายมวยไทย มีมากมายหลายวิธี ต้องเริ่มจากการฝึกทักษะพื้นฐาน ต้องฝึกหัด กับอุปกรณ์ ต้องฝึกการเคลื่อนไหวให้เป็นไปในหลายรูปแบบเป็นขั้นเป็นตอน จากง่ายไปยาก และครู มวยไทยบางคนอาจมเี ทคนิคการสอนท่นี า่ สนใจและได้ผล วธิ กี ารถ่ายทอดลลี าไมต้ ายมวยไทยจึงน่าจะ เกี่ยวข้องกับเทคนิควิธีการสอนของครูแต่ละท่านเป็นส่วนใหญ่ก็เป็นได้ จึงน่าจะสอดคล้องกับคำ บรรยายของท่านพุทธทาสภิกขุเก่ยี วกับครูที่ดี คำถามท้ายบท 1. ความเป็นมาของลีลามวยไทยเปน็ อยา่ งไร 2. ไมต้ ายหมายถึงอะไร 3. จดุ สำคัญทเี่ ปน็ เปา้ หมายของการใชไ้ ม้ตายคอื บริเวณใด 4. หลกั การใชไ้ ม้ตายมหี ลักอะไรบา้ ง 5. การฝกึ ซอ้ มมวยไทยสมัยก่อนกับปัจจบุ นั แตกต่างกนั อยา่ งไร เอกสารอา้ งองิ กฤษณะ แก้วศรีนาค. (2542). ประวัติของพระยาพิชัยดาบหักที่เกี่ยวข้องกับมวยไทย. ปริญญา นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินท รวิโรฒ. เขตร ศรยี าภยั . (2550). ปรทิ ัศน์มวยไทย. กรงุ เทพฯ : มติชน. จรวย แกน่ วงศค์ ำ. (2530). มวยไทย-มวยสากล. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร.์ จัตุชัย จำปาหอม. (2550). พัฒนาการมวยไทยไชยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ ามวยไทยศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ . . (2552, กุมภาพันธ์ 7). ผู้เช่ียวชาญดา้ นมวยไทย. สัมภาษณ์.

31 ฉัตรมงคล ชาแท่น. (2517). พัฒนาการไอคิโดโนประเทศไทย. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าพลศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒประสานมิตร. ชนทัต มงคลศิลป์. (2550). มวยลพบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา มวยไทยศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง. เช้า วาทโยธา (2550). มวยไทยโคราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา มวยไทยศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หม่บู ้านจอมบงึ . ทรงพล นาคเอี่ยม. (2550). การเปลี่ยนแปลงของความหลากหลายในเชิงศิลปะการต่อสู้ป้องกนั ตัว : กรณีศึกษามวยไทยสายพระยาพิชัยดาบหัก. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าพลศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 81 จดหมายเหตุเรือ่ งการจลาจลเมื่อปลายแผ่นดินสมเดจ็ พระนารายณ์ มหาราช. (2510). แปลโดย หลวงจินดาสหกิจ (ละม้าย ธนะสิริ). กรุงเทพฯ : ธนาคาร แห่งประเทศไทย. ประมวล บัวทอง. (2537). พัฒนาการของกระบี่กระบอง. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าพลศกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร. โพธส์ิ วสั ดิ์ แสงสว่าง. (2551, มกราคม 17). ผ้เู ชีย่ วชาญด้านมวยไทย. สมั ภาษณ์. ยศ เรืองสา. (2545). ตำรามวยไทย. พิมพค์ รัง้ ที่ 3, กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์เสริมวทิ ย์บรรณาคาร. ราชบัณฑติ ยสถาน. (2531). พจนานกุ รมไทย. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พอ์ ักษรเจรญิ ทศั น.์ . (2554).พจนานกุ รมไทย. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พอ์ ักษรเจริญทศั น.์ สมพร แสงชยั และ คณะ. (2549). มวยอุตรดติ ถ.์ สำนักศลิ ปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏอุตรดติ ถ์. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ. (2540). ศลิ ปะมวยไทย. กรุงเทพฯ : คุรสุ ภา. อเล็ก ซุย. (2551). ทฤษฎีวิวฒั นาการมวยไทย : การสบื หารอ่ งรอยตน้ กำเนิดและประวตั ิศาสตร์ ม ว ย ไ ท ย . ค ้ น เ ม ื ่ อ ส ิ ง ห า ค ม 2 2 , 2 5 6 4 . https://he0 2 . tci- thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/252674 อำนาจ พุกศรสี ขุ . (2552, มกราคม 17). ผเู้ ชย่ี วชาญด้านมวยไทย. สมั ภาษณ์. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 32 บทที่ 2 ลลี าไมต้ าย “หมดั ” หมัดเป็นเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายที่มวยไทยได้นำเอามาใช้ในการป้องตัวเมื่อเกิดการ ตอ่ สหู้ รอื เกิดการปะทะในยามเหตุการณ์ท่ีไม่คาดคิดตงั้ แต่สมัยโบราณจนมาถึงปจั จุบันที่มาใช้การแข่ง กีฬา เช่น มวยไทย มวยสากล หรือกีฬาอื่นที่ใช้ในการต่อสู้ เป็นต้น อีกทั้งยังเป็นอวัยวะที่สำคัญอย่าง หนึ่งของมวยไทยที่มีประสิทธิภาพมากสำหรับการต่อสู้เป็นอวัยวะที่ใช้ได้ผลเมื่ออยู่ในระยะกลาง (สำราญ สขุ แสวง, 2560) คำวา่ “หมัดชก” หมายถึง การใชม้ อื กำใหแ้ น่นแลว้ ใชส้ นั หมัดชกหรือกระแทกไปยงั เป้าหมาย การชกอาจจะใช้วิธีการเหวี่ยงแขนเป็นวงกว้างแล้วใช้ส่วนสันหมัดไปกระทบเป้าหมายหรืออาจจะใช้ กระแทกหรือส่งแขนออกไปตรง ๆ ด้านหน้าให้ส่วนสันหมัดกระทบเป้าหมาย (ครองจักร งามมีศรี , 2536, 14) “หมัด” จึงเป็นทักษะชนิดหนึ่งที่มีความสำคญั เปน็ อย่างมากโดยเฉพาะการแข่งกีฬามวยไทย เพราะทักษะการใชห้ มัดจะช่วยใหเ้ ผด็จศึกคูต่ ่อสู้ได้ ดังนั้น ในบทน้ีจะเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ ลีลาไม้ตายหมัด ที่ได้จากการศึกษาวิธีการฝึกลีลาไม้ ตายมวยไทย และวธิ กี ารปฏบิ ัตหิ รือใชล้ ีลาไมต้ ายมวยไทยของยอดนกั มวยไทย โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี ลลี าไม้ตายมวยไทย “หมดั ” ของยอดนักมวยไทย อาวุธของมวยไทยที่สามารถเผด็จศึกคู่ต่อสู้ได้ตลอดเวลา และสามารถทำให้คู่ต่อสู้เกิดการ บาดเจ็บไดน้ อกเหนือจากการใชเ้ ท้า เขา่ หรอื ศอก ได้ คือการใช้หมัดชก ซ่งึ มีนกั ยอดมวยไทยหลายคน ที่สามารถเอาหมัดมาใช้เป็นไม้ตายในการนำพาไปสู่ชัยชนะที่ว่างไว้ โดยจาการศึกษาและการ สัมภาษณ์รวมไปถึงการวิเคราะห์ของการใช้ไม้ตาย หมัด ของยอดมวยไทย มีรายละเอียดของแต่ท่าน ดงั นี้ 1. วธิ ีการฝกึ ลีลาไมต้ ายมวยไทย “หมดั ” ของยอดนักมวยไทย 1.1 ยอดนักมวยไทย “ศุภชัย สารคาม” วิธีการฝึกลีลาไม้ตายหมัดตรงหน้าหรือหมัดแย็บ ฝึกโดยการชกใบมะยมและชกลม ดังคำ กล่าวที่ว่า “สมัยก่อนผมฝึกชกใบมะยม แตกเป็นร้อยใบ เอาก้านมะยมมามัดติดกันแล้วก็ชกให้ใบ มะยมแตก ให้ดงั เพ๊ียะแลว้ กม็ าชกลม” กล่าวได้ว่า ในการฝึกไม้ตายหมัดจะฝึกชกใบมะยม โดยการนำใบมะยมที่มีก้านอยู่มามัด ติดกนั แล้วชกด้วยความแรงให้ใบมะยมแตกและกม็ ีการฝึกชกลม ซงึ่ จะเหน็ ไดว้ ่าการนำใบมะยมมามัด

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 33 รวมกันสำหรับฝึกซ้อมเป็นภูมิปัญญาของนักมวยในอดีตและในสมัยอดีตยังไม่มีอุปกรณ์ที่ทันสมัย เหมือนสมัยปัจจุบัน จึงต้องใช้อุปกรณต์ ามธรรมชาติในการฝึกซ้อมและปัจจุบันศุภชยั สารคาม มีอายุ 79 ปี 1.2 ยอดนกั มวยไทย “วทิ ยา ราชวตั ร” วิธีการฝึกลีลาไม้ตายหมัดประกอบด้วย ทักษะพื้นฐานการกำหมัด วิธีการชกและเป้าใน การชกมวยสมัยก่อนใชต้ ้นกลว้ ย ดังคำกล่าวไดว้ ่า “หัวแมม่ อื คาดระหวา่ งน้ิวกลางกับนิ้วชี้กำแน่น ๆ อย่าให้มีรู วิธีการชกก็ชกหมัดตรง พอจะถึงคู่ต่อสู้ก็บิดหมัด ออกมาตรงก่อนบิดไปทั้งหัวไหล่และ สะโพก สบื เทา้ เข้าแล้วก็ชกใช้แรงจากหัวไหล่ เอวสะโพกทิ้งน้ำหนักตัวไม่ยกเท้า ถ้ายกเท้าจะไม่มี แรง สมัยกอ่ น” กล่าวได้ว่า การฝึกชกหมัดจะฝึกทักษะการกำหมัดและการชกหมัด วิธีการคือ สืบเท้าชก หมัดตรงใช้แรงจากหัวไหล่ เอวสะโพก ทิ้งน้ำหนักตัวไม่ยกเท้า พอหมัดจะถึงคู่ต่อสู้ก็บิดหมัดคว่ำลง และจะฝึกกับต้นกล้วยแสดงให้เห็นวา่ ในสมยั ก่อนยังไม่ค่อยมีอุปกรณ์มวยในการฝึกมากนัก จึงต้องฝึก กับธรรมชาติ ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ภูมปิ ัญญาและวิธคี ิดของยอดมวยสมยั ก่อน 1.3 ยอดนกั มวยไทย “เดชฤทธิ์ อิทธิอนุชิต” ในการฝกึ หมัดเหวีย่ งส้นั จะฝึกชกลม ฝึกชกกระสอบ เลน่ ลูกเหลก็ และว่งิ ดังคำกล่าวท่ีว่า “ชกกระสอบ เล่นลูกเหล็ก ชกลม ถ้าจะให้หมัดหนักต้องชกกระสอบมาก ๆ ผมชกจนข้อแตกแลว้ กม็ ีฝกึ ว่ิงตอนเชา้ ตอนเย็นก็ฝกึ ชกกระสอบ และเลน่ ลกู เหล็ก” 1.4 ยอดนักมวยไทย “สมพงษ์ เจริญเมือง” วิธีการฝึกหมัดเหวี่ยงสั้น จะฝึกวิธีการยืนและชกแบบช้า ๆ ก่อนแล้วเพิ่มความเร็วโดยฝึก กับอปุ กรณ์ท่ีคิดขึ้นเอง และฝกึ กบั อุปกรณ์มวยไทย ดังคำกล่าวท่วี ่า “จะต้องฝึกทักษะการยืน ทักษะ การชกให้ถูกต้อง ช้า ๆ ก่อน และเร็วขึ้นใช้สตางค์รูแขวนและฝึกชก จากนั้นก็ฝึกชกกระสอบชก เป้า มนั ตอ้ งอยทู่ ่ีขา ตอ้ งอย่ใู นเสน้ เวลาจะชกหมัดเหว่ียงส้ันเทา้ ซา้ ยก็ต้องอยู่ท่เี สน้ กา้ วไปชก ขวา ซา้ ยเราต้องปิดไว้ ฝกึ ช้า ๆ ก่อนใหช้ ำนาญแล้วก็เพ่ิมความเร็วขนึ้ โดยใช้สตางค์รูแขวนด้วยเชือก หลงั จากนัน้ กไ็ ปฝกึ ทกี่ ระสอบทรายและฝึกกับเป้าคือทเี่ คลอ่ื นไหวเพื่อหาจงั หวะในการชก” 1.5 ยอดนกั มวยไทย “วิชาญนอ้ ย พรทวี” หลักการตอ่ สขู้ องนักมวยไมว่ ่าจะเป็นมวยหมดั มวยเท้า มวยเขา่ และมวยศอก หลกั สำคัญ อยู่ที่การยืน ดังคำกล่าวที่ว่า “ยืนเป็นหลักหรือยืนน้ำหนักตัวทางบวกแล้วก็เดินแย็บแล้วถอยหลัง ถอยหลังแล้วรับน้ำหนักอย่างไร น้ำหนักอยู่เท้าหลัง พอชกขวาน้ำหนักจะเคลื่อนไปข้างหน้า ขา หน้าจะรับไม่เซ ชกแรงเร็ว แต่อย่ทู ่กี ารยืน”

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 34 1.6 ยอดนกั มวยไทย “เผด็จศกึ พิษณุราชนั ย์” วิธกี ารฝึกหมดั ต้องฝึกชกลมเพ่ือฝึกความตรงของหมัดและฝกึ น้ำหนักของหมัดหรือฝึกการ ชกหนักไปฝึกกระสอบทราย ดังคำกล่าวที่ว่า “ผมก็ฝึกชกลมก่อน ต้องดูว่าหมัดตรงมั้ย จนกว่า สายตาเราจะดูว่ามันตรง พอมันตรงเราก็ไปเอาน้ำหนักที่กระสอบต้องไปชกให้หนกั ที่กระสอบ ถ้า ชกหนักชกถูกวิธกี ็ร่วง” 1.7 ยอดนักมวยไทย “อนนั ตศักดิ์ พันธุย์ ุทธภมู ิ” วิธีการฝึกหมัด ก็มีการฝึกแบบมือเปล่า ฝึกกับอุปกรณ์และมีฝึกเสริมสร้างความแข็งแรง ของมือโดยการฝึกด้วยน้ำหนัก ดังคำกล่าวที่ว่า “ฝึกชกลม ฝึกชกกระสอบ ฝึกชกเป้า แล้วก็มีลูก เหลก็ ถอื ใหข้ อ้ มอื แข็งแรง ให้มพี ลังหมดั มนั จะได้มนี ้ำหนกั มากขึ้น” 1.8 ยอดนักมวยไทย “แสนชัย ส.คงิ สตาร์” วิธีการฝึกลีลาไม้ตายของนักมวยแต่ละคนจะแตกต่างกันไป สำหรับแสนชัยไม้ตายเตะ พร้อมต่อยเป็นการใชอ้ าวุธมวยไทย 2 ทักษะพร้อมกับการฝึกจึงแตกต่างจากนักมวยคนอื่น วิธีการฝกึ จะฝกึ แยกส่วน และสว่ นฝึกจากช้าไปหาเร็ว ดงั คำกลา่ วที่ว่า “แรก ๆ เราก็เตะกอ่ น เตะบ้าง ชกซ้าย ถ้าคนไม่เป็น เตะแล้วขาลงค่อยชก เตะแล้วขายังไม่ต้องถึงพื้นก็ชกไปก็ได้แต่เราทำตรงนี้ให้ชิน กอ่ นแลว้ เพม่ิ ความเรว็ แต่เราต้องเตะให้เป็นกอ่ น ชกให้เปน็ ก่อน” กล่าวได้ว่า ลีลาไม้ตายเตะลำตัว ชกหมัดวิธีการฝึกไม้ตาย ฝึกแบบแยกส่วน คือ ฝึกเตะ ก่อนและฝกึ ชกต่อจากนั้นฝกึ รวมสว่ น คอื ฝกึ เตะและฝึกชกพร้อมกนั และฝึกเพม่ิ ความชำนาญ โดยทำ ใหเ้ รว็ ข้ึน 1.9 ยอดนักมวยไทย “อนวุ ฒั น์ แกว้ สัมฤทธ์ิ” วิธีการฝึกลีลาไม้ตายหมัดมีทั้งการฝึกแบบมือเปล่าและแบบใช้อุปกรณ์ช่วยเสริมความ แข็งแรง ดังคำกล่าวที่ว่า “เริ่มแรกก็ต้องหัดชก 1-2 ชก 1-2 ให้ถนัดก่อนแล้วก็มาเหวี่ยงสั้นต้อง ดู มวยเยอะ ๆ วิธีการฝึกมีหลายวิธีเช่นฝึกล่อเป้าและหาอุปกรณ์อื่นเสริม เช่น ยกดรัมเบล ทำให้มี กล้ามเนื้อที่ใหญ่ขึ้น แล้วออกหมัดจะได้แรงขึ้นกว่าเก่าต้องฝึกความเร็วของหมัด ต้องชกลมเยอะ ๆ ต้องหัดชกกระสอบออกให้มนั รวดเร็วออกให้เปน็ อัตโนมัติเลย คือ เวลาชกปบุ๊ ออกปบั๊ ”

35 1.10 ยอดนักมวยไทย “โบวี่ ส.อุดมพร” ในฝึกไม้ตายนั้นมีหลายวิธี มีทั้งฝึกแบบมือเปล่าและแบบใช้อุปกรณ์และสร้างเสริมความ แข็งแรง ดังคำกล่าวที่ว่า “เล่นลมให้มาก ฝึกเล่นลม ซ้อมธรรมดาแต่ต้องเล่นลมให้มาก สำหรับ กรณีผมจะเน้นคาบเชือก (วธิ ีการฝึกโดยใชป้ ากคาบเชอื กท่ีผูกด้วยลูกดรัมเบลเพ่ือสรา้ งเสริมความ แขง็ แรงของกรามและคาง)” 2. วธิ กี ารปฏบิ ัติลีลาไม้ตายมวยไทย “หมดั ” ของยอดนักมวยไทย 2.1 ยอดนักมวยไทย “ศุภชัย สารคาม” ยทุ ธวธิ ีการใช้หมดั ในการใช้ไม้ตายจะศึกษาคู่ต่อสู้ก่อน ว่าเขาถนัดอาวุธใด โดยการยื่นเท้าเข้าไปแย็บหมัด เพ่อื ให้คตู่ อ่ ส้โู มโห แล้วออกอาวุธมวยไทยซ้ำเติมในจงั หวะท่คี ู่ต่อสเู้ พล่ยี งพลำ้ ดงั คำกลา่ วท่ีว่า “ก็ดูว่า เขาถนัดอะไร เก่งอะไร วธิ ีการดกู แ็ กล้งเขากอ่ น แหยใ่ ห้เขาโมโหก่อน มนั ตอ้ งอ่านเขา ต้องอ่านเขา ให้ออก อ่านเขาไม่ออกไม่มีไม้ตาย.. ปกติผมก็ใช้สไตล์ธรรมดา เข้าไปธรรมดาโยกไปมา สืบเข้าไป ดว้ ยหมัดแยบ็ พอเขาเพลย่ี งพล้ำก็ซำ้ เติมทีหลัง ด้วยลกู เตะ ลกู เข่าแลว้ แต่... ผมชก กับ... ผมแล้ว ก็เลิกราเวทีไปเลยไม่น็อกหรอก แต่ชกผมไมไ่ ด้เลย ผมเอาเท้าถีบหน้าถีบหนา้ นี่ต้องไหว้ขอขมานะ เขาอายมุ ากกว่าผมถ้าเจอมวยเตะใชเ้ บ่ียงเท้าสืบเทา้ หลังแลว้ ก็เบี่ยงเทา้ หนา้ ถบี ปลายเทา้ ขึ้น ตัวก็ พลกิ ไปเองหน้าต้องมองเขามืออย่าลง” เปา้ หมายการใช้ไมต้ าย เป้าหมายการใช้ไม้ตายของหมัดตรงหน้า หรือหมัดแย๊ปบริเวณปลายคางคู่ต่อสู้ ดังคำ กล่าวที่ว่า “ออกหมัดต้องเป็นเส้นตรง ต้องออกเหมือนแทง่ สากกะเบือ เพื่อให้สันหมัดเขา้ ที่ปลาย คาง” กล่าวได้ว่า ในการใช้ไม้ตายหมัดตรงหน้าที่ปลายคางคู่ต่อสู้ โดยใช้สันหมัด ซึ่งเป็นส่วนท่ี แขง็ มากทสี่ ุดของมอื และปลายคางเป็นจุดอันตราย ซ่งึ เมอื่ ถูกชกแล้วสามารถทำให้นอ็ กได้ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 36 ภาพท่ี 2.1 การชกหมัดตรงกับเปา้ หมาย ทม่ี า : วรยทุ ธ์ ทิพย์เทยี่ งแท้ (2552) ลกั ษณะท่าทาง เทคนิคการใช้ไม้ตาย เทคนคิ การใชไ้ ม้ตายอยู่ท่รี ะยะใกลห้ รือไกลจากคู่ตอ่ สู้ ทจี่ ะเลือกใช้อาวุธ ส่วนมากจะเป็น ระยะไกล วิธีการชกหมัดต้องออกจากหวั ไหลไ่ ปขา้ งหน้าเพือ่ ใหเ้ กิดความแรงออกหมัดชกเป็นเส้นตรง ดังคำกล่าวที่ว่า “จังหวะระยะนั้นระยะยาวถ้ายาวก็แย็บ ถ้าสั้นก็เหวี่ยงสั้น แล้วแต่จังหวะวิธีการ ชกหมัดตรงมันต้องชกออกทางไหล่ โล้ตัวไปข้างหน้าส่วนมากน็อกหมัดซ้าย แต่ได้ทั้งซ้ายทั้งขวา ออกหมัดเป็นเส้นตรงต้องออกเหมือนแทง่ สากกะเบอื ” ภาพที่ 2.2 การสอนจดมวยและการชกหมดั ท่ีมา : วรยุทธ์ ทพิ ย์เทย่ี งแท้ (2552)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 37 ภาพที่ 2.3 เตรียมชกหมัดตรง โดยจดมวยเหล่ยี มขวายกแขนซ้ายไว้ด้านหนา้ ที่มา : วรยทุ ธ์ ทพิ ย์เทีย่ งแท้ (2552) ภาพท่ี 2.4 ลักษณะแขนในการชกหมดั ตรงเป็นเส้นตรง ทมี่ า : วรยุทธ์ ทพิ ยเ์ ท่ียงแท้ (2552) ภาพที่ 2.5 จุดกระทบของหมัดตรงโดยใชฝ้ า่ มือรับหมดั ที่มา : วรยุทธ์ ทิพย์เท่ยี งแท้ (2552)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 38 จดุ เด่น จุดด้อย แนวทางแกไ้ ข และการพฒั นา จุดเด่นของการใช้หมัดตรงจะเลือกใช้ในจังหวะบวกคือจังหวะที่คู่ต่อสู้เดินเข้ามาและชก หมัดด้วยความรวดเร็ว ดังคำกล่าวที่ว่า “มันเด่นที่จังหวะการชกเขาเข้ามาเราสวนไป ยกกำลังสอง อย่างผมออกหมดั แย็บไม่มีคนที่จะเหน็ หมดั แย็บผมเพราะมนั เรว็ มาก” สรุปได้ว่า การใช้ไม้ตายต้องดูคู่ต่อสู้ก่อนว่าเขาถนัดและเก่งอาวุธใด ถ้าเป็นการรุกสืบเขา้ ไปด้วยหมัดแย็บ พอคู่ต่อสู้เพลี่ยงพล้ำก็ซ้ำเติมทีหลัง เป้าหมายในการใช้หมัดไปที่ปลายคางคู่ต่อสู้ วิธกี ารชกหมดั ออกทางไหลโ่ ล้ตัวไปขา้ งหนา้ หมัดออกเปน็ เส้นตรงเหมือนแทงสากกะเบือ จุดเด่นของหมดั อย่ทู ี่จงั หวะเขาชกและทำดว้ ยความเร็ว 2.2 ยอดนกั มวยไทย “วิทยา ราชวัตร” ยุทธวิธกี ารใชห้ มดั วิธีการปฏิบตั ิ จะใช้ทั้งจังหวะรกุ และจงั หวะรับ ในจังหวะบุกก็จะใช้อาวธุ นำกอ่ น เช่น ถีบ ซ้ายแล้วใช้หมัดและตามด้วยอาวุธมวยไทยเป็นชุดจะบุกโดยใช้อาวุธอื่นนำก่อนแล้วใช้อาวุธมวยไทย เป็นชุด เช่น การถีบ แล้วรอจังหวะสอง ดังคำกล่าวที่ว่า “ได้ทั้งบุกแล้วรอจังหวะ เวลาบุกก็ถีบซ้าย แย็บขวาแล้วก็หมัดขวา ซ้ายตามให้เป็นจังหวะเข่าหรือเตะเป็นชุด… การชกกับมวยหมัดก็ต้อง หลอกลอ่ แล้วถีบ เพราะถีบยาวกวา่ ถีบแลว้ ใช้เขา่ แทง เขา่ ลอยใช้ตอนเด้งเชอื กออกมา ถา้ ชกก็จะ ซา้ ยขวาเราตอ้ งใชว้ ิธีหลอกเพราะถา้ เขา้ ตรง ๆ ทำอะไรเขาไม่ได้ ถา้ ชกกบั มวยเขา่ เรากศ็ อกเขา เขาจบั เราไดก้ เ็ จอศอกเราทดั มาลาเลย” เปา้ หมายการชกหมัด ในการชกหมัดไปยังจุดอันตรายของร่างกายที่สามารถทำให้คู่ต่อสู้น็อกได้ เช่นการชกท่ี ปลายคาง ซง่ึ เป็นจุดอนั ตรายของร่างกาย เมอื่ โดนชกแล้วสามารถทำให้คู่ต่อสู้น็อกได้ ดังคำกล่าวที่ว่า “เป้าหมายชกหมัดจดุ ท่ที ำให้คตู่ อ่ สูน้ อ็ ก คือ ปลายคาง” ภาพท่ี 2.6 การชกหมัดบริเวณปลายคาง โดยการสืบเทา้ เดินเข้าหาคู่ต่อสู้ ท่มี า : ภาพโดยผ้วู ิจัย (2552)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 39 ลักษณะท่าทางเทคนิคการใช้หมดั เทคนิคท่าทางการใช้หมัดต้องสืบเท้าเข้าไป เทคนิคในการชกหมดั จะใช้แรงส่งจากหัวไหล่ เอว สะโพก และถา่ ยน้ำหนักตวั ไปข้างหนา้ เท้าไม่ยกเพอื่ ส่งแรงไปข้างหน้า สง่ ผลให้หมัดมีน้ำหนักมาก ขนึ้ ดงั คำกลา่ วทว่ี า่ “สมมุตวิ ่าเขายกเทา้ ขวาเตะ ผมก็สืบเทา้ เข้าแล้วก็ชกใช้แรงสง่ จากหัวไหล่ เอว สะโพก ทิ้งนำ้ หนกั ตวั ไม่ยกเท้า ถ้ายกเทา้ จะไมม่ แี รง” ภาพที่ 2.7 การจดมวยเหลี่ยมขวาเท้าซา้ ยและแขนซา้ ยอยู่ด้านหน้า ท่ีมา : วรยทุ ธ์ ทพิ ย์เที่ยงแท้ (2552) ภาพท่ี 2.8 ชกหมดั ตรงซา้ ยท่ีปลายคาง และถ่ายน้ำหนกั ตวั ไปดา้ นหน้าเพอ่ื สง่ แรง ทม่ี า : วรยทุ ธ์ ทิพยเ์ ทย่ี งแท้ (2552)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 40 ภาพที่ 2.9 ชกหมัดตรงขวาที่ปลายคาง และถ่ายนำ้ หนกั ตัวไปดา้ นหน้าเพือ่ สง่ แรง ทม่ี า : วรยุทธ์ ทิพยเ์ ท่ยี งแท้ (2552) จดุ แขง็ จดุ ออ่ น การแกไ้ ขและแนวทางการพฒั นา จุดแข็งหรือจุดเด่นของการชกหมัดขวาตรงมีความหนักถ้าถูกคู่ต่อสู้สามารถน็อกได้ จุดอ่อน คือ หมดแรง ถ้าจะชกมวยต้องฟิตร่างกายให้แข็งแรง พร้อมที่จะสู้กับคู่ชกได้ ถ้าแรงหมด ทักษะการต่อสู้ต่าง ๆ ก็ไม่สามารถนำออกมาใช้ได้ ดังคำกล่าวที่ว่า “มันมีหลายหมัด หมัดซ้ายและ หมดั เสย สว่ นใหญ่เปน็ หมดั ขวาตรง ถ้าถกู เปน็ น็อก จุดออ่ น คือ หมดแรง... ถา้ ไมห่ มดแรง กท็ ำอะไรผมไม่ได้ จะชกมวยตอ้ งฟติ ให้มีพลัง... ถา้ หมดแรงกห็ มดมวย” สรุปได้ว่า วิธีการปฏิบัติหมัดใช้วิธีการบุกโดยใช้อาวุธการถีบนำหมัดตรงหน้าแล้วก็หมัด ขวาตาม ซ้ายตามเป็นจงั หวะ และมีเขา่ หรือเตะเป็นชดุ เปา้ หมายการชกหมดั ท่ปี ลายคางคู่ต่อสู้ วธิ กี าร ชกสืบเทา้ เข้าไปหาคตู่ อ่ สู้ ออกหมดั ตรงโดยใชแ้ รงจากหวั ไหล่ สะโพก และใช้น้ำหนักตวั ชว่ ยสง่ แรง พอ หมดั จะถงึ เปา้ หมายก็บดิ หมัดคว่ำลง จุดเด่นของหมดั มหี ลายหมัดทใ่ี ช้ คู่ตอ่ สทู้ ี่สำคญั คอื หมัดตรงขวา จดุ อ่อน คอื หมดแรง ฉะนนั้ การชกมวยต้องฟิตรา่ งกายให้มพี ลงั 2.3 ยอดนกั มวยไทย “เดชฤทธ์ิ อทิ ธิอนชุ ิต” ยุทธวธิ กี ารใช้หมดั ยทุ ธวิธีการใช้หมดั เหวีย่ งสนั้ หรือหมัดขว้างสน้ั อยทู่ จี่ งั หวะคตู่ ่อสเู้ ปิดใหห้ รือจังหวะสวนใน ขณะท่ีคู่ต่อสอู้ อกอาวุธหรอื จังหวะย่างสามขมุ เขา้ ไปเตะก่อนแล้วก็เขา้ ไปชก ดังคำกลา่ วที่ว่า “มันก็อยู่ ที่จังหวะถ้ามันเปิดให้เรา ถ้ามันเตะเข้ามาเราก็ชกสวนเข้าไปเลยหรือจังหวะสวน หมัดที่ใช้เป็น หมดั เหวยี่ งสนั้ ชกเน้น ๆ ส้นั ๆ แล้วก็มียา่ งสามขุมเขา้ ไปเตะแล้วเขา้ ไปชก เดินหน้าถอยหลังมันก็ เข้าไปชกได้พอดี”

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 41 เป้าหมายการใช้หมดั เป้าหมายในการชกหมัดเหวี่ยงสั้นที่ท้อง และหน้าที่ใดก็ได้ แล้วแต่จังหวะและโอกาส ดัง คำกล่าวที่ว่า “เป้าหมายในการชกที่ท้องและหน้า ที่ใดก็ได้ที่คู่ต่อสู้เปิดตรงไหนก็ลงคือ ท้อง กับ หน้าชกตรงไหนกล็ ง” ภาพท่ี 2.10 การชกหมดั ขวาทห่ี น้า ทมี่ า : วรยทุ ธ์ ทพิ ยเ์ ทีย่ งแท้ (2552) ลักษณะทา่ ทาง/เทคนิคการใชไ้ มต้ าย เทคนิคท่าทางในการชกที่สำคัญต้องยืนเต็มฝ่าเท้า ใช้แรงส่งจากขา สะโพก และน้ำหนัก ตัวช่วยในการสร้างพลังในการชก ดังคำกล่าวที่ว่า “ยืนให้เต็มฝ่าเท้า แล้วก็ย่อขาแล้วก็ชกส่งแรง จากขา สะโพก เอานำ้ หนักตวั ช่วยด้วยแลว้ กบ็ ิดหมดั คว่ำลงไปทีเ่ ปา้ หมาย” ภาพที่ 2.11 การจดมวยยืนเต็มฝ่าเทา้ และย่อเข่าเล็กน้อย ทมี่ า : วรยุทธ์ ทิพย์เทยี่ งแท้ (2552)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook