Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบูรณา ประถม

แผนบูรณา ประถม

Published by nanthintungtong06, 2019-11-04 00:59:28

Description: แผนบูรณา ประถม

Search

Read the Text Version

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE Modal หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 – 5 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ....... ปก ารศกึ ษา ................ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั กาญจนบุรี สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาํ นํา แผนการสอน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ฉบับน้ี จัดทาํ ข้ึนเพอ่ื เปนแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนรู 6 ชั่วโมงตอสัปดาห มีเนื้อหา รายวิชา 3 รายวิชาหลักที่มีการลงทะเบียนเรียน คือ ทักษะการเรียนรู (ทร11001) วิทยาศาสตร (พว11001) เศรษฐกิจพอเพียง (ทช11001) จุดเนนการปฏิบัติในการจัดทําแผนการสอนเลมนี้ ผูจัดทําไดรวบรวมองคความรู ทักษะและสภาพปญหาจากการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีผานมา เพ่ือนํามาปรับปรุงเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ กระบวนการจัดการเรียนรู ใหม ปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ข้นึ มกี จิ กรรมการเรยี นรทู ค่ี รบตามเน้ือหา ตวั ชว้ี ดั และพัฒนา ผูเรยี นใหม ีคุณสมบัติทพ่ี ึงประสงคข องสถานศกึ ษา ขอขอบคุณ ภาคีเครือขายและผูท่ีมีสวนเกี่ยวของทุกทาน ที่ใหความรู คําแนะนําและให คาํ ปรึกษาเปนแนวทาง ทําใหแผนการจัดการะบวนการเรียนรูเ ลมนี้จนสาํ เร็จ เปนรปู เลม สมบูรณ ผูจดั ทําหวงั เปน อยางยิ่งวาเอกสารเลม น้ี จะเปนประโยชนสาํ หรบั ผูน ําไปใชจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ หากพบ ขอผดิ พลาดหรือมขี อ เสนอแนะประการใด ผูจัดทาํ ขอนอมรับไวแ กไ ขปรบั ปรุงดว ยความขอบคุณยิง่ ผูจ ัดทํา กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบรุ ี

แนวนโยบาย จดุ เนน การปฏบิ ตั ใิ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษานอกระบบแบบมุง ผลสมั ฤทธิ์ กระทรวงศึกษาธิการ กาํ หนดใหเปนปแ หงการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา สานกั งาน กศน.จึงปรบั ปรุง การจัดการศึกษาตางๆ เพ่อื ยกระดบั คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ดงั น้ี การจัดการเรียนการสอนการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 1. ผเู รียน เปน นักศกึ ษาท่ีลงทะเบยี นเรียน มีตวั ตนจรงิ มเี ลขบตั รประชาชน และสามารถมาเรียนที่สถานศกึ ษาได อยา งตอเนือ่ ง 2. ครู 2.1 ครสู อนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน หมายถงึ ครู กศน.ตําบล ครู ศรช. และ ครอู าสาสมคั ร ครู 1 คน รับผิดชอบผูเรยี น 1 กลุมๆ ละ 50 คน 2.2 ครสู อนผูพกิ ารทางสตปิ ญญา ครู 1 คน รบั ผดิ ชอบผูเรียน 1กลมุ ๆละ 5 คนไมเกิน 8คน 2.3 ครสู อนผพู กิ ารทางรางกายครู 1คน รับผดิ ชอบผเู รยี น 1 กลุม ๆ ละ 10คน ไมเกิน 15คน 2.4 ครู ศศช. ครู 1 คน รบั ผิดชอบผูเ รียน 1 กลุมๆ ละ 40 – 80 คน ใหนบั รวมผเู รยี นระดบั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน มธั ยมศึกษาตอนตน และผูไมร หู นังสือดว ย 2.5 ครู English Program ครู 1คน รับผิดชอบผเู รยี น 1 กลุมๆละ 30 คน ไมเ กิน 35คน 2.6 ขา ราชการครู ขาราชการท่ีปฏบิ ตั ิงานในสถานศกึ ษาที่จดั การศกึ ษา และสํานกั งาน กศน.จงั หวดั ให ทําหนา ที่สอนเสริมในวิชาที่ถนดั สปั ดาหล ะ 6 ชั่วโมง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหครบ 6 ช่ัวโมง 2.7 ครูประจาํ กลุม ครปู ระจาํ กลุมใหแตง ตัง้ ครปู ระจํากลมุ 3 หนว ยงานคอื หนวยงานทหาร เรือนจํา และ อสม. เทานัน้ 2.7.1 ครปู ระจํากลมุ 1 คน รบั ผดิ ชอบผเู รยี น 1 กลุมๆ ละ 80 คน 2.7.2 ครปู ระจาํ กลมุ ใหมใี นหนวยงานทหาร เรอื นจํา และ อสม. เทา น้นั 2.7.3 บุคลากร กศน. ทุกคนท่ีรับเงินเดือนจาก สานักงาน กศน. และตองการขอใบประกอบวิชาชีพครูใหแตงต้ัง ครูประจํากลุมได และตองปฏิบัติการสอนจริงโดยไมเบิกคาตอบแทน เมื่อมีใบประกอบวิชาชีพครูแลวไมตองทํา การสอน 3. การจดั การเรียนการสอน 3.1 กําหนดใหมีการเรียนการสอน 9 ชั่วโมง แทนการพบกลุมแบบเดิม และใชคําวา การเรียน กศน. กลาวคือ ครูและผูเรียนตองมีการเรียนการสอน และทํากิจกรรมรวมกัน 9 ช่ัวโมง แบงเปนการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียนและสอนเสริม จํานวน 6 ช่ัวโมง จํานวน 3 ช่ัวโมงที่เหลือ เปนการจัดกิจกรรม รว มกนั ระหวางผเู รยี นและครู ซึ่งเปน กิจกรรมในแหลง เรียนรู หรอื ICT ฯลฯ 3.2 ผูเรียนทม่ี ีเวลาเรยี นไมค รบรอยละ 75 ไมมีสิทธิเขาสอบตนภาคเรียน

3.3 ใหจดั ทาตารางการเรียนการสอน ช่ัวโมงที่ 1 ,ชวั่ โมงที่ 2 …….. สอนวิชาอะไร สอนเสริมอะไร เวลา เทา ไร 3.4 ใหจ ดั ทาตารางการสอนของขา ราชการครทู ่ีทําหนาทีส่ อนเสรมิ ดว ย โดยผูบรหิ ารจัดทําคาํ ส่ังแตงตัง้ 3.5 การสอนเสริมใหขาราชการครูทําหนาที่สอนเสริมกลุมละ 1 ช่ัวโมง ถาขาราชการครูไมพอจึงจาง บุคคลภายนอกมาสอนเสริม บุคคลภายนอกท่ีสอนเสริม จะสอนเสริมไดไมเกิน 3 ชั่วโมงตอสัปดาห สวนจะสอน จาํ นวนกส่ี ัปดาหใหพจิ ารณาจากความเหมาะสม ความจาํ เปน และวงเงนิ งบประมาณของสถานศกึ ษา 4. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) กาํ หนดใหทาํ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (กพช.) 200 ช่ัวโมง ตลอดหลักสูตร แมวาผูเรียนเทียบโอน ผลการเรียนแลวและเหลือระยะเวลาเรียน 1-2 ภาคเรียน ก็ตองทํา กพช. 200 ชั่วโมง โดยใหใชหลักเกณฑ ดังกลาวกับผูเรียนทั้งเกา และใหมท ี่ลงทะเบียนเรียน 5. การเทยี บระดับการศึกษา 5.1 การเทียบระดับการศกึ ษา (เดิม) ใหรบั สมัครใหมเฉพาะระดับประถมศึกษาเทาน้ัน ระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนตนและตอนตน ใหรับประเมินซอมเฉพาะผูขอเทียบระดับการศึกษาท่ีมีผลคะแนนบางมิติอยูแลว ซึ่งจะเปด ประเมินอีก 2 ครั้ง เทานั้น การเทียบระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา ใหมีการประเมินทักษะการอาน เขียน ภาษาไทยกอนจบดว ย 5.2 การเทยี บระดับการศึกษา (เดิม) และการเทยี บระดับการศกึ ษาในระดบั สงู สุดการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (การเทยี บระดบั สงู สุด) ใหม กี ารจดั สมั มนาวชิ าการ 3 วัน 2 คนื หรือ 50 ชั่วโมง โดยใชแนวปฏบิ ตั เิ ชน เดียวกับ การเทียบระดับการศกึ ษา (เดิม) 6. การจัดการศึกษาตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) 6.1 จังหวดั ใดท่ยี งั ไมเ คยจัดการเรยี นการสอน ปวช.ใหเปดได 1 หอ ง 6.2 จังหวัดทเ่ี คยจดั การเรียนการสอน ปวช.แลว ใหเปด เพ่ิมไดอีก 1 หอ ง 6.3 ใหส านักงาน กศน.จังหวัด จั ดทา MOU (Memorandum Of Understanding) กับส ถา น ประกอบการ และสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา สําหรับสถานศึกษาข้ึนตรงให ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาจัดทา MOU ไดโดยตรง 6.4 ครู ปวช. 1 คน รับผดิ ชอบผเู รยี น 1 กลุมๆ ละ 40 คน ไมเ กิน 45 คน 7. การจดั การเรยี นการสอนผไู มรหู นงั สือ 100 % 7.1 การสาํ รวจขอ มูลผไู มร หู นังสือและความตอ งการทางการศึกษา ใหส ํารวจประชากรทุกคน 7.1.1 ที่มอี ายุ 15 ปขนึ้ ไป 7.1.2 เก็บขอมูลทุกครวั เรือน ทุกคนและเก็บเปนรายบุคคล แมค นท่ีมีช่อื แตไมอยูบา นใหเกบ็ ขอมลู ทางโทรศพั ท หรือสอบถามผใู กลช ิดท่ีทราบขอมลู 7.1.3 การรวบรวมขอมูลใหครู กศน. และอาสาสมัคร กศน.เปนผดู ําเนินการ และเบิกจายคา ตอบแทนใหถกู ตอง ตามระเบียบราชการ

7.2 การประเมินระดบั การรูหนงั สือ การประเมินระดับการรหู นังสือ ประเมนิ เฉพาะผทู ี่มีอายรุ ะหวา ง 15-59 ป 7.3 การสอนผไู มร หู นังสือ สอนโดย ครู กศน.ทุกคน โดยเฉล่ียกลมุ เปาหมายใหค รทู ุกคนรบั ผดิ ชอบ ตวั อยาง จากการประเมนิ ระดับการรูหนังสอื แลว มีผไู มร หู นังสอื 20 คน สถานศกึ ษามคี รู 5 คน (ครู กศน.ตาํ บล, ครู ศรช., ครูอาสาสมคั ร) ใหเฉล่ยี ความรบั ผิดชอบใหครูทง้ั 5 คน 8. อ่นื ๆ ใหแ ตง ตงั้ หัวหนา กศน.ตําบล ใหค รบทุกตําบล โดยคัดเลอื กจากครูอาสาสมัครเปนอันดับแรก

วิเคราะหส ภาพปญหา ผลกระทบตอการจดั การเรียนรูของผูเรียน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนสูความเปนคน “คิดเปน” โดยเนนพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู ประยุกตใชความรู และสรางองคกรความรูสําหรับตนเอง และชุมชน สังคม ซ่ึงกําหนดการจัดกระบวนการเรียนรูแบบ กศน. หรือ ONIE MODEL เปนการจัดกระบวนการเรียนรทู ี่มคี วามหลากหลาย ประกอบดวย 4 ขน้ั ตอน ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 กาํ หนดสภาพ ปญหา ความตองการในการเรียนรู (O: Orientation) ขน้ั ที่ 2 แสวงหาขอ มูลและจัดการเรียนรู (N: New ways of learning) ขัน้ ท่ี 3 ปฏบิ ัตแิ ละนาไปประยุกตใ ช (I: Implementation) ข้นั ท่ี 4 ประเมินผลการเรียนรู (E: Evaluation) การจัดกระบวนการเรยี นรูทเี่ หมาะสมกับผูเรียนท่ีหลากหลาย มีความแตกตางกนั ทั้งดาน อาชพี อายุ สภาพสังคม ศาสนา ฯลฯ จาเปนตองวิเคราะหสภาพปญหาท่ีสงผลกระทบตอการเรียนรูของผูเรียนดานตางๆ แลวนํามาจัดกระบวนการเรียนรูใหตรงกับความตองการของผูเรียนโดย บูรณาการสภาพปญหาท้ังหมด เขา กับหนวยการเรียนรู ตัวชี้วัด และวัตถุประสงคการเรียนรู เพ่ือมุงสูผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามวัตถุประสงคของ การจัดการเรียนรู สามารถวิเคราะหสภาพปญหาในปจจบุ นั ได ดังน้ี ดานการศกึ ษา การสืบคน ขอมลู จากสื่อแหลงเรียนรู อินเตอรเ น็ต ความสําคัญของการเรียนรูแบบ กศน. และการนํา ความรไู ปปรับใชใ นชีวติ ประจําวัน ดา นการเมอื งการปกครอง กฎหมาย การเมืองการปกครอง สถานการณทางการเมอื ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ ดา นสงั คม การวางแผนการดํารงชพี ทเี่ หมาะสมกบั สภาพสังคมปจจุบัน การปรบั ตัวเขา กบั สภาพชุมชน จารีต ประเพณี ธรรมเนยี มปฏบิ ัติในการอยูรว มในสังคม ดา นวฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ความสาํ คัญของวฒั นธรรมประเพณี คุณธรรม จรยิ ธรรมในการดําเนินชวี ิต วฒั นธรรมตางประเทศ การ ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั คาสอนของพุทธศาสนา ดานสิ่งแวดลอ ม มลพิศทางเสยี ง ทางอากาศ ทางนํา้ ปา ไมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การดาํ เนนิ ชวี ติ ตามแนว ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ดา นสุขภาพ ความรู ความเขา ใจในดานสาธารณสขุ การใชย าสมนุ ไพรในการรักษาโรค ก กฎหมายที่เกย่ี วขอ งกบั การ คุมครองผบู ริโภคพฤติกรรมการเลยี นแบบ ความรูเรอ่ื งสารเสพตดิ ดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความรูเร่ืองการใชคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ท และสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี ทันสมัย การเขา ถึงแหลง สงเสรมิ การใชส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศอยา งทวั่ ถงึ

รายวิชาท่ลี งทะเบยี นเรยี น แผนการลงทะเบียนท่ี 4 รายวิชาทล่ี งทะเบยี นเรียน ภาคเรยี นที่ .......... ปก ารศึกษา ........... สาระการเรยี นรแู ละรายวิชาทลี่ งทะเบยี นเรยี นภาคเรียนท่ี ........... ปก ารศึกษา ........ ที่ สาระการเรยี นรู รหัส รายวชิ าบังคบั หนว ยกติ ทร 11001 รายวชิ า 1 ทกั ษะการเรยี นรู 5 2 ความรูพ ้ืนฐาน พว 11001 ทักษะการเรียนรู 3 3 ทักษะชีวิต ทช 11001 วิทยาศาสตร 1 เศรษฐกจิ พอพยี ง 9 รวม

ปฏทิ ินการเรยี นรูน กั ศกึ ษา กศน. หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา แผนการเรียนที่ 4 ภาคเรยี นที่ .............. ปการศกึ ษา ...................... กศน.ตําบล.............................. กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบรุ ี

ปฏิทนิ การเรีย หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท กศน.ตําบล.................... กศน.อําเ สปั ดาหท ่ี ว/ด/ป การเรยี นรแู บบบูรณาการ 1 ปฐมนเิ ทศน 2 วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 - ฝกทักษะพ้นื ฐานทางการศกึ ษา แกป ญ หา เทคนคิ ในการเรยี นร การวางแผน การประเมินผลการเรียนรู การวิเคราะหวิจารณ 3 วชิ า ทักษะการเรยี นรู ทร11001 - ศกึ ษาเรียนรกู ารใชอนิ เทอรเน็ต การเขา ถึงขอมูลสารสนเทศแล ประกอบอาชีพโดยเนน - ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพนื้ ที่ - ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ ของแ 4 วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 ฝก ทักษะกระบวนการจัดการเรยี นรู การแสวงหาการประยุกตใ ช แลกเปลย่ี นเรยี นรูและการพัฒนาขอบขา ยความรู

ยนรนู ักศกึ ษา กศน. บการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ที่ ............ ปก ารศกึ ษา ........................ เภอเมืองกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบุรี กิจกรรมการเรยี นรู นักศกึ ษาภาคเรยี นที่ ......../....................... วิชา ทักษะการเรยี นรู ทร11001 รดู วยตนเอง ทักษา ใหผ ูเ รียนไดดูคลิป ในเรื่องเกย่ี วกบั การเรยี นรูดว ยตวั เอง และให ผูเรียนสรุปเปน รายงาน แผน พับ พรอมนํามาใหเ พ่ือนฟง ในการพบ กลุมท่ี กศน.ตาํ บล ครสู รุปอกี ครงั้ เพื่อใหผูเ รยี นไดมีความคิดทเ่ี ปน การเรียนรูดวยตวั เอง วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 ละศักยภาพการ ใหผเู รยี นไปศึกษานอกสถานที่ พรอมเร่ืองราวท่ีไดเ รียนมา 5 เรื่อง และอภิปรายแลกเปล่ียนเรยี นรู ใหเพอ่ื นฟง ครูและผเู รียนสรปุ พรอม กนั อีกครั้ง และใหผ เู รียนทาํ เปนรายงาน จบั ใจความสาํ คัญ สงเพอื่ แตล ะพืน้ ท่ี เปนคะแนนเก็บ วชิ า ทกั ษะการเรียนรู ทร11001 ชความรู การ ใหผ เู รยี นศึกษาแนวทางการเรยี นรใู นสง่ิ รอบตวั เรา และจัดบอรด ความรู เพ่ือใหเ พื่อนไดศ ึกษา และอธบิ ายใหเ พ่ือนฟงในการพบกลุมท่ี กศน.ตําบล

สปั ดาหท ่ี ว/ด/ป การเรียนรแู บบบูรณาการ 5 วชิ า ทักษะการเรียนรู ทร11001 ศกึ ษาฝกทักษะสถติ อิ ยางงายเพื่อการวจิ ยั เคร่อื งมือการวิจัย และ โครงการวิจยั 6 วิชา ทักษะการเรียนรู ทร11001 ทบทวนความเขาใจความเชื่อพนื้ ฐานทางการศึกษาผูใ หญการศกึ เชื่อมโยงไปสูการเรยี นรู ความหมายความสําคัญของการคิดเปน 7 วชิ า ทักษะการเรยี นรู ทร11001 การฝกทักษะในการพิจารณาขอมูล และการนาํ ไปใช การฝกปฏบิ ตดั สนิ ใจ อยางเปนระบบในการแกป ญ หา

ะการเขียน กิจกรรมการเรียนรู กษานอกระบบ การ วิชา ทักษะการเรยี นรู ทร11001 บัตกิ ารคิด การ ใหผูเรียนเลาการดําเนินชีวิตประจําวันของแตละคน และลอง ดําเนินการวิจัยวาการดําเนินชีวิตของเรามีความสุขหรือไม พรอม ศัพทภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตอยางนอย 5 คํา นํามาสรุปเปนแผนผังความคิด และอธิบายใหเพ่ือนฟงในการพบกลุม ท่ี กศน.ตาํ บล และครูเปน ผสู รปุ ในภาพรวมท้งั หมดของผูเ รยี น วิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 ใหผูเรยี นไปศึกษาแนวทางดานคุณธรรม จรยิ ธรรม ที่เหมาะสมของ ประชาชนและการเลือกใชผ ลิตภณั ฑที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม นาํ มา แกป ญหา จาก สอ่ื ออนไลน หนงั สอื ครอบครัว ผรู ูในชมุ ชน แลว นํามาอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรยี นรูใหเ พอื่ นฟงในการพบกลุมท่ี กศน. ตาํ บล วชิ า ทักษะการเรียนรู ทร11001 ใหผูเรียนไปศกึ ษาคนควา การอนุรกั ษทํานุบาํ รุงสงเสรมิ ศิลปวัฒนธรรม จากวัดไชยชุมพลชนะสงคราม แหลง เรียนรู โดยการ เปน จิตอาสาในการทาํ ความสะอาดหองน้ําวดั และสรา งสถิติในการ เปนจิตอาสาของแตละคนนํามาทํารายงาน และอธบิ ายเพิ่มเติมให เพือ่ นฟง ในการพบกลุมท่ี กศน.ตําบล

สปั ดาหที่ ว/ด/ป การเรยี นรูแบบบรู ณาการ 8 วิชา วิทยาศาสตร พว11001 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 9 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. สงิ่ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอม 2. ระบบนิเวศ 10 วิชา วิทยาศาสตร พว11001 1. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม 2. การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ

กิจกรรมการเรียนรู วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผเู รยี นไปศกึ ษาเร่ืองวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จาํ นวน 1 เร่อื ง จาก สือ่ ออนไลน หอ งสมุด หนังสือ แหลงเรยี นรู ผรู ู ภูมปิ ญ ญา ทอ งถิน่ สรุปเปนรายงานนาํ มาเสนอใหเ พื่อนฟง และครกู บั ผเู รียน สรุปเนื้อหาที่เชอื่ มโยงกบั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการพบกลุม ท่ี กศน.ตําบล - ใหผ ูเรยี นไปศกึ ษาคน ควา วทิ ยาศาสตรของตนเอง จาก สอ่ื ออนไลน หนังสือ ผูร ู สรปุ เปนแผนพับ และแสดงบทบาทสมมตุ ิใหเพ่ือนดู พรอมทัง้ ครูและผูเรียนสรุปรว มกนั ในการพบกลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล วิชา วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผ ูเรยี นศึกษาคน ควาลักษณะของสิง่ มชี ีวิต จาก สื่อออนไลน หนังสอื แหลง เรยี นรู สรปุ เปนแผนผงั ความคดิ และนํามานาํ เสนอให เพ่ือนฟง พรอมทั้งครูและผเู รียนสรุปรวมกนั ในการพบกลมุ ท่ี กศน. ตาํ บล - ใหผูเรยี นไปศกึ ษาคนควา เกณฑในการจดั กลมุ วงิ่ มีชีวติ จาก ส่อื ออนไลน แหลง เรยี นรู ผรู ู นาํ มาจัดนิทรรศการ และครูอธบิ าย เพม่ิ เติมใหผูเรยี นฟงในการพบกลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล วิชา วิทยาศาสตร พว11001

สปั ดาหท ่ี ว/ด/ป การเรยี นรูแ บบบรู ณาการ 11 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม 2. การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ 12 วิชา วิทยาศาสตร พว11001 1. แรงและการเคล่ือนทข่ี องแรง 2. พลังงานในชวี ติ ประจาํ วนั

กิจกรรมการเรยี นรู - ใหผ ูเรยี นฝกทกั ษะการอานจากสอ่ื ทชี่ ืน่ ชอบจากหอ งสมดุ แหลง เรียนรู แลว ใหเ ขียนสรุปเปนช้ินงาน เสนอหนา หองเรยี นในวันพบ กลมุ โดยครแู ละผเู รยี นรวมกันสรปุ บทเรียน พรอมใหบนั ทึกลงใน - ใหผูเรียนแสดงบทบาทสมมุติ เปนดาราทช่ี ่นื ชอบ และสรุปถึงขอดี ขอ เสยี ของการแตงกาย พรอมอบหมายใหผูเรียน นําเสนอ โดย จัดเปนบอรด ความรู ในวนั พบกลุม โดยครูและผูเรยี นรวมกนั สรุป วิชา วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผ ูเรยี นแบง กลมุ ศึกษาคนควา ถึงระบบนิเวศ จากอินเทอรเ น็ต จากแหลง เรยี นรู นํามาสรุปหนา ชั้นเรยี นโดยครแู ละผเู รยี นรว มกัน สรุปบทเรียน พรอมใหบันทึกลงใน -. จดั สอนเสรมิ และคายวชิ าการ ใหก ับผเู รยี นในรายวชิ าท่ียากโดย เชญิ วทิ ยากร ผูรมู าใหค วามรูแ กผเู รียนใน กศน.ตาํ บล โดยครแู ละ ผูเ รียนรวมกันสรปุ องคความรูที่ไดรบั วิชา วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผ ูเรยี นศกึ ษาวธิ กี ารของแรงและการเคลอ่ื นที่ของแรง จากผรู ู จากส่อื อนิ เทอรเน็ต และบนั ทกึ การเรยี นรูล งใน กรต. พรอ มทงั้ ครู นําผเู รียนเขารวมกจิ กรรมการใชพ ลงั งาน ครูและผเู รียนรว มกันสรุป ถงึ ผลการเขารวมกจิ กรรมดงั กลา วและบนั ทึกลงในสมุด

สปั ดาหท ี่ ว/ด/ป การเรียนรูแ บบบูรณาการ 13 วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 1. แรงและการเคลื่อนทข่ี องแรง 2. พลังงานในชีวติ ประจาํ วนั 14 วิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช11001 - แนวคดิ หลักการ ความหมาย ความสําคัญ - ประกอบอาชพี อยา งพอเพียง - สรา งเครือขา ยดําเนนิ ชีวติ แบบพอเพยี ง 15 วชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ขนบธรรมเนยี มประเพณวี ฒั นธรรม

กจิ กรรมการเรยี นรู - ใหผเู รยี นแบง กลมุ นกั ศกึ ษาทาํ แผนภาพแสดงความคิดเรอ่ื งสทิ ธแิ ละ ประโยชนในการมีสว นรว มในดาราศาสตรพรอมนําเสนอหนา ชน้ั เรยี น ครแู ละผูเรยี นรวมกนั สรุปรว มกนั วชิ า วิทยาศาสตร พว11001 - ใหผ ูเ รยี นแบงกลุม ศึกษาเรื่องการใชพลงั งานเชิงอนุรักษ จากแหลง เรยี นรู อนิ เทอรเน็ต และจดั เปนบอรด ความรูในหอ งเรียนครแู ละ ผเู รียน รว มกันสรปุ ถงึ สาเหตุการเกิดภัยพิบตั ิ บันทกึ ลงใน กรต. วิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช11001 ใหผเู รยี นไดดูคลิป ในเรื่องเกี่ยวกบั การเมือง การปกครอง และ บทบาทหนา ที่ของประชาชนและใหผูเ รียนสรปุ เปนรายงาน แผน พบั และนาํ มาใหเพื่อนฟงในการพบกลุมที่ กศน.ตาํ บล ครสู รุปอีกคร้ัง วชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ใหผูเ รยี นไปศกึ ษา ความพอเพยี งที่ประชาชนควรรู และสิทธิหนาท่ี ของตนเอง จาก ส่อื ออนไลน หนงั สือ แลว ใหสรปุ เปน แผนผัง ความคดิ พรอมคําศัพทภ าษาองั กฤษทเี่ ก่ยี วกับกฎหมายท่ีประชาชน ควรรูมา 5 คํา และอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู ใหเพอ่ื นฟง ครูและ ผูเรียนสรุปพรอมกนั อีกครงั้ และใหผเู รยี นทําเปนรายงาน จบั ใจความสาํ คัญ สงเพือ่ เปน คะแนนเกบ็

สปั ดาหท่ี ว/ด/ป การเรียนรแู บบบูรณาการ 16 วิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 การดแู ลรกั ษาสุขภาพดวยการออกกาํ ลงั กาย 17 สอบ 18 สอบป

กจิ กรรมการเรียนรู วชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช11001 ใหผูเ รียนศกึ ษาแนวทางการทาํ อาชพี ที่พอเพยี ง จาก สอื่ ออนไลน แหลง เรียนรู หอ งสมุด สรุปใจความสาํ คัญลงในกระดาษชารต และจดั บอรท ความรู เพือ่ ใหเพ่ือนไดศึกษา และอธบิ ายใหเพ่ือนฟงในการพบ กลมุ ท่ี กศน.ตาํ บล บกลางภาคเรียนท่ี ………/…………. ปลายภาคเรียนท่ี ............./............

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู กศน. แบบบูรณาการ ตามรปู แบบ ONIE Model หนวยการเรยี นรูท ่ี 1 หวั เรอื่ ง แสวงหาความรูสูก ารคิดเปน หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2562 สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั กาญจนบรุ ี สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คํานาํ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองกาญจนบุรีไดดําเนินการ จัดทําแผนกจิ กรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรียนรูท ่ี 1 หัวเรือ่ ง แสวงหาความรูสูก ารคิดเปน เพ่ือใหครูผูสอนใชเปนคูมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศึกษา 2562 เอกสารประกอบการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการ เรียนรูท่ี 1 หัวเรื่อง แสวงหาความรูสูการคิดเปน ประกอบดวยแผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบ ONIEModel แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู แบบประเมนิ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู แนวตอบ และแบบบนั ทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู การดาํ เนินการจัดทําแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู กศน.แบบบูรณาการ หลักสูตรการศกึ ษา นอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 ในคร้ังน้ี ประสบความสําเร็จไดดวยดี ตองขอขอบพระคุณ นายศักด์ิชัย นาคเอ่ียม ผูอํานวยการ กศน.อําเภอ เมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชาํ นาญการเปนอยางสูงท่ีเปนผูใหค ําปรึกษา ในการดําเนนิ การจัดทํา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรยี นรูท่ี 1 หัวเร่ือง แสวงหาความรูสูการคิดเปน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562 มาโดยตลอด และขอขอบคุณบุคลากรสํานักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรีท่ีขับเคลื่อนทําให การดาํ เนนิ การจดั ทําแผนการเรยี นรแู บบบูรณาการบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค จัดทาํ โดย กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี

สารบัญ หนา เรือ่ ง ก ข คํานาํ 1 สารบัญ 3 8 แผนผังการจดั หนว ยการเรยี นรู กศน.แบบบรู ณาการ 12 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการตามรปู แบบ ONIE MODEL 19 20 ใบความรทู ี่ 1 25 ใบความรทู ี่ 2 30 ใบความรทู ่ี 3 35 ใบความรทู ี่ 4 36 แบบประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู 37 แนวตอบแบบประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู บนั ทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู บรรณานุกรม คณะทํางาน

แผนผงั หนวยการจดั กจิ กรรมการเรียนรู กศน. แบบบูรณา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั ก ระดับประถมศกึ ษา ภาคเ รายวชิ า ทักษะการเรียนรู(ทร11001) รายวิชา ทกั ษะก หวั เรือ่ ง2 การใชแ หลงเรยี นรู หวั เร่อื ง3 การจดั เนื้อหา - ศึกษาเรียนรูการใชอนิ เทอรเน็ต การเขา ถึงขอมูล เนื้อหา สารสนเทศและศกั ยภาพการประกอบอาชีพโดยเนน ฝกทกั ษะกระบวน - ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพ้นื ท่ี ประยุกตใชความร - ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ ของแตล ะ ขอบขายความรู พื้นท่ี รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู(ทร11001) หนวย หัวเรอ่ื ง1 การเรยี นรดู วยตนเอง เน้ือหา หวั เร่อื ง“เรียนรูง า ยไดดว ยตัวเอง” -ฝก ทกั ษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษา สภาพปญ หา 1. เรียนดว ยตวั เองอยา งไรใหไดความ แกปญหา เทคนคิ ในการเรยี นรูดว ย 2. ไปเรยี นทีไ่ หนไดบาง 3. ขาดความรกู ารใชส ิง่ รอบตัวใหเ กิด ตนเอง ทักษาการวางแผน การ 4. การขาดความตระหนักรถู งึ ความส ประเมนิ ผลการเรียนรู การวเิ คราะห วิจารณ

าการ หนว ยการเรยี นรูท่ี 1 หัวเรอื่ ง แสวงหาความรูสกู ารคิดเปน การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 การเรยี นรู(ทร11001) ดการความรู นการจัดการเรียนรู การแสวงหาการ เนอ้ื หาเสรมิ (ภาษาอังกฤษ) รู การแลกเปล่ยี นเรียนรูและการพฒั นา คําศัพทภาษาอังกฤษเกย่ี วกบั กฎหมายที่ ประชาชนควรรู ยที่ 1 -Self-learning=การเรียนรดู ว ยตนเอง - Using learning resources=การใชแหลง เรียนรู - Knowledge Management= การจัดการ ความรู มรู สอนเสรมิ (เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช21001) แนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสาํ คัญ ดประโยชน สาํ คญั ของแหลง เรียนรู

การกาํ หนดประเดน็ /ปญหา/สงิ่ จําเปน ท่ตี อ งเรียนรู การจัดกจิ กรร 1. ผูเรียนขาดความรูแ ละประสบการณการเรยี นรูดว ยตัวเองใหได 1. ใหผ เู รียนได ความรู นํามาใหเ พื่อนฟ 2. ผเู รยี นไมทราบวาเรยี นรดู ว ยตัวเองที่ไหนไดบา ง ตัวเอง 3. ผเู รยี นขาดความรูเกีย่ วกบั การเรียนรูใ นส่ิงรอบตวั เรา 2. ใหผ เู รียนไป 4. ผูเ รยี นไมเห็นคณุ คาในความสาํ คัญในแหลงเรยี นรตู าง ๆ ฟง ครแู ละผูเ ร 3. ใหผูเรียนศกึ เพ่ือนฟงในการ 4. ใหผูเรียนศึ รายงาน อภิปร ใหเพื่อนฟง ในก

รมการเรยี นรู ดด คู ลปิ ในเรอ่ื งเกยี่ วกบั การเรยี นรดู ว ยตัวเอง และใหผ เู รยี นสรปุ เปนรายงาน แผนพบั พรอม ฟง ในการพบกลุมที่ กศน.ตําบล ครูสรปุ อกี ครง้ั เพ่อื ใหผูเรยี นไดมีความคิดทเ่ี ปนการเรียนรูดวย ปศึกษานอกสถานที่ พรอมเรื่องราวทไ่ี ดเรยี นมา 5 เรื่องและอภปิ รายแลกเปล่ียนเรียนรู ใหเพ่ือน รยี นสรุปพรอมกันอีกครั้ง และใหผ ูเ รียนทําเปนรายงาน จบั ใจความสาํ คัญ สงเพื่อเปน คะแนนเก็บ กษาแนวทางการเรยี นรูในสิ่งรอบตัวเราและจัดบอรดความรู เพือ่ ใหเพ่ือนไดศกึ ษา และอธบิ ายให รพบกลุม ที่ กศน.ตําบล ศกษาคุณคาในความสําคัญในแหลงเรียนรูตาง ๆ จากสื่อออนไลน หนังสือผูรูและทําเปนรูปเลม รายใหเ พ่ือนฟง ในการพบกลุมที่ กศน.ตําบลจดั ทาํ ตารางเปรียบเทยี บ ความเชอ่ื ถือ แลวอภิปราย การพบกลมุ ที่ กศน.ตําบล

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นร หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 หวั เร หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ ระดบั ป ภาคเรียนท่ี 2 คร้งั ท่ี วัน/เดอื น/ ตัวชีว้ ัด เนอ้ื หาสาระการเรยี นรู หัวเร ป 1. บอก วิชาทกั ษะการเรยี นรู หนว ยที่ 1 ความหมาย รหสั วชิ า ทร11001 แสวงหาควา ตระหนักและ หวั เรอื่ ง1. การเรยี นรู การคดิ เปน เห็น ดว ยตนเอง 1.ความหมา ความสําคัญ ตระหนกั แล ของการเรยี นรู ความสาํ คญั ดวยตนเอง เรียนรูด วยต

รู กศน. ตามรูปแบบ ONIE MODEL รือ่ ง แสวงหาความรสู ูการคดิ เปน บการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประถมศกึ ษา 2 ปก ารศกึ ษา 2562 รือ่ ง ประเด็น/ปญหา/ กิจกรรมการเรียนรู หมายเหตุ ส่ิงจาํ เปนทีต่ อ งเรียนรู ผูเรี ยน ขาด คว ามรู แล ะ การจดั กิจกรรมการเรียนรู ามรสู ู ประสบการณการเรียนรู ขนั้ ที่ 1 กําหนดสภาพปญ หา ดว ยตัวเองใหไ ดความรู การเรยี นรู าย 1. ใหผ เู รยี นไดด ูคลปิ ในเรื่อง ละเห็น เกยี่ วกับการเรยี นรูดว ยตัวเอง ญของการ และใหผ ูเรยี นสรปุ เปน ตนเอง รายงาน แผนพับ พรอมนํามา ใหเ พอื่ นฟงในการพบกลมุ ที่ กศน.ตาํ บล ครสู รปุ อีกครง้ั เพ่อื ใหผ เู รียนไดม ีความคดิ ท่ี เปนการเรียนรูดวยตวั เอง

คร้งั ที่ วนั /เดอื น/ ตัวชว้ี ดั เน้อื หาสาระการเรยี นรู หัวเร ป 2. อธิบาย วิชาทกั ษะการเรยี นรู 2.การใชแห ความหมาย รหสั วิชา ทร11001 เรยี นรู ความสําคญั หัวเรอื่ ง2. การใชแ หลง ของการใช เรยี นรู หอ งสมดุ อําเภอ

รอื่ ง ประเด็น/ปญหา/ กิจกรรมการเรียนรู หมายเหตุ สงิ่ จาํ เปน ท่ตี องเรยี นรู หลง ผเู รยี นไมทราบวา เรยี นรู ขนั้ ท่ี 2 แสวงหาขอมลู และ ดวยตวั เองทไ่ี หนไดบ า ง การจดั กจิ กรรมการเรียนรู กจิ กรรมท่ี 2 ใหผูเรียนไปศกึ ษานอก สถานท่ี พรอ มเรื่องราวทไ่ี ด เรยี นมา 5 เรื่อง และ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู ใหเพ่ือนฟง ครูและผูเรียน สรุปพรอมกันอีกครั้ง และให ผูเรียนทาํ เปน รายงาน จับ ใจความสาํ คัญ สงเพื่อเปน คะแนนเก็บ

ใบความรทู ่ี 1 ใบความรู เรือ่ งที่ 1 ความหมายและความสาํ คัญของการเรียนรูด ว ยตนเอง ในปจจุบันโลกมีความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีความรูตางๆไดเพ่ิมข้ึนเปนอันมาก การเรยี นรูจากสถาบันการศึกษาไมอ าจทําใหบ ุคคลศึกษาความรูไดครบทง้ั หมดการไขวค วาหาความรูดวยตนเอง จึงเปนอีกวิธีหน่ึงท่ีจะสนองความตองการของบุคคลไดเพราะเม่ือใดก็ตามที่บุคคลมีใจรักที่จะศึกษาคนควาส่ิงที่ ตนตองการจะรูบุคคลนั้นก็จะดําเนินการศึกษาเรียนรูอยางตอเนื่องโดยไมมีใครตองบอกประกอบกับระบบ การศึกษาและปรัชญาการศึกษาเพ่ือเตรียมคนใหสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิตแสวงหาความรูดวยตนเองใฝหา ความรูรแู หลงทรัพยากรการเรยี นรูวิธกี ารหาความรูมีความสามารถในการคิดเปนทําเปนแกปญหาเปนมีนิสัยใน การทํางานและการดํารงชีวติ และมีสว นรวมในการปกครองประเทศ การเรยี นรูด วยตนเองสามารถชวยใหผเู รียนพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพของตนเองโดยการคน พบความสามารถ และสิง่ ที่มีคุณคาในตนเองที่เคยมองขา มไป (“...it is possible to help learners expand their potential by discovered thatwhich is yet untapped…”) (Brockett & Hiemstra, 1991) ความหมายและความสําคัญของการเรียนรดู วยตนเอง การเรียนรูเปนเรื่องของทุกคนศักดิ์ศรีของผูเรียนจะมีไดเม่ือมีโอกาสในการเลือกเรียนในเร่ืองท่ี หลากหลายและมีความหมายแกตนเองการเรียนรูมีองคประกอบ 2 ดานคือองคประกอบภายนอกไดแก สภาพแวดลอมโรงเรียนสถานศึกษาสิ่งอํานวยความสะดวกและครูองคประกอบภายในไดแกการคิดเปน พ่ึงตนเองไดมีอิสรภาพใฝรู ใฝสรางสรรคมีความคิดเชิงเหตุผลมีจิตสํานึกในการเรียนรูมีเจตคติเชิงบวกตอการ เรียนรูการเรียนรูท่ีเกิดข้ึนมิไดเกิดข้ึนจากการฟงคําบรรยายหรือทําตามที่ครูผูสอนบอกแตอาจเกิดขึ้นไดใน สถานการณต า งๆตอไปนี้ 1. การเรียนรูโดยบังเอญิ การเรียนรูแ บบนเ้ี กดิ ขึน้ โดยบงั เอิญมิไดเ กดิ จากความตัง้ ใจ 2. การเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูดวยความต้ังใจของผูเรียนซึ่งมีความปรารถนาจะรูในเร่ืองน้ัน ผูเรียนจึงคิดหาวิธีการเรียนดวยวิธีการตางๆหลังจากน้ันจะมีการประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองจะเปน รปู แบบการเรียนรูท่ีทวีความสําคัญในโลกยุคโลกาภิวัฒนบุคคลซึ่งสามารถปรับตนเองใหตามทนั ความกาวหนา ของโลกโดยใชส่ืออปุ กรณยุคใหมไดจ ะทําใหเปนคนที่มคี ุณคาและประสบความสาํ เร็จไดอยางดี ความพรอ มในการเรยี นรดู ว ยตนเอง ในการเรียนรูดวยตนเองเปนบุคลิกลักษณะสวนบุคคลของผูเรียนท่ีตองการใหเกิดข้ึนในตัวผูเรียนตาม เปาหมายของการศึกษาผูเรียนที่มีความพรอมในการเรียนดวยตนเองจะมีความรับผิดชอบสวนบุคคลความ

รับผิดชอบตอความคดิ และการกระทําของตนเองสามารถควบคุมและโตตอบสถานการณสามารถควบคุมตนเอง ใหเปน ไปในทศิ ทางทต่ี นเลือกโดยยอมรับผลที่เกิดข้ึนจากการกระทาํ ท่ีมาจากความคิดตดั สินใจของตนเอง 3. การเรียนรูโดยกลุมการเรียนรูแบบน้ีเกิดจากการท่ีผูเรียนรวมกลุมกันแลวเชิญผูทรงคุณวุฒิมา บรรยายใหกบั สมาชกิ ทาํ ใหสมาชิกมคี วามรูเร่อื งท่วี ทิ ยากรพูด 4. การเรียนรูจากสถาบันการศึกษาเปนการเรียนแบบเปนทางการมีหลักสูตรการประเมินผลมี ระเบียบการเขาศึกษาทีชัดเจนผูเรียนตองปฏิบัติตามกฎระเบียบทีกําหนดเมื่อปฏิบัติครบถวนตามเกณฑท่ี กําหนดก็จะไดรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรจากสถานการณการเรียนรูดังกลาวจะเห็นไดวาการเรียนรูอาจ เกิดไดหลายวิธีและการเรยี นรูนน้ั ไมจ ําเปนตองเกิดขึน้ ในสถาบนั การศึกษาเสมอไปการเรียนรอู าจเกิดข้ึนไดจาก การเรียนรูดวยตนเองหรือจากการเรียนโดยกลุมก็ไดและการท่ีบุคคลมีความตระหนักเรยี นรูอยภู ายในจิตสํานึก ของบุคคลนั้นการเรียนรูดวยตนเองจึงเปนตัวอยางของการเรียนรูในลักษณะที่เปนการเรียนรูท่ีทําใหเกิดการ เรียนรตู ลอดชวี ิตซงึ่ มคี วามสําคัญสอดคลองกบั กาเปลีย่ นแปลงของโลกปจ จุบนั และสนบั สนุนสภาพ “สังคมแหง การเรียนรู” ไดเ ปนอยางดี การเรียนรดู วยตนเองคืออะไร เม่ือกลา วถึงการเรียนดวยตนเองแลวบุคคลโดยทวั่ ไปมักจะเขา ใจวาเปนการเรียนที่ผูเรียนทาํ การศกึ ษา คนควาดวยตนเองตามลําพังโดยไมตองพ่ึงพาผูสอนแตแทท่ีจริงแลวการเรียนดวยตนเองท่ีตองการใหเกิดขึ้นใน ตวั ผูเรียนน้นั เปนกระบวนการเรียนรูที่ผเู รยี นริเรม่ิ การเรยี นรูดวยตนเองตามความสนใจความตองการและความ ถนัดมเี ปาหมายรูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรูเลือกวิธีการเรียนรจู นถงึ การประเมินความกาวหนา ของการเรียนรูของตนเองโดยจะดําเนินการดวยตนเองหรอื รวมมือชว ยเหลอื กบั ผูอ่นื หรือไมก ็ไดซ ึ่งผูเรียนจะตอง มีความรับผิดชอบและเปนผูควบคุมการเรียนของตนเองทั้งน้ีการเรียนดวยตนเองน้ันมีแนวคิดพ้ืนฐานมาจาก แนวคิดทฤษฎีกลุมมนุษยนิยมท่ีมีความเช่ือในเร่ืองความเปนอิสระและความเปนตัวของตัวเองของมนุษยวา มนุษยทุกคนเกิดมาพรอมกับความดีมีความเปนอิสระเปนตัวของตัวเองสามารถหาทางเลือกของตนเองมี ศักยภาพและสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัดรวมทั้งมีความรับผิดชอบตอตนเองและ ผอู ื่นซึ่งการเรยี นดวยตนเองกอใหเกิดผลในทางบวกตอการเรียนโดยจะสงผลใหผูเรียนมีความเช่ือม่ันในตนเองมี แรงจงู ใจในการเรยี นมากขน้ึ มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและมีการใชวิธีการเรียนที่หลากหลายการเรียนดวยตนเองจึงเปนมาตรฐาน การศึกษาท่ีควรสงเสริมใหเกิดข้ึนในตัวผูเรียนทุกคนเพราะเมื่อใดก็ตามที่ผูเรียนมีใจรักที่จะศึกษาคนควาจาก ความตอ งการของตนเองผูเรียนก็จะมีการศึกษาคนควาอยางตอเน่ืองตอไปโดยไมตองมีใครบอกหรือ“การเรียนรู เปนเพอื่ นทดี่ ีท่ีสุดของมนุษย” (LEARNING makes a man fit company for himself) ... (Young)... การเรียนดวยตนเองมีอยู 2 ลักษณะคือลักษณะท่ีเปนการจัดการเรียนรูที้ม่ีจุดเนนใหผูเรียนเปน ศูนยกลางในการเรียนโดยเปนผูรับผิดชอบและควบคุมการเรียนของตนเองโดยการวางแผนปฏิบัติการเรียนรู และประเมินการเรียนรูดวยตนเองซ่ึงไมจําเปนจะตองเรียนดวยตนเองเพียงคนเดียวตามลําพังและผูเรียน สามารถถายโอนการเรียนรูและทักษะที่ไดจากสถานการณหน่ึงไปยังอีกสถานการณหนึ่งไดในอีกลักษณะหนึ่ง

เปนลักษณะทางบุคลิกภาพท่ีมีอยูในตัวผูท่ีเรียนดวยตนเองทุกคนซึ่งมีอยูในระดับที่ไมเทากันในแตละ สถานการณการเรียนโดยเปนลักษณะท่สี ามารถพัฒนาใหสูงข้ึนไดแ ละจะพัฒนาไดสูงสุดเม่ือมีการจัดสภาพการ จัดการเรยี นรูท ีเ่ ออื้ กัน การเรยี นรดู วยตนเองมคี วามสําคญั อยางไร การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Directed Learning) เปนแนวทางการเรียนรูหนึ่งท่ีสอดคลองกับการ เปล่ียนแปลงของสภาพปจจุบันและเปนแนวคิดท่ีสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิตของสมาชิกในสังคมสูการเปน สังคมแหงการเรียนรูโดยการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูที่ทําใหบุคคลมีการริเร่ิมการเรียนรูดวยตนเองมี เปาหมายในการเรียนรูท่ีแนนอนมีความรับผิดชอบในชีวิตของตนเองไมพึ่งคนอื่นมีแรงจูงใจทําใหผูเรียนเปน บุคคลที่ใฝรูใฝเรียนท่ีมีการเรยี นรตู ลอดชีวิตเรียนรูวิธีเรียนสามารถเรียนรูเรื่องราวตางๆไดมากกวาการเรยี นท่ีมี ครูปอนความรูใหเพียงอยางเดียวการเรียนรูดวยตนเองไดนับวาเปนคุณลักษณะท่ีดีที่สุดซึ่งมีอยูในตัวบุคคลทุก คนผูเรยี นควรจะมีคุณลักษณะของการเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูดวยตนเองจัดเปนกระบวนการเรียนรูตลอด ชีวติ ยอมรบั ในศักยภาพของผูเ รียนวา ผเู รียนทุกคนมีความสามารถทจี่ ะเรยี นรูสิ่งตางๆไดดว ยตนเองเพอื่ ที่ตนเอง สามารถท่ีดาํ รงชีวิตอยูในสงั คมท่ีมีการเปลยี่ นแปลงอยูต ลอดเวลาไดอยางมคี วามสุขดังนน้ั การเรียนรดู วยตนเอง มีความสาํ คญั ดงั นี้ 1. บุคคลที่เรียนรูดวยการริเริ่มของตนเองจะเรียนไดมากกวาดีกวามีความต้ังใจมีจุดมุงหมายและมี แรงจูงใจสูงกวาสามารถนําประโยชนจากการเรียนรูไปใชไดดีกวาและยาวนานกวาคนท่ีเรียนโดยเปนเพียงผูรับ หรือรอการถายทอดจากครู การเรียนดว ยตนเอง(Self-Directed Learning) เปน กระบวนการเรยี นรูท่ีผเู รียนริเร่ิมการเรยี นรูดวยตนเองตาม ความสนใจความตองการและความถนัดมีเปาหมายรูจักแสวงหาแหลงทรัพยากรของการเรียนรูเลือกวิธีการ เรียนรูจนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเองโดยจะดําเนินการดวยตนเองหรือรวมมือ ชว ยเหลอื กับผูอนื่ หรือไมก็ไดซ ึ่งผูเ รยี นจะตอ งมคี วามรับผิดชอบและเปนผูควบคมุ การเรียนของตนเอง 2. การเรียนรูดวยตนเองสอดคลองกับพัฒนาการทางจิตวิทยาและกระบวนการทางธรรมชาติทําให บุคคลมีทิศทางของการบรรลุวุฒิภาวะจากลักษณะหน่ึงไปสูอีกลักษณะหนึ่งคือเม่ือตอนเด็กๆเปนธรรมชาติที่ จะตองพ่ึงพิงผูอื่นตองการผูปกครองปกปองเลี้ยงดูและตัดสินใจแทนใหเมื่อเติบโตมีพัฒนาการขึ้นเร่ือยๆพัฒนา ตนเองไปสูความเปนอิสระไมตองพึ่งพิงผปู กครองครูและผูอ่ืนการพัฒนาเปนไปในสภาพที่เพ่ิมความเปนตัวของ ตัวเอง 3. การเรียนรูดว ยตนเองทําใหผูเรียนมีความรับผิดชอบซ่ึงเปน ลักษณะที่สอดคลองกับพัฒนาการใหมๆ ทางการศึกษาเชนหลักสูตรหองเรียนแบบเปดศูนยบริการวิชาการการศึกษาอยางอิสระมหาวิทยาลัยเปดลวน เนน ใหผูเ รยี นรับผดิ ชอบการเรียนรเู อง 4. การเรียนรูดวยตนเองทําใหมนุษยอยูรอดการมีความเปลี่ยนแปลงใหมๆเกิดขึ้นเสมอทําใหมีความ จําเปนทีจ่ ะตอ งศกึ ษาเรยี นรกู ารเรยี นรดู วยตนเองจงึ เปน กระบวนการตอเน่ืองตลอดชวี ิต

การเรยี นรูดว ยตนเองมีลักษณะอยางไร การเรยี นรูดวยตนเองสามารถจําแนกออกเปน 2 ลกั ษณะสําคญั ดงั น้ี 1. ลักษณะท่ีเปนบุคลิกคุณลักษณะสวนบุคคลของผูเรียนในการเรียนดวยตนเองจัดเปนองคประกอบ ภายในท่ีจะทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจอยากเรยี นตอไปโดยผูเรียนท่ีมีคุณลักษณะในการเรียนดวยตนเองจะมีความ รับผิดชอบตอความคิดและการกระทําเก่ียวกับการเรียนรวมทั้งรับผิดชอบในการบริหารจัดการตนเองซ่ึงมี โอกาสเกดิ ขึ้นไดสงู สุดเม่ือมีการจดั สภาพการเรียนรทู ่สี งเสรมิ กัน 2. ลักษณะท่ีเปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนดวยตนเองประกอบดวยข้ันตอนการวางแผนการ เรียนการปฏิบัติตามแผนและการประเมินผลการเรียนจัดเปนองคประกอบภายนอกที่สงผลตอการเรียนดวย ตนเองของผูเรียนซ่ึงการจัดการเรียนรูแบบนี้ผูเรียนจะไดประโยชนจากการเรียนมากท่ีสุด Knowles (1975) เสนอใหใชสัญญาการเรียน (Learning contracts) เปนการมอบหมายภาระงานใหแกผูเรียนวาจะตองทํา อะไรบา งเพอื่ ใหไ ดรับความรตู ามเปาประสงคและผูเรียนจะปฏบิ ตั ติ ามเงื่อนไขน้ัน องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเองมีอะไรบาง การเรียนรูดวยตนเองเปน คณุ ลกั ษณะท่สี าํ คัญตอการดาํ เนินชวี ิตทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพชวยใหผ ูเรียนมีความ ตง้ั ใจและมีแรงจูงใจสงู มีความคิดริเรมิ่ สรางสรรคมีความยืดหยุนมากขึ้นมีการปรับพฤติกรรมการทํางานรวมกับ ผูอืน่ ไดรจู กั เหตุผลรจู ักคิดวิเคราะหปรับและประยุกตใ ชว ิธีการแกปญหาของตนเองจัดการกบั ปญ หาไดด ีขน้ึ และ สามารถนาํ ประโยชนของการเรียนรูไปใชไ ดดีและยาวนานข้ึนทาํ ใหผ ูเรยี นประสบความสําเรจ็ ในการเรยี น องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเองมีดังน้ี 1. การวิเคราะหความตองการของตนเองจะเริ่มจากใหผูเรียนแตละคนบอกความตองการและความ สนใจของตนในการเรียนกับเพื่อนอีกคนทําหนาที่เปนท่ีปรึกษาแนะนําและเพื่อนอีกคนทําหนาท่ีจดบันทึกและ ใหกระทําเชนนี้หมุนเวียนทั้ง 3 คนแสดงบทบาทครบทั้ง 3 ดานคือผูเสนอความตองการผูใหคําปรึกษาและผู คอยจดบันทกึ การสงั เกตการณเ พือ่ ประโยชนใ นการเรยี นรวมกนั และชว ยเหลอื ซ่งึ กันและกันในทุกๆดาน 2. การกําหนดจุดมุงหมายในการเรียนโดยเริ่มจากบทบาทของผูเรียนเปนสําคัญผูเรียนควรศึกษา จุดมุงหมายของวิชาแลวเขียนจุดมุงหมายในการเรียนของตนใหชัดเจนเนนพฤติกรรมท่ีคาดหวังวัดไดมีความ แตกตางของจุดมุงหมายในแตล ะระดับ 3. การวางแผนการเรียนใหผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียนตามวัตถุประสงคที่ระบุไวจัดเนื้อหาให เหมาะสมกับสภาพความตองการและความสนใจของตนระบกุ ารจัดการเรียนรใู หเหมาะสมกบั ตนเองมากทีส่ ุด 4. การแสวงหาแหลงวิทยาการทง้ั ท่ีเปน วัสดแุ ละบุคคล 4.1 แหลง วิทยาการทเ่ี ปน ประโยชนใ นการศึกษาคนควา เชนหองสมดุ พิพธิ ภัณฑเ ปน ตน 4.2 ทกั ษะตา งๆท่ีมีสวนชว ยในการแสวงแหลงวทิ ยาการไดอ ยางสะดวกรวดเร็วเชน ทกั ษะการตงั้ คําถามทักษะการอานเปนตน 5. การประเมินผลควรประเมินผลการเรยี นดวยตนเองตามที่กําหนดจุดมงุ หมายของการเรียนไวและให สอดคลอ งกบั วัตถปุ ระสงคเกีย่ วกับความรคู วามเขาใจทักษะทัศนคตคิ า นิยมมขี นั้ ตอนในการประเมนิ คือ

5.1 กําหนดเปา หมายวัตถุประสงคใหชัดเจน 5.2 ดําเนนิ การใหบรรลุวัตถปุ ระสงคซ่ึงเปนส่งิ สําคัญ 5.3 รวบรวมหลกั ฐานจากผลการประเมินเพื่อตดั สนิ ใจซ่งึ ตองตั้งอยบู นพืน้ ฐานของขอมูลท่สี มบรู ณ และเช่ือถือได 5.4 เปรียบเทยี บขอมูลกอนเรยี นกบั หลังเรยี นเพื่อดูวา ผูเรียนมคี วามกา วหนา เพยี งใด 5.5 ใชแ หลงขอมลู จากครูและผเู รียนเปนหลักในการประเมิน องคประกอบของการเรียนรูดวยตนเองผูเรียนควรมีการวิเคราะหความตองการวิเคราะหเนื้อหากําหนด จุดมุงหมายและการวางแผนในการเรียนมีความสามารถในการแสวงหาแหลงวิทยาการและมีวิธีในการ ประเมินผลการเรียนรูดวยตนเองโดยมีเพื่อนเปนผูรวมเรียนรูไปพรอมกันและมีครูเปนผูชี้แนะอํานวยความ สะดวกและใหคําปรึกษาทั้งนี้ครูอาจตองมีการวิเคราะหความพรอมหรือทักษะท่ีจําเปนของผูเรียนในการกาวสู การเปน ผเู รียนรูดวยตนเองได กระบวนการของการเรียนรดู วยตนเอง กระบวนการของการเรียนรูดวยตนเองความรับผิดชอบในการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียนเปนสิ่ง สาํ คัญที่จะนาํ ผเู รยี นไปสูการเรียนรูดว ยตนเองเพราะความรับผิดชอบในการเรียนรดู วยตนเองน้ันหมายถึงการท่ี ผูเรียนควบคุมเน้ือหากระบวนการองคประกอบของสภาพแวดลอมในการเรียนรูของตนเองไดแกการวาง แผนการเรียนของตนเองโดยอาศัยแหลงทรัพยากรทางความรูตา งๆท่ีจะชว ยนาํ แผนสูการปฏิบตั ิแตภ ายใตความ รับผิดชอบของผูเรียนผูเรียนรูดวยตนเองตองเตรียมการวางแผนการเรียนรูของตนและเลือกสิ่งท่ีจะเรียนจาก ทางเลือกท่ีกําหนดไวรวมทั้งวางโครงสรางของแผนการเรียนรูของตนอีกดวยในการวางแผนการเรียนรูผูเรียน ตอ งสามารถปฏิบตั ิงานท่ีกําหนดวนิ ิจฉัยความชวยเหลือทตี่ องการและทําใหไดความชวยเหลือนั้นสามารถเลือก แหลงความรูวิเคราะหและวางแผนการการเรียนทั้งหมดรวมท้ังประเมินความกาวหนาในการเรียนของตน กระบวนการในการเรียนรูดวยตนเองเปนวิธีการที่ผูเรียนตองจัดกระบวนการเรียนรูดวยตนเองโดยดําเนินการ ดังน้ี 1. การวินจิ ฉยั ความตอ งการในการเรียน 2. การกําหนดจดุ มุงหมายในการเรยี น 3. การออกแบบแผนการเรียน 4. การดําเนนิ การเรยี นรูจากแหลง วิทยาการ 5. การประเมนิ ผล

ใบงานท่ี 1 การแสวงหาความรูด ว ยตนเอง ความหมายและความสําคัญของการแสวงหาความรูดวยตนเอง 1ใหอ ธิบายความหมายของคําวา “การแสวงหาความรดู วยตนเอง” ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ 2ใหอธิบาย “ความสาํ คัญของการเรียนรูดวยตนเอง” ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ 3ใหสรุปสาระสาํ คัญ “ลกั ษณะการเรียนรดู ว ยตนเอง” ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ 4. “องคป ระกอบของการเรียนรูดวยตนเอง” มีอะไรบาง ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ผตู รวจ.......................................................... (...............................................................) ครกู ศน.ตําบล

ใบความรูเ รือ่ งที่ 2 การทําสญั ญาการเรยี นรู กระบวนการเรยี นรูด วยตนเองประกอบดวยข้นั ตอนวินิจฉยั ความตอ งการในการเรียนรูของผเู รียน กาํ หนดจุดมุง หมายในการเรยี นวางแผนการเรยี นโดยใชสัญญาการเรียนเขยี นโครงการเรียนรูดาํ เนินการเรยี นรู และประเมินผลการเรียนรูนั้นผูเ รียนจะไดประโยชนจากการเรยี นมากท่ีสดุ “สญั ญาการเรียน (Learning Contract)” เปนการมอบหมายภาระงานใหกับผเู รยี นวา จะตอ งทาํ อะไรบางเพอ่ื ใหไ ดร บั ความรตู าม เปา ประสงคและผเู รยี นจะปฏิบตั ติ ามเง่ือนไขน้นั สัญญาการเรยี น (Learning Contract) คาํ วาสัญญาโดยท่วั ไปหมายถึงขอตกลงระหวา งบุคคล 2 ฝา ยหรอื หลายฝายวาจะทําการหรือ งดเวน กระทําการอยางใดอยา งหน่งึ ความจรงิ นนั้ ในระบบการจัดการเรียนรูกม็ ีการทําสญั ญากนั ระหวา งครกู บั ผเู รียนแตสวนมากไมไดเ ปนลายลักษณอกั ษรวาถา ผเู รียนทําไดอ ยางนั้นแลวผูเรียนจะไดร ับอะไรบา งตาม ขอตกลง สญั ญาการเรียนจะเปน เครื่องมอื ทช่ี วยใหผูเรียนสามารถกําหนดแนวการเรียนของตวั เองไดด ียิ่งข้นึ ทําใหประสบผลสําเร็จตามจุดมงุ หมายและเปน เครื่องยนื ยนั ทเ่ี ปน รปู ธรรม ทา นคงแปลกใจทไ่ี ดยนิ คาํ วา “สญั ญา” เพราะคําน้ีเปนคําท่ีคนุ หกู ันดีอยแู ตไมแนใ จวาทานเคยไดยนิ คําวา “สัญญาการเรียน” หรอื ยังคําวา สญั ญาการเรยี นมีผูเรม่ิ ใชเ ปน คนแรกคือ Dr. M.S. Knowles ศาสตราจารยสอนวชิ าการศึกษาผใู หญ มหาวทิ ยาลัย North Carolina State ในสหรัฐอเมรกิ า 24 คําวาสัญญาแปลตามพจนานกุ รมฉบับ ราชบณั ฑิตยสถานแปลวา “ขอตกลงกัน” ดังนัน้ สัญญาการเรยี นก็คอื ขอ ตกลงท่ีผูเ รียนไดทาํ ไวก บั ครูวา เขาจะปฏิบตั อิ ยางไรบา งในกระบวนการเรียนรูเพ่ือให บรรลุ จุดมุงหมายของหลักสตู รนั่นเอง สญั ญาการเรยี นเปนรปู แบบของการเรียนรูทแี่ สดงหลกั ฐานของการเรยี นรโู ดยใชแฟมสะสมผลงาน หรือ Portfolio 1. แนวคดิ การจดั การเรยี นรูในระบบเปนการเรยี นรูท่ีครูเปน ผูก ําหนดรูปแบบเน้ือหากจิ กรรมเปน สวนใหญผูเรียนเปน แตเ พียงผูปฏิบัติตามไมไดม โี อกาสในการมสี วนรวมในการวางแผนการเรียนนักการศึกษาท้งั ในตะวนั ตกและแอฟริกามองเหน็ วา ระบบการศึกษาแบบนเ้ี ปน ระบบการศึกษาของพวกจักรพรรดนิ ยิ มหรือเปน การศกึ ษาของพวกชนชั้นสูงบา งเปน ระบบการศึกษาของผูถูกกดขี่บางสรปุ แลวกค็ ือระบบการศึกษาแบบนี้ไมได ฝก คนใหเปนตวั ของตัวเองไมไ ดฝกใหคนรจู ักพงึ่ ตนเองจึงมีผพู ยายามท่ีจะเปล่ยี นแนวคิดทางการศึกษาใหม อยางเชน ระบบการศึกษาทเี่ นนการฝก ใหคนไดรูจ กั พึ่งตนเองในประเทศแทนซาเนียการศึกษาท่ีใหค นคดิ เปน ใน ประเทศไทยเราเหลา น้เี ปนตน รปู แบบของการศึกษาในอนาคตควรจะมุงไปสตู วั ผูเรียนมากกวา ตวั ผสู อน เพราะวาในโลกปจ จบุ ันวิทยาการใหมๆ ไดเจริญกาวหนาไปอยา งรวดเรว็ มีหลายสง่ิ หลายอยา งท่ีมนุษยจะตอ ง เรยี นรถู าจะใหแ ตมาคอยบอกกนั คงทําไมไดด งั นนั้ ในการเรยี นจะตอ งมกี ารฝกฝนใหคดิ ใหร ูจักการหาวิธกี ารท่ีได ศึกษาสง่ิ ที่คนตองการกลา วงายๆกค็ ือผเู รียนทีไ่ ดร บั การศึกษาแบบทีเ่ รียกวา เรียนรเู พ่ือการเรยี นในอนาคต

2. ทําไมจะตองมีการทําสัญญาการเรียน ผลจากการวจิ ยั เกี่ยวกับการเรียนรูของผูใหญพ บวา ผใู หญ จะเรียนไดดีทีส่ ดุ ก็ตอเม่ือการเรยี นรูดว ยตนเองไมใชการบอกหรอื การสอนแบบท่ีเปน โรงเรียนและผลจากการ วิจยั ทางดานจติ วิทยายงั พบอีกวา ผใู หญม ีลกั ษณะท่ีเดน ชัดในเรือ่ งความตองการท่ีจะทาํ อะไรดว ยตนเองโดยไม ตอ งมีการสอนหรือการชีแ้ นะ มากนักอยางไรก็ดีเม่ือพูดถึงระบบการศกึ ษาก็ยอมจะตองมีการกลา วถึงคณุ ภาพของบุคคลทเ่ี ขามาอยูใ นระบบ การศึกษาจึงมีความจาํ เปน ท่ีจะตองกาํ หนดกฎเกณฑข้นึ มาเพือ่ เปน มาตรฐานดังนนั้ ถงึ แมจะใหผ ูเ รยี นเรียนรดู ว ย ตนเองก็ตามกจ็ าํ เปน จะตองสรางมาตรการขึ้นมาเพื่อการควบคมุ คณุ ภาพของผเู รยี นเพื่อใหมมี าตรฐานตามที่ สังคมยอมรับ เหตนุ ้สี ญั ญาการเรียนจงึ เขามามบี ทบาทในการเรียนการสอนเปนการวางแผนการเรยี นที่เปนระบบขอดีของ สญั ญา-การเรียนคือเปนการประสานความคิดทวี่ าการเรยี นรูควรใหผเู รยี นกาํ หนดและการศึกษาจะตองมเี กณฑ มาตรฐานเขา ดว ยกันเพราะในสญั ญาการเรียนจะบงระบวุ า ผูเรยี นตองการเรียนเรอ่ื งอะไรและจะวดั วาไดบรรลุ ตามความมุงหมายแลว น้นั หรือไมอยางไรมหี ลกั ฐานการเรียนรอู ะไรบางที่บงบอกวา ผเู รียนมีผลการเรยี นรู อยา งไร 3. การเขียนสญั ญาการเรียน การเรียนรดู ว ยตนเองซึ่งเร่ิมจากการจดั ทาํ สัญญาการเรยี นจะมีลําดับ การดําเนินการดงั น้ี ข้นั ที่ 1 แจกหลักสตู รใหกับผเู รยี นในหลกั สูตรจะตองระบุ จดุ ประสงคข องรายวชิ านี้ รายชื่อหนังสอื อา งองิ หรือหนังสือสาํ หรบั ท่ีจะศกึ ษาคน ควา หนวยการเรยี นยอยพรอมรายชื่อหนังสืออางอิง ครอู ธบิ ายและทําความเขาใจกับผูเรยี นในเร่ืองหลักสตู รจุดมงุ หมายและหนวยการเรยี น ยอย ข้นั ที่ 2 แจกแบบฟอรมของสญั ญาการเรียน จุดมุงหมาย แหลงวิทยาการ/วธิ กี าร หลักฐาน การประเมินผล เปน สว นที่ระบวุ า ผูเรยี น เปน สวนทรี่ ะบวุ าผเู รยี น เปนสว นท่ีมสี งิ่ อา งอิง เปนสว นทีร่ ะบุวา ผูเรยี น ตอ งการบรรลุผลสําเร็จ จะเรยี นรูไดอยา งไร หรอื ยนื ยันทีเ่ ปน สามารถเกดิ การเรยี นรู ในเรื่องอะไร อยา งไร จากแหลง ความรใู ด รูปธรรมทีแ่ สดงใหเ ห็น ในระดบั ใด วา ผูเ รยี นไดเ กิดการ เรยี นรูแ ลว โดยเกบ็ รวบรวมเปน แฟมสะสมงาน

ขั้นท่ี 3 อธิบายวิธกี ารเขยี นขอตกลงในแบบฟอรมแตละชองโดยเรม่ิ จาก จดุ มงุ หมาย วิธีการเรยี นรหู รอื แหลง วทิ ยาการ หลักฐาน การประเมนิ ผล ขั้นที่ 4 ถามปญ หาและขอสงสัย ขนั้ ที่ 5 แจกตวั อยางสัญญาการเรยี นใหผ เู รียนคนละ 1 ชุด ข้นั ที่ 6 อธิบายถงึ การเขยี นสัญญาการเรียน ผูเรียนลงมือเขียนขอตกลงโดยผูเ รยี นเองโดยเขยี น รายละเอยี ดทง้ั 4 ชอ งในแบบฟอรมสญั ญาการเรยี น นอกจากนีผ้ เู รยี นยังสามารถระบรุ ะดับการเรยี นท้ังใน ระดบั ดีดีเยย่ี มหรือปานกลางซ่ึงผูเรยี นมคี วามต้ังใจทีจ่ ะบรรลุการเรยี นในระดบั ดีเยีย่ มหรือมีความต้ังใจท่จี ะ เรียนรูในระดับดีหรือพอใจผูเรียนกต็ อ งแสดงรายละเอียดผูเรยี นตองการแตระดบั ดคี ือผูเ รียนตองแสดง ความสามารถตามวัตถุประสงคท่ีกลา วไวในหลักสตู รใหครบถวนการทาํ สัญญาระดบั ดีเยี่ยมนอกจากผเู รียนจะ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคต ามหลักสูตรแลว ผูเ รยี นจะตองแสดงความสามารถพเิ ศษเรอื่ งใดเร่ืองหนง่ึ โดยเฉพาะอนั มี สวนเกย่ี วของกบั หลักสตู ร ขัน้ ท่ี 7 ใหผูเ รยี นและเพอ่ื นพิจารณาสัญญาการเรยี นใหเรยี บรอ ยตอไปใหผ ูเรียนเลือกเพื่อนในกลมุ 1 คนเพื่อจะไดช ว ยกันพิจารณาสัญญาการเรยี นรูของท้ัง 2 คน ในการพิจารณาสญั ญาการเรยี นใหพิจารณาตาม หัวขอ ตอ ไปนี้ 1. จดุ มงุ หมายมีความแจม ชดั หรือไมเขาใจหรือไมเปน ไปไดจริงหรือไมบอกพฤตกิ รรมท่ีจะใหเกิด จริงๆหรือไม 2. มจี ดุ ประสงคอืน่ ที่พอจะนาํ มากลาวเพิ่มเตมิ ไดอ ีกหรอื ไม 3. แหลง วชิ าการและวธิ กี ารหาขอมลู เหมาะสมเพยี งใดมปี ระสทิ ธิภาพเพียงใด 4. มีวธิ กี ารอื่นอีกหรอื ไมที่สามารถนาํ มาใชเพ่ือการเรียนรู 5. หลักฐานการเรยี นรมู คี วามสอดคลอ งกบั จุดมุงหมายเพียงใด 6. มหี ลักฐานอ่ืนท่ีพอจะนาํ มาแสดงไดอีกหรือไม 7. วธิ ีการประเมินผลหรือมาตรการทีใ่ ชว ัดมีความเช่อื ถือไดมากนอยเพยี งใด 8. มีวธิ กี ารประเมินผลหรือมาตรการอนื่ อีกบา งหรือไมใ นการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู ขั้นที่ 8 ใหผ เู รยี นนําสัญญาการเรยี นไปปรับปรงุ ใหเ หมาะสมอีกครั้งหนง่ึ ข้นั ที่ 9 ใหผเู รียนทําสญั ญาการเรยี นท่ีปรับปรุงแลว ใหครูและท่ีปรกึ ษาตรวจดูอีกครง้ั หนึ่งฉบบั ที่ เรียบรอ ยใหดําเนินการไดตามที่เขยี นไวในสัญญาการเรียน ขน้ั ที่ 10 การเรยี นกอ นท่จี ะจบเทอม 2 อาทิตยใ หผเู รียนนาํ แฟม สะสมงาน (แฟม เก็บขอมูล Portfolio) ตามท่ีระบุไวใ นสญั ญาการเรยี นมาแสดง ขน้ั ที่ 11 ครแู ละผเู รียนจะตงั้ คณะกรรมการในการพิจารณาแฟม สะสมงานทผ่ี เู รยี นนาํ มาสงและ สงคืนผูเรียนกอ นสิ้นภาคเรียน

(ตัวอยาง) การวางแผนการเรียนโดยใชสัญญาการเรียน จุดมงุ หมาย วธิ กี ารเรยี นรู/ หลกั ฐาน การประเมนิ ผล แหลงวิทยาการ 1. สามารถอธิบายความ ใหผ ูเรียน 2-5 คน ตอ งการความสนใจ 1. อานเอกสารอา งองิ 1. ทาํ รายงานยอ ประเมนิ แรงจูงใจ ความสามารถ รายงานและบันทกึ การ และความสนใจของ ทเ่ี สนอแนะในหลกั สตู ร ขอ คิดเห็นจากหนงั สือ อภิปรายการประเมินให ผูใหญได ประเมินตามหวั ขอ 2. อานเอกสารที่ ที่อา น ตอไปนี้ 1. รายงานครอบคลมุ เก่ียวของอ่นื ๆ 2. บนั ทึกการอภิปราย เนื้อหาตามความมุง หมาย 3. รวมกลุม รายงานและ 3. ทาํ รายงานและ เพียงใด 54321 อภิปรายกับผเู รยี นอน่ื เสนอแนะเกี่ยวกบั 2. รายงานมคี วาม ชดั เจน หรือกลุมการเรยี นอ่นื ทฤษฎี เพยี งใด 54321 การเรียนรูเพื่อนาํ ไป 3. รายงานมีประโยชน ในการเรยี นของผเู รยี น ใชกบั ผูเรียนผใู หญ ผใู หญเ พยี งใด 54321 (โดยจดั ทาํ ในรูปแบบ แฟมสะสมงาน) โดยขา พเจา จะเริ่มปฏิบัติตั้งแตว ันที่.....เดอื น.................พ.ศ. .........ถงึ วนั ท.ี่ ......เดอื น................พ.ศ. ....... ลงชอ่ื ............................................................ผทู ําสัญญา (.......................................................... ) ลงชอ่ื .............................................................พยาน (.......................................................... ) ลงชอ่ื ............................................................พยาน (.......................................................... ) ลงช่อื ............................................................ครูผูสอน (.......................................................... )

ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง การวางแผนการเรียนโดยใชส ัญญาการเรยี นรู จดุ มุงหมาย วิธกี ารเรยี นร/ู แหลง หลกั ฐาน การประเมินผล ปญหา/แกไ ขปญ หา วทิ ยาการ โดยขาพเจา จะเริ่มปฏิบตั ติ ้งั แตวนั ท.ี่ ..........เดือน............ พ.ศ.......................ถึงวนั ที.่ ..........เดือน................พ.ศ............ ลงช่ือ......................................................ผูทําสญั ญา (................................................) ลงช่ือ......................................................พยาน (................................................) ลงชื่อ......................................................พยาน (................................................) ลงช่อื ......................................................ครผู สู อน (................................................)

แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู หนวยที่ 1 เรื่อง แสวงหาความรูสูการคิดเปน แบบทดสอบยอยคร้ังท่ี 1 ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาทกั ษะการเรียนรู รหัสวชิ า ทร๑1001 เรอ่ื ง การวางแผนการเรยี นโดยใชส ญั ญาการเรยี นรู จุดมงุ หมาย วธิ กี ารเรยี นร/ู แหลง หลักฐาน การประเมนิ ผล ปญหา/แกไขปญ หา วทิ ยาการ โดยขาพเจา จะเริม่ ปฏิบตั ิตั้งแตว นั ที่...........เดือน............ พ.ศ.......................ถงึ วันท.ี่ ..........เดือน................พ.ศ............ ลงช่ือ......................................................ผทู าํ สญั ญา (................................................) ลงช่ือ......................................................พยาน (................................................) ลงชอ่ื ......................................................พยาน (................................................) ลงชือ่ ......................................................ครูผูสอน (................................................)

แบบทดสอบยอยครั้งท่ี 2 ระดับประถมศกึ ษา รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม รหัสวิชา สค21003 แบบทดสอบ กอ น – หลังเรียน วิชาทกั ษะการเรียนรู ระดับมธั ยมศกึ ษา 1. ขอ ใดไมใชค วามสําคัญของการเรียนรูดวยตนเอง ก. ทําใหผ เู รยี นมีความตั้งใจและมแี รงใจสงู ข. ทําใหเ ปนคนมีความคิดรเิ ร่ิมสรางสรรค ค. มีเหตุผลและทํางานรว มกับผูอ นื่ ได ง. มรี ะเบยี บวินัยในตนเองสูง 2. การเรียนรูด ว ยตนเองมีกี่ลักษณะ ก.2 ข.3 ค.4 ง. 5 3. ส่ิงทเ่ี ปนตวั ควบคุมทส่ี ําคัญทส่ี ดุ ตอ การเรียนรดู วยตนเองคืออะไร ก. ความเช่อื มน่ั ในตวั เอง ข. ความซ่อื สตั ยต อตนเอง ค. ความอยากรูอยากเห็น ง. ความรบั ผดิ ชอบตอตนเอง 4. ขอ ใดคือการเรยี นรูดวยตนเอง ก.นอยชอบลอกการบานเพ่ือน ข. นดิ ทํานํ้าสมปน ตามท่คี รแู นะนาํ ค.หนอยชอบดูสาระคดชี ีวิตสัตวโ ลกทางอินเตอรเ น็ต ง. นชุ สอนนอ งใหรูจักวิธีสบื คนขอ มูลจากอนิ เตอรเนต็ 5. การเรียนรูด วยตนเองแบบ กศน.คือการเรียนในขอ ใด ก. มแี รงจงู ใจอยากเรยี นก็เรียน ข. แสวงหาความรดู ว ยตนเองท้งั หมด ค. มีการวางแผนและใชส ัญญาการเรยี นรู ง. ผูเรยี นตอ งบริหารเวลารับผิดชอบตนเองทัง้ หมด

6.ขอใดไมใ ชองคประกอบของการเรยี นรู ก.วางแผนการเรียน ข.วเิ คราะหความตองการ ค.ตรวจสอบและติดตามผล ง.กาํ หนดจดุ มงุ หมายในการเรียน 7. เหตใุ ดจึงตอ งมีการทําสัญญาการเรียนรู ก.เพอ่ื ใหผเู รียนควบคมุ ตนเองได ข.เพอ่ื ควบคุมความประพฤติของผูเรยี น ค.เพ่ือกาํ หนดใหผ เู รียนมีแนวทางในการเรียน ง.เพอื่ ควบคมุ คุณภาพของผูเรียนใหม มี าตรฐาน ตามท่สี งั คมยอมรับ 8. สิง่ หน่งึ ท่นี ํามาใชใ นการประเมนิ ผลการเรยี นแบบการเรยี นรูด วยตนเอง คือขอใด ก.การสงั เกต ข.การมีสวนรว ม ค.แฟมสะสมงาน ง.พฤตกิ รรมกลมุ 9.ขอ ใดคือ“ การเรียนรดู ว ยตนเอง ” ก. ลนิ ดาโทรศัพทส อบถามอาจารย ข. กนกจา งครูมาสอน ค. อษุ าสืบคนขอ มูลทางอินเทอรเ น็ต ง. โสพายมื หนงั สอื เพื่อนมาอาน 10. การเรยี นรดู ว ยตนเองขัน้ ตอนแรกคอื ขอใด ก. การออกแบบการเรยี น ข. การกาํ หนดจุดมุงหมาย ค. จัดหาแหลง เรียนรู ง. การวเิ คราะหความตอ งการในการเรียน

แนวตอบแบบประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู หนว ยท่ี 1 เรอื่ ง แสวงหาความรูสูการคิดเปน แบบทดสอบยอยครั้งท่ี 1 ระดบั ประถมศกึ ษา รายวชิ าทกั ษะการเรียนรู ทร11001 1. การพฒั นาตนเองคือ ตอบ การพัฒนาตนเองคือการปรับปรุงดวยตนเองใหด ีข้ึนกวา เดิมท้งั ดานรา งกายจิตใจอารมณแ ละสงั คมเพื่อให สามารถทํากจิ กรรมทพ่ี งึ ประสงคต ามเปา หมายทต่ี นตั้งไวเพื่อการดํารงชีวิตรว มกบั ผูอื่นไดอ ยา งปกตสิ ขุ รวมทงั้ เพ่อื ใหเปนสมาชกิ ที่ดีของครอบครัวชุมชนและสงั คม 2. ใหนักศึกษาบอกความสําคัญของการพัฒนาตนเองมา 3 ขอ ตอบ 1. มีความเขาใจตนเองเห็นคุณคาของตนเองทําใหสามารถทําหนาที่ตามบทบาทของตนเองใน ครอบครวั ชมุ ชนและสงั คมไดอยา งเตม็ กาํ ลังความสามารถ 2. สามารถปรับปรงุ การปฏิบัตติ นและแสดงพฤติกรรมใหเ ปน ท่ียอมรับของบุคคลรอบขา งในครอบครัว ชมุ ชนและสงั คม 3. สามารถกาํ หนดแนวทางการพฒั นาตนเองใหพัฒนาไปสเู ปาหมายสูงสุดของชวี ติ ตามที่วางแผนไว 3. จงบอกถงึ แนวทางในการพัฒนาตนเอง ตอบ 1. การสาํ รวจตนเอง2. การปลกู ฝง คณุ สมบตั ิทด่ี งี าม 3. การปลุกใจตนเอง4. การสงเสรมิ ตนเอง 5. การลงมือพัฒนาตนเอง 4. พัฒนาชมุ ชนคอื ตอบพฒั นาชมุ ชนคือการกระทาํ ท่ีมงุ ปรบั ปรุงสงเสรมิ ใหก ลุมคนที่อยรู วมกนั มีการเปลยี่ นแปลงไปในทิศทางท่ดี ี ข้ึนในทุกๆดานทั้งดานที่อยูอาศัยอาหารเครื่องนุงหมสขุ ภาพรา งกายอาชพี ท่ีมัน่ คงความปลอดภยั ในชีวิตและ ทรพั ยส ินโดยอาศัยความรวมมอื จากประชาชนภายในชุมชนและหนวยงานองคก รตางๆท้งั จากภายในและ ภายนอกชมุ ชน 5. จงบอกถึงความสําคญั ของพัฒนาชุมชนมา 5 ขอ ตอบ 1. สง เสริมและกระตุน ใหประชาชนไดม ีสว นรว มในการแกไ ขปญ หาพฒั นาตนเองและชมุ ชน 2. เปนการสง เสรมิ ใหประชาชนมีจิตวิญญาณรจู กั คิดทําพัฒนาเพอ่ื สวนรวมและเรยี นรซู ง่ึ กันและกัน 3. เปน การสง เสริมการรวมกลุมในการดําเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย 4. ทาํ ใหปญหาของชมุ ชนลดนอยลงและหมดไป 5. ทาํ ใหสามารถหาแนวทางปอ งกนั ไมใ หปญหาในลักษณะเดียวกันเกิดข้นึ อีก

แบบทดสอบยอยครงั้ ที่ 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รายวิชาทักษะการเรียนรูทร21001 1. จงบอกถึงหลักการพัฒนาชุมชน ตอบ 1. ประชาชนมสี วนรวม 2. พิจารณาวัฒนธรรมและสภาพความเปนอยูของชุมชน 3.ใหความสําคญั กับ คนในชมุ ชนโดยคนในชุมชนตองเปนหลักสาํ คัญหรือเปนศนู ยก ลางของการพัฒนา 4. การพฒั นาตองไมร วบรดั และเรงรีบการดําเนนิ งานควรคาํ นึงถงึ ผลของการพัฒนาในระยะยาวดาํ เนินงานแบบคอ ยเปน คอยไป 5. ทาํ เปน กระบวนการและประเมนิ ผลอยา งตอเนื่อง 2. ขอมลู หมายถึง ตอบ ขาวสารหรอื ขอเทจ็ จริงท่ีเกดิ ขน้ึ กบั ส่ิงตา งๆที่เปน สญั ลกั ษณต ัวเลขขอความภาพหรือเสียงทีไ่ ดมาจาก วิธีการตา งๆเชนการสงั เกตการนบั การวัดและบนั ทึกเปนหลักฐานใชเ พ่ือคนหาความจรงิ 3. จงบอกความสาํ คัญและประโยชนของขอมูล ตอบ 1. เพ่ือการนําไปสูการปรบั ปรุงแกไขในสง่ิ ท่ีดกี วา 2. เพอื่ เปน แนวทางการพฒั นาดานตาง ๆ 3. เพอื่ การเรียนรศู ึกษาคนควา 4. เพอื่ ใชประกอบเปนหลักฐานอางอิงประเดน็ สาํ คัญ 5. เพอ่ื การวางแผนการปฏบิ ัติและการประเมนิ ผล 6. เพ่อื การตัดสินใจ 4. จงบอกถงึ ขอมลู ท่ีเกยี่ วขอ งกับการพัฒนาชมุ ชน ตอบ 1. ขอมูลเก่ียวกับครอบครัวและประชากร 2. ขอมูลดา นเศรษฐกจิ 3. ขอ มูลดา นประเพณแี ละวัฒนธรรม 4. ขอ มูลดา นการเมืองการปกครอง 5. ขอ มูลดานสังคม 6. ขอ มูลดา นระบบนเิ วศและสิ่งแวดลอม 5. จงบอกถึงเทคนิคและวิธกี ารเก็บขอ มูลชุมชน ตอบ 1. การสังเกต 2. การสมั ภาษณ 3. การใชแบบสอบถาม 7. การจดั เวทปี ระชาคม 5. การสนทนากลุม 6. การสํารวจ

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู ครั้งท่ี .......... วนั ...........................ท.ี่ ............เดอื น.................................พ.ศ........................ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน จาํ นวนนกั ศึกษา ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน จํานวนนกั ศกึ ษามาเรียน ท้งั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จํานวนนักศึกษาขาดเรียน ท้งั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ สภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปญหาท่ีพบและการแกไ ขปญหา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ การดําเนินการแกไข/พัฒนา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ขอ เสนอแนะ/ความคิดเห็นผูนิเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….............................… (ลงชอื่ )...................................................ครผู สู อน (ลงชอื่ )....................................................ผูนเิ ทศ (............................................) (...........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงชื่อ) ………………………………..………….......... ผอ.กศน.อําเภอเมืองกาญจนบรุ ี (นายศักดิช์ ยั นาคเอ่ียม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานกุ รม เรือ่ ง การเรียนรดู วยตนเอง http://taamkru.com/th/%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%B9 %E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%9D%E0%B9 %88%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0 %B8%B9%E0%B9%89/#article104 วนั ทส่ี ืบคนวันท่ี 15 ตลุ าคม 2562 เรอ่ื ง การพฒั นาตนเอง sk.nfe.go.th/.../Self%20Development%20Community%2021003.do... วันที่สืบคนวันที่ 15 ตุลาคม 2562เรอ่ื ง เทคนคิ และวธิ กี ารเรียนรู https://sites.google.com/site/siyamonthammatasila/1-7-kar-cad-keb-khxmul วันท่ีสืบคนวันท่ี 15 ตุลาคม 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook