Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นภธิรา จวอรรถ

นภธิรา จวอรรถ

Published by วิทย บริการ, 2022-07-03 07:27:29

Description: นภธิรา จวอรรถ

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการแปล 1 นภธรี า จวอรรถ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ 2564

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง เอกสารประกอบการสอน รายวชิ าการแปล 1 นภธรี า จวอรรถ ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศษ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ) ศศ.ด. (ภาษาองั กฤษเป็นภาษานานาชาติ) คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง 2564

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง คำนำ ภายใต้การขับเคล่ือนไปของโลกสู่อนาคตท่ีไม่หยุดยั้ง การติดต่อสื่อสารข้ามวัฒนธรรมและ ภาษาได้ขยายออกไปเป็นวงกว้างและรวดเร็วอย่างไม่มีขีดจากัด ประชากรของประเทศหน่ึง ๆ จาเป็นต้องปรับตนเองให้เป็นส่วนหนึ่งของประชากรโลก เพื่อให้ก้าวทันต่อการแข่งขันท่ีสูงข้ึนและ เทคโนโลยีท่ีเข้ามามีบทบาทกับวิถีชีวิตมนุษย์มากย่ิงข้ึน อย่างไรก็ตามเนื่องจากภาษามีความหลาย หลาย การส่ือสารระหว่างผู้ใช้ภาษาที่ไม่มีความรู้เก่ียวกับภาษาและบริบทของคู่เจรจาอาจส่งผลให้การ สอื่ สารน้นั เกิดความผิดพลาดและนาไปสู่การเสยี โอกาสต่าง ๆ ได้ การแปลและนกั แปลจึงมคี วามสาคัญ ต่อการส่ือสารในลักษณะดังกล่าว โดยที่ผู้แปลจะมีบทบาทเป็นคนกลางในการสื่อสารระหว่างผู้ใช้ ภาษาต้นทาง (source language) ที่ไม่สามารถสื่อสารกับผู้ใช้ภาษาปลายทาง (target language) ได้เอง เน่ืองจากท้ังสองฝ่ายต่างไม่รู้ภาษาของกันและกัน ผู้แปลจึงต้องทาหน้าที่รับและส่งสารแทนให้ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ตามเจตนารมณ์ดั้งเดิมของคู่เจรจา เพ่อื ใหก้ ารส่ือสารน้นั บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ดังนัน้ สาระความรเู้ กี่ยวกับการแปลจงึ มีความสาคัญโลกในยุคปจั จุบนั เปน็ อยา่ งย่ิง เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการแปล 1 (Translation 1) รหัสวิชา BE58610 จึงมี วัตถุประสงค์เพ่ือให้นักศึกษาได้เข้าถึงข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการแปล ทั้งในเรื่องของประวัติความ เป็นมา ความสาคญั และความหมาย รวมถึงหลกั การและทฤษฎีสาคัญที่เก่ียวข้องกบั การแปล กลวธิ แี ละ กระบวนการต่าง ๆ ท่ีใช้ในข้ันตอนการแปลเอกสารรูปแบบต่าง ๆ ตามโครงสร้างสาระการเรียนรู้ของ รายวิชาท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ ฉบับปี พ.ศ. 2558 ตลอดจนให้นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกฝนการแปลเอกสารรูปแบบต่าง ๆ โดยการแปลจากภาษาไทยเป็น อังกฤษและจากภาษาอังกฤษเป็นไทย เพ่อื ให้นักศึกษาได้เกิดทักษะเบื้องต้นในการแปล ในการน้ี ผ้จู ัดทา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารการสอนฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักศึกษาและผู้สนใจจะศึกษา เกีย่ วกับการแปล อาจารย์ ดร.นภธรี า จวอรรถ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธรุ กิจ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 31 ธนั วาคม 2564

สารบญั คำนำ …………………….…………………………………………………………………………………………………... หน้า สำรบัญ …………………………………….………………………………………………………………………………... สำรบญั ภำพ ……………………………….………………………………………………..................................... (1) แผนบริหำรกำรสอนประจำวิชำ …………………………………………………..………………………………. (2) แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1..................................................................................... (6) บทที่ 1 ประวัตคิ วามเป็นมา ความสาคญั และความหมายของการแปล……………..…………. (7) 1 ประวัติควำมเป็นมำของกำรแปล………………………………….…………………….................. 3 ควำมหมำยของกำรแปล………………………….………………….…………………..................... 3 ควำมสำคัญของกำรแปล………….….…………………………….…………………….................... 7 ลักษณะของงำนแปลท่ีดี………………………..………………………….……………………............ 7 คุณสมบตั ิของนักแปลทีด่ ี............................................................................................. 8 แบบฝึกหดั ...............……………………………………………….………………………….………….... 9 บทสรปุ ..………………………………………….…………………………………………………………….. 11 คำถำมทบทวน……………………………........………………….……………………....................... 12 เอกสำรอำ้ งอิง...………………………………………………………………….……………………........ 12 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2..................................................................................... 15 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี และรูปแบบการแปล……………..…………......................................... 17 17 ศำสตร์ท่เี กยี่ วข้องกับกำรแปล ………………………………….……………………..................... 17 ภำษำศำสตร์....................................................................................................... 18 ศำสตรด์ ำ้ นกำรสื่อสำร........................................................................................ 19 ศำสตร์ทำงดำ้ นปรชั ญำ....................................................................................... 20 ศำสตรท์ ำงด้ำนมำนุษยวิทยำ.............................................................................. 20 ศำสตรท์ เ่ี กี่ยวข้องกบั ทฤษฎีกำรตลำด................................................................. 20 22 ทฤษฎีและแนวคดิ ที่เกย่ี วข้องกับกำรแปล รูปแบบกำรแปล (2)

สารบญั (ตอ่ ) กำรแปลคำต่อคำ (Word –for word translation) หน้า กำรแปลตรงตำมอักษร (Literal translation) กำรแปลตรงตำมตน้ ฉบับ (Faithful Translation) 23 กำรแปลเชิงอรรถศำสตร์ (Semantic Translation) 23 กำรแปลแบบดัดแปลง (Adaptation translation) 24 กำรแปลแบบเอำควำม (Free translation) 25 กำรแปลแบบสำนวน (Idiomatic Translation) 26 กำรแปลเชิงสอื่ สำร Communicative Translation 27 แบบฝกึ หดั ..............……………………………………………….………………………….………….... 28 บทสรุป ………………………………………….…………………………………………………………….. 29 คำถำมทบทวน……………………………........………………….……………………....................... 30 เอกสำรอำ้ งอิง ………………………………………………………………….……………………........ 31 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 31 32 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3..................................................................................... 33 บทที่ 3 กระบวนการแปล กลวิธกี ารแปล รปู แบบของสารตามหนา้ ที่ทางภาษา……………... 36 36 กระบวนกำรแปล………………………………….…………………….................. 39 กลวธิ ีหรือเทคนิคกำรแปล………………………….………………….…………………................... 46 รปู แบบของสำรตำมหนำ้ ท่ที ำงภำษำ………………………..…………………………................. 51 แบบฝึกหดั ..............……………………………………………….………………………….………….... 51 บทสรุป ………………………………………….…………………………………………………………….. 52 คำถำมทบทวน……………………………........………………….……………………....................... 53 เอกสำรอำ้ งองิ ………………………………………………………………….……………………........ (3)

สารบัญ (ตอ่ ) แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 4..................................................................................... หนา้ บทท่ี 4 ความแตกตา่ งทางไวยากรณ์ระหว่างภาษาไทยและภาษาอังกฤษ……………..……..... 54 ควำมแตกตำ่ งของภำษำไทยและภำษำอังกฤษระดบั คำ………………………………….…..... 57 ควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งภำษำไทยและภำษำอังกฤษในระดับโครงสรำ้ งประโยค………... 57 แบบฝกึ หดั ..............……………………………………………….………………………….………….... 67 บทสรุป ………………………………………….…………………………………………………………….. 72 คำถำมทบทวน……………………………........………………….……………………....................... 73 เอกสำรอำ้ งองิ ………………………………………………………………….……………………........ 74 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 75 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5..................................................................................... 76 บทท่ี 5 การแปลทางวชิ าการ…………................................................................…..…………. 78 78 ควำมหมำยของกำรแปลทำงวิชำกำร…………….………….…………………...……… 78 กำรแปลข่ำว……………………………….………………………………………… 81 กำรแปลบทคดั ยอ่ ……………….……..………….………….………………………..……… 84 กำรแปลสนุ ทรพจน์....................................................................................................... 87 แบบฝกึ หัด..............……………………………………………….………………………….………….... 89 บทสรปุ ………………………………………….………………………………………….………………….. 89 คำถำมทบทวน ……………………………………………….………………………….…………..... 90 เอกสำรอำ้ งอิง ………………………………………………………………….…………………………… แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 6..................................................................................... 91 บทท่ี 6 การแปลทางธุรกจิ ……………..……………………………………………………………………….. 93 93 ควำมหมำยของกำรแปลทำงธุรกจิ …………….………….…………………...………………………. 93 กำรแปลคมู่ ือ คำส่ัง และข้อบังคบั ……………………………….………………………………….. 101 กำรแปลเอกสำรประชำสมั พันธ์……………….……..………….………….………………………….. 105 กำรแปลแบบฟอร์มและเอกสำรทำงรำชกำร……………………………………………………….. 109 แบบฝกึ หดั ..............……………………………………………….………………………………………… (4)

สารบญั (ตอ่ ) บทสรุป ………………………………………….………………………………………….………………… หนา้ คำถำมทบทวน ……………………………………………….………………………….………….......... เอกสำรอ้ำงองิ ………………………………………………………………….………………………….. 112 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 112 113 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 7..................................................................................... 114 บทที่ 7 การแปลนวนิยาย เรอ่ื งส้นั และบทกวี……………..…………........................................ 116 117 ควำมหมำยกำรแปลนวนิยำยหรอื เรอ่ื งส้นั ………………………………….……………………... 117 กำรแปลนวนิยำยและเร่ืองส้ัน………………………….………………….…………………........... 120 ควำมหมำยของกำรแปลบทกวี………….….…………………………….……………………......... 120 กำรแปลบทกวี………………………..………………………….……………………........................ 123 แบบฝึกหัด...............……………………………………………….………………………….………….... 124 บทสรปุ ..………………………………….................…………………………………………………...... 125 คำถำมทบทวน……………………………........………………….……………………....................... 126 เอกสำรอ้ำงองิ ...………………………………………………………………….……………………........ (5)

สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ 2.1 ทฤษฏแี ละแนวคิดท่ีเกี่ยวขอ้ งกับกำรแปล........................................................................... 21 2.2 ทฤษฏีและแนวคดิ ที่เกย่ี วข้องกับกำรแปล (Gambar Diagram V)...................................... 22 3.1 กำรไหว้ ภำพประกอบกำรแปล........................................................................................... 44 6.1 Users’ guide for camera ............................................................................................ 97 6.2 Hand Washing Activities For Preschoolers................................................................ 98 6.3 Candle product warning label..................................................................................... 99 6.4 Fire Safety Protocols...................................................................................................... 100 6.5 Paris Tourist Attractions.................................................................................................. 104 6.6 สตู บิ ัตร.................................................................................................................................. 106 6.7 บตั รประชำชน....................................................................................................................... 107 6.8 ทะเบียนสมรสภำษำองั กฤษ.................................................................................................. 108 มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง (6)

แผนบรหิ ารการสอนประจาวชิ า รหสั วชิ า BE58610 รายวชิ า การแปล 1 (Translation 1) มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 (2-2-5) เวลาเรียน 135 ช่วั โมง/ภาคเรียน คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเทคนิคพื้นฐานการแปล วิธีการเลือกคาท่ีเหมาะสมกับคาต้นฉบับและความ แตกต่างทางโครงสร้างภาษาระหว่างไทยและอังกฤษ ฝึกแปลจากระดับประโยค จนถึงข้อความ สั้นๆ โดยใช้ข้อความจากส่ือต่างๆ เช่น การบรรยาย (สินค้า, คน, สถานท่ี) คาส่ัง คู่มือ แบบฟอร์ม ข้อบังคบั และเร่ืองส้ัน วัตถปุ ระสงคท์ ่ัวไป 1. เพ่อื ให้ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายประวตั ิความเป็นมาและความสาคัญของการแปลได้ 2. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถพิจารณาคุณลักษณะของงานแปลและนกั แปลท่ดี ีได้ 3. เพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถประยุกต์ใชห้ ลักการและรูปแบบการแปลท่ีเหมาะสมกบั สารได้ 4. เพอื่ ให้ผเู้ รยี นสามารถแยกประเภทของสารที่จะแปลตามหน้าท่ีได้ 5. เพือ่ ให้ผเู้ รียนสามารถประยุกตใ์ ช้เทคนิคและกลวธิ ีพน้ื ฐานในการแปลได้ 6. เพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถเลือกคาทเี่ หมาะสมและตรงตามความหมายมาใช้ในการแปลได้ 7. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างทางโครงสร้างภาษาระหว่าง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ 8. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเลือกใช้โครงสร้างของภาษาที่เหมาะสมกับการแปลทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ 9. เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถเลือกใชภ้ าษาในการแปลตามบริบททางวัฒนธรรมท่เี หมาะสม 10. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถแปลประโยคและข้อความสั้น ๆ จากสื่อทหี่ ลากหลายได้ (7)

เนอ้ื หา 18 ชั่วโมง บทที่ 1 ประวตั คิ วามเป็นมา ความสาคญั และความหมายของการแปล ประวัตคิ วามเป็นมาของการแปล ความหมายของการแปล ความสาคัญของการแปล ลักษณะของงานแปลท่ีดี คณุ สมบัติของนกั แปลท่ีดี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการแปล 18 ชว่ั โมง ศาสตร์ทเี่ กีย่ วข้องกบั การแปล แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้องกบั การแปล รปู แบบการแปล บทท่ี 3 กระบวนการแปล กลวิธกี ารแปล รูปแบบของสารตามหน้าทีท่ างภาษ 18 ชว่ั โมง กระบวนการแปล กลวธิ หี รือเทคนิคการแปล รูปแบบของสารตามหนา้ ท่ีทางภาษา บทที่ 4 ความแตกตา่ งทางไวยากรณร์ ะหว่างภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 27 ชวั่ โมง ความแตกตา่ งของภาษาไทยและภาษาองั กฤษระดบั คา ความแตกต่างระหวา่ งภาษาไทยและภาษาองั กฤษในระดับโครงสรา้ งประโยค บทท่ี 5 การแปลทางวิชาการ 18 ช่ัวโมง ความหมายของการแปลทางวิชาการ การแปลข่าว การแปลบทคดั ยอ่ การแปลสนุ ทรพจน์ บทที่ 6 การแปลทางธรุ กจิ 18 ช่ัวโมง ความหมายของการแปลทางธรุ กจิ การแปลค่มู อื คาส่ัง และข้อบงั คับ การแปลเอกสารประชาสัมพันธ์ การแปลแบบฟอร์มและเอกสารราชการ (10)

บทที่ 7 การแปลนวนยิ าย เร่ืองสน้ั และบทกวี 18 ชว่ั โมง ความหมายของการแปลนวนิยายหรอื เรือ่ งส้นั ลักษณะเฉพาะทางภาษาและองคป์ ระกอบของนวนยิ ายหรอื เร่ืองสนั้ กลวิธกี ารแปลนวนิยายหรอื เรอื่ งส้ัน ความหมายของการแปลนวบทกวี ลักษณะเฉพาะทางภาษาและองค์ประกอบของบทกวี กลวิธกี ารแปลบทกวี มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง วธิ สี อนและกจิ กรรม 1. วิธีแบบบรรยายและอภิปรายรายละเอียดร่วมกับผู้เรยี นในชน้ั เรียนเก่ียวกบั ศาสตร์ท่ี เก่ียวข้องกับการแปล แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการแปล รูปแบบการแปล โดยเน้นให้ ผ้เู รียนได้มีโอกาสลงมอื ปฏบิ ตั ิ ด้วยการทดลองแปลในกลุ่ม ความรเู้ กดิ จากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ กนั ในกลุ่มและในหอ้ งเรียน ผูส้ อนคอยเป็นทปี่ รึกษา 2. วิธีสอนแบบอภิปราย โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มและแบ่งหัวข้อภาษาจีนให้แต่ละ กลุ่มแลกเปล่ียนเรียนรู้กัน จากน้ันเตรียมส่งตัวแทนออกมาอภิปรายนาเสนอ ผู้สอนเป็นผู้สรุป เตมิ เต็มในส่วนขาดหายไป 3. วิธีการสอนผสมผสานสองแบบ คือ การสอนแบบเน้นการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry-based learning) และ การสอนแบบรว่ มมือ (cooperative learning) 4. กิจกรรมเน้นการใช้ความคิดข้ันสูงจากการสืบเสาะหาความรู้ และการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เน้นการอภิปรายเพ่อื ใหไ้ ดค้ วามคดิ รวบยอด 5. กจิ กรรมทบทวนการเรียนรทู้ ้าบบทเรยี น 6. วัดผล ประเมนิ ผล เพ่ือปรบั ปรุงการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียน ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการแปล 1 2. Power Point 3. LCD Projector 4. คอมพวิ เตอร์ Notebook 5. ใบงานฝกึ แปลเพม่ิ เตมิ (9)

การวัดและการประเมนิ ผล รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 10 1. การวดั ผล ร้อยละ 20 1.1 คะแนนระหว่างภาครวม ร้อยละ 10 1.1 จิตพิสยั ร้อยละ 30 1.2 แบบฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารแปล ร้อยละ 30 1.3 โครงงานแปล 1.4 สอบกลางภาคทฤษฎี 1.2 คะแนนสอบปลายภาค มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 2. การประเมนิ ผล ค่าระดับคะแนน คา่ ร้อยละ ระดบั คะแนน ความหมายของผลการเรยี น 4.0 90-100 A ดีเยี่ยม 3.5 85-89 B+ ดีมาก 3.0 75-84 B ดี 2.5 70-74 C+ ดีพอใช้ 2.0 60-69 C พอใช้ 1.5 55-59 D+ ออ่ น 1.0 50-54 D อ่อนมาก 0.0 E ตก 0-49 (10)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 1 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 1 เนอ้ื หาประจาบท สาระสาคญั ของเน้ือหาประจาบทท่ี 1 มีดังต่อไปนี้ 1.ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแปล 2.ความหมายของการแปล 3.ความสาคัญของการแปล 4.ลักษณะของงานแปลทีด่ ี 5.คณุ สมบตั ิของนักแปลท่ีดี วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1.เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนสามารถอธบิ ายถงึ ประวตั คิ วามเป็นมาของการแปลได้อย่างถูกตอ้ ง 2.เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นสามารถระบุความหมายของการแปลได้อย่างถูกตอ้ ง 3.เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นสามารถระบุความสาคัญของการแปลได้อย่างถกู ต้อง 4.เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถอธิบายลกั ษณะของงานแปลทดี่ ีได้อย่างมีวจิ ารณญาณ 5.เพอื่ ให้ผ้เู รียนสามารถอธบิ ายคณุ สมบัติของนักแปลทด่ี ีได้อย่างมีวจิ ารณญาณ วิธีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. วธิ สี อนในบทนี้ผสู้ อนจะใชว้ ิธสี อน 3 แบบผสมผสานกนั คือ 1.1 การสอนแบบบรรยาย 1.2 การสอนแบบอภปิ ราย 1.3 การสอนแบบเน้นการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry-based learning) 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 ผู้สอนบรรยายและอภิปรายรายละเอียดรว่ มกับผู้เรยี นในช้นั เรียนเก่ียวกับประวตั ิความ เป็นมาของการแปล ความหมายของการแปล ความสาคัญของการแปล ลักษณะของงานแปลท่ีดี และ คุณสมบัติของนักแปลที่ดี โดยเน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสตั้งคาถามเปิดประเด็นการอภิปรายและหา คาตอบสรุปรว่ มกนั อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 2.2 ผู้เรียนฝึกหดั ทาแบบฝึกประกอบบทเรยี น (เน้นการตง้ั คาถามและหาคาตอบ) 2.3 ผเู้ รียนค้นควา้ เพิ่มเตมิ จากหวั ข้อเรื่องทเ่ี รยี น (เน้นการตงั้ คาถามและหาคาตอบ) 2.4 ผเู้ รยี นจัดทาสาระสังเขปของเนื้อหาในบทเรียน (เนน้ การตงั้ คาถามและหาคาตอบ)

2 สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการแปล 1 2. PowerPoint 3. LCD Projector 4. Notebook การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. สงั เกตจากการตอบคาถาม 2. สังเกตจากการรว่ มอภปิ รายกลมุ่ 3. สงั เกตจากการร่วมกิจกรรมและปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งผู้เรียนดว้ ยกนั หรือกบั ผู้สอน 4. ตรวจผลงานการตอบคาถามท้ายบท 5. ตรวจผลงานการทาสาระสังเขปสรุปบทเรยี น มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 3 บทท่ี 1 ประวตั ิความเป็นมา ความสาคญั และความหมายของการแปล ประวัติความเปน็ มาของการแปล ประวัติการแปลทางตะวันตก การแปลเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่ใน ยุคโบราณนับตั้งแต่ยุคเร่ิมต้นของมวลมนุษยชาติ เน่ืองจากมนุษย์ต้องมีการสื่อสารกัน และมนุษย์มี หลากหลายภาษา จึงจาเป็นต้องมีการแปล หลายคนอาจจะสงสัยว่าการแปลและล่ามเหมือนกัน หรือไม่ ในความเป็นจริงสองส่ิงนี้มีความใกล้เคียงกัน การแปลเน้นเนื้อหาและกระบวนการคิด และ ต้องเรียบเรียงให้ดี แต่การล่ามเน้นไปท่ีการส่งผ่านคาพูด ใช้เพื่อส่ือสารแบบตรงไปตรงมาไม่ต้องคิด วิเคราะห์อะไร ไม่ต้องมีการเตรียมตัวมาก แนวคิดของการแปลก็ได้ถูกปรับเปล่ียนไปตามยุคและสมัย ตงั้ แตอ่ ดีตมาจนถงึ ปัจจบุ ันและได้พัฒนาต่อยอดมาเป็นทฤษฎีการแปลตา่ ง ๆ การแปลในยุคเริ่มต้นนั้น ปรากฏให้เห็นในแถบตะวันตกก่อนคริสตกาลจากการแปลพระคัมภีร์โบราณของคริสต์ศาสนา (ภาคพันธสัญญาเดิม) จากภาษาฮีบรูมาเป็นภาษากรีกเนื่องจากชาวยิวโบราณได้พลัดถ่ินฐานกระจัด กระจายไปอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของโลก จึงทาให้ภาษาฮีบรูเริ่มเลือนหายไปและมีภาษากรีกเข้ามา แทนที่ พระคาภีร์ดังกล่าวจึงได้ถูกนามาแปลเพ่ือการเผยแพร่ศาสนาโดยใช้ภาษากรีกท่ีเป็นภาษาสากล มากกว่าในยุคน้ัน และต่อ ๆ มาก็ได้มีการแปลพระคัมภีร์นี้ให้เป็นอีกหลายภาษา มากจนถึงสามพัน กว่าภาษา เพื่อวัตถุประสงค์ในการนาไปเผยแพร่ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลกน่ันเอง (Wycliffe Global Alliance, 2020) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของการแปลพระคัมภีร์น้ีแสดงให้เห็นว่ามนุษย์ได้มีการ แปลมายาวนานตั้งแต่ในอดีตกาลแล้ว การแปลในอดีตนอกจากจะมาจากเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับทาง ศาสนาแล้วยังมีส่วนท่ีมาจากวรรณคดีที่มีชื่อเสียงเช่นการแปลเร่ือง มหากาพย์โอดิสซี ที่นับเป็นเป็น วรรณกรรมแปลที่เก่าแก่ทส่ี ุดของโลกด้วยเชน่ กนั (Newmark, 1984) เ นื่อ ง จ า ก ใ น อ ดีต ไ ม่ไ ด้มีท ฤ ษ ฎีห รือ ห ลัก ก า ร ท า ง วิช า ก า ร ม า ร อ ง รับ ใ น ด้า น ก า ร แ ป ล เหมือนในยุคปัจจุบัน นักแปลจึงมาจากกลุ่มคนที่มีความรู้หลายภาษาและนาความรู้ของตนเองมา ถ่ายทอดเป็นการแปล ในยุคนั้นการแปลจึงเป็นลักษณะการถ่ายทอดจากภาษาหน่ึงไปสู่อีกภาษาหนึ่ง เป็นรูปแบบการแปลอยา่ งง่าย ไม่ไดม้ กี ระบวนการที่สลบั ซบั ซ้อนมากนกั ดงั น้ันรูปแบบในการแปลยคุ แรกๆ จึงเป็นลักษณะการแปลที่ตรงตัว คาต่อคาหรือประโยคต่อประโยค เน้นการเก็บรักษาโครงสร้างและ รูปแบบของภาษาเดิมไว้ให้ได้มากที่สุด เนอื่ งจากเอกสารตน้ ฉบับสว่ นใหญเ่ ป็นเอกสารทางศาสนาและ วรรณคดีต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นงานเขียนท่ีทรงคุณค่า มีความหมายและมีความงดงาม ดังน้ันผู้แปลจึง พยายามเก็บรักษาความเป็นต้นฉบับไว้ให้ได้มากท่ีสุด มีแนวความคิดแตกออกมาสองแนวความคิด หลัก แนวความคิดแรกคือทุกอย่างไม่สามารถแปลได้ เพราะไม่มีสารใด ๆ ในโลกท่ีจะสามารถแปล ออกมาได้เหมือนกับต้นฉบับจริง ๆ (เหมือนกัน 100%) ถ้าหากเพี้ยนไป จะเป็นบาปโดยเฉพาะ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 4 พระวจนะ หรือให้ความงามของภาษาลดลง แนวความคิดที่สองคือเอกสารทุกอย่างแปลได้และควร แปลเพ่ือการเผยแพร่ศาสนา ท่ีมาในอดีตมนุษย์มีภาษาเดียว ต่อมาในพระคัมภีร์ระบุว่ามนุษย์สร้าง หอคอยบาบิโลนให้สูงถึงสวรรค์ พระเจ้าลงโทษมนุษย์โดยการทาให้ส่ือสารกันไม่เข้าใจ มีหลายภาษา ผูไ้ ถบ่ าปซ่งึ เปน็ พระเยซมู าเปน็ ผเู้ ผยแพร่และทาให้มีการแปลพระคัมภรี เ์ ป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย อยา่ งไรก็ตาม แนวคิดเกี่ยวกบั การแปลในยุคอดีตน้นั ก็ยังแตกออกเป็นสองทฤษฎีอย่างชัดเจน คือ การแปลแบบตรงตัว (word for word) และการแปลแบบเอาความ (sense for sense) นักแปล ในแต่ละยุคจะยึดแนวคิดท่ีตนเองสนับสนุนเป็นหลักโดยไม่ยดึ ติดกับหลกั การหรือทฤษฎีใดทฤษฎีหนงึ่ และในแตล่ ะยคุ จะมนี ักแปลที่มีชอ่ื เสียงและมีแนวทางทตี่ นยึดถือในการแปล โดยสามารถแบง่ ตามช่วง ของเวลาได้ดังน้ี ยุคแรก ในยุคศตวรรษท่ี 1 นักแปลที่มือชื่อเสียงคือ Cicero นักกฎหมายและนักวิชาการชาว กรีก เริ่มต้นการแปลของเขาจากการแปลสุนทรพจน์จากภาษากรีกเป็นภาษาลาติน (Cicero 46 BCE/1960 CE, p. 364) โดยใช้แนวคดิ ท่วี า่ การแปลควรจะเก็บรกั ษาความคดิ และรปู แบบของต้นฉบับ ไว้แต่ไม่ได้เน้นการแปลแบบคาต่อคา แต่เน้นการแปลที่เป็นธรรมชาติและเข้ากับบริบทการใช้งาน ภาษาน้ัน ๆ มากกว่า ในศตวรรษที่ 4 นักแปลที่มีชื่อเสียงและอยู่ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์การ แปลคือ Jerome ซง่ึ เป็นบาทหลวงและทาการแปลพระคัมภีร์ของคริสต์ศาสนาจากภาษากรีกมา เป็นภาษาลาติน (Coogan et al, 2007) แม้ว่าเขาจะได้เป็นนักแปลท่ีแปลพระคัมภีรโ์ บราณน้ีเป็น คนแรกก็ตาม แต่เขาเป็นผู้ให้แนวคิดที่นามาสู่ทฤษฎีการแปลในยุคปัจจุบัน โดยเขาได้อธิบายว่าการ แปลข้อความหรือเนื้อหาส่วนที่ศักดิ์สทิ ธ์ิในพระคัมภีร์ถือวา่ สาคัญมาก เขาจาเป็นต้องใช้การแปลแบบ คาต่อคาเพื่อคงความเป็นต้นฉบับไว้ ในขณะท่ีข้อความส่วนอื่นที่เขาพิจารณาว่าสามารถยดื หยุ่นเขาใช้ การแปลแบบเอาความแทน ในศตวรรษท่ี 17 นักแปลท่ีมีอิทธิพลต่อแวดวงการแปลคือ John Dryden (1680) เขาเป็นท้ังนักกวีและนักเขียน จากผลงานแปลของเขาที่มาจากงานวรรณกรรมที่มีความ หลากหลายทางรูปแบบ เขาจึงได้แบ่งทฤษฎีการแปลของเขาไว้เป็น 3 แบบ ดังน้ี 1) metaphase (การคงรูป) คือ การสงวนโครงสร้างและรูปแบบของต้นฉบับไว้ 2) paraphrase (การแปลง) คือ การ ปรับการแปลให้เหมาะสมกับบริบทของภาษาปลายทาง ข้อความอาจจะสั้นกว่า ยาวกว่าหรือเท่ากัน กับข้อความต้นฉบับก็เป็นได้ และ 3) imitation (การเลียนแบบ) คือ ปรับการแปลแบบอิสระตาม ภาษาปลายทาง โดยจะไมไ่ ดย้ ดึ ติดกบั โครงสรา้ งของภาษาตน้ ฉบับเลย ยุคที่สอง ในศตวรรษที่ 18 และ 19 นั้น มีนักแปลที่มีชื่อเสียงซึ่งเป็นนักแปลชาวเยอรมัน คือ Friedrich Schleiermacher (1992) โดยหลักการแปลของเขาได้ปรับเปล่ียนไปจากรูป แบบเดิม ๆ ท่ีเน้นการแปลคาต่อคา การแปลแบบเอาความ และการแปลแบบอิสระ ไปเน้นในเรื่อง ของหลักการท่ีเกี่ยวข้องกับระดับการแปลที่สามารถจะทาได้ท่ีเรียกว่า “translatability” และ “untranslatability” (ความพยายามท่ีจะทาให้ผู้เขียนของภาษาตน้ ทางและผู้อ่านในภาษาปลายทาง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 5 เข้าใจและรับรู้ในสารเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นการนาภาษาของผู้เขียนไปหาผู้อ่าน หรือการนาภาษาของ ผู้อ่านไปหาผู้เขียนก็ตาม) การแปลจึงมีสองแนวทางเท่านั้นสาหรับเขา แต่เขามีความเช่ือว่าควรต้อง ซอื่ สัตยต์ ่อสารตน้ ฉบับจึงเนน้ การดึงผอู้ ่านเขา้ มาหาผูเ้ ขยี นมากกว่า การแปลเอกสารบางอยา่ งบางกลุ่ม เช่ือว่าไม่สามารถแปลให้สมมาตรกันกับต้นฉบับได้ และอาจส่งผลให้ต้นฉบับเสื่อมถอยลง เช่น การ แปลเอกสารท่ีศักดิ์สทิ ธ์ิ เอกสารทางปรชั ญา บทกวีนิพนธ์ และบทบัญญัติที่มีคาเฉพาะของนักปราชญ์ ตา่ ง ๆ เป็นตน้ ในทางตรงขา้ มกลุ่มทีเ่ ช่ือว่าการแปลเป็นไปได้นนั้ เช่ือว่าการแปลเป็นส่ิงท่ีควรจะต้องทา เพื่อเป็นการขยายความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ไปสู่มนุษย์โลกที่มีภาษาที่แตกต่างกัน ในทางศาสนาเชื่อว่า การแปลพระคัมภีร์เป็นการเผยแพร่ทางศาสนาท่ีดีอีกด้วย การแปลในยุคนี้จึงรุ่งเรืองมาก แนวความคิด หรือทฤษฎีดังกล่าวนาไปสู่หลักการท่ีเกี่ยวข้องกับหลักความเท่าเทียมกันของสองภาษา อิทธิพลของ นักแปลในยุคน้ีทาให้ประเทศเยอรมันได้รับการกล่าวขานว่าเป็นประเทศท่ีมีความสาคัญมากต่อ ประวัติศาสตร์การแปลเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็นการแปลพระคัมภีร์ไบเบิล หรือวรรณกรรมของโฮ เมอร์ เป็นตน้ ยุคที่สาม ในศตวรรษท่ี 20 เป็นต้นมา การแปลได้ถูกแยกออกจากปรัชญาและภาษาศาสตร์ มาเป็นศาสตร์เฉพาะด้านที่เปิดโอกาสให้ผสู้ นใจและนกั วจิ ัยได้ค้นควา้ หาความรู้เพ่ิมเติมอย่างเตม็ ท่ี จึง ได้เกิดการต่อยอดความรู้ในศาสตร์การแปลทั้งในด้านทฤษฎีและหลักการแปล ในเชิงปฏิบัติ มากมายที่เป็นเชิงประจักษ์ มีการบูรณาการภาษาและวัฒนธรรมเข้ามาในการแปลมากขึ้น มีท้ังกลุ่ม ที่เน้นไปท่ีความหมายและการตีความ และกลุ่มท่ีเน้นไปที่โครงสร้างในเชิงวิทยาศาสตร์เม่ือนามา เปรียบเทียบกันของสองภาษา โดยมีการคิดค้นสัญลักษณ์เพื่อการถอดความหมายในเชิงภาษาศาสตร์ แนวคิดดังกล่าวเป็นของนักภาษาศาสตร์เชิงโครงสร้าง ทาให้การพัฒนาทฤษฎีการแปลมีมากขึ้น หน่ึง นักภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในกลุ่มนี้คือ Roman Jakobson ที่เชื่อในเรื่องพฤติกรรมศาสตร์และการ เรียนรู้ภาษาท่ีเป็นระบบจนสามารถใช้งานได้ แต่เม่ือมาถึงยุคของ Noam Chomsky ที่เชื่อว่ามนุษย์ สามารถเรียนรูห้ ลักการทางภาษาได้โดยธรรมชาติ โดยความรู้ในการใช้ภาษานนั้ ติดตัวมาแต่กาเนิด ทาให้ แนวความคดิ เดิมทางพฤติกรรมศาสตรน์ น้ั ตกไป ยุคที่สี่ เปน็ ยคุ ที่ต่อยอดมาจนถึงปัจจุบัน นักปราชญ์ทม่ี ชี ่ือเสยี งและมีอิทธิพลต่อทฤษฎีการแปล คือ Umberto Eco ชาวอิตาเล่ียน โดยที่เขาจะเน้นแนวคิดและหลักการท่ีเก่ียวข้องกับสหสัมพันธบท (intertextuality) หมายถึงการแปลนั้นควรข้ึนอยู่กับบริบทท่ีแวดล้อม equality ความเท่าเทียมกัน ของสองภาษา ประวัติการแปลในประเทศไทย การแปลในประเทศไทยเร่ิมมีมาตั้งแต่ปลายสมัยสุโขทัยและมี จุดประสงค์เพ่ือเผยแพร่ศาสนาเช่นเดียวกันกับประวัติการแปลในตะวันตก เช่น การแปลพระไตรปิฎกจาก ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และหลักฐานงานแปลท่ีพบในสมัยสุโขทัยอีกชิ้นหนึ่ง คือ ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 6 ซึ่งเขียนเป็นภาษาขอมโบราณ ภาษาไทย และภาษาบาลี เป็นการแปลโดยที่พูดถึงเร่ืองเดียวกัน เนื้อความ เดียวกัน เล่าเร่ืองราวเกี่ยวกับที่มาของการสร้างวัดป้ามะม่วง ในสมัยอยุธยา หนังสือแปลที่ปรากฏคือเร่ือง มหาชาตคิ าหลวงซง่ึ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯ ให้ราชบัณฑิตเปน็ ผู้แปลไวใ้ นปี พ.ศ. 2025 ตอ่ มาใน สมัยรัตนโกสินทร์ มพี วกมชิ ชันนารเี ข้ามาเผยแพร่ครสิ ต์ศาสนาในประเทศในสมยั รชั กาลที่ 3 ก็ไดม้ กี ารแปล คาสอนของศาสนาคริสต์เป็นภาษาไทย ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เร่ิมมีการสอนแปลเพ่ือใช้ในด้านการทูตและ การติดต่อส่ือสารของทางราชการกับชาติตะวันตก สนับสนุนทุนให้นักศึกษาไทยไปศึกษาต่อในต่างประเทศ หนงั สือพิมพ์โดยหมอบรดั เลย์เปน็ บรรณาธิการที่จัดพมิ พ์ปทานกุ รมแปลความหมายของคาภาษาไทยออกไป เป็นภาษาละตนิ ฝรง่ั เศส และองั กฤษในสมยั รชั กาลท่ี 5 มีหนังสือพมิ พ์สองภาษาเกิดขน้ึ มอี าชีพแปลเกิดข้ึน อย่างแพร่หลายในแวดวงผู้มีการศึกษา ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 อันเป็นยุคเฟ่ืองฟูของการแปลวรรณกรรม สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ไดม้ กี ารแปลวรรณกรรมต่าง 1 มากมาย ท้ังทเี่ ปน็ นวนิยายและบทละคร ในช่วงปลายสมยั รัชกาลที่ 6 จนถึงสมัยเปล่ยี นแปลงการปกครองในรัชกาลท่ี 7 การแปลเส่อื มถอยลงตามสภาวะเศรษฐกจิ การแปลภาษาอังกฤษและภาษาไทยน้ันอาจมีความซับซ้อนกว่าการแปลภาษาตะวันด้วยกัน เนื่องจากทั้งสองภาษานี้มีที่มาจากคนละกลุ่มตระกูลกัน กล่าวคือ ภาษาอังกฤษอยู่ในตระกูล Germanic ซ่ึง อยู่ในตระกูลใหญ่ของ Indo-European ในขณะที่ภาษาไทยอยู่ในตระกูล Austro-Thai (Fromkin and Rodman, 1976: ทพิ า เทพอคั รพงศ์, 2542 หนา้ 2) ดังน้นั การแปลในยคุ แรก ๆ จงึ จาเปน็ ตอ้ งใช้ผ้มู ีความรู้ ความสามารถในการใช้ภาษาทัง้ สองไดเ้ ป็นอย่างดี กล่าวโดยสรุปคือ การแปลนั้นเป็นศาสตร์ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานตราบเท่าท่ีอารยธรรม ของมนุษยด์ าเนนิ มา ด้วยความหลายหลายของชนชาตแิ ละภาษาท่ีมีปรากฏอยู่ในโลก มนุษยจ์ งึ มคี วาม จาเป็นต้องส่ือสารกันโดยมีการแปลที่เปน็ เครื่องมือเสมือนสอ่ื กลางทางภาษาเพื่อใหก้ ารส่อื สารของท้งั สองฝ่ายบรรลุเป้าหมายสูงสุด ในอดีตการแปลมักจะถูกจากัดอยู่ในแวดวงของนักวิชาการ กระบวนการแปลเริ่มต้นจากการแปลแบบลองผิดลองถูก นักแปลจะเรียนรู้วิธีการแปลจาก ประสบการณ์ งานแปลส่วนใหญ่มักจะเป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับศาสนาและวรรณคดี วิธีการแปลคือการ แปลตรงตามตัวอักษร แต่ในปัจจุบัน การแปลได้แพร่หลายกว้างขวางข้ึน จึงได้แตกแขนงออกไปใน เป็นการแปลเฉพาะ เช่น กฎหมาย ธุรกิจ วิทยาศาสตร์ และวิทยาการใหม่ ๆ เป็นต้น และการแปลใน ยุคปัจจุบันเน้นให้ได้อรรถรสมากย่ิงขึ้นแนวความคิดหลักของการแปลถูกแบ่งออกเป็น 2 แนวคิด ดว้ ยกัน คอื 1) แนวคิดของฝ่ายสนบั สนุนการแปลแบบตรงตามตัวอักษร หรือการแปลแบบเคร่งครัดที่ ยดึ ติดกบั โครงสรา้ งและรปู แบบเดิม และ 2) คือแนวคิดของฝา่ ยตอ่ ตา้ นการแปลแบบตรงตวั ซง่ึ มงุ่ เน้น การแปลแบบเอาความมากกว่า นอกจากนี้ยังรวมไปถึงหลักการท่ีเกี่ยวข้องกับการแปลอ่ืน ๆ เช่น ความเท่าเทียมกันของสองภาษา ระดับของความสามารถที่จะแปลเอกสารประเภทนั้นออกมาได้หรือ ไม่ได้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 7 ความหมายของการแปล คาว่า “Translation” หรือ “การแปล” น้ัน มีรากศัพท์ด้ังเดิมมาจากภาษาลาตนิ ว่า “Translatio” (Vélez, 2016, p.3-12) ซึ่งเกิดจากการผสมระหว่างส่วนของคาที่มีความหมายสองส่วนด้วยกันคือ trans- ซ่ึงหมายถึง across หรือข้าม และ -latio ซึ่งหมายถึง carry หรือการนาไป เมื่อรวมสองส่วน เข้าด้วยกันเป็นคาแล้วจึงหมายถึงการแปลภาษาท่ีต้องส่งสารข้ามจากภาษาหนึ่ งไปสู่อีกภาษาหน่ึง น่ันเอง (Kasparek, 1983, p.83) นักวิชาการบางกลุ่มได้ให้คาจากัดความของการแปลไว้ว่าเป็นการถ่ายทอดความหมายท้ังที่ เป็นสัญลักษณ์ทางภาษาและจิตใจของผู้นาเสนอทางภาษานั้น ๆ จากต้นฉบับเป็นอีกภาษาหน่ึง งาน แปลจึงเป็นรูปแบบการใช้ภาษาท่ีสามารถคงความหมายเดิมของภาษาต้นฉบับไว้ และเป็นภาษาท่ี กระชับและตรงประเด็นตามต้นฉบับ มีการถ่ายทอดความรู้สึกอย่างลึกซึ้งตามต้นฉบับ มีภาษา สละสลวย เหมาะสม และเปน็ ธรรมชาติ เป็นตน้ (J.C. Cat Ford. 1965, A.F. Tyler.1978, Nida and Taber. 1982) Nida ให้ความหมายการแปลไว้ว่าเป็นการถ่ายทอดความหมายและรูปแบบของข้อความจาก ภาษาหน่ึงไปยังอีกภาษาหน่ึง โดยการใช้เสียง คา วลี หรือประโยค และข้อความเพื่อเป็นรูปแบบของ การถ่ายทอดความหมาย (Nida, 1982) Newmark ให้นิยามการแปลว่าคือวิธีการท่ีเกิดข้ึนจากความพยายามของผู้แปลเพื่อท่ีจะใช้ ขอ้ ความและหรอื ถอ้ ยคาในภาษาหนงึ่ ไปแทนที่ขอ้ ความและ/หรอื ถ้อยคาเดียวกันในอกี ภาษาหน่ึง เป็น กระบวนการท่ที าต่อภาษา (Newmark, 1988) Catford กล่าวว่าการแปลเป็นกระบวนการที่เอาถ้อยคาท่ีเขียนด้วยภาษาหน่ึงไปแทนท่ี ถอ้ ยคาท่ีเขยี นดว้ ยอีกภาษาหนึ่ง (Catford, 1965) การแปลจงึ หมายถงึ การเทียบความหมายของเน้ือหาท่ีจะแปลในภาษาหน่ึงไปสู่อีกภาษาหนึ่ง โดยรักษาเจตนารมณ์ หรือวัตถุประสงค์ของผู้เขียนไว้เป็นอย่างดี แต่เนื่องการแปลมีข้อจากัดในเร่ือง ของวัฒนธรรมของทั้งสองภาษาที่มีความแตกต่างกัน การแปลตรงตัวเพื่อเก็บรายละเอียดทั้งหมดจึง เป็นไปไดย้ ากในบางกรณี การผลิตซ้าในรปู แบบของภาษาเดมิ ไปสู่ภาษาปลายทางจงึ ไมส่ ามารถทาได้ท้ังหมด ความสาคัญของการแปล เม่ือมนุษย์จาเป็นต้องสอื่ สารกันแต่ไม่ได้รูภ้ าษาเดียวกัน จึงต้องมีการแปลเพ่ือประกอบอาชีพ เผยแพร่วัฒนธรรม ดารงชพี ธรุ กจิ การคา้ และความปลอดภัยในชวี ิต ภาษาองั กฤษนับเป็นภาษากลาง ของโลก (lingua franca) ภาษาหน่ึงท่ีมีผู้นิยมสูงสุด สารท่ีเป็นภาษาอังกฤษนับเป็นสารท่ีถูกนามา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 8 แปลหรือถ่ายทอดเป็นภาษาต่าง ๆ มากท่ีสุดในโลก โดยเฉพาะการถ่ายทอดเป็นภาษาไทย เนื่องจาก สื่อต่าง ๆ ทั้งด้านสารคดีและบันเทิงคดีต่างก็เขียนไว้เป็นภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ การแปลจึงเป็น ช่องทางให้ผู้อ่านได้เข้าถึงแหล่งความรู้และความบันเทิงสมัยใหม่อย่างไม่มีขีดจากัดทางภาษา ยิ่งไป กว่านั้น การสื่อสารต่าง ๆ ในยุคปัจจุบันเป็นการสื่อสารแบบไร้พรมแดน จึงทาให้การแปลมีบทบาท สูงขึ้นไม่ว่าจะเป็นการแปลด้วยคนหรือการใชเ้ ทคโนโลยีก็ตาม ในขณะท่ีการแข่งขันในสังคมโลกสูงขน้ึ ทุกด้านความสาคัญของการแปลก็มีมากยิ่งข้ึนและเกิดข้ึนในสังคทุกระดับ ต้ังแต่เพื่อตนเอง สังคม ประเทศชาติ และนานาชาติ ตามวัตถปุ ระสงค์แหง่ การส่ือสารทีห่ ลากหลาย สารทแี่ ปลมหี ลายรูปแบบ เช่นกัน อาทิ ภาพยนตร์ ข่าวสาร เอกสารทางธุรกิจ สัญญาต่าง ๆ การประชุม สัมมนา ในระดับ นานาชาติ เป็นตน้ การแปลจงึ เสมือนกุญแจสาคัญท่ีใชเ้ ปิดประตเู ข้าสโู่ ลกกว้างและพาเราเดินไปสู่โลก ทจี่ ะแคบลงไปทุกวัน ลกั ษณะของงานแปลทีด่ ี จักกเมธ พวงทอง (2560) ได้ให้ลกั ษณะการแปลท่ีดมี ี 3 ประการ ดังน้ี ความถูกตอ้ ง ความ ชดั เจน และความเปน็ ธรรมชาติ (ACN: Accurate, Clear และ Natural) ตาม โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 1. Accurate คือ มีความถูกต้องตามเน้ือหาของต้นฉบับ ส่ือสารได้ชัดเจน ครบถ้วนโดยไม่ ผดิ เพย้ี นไปจากต้นฉบับ 2. Clear คือ ส่อื ความหมายให้ผู้อ่านเขา้ ใจความหมายได้อยา่ งชดั เจน โดยใช้ภาษาท่ี เหมาะสมในรูปแบบ ระดับของภาษา 3. Natural คือ ใช้ภาษาท่เี ปน็ ธรรมชาตมิ ากที่สุด สะท้อนความรูส้ ึก อารมณแ์ ละอรรถรสได้ เท่าเทยี มกบั ตน้ ฉบบั กังสดาล ญาณจันทร์และศีตกาล ศรีฉัตร (2560) ได้ระบุลักษณะของการแปลที่ดีไว้ว่า ประกอบด้วยความเป็นธรรมชาติ และการคงความหมายเดิมของต้นฉบับไว้ เพ่ือประสิทธิภาพในการ สอ่ื สารทีต่ รงกนั ไปยังผู้อา่ น อจั ฉรา ไล่ศัตรไู กล (2555) กล่าวถงึ ลักษณะของการแปลที่ดีไวว้ า่ จะต้องมีความน่าเชอื่ ถือไม่มี การแต่งเติมเพ่ือให้ผู้อ่านได้รับสารอย่างถูกต้องตรงกับเจตนารมณ์เดิมของผู้เขียน รวมถึงต้องมีความ เปน็ ธรรมชาติ และชัดเจน เข้าใจงา่ ยสละสลวยไมก่ ากวม สัญฉวี สายบัว (2538) ให้ความเห็นว่าการแปลที่ดีต้องสามารถทาให้ผู้อ่านได้ความรู้สึก เดยี วกบั การอ่านภาษาตน้ ฉบบั

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 9 เม่ือวิเคราะห์จากข้อมูลอ้างอิงข้างต้น สรุปได้ว่า ลักษณะของการแปลท่ีดี คือ การแปลที่มี ความถูกต้อง สามารถสื่อสารได้ตรงตามเจตนารมณ์ของผู้เขียนตามภาษาต้นฉบับ มีความชัดเจน ไม่ กากวม ไม่ทาให้ผู้อ่านสับสนในความหมาย นอกจากนี้แล้ว ยังหมายรวมไปถึงการแปลท่ีมีความเป็น ธรรมชาติทท่ี าใหผ้ ู้อ่านสัมผสั ได้ถึงความรสู้ ึกและอารมณ์ของสารต้นฉบบั ไมท่ าให้รู้สึกเหมือนกับกาลัง อ่านสารทไ่ี ด้รับการแปลมาจากภาษาอ่ืน คณุ สมบตั ิของนกั แปลที่ดี มีนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงคุณสมบัติของนักแปลท่ีดีไว้ว่านักแปลท่ีดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1) ควรต้องเข้าใจนัย (sense) และความหมาย (meaning) ของผู้เขียนต้นฉบับเป็นอย่างดีว่า ผู้เขียนมีความมุ่งหมายอย่างไร และต้องการจะส่ือสารอะไรไปยังผู้อ่าน เพื่อจะได้ทาการถ่ายทอด ความหมายนั้นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ควรต้องมีความรู้ทางภาษาต้นฉบับและภาษาฉบับแปล อย่างดีเพื่อให้สามารถแปลงานได้ถูกต้อง 3) ผู้แปลควรพยายามเลี่ยงการแปลคาต่อคาให้มากท่ีสุด เพราะจะทาให้ผู้อ่านฉบับแปลไม่สามารถเข้าใจฉบับแปลได้ 4) ผู้แปลควรใช้รูปแบบของภาษาที่ เป็นมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ และ 5) ผู้แปลต้องรู้จักเลือกใช้ถ้อยคาสานวนที่เหมาะสมให้ถูกต้อง กับความหมายตามต้นฉบับและบริบทอารมณ์ของต้นฉบับไว้ มีความรู้และภูมิหลังในเร่ืองที่จะแปล พอสมควร ต้องมีความสามารถใช้ภาษาอย่างดีเพื่อท่ีจะได้ถ่ายทอดความคิดของผู้เขียนต้นฉบับให้ ผอู้ า่ นฉบบั แปลรูเ้ ร่ืองเข้าใจและอา่ นอย่างไดอ้ รรถรส (ดวงตา สพุ ล,2541) คุณสมบัตทิ ่นี ักแปลท่ีดีในทัศนะของ รัชนโี รจน์ กุลธารง (2552) มี 4 ด้านกว้างดังนี้ 1) ทกั ษะ ด้านภาษา 2) ความรู้ทั่วไป 3) ความสามารถในการทาความเข้าใจ และ 4) ความสามารถในการ ถ่ายทอด คณุ สมบัติท่นี กั แปลทีด่ ีในทัศนะของ อจั ฉรา ไล่ศตั รูไกล (2560) กลา่ วไวว้ า่ คุณสมบตั หิ ลกั ของ นักแปลที่ดี ประกอบด้วย 1) จะต้องมีความเช่ียวชาญในภาษาท้ังภาษาต้นฉบับและภาษาฉบับแปล เป็นอย่างดีเพื่อความถูกต้องของงานแปล ต้องมีความรู้ท้ังในเร่ืองของโครงสร้างของภาษาและ ความหมายของภาษา ตลอดจนเข้าใจบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของภาษาท่ีเก่ียวข้อง และมี ความสามารถในการถ่ายทอดออกมาได้เป็นอย่างดี 2) นักแปลท่ีดีต้องรอบรู้และใฝ่รู้ ผู้ท่ีจะเป็น นักแปลที่ดีได้ต้องแสวงหาความรู้รอบตัวอยู่เสมอ 3) นักแปลท่ีดีต้องหมั่นฝึกฝนตนเอง เพื่อให้เกิด ทกั ษะและความชานาญมากข้นึ การแปลถึงจะสละสลวย คณุ สมบตั ิท่ีนักแปลท่ีดใี นทัศนะของ ผอ่ งศรี ลอื พรอ้ มชัย (2559) ทอ่ี ธิบายออกมาในลักษณะ ของนิสัยของนักแปลที่ควรมี คือ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และสู้ไม่ถอย กล่าวคือ นักแปลจะต้องทางานอย่าง

10 เป็นระบบ ทาให้เป็นระเบียบ สม่าเสมอ และสุดความสามารถ นักแปลต้องรู้ทั้งภาษาต้นทางและ ภาษาปลายทางเปน็ อยา่ งดี และท่สี าคญั นกั แปลจะตอ้ งทางานเสร็จตรงตามเวลา คุณสมบัติที่นักแปลที่ดีในทัศนะของ สัญฉวี สายบัว (2560) ได้กล่าวว่า นักแปลที่จะสามารถ ผลิตงานแปลท่ีมีคุณภาพ ควรมีคุณสมบัติหลัก 4 ด้าน คือ 1) มีความสามารถทั้งภาษาต้นฉบับและ ภาษาแปล 2) มีความรู้และภูมิหลังของเร่ืองราวในต้นฉบับ 3) มีความสามารถเข้าใจผู้เขียนต้นฉบับ และสามารถแปลให้ผู้อ่านฉบับแปลเกิดความรู้สึกเท่าเทียมกับผู้อ่านต้นฉบับได้ และ 4) มีศิลปะ ทางการเขียน หากนักแปลมีคุณสมบัติในการแปลก็จะสามารถแปลงานออกมาได้อย่างมีคุณภาพซึ่ง หลักของการประเมินงานแปลมีอยู่ 3 ประการคือ ความถูกต้อง ความชัดเจน และเป็นธรรมชาติ (Larson, 1998) ดังนนั้ อาจสรปุ ไดว้ า่ การจะเป็นนักแปลทีด่ ีได้นน้ั จะตอ้ งประกอบดว้ ยคุณสมบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี 1.มีความสามารถในการใช้ภาษาท่ดี ี ท้งั ภาษาตน้ ทาง (Source Language: SL) และภาษา ปลายทาง (Target Language: TL) 2.มีความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกับส่ิงท่ีจะแปลเปน็ อย่างดี 3.มคี วามสามารถในการวิเคราะหต์ ีความสารต้นทางได้อยา่ งถูกตอ้ ง และสามารถสื่อสารหรือ ถ่ายทอดได้เป็นอย่างดี 4.มีความสามารถในการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ร้อยเรียงถ้อยคาได้น่าอ่านและมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว 5.มคี วามคดิ เป็นระบบระเบียบและรอบคอบ และมีวนิ ัยต่อวชิ าชีพ คุณสมบัติของนักแปลดียอ่ มสง่ ผลตอ่ การแปลท่ีดีดว้ ยเช่นกัน คุณสมบัติเหลา่ น้ีสามารถฝกึ ฝน และสร้างขึ้นมาได้เพ่ือให้นักแปลรุ่นใหม่ได้เตรียมความพร้อมและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานใน วชิ าชพี การแปล มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

11 แบบฝกึ หดั 1 : วเิ คราะหป์ ระโยคดังตอ่ ไปนี้ เพื่อใหค้ วามหมายของคาวา่ ทีอ่ ย่ใู น “…” เหมาะสมกับบรบิ ท 1. I left the house at 8.00 o’clock. “left” ในประโยคขา้ งตน้ หมายถงึ .................................................................................................... 2. Her husband left her alone at night. “left” ในประโยคขา้ งตน้ หมายถึง………………………………………………………………………………………… 3. The number of Covid cases is growing. “grow” ในประโยคข้างต้นหมายถงึ ……………………………………………………………………………………… 4. Stop complaining and grow up! “grow” ในประโยคขา้ งต้นหมายถงึ ……………………………………………………………………………………… แบบฝกึ หดั 2 : วเิ คราะหก์ ารแปลของประโยคดังต่อไปนี้ แลว้ พจิ ารณาว่าควรปรบั ปรงุ อยา่ งไร หลงั จากนัน้ ปรับแก้ใหเ้ หมาะสม 1. A computer is commonly found in households today. ในปัจจุบันโดยทว่ั ไปคอมพวิ เตอร์ถูกพบในบ้าน 2. Chumpon is the province suffered most from the flood this year. ชมุ พรเป็นจังหวดั ทต่ี ้องทุกขท์ รมานกับน้าท่วมมากที่สุดในปีน้ี แบบฝึกหัด 3 : แปลประโยคดังตอ่ ไปน้ีจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย 1. This car model sells well. 2. Japan will suspend new arrivals of foreign nationals. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

12 บทสรปุ การแปลมีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานเนื่องจากมนุษย์มีความหลากหลายทางภาษาและ อารยธรรม กอรปกับมนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่ต้องอยู่ร่วมกัน ต้องมีการติดต่อส่ือสารและต้องสืบสาน อารยธรรมของตนเอง ความหลากหลายทางภาษาจึงไมส่ ามารถเป็นอปุ สรรคต่อการสื่อสารของมนุษย์ ได้เพราะในที่สุดมนุษย์ก็จะเพียรหาวิธีเพ่ือการดารงชีพและสืบเผ่าพันธ์ขุ องตน ในอดีตไม่ได้มีศาสตร์การ แปลอย่างชัดเจน นักแปลจึงเกิดจากผู้ท่ีมีความรู้ทั้งสองภาษาคือภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง เท่านั้น พวกเขาเหล่านั้นต้องใช้ประสบการณ์ลองผิดลองถูกจนเกิดทักษะและความชานาญด้วย ตนเอง หน้าที่ของนักแปล คอื เป็นท้งั ผู้รบั สารและถา่ ยทอดสารนัน้ สูภ่ าษาปลายทางตามวตั ถปุ ระสงค์ ของสารต้นฉบับซึ่งมีอยู่หลากหลายข้ึนอยู่กับผู้ส่งสาร ยิ่งไปกว่าน้ัน อาชีพนักแปลจาเป็นต้องอาศัย จริยธรรมและความซื่อสัตย์ต่อเป็นท่ีตั้ง โดยจาเป็นต้องมีคุณลักษณะเฉพาะของนักแปลที่ดีท่ีจะต้อง สะท้อนใหเ้ ห็นว่าเป็นผู้มีความรอบรู้ในสิ่งที่แปล มีความสามารถทางภาษาและการสื่อสาร ท่ีจะส่งผล ให้งานแปลมีคุณภาพตามลักษณะของงานแปลท่ีดี กล่าวคือ ต้องถูกต้อง ชัดเจน และมีความเป็น ธรรมชาติ โดยตง้ั อยู่บนพ้นื ฐานของความเทา่ เทียมกนั ระหว่างสองภาษา คาถามทบทวน 1. การแปลหมายถึงอะไร 2. นักศึกษาสนบั สนุนแนวคิดใดท่เี กี่ยวกับการแปล พร้อมอธิบายเหตผุ ลประกอบ 3. การแปลสาคัญอย่างไร อธบิ ายเหตผุ ลประกอบ 4. งานแปลทีด่ ีควรมีลักษณะอยา่ งไร 5. งานแปลควรยึดผู้อา่ นหรือยดึ ผเู้ ขยี นเป็นหลัก อธบิ ายพร้อมให้เหตผุ ลประกอบ 6. คณุ สมบัตใิ ดทนี่ กั แปลพงึ มี พรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 13 เอกสารอ้างองิ กังสดาล ญาณจันทร์ และ ศีตกาล ศรีฉัตร. (2560). การแปลคาสรรพนามต่างบริบทในเรื่องส้ัน. วารสารวชิ าการ มทร. สวุ รรณภมู ิ (มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ , 2(2), 169-178. ดวงตา สุพล. (2541). กลวธิ ีและทฤษฎกี ารแปล. (พมิ พ์ครัง้ ที่ 3). กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ทิพา เทพอัครพงศ์. (2542). การแปลเบื้องตน้ . กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ผ่องศรี ลือพร้อมชัย (วัชรวิชญ์).(2559) การแปลให้เก่ง : คู่มือนักแปลมืออาชีพ (พิมพ์คร้ังที่ 1) กรุงเทพฯ : สมาคมผู้จดั พิมพแ์ ละผู้จาหน่ายหนงั สือแห่งประเทศไทย สญั ฉวี สายบวั . (2538). หลกั การแปล. (พิมพค์ รั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : สานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ สัญฉวี สายบวั . (2560). หลกั การแปล. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 9). กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อัจฉรา ไลส่ ัตรไู กล. (2548). หลักการและวิธกี ารแปล. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลัย รามคาแหง. Catford, J. C. (1965). A linguistic theory of translation. Oxford University Press. Cicero, M. T. (1949). De inventione De optimo genere oratum, Topica, trans. H. M. Hubell. Cambridge, MA: Harvard University Press. Coogan, Michael David; Brettler, Marc Zvi; Newsom, Carol Ann; Perkins, Pheme (2007). The New Oxford Annotated Bible with the Apocryphal/Deuterocanonical Books: New Revised Standard Version. Oxford: Oxford University Press. p. 4 6 6 . ISBN 9780195288803. Dryden, J. (1680. Metaphrase, paraphrase and imitation. Extracts of Preface to Ovid’s Epistles in R. Schulte and J. Biguenet (eds) (1992), pp. 17-31. Kasparek, Christopher (1983) The Translator's Endless Toil. p. 83. Larson, M. (1988). Meaning-based translation: A guide to cross-language equivalence. Oxford University Press. Schleiermacher, F. (1813/1992). On the different methods of translating, in R. Schulte and J. Biguenet (eds) (1992), pp. 36-54. Victoria F. & Robert R. (2010), An Introduction to Language. Cengage Learning, Vélez, Fabio (2016). Antes de Babel. pp. 3–21. Una historia retórica de la traducción. Granada, Spain: Comares. ISBN 978-8490454718.

14 Wycliffe Global Alliance. Latest Bible translation statistics. Wycliffe. Retrieved 18 December 2020. Newmark, P. (1984). A textbook of translation. Pergamon Press. Nida, E. A. (1964). Toward a science of translation. Leiden: E. J. Brill. Nida, E. (1982). The theory and practice of translation. Leiden: E. J. Brill. มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 15 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2 เนอ้ื หาประจาบท สาระสาคัญของเน้ือหาประจาบทที่ 2 มีดงั ต่อไปน้ี 1. ศาสตรท์ เี่ กย่ี วข้องกับการแปล 1.1 ภาษาศาสตร์ 1.2 ศาสตร์ด้านการส่ือสาร 1.3 ศาสตร์ทางด้านปรัชญา 1.4 ศาสตรท์ างด้านมานุษยวิทยา 1.5 ศาสตรท์ เี่ ก่ยี วข้องกับทฤษฎกี ารตลาด 2. แนวคิดและทฤษฎที ่เี กย่ี วข้องกับการแปล 3. รปู แบบการแปล 3.1 การแปลคาต่อคา (Word –for word translation) 3.2 การแปลตรงตามอักษร (Literal translation) 3.3 การแปลตรงตามตน้ ฉบบั (Faithful Translation) 3.4 การแปลเชงิ อรรถศาสตร์ (Semantic Translation) 3.5 การแปลแบบดดั แปลง (Adaptation translation) 3.6 การแปลแบบเอาความ (Free translation) 3.7 การแปลแบบสานวน (Idiomatic Translation) 3.8 การแปลเชงิ ส่อื สาร (Communicative Translation) วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนสามารถเช่อื มโยงความสมั พนั ธ์ของศาสตรอ์ ื่น ๆ กับการแปลได้อยา่ งชัดเจน 2. เพอื่ ให้ผ้เู รียนสามารถอธิบายแนวคดิ หลกั และทฤษฎขี องการแปลได้อย่างถกู ต้อง 3. เพ่ือให้ผูเ้ รยี นสามารถอธบิ ายรูปแบบของการแปลได้อย่างถกู ต้อง 4. เพ่อื ให้ผเู้ รียนสามารถวิเคราะหแ์ ยกความแตกต่างระหว่างการแปลแต่ละรปู แบบได้อย่างถกู ต้อง 5. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถแปลภาษาองั กฤษและภาษาไทยในแตล่ ะรูปแบบการแปลได้อย่างถูกตอ้ ง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 16 วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาบท 1. วิธสี อนในบทนผ้ี ู้สอนจะใชว้ ิธีสอน 3 แบบผสมผสานกัน คอื 1.1 การสอนแบบบรรยาย 1.2 การสอนแบบอภิปราย 1.3 การสอนแบบรว่ มมอื (cooperative learning) 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 ผู้สอนบรรยายและอภิปรายรายละเอียดร่วมกับผู้เรียนในช้ันเรียนเกี่ยวกับศาสตร์ที่ เกยี่ วขอ้ งกับการแปล แนวคิดและทฤษฎีท่เี กย่ี วข้องกับการแปล รปู แบบการแปล โดยเน้นใหผ้ ูเ้ รียนได้ มีโอกาสลงมอื ปฏิบตั ิ ด้วยการทดลองแปลในกล่มุ ความรู้เกดิ จากการแลกเปล่ียนเรียนรกู้ นั ในกลุ่มและ ในหอ้ งเรียน ผูส้ อนคอยเปน็ ทป่ี รกึ ษา 2.2 ผู้เรียนฝึกหัดทาแบบฝึกประกอบบทเรียน (เน้นทากิจกรรมเป็นกลุ่ม และแลกเปล่ียน ความรภู้ ายในกลุ่ม) 2.3 ผเู้ รยี นคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ จากหัวขอ้ เรื่องท่เี รียน (เน้นทากิจกรรมเปน็ กลุ่ม และแลกเปล่ียน ความรภู้ ายในกลุ่ม) 2.4 ผู้เรียนจัดทาสาระสังเขปของเน้ือหาในบทเรียนและนาเสนอหน้าห้องเรียน (เน้นทา กิจกรรมเปน็ กลุ่ม และแลกเปล่ียนความร้ใู นห้องเรยี น) สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการแปล 1 2. PowerPoint 3. LCD Projector 4. Notebook การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตจากการตอบคาถาม 2. สังเกตจากการรว่ มอภิปรายกลุม่ 3. สังเกตจากการร่วมกิจกรรมและปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผูเ้ รียนด้วยกนั หรอื กับผูส้ อน 4. ตรวจผลงานการตอบคาถามท้ายบท 5. ตรวจผลงานการทาสาระสังเขปสรุปบทเรียน

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 17 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการแปล ศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกบั การแปล ทฤษฎีการแปลและหลักการท่ีเกีย่ วข้องกบั การแปลนัน้ สว่ นใหญ่เกิดจากการบูรณาการความรู้ และหลกั การที่มาจากหลากหลายศาสตร์ เชน่ หลกั การทางภาษาศาสตร์ หลกั การสอื่ สาร หลกั ปรชั ญา หลักจิตวิทยา และหลักการตลาด เป็นต้น โดยหลักการทางภาษาศาสตร์และการสื่อสารได้ถูกนามา ประยกุ ต์ใช้ในการวางกรอบทฤษฎีและแนวคิดทางการแปลเปน็ สาคญั ศาสตรต์ ่าง ๆ ดังกลา่ วน้ันได้ถูก นาไปยดึ ถอื เปน็ หลกั ในการจัดระเบยี บวิธีคิดทเี่ กย่ี วขอ้ งการการแปล ศาสตร์ต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การแปลนั้นจึงถือเปน็ หลักการทีน่ าไปสู่การต่อยอดให้เกิดทฤษฎี ทางการแปลข้นึ สรปุ สาระและความสัมพนั ธไ์ ด้ดงั ต่อไปนี้ 1. ภาษาศาสตร์ เป็นหลักการ ความรู้ที่เก่ียวข้องกับภาษา ตั้งแต่ในเร่ืองของโครงสร้างของ ภาษา เรื่องระบบเสียง คา กลุ่มคา ประโยค กลุ่มข้อความ ความหมายทั้งในทางตรงและความหมาย แฝง การใชง้ านในบริบทต่าง ๆ ซึ่งหลกั การความรู้ดงั กลา่ วมแี ขนงยอ่ ยของทนี่ ามาอ้างองิ ได้ดังน้ี 1.1 Semantics (อรรถศาสตร์) คือ การศึกษาความหมายที่สื่ออกมาด้วยภาษา ท่ีมีการ วิเคราะห์หลายระดับ เช่น คา (word) คาพูด (utterance) สัญลักษณ์ (symbols) กลุ่มคา (Phrase) และ ประโยค (Sentence) ปริจเฉท (Discourse) ความหมายโดยตรง ความหมายเชิงเปรยี บเทียบ ความหมายท่ี เป็นความจริงซ่อนอยู่ เป็นต้น หลักการดังกล่าวเป็นแนวทางในการแปลความหมายในระดับคาและระดับ ประโยค 1.2 Syntax (วากยสัมพันธ์ ศึกษากฏไวยากรณ์ของภาษาที่สามารถนามาอธิบายโครงสร้าง ของภาษาแต่ละภาษา โดยดูจากการเรียบเรียงคาต่าง ๆ ตามความสัมพันธ์ของคาเหล่านั้น เพื่อให้เกิด ประโยคท่ีถูกต้องและส่ือความหมายได้) หลักการดังกล่าวเป็นแนวทางเพื่อแบ่งองค์ประกอบต่าง ๆ ใน ประโยคเพ่ือการแปลโดยนาองค์ประกอบต่าง ๆ มา วิเคราะห์หาประเภทของคา หน้าท่ีในประโยค เพ่ือให้ เขา้ ใจความหมายจากความสัมพันธ์ของคาเหล่านั้นกับคาอ่นื ๆ ในประโยค 1.3 Morphology (วิทยาหน่วยคา) เป็นการศึกษารูปแบบของคาและการสร้างคา ที่จะมี หน่วยของคาประเภทต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจความหมายของคาได้อย่างเป็นระบบ ในแง่ของการ ประยกุ ต์ศาสตร์น้ีสู่การแปลคือการทาความเข้าใจความหมายของหน่วยคาได้อย่างลึกซึ้ง ในบางคร้ังผู้แปล อาจการความชัดเจนของความหมายต้ังแต่หน่วยของคา หลักการในส่วนนี้ปรากฏน้อยกว่าศาสตร์อ่ืน ๆ สาหรบั การแปล 1.4 Phonology (สัทวิทยา) ศึกษารูปแบบของเสียงในภาษา การเน้นเสียงหนักเบา การใช้ ทานองเสียงกับประโยคต่าง ๆ รวมไปถึง การศึกษาสัทศาสตร์หรือ Phonetics ที่ศึกษาเสียงทั้งต้ังระดับ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 18 เสียงของพยัญชนะ สระ คา เป็นต้น มีความสาคัญกับการแปลในเรื่องของการสื่อสารเพ่ือให้ผู้รับสารหรือ ผู้ฟังเข้าใจความหมาย ดังน้ันการออกเสียงมีผลต่อการแปลแบบล่ามมากกว่าการแปลแบบเขียน การออก เสียงท่ถี กู ตอ้ งและชัดเจนจะส่งผลต่อประสิทธภิ าพของการแปลแบบลา่ มมาก 1.5 Pragmatics (วจั นปฏิบัตศิ าสตร์) ศึกษาเรื่องของการนาภาษาไปใชง้ านในบริบทต่าง ๆ ที่ มีผู้พูด ผฟู้ ัง จุดมงุ่ หมายของผู้พูด เพอื่ ใหเ้ กดิ การส่ือสารทชี่ ัดเจน หลักการดา้ นน้ีมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการแปล เน่ืองจากการแปลนั้นจาเป็นต้องใช้บริบทและองค์ประกอบทุกด้านของสารมาถ่ายทอดให้ ตรงกันกับเจตนารมณ์ของผู้ส่งสารต้นฉบับ ดังนน้ั การพจิ ารณาสารท่ีจะแปลจะต้องใช้ความเข้าใจเป็นอย่าง ดีการสารตน้ ทางนั้น ๆ นอกจากน้ีแล้วยังมีหลักการของภาษาศาสตร์เฉพาะด้านที่ ผสมผสานกับภาษาศาสตร์ ที่ เกย่ี วข้องกับการแปล เชน่ Stylistics linguistics (วจั นลลี าศาสตร์) เป็นการศึกษาลีลาในการใชภ้ าษา เปน็ ลกั ษณะของ การเรียบเรียงถ้อยคาหรือสานวนท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์สะท้อนความคิด ความรู้สึกของผู้เขียน (เปล้ือง ณ นคร, 2514, น. 38-43) ถอื เปน็ ศิลปะในการเลือกใช้ถ้อยคา การประดิษฐ์ประโยค การสร้างภาพพจน์ใน ภาษา โดยการบรรยาย หรือการพรรณความ เป็นต้น (เจือ สตะเวทิน, 2518, น. 71) ลีลาการใช้ภาษาน้ีมี ความสาคัญกับการแปลเช่นกัน เน่ืองจากผู้แปลมีบทบาทเป็นผู้ส่งสารไปสู่ผู้รับสารปลายทาง ดังนั้นการ ร้อยเรียงสารเพ่ือนาไปส่งต่อจึงมีความจาเป็นต้องใช้ลีลาต่าง ๆ เพื่อให้อารมณ์ของสารนั้นยังคงอยู่ เหมอื นเดิมหรือดีกว่าเดิม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในการแปลวรรณกรรมหรือบนั เทิงคดี เปน็ ตน้ Sociolinguistics (ภาษาศาสตรส์ ังคม) เป็นการศึกษาผลกระทบขององค์ประกอบทางสังคม ทีม่ ีตอ่ ภาษาในมุมท่ีกว้างข้ึน เช่น ชาติพันธุ์ ศาสนา สถานภาพ สถานะเพศ ระดบั การศึกษา อายุ ฯลฯ Psycholinguistics (ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา) เป็นการศึกษากระบวนการคิดของมนุษย์ที่ เกย่ี วขอ้ งกบั การแสดงออกทางภาษา เปน็ ต้น Functional linguistics (ภาษาศาสตร์แนวหน้าที่นิยม) เป็นการศึกษาภาษาในลักษณะของ การทาหนา้ ทีใ่ นการสื่อความและหน้าท่ีของสารที่มีต่อผู้รบั สารทงั้ ในเชิงอรรถศาสตรและวัจนปฏิบัตศิ าสตร์ ความรเู้ กี่ยวกับภาษาศาสตร์ในแต่ละด้านนั้นจึงมีประโยชนต์ ่อการแปลเนื่องจากสามารถช่วย ให้ผู้แปลเข้าใจถึงแก่นแท้หรือเจตนารมณ์ของสารต้นฉบับจากมุมมองของผู้เขียน และมีศิลปะในการ ถา่ ยทอดให้ผู้รับสารปลายทางรับรู้และเข้าใจตรงตามที่ผสู้ ่งสารต้องการและอย่างมีประสิทธภิ าพ 2. ศาสตร์ด้านการสื่อสาร ผู้แปลจาเป็นจะต้องรู้แนวคิดท่ีเกี่ยวข้องกับการส่ือสารเพ่ือให้ เข้าใจกระบวนการแปลได้ดียิง่ ข้ึน เพราะผู้แปลต้องทาหน้าท่เี ป็นทั้งผ้รู ับสารจากสารตน้ ทางและเป็นผู้ ส่งสารไปสู่ภาษาปลายทางในขณะเดียวกนั ดังน้ันการเข้าใจบทบาทและกระบวนของการสื่อสารจะทา ให้ผู้แปลมีความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงและสามารถประยุกต์ใช้หลักการดังกล่าวได้ ทฤษฎีด้านการสื่อสาร ประกอบด้วยองค์ประกอบ ดังน้ี 1) สาร (message) 2) ผู้ส่งสาร 3) ผู้รับสาร ตามทฤษฎีการส่ือสาร

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 19 (Theory of Communication) กระบวนการแปลเร่ิมต้นด้วย สารของผู้ส่งสารต้นฉบับถูกสง่ ตอ่ ไปให้ ผู้แปล และผู้แปลจะทาหน้าที่เป็นผู้รบั สารตน้ ฉบับมา หลังจากน้ันผู้แปลจะต้องทาความเข้าใจสารนนั้ และผลิตสารต้นฉบับใหม่ให้เป็นสารฉบับแปลเพ่ือส่งต่อไปยังผู้อ่านปลายทาง จะเห็นได้ว่าผู้แปลมี บทบาทเป็นทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารในขณะเดียวกัน บทบาทดังกล่าวมีความสอดคล้องกันกับการ สื่อสารตามทฤษฎี SMCR ของ David K.Berlo ทมี่ ีองคป์ ระกอบหลกั ดังนี้ 1) ผู้ส่ง (sender) เป็นผู้ท่ีมีทักษะในการรงั สรรค์สาร (encode) เพ่ือส่งต่อไปยังผู้รบั ให้เขา้ ใจ ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้ส่งจะต้องรู้วิธีการปรับภาษาเพื่อให้เกิดความเหมาะสมและง่ายต่อการรับรู้ ของผรู้ ับสารมากทสี่ ดุ โดยการพิจารณาบรบิ ทท่ีเป็นองค์ประกอบรอบขา้ งของสารนน้ั ๆ 2) ข้อมูลข่าวสาร (message) เป็นเน้ือหา ข้อมูล และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งท่ี ผูเ้ ขยี นต้องการส่งไปยงั ผู้รบั สาร 3) ช่องทางในการสง่ (channel) เป็นวิธีการสง่ สารไปยังผู้รบั จากการรับรู้ที่เกิดจากประสาท สัมผัสในแต่ละด้าน เชน่ การฟัง การมองเห็น การไดย้ ิน เป็นต้น 4) ผู้รับ (receiver) ต้องมีความพร้อมในการจะทาความเข้าใจเก่ียวกับสารที่ถูกส่งมาให้ (decode) และรบั รวู้ า่ ผ้สู ง่ สารตอ้ งการใหผ้ ู้รับสารทาอะไร การสื่อสารจึงมีสองทาง สลับกันไปมา ดังนั้นการสื่อสารทั้งในด้านการรับสารและส่งสารต้อง ถูกกากับไว้ด้วยวัตถุประสงค์ของผู้ส่งสาร (Sender) ที่เป็นคนพูดหรือคนเขียน และผู้รับสาร (Receiver) ท่ีเป็นคนฟังหรือคนอ่าน และผู้แปลเป็นคนกลางท่ีต้องทาทั้งสองบทบาทในขณะเดียวกัน สาหรบั การแปลสารหนึ่ง ๆ คือทัง้ รบั สารและสง่ สารน่ันเอง ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ศ า ส ต ร์ ที่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ส่ื อ ส า ร ส า ม า ร ถ ช่ ว ย ใ ห้ ผู้ แ ป ล เ ข้ า ใ จ ถึ ง บ ท บ า ท กระบวนการที่เกิดขึ้นในการส่งและรับสารเพื่อการส่ือสาร ช่วยให้ผู้แปลรู้แนวทางและประยุกต์ใช้ให้ เกิดการสือ่ สารที่มีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้นึ 3. ศาสตรท์ างด้านปรัชญา ปรัชญาเป็นศาสตร์ท่ีศึกษาความจริงหรือแก่นแท้ของสิ่งต่าง ๆ บนโลก โดยวิเคราะห์สิ่ง ต่าง ๆ ด้วยเหตุและผลเพราะทุกอย่างตั้งอยู่ด้วยเหตุและผลของปรากฏการณ์ ภาษาเก่ียวข้องกับ ปรัชญาในมุมมองท่ีว่าการที่จะเข้าใจความเป็นจริงหรือธรรมชาติของภาษาน้ัน เกิดจากการวิเคราะห์ ถ้อยคาต่าง ๆ มีการเปรียบเทียบไว้ว่าภาษาเป็นเหมือนกับสะพานข้ามไปสู่การเข้าใจความจริงหรือ ธรรมชาติ โดยได้มีการแบ่งสิ่งท่ีมีอยู่ในโลกออกเป็นสององค์ประกอบ คือ ปัจเจกวัตถุ และ คุณสมบตั ิ ซึ่งถ้ามองในเชิงเปรียบเทียบก็จะเห็นได้ว่าสององค์ประกอบนี้ มีลักษณะเสมือนเป็นประโยคหรือ ประพจน์ที่ประกอบด้วยภาคประธานและภาคแสดง นั่นเอง ตัวอย่าง เช่น “เก้าอี้น้ีสีดา” ความเป็น จริงนี้ประกอบด้วยสองสว่ น คือ “เก้าอนี ้ี” ซึง่ เปน็ “ปจั เจกวตั ถุ” กับ “สดี า” ซงึ่ เปน็ “คณุ สมบัติ” ท้งั สองส่วนล้วนแล้วแตเ่ ปน็ ความจรงิ

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 20 ดงั น้นั หลกั ปรัชญาจึงมคี วามเช่ือมโยงกับการแปลในลักษณะทส่ี นับสนุนกันในมุมมองของการ ตีความเพ่ือระบุความหมายหรือค้นหาความหมายที่แท้จริงตามเจตนารมณ์ของผู้ส่งสารน่ันเอง โดย มองโดยการใชเ้ หตุและผลบรรยายนน่ั เอง 4. ศาสตรท์ างดา้ นมานุษยวทิ ยา หลักการทางมานุษยวิทยานั้นเน้นไปท่ีการศึกษาวิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์ในแต่ละ ชุมชนและวัฒนธรรม บริบททางวัฒนธรรมที่แตกต่างกันย่อมส่งผลต่อความเช่ือและความรู้สึกนึกคิด ของคน เช่น นวนิยายท่ีมีวัฒนธรรมการถ่ายทอดความรัก หากเป็นวัฒนธรรมตะวันตกอาจจะ แสดงออกด้วยการจูบและกอด ในขณะที่วัฒนธรรมไทยอาจมองเรื่องของการจูบหรือกอดในท่ี สาธารณะไมเ่ หมาะสม ในการแปลจงึ จาเป็นตอ้ งคานงึ ถงึ องคป์ ระกอบทางด้านมานุษยวิทยาเพื่อให้เรา เข้าใจถงึ วิถีการดาเนนิ ชวี ิตและความคดิ ของท้ังผสู้ ่งสารและรับสาร ความเข้าใจความเป็นมนุษย์ท่ีมีความแตกต่างกัน จะส่งผลให้การแปลท่ีเก่ียวข้องกับ วัฒนธรรมความเชื่อจาเป็นต้องมีการปรับเพ่ือให้เกิดความสมดุลระหว่างสองภาษาและเพ่ือให้ทั้งสอง ฝา่ ย ทัง้ ผ้สู ง่ สารและผรู้ ับสารสามารถรบั กันได้ในจดุ ท่เี หมาะสมที่สุดนน่ั เอง 5. ศาสตรท์ ีเ่ กยี่ วขอ้ งกับทฤษฎีการตลาด หลักการในส่วนน้ีอาจจะไม่ได้เก่ียวข้องโดยตรงกับงานแปลมากนัก ยกเว้นในกรณีที่การ แปลนั้นเป็นการแปลเชิงธุรกิจหรือเชิงพาณิชย์ การแปลประเภทน้ีจาเป็นต้องเป็นไปตามกระแสของ การตลาด โดยเน้นท่ีผู้อ่านซ่ึงเป็นกลุ่มตลาดเป็นหลัก จึงทาให้การแปลมีปัจจัยอื่น ๆ ในการตัดสินใจ และแนวทางการแปลอาจปรับเปลี่ยนไปได้ตลอดเวลา เช่น ถ้าผู้แปลไม่สนใจการตลาดอาจส่งผลให้ การเลือกหนงั สือมาแปลไม่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผอู้ ่าน ผู้แปลจึงต้องทาความร้จู กั ผูอ้ า่ น เปน็ ตน้ การแปลในมุมมองที่ต้องคานึงถึงหลักการตลาดนั้นจึงจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ผู้อ่านให้ดี เสียก่อนที่จะเลือกเน้ือเรื่องหรือประเด็นท่ีจะนามาแปล รวมถึงแนวทางการแปลท่ีต้องตอบสนองต่อ ความตอ้ งการของผ้อู า่ นทุกดา้ นดว้ ยเชน่ กัน ทฤษฎีและแนวคิดหลักท่เี กีย่ วข้องกับการแปล ทฤษฎีการแปลและแนวคิดหลักที่เก่ียวข้องกับการแปล หมายถึง แนวคิดหรือหลักการสาคญั ท่ีเป็นรากฐานวา่ การแปลควรเป็นอย่างไรและผ้แู ปลควรจะยดึ ถือหลักการใดในการแปล หากเริ่มต้นจากประวัติความเป็นมาของการแปล จะเห็นได้ว่าในแต่ละยุคสมัยจะมีแนวคิดใน การแปลที่แตกต่างกันออกไปตามความเชื่อของปราชญ์ในแต่ละยุค เพียงแต่แนวคิดดังกล่าวไม่ได้ถูก รวบรวมหรือกาหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร หลักการต่าง ๆ น้ันเกิดข้ึนจากการที่นักแปลใช้ประสบการณ์ ตรงของตนเองในการแปล ทฤษฎีการแปลจึงได้เริ่มมีการรวบรวมขึ้นอย่างเป็นระบบระเบียบในยุคหลัง สงครามโลกครั้งท่ีสอง ซึ่งในช่วงสงครามอาชีพล่ามมีความจาเป็นอย่างมากเพ่ือใช้ในการสื่อสารข้ามภาษา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 21 โดยเฉพาะอย่างย่ิงล่ามแปลแบบทันควัน ท่เี รยี กว่า simultaneous interpretation ในระหว่างยุคสงคราม นั้นล่าม simultaneous interpreter จึงมีข้ึนอย่างแพร่หลาย หลักจากน้ันล่ามและนักแปลทั้งหลายได้มี การรวมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้จากประสบการณ์ เกิดเป็นระเบียบวิธีคิดและก่อให้เกิดองค์ความรู้ที่ เป็นแนวความคิดหรือทฤษฎีการแปลท่ีเป็นมาตรฐานสาหรับวิชาชีพมาจนถึงปัจจุบัน ทฤษฎีและ แนวความคิดดังกล่าวจึงเป็นประโยชน์ต่อผู้แปลเพื่อนามายึดถือและนาไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ โดย แนวคดิ สาหรบั การแปลไดถ้ ูกแบ่งออกเปน็ สองทาง คอื เนน้ ที่ผเู้ ขียนหรือจะเนน้ ท่ผี ู้อ่าน หรือ เนน้ ทส่ี ารต้น ทางหรือสารปลายทาง นั่นเอง นักทฤษฎีการแปลหลายท่านก็มีความเช่ือและยึดหลักการที่แตกต่างกันไป เช่น John Dryden (1680) ท่ียึดหลักการว่า “การแปลต้องปรับไปสู่ภาษาปลายทางเพื่อให้ไม่ให้ภาษา ขัดหู การแปลตรงตัวเหมือนการเต้นราบนเชือกที่ดูไม่สง่างาม ” ในทางตรงข้าม Friedrich Schleiermacher (1992) “ยึดหลักดึงผู้อ่านเข้ามาหาผู้เขียน” อย่างชัดเจนเน่ืองจากมีความเชื่อว่าผู้แปล ตอ้ งซอ่ื สตั ยต์ ่อสารต้นฉบับเป็นต้น ภาพที่ 2.1 ทฤษฏีและแนวคิดทีเ่ กย่ี วข้องกับการแปล ทม่ี า : Friedrich Schleiermacher (1992) ทฤษฎีการแปลจงึ มอี ยู่สองแนวทางและสามารถสรุปได้ตามแนวคิดของ Newmark (1981) คือ เน้นสารต้นทาง หรือสารปลายทาง จะเห็นได้ว่าความเคร่งครัดในการแปลฝั่งที่เน้นสารต้นฉบับจะมี ความเคร่งครัดและยึดตดิ กับสารเดิมมากกว่าฝ่ังท่เี น้นสารปลายทางท่ีการแปลจะมีความยืดหยุ่นไปตาม ภาษาปลายทางมากขน้ึ ซง่ึ ดงั นี้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 22 Gambar Diagram V, ภาพที่ 2.2 ทฤษฏีและแนวคิดทเี่ กี่ยวข้องกับการแปล (Gambar Diagram V) ทีม่ า : Newmark (1988:45) ในบางครั้งหรือในตาราบางเล่ม ทฤษฎีการแปลอาจจะถูกสรุปโดยใช้คาศัพท์เฉพาะท่ีแตกต่าง กันไป แต่ยังคงมี 2 แนวทางเช่นเดิมตามผังภาพที่ปรากฏ แต่ถูกเรียกว่าอีกอย่างว่า การแปลแบบเน้น โครงสร้างเป็นหลัก (form based) หรือ การแปลแบบเน้นความหมายเป็นหลัก (meaning based) การแปลแบบเน้นโครงสร้างแสดงแนวความคิดเก่ียวกับการแปลฝั่งซ้าย และการแปลแบบเน้น ความหมายแสดงแนวความคิดเกี่ยวกับการแปลฝั่งขวา แนวความคิดดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าผู้แปล จะต้องเลือกแนวทางที่เหมาะสมท่ีสุดสาหรับการแปลของตนเพื่อให้การแปลนั้นถูกต้องและเหมาะสม มากที่สดุ อีกทฤษฎีหนึ่งท่ีเก่ียวข้องกับการแปลคือเร่ืองของความเท่าเทียมกันของภาษาหรือ equivalence effect การแปลนอกจากจะยึดหลักที่เก่ียวข้องกับการให้ความสาคัญกับภาษาต้นทาง/ ภาษาปลายทาง มากกว่าแล้ว ยังมีที่กล่างถึงการเน้นโครงสร้างหรือความหมายมากกว่ากัน อย่างไรก็ ตามหัวใจสาคญั คือความเท่าเทยี มกันของความหมายน่ันเอง ท่ีตอ้ งครบตามเจตนารมณ์ของผ้เู ขยี น รูปแบบของการแปล จากหลักการและทฤษฏีหรือแนวคิดหลักท่ีแบ่งการแปลออกเป็นสองทางตามท่ีได้อธิบายไว้ ข้างต้นแล้วนั้น รูปแบบของการแปลจึงถูกแบ่งย่อยออกมาเป็น 8 รูปแบบ (4 แบบแรกเน้น Source Language และ 4 แบบหลังเน้น Target Language) ตามหลักการและทฤษฎีของการแปล โดย สาระสาคญั ของลกั ษณะการแปลในแตล่ ะรปู แบบสามารถอธบิ ายไดด้ ังต่อไปนี้

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 23 1. การแปลคาตอ่ คา (Word –for word translation) การแปลรูปแบบคาต่อคา คือ รูปแบบการแปลท่ีใชว้ ิธกี ารแปลแบบถ่ายทอดภาษาไปทลี ะ คา โดยที่ไวยากรณห์ รือตาแหน่งของคาต่าง ๆ ยงั คงเดมิ สว่ นความหมายของคาจะใชค้ วามหมายท่ัว ๆ ไป และจะถูกแปลไปทีละคา ตรงตัว ไม่มีการปรับ ไม่ยึดติดกับบริบท เน้นโครงสร้างของภาษาเดิม ดังนั้นสารฉบับแปลจะมีลักษณะเป็นสารที่สื่อตรง ๆ ไม่มีความหมายอื่น ๆ แฝงเร้น อาจจะดูแล้วขัด กับภาษาของผู้รับสาร ยากต่อความเข้าใจของผู้อ่านบ้างก็ตาม แต่ผู้แปลเน้นความเป็นภาษาเดิม มากกวา่ ตัวอย่างประโยค การแปลรูปแบบคาต่อคา ตัวอย่างท่ี 1 ต้นฉบบั ภาษาอังกฤษ: A driver/ must/ not/ enter/ an intersection and embarrass another driver. ฉบับแปล ภาษาไทย: ผู้ขับข/ี่ ต้อง/ ไม/่ ข้าม/ทางแยก/และ/ ตัดหนา้ /ผ้ขู บั ขี่อนื่ /อย่างกะทันหัน ตวั อยา่ งที่ 2 ต้นฉบับ ภาษาไทย: ปัญหา/เนือ้ หม/ู แพง/ทาให้/หลายคน/มองหา/ทางเลือก/อื่น ๆ ฉบับแปล ภาษาอังกฤษ: The problem/ of /high pork price/ makes/ many people/ look for/ other/ options. จากประโยคตัวอยา่ งทงั้ สอง จะเหน็ ไดว้ ่าผแู้ ปลแบ่งหนว่ ยคาที่มีความหมายเพ่ือใชใ้ นการแปล จงึ ไม่มีการขยายความ จานวนคาต้องพอดีหรอื ใกลเ้ คียงกับต้นฉบบั ภาษากระชับ 2. การแปลตรงตามอักษร (Literal translation) การแปลตรงตามอักษร คือ รปู แบบการแปลที่ใกล้เคียงกับการแปลคาต่อคา คอื เป็นการแปล ท่ีถ่ายทอดความหมายตรงตามสารต้นฉบับ แต่มีจุดเน้นที่แตกต่างกันกับการแปลคาต่อคาตรงที่การ แปลตรงตามตัวอักษรจะเน้นการใช้โครงสร้างของภาษาปลายทางท่ีใกล้เคียงเมื่อเทียบกับภาษาต้นทาง (Equivalent) คาต่าง ๆ จะให้ความหมายโดยท่ัวไปโดยไม่ยึดติดกับบริบท การแปลรูปแบบน้ีส่วนใหญ่ เปน็ การแปลทใี่ ช้ในรอบแรก ๆ ท่ไี มต่ อ้ งการความซับซ้อนหรือประณีตของการใช้ภาษา

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 24 ตัวอย่างประโยค การแปลรปู แบบตรงตามอกั ษร ตัวอยา่ งท่ี 1 ตน้ ฉบับ ภาษาองั กฤษ: The gulf of Thailand/ has many fisheries. ฉบับแปล ภาษาไทย: อ่าวไทย มีการทาประมงมากมาย (อ่าวของประเทศไทย และอ่าวไทย มี ความหมายเดยี วกนั ) จากประโยคตัวอย่างท่ี 1 โครงสร้างเดิมมี The gulf of Thailand เป็นประธาน และมี has many fisheries เป็นภาคแสดงของประโยค เมอ่ื แปลออกมาเป็นภาษาไทยแล้ว ตาแหน่งของท้ังภาค ประธานและภาคแสดงยังคงเดิมตามหลักภาษาไทย ท้ังสองภาษาไปด้วยกันได้ หน่วยของความหมาย ทจ่ี ะแปลจะแยกออกเปน็ สองส่วน คอื อา่ วไทย และ มีการทาประมงมากมาย ตัวอยา่ งที่ 2 ตน้ ฉบบั ภาษาไทย: เรา/ทนทกุ ขท์ รมาน/กันมามากแลว้ ฉบับแปล ภาษาอังกฤษ: We/ have been suffering/ for long time. จากประโยคตัวอย่างที่ 2 จะเห็นได้ว่าผู้แปลพยายามเทียบเคียงโครงสร้างประโยคภาษาไทย ตน้ ฉบับที่ประกอบดว้ ย ประธาน กรยิ า และกรยิ าวิเศษณ์ กับภาษาอังกฤษ ซึ่งต้องมีการปรับกรยิ าโดย ใส่ tense ให้เป็นไปตามหลักของภาษาอังกฤษ ในกรณีน้ีเป็น present perfect continuous tense (ซ่ึงในภาษาไทยไม่จาเป็น) หลังจากน้ันแปลตามความหมายตรง ๆ ตามที่ปรากฏในประโยคจาก ภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษโดยเทียบเคยี งใหเ้ ทา่ เทยี มกนั โดยไม่คานึงถงึ บรบิ ทในประโยค 3. การแปลตรงตามตน้ ฉบบั (Faithful Translation) การแปลแบบตรงตามต้นฉบับ คือ รปู แบบการแปลที่พยายามคงไว้ให้ตรงกบั ส่ิงท่ีมีอยู่เดิม มากท่ีสุด บางครงั้ การแปลรปู แบบนถ้ี ูกเรียกวา่ การแปลแบบซ่ือตรงต่อตน้ ฉบับ คอื ผู้แปลจะรกั ษาสาร ตน้ ฉบับทต่ี อ้ งการจะสื่อใหม้ ากท่สี ุดเท่าท่ีโครงสร้างทางไวยากรณ์ของภาษาปลายทางจะเอ้ืออานวยให้ และในขณะเดยี วกนั ผู้แปลจะต้องพิจารณาบริบทรอบขา้ งเพ่ือช่วยใหเ้ ข้าใจถึงเจตนารมณ์ทแี่ ท้จริงของ ผู้เขียน การแปลนี้จึงเป็นเสมือนการส่งสารตามที่คนเขียนต้องการ “faithful to the intension of the author” หรือการท่ีผู้แปลผลิตซ้าคาที่ผู้เขียนต้องการส่งสารในบริบทที่ผู้เขียนต้องการจะส่ือ “trying to say what you want to say” โดยไม่มีการแต่งเติมสารและส่งสารตรงตามความหมายท่ี รับมา “Precise textual meaning and you have to understand what the author wants to

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 25 say” คาที่เก่ียวข้องกับวัฒนธรรมไม่มีการปรับ ใช้วัฒนธรรมของต้นฉบับเป็นเกณฑ์ การแปลภาษา รปู แบบน้จี ึงยงั ไม่เปน็ ธรรมชาติ ตัวอยา่ งประโยค การแปลรปู แบบตรงตามตน้ ฉบับ ตัวอยา่ งท่ี 1 ต้นฉบบั ภาษาอังกฤษ: He is as fat as a kangaroo. ฉบบั แปล ภาษาไทย: เขาอ้วนอย่างกับจงิ โจ้ ผ้แู ปลพยายามรกั ษาโครงสร้างของภาษา คา และความหมายเดมิ ของผู้เขียนไวใ้ ห้ได้มากท่ีสุด ผู้อ่านคนไทยอาจจะงงเนื่องจากคนไทยเวลาพูดถึงอ้วนเราจะเปรียบเทียบกับหมูแทน แต่ผู้แปล ตอ้ งการใหผ้ ู้อ่านไดร้ บั ขอ้ ความและวฒั นธรรมของภาษาตน้ ทาง ตัวอยา่ งท่ี 2 ต้นฉบับ ภาษาไทย: ชาวพทุ ธควรทาบุญตอนเช้า ฉบบั แปล ภาษาองั กฤษ: Buddhists should make merit in the morning. ผู้อ่านที่อ่านภาษาอังกฤษอาจไม่เข้าใจว่าทาบุญคืออะไร merit ในความหมายของ ภาษาอังกฤษอาจจะหมายถึงคุณงามความดี แต่ผู้แปลต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจบริบทของประโยคที่ ต้องการจะส่ือถึงการทาบุญท่ีมีวัฒนธรรมของชาวพุทธเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยไม่ได้สนใจว่าผู้อ่านจะ เขา้ ใจจรงิ ๆ หรอื ไม่ ท้งั สองตัวอย่างแสดงให้เห็นว่าการแปลแบบตรงตวั นน้ั พยายามดงึ ผู้อ่านไปหาผู้เขียนเป็นหลัก ท้ังโครงสร้างภาษาและคาท่ีใช้พยายามไม่ดัดแปลง 4. การแปลเชิงอรรถศาสตร์ (Semantic Translation) การแปลเชิงอรรถศาสตร์ เป็นการแปลที่เน้นความสละสลวยของภาษาต้นทาง แต่ผู้อ่าน ภาษาปลายทางจะยังคงรู้สึกขัดหูและไม่เป็นธรรมชาติ เนื่องจากยังคงยึดติดกับโครงสร้างและ ความหมายเดิมของภาษาต้นฉบับไว้ ลกั ษณะของภาษาตน้ ฉบับท่ีใช้แปลมักจะเป็นภาษาที่มีบริบทของ ภาษาต้นทางท่ีอาจจะสะท้อนพลัง ความรู้สึก และความงดงามของภาษา ภายใต้ความหมายในบรบิ ท เฉพาะที่ต้องการแสดงออกทางความรู้สึกมากกว่าภาษาท่ัว ๆ ไป ภาษาท่ีแปลอาจจะดูเยิ่นเย้อไม่ กระชับ แต่เน้นให้สื่อออกมาโดยมีอารมณ์ ความคิด ความรู้สึก สอดแทรกอยู่ การแปลรูปแบบนี้ไม่ใช่ เพียงแต่ต้องแปลให้ถูกต้องตามความหมายของสารต้นฉบับทั่วไปเท่าน้ัน แต่ต้องแสดงพลังและความ สวยงามของภาษาต้นฉบับไว้อีกดว้ ย

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 26 ตวั อย่างประโยค การแปลรูปแบบเชงิ อรรถศาสตร์ ตัวอย่างท่ี 1 ต้นฉบบั ภาษาองั กฤษ: Love is eternal and will not fade away. ฉบบั แปล ภาษาไทย: ความรกั น้ันไม่มที ี่สิน้ สดุ และไม่มีจางหายไป. จากตัวอย่างที่ 1 จะเห็นว่าผู้เขียนในภาษาต้นฉบับเขียนข้อความนี้ส้ัน ๆ แต่สื่อความหมาย ลึกซึ้งกินใจ ผู้แปลเป็นภาษาไทยต้องพยายามหาคาเทียบเคียงในโครงสร้างท่ีใกล้เคียงกันและท่ี สามารถส่ือและสะท้อนอารมณ์ได้เท่าเทียมกับของต้นฉบับอีกด้วย บางครั้งอาจฟังขัดหูไปบ้าง แต่ไม่ สามารถปรับใหป้ ระโยคฟงั รนื่ หูกวา่ นี้ในภาษาไทยได้ เพราะผู้แปลยงั คงตอ้ งยึดภาษาเป็นต้นฉบับไว้เป็นหลัก ตัวอย่างท่ี 2 ต้นฉบับ ภาษาไทย: ส่ิงทีม่ ันผา่ นมาแล้วกใ็ ห้มันแลว้ กันไป ฉบับแปล ภาษาอังกฤษ: let’s the past be the past. จากตัวอย่างที่ 2 จะเห็นได้ว่าคาพูดที่ภาษาต้นทางใช้นั้นสละสลวย เต็มไปด้วย สาบัดสานวน การจะแปลเป็นภาษาอังกฤษน้ัน ผู้แปลจาเป็นต้องถ่ายทอดออกมาให้เท่าเทียมกับ ประโยคเดิมคือ let’s the past be the past ซึ่งจะไม่มีการปรับเพิ่มเติมใด ๆ จริง ๆ ประโยคนี้คือ สานวน let’s bygones be bygones. น่ันเอง แต่ว่าผู้แปลไม่สามารถปรับอะไรได้มากกว่าน้ี ทาได้เพียงดึง ความหมายที่แทจ้ รงิ มาใสบ่ ริบทอารมณ์ของตน้ ฉบบั แลว้ ถา่ ยทอดออกมาเป็นภาษาฉบับแปลเท่านนั้ 5. การแปลแบบดัดแปลง (Adaptation translation) การแปลแบบดัดแปลงเป็นการแปลแบบท่ีอิสระมากที่สุด หมายความว่ามีการปรับ ภาษาต้นฉบับมากท่ีสดุ ท้ังในแง่ของความหมายและโครงสร้าง เน้นผู้รับสารเปน็ หลัก การแปลรูปแบบ นี้มักจะปรากฏใน การแปลบทละครหรือบทกวี เน้นบริบททางวัฒนธรรมของภาษาปลายทาง จะ ยึดถือไว้แค่โครงเรื่อง เน้ือหา และตัวละคร การปรับภาษานั้นเพื่อต้องการให้ผู้อ่านเข้าถึงอารมณ์ของ บทละครหรือบทกวีน้ันมากสุดในมุมของผู้อ่าน องค์ประกอบของการแปลจึงต้องปรับให้เข้ากับกับ ผอู้ ่านเป็นหลัก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 27 ตวั อย่างประโยค การแปลแบบดดั แปลง ตัวอยา่ งท่ี 1 ตน้ ฉบับ ภาษาองั กฤษ: “Give my best to you mom.” ฉบับแปล ภาษาไทย: “ฝากความคดิ ถงึ ถงึ แมเ่ ธอดว้ ยนะ” จากตัวอย่างท่ี 1 จะเหน็ วา่ ผู้เขยี นใช้คาวา่ Give my best to....ซ่ึงเม่ือแปลเปน็ ภาษาไทยแล้ว คานึงถึงวัฒนธรรมไทยเราจะใช้คาว่า ฝากความคิดถึง/ฝากสวัสดี ในบริบทน้ี = adaptation translation ถ้าแปลตรงตัวจะกลายเป็นฝากส่ิงท่ดี ีท่สี ดุ ถึง ซ่ึงผู้อ่านสารอาจไมเ่ ขา้ ใจว่าหมายถึงอะไร) ตวั อยา่ งที่ 2 ต้นฉบบั ภาษาไทย: “จู่ ๆ ก็มา อะไรเน่ีย” ฉบับแปล ภาษาองั กฤษ:. “Hey! What brings you around here.” จากตัวอย่างที่ 2 จะเห็นได้ว่าคาพูดในภาษาต้นฉบับนั้นต้องการจะสื่อว่าคู่สนทนามาได้ อย่างไรเพราะไม่ได้คาดหมายว่าคู่สนทนาจะมา การแปลจึงต้องปรับเข้าสู่วัฒนธรรมของภาษา ปลายทาง ซึ่งเมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษจะได้ประโยคว่า What brings you around here? เป็น ประโยคภาษาอังกฤษที่ได้ความหมายและสื่ออารมณ์ความประหลาดใจ และเจ้าของภาษาก็ใช้ ประโยคน้ีเป็นธรรมชาติในรูปแบบของภาษาปลายทางน่ันเอง 6. การแปลแบบเอาความ (Free translation) การแปลแบบเอาความเป็นการแปลท่ีใช้ภาษาเป้าหมายในการอธิบายความหมายของ ภาษาต้นฉบับ โดยไม่สนใจรูปแบบหรือลักษณะโครงสร้างของภาษาต้นฉบับ ผู้แปลจะใช้ภาษา ปลายทางเรยี บเรยี งคาใหมอ่ ีกครัง้ หลังจากตคี วามจากต้นฉบบั แล้ว กล่าวอีกนยั หน่ึงคือ เปน็ การแปลที่ ไม่ไดเ้ น้นโครงสรา้ งเดิม เนน้ เพียงสาระของความหมายของภาษาตน้ ฉบับเท่าน้ัน มีการเรยี บเรยี งคาขึ้น ใหม่โดยอาจจะสลับกับตาแหน่งของคาเดิม และมีการปรับคา เติม หรือตัดคาบางคาออก เพื่อทาให้ เกิดความหมายที่เหมาะสมกับภาษาปลายทาง ผู้อ่านอ่านแล้วจะรู้สึกเป็นธรรมชาติเหมือนไม่ได้อ่าน งานแปล การเรียบเรียงประโยคแปลใหม่บางทีอาจะยาวกวา่ ต้นฉบับเพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมชาติ ท่ี เรียกว่า “intralingual translation” กล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ผู้แปลยึดความหมายที่ผู้เขียนสารต้นฉบับ มาสง่ ตอ่ โดยใชภ้ าษาปลายทางเปน็ ตวั กาหนดเพ่ือให้สารเกิดความเป็นธรรมชาตินน่ั เอง อย่างไรก็ตามการแปลลักษณะนี้มีข้อจากัดอยู่ตรงท่ีว่าหากผู้แปลตีความความหมายของสาร ต้นฉบับผิด จะส่งผลให้ผู้อ่านก็เข้าใจผิดตามไปด้วย ดังนั้นความถูกต้องของสารจะขึ้นอยู่กับผู้ แปลเปน็ หลกั บทแปลท่เี ป็นลกั ษณะยึดผอู้ ่านเป็นหลักจะมีความยดื หยุน่ สูงกวา่ บทแปลแบบอ่ืน ๆ มาก

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 28 ตวั อย่างประโยค การแปลรปู แบบเอาความ ตัวอยา่ งที่ 1 ตน้ ฉบับ ภาษาอังกฤษ: You can do it for sure. ฉบับแปล ภาษาไทย: คุณตอ้ งทาไดแ้ น่นอน. จากตวั อยา่ งท่ี 1 จะเหน็ วา่ ผ้เู ขยี นตคี วามประโยค “you can do it for sure.” ได้ว่าเป็นการ ให้กาลังใจผู้ฟังว่าต้องทาในส่ิงท่ีจะต้องทาได้แน่นอน เมื่อแปลเป็นไทยแล้วผู้แปลจึงใช้คาว่า คุณต้อง ทาได้แน่นอน ซ่ึงถ้าแปลกลับไปเป็นภาษาอังกฤษอีกครั้งจะเห็นว่าแปลตรงตัวได้ว่า You must be able to do it. ซ่งึ ฟังแล้วไมเ่ ขา้ เปน็ ธรรมชาตขิ องภาษาอังกฤษ ตวั อยา่ งท่ี 2 ตน้ ฉบับ ภาษาไทย: \"ไม่เป็นฉันไม่ร้หู รอก\" ฉบับแปล ภาษาองั กฤษ: Nobody knows but me. จากตัวอย่างที่ 2 จะเห็นได้ว่าผู้แปลใช้วิธีการตีความว่าผู้เขียนต้นฉบับต้องการส่ืออะไรใน ประโยคนี้ ผู้เขียนต้องการสื่อว่าจะไม่มีใครเข้าใจสิ่งที่เกิดได้นอกจากตัวฉันเอง เพราะไม่มีใครจะ เข้าถึงปัญหาที่เกิดขึ้นดีเท่ากับตัวของฉันเอง นั่นเอง ดังนั้น ประโยค “Nobody knows but me” ถ้าแปลกลับเป็นภาษาไทยอีกครั้งจะเหน็ ว่าโครงสร้างคาและคาที่ใช้ไม่ตรงตามตน้ ฉบบั คือแปลว่า “ไม่ มีใครรู้นอกจากฉัน” ซ่ึงถ้าแปลตรงตัวแล้วจะกลายเป็นว่ามีเขาคนเดียวที่รู้คนอ่ืน ๆ ไม่รู้ ความหมาย อาจจะคลาดเคลอ่ื นไปได้ 7. การแปลแบบสานวน (Idiomatic Translation) การแปลแบบสานวนเป็นการแปลท่ีผู้แปลมีจุดประสงค์ที่จะแปลภาษาต้นฉบับให้เป็น สานวนของภาษาปลายทางแทน เพ่ือให้เกิดความเรียบงา่ ยและเป็นธรรมชาติของภาษาปลายทาง เน้น การแปลออกมาเป็นสานวน ดังน้ันผู้แปลจึงต้องพยายามเปรียบเทียบความหมายของภาษาต้นฉบับ แล้วนามาถ่ายทอดเป็นสานวนของภาษาปลายทาง กระบวนการเริ่มจากการถอดความจากต้นฉบับ หลักจากน้ันหาสานวนในภาษาปลายทางมาเทียบ อาจบิดเบือนความหมายไปบ้างเนื่องจากวลีหรือ สานวนอาจจะไม่มีในภาษาปลายทางก็เป็นได้ แต่ผู้แปลอาจจะเลือกสานวนที่ใกล้เคียงกันมากที่สุดมา ใชใ้ นการแปล

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 29 ตัวอยา่ งประโยค การแปลรปู แบบสานวน ตัวอย่างที่ 1 ต้นฉบับ ภาษาอังกฤษ: You are the apple of my eye. ฉบบั แปล ภาษาไทย: เธอเป็นแก้วตาดวงใจของฉนั . จากตัวอย่างท่ี 1 จะเห็นว่าประโยคต้นฉบับส่ือความหมายว่าคุณคือคนที่ฉันรักและหวงแหน มากที่สุด เม่ือนามาเทียบกับสานวนในภาษาไทยแล้ว สานวนที่ใกล้เคียงที่สุด คือ แก้วตาดวงใจ ซึ่งมี ความหมายเทียบเคียงกันได้ ตวั อย่างที่ 2 ตน้ ฉบบั ภาษาไทย: \"นีห่ ลอกกนั เลน่ ใช่ไหมเนี่ย\" ฉบับแปล ภาษาองั กฤษ: Are you kidding?. จากตัวอย่างที่ 2 จะเห็นได้ว่าในประโยคต้นฉบับภาษาไทยสื่อความหมายของคาถามว่า ล้อเล่นกันใช่หรือไม่ เมื่อนามาถ่ายทอดเป็นสานวนภาษาอังกฤษจะได้ประโยคว่า Are you kidding? ซึ่งเจ้าของภาษาอังกฤษนิยมใช้กันเป็นปกติ 8. การแปลเชิงส่ือสาร (Communicative Translation) การแปลเชิงส่อื สารน้นั เป็นรูปแบบการแปลที่เน้นผู้อ่านภาษาปลายเป็นหลัก เน้นให้ผู้อา่ น เข้าใจสารท่ีแปลตามโครงสร้างและความหมายในบริบทของภาษาต้นฉบับ การแปลจะพิจารณาจาก ความเข้าใจว่าผู้อ่านภาษาปลายทางจะยอมรับส่ิงท่ีแปลได้ไหมหรอื เขา้ ใจไหม ภาษาที่ใชแ้ ปลปลายทาง จึงเปน็ ภาษาทงี่ า่ ย ๆ ตรงไปตรงมา ไม่ซบั ซอ้ น ในขณะเดยี วกันก็ยงั คงอยูใ่ นกรอบของความหมายและ โครงสรา้ งของภาษาเดมิ ตัวอยา่ งประโยค การแปลรปู แบบการสอื่ สาร ตวั อยา่ งที่ 1 ตน้ ฉบับ ภาษาอังกฤษ: I would like to get a cup of coffee ฉบับแปล ภาษาไทย: ขอกาแฟสกั แก้วหน่งึ จากตัวอย่างที่ 1 สารต้นฉบับส่ือความหมายว่าผู้พูดต้องการกาแฟสักแก้ว เมื่อผู้แปลเข้าใจ ความหมายดีแล้ว จะมาดูโครงสร้างประโยคของภาษาต้นทาง จะเห็นว่าประโยคตัวอย่างเป็นประโยค ขอร้อง แต่ถ้าดูผิวเผินอาจจะเป็นโครงสร้างประโยคบอกเล่า แต่เมื่อตีความตามบริบทแล้วประโยคน้ี

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 30 เปน็ ประโยคขอรอ้ ง เม่ือผแู้ ปลตอ้ งทาการแปลเป็นภาษาไทยจึงต้องเลือกโครงสร้างของประโยคขอร้อง มาเทยี บเคยี งเชน่ กนั เพื่อใหก้ ารสือ่ สารความหมายของประโยคชดั เจนขึ้น ตัวอยา่ งท่ี 2 ต้นฉบบั ภาษาไทย: \"อย่าไปใส่ใจกับส่งิ ที่ไรส้ าระเลย\" ฉบับแปล ภาษาองั กฤษ: Don’ t worry about such the non-sense stuffs. จากตัวอย่างที่ 2 จะเห็นได้ว่าในประโยคต้นฉบับภาษาไทยสื่อความหมายในลักษณะของ คาแนะนาว่าไม่ต้องไปกังวลหรือคิดมากเกี่ยวกับเรื่องที่ไม่เกิดประโยชน์ โครงสร้างประโยคเป็น ลักษณะคาสั่งหรือคาแนะนา เม่ือผู้แปลต้องแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษจึงต้องสื่อสารให้ได้ ความหมายดังกล่าวและเก็บรักษาโครงสร้างเดิมไว้ การถ่ายทอดของผู้แปลเน้นให้ผู้อ่านภาษาทาง ปลายเข้าใจมากท่ีสุดตามกรอบท่ีได้มาจากภาษาต้นฉบับ การแปลเชิงส่ือสาร เป็นการแปลท่ีเนั้นผลท่ีเกิดข้ึนกับผู้อ่านมากกว่า เน้ือหาของต้นฉบับ กล่าวคือ ผู้แปลพยายามให้ผู้อ่านฉบับแปลมีความรู้สึก มีปฏิกริยาเช่นเดียวกับผู้อ่านต้นฉบับ ผู้แปลจึง เลือกใช้คาและโคงสร้างของภาษาฉบับปลายทางและสามารถที่จะปรับเน้ือหาเพ่ือให้ผู้อ่านฉบับแปล เข้าใจเนื้อหาได้ ใช้ภาษาง่ายกว่า ตรงและชัดเจนกว่า และมีการปรับเน้ือหาให้เข้ากับวัฒนธรรมของ ภาษาฉบบั แปลอยา่ งไรกต็ าม แบบฝกึ หัด 1 : จงประโยคดา้ นล่างจากภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทย 1. When you cross the road, you need to watch out carefully. 2. When you come, bring a friend. 3. I would love to hear from you when you are ready. 4. If you think it’s good, go ahead. 5. Life is like a roller coaster. 6. The plants in my house are growing a lot. แบบฝกึ หดั 2 : จงประโยคด้านลา่ งจากภาษาภาษาไทยเป็นองั กฤษ 1. เอาเถอะ เดี๋ยวทุกอย่างก็จะดีขนึ้ เอง 2. กระบวนการสังเคราะห์แสงเป็นกระบวนการทางธรรมชาติอย่างหนึง่ 3. จะขา้ มถนน ชว่ ยดตู ามา้ ตาเรือดี ๆนะ 4. ขอบคุณจากใจ ที่ทาใหฉ้ ันได้มีวนั นี้ 5. ทาวนั น้ีใหด้ ที ่สี ุด

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 31 บทสรปุ การแปลมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับศาสตร์หลายศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นภาษาศาสตร์ ศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร ศาสตร์ทางด้านปรัชญา และมานุษยวิทยา เป็นต้น เน่ืองจากการแปลเป็น เรื่องของความหมายและการตีความเพ่ือถ่ายทอดสารจากภาษาหนึ่งไปสู่อีกภาษาหนึ่ง จึงมี องคป์ ระกอบท่เี ก่ยี วข้องทง้ั ตัวสาร ผูส้ ง่ สาร และผู้รับสาร และบริบทต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องการความหมาย การแปลจงึ นบั เปน็ สหวิทยาการอยา่ งหนง่ึ ทีผ่ แู้ ปลนน้ั ต้องบรู ณาการความรูเ้ พ่ือนามาประยุกต์ใช้ในการ แปล แนวคิดหลักหรือทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการแปลน้ันประกอบไปด้วยสองแนวทาง คือการแปล โดยเน้นภาษาต้นทาง (Source Language Focused) หรือการแปลที่เน้นภาษาปลายทาง (Target Language Focused) บางหลักการอาจเรียกสองแนวทางน้ีว่า การแปลท่ีเน้นรูปแบบหรือโครงสร้าง (Form-based translation) กับการแปลท่ีเน้นความหมาย (Meaning-based translation) โดยการ แปลทุกรูปแบบต้องมีการเทียบเคียงเพ่ือให้ความหมายหรือวัตถุประสงค์ของการส่งสารเป็นไปอย่าง เท่าเทยี มกันของทงั้ สองภาษา จึงมาหลักการความเท่าเทยี ม (equivalence) เกดิ ข้ึนในการแปล รูปแบบการแปลมีความหลากหลายตามแนวทางหลักของการแปลซ่ึงมีอยู่ 2 แนวทาง คือ การ แปลโดยเน้นภาษาต้นทาง และ การแปลโดยเน้นภาษาปลายทาง องค์ประกอบในการพิจารณารูปแบบ การแปลนั้นจะข้ึนอยู่กับลักษณะของการถ่ายทอดความหมาย โครงสร้างของภาษาต้นทางและภาษา ปลายทาง รวมถึงบริบทของภาษาต้นทางและภาษาปลายทาง ผู้แปลจะตัดสินใจเลือกว่าการแปล รูปแบบใดที่เหมาะสมท่ีสุด เช่น การแปลแบบคาต่อคา การแปลแบบตรงตามตัวอักษร การแปลแบบ เอาความ เป็นต้น ทง้ั นี้ทง้ั น้ัน เม่อื ผ้แู ปลนารปู แบบการแปลไปประยุกต์ใชก้ ็สามารถท่ีจะใช้หลากหลาย รปู แบบไดต้ ามความเหมาะสมของสารท่ปี รากฏในต้นฉบบั คาถามทบทวน 1.ศาสตร์อ่ืน ๆ มีความสัมพนั ธ์เกี่ยวข้องกับการแปลกับการแปลอย่างไร (เลือกอธิบาย 2 ศาสตร์) 2.แนวคดิ หลกั และทฤษฎขี องการแปลมอี ะไรบ้าง และมรี ายละเอยี ดอยา่ งไร 3.รปู แบบของการแปลมีกี่ประเภท และมลี ักษณะสาคญั อยา่ งไร พร้อมยกตวั อยา่ ง 4.รปู แบบการแปลใดที่นักศึกษาคิดวา่ เหมาะสมกับการแปลสาหรับนักศึกษา เพราะเหตใุ ด

32 เอกสารอ้างอิง เจือ สตะเวทนิ . (2518). การใชภ้ าษาระดับปริญญา. กรงุ เทพฯ: สทุ ธิสารการพิมพ.์ เปล้ือง ณ นคร. (2541). คาบรรยายวิชาการประพันธ์และหนังสือพิมพ์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. Dryden, J. (1680. Metaphrase, paraphrase and imitation. Extracts of Preface to Ovid’s Epistles in R. Schulte and J. Biguenet (eds) (1992), pp. 17-31. Newmark, P. (1988). A textbook of translation. Prentice Hall. New York มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 33 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 เนื้อหาประจาบท สาระสาคญั ของเนื้อหาประจาบทท่ี 3 มดี งั ต่อไปนี้ 1. กระบวนการแปล 1.1 ขั้นท่ี 1 การศึกษาต้นฉบับหรอื วเิ คราะห์สาร 1.2 ขั้นท่ี 2 การถ่ายทอดความหมายของผูเ้ ขียนไปสผู่ อู้ ่าน 1.3 ขั้นที่ 3 การทดสอบงานแปล 2. กลวธิ หี รือเทคนคิ การแปล 2.1 การแทนท่ี (substitution) 2.2 การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประโยค (transposition) 2.3 การเปลี่ยนแปลงในดา้ นการใช้คาศัพท์ (modulation) 2.4 การใชค้ าท่ีมีความหมายกวา้ งกวา่ (using a broader word) 2.5 การใชค้ าที่มคี วามหมายท่วั ๆ ไป (using a more general word) 2.6 การใชค้ าแทนที่จากวัฒนธรรมปลายทาง (using cultural substitution) 2.7 การใชค้ ายืมหรือคาทบั ศัพท์ (using a loan word) 2.8 การถอดความหมายโดยเนน้ สารตน้ ฉบบั (paraphrasing using a related word) 2.9 การถอดความหมายโดยไม่เนน้ สารต้นฉบับ (paraphrasing using unrelated words) 2.10 การละหรือตดั คา (omission) 2.11 การใช้ภาพสื่อแทนคา (Illustration) 2.12 การเตมิ (addition) 2.13 การขยายความ (amplification) 2.14 การปรบั (adaptation) 3. รปู แบบของสารตามหน้าทีท่ างภาษา 3.1 สารทีแ่ สดงออกทางความคิด ความรสู้ ึก และจติ นาการ (expressive function) 3.2 สารเพื่อการถา่ ยทอดข้อเทจ็ จรงิ (informative function) 3.3 สารทม่ี ีผลตอ่ การกระทาของผู้อ่าน (vocative function) 3.4 สารเพือ่ แสดงความสวยงามของธรรมชาติ (aesthetic function) 3.5 สารทแ่ี สดงความเป็นมิตร (phatic function) 3.6 สารทสี่ ะท้อนองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของภาษา (metalingual function)

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 34 วัตถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. เพ่อื ให้ผ้เู รียนสามารถประยกุ ต์ใชก้ ระบวนการแปลได้อย่างถกู ต้อง 2. เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถประยกุ ต์ใชก้ ลวิธีการแปลไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3. เพื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถวเิ คราะห์แยกรูปแบบของสารตามหนา้ ทที่ างภาษาได้อย่างถกู ต้อง 4. เพ่ือให้ผเู้ รียนสามารถประยุกตใ์ ชร้ ปู แบบของสารตามหนา้ ท่ที างภาษาในการแปลได้อยา่ งถกู ต้อง วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาบท 1. วธิ สี อนในบทนผ้ี ้สู อนจะใช้วธิ สี อน 3 แบบผสมผสานกนั คอื 1.1 การสอนแบบบรรยาย 1.2 การสอนแบบอภปิ ราย 1.3 การสอนแบบรว่ มมอื (cooperative learning) 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 ผู้สอนบรรยายและอภปิ รายรายละเอียดร่วมกับผเู้ รียนในช้ันเรียนเกี่ยวกับกระบวนการแปล กลวิธีหรือเทคนิคการแปล และ รูปแบบของสารตามหน้าท่ีทางภาษา โดยเน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสลง มือปฏิบัติ ด้วยการทดลองแปลในกลุ่ม ความรู้เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่มและใน ห้องเรียน ผูส้ อนคอยเปน็ ทปี่ รึกษา 2.2 ผู้เรียนฝึกหัดทาแบบฝึกประกอบบทเรียน (เน้นทากิจกรรมเป็นกลุ่ม และแลกเปลี่ยน ความรภู้ ายในกลุม่ ) 2.3 ผู้เรยี นคน้ ควา้ เพิม่ เตมิ จากหัวขอ้ เรือ่ งท่ีเรียน (เน้นทากิจกรรมเป็นกลุ่ม และแลกเปล่ียน ความรู้ภายในกล่มุ ) 2.4 ผู้เรียนจัดทาสาระสังเขปของเน้ือหาในบทเรียนและนาเสนอหน้าห้องเรียน (เน้นทา กิจกรรมเปน็ กลุ่ม และแลกเปลีย่ นความร้ใู นหอ้ งเรียน) ส่อื การเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการแปล 1 2. PowerPoint 3. LCD Projector 4. Notebook

35 การวัดผลและประเมนิ ผล 1. สังเกตจากการตอบคาถาม 2. สงั เกตจากการร่วมอภปิ รายกลุ่ม 3. สังเกตจากการรว่ มกจิ กรรมและปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งผ้เู รยี นด้วยกนั หรอื กบั ผ้สู อน 4. ตรวจผลงานการตอบคาถามทา้ ยบท 5. ตรวจผลงานการทาสาระสังเขปสรปุ บทเรยี น มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 36 บทท่ี 3 กระบวนการแปล กลวธิ กี ารแปล รปู แบบของสารตามหนา้ ทีท่ างภาษา กระบวนการ กระบวนการแปล หมายถึง ขั้นตอนหรือกระบวนการที่ผู้แปลใช้ในการดาเนินการแปลตั้งแต่ เร่ิมต้นจนจบกระบวนการหรือจนกระทั่งได้ผลงานแปลท่ีสมบูรณ์ วงจรของกระบวนการแปลจะเริ่ม ตั้งแต่ การรับสารต้นฉบับโดยผู้แปลที่เป็นส่ือกลาง ไปจนกระท่ังถึงขั้นตอนการที่สารน้ันถูกส่งไปยัง ผู้รับสารปลายทาง กระบวนการดังกล่าวประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถสรุปเป็น ขั้นตอนตามแนวทางที่ สัญฉวี สายบัว (2538) สุมน อริยปิติพันธ์ (2548) และ ทิพา เทพอัครพงศ์ (2542) ไดใ้ หไ้ ว้และผู้จัดทาเอกสารได้นามาสรุปเปน็ ขน้ั ตอนอีกครัง้ ได้ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 การศึกษาตน้ ฉบับหรือวิเคราะหส์ าร คอื ขั้นตอนการจับสารทัง้ หมดทผ่ี ูเ้ ขียนแสดงไว้ ในสารต้นฉบับที่รวมทุกองค์ประกอบทั้งเน้ือหา ความคิด ความหมาย จุดมุ่งหมายของผู้เขียน บรรยากาศหรือบริบทของเนื้อหา และอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ซ่ึงหมายถึงการวิเคราะห์สาร มี 2 ระดับดังนี้ 1. การวิเคราะห์ความหมายทางไวยากรณ์ คือ การพิจารณาโครงสร้างและ ความสมั พันธข์ องคาหรือวลีที่ถูกเรยี บเรียงขนึ้ เปน็ อนปุ ระโยค ประโยค หรืออนุเฉท 1.1 การเรยี งคาเพื่อวเิ คราะห์ความหมายท่ีอย่ใู นภาคประธานและภาคแสดงใน แต่ละประโยควา่ ผ้เู ขียนตอ้ งการแสดงความหมายใด (ไนดา, 1974) ทีละประโยค 1.2 การใช้ตวั เช่ือมระดบั คาและประโยคเพ่อื วิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ระหวา่ ง ประโยคเพื่อเชอ่ื มโยงความหมายในประโยคไปในทศิ ทางที่ผู้เขยี นกาหนด 2. การวิเคราะห์ความหมายของคาหรือสานวน โดยมีท้ังความหมายนัยตรง (denotative meaning) และ ความหมายนยั ประหวดั หรือความหมายแฝง (connotative meaning) 3. การวิเคราะห์ความหมายจากบริบทแวดล้อม โดยวิเคราะห์องค์ประกอบทาง ภาษา สังคมและวัฒนธรรมอ่ืน ๆ ท่เี กยี่ วข้องทงั้ หมด การวิเคราะห์หมายสามารถนามาถอดความหมายเป็นประโยคพื้นฐาน (kernel sentence) ออกมาได้หากประโยคที่จะแปลน้ันมีหลายใจความซ้อนอยู่ ผู้แปลจาเป็นต้องทาการแยกประโยค เหล่านน้ั ออกมาเพ่ือพิจารณาความหมายให้ครบถ้วน ข้นั ตอนน้ีจะชว่ ยให้ผู้แปลเข้าใจความหมายของสาร อย่างครบถว้ น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 37 จากท่ีได้กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่าผู้แปลน้ันต้องมีความรู้หลากหลายด้าน เช่น ด้าน ภาษาและความหมาย (Linguistic knowledge ) ศาสตร์เฉพาะทาง (Technical knowledge on specific areas) ด้านวัฒนธรรม (Cultural knowledge) ด้านภาษาศาสตร์สังคม (Sociolinguistics) และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จึงจะสามารถเข้าใจสารในต้นฉบับได้ เนื่องจากการแปลไม่ได้เป็นแค่เพียงการ ถ่ายทอดภาษา แต่เป็นการถ่ายทอดความหมาย ในข้ันตอนของการศึกษาต้นฉบับน้ีผู้แปลจึงต้อง พยายามตีความและจับสารของต้นฉบบั เพ่ือรับมาเป็นของผู้แปลตามองค์ประกอบต่าง ๆ ขั้นตอนน้ีจงึ สาคัญมากต่อความถูกต้องของการแปล ผู้แปลจึงต้องพยายามอ่านและหาข้อมูลเก่ียวกับเรื่องที่จะ แปลมาให้รอบดา้ นเพอื่ ให้งานแปลออกมาอย่างประณตี และสมบรู ณ์ ขั้นที่ 2 การถ่ายทอดความหมายของผู้เขียนไปยังผู่อ่าน เป็นขั้นตอนต่อมาจากที่เม่ือผู้แปล ตีความหมายและจับสารได้แลว้ ผู้แปลจะต้องทาหน้าที่ถ่ายทอดภาษาต้นฉบับเป็นภาษาแปล ดังน้ันผู้ แปลจึงตอ้ งเรียบเรียงขอ้ มลู และพิจารณาเลือกชนิดและกลวธิ ีของการแปลที่เหมาะสมโดยประเมินจาก ผู้รับสารด้วยว่าสารปลายทางควรต้องแปลอย่างไรให้มีความสมบูรณ์แบบมากเท่าท่ีสุด กระบวนการใน ขน้ั นีส้ ามารถสรปุ ไดด้ ังนี้ 1.กาหนดแนวทางการแปลไปตามความมุ่งหมายของสารต้นฉบบั วา่ มแี นวทาง อย่างไร 1.1 เขียนเพ่ือบรรยายความรู้สึกนึกคิด สารท่ีแปลลักษณะนี้มักจะเป็นงานเขียน ประเภทรจนาสาร คือ สารท่ีผู้เขียนมีความมุ่งหมายหลักเพื่อระบายความรู้สึกและอารมณ์ โดยมี ศูนย์กลางเป็นตัวผู้เขียนเอง ลักษณะของภาษาที่ใช้จะมีความเฉพาะตัว อาจมีการใช้ภาษาท่ีให้ ความหมายเป็นเชิงอุปมาหรือเปรียบเทียบให้มีน้าหนักทางอารมณ์มากข้ึน ทานองการเขียนหรือลีลา การเขียนเป็นลักษณะการราพึงราพันหรือการพรรณนาความ ตัวอย่างเช่น จดหมายรัก บทกวี นิราศ บท ร้อยกรอง บทประพนั ธต์ ่าง ๆ 1.2 เขียนเพื่อให้ข้อมูลหรือเล่าประสบการณ์ หรือเรียนอีกอย่างหนึ่งว่างานเขียน ประเภทอรรถสาร ซ่ึงมคี วามมุ่งหมายเพ่อื ให้ข้อมลู เล่าประสบการณ์ หรอื ใหข้ ้อเท็จจรงิ ศนู ยก์ ลางการ แปลจะอยู่ท่ีเน้ือหาในหัวข้อเรื่องท่ีจะแปลท่ีได้ถูกกาหนดไว้แน่นอนว่าเขียนสาหรับผู้อ่านกลุ่มใด ลักษณะภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาธรรมดา มาตรฐาน อาจมีศัพท์ทางวิชาการมาก ผู้แปลจาเป็นต้องมี ความรู้ในแขนงทางวิซาการท่ีเก่ียวกับเร่ืองท่ีแปล ทานองหรือลลี าการเขียนจะเป็นลักษณะการอธิบาย การให้เหตุผล การเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ตัวอย่างเช่น บทรายงาน บทความ วิชาการ ข่าว ตารา เป็นต้น

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฏห ู่ม ้บานจอม ึบง 38 1.3 เขียนชักจูงให้ผู้อ่านคล้อยตาม ส่วนใหญ่งานเขียนประเภทนี้จะเป็นลักษณะ โฆษณาสาร ซึ่งจะมีความมุ่งหมายเพื่อชักจูงให้ผู้รับสารมีความเห็นคล้อยตามและปฏิบัติตาม ศูนย์กลางของการแปลจะอยู่ท่ีการหวงั ผลจากผู้รับสารให้เป็นไปในจดุ มุ่งหมายของการเขียนมากทส่ี ุด ภาษาท่ีใช้จะมีลกั ษณะโนม้ น้าว ใหเ้ หตุผล ตัวอย่างเชน่ สนุ ทรพจน์ โฆษณา สารประชาสัมพนั ธ์ เอกสารทาง การตลาด เป็นต้น 2. นาประโยคพ้ืนฐานที่ไดว้ เิ คราะห์แล้วในขนั้ ตอนที่ 1 มาถา่ ยทอดโดยเขยี นใหม่ ใน รอบแรกอาจจะใช้ประโยคพื้นฐานที่แยกมาแลว้ นามารวบรวมกันก่อน หรอื อาจจะใช้วิธีการแบ่งหน่วย ย่อยของความหมายออกมาส่วน ๆ แล้วจึงรวบรวมใหม่ก็ได้ตามแต่ความสะดวกของผู้แปล หลังจาก น้ันจึงเรียบเรียงอีกครั้งให้ความหมายครอบคลุมทั้งหมดท่ีเก่ียวข้อง ทั้งความหมายที่สื่อออกมาด้วย ภาษาโดยตรงหรือโดยนัย อารมณ์ ความรู้สึกของผู้เขียน และบริบททางสังคมและวัฒนธรรมอื่น ๆ สว่ นรปู แบบการนาเสนออาจจะใช้การแปลความหมายในระดบั คาหรือระดับโครงสร้างก็ได้ สุดแล้วแต่ ผู้แปลจะพิจารณาตามความ เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง ส า ร ที่แ ป ล ว ่า จ ะ ยึด ผู้ส่ง ส า ร ต้น ฉ บับ ห รือ ผู้รับ ส า ร ปลายทางเป็นหลักในระดับใด กลวิธีการแปลหรือเทคนิคในการแปลทาได้หลากหลาย อาทิ ดัดแปลง ตัด ต่อเติม ฯลฯ เพื่อให้ได้ประโยคแปลของภาษาปลายทางท่ีเหมาะสมยงิ่ ข้ึน อย่างไรก็ตาม ภาษาที่แปลออกมาจะต้องมีความสละสลวยและเหมาะสมกบั ประเภทของงานแปลน้นั ๆ 3. ตรวจสอบการแปลในข้อสองอีกครั้งเพ่ือเทียบเคียงว่ามีผลเท่าเทียมกันกับสาร ต้นฉบับและส่งผลเหมือนกันต่อผู้อ่านหรือไม่ ปรับให้เกิดความเท่าเทียมกันมากท่ีสุด (equivalent) และเกลาภาษาให้สละสลวย ข้ันที่ 3 การทดสอบงานแปล งานแปลท่ีสาเร็จแล้วควรได้รับการตรวจสอบก่อนถึงมือผู้อ่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือจะตรวจสอบว่างานแปลนั้นสร้างผลตอบสนองในตัวผู้อ่านได้เท่าเทียมกันกับ ต้นฉบบั หรือไมส่ ง่ิ การตรวจสอบมอี งค์ประกอบเป็นดา้ น ๆ ดงั นี้ 1. ด้านความหมาย โดยพิจารณาว่าความหมายของฉบับแปลน้ันสามารถส่ือได้ ครบถว้ นทกุ ประการตามสารตน้ ฉบับหรอื ไม่ สื่อความตามจุดม่งุ หมายของภาษาต้นฉบบั หรอื ไม่ 2. ด้านความยากง่ายของภาษา โดยพิจารณาว่าภาษาควรจะอยู่ในระดับใดที่ผู้รับ สารหรือผู้อ่านสามารถอ่านแลว้ เข้าใจได้ และตั้งภาษาในระดับเดียวกัน แม้ว่าบางครั้งการแปลอาจจะ ไมส่ ละสลวยหรอื เปน็ ธรรมชาติมากนกั เนื่องจากการแปลบางประเภทต้องยึดผู้เขียนและสารต้นฉบับ เป็นหลักก็ตาม การแปลที่ดียังคงต้องให้ผู้รับสารอ่านแล้วเข้าใจชัดเจนและไม่คลุมเครือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook