Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้หลักสูตร วิชาเคมี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

คู่มือการใช้หลักสูตร วิชาเคมี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Published by Nuttigar, 2018-06-10 23:17:13

Description: คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วิชาเคมี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Keywords: คู่มือ,การใช้หลักสูตร,เคมี,มัธยมศึกษาตอนปลาย,วิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

เคมี ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 1สาระเคมี 3. เขา้ ใจหลักการท�ำ ปฏิบัตกิ ารเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การค�ำ นวณปริมาณของสาร ความเขม้ ข้นของ สารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรแู้ ละทกั ษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวติ ประจำ�วนั และการแก้ปญั หาทางเคมีผลการเรยี นร ู้ 1. บอกและอธิบายขอ้ ปฏบิ ัตเิ บื้องตน้ และปฏิบัตติ นทแี่ สดงถึงความตระหนกั ในการท�ำ ปฏิบตั ิการเคมี เพ่อื ใหม้ คี วามปลอดภยั ทง้ั ตอ่ ตนเอง ผู้อ่ืนและสิง่ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดอบุ ัตเิ หตุการวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยใช้สถานการณ์หรือปัญหาซึ่งอาจเป็น ดา้ นความรู้ ขอ้ ความ ภาพ หรอื วดี ทิ ศั นท์ แ่ี สดงถงึ การเกดิ อบุ ตั เิ หตบุ างประการในหอ้ ง1. ขอ้ ปฏบิ ัตเิ บอ้ื งต้นในการท�ำ ปฏิบตั กิ ารเคมี ปฏิบัติการเคมี จากน้ันใช้คำ�ถามนำ�ว่า ถ้าจะป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ บอื้ งตน้ ในการท�ำ ปฏบิ ตั กิ ารเคม ี แนวทาง2. การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในห้องปฏิบัติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเคมตี อ้ งค�ำ นงึ ถงึ หรอื ใหค้ วามส�ำ คญั ในเรอ่ื งใดบา้ ง การปอ้ งกนั และแกไ้ ขอบุ ตั เิ หตใุ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การ กำ�จัดสารเคมี และหลักการเก่ียวกับความเป็นมิตร การเคมี 2. อภิปรายร่วมกนั เกี่ยวกบั สาเหตุและผลท่เี กดิ ข้นึ จากอบุ ัติเหตุ เพ่ือน�ำ ไปสู่ ต่อส่ิงแวดล้อม จากการทำ�กิจกรรม การอภิปราย3. การแก้ไขผลท่ีเกิดข้ึนจากอุบัติเหตุในห้อง การวเิ คราะหแ์ นวทางการปอ้ งกนั และการแกไ้ ขผลของอบุ ตั เิ หตใุ นการท�ำ และการทดสอบ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี (การปอ้ งกนั ตนเอง การศกึ ษาขนั้ ตอนการทดลองและขอ้ มลู ปฏบิ ตั กิ ารเคม ี ดา้ นทกั ษะ4. หลักการท่ีคำ�นึงถึงความเป็นมิตรต่อสิ่ง สารเคมี และการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ ) 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา จากการ 3. ใหน้ กั เรยี นน�ำ เสนอแนวทางการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ รวมทง้ั การแกไ้ ขผลทเ่ี กดิ ขน้ึ นำ�เสนอแนวทาง การป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ แวดล้อม จากอบุ ตั เิ หตุนน้ั  ๆ ในหอ้ งปฏบิ ัติการเคมี5. การกำ�จัดสารเคมปี ระเภทต่าง ๆ 4. อภิปรายร่วมกันเพ่ือลงข้อสรุปเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติเบื้องต้นในการทำ� ตามสถานการณท์ กี่ ำ�หนดให้ 2. การสงั เกตและความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และด้านทักษะ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี ทงั้ กอ่ นปฏบิ ตั กิ าร ระหวา่ งปฏบิ ตั กิ าร และหลงั ปฏบิ ตั กิ าร ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ รวมถึงแนวทางการปอ้ งกันและแกไ้ ขผลของอบุ ตั เิ หตตุ า่ ง ๆ ภาวะผ้นู ำ� จากการท�ำ กิจกรรม1. การสังเกต 5. ยกตัวอย่างการทดลองต่าง ๆ ที่มีสารเคมีที่เป็นของเหลือท้ิง หรือเหลือใช้ 3. การจ�ำ แนกประเภท จากการท�ำ กจิ กรรมการจดั กลมุ่2. การจำ�แนกประเภท แล้วให้นักเรียนจัดกลุ่มสารเคมี โดยวิเคราะห์จากสัญลักษณ์และข้อมูล ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ในฉลากสารเคมที ใ่ี ชใ้ นการทดลอง จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั เพอื่ ลงขอ้ สรปุ ประเภทสารเคมี1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา เก่ียวกับแนวทางการก�ำ จัดสารเคมปี ระเภทต่าง ๆ หลังจากท�ำ การทดลอง 4. การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากการ2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ โดยครูเป็นผูช้ ้ีแนะและให้ความร้เู สริม3. การส่ือสารสารสนเทศและการรูเ้ ทา่ ทันสื่อ อภปิ รายและการนำ�เสนอ

2 แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ 6. อภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั แนวปฏบิ ตั ทิ น่ี �ำ ไปสคู่ วามปลอดภยั และความเปน็ มติ ร ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ต่อสิ่งแวดล้อม จากน้ันยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมี 1. ความใจกวา้ ง 1. ความใจกวา้ งและการใชว้ จิ ารณญาณ จากการสงั เกต 2. การใชว้ จิ ารณญาณ เช่น การใชอ้ ุปกรณ์แบบยอ่ สว่ นเพื่อการลดปริมาณ การใช้สาร ลดการใช้ พฤตกิ รรมในการอภิปรายและการท�ำ กิจกรรม 3. การเหน็ คณุ ค่าทางวทิ ยาศาสตร์ พลงั งาน ลดการปล่อยสารพษิ สูส่ ง่ิ แวดล้อม 7. ใหน้ กั เรยี นสะทอ้ นความรคู้ วามเขา้ ใจและแสดงถงึ ความตระหนกั เกยี่ วกบั 2. การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ จากผลงานและ ความปลอดภยั ในการท�ำ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี และความเปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม การสะทอ้ นความคดิ โดยครอู าจใชค้ �ำ ถามน�ำ เพอื่ ใหเ้ กดิ การอภปิ รายและลงขอ้ สรปุ รว่ มกนั หรอื อาจมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ และนำ�เสนอในรูปแบบ ท่ีสามารถสรา้ งความเข้าใจใหก้ บั ผอู้ น่ื ไดด้ ี เชน่ แผนผัง แผน่ พับ วดี ิทศั น์

เคมี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4ผลการเรียนร ู้ 2. เลอื กและใชอ้ ุปกรณห์ รือเครื่องมือในการทำ�ปฏิบตั ิการ และวดั ปริมาณตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ ด้านความรู้ ในการท�ำ ปฏบิ ตั กิ ารเคม ี โดยครแู สดงรปู ภาพหรอื วดี ทิ ศั นแ์ ลว้ ใหน้ กั เรยี น1. เทคนิคการใช้อุปกรณ์และเคร่ืองมือสำ�หรับ เขยี นชอ่ื และวตั ถปุ ระสงคก์ ารใชง้ านของอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นหอ้ ง เทคนิคการใช้และการดูแลอุปกรณ์และเคร่ืองมือ ชง่ั ตวง วดั ถ่ายเทสาร และใหค้ วามร้อน ปฏบิ ตั ิการในใบกิจกรรม สำ�หรับชั่ง ตวง วัด และถ่ายเทสาร การอา่ นคา่ และ การรายงานผลจากการวดั โดยค�ำ นงึ ถงึ เลขนัยสำ�คัญ2. การอ่านค่าและการรายงานผลจากการวัด 2. อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการชั่ง ตวง วัด จากการท�ำ กิจกรรม และการทดสอบ โดยค�ำ นงึ ถงึ เลขนัยส�ำ คญั และถา่ ยเทสาร จากนน้ั ถามคำ�ถามเพื่อนำ�เขา้ สวู่ ิธีการใชง้ านของอุปกรณ์ และเครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในหอ้ งปฏิบัติการ ด้านทกั ษะ3. วิธีการดูแลอุปกรณ์และเคร่ืองมือสำ�หรับชั่ง การสงั เกตและการวดั จากใบกจิ กรรมและการสงั เกต ตวง วัด และถ่ายเทสาร 3. สาธติ และอธบิ ายการใชง้ านอปุ กรณป์ ระเภทเครอ่ื งแกว้ ทใ่ี ชใ้ นบรรจุ ถา่ ยเท ตวง และวัดปริมาตรสาร (บีกเกอร์ กระบอกตวง ปิเปตต์ บิวเรตต์ ขวด พฤติกรรมในการทำ�กิจกรรมด้านทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รูปกรวย ขวดกำ�หนดปริมาตร) เคร่ืองมือที่ใช้ช่ัง (เคร่ืองชั่งไฟฟ้า) ใน ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์1. การสงั เกต ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี ความรอบคอบ จากใบกิจกรรมและการสังเกต2. การวดั - วัตถปุ ระสงคแ์ ละเทคนิคการใชอ้ ปุ กรณ์และเครื่องมอืทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 - การอา่ นคา่ และการรายงานผลจากการวดั โดยค�ำ นงึ ถงึ เลขนยั ส�ำ คญั พฤติกรรมในการทำ�กิจกรรม - - ข้อควรระวังในการใช้และการดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือ ทง้ั นี้ ระหว่างทีม่ ีการสาธติ ควรให้นักเรียนไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตริ ่วมด้วยดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ 4. ใหน้ กั เรยี นเลอื กและใชอ้ ปุ กรณห์ รอื เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการท�ำ ปฏบิ ตั กิ ารและ ความรอบคอบ วัดปริมาณต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ถกู ตอ้ ง และปลอดภัย ตามสถานการณ์ หรือโจทยท์ ี่ก�ำ หนด 5. อภปิ รายและสรปุ บทเรยี นรว่ มกนั เกย่ี วกบั วตั ถปุ ระสงค์ เทคนคิ วธิ กี ารใชง้ าน การอา่ นคา่ และการรายงานผล รวมทง้ั ขอ้ ควรระวงั ในการใชแ้ ละการดแู ล อุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือประเภทต่าง ๆ

4 ผลการเรียนรู ้ 3. นำ�เสนอแผนการทดลอง ทดลอง และเขียนรายงานการทดลองการวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยการสาธิตกิจกรรมการเปล่ียนแปลงทางเคมีท่ีเห็น ดา้ นความรู้ การเปล่ยี นแปลงงา่ ย ๆ เชน่ การผสมสารสองชนดิ แล้วสารเปล่ยี นสหี รือ ข้ันตอนการทำ�ปฏิบัติการเคมีประกอบด้วย ขั้นตอนการทำ�ปฏิบัติการเคมี จากการทำ�กิจกรรม การตง้ั สมมตฐิ าน การวางแผนและออกแบบ เกดิ ฟองแกส๊ เพอ่ื กระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ การสงั เกต และการตง้ั สมมตฐิ าน การอภปิ ราย และรายงานการทดลอง การทดลอง การทำ�การทดลอง การบันทึก ซง่ึ เปน็ จดุ เร่ิมตน้ ของทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปและ 2. ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมโดยตั้งสมมติฐาน กำ�หนดตัวแปรและวางแผน ดา้ นทักษะ อภปิ รายผลการทดลอง และการเขยี นรายงาน 1. การสงั เกต การวดั การตง้ั สมมตฐิ าน การก�ำ หนดและ ออกแบบการทดลอง จากสถานการณ์ที่กำ�หนดให้ แล้วอภิปรายร่วมกัน ควบคุมตัวแปร การทดลอง การจัดกระทำ�และสื่อ การทดลอง เพ่ือให้นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งสมมติฐาน การออกแบบ การทดลอง และรูปแบบการบันทึกขอ้ มูล ความหมายข้อมูล และการตีความหมายข้อมูลและด้านทักษะ 3. ให้นักเรียนทำ�การทดลองเพ่ือทดสอบสมมติฐานตามแผนการทดลอง ลงข้อสรุป จากการทำ�กิจกรรม การทำ�การทดลองทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทอี่ อกแบบไว้ บนั ทกึ ผลการทดลอง วเิ คราะหผ์ ลการทดลอง อภปิ รายและ และรายงานการทดลอง1. การสงั เกต สรปุ ผลการทดลอง แลว้ เขยี นรายงานการทดลอง จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จาก2. การวัด เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั แนวทางการวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง รายงานการทดลอง3. การตง้ั สมมติฐาน การอภิปรายและสรุปผลการทดลอง 3. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา จากการ4. การกำ�หนดและควบคมุ ตัวแปร 4. ให้นกั เรยี นประเมนิ และปรบั ปรงุ แกไ้ ขรายงานการทดลองของตนเอง ทำ�การทดลองและรายงานการทดลอง5. การทดลอง 5. อภิปรายร่วมกันและให้ความรู้เก่ียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ 4. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 6. การจดั กระท�ำ และส่ือความหมายข้อมลู กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และจติ วทิ ยาศาสตร์ พร้อมทั้งให้นักเรียน จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการทำ�การทดลอง7. การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ประเมินตนเองจากรายการประเมนิ (check list) ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์1. การสอื่ สารสารสนเทศและการรู้เท่าทนั สือ่ ความอยากรู้อยากเห็น ความซื่อสัตย์ และความ2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา3. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ รอบคอบ จากการสังเกตพฤติกรรมในการทำ�การ ทดลองด้านจติ วิทยาศาสตร์1. ความอยากรู้อยากเห็น2. ความซือ่ สัตย์3. ความรอบคอบ

เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4ผลการเรยี นรู้ 4. ระบุหนว่ ยวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร และเปล่ยี นหน่วยวดั ใหเ้ ปน็ หน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอร์เปลย่ี นหน่วย 5การวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนยกตัวอย่างหน่วยที่ได้จากการวัดปริมาณ ด้านความรู้ ตา่ ง ๆ ทพี่ บในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ มวล (มหี นว่ ยเปน็ กรมั กโิ ลกรมั ปอนด์ หนว่ ยวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทางเคมใี นระบบเอสไอ และ1. หนว่ ยวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ทางเคมใี นระบบเอสไอ2. การเปลี่ยนหนว่ ยวดั โดยใชแ้ ฟกเตอร์เปล่ียน เปน็ ตน้ ) ปรมิ าตร (มหี นว่ ยเปน็ ลติ ร ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ลกู บาศกเ์ ดซเิ มตร การเปล่ียนหน่วยวัดโดยใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย ถว้ ยตวง แกลลอน เปน็ ตน้ ) อณุ หภมู ิ (มหี นว่ ยเปน็ องศาเซลเซยี ส ฟาเรนไฮต์ จากการอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบ หนว่ ย เป็นต้น) เพื่อให้สรุปได้ว่าหน่วยที่วัดได้จากปริมาณที่ต่างกัน ก็จะมีหน่วย ด้านทักษะด้านทกั ษะ ทแี่ ตกต่างกัน และแต่ละปริมาณกม็ ไี ดห้ ลายหน่วย การใช้จำ�นวน จากการทำ�แบบฝึกหดัทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ใช้คำ�ถามกระตุ้นเพื่อให้เห็นว่า การรายงานค่าการวัดปริมาณต่าง ๆ จะ การใชจ้ ำ�นวน รายงานในหนว่ ยระบบเอสไอ ซึ่งเปน็ หนว่ ยสากลทเี่ ข้าใจไดต้ รงกัน ด้านจิตวิทยาศาสตร์ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 3. อธบิ ายวธิ กี ารเปลยี่ นหนว่ ยวดั ใหเ้ ปน็ หนว่ ยในระบบเอสไอโดยใชแ้ ฟกเตอร์ ความรอบคอบ จากการท�ำ แบบฝึกหดั - เปล่ียนหน่วย และฝกึ เปลี่ยนหน่วยวัดโดยใหท้ �ำ แบบฝึกหัดด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ 4. อภิปรายและสรุปร่วมกันเก่ียวกับหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ทางเคมี ความรอบคอบ ในระบบเอสไอ เช่น มวล ปริมาตร ความหนาแน่น จำ�นวนอนุภาค และ วิธีการเปล่ียนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอโดยการใช้แฟกเตอร์ เปล่ยี นหน่วย

6 1. เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พนั ธะเคมแี ละสมบัตขิ องสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแกส๊ ประเภทและสมบัติ ของสารประกอบอินทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทั้งการนำ�ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นร้ ู 1. สบื ค้นขอ้ มูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองที่เป็นประจกั ษพ์ ยานในการเสนอแบบจ�ำ ลองอะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์ และอธิบายววิ ฒั นาการของแบบจ�ำ ลองอะตอม การวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยอภิปรายเกี่ยวกับทักษะทางวิทยาศาสตร์รวมทั้ง ด้านความรู้ กระบวนการสบื เสาะหาความร้ขู องนักวิทยาศาสตร์ 1. ววิ ัฒนาการของแบบจ�ำ ลองอะตอม วิวัฒนาการของแบบจำ�ลองอะตอมและการทดลอง 2. การทดลองของนกั วทิ ยาศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั 2. อภิปรายร่วมกันโดยใช้คำ�ถามว่า นักวิทยาศาสตร์ทราบได้อย่างไรว่า ของนกั วทิ ยาศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั แบบจ�ำ ลองอะตอม แบบจ�ำ ลองอะตอม อะตอมมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไรทง้ั ทอ่ี ะตอมมขี นาดเลก็ มาก มองดว้ ยตาเปลา่ จากการท�ำ กจิ กรรม การทดลอง การอภปิ ราย การท�ำ ดา้ นทกั ษะ ไม่เห็น เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่กิจกรรมกระป๋องปริศนาท่ีเกี่ยวกับการได้มา แบบฝกึ หดั และการทดสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ แบบจำ�ลองของสิ่งที่มองไมเ่ หน็ 1. การสังเกต ด้านทกั ษะ 2. การลงความเหน็ จากขอ้ มูล 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมเรื่องกระป๋องปริศนาเพื่อจำ�ลองวิธีการ 1. การสังเกตและการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ 3. การสร้างแบบจ�ำ ลอง สืบเสาะหาความรู้ของนักวิทยาศาสตร์และความเข้าใจเแนวคิดของ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ทำ�กจิ กรรม 1. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรู้เทา่ ทนั ส่ือ ธรรมชาติวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำ�เสนอข้อมูล และร่วมกันอภิปรายสรปุ 2. การสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากผงั มโนทศั น์ หรอื timeline 2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ กจิ กรรมเพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา้ สกู่ ารศกึ ษาโครงสรา้ งอะตอมของนกั วทิ ยาศาสตร์ 3. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการได้มาซึ่งแบบจำ�ลองของ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ดอลตันและทอมสัน ลักษณะของแบบจ�ำ ลองและหลักฐานท่ีใช้สนับสนุน สืบค้น อภปิ รายและน�ำ เสนอ 1. ความใจกวา้ ง แบบจำ�ลองของนักวทิ ยาศาสตร์ท้ังสอง 4. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการ 2. การใช้วจิ ารณญาณ 5. ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมมติฐานและการทดลองของ สังเกตพฤตกิ รรมขณะท�ำ กจิ กรรม 3. ค ว า ม เ ช่ื อ แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ รทั เทอรฟ์ อรด์ จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ขอ้ มลู การคน้ พบซงึ่ น�ำ มาสู่ การสร้างแบบจ�ำ ลองอะตอมใหม่ทต่ี ่างจากทอมสนั ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 6. ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั คลน่ื และการค�ำ นวณพลงั งานตามสมการของพลงั ค์ จากนน้ั ความใจกวา้ ง การใชว้ จิ ารณญาณ และความเชอื่ และ ให้นกั เรียนท�ำ การทดลองเพ่อื ศกึ ษาเส้นสเปกตรมั ของธาตุ 7. ร่วมกันสรปุ ผลการทดลองและเชื่อมโยงไปส่แู บบจำ�ลองอะตอมของโบร์ ค่านิยมที่เก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์ จากการสังเกต 8. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาแบบจ�ำ ลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอกและอภปิ รายรว่ มกนั พฤตกิ รรมในการอภิปราย 9. ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับแบบจำ�ลองอะตอมต่าง ๆ ในรูปแบบ ผงั มโนทศั น์ หรอื Timeline โดยเขยี นลงในกระดาษปรฟู๊ แลว้ ออกมาน�ำ เสนอ 10. ให้นักเรยี นท�ำ แบบฝึกหดั เพอื่ ทบทวนความรู้

เคมี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4ผลการเรยี นรู้ 2. เขียนสัญลกั ษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ และระบจุ �ำ นวนโปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอนของอะตอมจากสัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ 7 รวมท้งั บอกความหมายของไอโซโทปการวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้อภิปรายทบทวนแบบจำ�ลองอะตอมของทอมสัน ด้านความรู้ และรทั เทอรฟ์ อรด์ พรอ้ มทบทวนเกยี่ วกบั อนภุ าคทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบของ1. สมบัติบางประการของโปรตอน นิวตรอน อะตอมซึ่งขณะนี้นักเรียนควรรู้แล้วว่าอะตอมประกอบด้วยอิเล็กตรอน สมบัติบางประการของโปรตอน นิวตรอน และ และอิเลก็ ตรอน ซง่ึ มปี ระจลุ บและโปรตรอนซง่ึ มปี ระจบุ วก จากนนั้ ถามค�ำ ถามวา่ นอกจาก อเิ ลก็ ตรอน สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ เลขอะตอม เลขมวล2. สัญลักษณน์ วิ เคลยี ร์ เลขอะตอม เลขมวล อิเล็กตรอนและโปรตอนแล้วยังมีอนุภาคอื่น ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ และความหมายของไอโซโทป จากการทำ�กิจกรรม3. ความหมายของไอโซโทป อะตอมอีกหรอื ไม่ การอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบด้านทักษะ 2. ให้นักเรียนศึกษาเก่ียวกับอนุภาคในอะตอมในหนังสือเรียนหรือเอกสาร ดา้ นทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั สมบตั ปิ ระการของโปรตอน นวิ ตรอน และ 1. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากการ การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป อเิ ลก็ ตรอนรวมท้ังการทดลองทเ่ี กยี่ วขอ้ งทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 อภปิ ราย ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 3. ถามค�ำ ถามนกั เรยี นวา่ อะตอมของธาตแุ ตล่ ะชนดิ มจี �ำ นวนโปรตอน นวิ ตรอน 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� และอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบเท่ากันหรือไม่ และเราจะมีวิธีการเขียนดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ จากสงั เกตพฤติกรรมในการท�ำ กจิ กรรม - สญั ลกั ษณแ์ สดงจ�ำ นวนโปรตอน นวิ ตรอนและอเิ ลก็ ตรอนของอะตอมของ ธาตุไดอ้ ยา่ งไร ด้านจติ วิทยาศาสตร์ 4. เขยี นสญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตจุ ากขอ้ มลู ทแ่ี สดงสญั ลกั ษณข์ องธาตแุ ละ - จ�ำ นวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาวา่ สญั ลกั ษณด์ งั กลา่ วมคี วามสมั พนั ธก์ บั ขอ้ มลู อยา่ งไร เพอื่ เชอื่ มโยงเขา้ สกู่ าร อธิบายสญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์ เลขมวล เลขอะตอม และไอโซโทป 5. ประเมนิ ความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยแตล่ ะกลมุ่ สลบั กนั สง่ ตวั แทนออกมา เขยี นคำ�ตอบบนกระดานตามคำ�ถามท่ีครูกำ�หนด 6. ใหน้ กั เรยี นสรปุ บทเรยี นเกย่ี วกบั จ�ำ นวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน ของอะตอมของธาตุ สญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ เลขอะตอม เลขมวล และความหมาย ของไอโซโทปแล้วให้นกั เรียนท�ำ แบบฝกึ หัดเพือ่ ทบทวนความรู้

8 ผลการเรียนร้ ู 3. อธบิ ายและเขียนการจัดเรียงอเิ ล็กตรอนในระดบั พลงั งานหลักและระดบั พลงั งานยอ่ ยเม่อื ทราบเลขอะตอมของธาตุการวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยอภปิ รายเกยี่ วกบั ต�ำ แหนง่ ของโปรตอน นวิ ตรอนและ ด้านความรู้ อเิ ลก็ ตรอนภายในอะตอม และระดบั ชน้ั พลงั งานของอเิ ลก็ ตรอนตามแบบ1. การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลกั การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและ และระดบั พลังงานยอ่ ย จำ�ลองอะตอมของโบร์ จากน้ันใช้คำ�ถามว่า ในแต่ละระดับพลังงาน จะมี ระดบั พลงั งานยอ่ ย ออรบ์ ทิ ลั และเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอน จ�ำ นวนอิเลก็ ตรอนแตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร จากการอภปิ ราย การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ แบบฝกึ หดั2. ออรบ์ ิทลั 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาหลักการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ และการทดสอบ3. เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน พลังงานหลัก และความหมายเวเลนซ์อิเล็กตรอนในหนังสือเรียนหรือ เอกสาร จากนนั้ ฝกึ จดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนจากเลขอะตอมของธาตทุ ก่ี �ำ หนดให้ ดา้ นทกั ษะดา้ นทักษะ พร้อมทั้งวาดรูปแสดงจำ�นวนอิเล็กตรอนตามแบบจำ�ลองอะตอมของโบร์ การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และระบเุ วเลนซอ์ ิเล็กตรอน - 3. อธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย โดยใช้ออร์บิทัล ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ประกอบการอธิบาย จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดเรียงอิเล็กตรอน จากการทำ�กจิ กรรม1. การสือ่ สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทันส่อื ในระดับพลังงานย่อยจากเลขอะตอมท่ีครูกำ�หนดให้ พร้อมระบุจำ�นวน2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ เวเลนซ์อเิ ล็กตรอน ด้านจิตวิทยาศาสตร์ 4. ใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื ประเมนิ ความเขา้ ใจโดยแบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ ละ -ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ 3 คน หรอื ตามความเหมาะสม แล้วสลับกันสง่ ตัวแทนออกมา โดย - - คนที่ 1 เขียนการจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานย่อย - คนที่ 2 เขยี นการจดั เรยี งอิเล็กตรอนในระดบั พลงั งานหลกั - คนที่ 3 ระบจุ ำ�นวนเวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน โดยคนถดั ไปจะท�ำ กจิ กรรมตอ่ ได้ เมอ่ื มกี ารตรวจและแกไ้ ขค�ำ ตอบของ คนกอ่ นหนา้ ใหถ้ กู ตอ้ ง และนกั เรยี นตอ้ งสลบั หนา้ ทเี่ มอ่ื ตอบค�ำ ถาม ในขอ้ ตอ่ ไป 5. อภปิ รายเพอ่ื สรปุ บทเรยี นเกย่ี วกบั การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลกั และระดบั พลังงานยอ่ ย ออร์บทิ ลั และเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนแล้วใหน้ กั เรียน ท�ำ แบบฝกึ หัดเพือ่ ทบทวนความรู้

เคมี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4ผลการเรียนร ู้ 4. ระบหุ มู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ของธาตุเรพรเี ซนเททีฟและธาตุแทรนซชิ ันในตารางธาตุ 9การวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยอภปิ รายรว่ มกนั และอาจใชค้ �ำ ถามวา่ สามารถจดั ธาต ุ ด้านความรู้ เปน็ หมวดหมู่ไดอ้ ยา่ งไร1. วิวฒั นาการของตารางธาตุ ววิ ฒั นาการของตารางธาตุ การระบหุ มแู่ ละคาบของ2. การระบุหมู่และคาบของธาตุในตารางธาตุ 2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาเกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการของตารางธาตุ จากแนวคดิ ธาตใุ นตารางธาตุ และการจดั กลมุ่ ธาตใุ นตารางธาตุ3. การจัดกลุ่มธาตุในตารางธาตุตามสมบัติ ของนักวิทยาศาสตรย์ ุคต่าง ๆ ตัง้ แต่ จอห์น นิวแลนด์ มาจนถึงตารางธาตุ ตามสมบัติบางประการ จากการทำ�กจิ กรรม การทำ� แบบฝึกหดั และการทดสอบ บางประการ ในยคุ ปัจจุบัน 3. อภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื สรปุ ความรเู้ กย่ี วกบั ววิ ฒั นาการของตารางธาตุ จากนนั้ ด้านทักษะดา้ นทักษะ 1. การจ�ำ แนกประเภทและการตคี วามหมายขอ้ มลู และทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เขยี นสรุปความร้ใู นรปู ผังมโนทัศน์ หรือ Timeline 1. การจ�ำ แนกประเภท 4. ให้นักเรียนศึกษาลักษณะของตารางธาตุปัจจุบันเพิ่มเติมจากนั้นร่วมกัน ลงข้อสรุป จากการทำ�กจิ กรรม2. การตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ 2. การสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากการเขยี นผงั มโนทศั น์ หรอื3. การสรา้ งแบบจำ�ลอง อภิปรายว่าจนได้ขอ้ สรปุ ว่าทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 - ตารางธาตใุ นปจั จบุ นั แบง่ ออกเปน็ 7 แถวในแนวนอนซงึ่ เรยี กวา่ คาบ Timeline ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ และ 18 แถวในแนวต้งั ซงึ่ เรยี กว่าหมู่ โดยอาจแบง่ หมู่เป็นระบบ A 3. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการ และ B หรอื ระบบหมู่ 1 ถึง 18 ซ่งึ บางหมมู่ ชี อ่ื เรียกเฉพาะ สงั เกตพฤตกิ รรมขณะเขยี นผงั มโนทศั น์ หรอื Timeline ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ถา้ ใชส้ มบตั กิ ารน�ำ ไฟฟา้ เปน็ เกณฑ์ สามารถแบง่ ธาตอุ อกเปน็ 3 กลมุ่ - ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ โลหะ ก่งึ โลหะ และอโลหะ - - ถ้าใช้การจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานย่อยเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งธาตุออกได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ s p d และ f จากน้ันให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าธาตุในกลุ่ม s และ p จัดเป็น กลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี หรอื ธาตหุ มหู่ ลกั สว่ นธาตใุ นกลมุ่ d และ f จัดเป็นกลมุ่ ธาตแุ ทรนซิชนั 5. อภิปรายร่วมกันเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างการจัดเรียงอิเล็กตรอน ของธาตกุ ับต�ำ แหน่งของธาตุในตารางธาตุ 6. ให้นักเรียนสรุปบทเรียนเกี่ยวกับวิวัฒนาการของตารางธาตุ การระบุหมู่ และคาบของธาตใุ นตารางธาตุ และการจดั กลมุ่ ธาตใุ นตารางธาตตุ ามสมบตั ิ บางประการ แลว้ ให้นักเรยี นทำ�แบบฝกึ หดั เพ่อื ทบทวนความรู้

10 ผลการเรยี นร ู้ 5. วเิ คราะหแ์ ละบอกแนวโน้มสมบตั ขิ องธาตเุ รพรเี ซนเททีฟตามหมแู่ ละตามคาบการวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนเกี่ยวกับตารางธาตุในปัจจุบันซึ่งเรียงตาม ด้านความรู้ เลขอะตอม และมีการแบ่งตารางธาตุออกเป็นหมู่และคาบ จากน้ันถาม แนวโน้มของขนาดอะตอม ขนาดไอออน แนวโน้มของขนาดอะตอม ขนาดไอออน พลังงาน พลังงานไอออไนเซซัน อิเล็กโทรเนกาติวิตี ค�ำ ถามวา่ นกั เรยี นคดิ วา่ สมบตั ติ า่ ง ๆ ของธาตใุ นหมแู่ ละคาบเดยี วกนั เชน่ ไอออไนเซซัน อิเล็กโทรเนกาติวิตี และสัมพรรค และสมั พรรคภาพอเิ ล็กตรอน ของธาตุเรพรี ขนาดอะตอม เป็นอยา่ งไร ภาพอิเล็กตรอน ของธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือธาตุ เซนเททฟี หรอื ธาตหุ มหู่ ลกั ตามหมแู่ ละตามคาบ 2. ให้นักเรียนศึกษาตารางข้อมูลแสดงขนาดอะตอม และอภิปรายเกี่ยวกับ หมู่หลักตามหมู่และตามคาบ จากการทำ�กิจกรรม การอภปิ ราย การทำ�แบบฝกึ หดั และการทดสอบด้านทักษะ แนวโนม้ ของขนาดอะตอมของธาตุ ตามหมแู่ ละคาบทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. อภปิ รายเกยี่ วกบั ความหมาย ไอออน จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาตารางขอ้ มลู ด้านทักษะ การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรุป 1. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากการทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 แสดงขนาดไอออน และเปรยี บเทยี บขนาดอะตอมกบั ขนาดไอออนทงั้ กรณี1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา ที่ไดร้ บั และเสียอิเล็กตรอน อภิปรายและการท�ำ กจิ กรรม2. การสื่อสารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั ส่อื 4. ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี นเกยี่ วกบั ขนาดของอะตอม และไอออน 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การ3. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ โดยสุ่มให้นักเรียนเปรียบเทียบขนาดของอะตอมและไอออนของธาตุ จากตวั อย่างทีก่ �ำ หนดให้ ส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ และความดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ 5. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาเกย่ี วกบั ความหมายและแนวโนม้ ของพลงั งานไอออไนเซชนั ร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� จากการ1. การใชว้ ิจารณญาณ อเิ ล็กโทรเนกาติวิตี และสมั พรรคภาพอเิ ลก็ ตรอนของธาตุเรพรีเซนเททฟี ท�ำ กิจกรรม2. ความมงุ่ มั่นอดทน หรอื ธาตุหมูห่ ลักตามหมู่และคาบ 6. อภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื สรปุ บทเรยี นเกย่ี วกบั แนวโนม้ สมบตั บิ างประการของ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือธาตุหมู่หลักตามหมู่และตามคาบ จากน้ันให้ การใช้วิจารณญาณและความมุ่งม่ันอดทน จากการ นักเรียนทำ�แบบฝึกหดั เพือ่ ทบทวนความรู้ สังเกตพฤติกรรมขณะท�ำ กจิ กรรม

เคมี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4ผลการเรียนร ู้ 6. บอกสมบตั ขิ องธาตโุ ลหะแทรนซชิ ัน และเปรียบเทียบสมบตั กิ ับธาตโุ ลหะในกลมุ่ ธาตุเรพรเี ซนเททฟี 11การวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เกี่ยวกับขนาดอะตอมของโลหะ ดา้ นความรู้ เรพรีเซนเททฟี หรอื โลหะหมหู่ ลกั1. ขนาดอะตอม จดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว ความ ขนาดอะตอม จดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว ความหนาแนน่ หนาแนน่ ของธาตุ สขี องสารประกอบของโลหะ 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลเก่ียวกับขนาดอะตอมของโลหะ ของธาตุ สีของสารประกอบของโลหะในกลุ่มธาตุ เรพรเี ซนเททฟี หรอื โลหะหมหู่ ลกั และโลหะแทรนซชิ นั ในหมแู่ ละคาบเดยี วกนั เรพรเี ซนเททฟี หรอื ธาตหุ มหู่ ลกั และธาตแุ ทรนซชิ นั ในกลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี และธาตแุ ทรนซชิ นั ความวอ่ งไวในการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ากบั น�ำ้ ของธาตโุ ลหะ2. ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยากับนำ้� เพ่อื เปรียบเทยี บขนาดอะตอมทงั้ 2 ประเภทตามคาบและตามหมู่ 3. อภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื เปรยี บเทยี บจดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว และความหนาแนน่ ในกลุ่มธาตุแทรนซิชันและกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ ข อ ง ธ า ตุ โ ล ห ะ ใ น ก ลุ่ ม ธ า ตุ แ ท ร น ซิ ชั น แ ล ะ ของโลหะเรพรีเซนเททีฟหรือโลหะหมู่หลักกับโลหะแทรนซิชัน โดยใช้ จากการท�ำ กจิ กรรม การอภปิ ราย การทดลอง การท�ำ กลุ่มธาตุเรพรเี ซนเททฟี หรอื ธาตหุ มหู่ ลกั แบบฝกึ หัด และการทดสอบ ขอ้ มูลประกอบด้านทกั ษะ 4. นำ�ตัวอย่างสารประกอบของโลหะเรพรีเซนเททีฟหรือโลหะหมู่หลักและ ด้านทกั ษะทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การสังเกต การต้ังสมมติฐาน การกำ�หนดนิยาม 1. การสังเกต โลหะแทรนซิชันมาให้นักเรียนสังเกตเพ่ือเปรียบเทียบสี จากน้ันอภิปราย2. การตั้งสมมตฐิ าน เพอ่ื สรุปว่าสารประกอบของโลหะแทรนซิชันสว่ นใหญม่ สี ี เชิงปฏิบัติการ การกำ�หนดและควบคุมตัวแปร 3. การกำ�หนดนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการ 5. ใช้คำ�ถามนำ�ว่า นอกจากสมบัติท่ีได้ศึกษาไปแล้ว โลหะแทรนซิชัน การทดลอง และการตีความหมายข้อมูลและลง 4. การกำ�หนดและควบคุมตัวแปร ยงั มีสมบตั ใิ ดทแี่ ตกตา่ งจากโลหะเรพรีเซนเททฟี หรือโลหะหมหู่ ลกั ข้อสรปุ จากการทดลอง5. การทดลอง 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังสมมติฐานและทำ�การทดลองเพื่อศึกษาและ 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 6. การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป เปรยี บเทยี บความวอ่ งไวในการเกดิ ปฏกิ รยิ ากบั น�ำ้ ของโลหะเรพรเี ซนเททฟี จากการสังเกตพฤติกรรมในการทำ�กจิ กรรมทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 หรอื โลหะหมูห่ ลักและโลหะแทรนซชิ ัน จากนนั้ รว่ มกันอภปิ รายและสรปุ ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ผลการทดลอง ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ 7. ใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรเู้ กย่ี วกบั สมบตั บิ างประการของโลหะเรพรเี ซนเททฟี การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรมขณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ หรือโลหะหมู่หลักและโลหะแทรนซิชัน ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด การใชว้ ิจารณญาณ เพอื่ ทบทวนความรู้ ทำ�กจิ กรรมและการทดลอง

12 ผลการเรียนร ู้ 7. อธบิ ายสมบตั แิ ละค�ำ นวณครงึ่ ชีวิตของไอโซโทปกมั มันตรังสีการวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยยกตัวอย่างข่าวหรือบทความท่ีเกี่ยวข้องกับธาตุ ด้านความรู้ กมั มนั ตรงั สี จากน้นั อธบิ ายความหมายกมั มนั ตภาพรังสี1. ธาตกุ มั มนั ตรงั สแี ละไอโซโทปกัมมันตรงั สี ธาตุกัมมันตรังสี ไอโซโทปกัมมันตรังสี รังสีแอลฟา2. รังสีแอลฟา รงั สบี ตี า และรงั สีแกมมา 2. ให้ความหมายของ ไอโซโทปกัมมันตรังสีหรือสารกัมมันตรังสีกับธาตุ รังสีบีตา รังสีแกมมา สมการนิวเคลียร์ ครึ่งชีวิต3. สมการนิวเคลยี ร์ กัมมันตรังสี จากนั้นใช้คำ�ถามว่าเหตุใดไอโซโทปกัมมันตรังสีจึงแผ่รังสีได้ ของไอโซโทปกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์และ4. ครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี เพือ่ น�ำ เขา้ สกู่ ารศกึ ษาเกย่ี วกบั เสถียรภาพของนวิ เคลยี สในอะตอม อันตรายและประโยชน์ของไอโซโทปกัมมันตรังสี5. อนั ตรายและประโยชนข์ องไอโซโทปกมั มนั ตรงั สี จากการท�ำ กจิ กรรม การอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั 3. อธิบายเกี่ยวกับการแผ่รังสีว่าเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน และการทดสอบด้านทักษะ ภายในนิวเคลียส จากนั้นให้นักเรียนศึกษากราฟแสดงความสัมพันธ์ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ระหวา่ งจ�ำ นวนโปรตอนและจ�ำ นวนนวิ ตรอน และรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ดา้ นทักษะ การใช้จำ�นวน 1. การใช้จำ�นวน การคิดอย่างมีวิจารณญาณและ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 สัดส่วนของจำ�นวนนิวตรอนต่อโปรตอนกับความเสถียรของนิวเคลียส 1. การส่อื สารสารสนเทศและการรู้เท่าทนั สอ่ื ของอะตอม การแกป้ ญั หา และความร่วมมอื การทำ�งานเปน็ ทีม2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา และภาวะผู้นำ� จากการทำ�กิจกรรม3. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 4. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู เกย่ี วกบั ชนดิ ของรงั สี สมการนวิ เคลยี รเ์ พอ่ื อธบิ าย 2. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื จากผลการ การแผ่รังสี ตัวอย่างธาตุกัมมันตรังสีและไอโซโทปกัมมันตรังสีบางชนิด สืบค้นขอ้ มูลด้านจติ วิทยาศาสตร์1. ความใจกว้าง จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกันเพ่อื สรปุ ความรู้ ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์2. การใช้วิจารณญาณ 5. ให้นักเรียนศึกษาเก่ียวกับการหาอายุวัตถุโบราณและให้ความรู้เพิ่มเติม 1. ความใจกวา้ ง การใชว้ จิ ารณญาณ และความรอบคอบ3. ความรอบคอบ จากการสงั เกตพฤติกรรมขณะท�ำ กจิ กรรม4. การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับครึ่งชีวิตและการคำ�นวณหาอายุของวัตถุโบราณโดยใช้คร่ึงชีวิต 2. การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์และคุณธรรมและ5. คุณธรรมและจริยธรรมท่ีเก่ียวข้องกับ จากน้ันทดสอบความเข้าใจ โดยให้นักเรียนคำ�นวณเกี่ยวกับคร่ึงชีวิต จากตัวอย่างทกี่ �ำ หนดให้ จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ จากการ วิทยาศาสตร์ 6. ให้นักเรียนศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์ ได้แก่ ฟิชชัน และฟิวชัน จากนั้น อภปิ รายเกย่ี วกบั การน�ำ ธาตแุ ละไอโซโทปกมั มนั ตรงั สี เปรยี บเทียบปฏิกิริยานิวเคลียรท์ ั้งสองแบบ ไปใชป้ ระโยชน์ 7. ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เทคโนโลยที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การใชป้ ระโยชน์ จ า ก ไ อ โ ซ โ ท ป กั ม มั น ต รั ง สี แ ล ะ จั ด ทำ � โ ป ส เ ต อ ร์ ห รื อ ภ า พ น่ิ ง นำ � เ ส น อ การสบื ค้น จากน้ันนำ�เสนอและอภิปรายแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ 8. ให้นักเรียนสรุปบทเรียนเกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสี ไอโซโทปหรือ สารกัมมันตรังสี รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา สมการนิวเคลียร์ ครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ อันตรายและการ ใช้ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสีและไอโซโทปกัมมันตรังสีในด้านต่าง ๆ แล้วท�ำ แบบฝึกหัดเพ่อื ทบทวนความรู้

เคมี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4ผลการเรียนรู ้ 8. สบื คน้ ข้อมูลและยกตัวอย่างการนำ�ธาตมุ าใช้ประโยชน์ รวมทง้ั ผลกระทบตอ่ สิง่ มชี ีวติ และสิง่ แวดล้อม 13การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ งการน�ำ ธาตมุ าใชป้ ระโยชน์ ด้านความรู้ หรือครูอาจนำ�ตัวอย่างภาพท่ีเก่ียวกับการนำ�ธาตุไปใช้ประโยชน์แล้วให้1. การน�ำ ธาตมุ าใชป้ ระโยชนต์ ามสมบตั ิ ของธาตุ การนำ�ธาตุมาใช้ประโยชน์ตามสมบัติของธาตุและ2. ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นักเรยี นคาดคะเนว่าเป็นการใช้ประโยชน์จากธาตชุ นดิ ใดบา้ ง ผลกระทบท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม จากการ 2. ใหน้ กั เรยี นเลน่ เกมอกั ษรไขว้ (puzzle) เกยี่ วกบั การน�ำ ธาตไุ ปใชป้ ระโยชน์ ทำ�กิจกรรม และการทดสอบ จากการนำ�ธาตุมาใช้ประโยชน์ ในด้านตา่ ง ๆ ดา้ นทกั ษะด้านทกั ษะ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลการนำ�ธาตุไปใช้ประโยชน์ รวมท้ัง 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - ผลกระทบท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยแต่ละกลุ่มต้องสืบค้น การสืบคน้ ขอ้ มลูทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ประโยชน์จากธาตุประมาณ 5 ชนดิ และไมซ่ �ำ้ กบั กลมุ่ อื่น 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา และ1. การสอื่ สารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอข้อมูลการสืบค้นผ่านวิธีการท่ีน่าสนใจ 2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา และหลากหลาย เชน่ การแสดงละคร การสมมติเหตกุ ารณจ์ �ำ ลอง ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 3. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 5. อภิปรายร่วมกันเพ่ือสรุปบทเรียนเกี่ยวกับประโยชน์ของธาตุและ จากการท�ำ กจิ กรรม ผลกระทบที่มีตอ่ ส่งิ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อมด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์1. ความอยากรู้อยากเหน็ ความอยากรอู้ ยากเหน็ ความใจกวา้ ง และความมงุ่ มน่ั2. ความใจกว้าง อดทน จากการสงั เกตพฤติกรรมขณะท�ำ กิจกรรม3. ความมงุ่ ม่ันอดทน

14 1. เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตุ พันธะเคมแี ละสมบัติของสาร แก๊สและสมบตั ิของแกส๊ ประเภทและสมบัติ ของสารประกอบอินทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทัง้ การนำ�ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ผลการเรียนร ู้ 9. อธบิ ายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พันธะไอออนกิ โดยใชแ้ ผนภาพหรือสัญลกั ษณ์แบบจดุ ของลิวอสิ การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนยกตัวอย่างสูตรเคมีของสารต่าง ๆ ดา้ นความรู้ ทน่ี กั เรยี นรจู้ กั พรอ้ มทง้ั ระบวุ า่ สารนนั้ ประกอบดว้ ยธาตใุ ดบา้ ง ทงั้ นสี้ ารที่1. พันธะเคมี พันธะเคมี กฎออกเตต การเกิดไอออน การเกิด2. สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส ยกตวั อยา่ งควรมีครบทั้งสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ โลหะ และ พันธะไอออนิก และการเขียนแสดงการเกิดพันธะ3. กฎออกเตต ธาตุหมู่ VIIIA หรือแก๊สมีสกุล ถ้าตัวอย่างยังไม่ครอบคลุมครูควร ไ อ อ อ นิ ก โ ด ย ใ ช้ แ ผ น ภ า พ ห รื อ สั ญ ลั ก ษ ณ์ แ บ บ จุ ด 4. การเกิดไอออน ของลวิ อสิ จากการอภปิ ราย การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ5. การเกดิ พนั ธะไอออนกิ ยกตวั อย่างเพิ่มเตมิ 2. ใช้คำ�ถามเพื่อกระตุ้นความสนใจว่า เพราะเหตุใดธาตุหมู่ VIIIA หรือ แบบฝกึ หดั และการทดสอบดา้ นทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แก๊สมีสกุลจึงอยู่ในรูปอะตอมเดี่ยว แต่ธาตุชนิดอ่ืนส่วนใหญ่ไม่อยู่ใน ด้านทกั ษะ การจำ�แนกประเภท รปู อะตอมเดย่ี ว เพอ่ื เชอื่ มโยงเขา้ สกู่ ฎออกเตตและการเกดิ พนั ธะเคมี 1. การจ�ำ แนกประเภท และการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 3. อภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั จ�ำ นวนเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนของแตล่ ะอะตอมของ1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา ธาตุในสารท่ียกตัวอย่าง เปรียบเทียบกับจำ�นวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของ และการแกป้ ญั หา จากการทำ�กิจกรรม2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ธาตหุ มู่ VIIIA หรือแกส๊ มีสกลุ จากน้นั อธบิ ายกฎออกเตต และการเขียน 2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการ สญั ลักษณแ์ บบจุดของลวิ อสิ แสดงเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนของธาตุ สังเกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กิจกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์ 4. ให้นักเรียนทำ�กิจกรรมโดยจัดกลุ่มสารท่ีได้ยกตัวอย่างไว้ โดยให้นักเรียน พิจารณาจากความเปน็ โลหะของธาตอุ งคป์ ระกอบในสารแตล่ ะชนดิ ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์1. ความใจกวา้ ง 5. อภิปรายรว่ มกนั เพื่อใหไ้ ด้ข้อสรปุ ว่า สารบางชนิดเกดิ จากการรวมตัวของ ความใจกวา้ งและการใชว้ จิ ารณญาณ จากการสงั เกต2. การใช้วิจารณญาณ ธาตุโลหะกับธาตุอโลหะ และบางชนิดเกิดจากธาตุอโลหะ หรือธาตุโลหะ เทา่ นัน้ พฤติกรรมในการอภิปราย 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมโดยใช้สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส แสดงการเกดิ พนั ธะเคมขี องสารแตล่ ะชนดิ ตามความคดิ ของนกั เรยี น แลว้ อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับความแตกต่างของการเกิดพันธะ เพ่ือให้เห็นว่า สารแตล่ ะชนิดเกดิ จากพนั ธะเคมีทีม่ กี ารใช้อิเล็กตรอนแตกต่างกนั

เคมี 15การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 7. นำ�เข้าสู่การศึกษาเรื่องพันธะไอออนิก โดยอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การเกิดไอออน การเกิดพันธะไอออนิก และสารประกอบไอออนิก ซึ่งเป็นไปตามกฎออกเตต โดยใช้แผนภาพหรือสัญลักษณ์แบบจุดของ ลิวอสิ ประกอบการอภิปราย 8. ให้นักเรียนเขียนแผนภาพหรือสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสแสดงการให้ และรับอิเล็กตรอนในการเกิดพันธะไอออนิก จากตัวอย่างท่ีกำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณีท่ีนักเรียน มีความเข้าใจทคี่ ลาดเคล่ือน 9. อภิปรายร่วมกันเก่ียวกับโครงสร้างของสารประกอบไอออนิก โดยให้ นักเรียนพิจารณาจากแบบจำ�ลองหรือภาพโครงสร้างของสาร เพ่ือให้ได้ ขอ้ สรปุ วา่ สารประกอบไอออนกิ เปน็ โครงผลกึ ทปี่ ระกอบดว้ ยไอออนบวก และไอออนลบจดั เรยี งตวั ตอ่ เนอ่ื งกนั ไปทง้ั สามมติ ิ ไมอ่ ยใู่ นรปู โมเลกลุ ซงึ่ มี จ�ำ นวนอะตอมท่ชี ดั เจน 10. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เก่ียวกับการเกิดไอออนและการเกิด พันธะไอออนกิ และใหน้ กั เรียนทำ�แบบฝกึ หดั เพ่ือทบทวนความรู้

16 ผลการเรียนร้ ู 10. เขยี นสูตรและเรียกช่ือสารประกอบไอออนกิการวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยยกตวั อยา่ งสตู รเคมขี องสารประกอบไอออนกิ ของธาตุ ดา้ นความรู้ เรพรเี ซนเททฟี (เฉพาะธาตโุ ลหะทมี่ เี ลขออกซเิ ดชนั คา่ เดยี ว) ทม่ี อี ตั ราสว่ น วธิ กี ารเขยี นสตู รและการเรยี กชอ่ื สารประกอบไอออนกิ1. การเขียนสตู รสารประกอบไอออนกิ ของไอออนบวกและไอออนลบต่าง ๆ จากนั้นใช้ค�ำ ถามนำ�วา่ ไอออนบวก จากการอภปิ ราย การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ แบบฝกึ หดั2. การเรยี กช่อื สารประกอบไอออนกิ และไอออนลบในสารประกอบไอออนิกแต่ละชนิดจะรวมตัวกันด้วย และการทดสอบด้านทักษะ อัตราสว่ นเทา่ ใดทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. อธิบายการเขียนสูตรและการเรียกช่ือสารประกอบไอออนิก รวมทั้ง ด้านทกั ษะ - ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 สารประกอบไอออนิกท่ีไอออนเกดิ จากกลุ่มอะตอม สงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กิจกรรรม ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 3. ให้นักเรียนเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก จากตัวอย่าง ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ด้านจติ วิทยาศาสตร์ ที่กำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณี - - ที่นักเรยี นมีความเข้าใจทค่ี ลาดเคลือ่ น 4. อธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการเรียกช่ือสารประกอบไอออนิกของธาตุโลหะ ท่ีเกิดเป็นไอออนบวกได้หลายค่า จึงต้องมีการระบุค่าประจุโดยใช้เลข ออกซิเดชัน รวมทั้งสารประกอบไอออนิกของธาตุโลหะแทรนซิชัน ท้ังนี้ ครอู ธบิ ายความเชอื่ มโยงระหวา่ งคา่ ประจกุ บั เลขออกซเิ ดชนั ของธาตโุ ลหะ 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเก่ียวกับการ เขยี นสูตรและการเรียกช่ือสารประกอบไอออนกิ จากน้ันตรวจสอบความ ถกู ตอ้ งและอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ในกรณที นี่ กั เรยี นมีความเขา้ ใจทคี่ ลาดเคลอ่ื น 6. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับการเขียนสูตรและการเรียกชื่อ สารประกอบไอออนกิ และให้นกั เรียนท�ำ แบบฝึกหัดเพือ่ ทบทวนความรู้

เคมี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4ผลการเรียนร ู้ 11. คำ�นวณพลงั งานท่ีเก่ียวข้องกบั ปฏิกิรยิ าการเกิดสารประกอบไอออนกิ จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ 17การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยยกตวั อยา่ งปฏกิ ริ ยิ าเคมที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดดู พลงั งาน ด้านความรู้ และคายพลงั งาน รวมทง้ั การเขยี นสมการเคมที แ่ี สดงการดดู และคายพลงั งาน1. พลงั งานรวมของปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ สารประกอบ วิธีการคำ�นวณพลังงานรวมของปฏิกิริยาการเกิด ไอออนกิ 2. อธิบายว่าพลังงานท่ีเก่ียวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดจากการดูด สารประกอบไอออนิก และการเขียนแผนภาพ2. วฏั จักรบอรน์ -ฮาเบอร์ พลงั งานเพอ่ื สลายพนั ธะเคมขี องสารตง้ั ตน้ และการคายพลงั งานเพอื่ สรา้ ง วัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ จากการอภิปราย การทำ� พนั ธะเคมขี องผลติ ภณั ฑ์ แบบฝกึ หดั และการทดสอบดา้ นทกั ษะทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. ให้นักเรียนศึกษาวดี ทิ ศั น์หรอื ภาพประกอบการเกิดสารประกอบโซเดียม ด้านทกั ษะ การใชจ้ �ำ นวน คลอไรด์ จากปฏิกิริยาระหว่างโลหะโซเดียมกับแก๊สคลอรีน และอธิบาย การใชจ้ ำ�นวน จากการทำ�แบบฝกึ หดัทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 - เก่ียวกับการดูดและคายพลังงานของข้ันตอนต่าง ๆ ในวัฏจักรบอร์น- ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ ฮาเบอร์ และการคำ�นวณพลังงานรวมของปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบ การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรม ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ไอออนกิ ดว้ ยวัฏจกั รบอร์น-ฮาเบอร์ การใช้วิจารณญาณ 4. ให้นักเรียนคำ�นวณค่าพลังงานรวมของปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบ ในการอภิปราย ไอออนิก จากแผนภาพวฏั จกั รบอรน์ -ฮาเบอร์ทีก่ �ำ หนดให้ 5. ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับพลังงานรวมของปฏิกิริยาการเกิด สารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ และให้นักเรียนทำ� แบบฝกึ หดั เพื่อทบทวนความรู้

18 ผลการเรียนร ู้ 12. อธบิ ายสมบัติของสารประกอบไอออนกิการวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษาวดี ทิ ศั นห์ รอื ภาพประกอบเมอื่ ท�ำ การ ด้านความรู้ สมบตั ิของสารประกอบไอออนิก ทบุ ผลกึ ของสารประกอบไอออนิกและการเปลยี่ นแปลงของโครงผลกึ สมบัติของสารประกอบไอออนิก จากการอภิปรายด้านทักษะ 2. ใชค้ �ำ ถามวา่ เพราะเหตใุ ดเมอื่ ทบุ ผลกึ ของสารประกอบไอออนกิ แลว้ ผลกึ การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของสารประกอบไอออนิกจึงแตก และอภิปรายร่วมกันเพื่อลงข้อสรุปว่า การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ การที่ผลึกแตกเนื่องจากแรงกระทำ�มีผลทำ�ให้ไอออนเลื่อนไถล แล้ว ด้านทักษะทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากการทำ� ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ แรงยึดเหน่ียวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบเปลี่ยนไปเป็นแรงผลัก ของไอออนชนิดเดียวกัน สารประกอบไอออนิกจึงมีสมบัติเปราะและ กจิ กรรมดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ แตกได้ง่าย จากนั้นเช่ือมโยงเข้าสู่สมบัติอ่ืน ๆ ของสารประกอบไอออนิก 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� - โดยน�ำ เข้าสกู่ ิจกรรม 3. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื ศกึ ษาสมบตั ขิ องสารประกอบไอออนกิ จากการสงั เกตพฤติกรรมในการทำ�กิจกรรม โดยให้พิจารณาสมบัติของสารประกอบไอออนิกแต่ละชนิดจากข้อมูล ทกี่ �ำ หนดให้ จากนนั้ อภปิ รายรว่ มกนั ภายในกลมุ่ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ เกยี่ วกบั ด้านจติ วิทยาศาสตร์ สมบัตขิ องสารประกอบไอออนกิ - 4. อภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกบั สมบตั ขิ องสารประกอบไอออนกิ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ สารประกอบไอออนิกส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นผลึกของแข็ง เปราะและ แตกง่าย มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ละลายนำ้�ได้ เมื่อเป็นของแข็ง ไมน่ �ำ ไฟฟา้ แตถ่ า้ ท�ำ ใหห้ ลอมเหลวหรอื ละลายในน�้ำ จะน�ำ ไฟฟา้ พรอ้ มทง้ั อธบิ ายเหตผุ ล 5. ให้ความรู้เก่ียวกับการละลายนำ้�ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดูดพลังงานและ คายพลังงาน และสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายที่เกิดจาก สารประกอบไอออนิกประเภทคลอไรด์และออกไซด์ 6. อภิปรายร่วมกนั เพ่อื สรุปความร้เู กีย่ วกบั สมบตั ิของสารประกอบไอออนิก และให้นกั เรียนท�ำ แบบฝึกหดั เพอ่ื ทบทวนความรู้

เคมี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4ผลการเรียนรู้ 13. เขยี นสมการไอออนิกและสมการไอออนกิ สทุ ธขิ องปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบไอออนกิ 19การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยสาธิตการละลายนำ้�ของ CaCl2 Na2CO3 และ ดา้ นความรู้ CaCO3 แลว้ ใหน้ กั เรยี นเขยี นไอออนบวกและไอออนลบทอี่ ยใู่ นสารละลาย สมการไอออนกิ และสมการไอออนิกสทุ ธิ แล้วใช้คำ�ถามว่า ถ้านำ�สารละลาย CaCl2 และ Na2CO3 ผสมกัน จะเกิด วิธีการเขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิก การเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร เพื่อน�ำ เข้าสู่การทดลอง สทุ ธแิ สดงการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบไอออนกิด้านทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�การทดลองเพื่อศึกษาการเกิดปฏิกิริยาการ จากการอภิปราย รายงานการทดลอง การทำ� การทดลอง ตกตะกอนของสารประกอบไอออนิก โดยให้ผสมสารละลายของ แบบฝกึ หดั และการทดสอบทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ สารประกอบไอออนิกสองชนิดเข้าด้วยกัน แล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง ด้านทกั ษะ ทเ่ี กิดขนึ้ 1. การทดลอง จากรายงานการทดลองและการสังเกตด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ 3. อภปิ รายผลการทดลองโดยเชื่อมโยงความรู้กับสภาพละลายไดข้ องสาร1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ 4. อธิบายเก่ียวกับการเขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ แล้ว พฤตกิ รรมในการทำ�การทดลอง2. ความใจกว้าง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของ 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ปฏิกิริยาทเ่ี กิดข้นึ จากการทดลอง 5. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับการเขียนสมการไอออนิก จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการท�ำ การทดลอง แ ล ะ ส ม ก า ร ไ อ อ อ นิ ก สุ ท ธิ แ ส ด ง ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ข อ ง ส า ร ป ร ะ ก อ บ ไอออนกิ และให้นกั เรียนท�ำ แบบฝกึ หดั เพอ่ื ทบทวนความรู้ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ความอยากรู้อยากเห็นและความใจกว้าง จากการ สงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ การทดลอง

20 ผลการเรยี นรู้ 14. อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนตแ์ บบพนั ธะเดีย่ ว พันธะคู่ และพนั ธะสาม ด้วยโครงสร้างลิวอิสการวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. ทบทวนความรู้เก่ียวกับการเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสของธาตุ ด้านความรู้ จากน้ันครูยกตัวอย่างสารโคเวเลนต์เพ่ือให้นักเรียนเขียนแสดงการเกิด1. การเกิดพนั ธะโคเวเลนต์ พนั ธะด้วยสัญลักษณแ์ บบจดุ ของลวิ อสิ ตามกฎออกเตต การเกิดพันธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดี่ยว พันธะคู่2. พันธะเด่ียว พันธะคู่ และพนั ธะสาม และพันธะสาม และการเขียนแสดง การเกิดพันธะ3. โครงสรา้ งลิวอสิ 2. อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเกิดพันธะโคเวเลนต์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า โคเวเลนต์ด้วยโครงสร้างลิวอิส จากการอภิปราย พนั ธะโคเวเลนตเ์ กดิ จากการใชเ้ วเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั ของธาตอุ โลหะ การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบด้านทักษะทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีทั้งแบบพันธะเด่ียว พันธะคู่ และพันธะสาม ซึ่งเขียนแสดงได้ด้วย ด้านทกั ษะ - โครงสรา้ งลิวอิส ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 3. ให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ พันธะโคเวเลนต์ท่ีอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะมาจากอะตอมใดอะตอมหน่ึง จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทำ�กิจกรรม และโมเลกลุ ทีไ่ ม่เป็นไปตามกฎออกเตตดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ - การเขยี นโครงสรา้ งลวิ อสิ แสดงการเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ จากนนั้ ตรวจสอบ - ความถูกต้องและอธิบายเพ่ิมเติมในกรณีที่นักเรียนมีความเข้าใจที่ คลาดเคลือ่ น 5. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับการเกิดพันธะโคเวเลนต์ และ ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหดั เพื่อทบทวนความรู้

เคมี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4ผลการเรียนรู้ 15. เขยี นสูตรและเรยี กชื่อสารโคเวเลนต์ 21การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เร่ืองค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีและ ด้านความรู้ แนวโน้มของค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในตารางธาตุ เพ่ือใช้ใน 1. การเขยี นสตู รสารโคเวเลนต์ การศกึ ษาหลกั การเขยี นสตู รโมเลกลุ ของสารโคเวเลนต์ จากนน้ั ยกตวั อยา่ ง วิธีการเขียนสูตรและการเรียกช่ือสารโคเวเลนต์ 2. การเรยี กชื่อสารโคเวเลนต์ สารโคเวเลนต์แล้วให้นักเรียนเปรียบเทียบค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุ จากการอภปิ ราย การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ แบบฝกึ หดั องค์ประกอบในสารนัน้ และการทดสอบดา้ นทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ พจิ ารณาสตู รและชอ่ื สารโคเวเลนตต์ า่ ง ๆ จากขอ้ มลู ด้านทกั ษะ การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ท่ีกำ�หนดให้ และเสนอเกี่ยวกับหลักการเขียนสูตรและการเรียกชื่อสาร 1. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป และการคิดทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 211. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา โคเวเลนต์ อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการทำ�2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 3. อภิปรายร่วมกันเพ่ือสรุปเก่ียวกับหลักการเขียนสูตรและการเรียกชื่อ กิจกรรม 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ สารโคเวเลนต์ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กจิ กรรม การใชว้ จิ ารณญาณ 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ การเขยี นสตู รและการเรยี กชอ่ื สารโคเวเลนต์ จากนน้ั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรม และอธบิ ายเพิม่ เตมิ ในกรณที ีน่ กั เรียนมีความเข้าใจทีค่ ลาดเคลื่อน 5. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับการเขียนสูตรและการเรียกชื่อ ในการท�ำ กิจกรรรม สารโคเวเลนต์ และใหน้ กั เรียนทำ�แบบฝึกหดั เพ่อื ทบทวนความรู้

22 ผลการเรยี นรู้ 16. วิเคราะห์ และเปรยี บเทียบความยาวพนั ธะและพลงั งานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมทั้งค�ำ นวณพลังงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับปฏิกริ ิยาของ สารโคเวเลนต์จากพลังงานพันธะการวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนศึกษาวีดิทัศน์หรือกราฟแสดงการ ด้านความรู้ เปลย่ี นแปลงพลงั งานในการเกดิ โมเลกลุ ไฮโดรเจน จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั ความยาวพันธะและพลงั งานพันธะ ความยาวพนั ธะและพลงั งานพนั ธะในสารโคเวเลนต์ เพอ่ื เชือ่ มโยงเข้าสู่เร่ืองความยาวพนั ธะและพลังงานพันธะ จากการอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบด้านทักษะ 2. ยกตัวอย่างโมเลกุลต่าง ๆ ท่ีมีพันธะชนิดเดียวกัน เช่น พันธะ O–H ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะ1. การใชจ้ �ำ นวน ในโมเลกลุ ของ H2O CH3OH HNO2 แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั วา่ พนั ธะ O–H 1. การใชจ้ �ำ นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หดั2. การตคี วามหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ ในสารเหล่านี้ควรมีความยาวพันธะและพลังงานพันธะเท่ากันหรือไม่ 2. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากการทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 - เพราะเหตใุ ด อภิปราย 3. ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลความยาวพันธะและพลังงานพันธะภายในดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ การใชว้ จิ ารณญาณ โมเลกุลแต่ละโมเลกุล และข้อมูลความยาวพันธะเฉลี่ยและพลังงาน การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรม พนั ธะเฉลยี่ เพอื่ ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ มคี า่ ตา่ งกนั อยา่ งไรกต็ ามความยาวพนั ธะเฉลย่ี และพลงั งานพนั ธะเฉลี่ยนยิ มใชใ้ นการค�ำ นวณทางเคมี ซ่งึ ผลลัพธท์ ีไ่ ด้จะ ในการอภปิ ราย เปน็ ค่าโดยประมาณ 4. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู และอภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ ความยาว พนั ธะและพลงั งานพนั ธะมคี วามสมั พนั ธก์ บั ขนาดอะตอมและชนดิ ของพนั ธะ 5. ใหน้ กั เรียนวเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบความยาวพันธะและพลังงานพนั ธะ ของสารโคเวเลนต์ จากตวั อยา่ งทก่ี �ำ หนดให้ จากนน้ั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และอธิบายเพิม่ เติมในกรณที นี่ ักเรยี นมีความเข้าใจทคี่ ลาดเคลอ่ื น 6. ให้ความรู้เกี่ยวกับการคำ�นวณพลังงานที่เก่ียวข้องกับปฏิกิริยาของ สารโคเวเลนตจ์ ากพลังงานพนั ธะ 7. ให้นักเรียนคำ�นวณพลังงานท่ีเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์ จากพลังงานพันธะ จากน้ันตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพ่ิมเติม ในกรณที ีน่ กั เรียนมคี วามเข้าใจทค่ี ลาดเคลอ่ื น 8. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เก่ียวกับความยาวพันธะและพลังงาน พันธะ และให้นกั เรียนท�ำ แบบฝึกหดั เพอ่ื ทบทวนความรู้

เคมี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4ผลการเรยี นร ู้ 17. คาดคะเนรปู รา่ งโมเลกลุ โคเวเลนต์โดยใช้ทฤษฎกี ารผลักระหวา่ งคอู่ ิเลก็ ตรอนในวงเวเลนซ์ และระบสุ ภาพขวั้ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ 23การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาแบบจ�ำ ลองโครงสรา้ งสามมติ หิ รอื ด้านความรู้ โปรแกรมสำ�เร็จรูปที่ใช้ในการศึกษารูปร่างโมเลกุลของโมเลกุลโคเวเลนต์1. รปู รา่ งโมเลกลุ โคเวเลนตต์ ามทฤษฎกี ารผลกั ทมี่ รี ปู รา่ งโมเลกลุ ตา่ งกนั เชน่ มเี ทน (CH4) น�้ำ (H2O) คารบ์ อนไดออกไซด์ รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์จากการใช้ทฤษฎีการผลัก ระหวา่ งคู่อิเลก็ ตรอนในวงเวเลนซ์ (VSEPR) (CO2) แอมโมเนีย (NH3) และใช้คำ�ถามนำ�ว่า รูปร่างโมเลกุลและ ระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์ สภาพข้ัวของ พนั ธะโคเวเลนต์ และสภาพขวั้ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์2. สภาพข้ัวของพนั ธะโคเวเลนต์ มมุ ระหว่างพนั ธะของสารเหลา่ นเ้ี หมอื นหรือต่างกนั อย่างไร จากการอภปิ ราย การท�ำ กจิ กรรม การท�ำ แบบฝกึ หดั3. สภาพข้วั ของโมเลกุลโคเวเลนต์ 2. อธบิ ายเกย่ี วกบั ทฤษฎกี ารผลกั ระหวา่ งคอู่ เิ ลก็ ตรอนในวงเวเลนซ์ (VSEPR และการทดสอบดา้ นทกั ษะ theory) เพือ่ เช่ือมโยงไปสกู่ ารคาดคะเนรูปร่างโมเลกุล ดา้ นทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมเพื่อศึกษารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 1. การสังเกตและการสร้างแบบจำ�ลอง จากการทำ�1. การสงั เกต2. การสรา้ งแบบจำ�ลอง ทอ่ี ะตอมกลางไมม่ อี เิ ลก็ ตรอนคโู่ ดดเดย่ี วจากทฤษฎี VSEPR โดยใชล้ กู โปง่ กจิ กรรมทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 แทนแบบจ�ำ ลองโมเลกลุ ซงึ่ นกั เรยี นจะไดส้ งั เกตและวาดรปู รา่ งของลกู โปง่ 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ทีผ่ ูกตดิ กัน 4. อภิปรายและลงข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับรูปร่างโมเลกุลและมุมระหว่าง จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กิจกรรมดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ - พันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ที่อะตอมกลางไมม่ ีอิเลก็ ตรอนคโู่ ดดเดีย่ ว ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ 5. ใชค้ �ำ ถามน�ำ วา่ ในกรณขี องโมเลกลุ โคเวเลนตท์ อ่ี ะตอมกลางมอี เิ ลก็ ตรอน - คู่โดดเด่ียวจะมีรูปร่างโมเลกุลเป็นอย่างไร เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่การศึกษา รูปร่างโมเลกลุ โคเวเลนต์ท่ีอะตอมกลางมอี ิเลก็ ตรอนคู่โดดเดยี่ ว 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมเพ่ือศึกษารูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ ที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเด่ียวจากทฤษฎี VSEPR โดยใช้ลูกโป่ง แทนแบบจ�ำ ลองโมเลกลุ ซงึ่ นกั เรยี นจะไดส้ งั เกตและวาดรปู รา่ งของลกู โปง่ ที่ผูกตดิ กนั 7. อภิปรายและลงข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับรูปร่างโมเลกุลและมุมระหว่าง พันธะของโมเลกุลโคเวเลนต์ทีอ่ ะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดยี่ ว 8. ใหน้ กั เรยี นระบรุ ปู รา่ งโมเลกลุ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ จากตวั อยา่ งทก่ี �ำ หนดให้ จากน้ันตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณีท่ีนักเรียน มีความเขา้ ใจท่ีคลาดเคล่ือน

24 แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ 9. ใชค้ �ำ ถามวา่ รปู รา่ งโมเลกลุ และชนดิ ของอะตอมทส่ี รา้ งพนั ธะกบั อะตอมกลาง ส่งผลต่อสภาพข้ัวของโมเลกุลอย่างไร เพื่อนำ�เข้าสู่เร่ืองสภาพข้ัวของ โมเลกลุ 10. ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั สภาพขว้ั ของพนั ธะ สภาพขว้ั ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ และ การเขียนแสดงทิศทางขว้ั ของพนั ธะ 11. ใหน้ กั เรยี นเขยี นแสดงทศิ ทางขวั้ ของพนั ธะ และระบสุ ภาพขวั้ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ จากตัวอย่างท่ีกำ�หนดให้ จากน้ันตรวจสอบความถูกต้องและ อธบิ ายเพม่ิ เติมในกรณีที่นักเรยี นมีความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือน 12. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เก่ียวกับรูปร่างโมเลกุลและสภาพข้ัวของ โมเลกลุ โคเวเลนต์ และใหน้ ักเรยี นท�ำ แบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความรู้

เคมี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4ผลการเรยี นรู ้ 18. ระบุชนดิ ของแรงยึดเหน่ยี วระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทยี บจดุ หลอมเหลว จุดเดอื ด และการละลายน้ำ�ของสารโคเวเลนต์ 25การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยยกตวั อยา่ งโมเลกลุ โคเวเลนตช์ นดิ ตา่ ง ๆ และ ใหน้ กั เรยี น ดา้ นความรู้ พิจารณาจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสาร จากนั้นใช้คำ�ถามนำ�ว่า1. ชนิดของแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุล ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โคเวเลนต์ จดุ หลอมเหลวและจุดเดอื ดของสารข้นึ อยู่กับปัจจัยใดบา้ ง และความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของแรงยึดเหน่ียว 2. ให้นักเรียนพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับมวลโมเลกุล จุดหลอมเหลว และ2. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชนดิ ของแรงยดึ เหนยี่ ว ระหวา่ งโมเลกลุ โคเวเลนตก์ บั จดุ หลอมเหลว จดุ เดอื ด ระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์กับจุดหลอมเหลว จุดเดือด ของโมเลกุลโคเวเลนต์มีข้ัวและโมเลกุลโคเวเลนต์ไม่มีข้ัวต่าง ๆ และการละลายน�้ำ ของสาร จากการอภปิ ราย การท�ำ จดุ เดือด และการละลายนำ้� และอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างจุดหลอมเหลว แบบฝกึ หดั และการทดสอบ และจุดเดือด กับมวลโมเลกุลและสภาพขั้วของโมเลกุล แล้วเช่ือมโยง ด้านทกั ษะ เข้าสู่การอธิบายชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ซึ่งอาจเป็น ด้านทักษะทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ แรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลหรือแรงแวนเดอร์วาลส์ แรงแผ่กระจาย การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป และการคิด การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ ลอนดอน แรงระหว่างข้ัว หรอื พนั ธะไฮโดรเจน อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา จากการอภปิ รายทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 3. อภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ สารโคเวเลนตส์ ว่ นใหญม่ จี ดุ หลอมเหลว การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา และจุดเดือดต่ำ�กว่าสารประกอบไอออนิก เนื่องจากจุดหลอมเหลวและ ด้านจติ วิทยาศาสตร์ จุดเดอื ดของสารโคเวเลนต์เปน็ การทำ�ลายแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งโมเลกุล การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรม ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ สว่ นจดุ หลอมเหลวและจดุ เดอื ดของสารประกอบไอออนกิ เปน็ การท�ำ ลาย การใชว้ ิจารณญาณ พันธะไอออนิกในสารประกอบนน้ั ในการอภปิ ราย 4. ใช้คำ�ถามว่า แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและมวลโมเลกุลนอกจาก มีผลต่อจุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดแลว้ ยงั มผี ลต่อการละลายนำ้�ของสาร โคเวเลนตห์ รอื ไม่ อย่างไร 5. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาขอ้ มลู เกย่ี วกบั การละลายน�้ำ ของสารโคเวเลนตต์ า่ ง ๆ ทั้งโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้วและไม่มีขั้ว และให้นักเรียนวิเคราะห์ อภิปราย และลงขอ้ สรปุ รว่ มกนั เกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ ง โมเลกุลและมวลโมเลกุลกับการละลายน้ำ�ของสารโคเวเลนต์ จากนั้น ให้ความรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายท่ี เกดิ จากสารโคเวเลนตป์ ระเภทคลอไรดแ์ ละออกไซด์

26 แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ 6. ให้นักเรียนระบุชนิดของแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลและเปรียบเทียบ จดุ หลอมเหลว จดุ เดอื ด และการละลายน�้ำ ของสารโคเวเลนต์ จากตวั อยา่ ง ที่กำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณี ทน่ี กั เรียนมีความเข้าใจทค่ี ลาดเคล่ือน 7. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของ แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งโมเลกลุ และมวลโมเลกลุ กบั จดุ หลอมเหลว จดุ เดอื ด และการละลายน้ำ�ของสารโคเวเลนต์ และให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด เพอื่ ทบทวนความรู้

เคมี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4ผลการเรยี นร ู้ 19. สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายสมบตั ขิ องสารโคเวเลนตโ์ ครงร่างตาขา่ ยชนดิ ต่าง ๆ 27การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. น�ำ เขา้ ส่บู ทเรียนโดยให้นกั เรยี นพจิ ารณาจดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวของ ด้านความรู้ สารโคเวเลนต์ซ่ึงมีทั้งสารโคเวเลนต์ท่ัวไปและสารโคเวเลนต์โครงร่าง สมบตั สิ ารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาข่าย สมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย จากการ ตาข่าย จากนั้นอภิปรายร่วมกันเพื่อนำ�เข้าสู่โครงสร้างของสารโคเวเลนต์ อภิปราย และผลการสบื คน้ ข้อมูลดา้ นทกั ษะ โครงร่างตาข่ายทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาตวั อย่างโครงสรา้ งของสารโคเวเลนตโ์ ครงร่างตาข่าย ด้านทักษะ - โดยใช้แบบจำ�ลองสามมิติหรือภาพประกอบ จากน้ันให้นักเรียนแต่ละ 1. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากผลทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 กลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย ในประเด็น 1. การส่ือสารสารสนเทศและการร้เู ทา่ ทันสือ่ เก่ียวกับโครงสร้างของสาร จุดเดือด จุดหลอมเหลว การละลายน้ำ� และ การสืบค้นข้อมลู การอภิปราย และการน�ำ เสนอ2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ การนำ�ไปใช้ประโยชน์ 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นข้อมูลในรูปแบบด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ตา่ ง ๆ แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ เกย่ี วกบั สมบตั ขิ องสารโคเวเลนต์ จากการสบื คน้ ขอ้ มูล1. ความใจกว้าง โครงรา่ งตาขา่ ย และการน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ รวมทง้ั สารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ ง2. การเหน็ คณุ ค่าทางวทิ ยาศาสตร์ ตาขา่ ยทม่ี ธี าตอุ งคป์ ระกอบเหมอื นกนั แตม่ อี ญั รปู ตา่ งกนั จะมสี มบตั ติ า่ งกนั ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ 1. ความใจกวา้ ง จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการอภปิ ราย 2. การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ จากผลการสืบค้น ข้อมลู

28 ผลการเรียนรู้ 20. อธบิ ายการเกดิ พันธะโลหะและสมบัติของโลหะการวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งโลหะทน่ี �ำ มาใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ดา้ นความรู้ และใช้คำ�ถามว่า โลหะมีสมบัติอย่างไรจึงนำ�มาใช้ประโยชน์ จากนั้น การเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ จากการ1. การเกดิ พันธะโลหะ2. สมบตั ิของโลหะ อภิปรายร่วมกันเพ่ือให้สรุปได้ว่า โลหะส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีจุดเดือด อภิปราย การทำ�แบบฝึกหดั และการทดสอบ และจดุ หลอมเหลวสงู ผิวมนั วาว สามารถนำ�ไฟฟ้าและน�ำ ความรอ้ นได้ด้านทักษะ 2. ใช้คำ�ถามว่า สมบัติต่าง ๆ ของโลหะเกี่ยวข้องกับพันธะของโลหะหรือไม่ ด้านทกั ษะทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ อย่างไร เพือ่ เชอ่ื มโยงเขา้ สูก่ ารอธิบายเกี่ยวกบั การเกดิ พนั ธะโลหะ - - 3. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาวดี ทิ ศั นห์ รอื ภาพประกอบเกย่ี วกบั การเกดิ พนั ธะโลหะทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 และแบบจ�ำ ลองทะเลอเิ ลก็ ตรอนเพ่อื ศกึ ษาการเกดิ พนั ธะโลหะ ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ - 4. อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการเกิดพันธะโลหะว่า พันธะโลหะเกิดจาก การใชว้ จิ ารณญาณ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการ เวเลนซ์อิเล็กตรอนของทุกอะตอมของโลหะเคลื่อนท่ีอย่างอิสระไปท่ัวด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ ทั้งก้อนโลหะและเกิดแรงยึดเหนี่ยวกับโปรตอนในนิวเคลียสทุกทิศทาง อภปิ ราย การใช้วิจารณญาณ ดังแสดงไดด้ ้วยแบบจำ�ลองทะเลอเิ ล็กตรอน 5. อภปิ รายและลงขอ้ สรปุ รว่ มกนั เกยี่ วกบั พนั ธะโลหะทส่ี ง่ ผลตอ่ สมบตั ติ า่ ง ๆ ของโลหะ ได้แก่ จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนำ�ไฟฟ้า การนำ�ความร้อน ผวิ มนั วาว ตเี ป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ 6. ใหน้ กั เรียนทำ�แบบฝกึ หัดเพอ่ื ทบทวนความรู้

เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4ผลการเรียนรู้ 21. เปรยี บเทียบสมบตั ิบางประการของสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะ สืบค้นข้อมูลและนำ�เสนอตวั อยา่ งการใช้ประโยชนข์ อง 29 สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ ได้อยา่ งเหมาะสมการวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับการเกิดพันธะเคมี และสมบัติ ด้านความรู้ บางประการของสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะ สมบัติบางประการและประโยชน์ของ สมบัติบางประการและประโยชน์ของสารประกอบ สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และ 2. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนระบุชนิดของพันธะ ไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะ จากการอภปิ ราย โลหะ และสมบตั ขิ องสาร จากตวั อยา่ งสารในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทก่ี �ำ หนดให้ หรอื ท�ำ การท�ำ กจิ กรรม การสบื คน้ ขอ้ มลู การท�ำ แบบฝกึ หดั กจิ กรรมจบั ครู่ ะหวา่ งชนดิ ของพนั ธะกบั สมบตั ขิ องสาร และการทดสอบดา้ นทักษะทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�กิจกรรมโดยอภิปรายร่วมกันเพ่ือสรุปความคิด ดา้ นทกั ษะ การสร้างแบบจำ�ลอง รวบยอด โดยใหร้ ะบปุ ระเภทของธาตอุ งคป์ ระกอบและการเกดิ พนั ธะ และ 1. การสร้างแบบจำ�ลอง จากผลงานทน่ี ำ�เสนอทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากผล1. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั ส่อื และโลหะ โดยให้นักเรียนนำ�เสนอในรูปของแผนภาพ ผังมโนทัศน์ หรือ2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ตาราง การสบื ค้นขอ้ มูล การอภิปราย และการน�ำ เสนอ 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ 4. สะทอ้ นความคดิ จากผลงานทน่ี กั เรยี นน�ำ เสนอ โดยครคู วรใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ1. ความใจกว้าง หรอื แกไ้ ขความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคลอ่ื น จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทำ�กจิ กรรม2. การใชว้ ิจารณญาณ3. การเหน็ คณุ ค่าทางวทิ ยาศาสตร์ 5. ทบทวนความรู้เก่ียวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ และโลหะ จากนน้ั ใชค้ �ำ ถามวา่ สมบตั เิ หลา่ นเ้ี กย่ี วขอ้ งกบั การน�ำ สารแตล่ ะ ความใจกว้าง การใช้วิจารณญาณ และการเห็น ประเภทไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั อยา่ งไร คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ จากการสังเกตพฤติกรรม 6. ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การน�ำ สารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ ในการทำ�กิจกรรรมและผลการสบื ค้นข้อมลู และโลหะ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมในดา้ นตา่ ง ๆ พรอ้ มทง้ั ใหเ้ หตผุ ล ประกอบ 7. ใหน้ กั เรยี นน�ำ เสนอขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสบื คน้ ขอ้ มลู ในรปู แบบตา่ ง ๆ 8. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั เพอ่ื ทบทวนความรู้

30 3. เข้าใจหลักการทำ�ปฏิบัตกิ ารเคมี การวดั ปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปล่ยี นหน่วย การค�ำ นวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทัง้ การบรู ณาการความรแู้ ละทักษะในการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นชีวิตประจ�ำ วนั และการแก้ปัญหาทางเคมี ผลการเรยี นร ู้ 5. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำ�นวณมวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ มวลโมเลกลุ และมวลสตู ร การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับอะตอม ไอออน โมเลกุล ดา้ นความรู้ และอนภุ าคภายในอะตอม 1. มวลอะตอมของธาตุ มวลอะตอมของธาตุ มวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ 2. มวลอะตอมเฉล่ยี ของธาตุ 2. อธิบายความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และให้นักเรียนคำ�นวณมวล มวลโมเลกลุ และมวลสตู ร จากการอภปิ ราย การท�ำ 3. มวลโมเลกุลและมวลสตู ร อะตอมของธาตุ จากตัวอยา่ งท่ีกำ�หนดให้ จากนน้ั ตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพ่มิ เตมิ ในกรณที นี่ ักเรียนมคี วามเขา้ ใจท่ีคลาดเคลอ่ื น แบบฝกึ หดั และการทดสอบ ด้านทกั ษะ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. เชอื่ มโยงความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั ธาตใุ นธรรมชาตมิ มี ากกวา่ หนง่ึ ไอโซโทป และ ด้านทกั ษะ การใช้จ�ำ นวน แตล่ ะไอโซโทปมปี รมิ าณทแี่ ตกตา่ งกนั ไป จากนน้ั อภปิ รายรว่ มกนั เพอื่ สรปุ 1. การใช้จ�ำ นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หัด ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ความรู้เกีย่ วกับการหามวลอะตอมเฉล่ียของธาตุ 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ การสือ่ สารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทนั สือ่ 4. ให้นักเรียนพิจารณาค่ามวลอะตอมในตารางธาตุเพื่อให้ลงข้อสรุปได้ว่า อภิปราย ด้านจติ วิทยาศาสตร์ ค่าตัวเลขท่ีปรากฎในตารางธาตุเป็นค่ามวลอะตอมเฉล่ีย และให้นักเรียน 1. ความใจกวา้ ง ค�ำ นวณมวลอะตอมเฉลย่ี จากตวั อยา่ งทก่ี �ำ หนดให้ จากนนั้ ตรวจสอบความ ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ 2. การใชว้ ิจารณญาณ ถกู ตอ้ งและอธบิ ายเพิ่มเตมิ ในกรณที นี่ กั เรยี นมคี วามเข้าใจทคี่ ลาดเคลอ่ื น ความใจกวา้ งและการใชว้ จิ ารณญาณ จากการสงั เกต 5. อภิปรายร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปเก่ียวกับความหมายของมวลโมเลกุล พฤติกรรมในการอภปิ ราย มวลของสาร 1 โมเลกุล และความสัมพันธ์ระหว่างมวลโมเลกุลและมวล ของสาร 1 โมเลกุล 6. อธิบายเกี่ยวกับวิธีคำ�นวณมวลโมเลกุลของสาร ซ่ึงเป็นผลรวมของมวล อะตอมของธาตอุ งคป์ ระกอบตามสตู รเคมี จากนน้ั อธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การค�ำ นวณมวลของสารทไ่ี มไ่ ดอ้ ยใู่ นรปู โมเลกลุ ซง่ึ เรยี กวา่ มวลสตู ร จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นค�ำ นวณมวลโมเลกลุ และมวลสตู ร จากตวั อยา่ งทก่ี �ำ หนดให้ จากนน้ั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ในกรณที น่ี กั เรยี นมคี วามเขา้ ใจ ที่คลาดเคล่อื น 7. ใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรเู้ กยี่ วกบั ความหมาย และวธิ กี ารค�ำ นวณมวลอะตอม ของธาตุ มวลอะตอมเฉลยี่ ของธาตุ มวลโมเลกลุ และมวลสตู ร และท�ำ แบบ ฝึกหดั เพ่ือทบทวนความรู้

เคมี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4ผลการเรียนร ู้ 6. อธิบายและคำ�นวณปรมิ าณใดปริมาณหนง่ึ จากความสัมพันธ์ของโมล จำ�นวนอนภุ าค มวล และปริมาตรของแกส๊ ที่ STP 31การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยตรวจสอบความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั หนว่ ยวดั ปรมิ าตร มวล ด้านความรู้ และปรมิ าณสง่ิ ของ โดยยกตวั อยา่ งการบอกปรมิ าณสง่ิ ของในชวี ติ ประจ�ำ วนั1. ความหมายของโมล ความหมายของโมล ความสัมพันธ์ระหว่างโมล2. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโมล จ�ำ นวนอนภุ าค มวล เพ่อื เชือ่ มโยงเข้าสู่การอธบิ ายความหมายของโมล จำ�นวนอนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊สท่ี STP และปรมิ าตรของแก๊สที่ STP 2. อธิบายความหมายของโมล โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นว่า สาร 1 โมล จากการอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบดา้ นทักษะ มีจำ�นวนอนุภาคเท่าใด แล้วอธิบายเก่ียวกับจำ�นวนอนุภาคในสาร 1 โมล ด้านทกั ษะทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมท้ังเลขอาโวกาโดรหรือค่าคงตัวอาโวกาโดร และให้นักเรียนคำ�นวณ 1. การใช้จำ�นวน จากการท�ำ แบบฝึกหัด การใช้จ�ำ นวน โดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโมลกบั จ�ำ นวนอนภุ าค จากตวั อยา่ งทก่ี �ำ หนดให้ 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพ่ิมเติมในกรณีที่นักเรียน 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา มีความเขา้ ใจที่คลาดเคลอ่ื น จากการอภิปราย และการทำ�แบบฝึกหดั2. การสอ่ื สารสารสนเทศและการร้เู ทา่ ทนั สือ่ 3. ใชค้ �ำ ถามวา่ สาร 1 โมล มมี วลในหนว่ ยกรมั เปน็ เทา่ ใด โดยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ 3. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากการ ค่ามวลของสารในหน่วยกรัมต่อโมล เรียกว่า มวลต่อโมล จากน้ันให้ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ นักเรียนพิจารณาข้อมูลมวลอะตอมและมวลต่อโมลของธาตุบางชนิด อภปิ ราย1. ความรอบคอบ แลว้ ใหอ้ ภปิ รายรว่ มกนั และสรปุ ใหไ้ ดว้ า่ มวลของสาร 1 โมล ในหนว่ ยกรมั2. การใช้วิจารณญาณ หรอื มวลตอ่ โมล มคี า่ เปน็ ตวั เลขเทา่ กบั มวลอะตอม มวลไอออน มวลโมเลกลุ ด้านจติ วิทยาศาสตร์ หรือมวลสตู รของสารนน้ั 1. ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝกึ หัด 4. ให้นักเรยี นค�ำ นวณโดยใช้ความสมั พนั ธ์ระหว่างโมล จำ�นวนอนภุ าค และ 2. การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรม มวลของสาร จากตวั อยา่ งทกี่ �ำ หนดให้ จากนน้ั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและ อธิบายเพม่ิ เตมิ ในกรณที ีน่ ักเรยี นมีความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคลือ่ น ในการอภปิ ราย และการท�ำ แบบฝกึ หัด 5. ใชค้ �ำ ถามวา่ สารทอ่ี ยใู่ นสถานะแกส๊ จะมกี ารวดั ปรมิ าณสารอยา่ งไร จากนน้ั ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ปริมาณสารในสถานะแก๊สนิยม บอกเปน็ ปรมิ าตร พรอ้ มระบอุ ณุ หภมู แิ ละความดนั จากนน้ั ครอู ธบิ ายอณุ หภมู ิ และความดนั ทีภ่ าวะมาตรฐานของแกส๊ หรอื STP 6. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาขอ้ มลู เกย่ี วกบั มวลของแกส๊ บางชนดิ ปรมิ าตร 1 ลติ ร ท่ี STP แล้วใช้ค�ำ ถามว่า แกส๊ แตล่ ะชนิด 1 โมล จะมปี รมิ าตรท่ี STP เทา่ ใด จากนั้นครูแสดงการคำ�นวณปริมาตรที่ STP ของแก๊สบางชนิด 1 โมล และรว่ มกนั สรปุ ใหไ้ ดว้ า่ แกส๊ ใด ๆ 1 โมลมปี รมิ าตร 22.4 ลกู บาศกเ์ ดซเิ มตรท่ี STP

32 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ 7. ให้นักเรียนคำ�นวณโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างโมล จำ�นวนอนุภาค มวล และปรมิ าตรของแก๊สท่ี STP จากตวั อย่างทีก่ ำ�หนดให้ จากนน้ั ตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งและอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ในกรณที น่ี กั เรยี นมคี วามเขา้ ใจทค่ี ลาดเคลอ่ื น 8. ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโมล จำ�นวนอนุภาค มวล และปริมาตรของแกส๊ ท่ี STP และท�ำ แบบฝกึ หัดเพอื่ ทบทวนความรู้

เคมี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4ผลการเรยี นร ู้ 7. คำ�นวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตอุ งคป์ ระกอบของสารประกอบตามกฎสัดสว่ นคงที่ 33การวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชค้ �ำ ถามวา่ อตั ราสว่ นของธาตอุ งคป์ ระกอบทร่ี วมตวั กนั ดา้ นความรู้ เกิดเป็นสารประกอบหนึ่ง ๆ เป็นอย่างไร กฎสดั สว่ นคงท่ี 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลที่กำ�หนดให้ เพ่ือศึกษาอัตราส่วน กฎสดั สว่ นคงท่ี จากการอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบดา้ นทักษะ โดยมวลของธาตุองค์ประกอบของสารประกอบต่าง ๆ จากนั้นอภิปรายทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร่วมกันเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า สารประกอบแต่ละชนิดมีอัตราส่วนโดยมวล ด้านทกั ษะ1. การใช้จำ�นวน ของธาตุที่รวมกันคงที่เสมอ ซง่ึ เปน็ ไปตามกฎสัดสว่ นคงที ่ 1. การใช้จ�ำ นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หัด2. การลงความเหน็ จากขอ้ มูล 3. ใหน้ กั เรยี นค�ำ นวณอตั ราสว่ นโดยมวลของธาตอุ งคป์ ระกอบของสารประกอบ 2. การลงความเห็นจากข้อมูล และการตีความหมาย3. การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป ตามกฎสัดส่วนคงท่ี จากตัวอย่างท่ีกำ�หนดให้ จากน้ันตรวจสอบความ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ถกู ตอ้ งและอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ในกรณที นี่ กั เรยี นมีความเข้าใจทคี่ ลาดเคล่อื น ขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป จากการอภปิ ราย1. การสื่อสารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทันส่อื 4. ให้นักเรยี นทำ�แบบฝึกหัดเพ่อื ทบทวนความรู้ 3. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากการ2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา อภปิ รายด้านจติ วิทยาศาสตร์ 4. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา 1. ความใจกวา้ ง2. การใช้วิจารณญาณ จากการอภปิ ราย และการทำ�แบบฝึกหดั3. ความรอบคอบ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ 1. ความใจกวา้ งและการใชว้ จิ ารณญาณ จากการสงั เกต พฤติกรรมในการอภปิ ราย 2. ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝกึ หัด

34 ผลการเรยี นร ู้ 8. คำ�นวณสตู รอย่างงา่ ยและสตู รโมเลกลุ ของสารการวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เก่ียวกับกฎสัดส่วนคงที่ จากน้ัน ดา้ นความรู้ อธิบายเชื่อมโยงว่า อัตราส่วนโดยมวลท่ีได้จากกฎสัดส่วนคงท่ีสามารถ สูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกลุ ใชห้ าอตั ราส่วนโดยโมลเพือ่ หาสูตรเคมขี องสารได้ สูตรอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล จากการอภิปราย การท�ำ แบบฝกึ หัด และการทดสอบด้านทกั ษะ 2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ วเิ คราะหอ์ ตั ราสว่ นของธาตอุ งคป์ ระกอบของสตู รเคมีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทก่ี �ำ หนดให้ จากนนั้ อภปิ รายรว่ มกนั เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ เกยี่ วกบั ความหมาย ดา้ นทกั ษะ1. การใชจ้ �ำ นวน 1. การใช้จ�ำ นวน จากการทำ�แบบฝึกหัด2. การลงความเหน็ จากขอ้ มลู ของสตู รอย่างง่ายและสูตรโมเลกุล 2. การลงความเห็นจากข้อมูล การตีความหมายข้อมูล3. การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ 3. อธิบายวิธีการคำ�นวณสูตรอย่างง่าย โดยใช้อัตราส่วนโดยมวลจากกฎทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 และลงข้อสรุป การคิดอย่างมีวิจารณญาณและ 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา สัดส่วนคงท่ีหรือร้อยละโดยมวล แล้วให้นักเรียนคำ�นวณจากตัวอย่าง การแก้ปัญหา และการสื่อสารสารสนเทศและการ2. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรู้เทา่ ทันสือ่ ที่กำ�หนดให้ จากน้ันตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณี รูเ้ ท่าทันสอ่ื จากการอภิปราย ท่นี ักเรียนมคี วามเข้าใจท่คี ลาดเคล่อื นดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ 4. อธิบายวิธีการคำ�นวณสูตรโมเลกุลจากสูตรอย่างง่าย แล้วให้นักเรียน ด้านจิตวิทยาศาสตร์1. ความใจกว้าง คำ�นวณจากตัวอย่างที่กำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและ 1. ความใจกว้างและการใช้วิจารณญาณ จากการ2. การใชว้ ิจารณญาณ อธิบายเพมิ่ เตมิ ในกรณีท่นี กั เรยี นมีความเข้าใจทคี่ ลาดเคลือ่ น3. ความรอบคอบ 5. ให้นักเรียนท�ำ แบบฝึกหัดเพ่อื ทบทวนความรู้ สงั เกตพฤติกรรมในการอภิปราย 2. ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝกึ หดั

เคมี ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 3. เข้าใจหลกั การท�ำ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี การวดั ปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลีย่ นหนว่ ย การค�ำ นวณปริมาณของสาร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย 35 รวมทงั้ การบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณใ์ นชีวติ ประจำ�วนั และการแกป้ ัญหาทางเคมีผลการเรียนรู้ 9. ค�ำ นวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยต่าง ๆการวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับการบอกปริมาณของ ดา้ นความรู้ สารบริสุทธิ์ ซึ่งสามารถบอกได้ในหน่วยโมล มวล จำ�นวนอนุภาค หรือ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยรอ้ ยละ ปรมิ าตรของแกส๊ จากนนั้ ใชค้ �ำ ถามกระตนุ้ วา่ ถา้ ตอ้ งการบอกปรมิ าณของ ความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยรอ้ ยละ สว่ นใน สว่ นในลา้ นสว่ น สว่ นในพนั ลา้ นสว่ น โมลารติ ี สารที่อยู่ในรูปสารละลายจะท�ำ ไดอ้ ยา่ งไร ลา้ นสว่ น สว่ นในพนั ลา้ นสว่ น โมลารติ ี โมแลลติ ี และ เศษสว่ นโมล จากการท�ำ กจิ กรรม การอภปิ ราย การท�ำ โมแลลติ ี และเศษส่วนโมล 2. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับองค์ประกอบของสารละลาย ซ่ึงประกอบด้วยตัวละลายและตัวทำ�ละลาย จากนั้นครูใช้คำ�ถามว่า แบบฝึกหัด และการทดสอบดา้ นทักษะ การบอกปริมาณตัวละลายที่อยู่ในสารละลาย สามารถบอกได้ในหน่วยทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ใดบา้ ง ด้านทักษะ การใชจ้ ำ�นวน 1. การใชจ้ �ำ นวน จากการทำ�แบบฝกึ หดัทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 3. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ท�ำ กจิ กรรมเพอื่ ศกึ ษาความหมาย และวธิ กี ารค�ำ นวณ 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ จากการ1. การส่ือสารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทันสื่อ ความเข้มขน้ ของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ทำ�กิจกรรมและการอภปิ ราย 4. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับความหมาย และวิธีการคำ�นวณ 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ส่วนในล้านส่วน ส่วนใน 1. ความใจกว้าง พนั ล้านสว่ น โมลารติ ี โมแลลิตี และเศษสว่ นโมล จากการท�ำ กจิ กรรม2. ความรอบคอบ 5. ใหน้ กั เรยี นค�ำ นวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยตา่ ง ๆ จากตวั อยา่ ง ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ ทก่ี �ำ หนดใหซ้ งึ่ เปน็ ตวั อยา่ งทอ่ี าจพบไดใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั จากนนั้ ตรวจสอบ 1. ความใจกว้าง จากการสังเกตพฤติกรรมในการทำ� ความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณีท่ีนักเรียนมีความเข้าใจที่ กจิ กรรมและการอภิปราย คลาดเคลอื่ น 2. ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝึกหัด 6. ให้นกั เรียนท�ำ แบบฝกึ หัดเพือ่ ทบทวนความรู้

36 ผลการเรียนรู้ 10. อธบิ ายวิธกี ารและเตรียมสารละลายให้มคี วามเข้มข้นในหนว่ ยโมลารติ ี และปรมิ าตรของสารละลายตามท่กี �ำ หนดการวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชค้ �ำ ถามกระตนุ้ นกั เรยี นเกย่ี วกบั การเตรยี มสารละลาย ด้านความรู้ ท่ีมีความเข้มข้นตามท่ีต้องการเพื่อให้ได้ผลการทดลองท่ีถูกต้องว่า วธิ กี ารเตรยี มสารละลาย วิธีการเตรียมสารละลาย จากการทำ�กิจกรรม ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ สง่ิ ใดบา้ ง เพอ่ื น�ำ เขา้ สวู่ ธิ กี ารเตรยี มสารละลาย และการเลอื กใช้ การอภิปราย การทำ�แบบฝกึ หดั และการทดสอบดา้ นทักษะ อปุ กรณ์ในการเตรยี มสารละลายทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ใหน้ ักเรยี นศึกษาขั้นตอนการเตรียมสารละลาย ซง่ึ อาจทำ�การสาธิต หรือ ดา้ นทกั ษะ1. การวดั 1. การวัด จากการท�ำ กิจกรรม2. การใชจ้ �ำ นวน อธิบายโดยใช้สอ่ื ประกอบ 2. การใช้จำ�นวน จากการทำ�กิจกรรม และการทำ� ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 3. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับกับอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมที่ใช้ 1. การสอื่ สารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่อื แบบฝกึ หัด2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ในการเตรียมสารละลาย จากน้ันทบทวนเทคนิคและวิธีการใช้อุปกรณ์ 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 3. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา ในการเตรียมสารละลาย เช่น ปิเปตต์ ขวดวัดปริมาตร เครอ่ื งช่ัง 4. อธิบายวิธีคำ�นวณเก่ียวกับการเตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์ จากการสังเกตพฤติกรรมขณะทำ�กิจกรรมด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ ท่ีเป็นของแข็ง จากน้ันให้นักเรียนทำ�กิจกรรมโดยแสดงวิธีการคำ�นวณ 4. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และการคดิ1. ความรอบคอบ เขียนแผนการเตรียมสารละลาย และเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้น อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการ 2. การใชว้ จิ ารณญาณ ในหนว่ ยโมลาร์จากตวั ละลายบริสทุ ธิท์ ่ีเป็นของแข็ง 5. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เก่ียวกับวิธีการคำ�นวณ และขั้นตอน ทำ�กิจกรรมและการอภปิ ราย การเตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์ท่ีเป็นของแข็ง รวมถึงการ เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ทเี่ หมาะสมและถกู วธิ ี ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ 6. อธบิ ายหลกั การค�ำ นวณเกย่ี วกบั การเจอื จางสารละลาย จากนนั้ ใหน้ กั เรยี น 1. ความรอบคอบ จากการสงั เกตพฤติกรรม ในการทำ� ทำ�กิจกรรมโดยแสดงวิธีการคำ�นวณ เขียนแผนการเตรียมสารละลาย และเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาร์โดยวิธีการเจือจาง กิจกรรมและการท�ำ แบบฝึกหดั จากสารละลายเข้มขน้ 2. การใช้วิจารณญาณ จากการสังเกตพฤติกรรม 7. อภิปรายร่วมกันเพ่ือสรุปความรู้เก่ียวกับวิธีการคำ�นวณ และขั้นตอน การเตรียมสารละลายโดยวิธีการเจือจาง รวมถึงการเลือกใช้อุปกรณ์ท่ี ในการอภปิ ราย เหมาะสมและถกู วธิ ี 8. ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับวิธีการเตรียมสารละลาย โดยอาจเขียน ในรปู ของแผนผัง และทำ�แบบฝกึ หดั เพอ่ื ทบทวนความรู้

เคมี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4ผลการเรยี นร ู้ 11. เปรยี บเทียบจดุ เดือดและจดุ เยอื กแขง็ ของสารละลายกบั สารบรสิ ุทธิ์ รวมทง้ั คำ�นวณจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลาย 37การวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำ�ถามว่า สมบัติบางประการของสารละลาย ด้านความรู้ จะเหมอื นหรอื แตกตา่ งจากสารบรสิ ทุ ธอิ์ ยา่ งไร เพอ่ื น�ำ เขา้ สกู่ ารทดลองหา สมบตั เิ กย่ี วกบั จดุ เดอื ดและจดุ เยอื กแขง็ ของ จดุ เดอื ดของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารละลาย และการทดลองหาจดุ หลอมเหลว สมบตั เิ กย่ี วกบั จดุ เดอื ดและจดุ เยอื กแขง็ ของสารละลาย สารละลายกบั สารบริสุทธ์ิ ของสารบริสทุ ธิ์และสารละลาย กบั สารบรสิ ทุ ธิ์ จากการท�ำ การทดลอง การอภปิ รายด้านทักษะ 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาขั้นตอนการทดลอง และทำ�การทดลอง การทำ�แบบฝึกหัด และการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับ1. การทดลอง สารละลาย ดา้ นทกั ษะ2. การสงั เกต 1. การทดลอง การสังเกต การลงความเห็นจากข้อมูล3. การลงความเห็นจากขอ้ มลู 3. อภิปรายร่วมกันเพ่ือสรุปความรู้เกี่ยวกับจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของ4. การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป สารบรสิ ทุ ธิก์ ับสารละลาย และการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ จากการ5. การใช้จ�ำ นวน ทำ�การทดลองทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 4. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารละลายกับค่าคงท่ีของ 2. การใช้จ�ำ นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หัด1. การสื่อสารสารสนเทศและการร้เู ทา่ ทันส่ือ การเพ่ิมข้ึนของจุดเดือด (Kb) ของตัวทำ�ละลาย และค่าคงที่ของการ 3. การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื และการคดิ2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการ3. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา ลดลงของจุดเยือกแข็ง (Kf) ของตัวทำ�ละลาย แล้วให้นักเรียนคำ�นวณ ท�ำ การทดลอง และการอภปิ ราย จากตัวอยา่ งท่ีก�ำ หนดให ้ 4. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ 5. อภิปรายร่วมกันเพื่อสรุปความรู้เกี่ยวกับตัวอย่างของการเพิ่มขึ้นของ จากการสงั เกตพฤติกรรมในการทำ�การทดลอง1. ความมงุ่ มน่ั อดทน จุดเดือดและการลดลงของจุดเยือกแข็ง ของสารละลายที่พบในชีวิต2. ความรอบคอบ ประจำ�วนั ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์3. การใชว้ จิ ารณญาณ 6. ใหน้ ักเรียนทำ�แบบฝึกหดั เพอ่ื ทบทวนความรู้ 1. ความมุ่งม่ันอดทน จากการสังเกตพฤติกรรมใน การทำ�การทดลอง 2. ความรอบคอบ จากการสังเกตพฤติกรรมในการทำ� การทดลองและการทำ�แบบฝึกหัด 3. การใชว้ จิ ารณญาณ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการ อภิปราย

38 2. เขา้ ใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พนั ธใ์ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี อตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี สมดลุ ในปฏกิ ริ ยิ เคมี สมบตั แิ ละปฏกิ ริ ยิ าของกรด–เบส ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์และเซลลเ์ คมีไฟฟา้ รวมทัง้ การน�ำ ความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. แปลความหมายสญั ลักษณใ์ นสมการเคมี เขยี นและดุลสมการเคมีของปฏกิ ริ ยิ าเคมีบางชนดิ การวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. ยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีบางชนิด แล้วอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับการเกิด ด้านความรู้ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี และการเปลยี่ นแปลงทส่ี งั เกตไดเ้ มอื่ เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี จากนนั้ 1. สมการเคมี อธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ปฏกิ ริ ยิ าเคมที ไ่ี มส่ ามารถสงั เกตการเปลย่ี นแปลงได้ การเขียนและดุลสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี 2. การดุลสมการเคมี จากรายงานการทดลอง การทำ�แบบฝึกหัด และ แตต่ อ้ งใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการตรวจสอบ เพอ่ื สรปุ วา่ การพจิ ารณาวา่ มปี ฏกิ ริ ยิ าเคมี การทดสอบ ด้านทกั ษะ เกิดขึ้นหรอื ไม่ ตอ้ งพจิ ารณาจากการทมี่ ีสารใหมเ่ กดิ ขึ้น ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. ยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมีบางชนิด พร้อมท้ังแสดงสมการข้อความและ ด้านทักษะ 1. การทดลอง 1. การทดลอง การก�ำ หนดและควบคุมตัวแปร การจดั 2. การก�ำ หนดและควบคมุ ตัวแปร สมการเคมี เพ่ือเชื่อมโยงเข้าสู่การทดลอง โดยควรทบทวนเกี่ยวกับ กระทำ�ข้อมูลและสื่อความหมายข้อมูล และการตี 3. การจัดกระท�ำ และสอ่ื ความหมายข้อมลู การค�ำ นวณหาจำ�นวนโมลจากความเข้มขน้ ของสารละลาย ความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จากรายงาน 4. การตีความหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำ�การทดลองเพ่ือศึกษาปฏิกิริยาระหว่างโซเดียม ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ฟอสเฟตกับแบเรยี มคลอไรด์ การทดลองและการสังเกตพฤติกรรมในการทำ� ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ 4. อภปิ รายผลการทดลองเพอ่ื ค�ำ นวณอตั ราสว่ นโดยโมลของสารตง้ั ตน้ จากนน้ั การทดลอง แสดงสมการเคมขี องปฏกิ ริ ยิ าจากการทดลอง แลว้ อธบิ ายเกย่ี วกบั การเขยี น 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ สมการเคมี สถานะ และเลขสัมประสิทธิ์ โดยเช่ือมโยงกับการอัตราส่วน จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ การทดลอง 1. ความซอ่ื สัตย์ โดยโมลของสารตงั้ ตน้ ทที่ �ำ ปฏกิ ริ ยิ าพอดกี นั จากการทดลองวา่ มคี า่ เทา่ กนั 2. ความเชอ่ื มนั่ ตอ่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ 5. อธิบายเก่ียวกับอัตราส่วนโดยโมลและขั้นตอนในการดุลสมการเคมี ด้านจิตวิทยาศาสตร์ โดยยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย จากน้ันอธิบายการเขียนสัญลักษณ์ 1. ความซ่ือสัตย์ จากการสังเกตพฤติกรรมในการทำ� อ่นื ๆ ท่ีพบในสมการเคมี เช่น ตวั เร่งปฏิกริ ิยา อุณหภูมิ 6. ยกตัวอย่างปฏิกิริยาเคมี แล้วให้นักเรียนดุลสมการเคมีและคำ�นวณมวล การทดลอง ของสารต้งั ตน้ และผลิตภัณฑ์ จากนัน้ อภปิ รายรว่ มกันเพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ วา่ 2. ความเชอ่ื มนั่ ตอ่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากการสงั เกต มวลรวมของสารต้ังต้นก่อนเกิดปฏิกิริยาเท่ากับมวลรวมของผลิตภัณฑ์ หลังเกดิ ปฏกิ ิริยา ตามกฎทรงมวล พฤตกิ รรมในการอภปิ ราย 7. ให้นักเรียนสรุปความรู้เกี่ยวกับการเขียนและดุลสมการเคมี แล้วทำ� แบบฝึกหัดหรอื สอื่ การเรียนรอู้ น่ื  ๆ เพอื่ ทบทวนความเข้าใจ

เคมี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4ผลการเรยี นร้ ู 2. คำ�นวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมที เ่ี กย่ี วขอ้ งกับมวลสาร 39 3. ค�ำ นวณปริมาณของสารในปฏกิ ิรยิ าเคมีทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย 4. ค�ำ นวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ิริยาเคมีทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ปรมิ าตรแกส๊ 5. คำ�นวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมีหลายขนั้ ตอนการวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1. อธิบายความหมายของปริมาณสัมพันธ์ ว่าเป็นการศึกษาความสัมพันธ์ ด้านความรู้ ร ะ ห ว่ า ง ป ริ ม า ณ ส า ร ต้ั ง ต้ น แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ กิ ด ข้ึ น ใ น ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี วิธีการคำ�นวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมี การคำ�นวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมี โดยพิจารณาจากเลขสมั ประสิทธิ์ในสมการเคมี ที่เก่ียวข้องกับมวลสาร ความเข้มข้นของ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั มวลสาร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย สารละลาย ปริมาตรแก๊ส และปฏิกิริยาเคมี 2. ยกตวั อยา่ งสมการเคมแี ละทบทวนเกยี่ วกบั อตั ราสว่ นโดยโมล แลว้ อธบิ าย ปริมาตรแก๊ส และปฏิกิริยาเคมีหลายขั้นตอน หลายขั้นตอน การหาจ�ำ นวนโมลของสารในสมการเคมี เมอ่ื ก�ำ หนดโมลของสารใดสารหนง่ึ จากการอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบด้านทักษะ โดยวิธกี ารเทียบหน่วย ด้านทักษะทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ทบทวนความรู้เก่ียวกับการเปลี่ยนหน่วยจากโมลไปเป็นหน่วยอ่ืน ๆ การใช้จ�ำ นวน จากการท�ำ แบบฝึกหดั การใช้จำ�นวนทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เช่น จำ�นวนอนุภาค มวล ปริมาตรของแก๊ส ความเข้มข้นของสารละลาย ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ - โดยยกตัวอย่างปริมาณใดปริมาณหนึ่ง แล้วให้นักเรียนคำ�นวณเพื่อหา -ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ ค�ำ ตอบในปริมาณที่ต้องการ - 4. อภปิ รายเช่ือมโยงความสมั พันธ์จากเลขสัมประสทิ ธไิ์ ปสู่ปรมิ าณในหนว่ ย อน่ื  ๆ เพื่อให้ไดข้ อ้ สรุปวา่ เลขสัมประสิทธิใ์ นสมการเคมีสามารถน�ำ มาใช้ ในการค�ำ นวณเกย่ี วกบั ปรมิ าณสารตา่ ง ๆ ในปฏกิ ริ ยิ าเคมไี ด้ เชน่ โมล มวล ความเข้มข้นของสารละลาย ปริมาตรของแก๊ส ดังน้ันเมื่อทราบปริมาณ ของสารชนิดใดชนิดหนึ่ง จะสามารถคำ�นวณปริมาณของสารอื่น ๆ ที่ต้องการทราบในปฏิกริ ิยานัน้ ได้ 5. อธบิ ายการค�ำ นวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั มวลสาร โดยยกตัวอยา่ งประกอบ แล้วให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัด 6. อธิบายการคำ�นวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีท่ีเกี่ยวข้องกับ ความเข้มข้นของสารละลาย โดยยกตัวอย่างประกอบ แล้วให้นักเรียน ท�ำ แบบฝึกหดั

40 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ การวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ 7. อธบิ ายการค�ำ นวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมที เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ปรมิ าตร แกส๊ ที่ STP โดยยกตวั อยา่ งประกอบ จากนนั้ สาธติ การทดลองปฏกิ ริ ยิ าเคมี ระหวา่ งแกส๊ ออกซเิ จนและแกส๊ ไนโตรเจนมอนอกไซด์ เพอื่ ศกึ ษาอตั ราสว่ น โดยปรมิ าตรของแกส๊ ทที่ �ำ ปฏกิ ริ ยิ ากนั และอภปิ รายเกย่ี วกบั ปรมิ าตรแกส๊ ที่ทำ�ปฏิกิริยาพอดีกันกับเลขสัมประสิทธิ์ในสมการเคมี จากนั้นอธิบาย กฎของเกย์-ลูสแซกและสมมติฐานของอาโวกาโดร และยกตัวอย่างโจทย์ การคำ�นวณปริมาตรของแก๊สที่เก่ียวข้องในปฏิกิริยาเคมีและสูตรโมเลกุล ของแก๊ส แล้วให้นกั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั 8. ยกตวั อยา่ งสมการเคมี 2 สมการ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ นั แลว้ อธบิ ายเกย่ี วกบั การรวมสมการ จากนั้นให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการคำ�นวณปริมาณของสาร ในปฏกิ ริ ยิ าเคมที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั สมการเคมมี ากกวา่ 1 สมการ โดยยกตวั อยา่ ง ประกอบ แล้วใหน้ กั เรียนทำ�แบบฝกึ หดั 9. ให้นักเรียนคำ�นวณปริมาณของสารท่ีเกี่ยวข้องกับมวลสาร ความเข้มข้น ของสารละลาย ปรมิ าตรแกส๊ และปฏกิ ริ ยิ าเคมหี ลายขน้ั ตอน จากตวั อยา่ ง ท่ีกำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติมในกรณี ท่ีนกั เรยี นมคี วามเข้าใจท่ีคลาดเคลอ่ื น 10. ใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรเู้ กยี่ วกบั การค�ำ นวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมี ท่ีเกี่ยวข้องกับมวลสาร ความเข้มข้นของสารละลาย ปริมาตรแก๊ส และปฏกิ ริ ยิ าเคมหี ลายขน้ั ตอน และใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั เพอ่ื ทบทวน ความรู้

เคมี ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4ผลการเรยี นร้ ู 6. ระบุสารกำ�หนดปรมิ าณและค�ำ นวณปรมิ าณสารต่าง ๆ ในปฏิกิริยาเคมี 41 7. ค�ำ นวณผลได้รอ้ ยละของผลิตภัณฑใ์ นปฏิกริ ยิ าเคมีการวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรมเกา้ อด้ี นตรี เพอ่ื ศกึ ษาเกย่ี วกบั ด้านความรู้ สารกำ�หนดปรมิ าณ1. สารก�ำ หนดปรมิ าณ สารก�ำ หนดปรมิ าณ วธิ กี ารค�ำ นวณปรมิ าณสารตา่ ง ๆ2. การคำ�นวณปริมาณสารต่าง ๆ เมื่อมี 2. อภิปรายร่วมกันเพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่ความหมายของสารกำ�หนดปริมาณ เมอ่ื มสี ารก�ำ หนดปรมิ าณ และผลไดร้ อ้ ยละ จากการ ซ่งึ ควรสรุปได้วา่ สารกำ�หนดปรมิ าณคอื สารตง้ั ตน้ ทท่ี �ำ ปฏิกริ ิยาหมดและ สารก�ำ หนดปริมาณ อภปิ ราย การท�ำ กจิ กรรม รายงานการทดลอง การท�ำ3. ผลไดร้ อ้ ยละ เป็นตวั ก�ำ หนดปรมิ าณผลิตภณั ฑท์ ีเ่ กดิ ขึน้ แบบฝกึ หัด และการทดสอบ 3. ใช้คำ�ถามว่า เม่ือมีสามารถกำ�หนดปริมาณ จะสามารถคำ�นวณปริมาณดา้ นทกั ษะ ด้านทักษะทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผลิตภัณฑ์และสารท่ีเหลือได้อย่างไร เพ่ือนำ�ไปสู่วิธีการคำ�นวณปริมาณ 1. การใช้จำ�นวน จากรายงานการทดลองและการทำ�1. การใชจ้ ำ�นวน สารตา่ ง ๆ เม่อื มสี ารก�ำ หนดปรมิ าณ2. การทดลอง 4. ใหน้ กั เรยี นค�ำ นวณปรมิ าณสารตา่ ง ๆ เมอ่ื มสี ารก�ำ หนดปรมิ าณ จากตวั อยา่ ง แบบฝึกหดัทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีกำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพ่ิมเติมในกรณี 2. การทดลอง จากรายงานการทดลองและการสังเกต ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ ทน่ี ักเรียนมีความเขา้ ใจท่ีคลาดเคลอ่ื น 5. ให้นักเรียนทำ�การทดลองเพ่ือศึกษาเก่ียวกับผลได้ร้อยละของปฏิกิริยา พฤตกิ รรมในการท�ำ การทดลองดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ระหวา่ งโซเดียมคาร์บอเนตกบั กรดไฮโดรคลอริก 3. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� 1. ความเชอื่ มั่นตอ่ หลกั ฐานเชิงประจักษ์ 6. ให้นักเรียนคำ�นวณปริมาณแก๊สที่เกิดขึ้นตามทฤษฎี จากนั้นอภิปราย2. ความรอบคอบ ร่วมกันว่า ปริมาณแก๊สท่ีเกิดขึ้นจากการทดลองเหมือนหรือแตกต่าง จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทำ�การทดลอง3. ความซอ่ื สตั ย์ จากทค่ี �ำ นวณไดจ้ ากทฤษฎี เพอื่ เช่อื มโยงเขา้ สู่ผลไดร้ ้อยละ 7. อธิบายเกี่ยวกับผลได้ตามทฤษฎี ผลได้จริง และผลได้ร้อยละ แล้วให้ ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ นักเรียนคำ�นวณผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาเคมี จากการ 1. ความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากการสงั เกต ทดลองและตัวอย่างท่ีกำ�หนดให้ จากนั้นตรวจสอบความถูกต้อง และ อธบิ ายเพิม่ เติมในกรณที ี่นกั เรียนมีความเข้าใจทคี่ ลาดเคล่อื น พฤตกิ รรมในการอภปิ ราย 8. อภปิ รายร่วมกนั เพื่อสรปุ ความรู้เก่ยี วกบั สารกำ�หนดปริมาณ การคำ�นวณ 2. ความรอบคอบและความซ่ือสัตย์ จากการสังเกต ปริมาณสารต่าง ๆ เมื่อมีสารกำ�หนดปริมาณ และผลได้ร้อยละ และให้ นักเรียนทำ�แบบฝึกหดั เพ่อื ทบทวนความรู้ พฤติกรรมในการทำ�การทดลอง

42 เคมี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 43สาระเคมี 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมีและสมบตั ขิ องสาร แกส๊ และสมบตั ิของแกส๊ ประเภทและสมบัติของสารประกอบอนิ ทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทัง้ การน�ำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ผลการเรยี นรู ้ 1. อธิบายความสัมพันธแ์ ละค�ำ นวณปริมาตร ความดนั หรอื อณุ หภูมิของแกส๊ ทภี่ าวะต่าง ๆ ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์–ลูสแซกการวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นเปรยี บเทยี บสมบตั ขิ องสารในสถานะแกส๊ ด้านความรู้ ที่แตกต่างจากสถานะอ่ืน จากนั้นใช้คำ�ถามกระตุ้นว่า เพราะเหตุใดแก๊ส1. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส ทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ กฎของบอยล์ กฎของชารล์ และ2. กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎของ จึงมีสมบตั ิแตกตา่ งจากสถานะอน่ื เพ่ือน�ำ เข้าสู่ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส กฎของเกย์–ลูสแซก จากการทดลอง การอภิปราย 2. ให้นักเรียนศึกษารูปภาพหรือส่ือต่าง ๆ ที่เก่ียวกับพฤติกรรมของแก๊ส การท�ำ แบบฝึกหดั และการทดสอบ เกย์–ลสู แซก ตามทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ จากนนั้ ใชค้ �ำ ถามกระตนุ้ เพอื่ น�ำ เขา้ สกู่ ารอภปิ ราย ดา้ นทกั ษะด้านทักษะ โดยตัวอย่างค�ำ ถามเปน็ ดงั น้ี 1. การทดลอง จากรายงานการทดลองและการสังเกตทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ - จากรูปภาพหรือส่ือ ขนาดอนุภาคของแก๊สเมื่อเปรียบเทียบกับ1. การทดลอง ปริมาตรของภาชนะทบ่ี รรจเุ ปน็ อยา่ งไร พฤตกิ รรมในการท�ำ การทดลอง2. การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป - ระยะหา่ งระหวา่ งอนภุ าคของแกส๊ เปน็ อยา่ งไร เมอ่ื เทยี บกบั ขนาดอนภุ าค 2. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป และการคิด3. การใชจ้ ำ�นวน - การเคล่อื นทข่ี องอนภุ าคของแกส๊ มีลักษณะอยา่ งไร อย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 - ทอ่ี ณุ หภมู คิ งท่ี พลงั งานจลนร์ วมของแกส๊ ทง้ั หมดในภาชนะเปน็ อยา่ งไร1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา - เม่ืออุณหภูมิเปล่ียนแปลง พลังงานจลน์เฉล่ียของอนุภาคของแก๊ส อภปิ ราย2. ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ เปน็ อยา่ งไร 3. การใชจ้ ำ�นวน จากการท�ำ แบบฝึกหัด จากนน้ั รว่ มกนั สรปุ สาระส�ำ คญั ของทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ 4. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีมและภาวะผู้นำ� ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ 3. ใช้คำ�ถามว่า การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของแก๊ส ข้ึนอยู่กับปัจจัยใดบ้าง1. ความซื่อสัตย์ จากการสงั เกตพฤติกรรมในการท�ำ การทดลอง2. ความรอบคอบ ความดนั มีผลตอ่ ปริมาตรของแกส๊ หรอื ไม่ อย่างไร3. ความใจกวา้ ง 4. ให้นักเรียนทำ�การทดลอง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและ ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ 1. ความซอื่ สตั ย์ จากรายงานการทดลอง ปริมาตรของแก๊สที่อุณหภูมิและจำ�นวนโมลคงท่ี จากนั้นอภิปรายผลการ 2. ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝกึ หัด ทดลองทเ่ี กดิ ขนึ้ โดยใชท้ ฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ และสรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 3. ความใจกว้าง จากการอภปิ ราย ปริมาตรและความดันของแก๊สตามกฎของบอยล์

44 แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ 5. ยกตัวอย่างปรากฏการณ์หรือสถานการณ์ เช่น การพองตัวของถุงขนม เม่อื อยู่บนภเู ขา อาการหูอื้อเมื่อข้นึ ทีส่ ูง จากนั้นรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกบั การเปล่ยี นแปลงปรมิ าตรหรือความดันของแกส๊ ตามกฎของบอยล์ 6. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั ค�ำ นวณปรมิ าตรหรอื ความดนั ของแกส๊ โดยใชก้ ฎ ของบอยล์ 7. ใชค้ �ำ ถามวา่ นอกจากความดนั แลว้ อณุ หภมู มิ ผี ลตอ่ ปรมิ าตรของแกส๊ หรอื ไม่ อยา่ งไร เพื่อนำ�เข้าสู่กฎของชาร์ล 8. ให้นักเรียนทำ�การทดลอง เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและ ปริมาตรของแก๊สท่ีความดันและจำ�นวนโมลคงท่ี จากน้ันอภิปรายผลการ ทดลองทเี่ กดิ ขนึ้ โดยใชท้ ฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ และสรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ปริมาตรและอณุ หภูมิของแก๊สตามกฎของชาร์ล 9. ยกตวั อยา่ งปรากฏการณห์ รอื สถานการณ์ เชน่ การขยายตวั ของยางรถยนต์ เมอ่ื วง่ิ ไปบนถนน การขยายตวั ของบอลลนู จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั การเปล่ยี นแปลงปริมาตรหรืออณุ หภมู ขิ องแก๊สตามกฎของชารล์ 10. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั ค�ำ นวณหาปรมิ าตรหรอื อณุ หภมู ขิ องแกส๊ โดยใช้ กฎของชาร์ล 11. ใหน้ ักเรียนวเิ คราะห์ความสมั พันธร์ ะหวา่ งความดันและอุณหภูมขิ องแก๊ส จากตวั อยา่ งเหตกุ ารณท์ พี่ บในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ การเผากระปอ๋ งสเปรย์ ซึ่งทำ�ให้เกิดการระเบิด การเจาะรูพลาสติกก่อนอุ่นอาหารด้วยไมโครเวฟ จากนั้นร่วมกันอภิปรายถึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นโดยใช้ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส และสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอุณหภูมิของแก๊ส เมอื่ ปริมาตรและจ�ำ นวนโมลคงที่ ตามกฎของเกย-์ ลูสแซก 12. ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัดคำ�นวณความดันหรืออุณหภูมิ โดยใช้กฎของ เกย-์ ลูสแซก 13. ให้นักเรียนสรุปความรู้โดยเขียนผังมโนทัศน์แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาตร ความดัน และอุณหภมู ิ ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎ ของเกย–์ ลูสแซก

เคมี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5ผลการเรียนร้ ู 2. ค�ำ นวณปริมาตร ความดนั หรอื อณุ หภูมขิ องแกส๊ ทีภ่ าวะตา่ ง ๆ ตามกฎรวมแกส๊ 45การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎของ ดา้ นความรู้ กฎรวมแก๊ส เกย-์ ลูสแซก กฎรวมแกส๊ จากการท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบดา้ นทักษะ 2. ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าตร ความดนั และอณุ หภมู ิ ด้านทักษะทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากสมการตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎของเกย์-ลูสแซก 1. การใชจ้ ำ�นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หดั การใช้จำ�นวน จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ปริมาตร ความดนั และอณุ หภูมิ ท่เี ปน็ ไปตามกฎรวมแก๊ส การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา จากการอภปิ ราย 3. ให้นักเรียนท�ำ แบบฝกึ หัดค�ำ นวณปริมาตร ความดัน หรอื อุณหภมู ิ โดยใช้ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ กฎรวมแก๊ส ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ความรอบคอบ ความรอบคอบ จากการท�ำ แบบฝกึ หัด

46 ผลการเรยี นร ู้ 3. คำ�นวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ จำ�นวนโมล หรอื มวลของแกส๊ จากความสัมพันธ์ตามกฎของอาโวกาโดร และกฎแก๊สอดุ มคติการวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1. นำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร ด้านความรู้ กฎของอาโวกาโดรและกฎแกส๊ อุดมคติ และจ�ำ นวนโมลของแกส๊ จากตวั อยา่ งเหตกุ ารณท์ พี่ บในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ กฎของอาโวกาโดร และกฎแก๊สอุดมคติ จากการ การเปา่ ลกู โปง่ ท�ำ ใหล้ กู โปง่ มขี นาดใหญข่ น้ึ การหายใจมผี ลตอ่ ปรมิ าตรของด้านทกั ษะ ช่องอก จากน้ันอภิปรายผลการเปล่ียนแปลงจำ�นวนโมลที่มีต่อปริมาตร อภปิ ราย การทำ�แบบฝกึ หัด และการทดสอบทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ของแก๊ส โดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง การใช้จำ�นวน ปริมาตรและจำ�นวนโมล เมือ่ ความดนั และอุณหภมู ิของแก๊สคงท่ี ตามกฎ ด้านทักษะทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ของอาโวกาโดร 1. การใชจ้ ำ�นวน จากการท�ำ แบบฝกึ หัด การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา 2. ให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัดคำ�นวณปริมาตร จำ�นวนโมล หรือมวลของแก๊สด้านจติ วิทยาศาสตร์ โดยใชส้ มการตามกฎของอาโวกาโดร จากการอภปิ ราย ความรอบคอบ 3. ทบทวนความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าตร ความดนั อณุ หภมู ิ และจ�ำ นวนโมล ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ ของแก๊ส โดยใช้กฎรวมแก๊สและกฎของอาโวกาโดร แล้วร่วมกันอภิปราย ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝึกหัด เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ เกีย่ วกับความสัมพันธ์ที่เป็นไปตามกฎแกส๊ อุดมคติ 4. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั ค�ำ นวณปรมิ าตร ความดนั อณุ หภมู ิ หรอื จ�ำ นวนโมล ของแกส๊ โดยใช้กฎแกส๊ อุดมคติ

เคมี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5ผลการเรียนรู ้ 4. คำ�นวณความดนั ยอ่ ยหรือจ�ำ นวนโมลของแก๊สในแกส๊ ผสม โดยใช้กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตัน 47การวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1. น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชค้ �ำ ถามกระตนุ้ วา่ ถา้ เตมิ แกส๊ ชนดิ หนงึ่ เขา้ ไปในถงั ด้านความรู้ กฎความดันย่อยของดอลตนั ทบ่ี รรจแุ กส๊ อกี ชนดิ หนง่ึ โดยทแ่ี กส๊ ไมท่ �ำ ปฏกิ ริ ยิ ากนั ทอ่ี ณุ หภมู คิ งท่ี ความดนั กฎความดนั ยอ่ ยของดอลตนั จากการท�ำ แบบฝกึ หดัด้านทักษะ ของแก๊สผสมจะเป็นอย่างไร และมีความสัมพันธ์กับความดันของแก๊ส และการทดสอบทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แตล่ ะชนิดอย่างไร การใชจ้ ำ�นวน ดา้ นทักษะทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 2. อธบิ ายเกยี่ วกบั การทดลองของดอลตนั ทที่ �ำ ใหค้ น้ พบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง การใชจ้ �ำ นวน จากการทำ�แบบฝึกหดั - ความดันของแก๊สผสมกับความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิดในแก๊สผสม เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่สมการตามกฎความดันย่อยของดอลตัน รวมทั้งการ ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ นำ�ไปใช้ร่วมกับกฎแก๊สอุดมคติ เพื่อให้เห็นว่าความดันของแก๊สผสม ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝึกหดั ความรอบคอบ ขน้ึ กับผลรวมของจำ�นวนโมลของแกส๊ แตล่ ะชนิดในแก๊สผสม 3. อธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการหาความดันย่อยของแก๊สแต่ละชนิดใน แก๊สผสม จากเศษส่วนโมลของแกส๊ 4. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั ค�ำ นวณความดนั รวมของแกส๊ ผสม ความดนั ยอ่ ย และจำ�นวนโมลของแกส๊ แตล่ ะชนดิ ในแก๊สผสม

48 ผลการเรยี นรู ้ 5. อธิบายการแพร่ของแกส๊ โดยใชท้ ฤษฎจี ลน์ของแก๊ส คำ�นวณและเปรยี บเทียบอัตราการแพรข่ องแกส๊ โดยใช้กฎการแพรผ่ า่ นของเกรแฮมการวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การแพรข่ องแกส๊ เชน่ ด้านความรู้ การไดก้ ลนิ่ น�ำ้ หอมหรอื กลน่ิ อาหาร แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั โดยใชท้ ฤษฎจี ลน์ การแพร่ของแก๊สและกฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม1. การแพรข่ องแก๊ส ของแกส๊ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ โมเลกลุ ของแกส๊ เคลอ่ื นทต่ี ลอดเวลาท�ำ ใหเ้ กดิ จากการอภปิ ราย การท�ำ แบบฝกึ หดั และการทดสอบ2. กฎการแพรผ่ า่ นของเกรแฮม การแพร่ได้ จากนั้นใช้คำ�ถามกระตุ้นว่า แก๊สแต่ละชนิดแพร่ได้เร็วช้า ดา้ นทกั ษะด้านทกั ษะ ต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร 1. การสงั เกต จากการสงั เกตพฤตกิ รรมระหวา่ งการสาธติทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. การใช้จำ�นวน จากการทำ�แบบฝึกหัด1. การสงั เกต 2. สาธิตการแพร่ของแก๊สที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลโมเลกุลกับการ2. การใช้จ�ำ นวน แพรข่ องแกส๊ แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ผลทไี่ ดจ้ ากการสาธติ เพอื่ ใหไ้ ด้ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 1. ความใจกว้าง จากการอภิปราย - ข้อสรปุ วา่ แก๊สจะแพรไ่ ด้เรว็ หรือช้าข้ึนอยกู่ ับมวลโมเลกลุ 2. ความรอบคอบ จากการทำ�แบบฝึกหัด 3. อธบิ ายการทดลองและสมการกฎการแพรผ่ า่ นของเกรแฮม แลว้ ใหน้ กั เรยี นด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ เปรยี บเทยี บอตั ราการแพรข่ องแกส๊ ทง้ั สองชนดิ ทใ่ี ชใ้ นการสาธติ วา่ สอดคลอ้ ง1. ความใจกว้าง กับกฎการแพร่ผ่านของเกรแฮมหรือไม่ อย่างไร เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า 2. ความรอบคอบ กฎการแพร่ผ่านของเกรแฮม สามารถนำ�มาใช้ในการเปรียบเทียบและ ค�ำ นวณอัตราการแพร่ของแกส๊ ได ้ 4. ใหน้ ักเรยี นท�ำ แบบฝกึ หัดคำ�นวณอตั ราการแพร่ผ่าน อัตราการแพร่ และ มวลโมเลกุลของแกส๊ โดยใชก้ ฎการแพรผ่ ่านของเกรแฮม

เคมี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5ผลการเรียนรู ้ 6. สืบคน้ ข้อมลู นำ�เสนอตวั อยา่ ง และอธบิ ายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกบั สมบตั แิ ละกฎตา่ ง ๆ ของแกส๊ ในการอธิบายปรากฏการณ์ หรอื แก้ปญั หา 49 ในชีวิตประจ�ำ วันและในอตุ สาหกรรมการวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ ด้านความรู้ เกี่ยวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ ของแก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือ 1. ปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกบั แก๊ส ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับแก๊สและการประยุกต์2. การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สในชีวิต การแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วนั และในอตุ สาหกรรม พรอ้ มทง้ั ใหอ้ อกแบบ ใ ช้ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ แ ก๊ ส ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ � วั น แ ล ะ การนำ�เสนอในรปู แบบต่าง ๆ อุตสาหกรรม จากผลการสืบค้นข้อมูล และการ ประจ�ำ วนั และอตุ สาหกรรม 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น โดยครูอาจให้ อภิปรายด้านทักษะ ความรู้เพิม่ เติมหรอื ให้สบื ค้นขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ในประเด็นทไี่ ม่สมบรู ณ ์ ด้านทกั ษะทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ให้นักเรียนประเมินการนำ�เสนอของแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาเก่ียวกับ 1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา -ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ความถูกต้องของเน้อื หา และการน�ำ เสนอ จากการอภปิ ราย1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา 2. การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากผล2. การส่ือสารสารสนเทศและการรเู้ ท่าทนั สอ่ื การสืบค้นข้อมูล และการน�ำ เสนอด้านจติ วิทยาศาสตร์1. ความใจกวา้ ง ด้านจิตวิทยาศาสตร์2. การเหน็ คณุ คา่ ทางวิทยาศาสตร์ 1. ความใจกว้าง จากการอภปิ ราย 2. การเห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ จากการนำ�เสนอ และการอภปิ ราย