Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DOH KM Manual approved

DOH KM Manual approved

Published by KMTRD SITE, 2020-02-21 01:43:51

Description: DOH KM Manual approved

Search

Read the Text Version

คู่มอื การจัดการความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) คานา การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาคน งาน และองค์กรเพื่อมุ่งสู่การเป็น องคก์ รที่มสี มรรถนะสูงหรือองค์กรแห่งการเรียนรู้ ทั้งน้ีตามพระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการ บรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวดท่ี 3 กลา่ วถึง “การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิต่อ ภารกิจของรัฐ” กาหนดวิธีการปฏิบัติราชการเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิด้วยการกาหนดแผนการทางานที่มี วตั ถุประสงค์และตัวชวี้ ดั ผลลพั ธข์ องงาน ดงั น้ี 1) การปฏบิ ตั ิของสว่ นราชการต้องสามารถวดั ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจท่ีกระทาไดอ้ ยา่ งชดั เจน 2) การบริหารราชการแบบบรู ณาการ 3) การพัฒนาสว่ นราชการให้เปน็ องคก์ ารแห่งการเรยี นรู้ การพัฒนาส่วนราชการในการบริหารราชการแนวใหม่เพื่อให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้น้ัน ส่วนราชการจะต้องพัฒนาความรู้ ความเชี่ยวชาญให้เพียงพอแก่การปฏิบัติงาน ให้สอดคล้องกับสภาพ สงั คมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็วและสถานการณข์ องต่างประเทศท่ีมีผลกระทบตอ่ ประเทศไทยโดยตรง ซ่ึงในการบริหารราชการตามพระราชกฤษฎีกาน้ีจะต้องมีการวางแผนการปฏิบัติราชการทุกระยะ ต้องมี การปรบั แผนเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ต้องมกี ารกาหนดผลสัมฤทธิ์ของงานทเ่ี ป็นความจริง ฉะนน้ั แนวความคิด ของผู้ปฏิบัติงานภาครัฐจะต้องเปลี่ยนแปลงทัศนคติเดิมเสียใหม่จากการที่ยึดแนวความคิดว่าต้องปฏิบัติงาน ตามระเบียบแบบแผนท่ีวางไว้ตั้งแต่อดีตจนต่อเนื่องถึงปัจจุบันเน้นการสร้างความคิดใหม่ ๆ ตามวิชาการ สมัยใหม่ และนามาปรับใช้กับการปฏิบัติราชการตลอดเวลา ในพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ จึงกาหนดเป็น หลักการว่า ส่วนราชการต้องมีการพัฒนาความรู้เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ดิ งั นี้ • ต้องสรา้ งระบบให้สามารถรบั รขู้ ่าวสารไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง • ต้องสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ ราชการไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง รวดเร็วและเหมาะสมกบั สถานการณ์ทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงไป • ต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยน ทัศนคตขิ องข้าราชการ เพ่อื ใหข้ า้ ราชการทุกคนเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในวิชาการสมยั ใหม่ตลอดเวลา มีความสามารถในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ให้เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ และมีคณุ ธรรม • ต้องมีการสร้างความมีส่วนร่วมในหมู่ข้าราชการให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน และกัน เพอ่ื การนามาพฒั นาใช้ในการปฏิบตั ิราชการร่วมกันให้เกดิ ประสิทธภิ าพ นอกจากน้ีนโยบายรฐั ในการการขับเคลื่อนระบบราชการ 4.0 ระบบราชการต้องเปน็ ท่ีพึ่งของ ประชาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ มีขีดสมรรถนะสูง นาไปสู่การกาหนดหลักเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA 4.0) เพื่อเป็นเครอื่ งมือ การพัฒนาองค์กรภาครัฐให้มีศักยภาพและขีดความสามารถเทียบเท่าระดับสากล มีขีดสมรรถนะสูงและ ทนั สมยั โดยในหลักเกณฑ์ของ PMQA 4.0 หมวด 4 การวดั วิเคราะห์และจัดการความรู้ ขอ้ 4.3 การเรียนรู้ ก

ค่มู อื การจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) และการใช้องค์ความรู้เพ่ือแก้ปัญหา (Knowledge worker, Educability, Ethic ability) เกณฑ์การ ประเมินผลในระดบั พ้ืนฐานกาหนดไวว้ า่ สว่ นราชการมีกระบวนการรวบรวมความรู้อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือใช้ ในการเรียนรู้ พัฒนา และต่อยอด ซึ่งเป็นเป้าหมายระยะแรกของการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์การ จดั การความรกู้ รมทางหลวง ดงั นั้นเพื่อให้กระบวนการรวบรวมความรู้และการจัดการความรู้ของกรมทางหลวงมีความเป็น ระบบเพื่อใช้ในการเรียนรู้ พัฒนา และต่อยอด สร้างศักยภาพและพัฒนาสมรรถนะองค์กร สอดคล้องกับ พระราชกฤษฎีกาฯ และหลักเกณฑ์ของ PMQA โดยมีแนวทางในการดาเนินการท่ีชัดเจน สามารถสื่อสาร และถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติได้อย่างท่ัวถึงท้ังองค์กร จึงจาเป็นต้องจัดทาคู่มือการจัดการความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) ขึ้น คู่มือฯ จะอธิบายถึงหลักการจัดการความรู้ วิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายการ จัดการความรู้ โครงสร้างการดาเนินงานและการกากับดูแล เคร่ืองมือในการจัดการความรู้ กระบวนการ จัดการความรู้จากผลการดาเนินงานภายในองค์กร การประเมินผลกระบวนการจัดการความรู้ และ คานิยามท่ีสาคัญ คู่มือการจัดการความรู้ฯ จะช่วยสร้างความเข้าใจในการนาไปสู่การปฏิบัติได้ถูกต้อง เป็นไปในแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้กระบวนการจัดการความรดู้ าเนินการได้อย่างเป็นระบบ มคี วามต่อเนือ่ งและบรรลผุ ลสาเรจ็ ตามวสิ ยั ทศั น์และเปา้ หมายการจดั การความรู้ของกรมทางหลวงตอ่ ไป กลุม่ ส่งเสริมการเรียนรู้ในองค์กร กองฝึกอบรม มกราคม 2563 ข

คมู่ อื การจัดการความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) สารบญั 1. หลักการการจัดการความรู้ ........................................................................................................ 1 1.1 ความหมายของการจัดการความรู้............................................................................................1 1.2 ประเภทของความรู้..................................................................................................................2 1.3 แนวคดิ การจดั การความรู้ ........................................................................................................2 1.4 องค์ประกอบหลกั ของการจดั การความรู้..................................................................................3 1.5 ทฤษฎกี ารจัดการความรู้ : เกลยี วความรู้ (Knowledge Spiral หรอื SECI Model) ................5 2. วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจและเปา้ หมายหลักการจัดการความรู้ กรมทางหลวง ...................................... 7 2.1 วิสยั ทัศน์การจดั การความรู้ กรมทางหลวง...............................................................................7 2.2 เป้าหมายหลกั การจัดการความรู้ (KM Objective) ..................................................................7 2.3 ปจั จยั แห่งความสาเร็จ (Key Success Factors) .....................................................................7 2.4 กลยุทธ์การจดั การความรู้.........................................................................................................7 2.5 ตัวชีว้ ดั ท่สี าคัญ (Key Performance Indicators)...................................................................8 2.6 กลยทุ ธ์ และโครงการสนับสนุนกลยทุ ธ์....................................................................................9 2.7 กรอบการดาเนินการด้านการจดั การความรู้ (KM Framework) ........................................... 14 2.8 เส้นทางและเปา้ หมายการจดั การความรู้ (KM Roadmap)................................................... 15 3. โครงสรา้ งการดาเนินงานและการกากบั ดูแลด้าน KM (KM Governance Structure) ..........18 3.1 บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการ และคณะทางานด้าน KM ................................................. 18 3.2 ภารกิจและภาระงาน (Missions) ของหน่วยงานการจัดการความรู้ (กลมุ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ในองคก์ ร กองฝกึ อบรม)................................................................... 20 3.3 หน้าท่ีของนักจัดการความรู้ (Job Description KM Facilitator)......................................... 20 3.4 คุณสมบตั ินักจัดการความรู้ (KM Facilitator Job Qualification)....................................... 21 4. เคร่ืองมือในการจัดการความร้แู ละระบบสารสนเทศทส่ี นับสนุนการจัดการความรู้....................22 4.1 แผนทค่ี วามรู้ระดับองค์กร (Organization Knowledge Mapping).................................... 22 4.2 โครงสรา้ งความรรู้ ะดบั องคก์ ร (Organization Knowledge Structure)............................. 28 4.3 การประเมนิ สถานะความรู้ภายในองค์กร .............................................................................. 87 4.4 การกาหนดแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมการจัดการความรู้ (KM Action) ............................. 92 4.5 แผนการจดั การความรู้ขององค์กร/หน่วยงาน (KM Action Plan)........................................ 93 4.6 ภูมิทศั น์ความรู้ (Knowledge Landscape.......................................................................... 96 4.7 เอกสารจดั เกบ็ องคค์ วามรู้ (OP Series)................................................................................ 98 4.8 เครื่องมือการจดั การความรทู้ ี่สาคัญ ................................................................................... 100 4.9 ระบบสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการจดั การความรู้ .............................................................. 103 5. กระบวนการจดั การความรเู้ พอ่ื แก้ไขปญั หาและสร้างนวัตกรรม............................................106 ค

คู่มือการจดั การความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) 6. การประเมินผลกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Assessment : KMA).........................................................108 6.1 รายละเอียดขอ้ คาถามสาหรบั การประเมิน KMA................................................................ 110 6.2 คาอธิบายแบบประเมินตนเอง (KMA)................................................................................ 121 7. คานยิ ามที่สาคญั ..................................................................................................................123 ภาคผนวก ก : รวมคาสั่งคณะทางานการจัดการความรู้ของกรมทางหลวง (QR Code) : ทาเนยี บนกั จดั การความรู้กรมทางหลวง (QR Code) ภาคผนวก ข : ภาพบรรยากาศและรายชอื่ ผเู้ ขา้ ร่วมสมั มนาการจดั ทาคู่มือการจัดการความรู้ ของกรมทางหลวง ง

คู่มอื การจัดการความรูก้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) 1. หลกั การการจัดการความรู้ 1.1 ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ในตัว บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาใหเ้ ปน็ ระบบเพือ่ ใหท้ ุกคนในองค์กรสามารถเขา้ ถึงความรู้และพฒั นาตนเองให้ เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสงู สดุ (สานกั งาน กพร.) การจดั การความรู้ หมายถึง กระบวนการที่ดาเนินการร่วมกันโดยผู้ปฏิบตั ิงานในองค์กรหรือหน่วย ย่อยขององค์กรเพื่อสร้างและใช้ความรู้ในการทางานให้เกิดผลสัมฤทธ์ิดีข้ึนกว่าเดิมโดยมีเป้าหมายพัฒนา งานและคน (ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช) การจัดการความรู้ หมายถึงกระบวนการในการนาความรู้ที่มีอยู่หรือได้เรียนรู้มา ใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสดุ ตอ่ องคก์ ร และเปน็ เครือ่ งมอื เพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายขององค์กรในดา้ นการทางาน ด้านการพัฒนาคน ด้านการเป็นองค์กรเรียนรู้ ด้านการเป็นชุมชนท่ีมีความเอ้ืออาทรระหว่างกันในท่ีทางาน และด้านการ ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรในทุกกลุ่ม โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ เช่น การสรา้ ง การรวบรวม การแลกเปลีย่ น และการนาไปใช้งาน โดยมีเป้าหมายขององคก์ รในดา้ นการทางาน ทีส่ าคญั คือ ๑. การตอบสนอง (Responsiveness) เป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้า เจ้าของ กจิ การหรอื ผถู้ ือหุ้น บุคลากร สังคมส่วนรวม และผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียทุกกล่มุ ๒. การมีนวตั กรรม (Innovation) เป็นนวัตกรรมในการทางาน และนวัตกรรมดา้ นผลติ ภณั ฑ์ หรือบรกิ าร ๓. การมีสมรรถนะ (Competency) เป็นขีดความสามารถขององค์กรและของบุคลากรท่ีพัฒนาขึ้น ซึง่ สะทอ้ นภาพการเรียนร้ขู ององคก์ ร ๔. การมีประสิทธิภาพ (Efficiency) เป็นสัดส่วนระหว่างผลลัพธ์กับตน้ ทุนทล่ี งไป การทางานที่มี ประสิทธิภาพสูง คือ การลงทนุ ลงแรงน้อยแต่ได้ผลมากหรอื คณุ ภาพสูง 5. ความรู้ (Knowledge) ในที่น้ีจึงหมายถึง สารสนเทศท่ีก่อให้เกิดประโยชน์กับเราในการ นาไปใช้งานโดยสารสนเทศ (Information) เป็นข้อมูลท่ีผ่านกระบวนการสังเคราะหว์ เิ คราะห์ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการและตัดสินใจ และข้อมูล (Data) เป็นข้อเท็จจริง ข้อมูลดิบหรือตวั เลขต่าง ๆ ท่ียงั ไมไ่ ด้ผ่านการแปลความ 1

คู่มือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 1.2 ประเภทของความรู้ ในมุมมองของการจัดการความรู้ แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ ๑. ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) หมายถึง ความรู้ท่ีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคล เกิดจากการ เรียนรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ หรือพรสวรรค์ต่าง ๆ ส่ือสารถ่ายทอด ในรูปของลายลักษณ์อักษรได้ยาก สามารถพัฒนาและแบ่งปันกันได้ และมักเป็นความรู้ ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความได้เปรยี บในการแข่งขัน ๒. ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) หมายถึง ความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล สามารถรวบรวม และถ่ายทอดในรูปแบบต่าง ๆ ได้ เช่น ในรูปแบบของหนังสือ คู่มือ แนวปฏิบัติ เอกสาร งานวจิ ยั และรายงานต่าง ๆ อนั เปน็ ความรทู้ ่สี ามารถทาให้คนเขา้ ถึงไดง้ ่าย 1.3 แนวคดิ การจัดการความรู้ แนวคิดการจัดการความรู้ในแต่ละประเภทนั้น จะมีจุดเน้นไม่เหมือนกัน ถ้าเป็นความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เน้น 2T คือTool & Technology เคร่ืองมือและเทคโนโลยี แต่ถ้าเป็นความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เนน้ 2P คือ Process & People กระบวนการและคน การจดั การความรู้ท้ัง 2 ส่วน มีจุดเช่ือมที่สาคัญ คือ การนาไปปรับใช้ ซ่ึงจะช่วยในการปรับความรู้ชัดแจ้งให้เกิดข้ึนในบุคคล และการนา ความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวบุคคลหรือความรู้ฝังลึก นามาปรับใช้ ทดสอบหลายครั้งจนนาไปสู่ความรู้ที่ชัดแจ้ง จัดเก็บและเผยแพร่ได้ ยกตัวอย่างเช่น การเป็นผู้บริหารที่ดีและประสบความสาเร็จถึงแม้ว่าจะมีแนวทาง ปฏิบัติกาหนดไว้อย่างชัดเจนในตาราหรือคู่มือ แต่ข้อเท็จจริงใช่ว่าทุกคนท่ีรู้แนวทางจะประสบผลสาเร็จ ต้องนาความรู้ไปปรับใช้จริงจนเกิดทักษะ ประสบการณ์ของตนเอง และหากมีการแบ่งปันเรียนรู้ร่วมกับ ผู้อ่ืนด้วยจะช่วยยกระดับความรู้ข้ึนอีก เกิดกระบวนการเรียนรู้และต่อยอดความรู้อย่างต่อเนื่อง การมี ความรู้ชัดแจ้งและความรู้ฝังลึกประกอบกันจึงจะช่วยให้บุคคลประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ ดังน้ัน การจดั การความรู้ทั้งสองสว่ น (Tacit & Explicit Knowledge) จงึ ต้องจดั การอยา่ งสมดลุ กัน 2

คูม่ อื การจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) 1.4 องค์ประกอบหลกั ของการจัดการความรู้ ๑. คน ซึ่งถือว่าสาคัญท่สี ุด เพราะเปน็ ทั้งแหลง่ ความรู้ เป็นท้ังแหลง่ รวมความรู้ และเป็นผ้นู าความรู้ ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ๒. สงั คม–วัฒนธรรม และองค์กร เพราะเปน็ สภาพแวดล้อมทจ่ี ะเอ้ืออานวยต่อการจัดการความรู้ ๓. ระบบการจัดการความรู้หรือกระบวนการความรู้ (Knowledge Process) เป็นการบริหาร จดั การเพ่ือนาความรจู้ ากแหล่งความรู้ไปให้ผใู้ ชเ้ พ่อื ทาใหเ้ กิดการปรับปรุงและนวัตกรรมใหม่ ๆ ๔. เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือเพื่อให้คนสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปล่ียน รวมทั้งนาความรู้ ไปใช้ได้อยา่ งง่ายและรวดเร็วขึ้น ผมู้ สี ่วนร่วม (ทมี ) ในการจดั การความรู้ ๑. ผู้บริหารสูงสุด (อธิบดี) ควรเป็นผู้เร่ิมกิจกรรมจัดการความรู้โดยกาหนดตัวบุคคลซ่ึงควรเป็น ผู้บริหารระดบั สูงทจ่ี ะทาหนา้ ทีเ่ ออื้ อานวย สนับสนนุ (ระบบ) KM ๒. ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (Chief Knowledge Officer – CKO) ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง ท่ีได้รบั แต่งตัง้ จากอธบิ ดี ให้ทาหน้าท่ี 3 ประการ คอื ▪ กาหนดเป้าหมายการจัดการความรู้ขององค์กร หมายถึง การกาหนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ตวั วัดความสาเรจ็ และตดิ ตามการดาเนินการ เก่ียวกบั การจัดการความรู้ขององค์กร ▪ สรา้ งบรรยากาศและกฎเกณฑ์กติกา ขององค์กรให้เอ้ือตอ่ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ▪ คอยบง่ ชี้ Identify “ความรทู้ ท่ี รงคณุ ค่า” และนามาสือ่ สารเพื่อกระตุ้นให้เกิดการตีความ ต่อเน่ือง เกิดบรรยากาศท่นี ่าตน่ื เต้น เรา้ ใจ และภาคภูมใิ จ การชน่ื ชม ยกยอ่ งในผลสาเร็จ และให้รางวัลที่อาจไมเ่ นน้ ส่งิ ของ แต่เน้นการสรา้ งความภมู ิใจในความสาเร็จ 3

คู่มอื การจดั การความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) ๓. คณะกรรมการ/คณะทางานจดั การความรู้ เปน็ คณะบุคคลจากหลายส่วน/ฝา่ ย/งาน ร่วมกนั ทา หน้าที่ระบุความรู้ที่จาเป็นในการดาเนนิ งาน การค้นหา สร้าง รวบรวม กล่ันกรอง และจัดเก็บ ความรอู้ ย่างเป็นระบบ สรา้ งช่องทางการเขา้ ถึงความรู้ จดั พ้ืนท่ี เวทีในการแลกเปล่ียนแบ่งปัน ความรู้ ดาเนินกิจกรรมการจดั การความร้แู ละติดตามผล ๔. นักจัดการความรู้ (Knowledge Facilitator) เป็นผู้คอยอานวยความสะดวกในการจัดการความรู้ เป็นนักจุดประกายความคิด เป็นนักเช่ือมโยงระหว่างผู้ปฏิบัติกับผู้บริหาร เชื่อมโยงระหว่าง ผู้ปฏบิ ตั ิตา่ งกลมุ่ ภายในองคก์ ร และเชอื่ มโยงการจดั การความรูใ้ นองค์กรกับภายนอกองค์กร ๕. ผู้ปฏิบัติงาน (Knowledge practitioners) เป็นผู้ดาเนินกิจกรรมการจัดความรู้ เป็นผู้ท่ีมี ความรู้ (Explicit Knowledge & Tacit Knowledge) และเป็นผู้ที่ต้องมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรา้ ง แปลงความรู้เพอ่ื การปฏบิ ัตใิ หบ้ รรลถุ ึงเปา้ หมายทตี่ งั้ ไว้ มมุ มอง 3 มติ ิ : KM’s Triplex perspectives (IPE Perspectives) มติ ิท่ี 1 บทบาทผ้นู า / บคุ ลากร (Influence Perspective) ▪ KM leadership การนาการจัดการความรู้มาใช้เพ่ือช่วยให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์เป้าหมายหรือ กลยุทธ์องค์กร โดยท่ีผู้บริหารกาหนดทิศทางและเป้าหมายของการจัดการความรู้ สร้างการ มสี ่วนรว่ มของบุคลากรและวฒั นธรรมการเรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ▪ Planning and resources การนากลยุทธ์การจัดการความรู้ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม และบรรลุผลสาเร็จ โดยจัดสรรทรัพยากรและใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการ ดาเนินการรวมทั้งตดิ ตามและประเมนิ ผล ▪ People ทาให้บุคลากรที่มีส่วนร่วมในการจัดการความรู้และสร้างสภาพแวดล้อมในการทางาน รวมท้ังกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่นาไปสู่วัฒนธรรมการเรียนรู้ โดยสร้าง แรงจงู ใจและพฒั นาศักยภาพของบุคลากรด้านการจดั การความรู้ มติ ทิ ี่ 2 กระบวนการ (Processes Perspective) ▪ KM Process กระบวนการการจัดการความรู้ท่ีเป็นระบบโดยใช้ประโยชน์จากสารสนเทศความรู้ จากผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี และการปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อสนบั สนนุ ส่งเสรมิ การเรียนรู้ ▪ Operation Processes การนาการจัดการความรู้มาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ รวมท้ังการสร้างความตระหนักผ่านการจัดการความรู้ถึงความเสี่ยง ของการปฏบิ ัติงานและกระบวนการทีส่ าคญั มิติท่ี 3 ผลลพั ธ์ (Effect/Result Perspective) ▪ KM Result ผลการดาเนินการด้านต่าง ๆ ท้ังในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณท่ีเกี่ยวข้อง หรือเกิด จากการจัดการความรู้ท่ีองค์กรได้ดาเนินการ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความมีประสิทธิภาพและ แนวโน้มที่ดีข้ึนอย่างต่อเนื่องของผลลพั ธก์ ารจัดการความรู้ และสามารถต่อยอดหรือขยายผลไปสู่ การสร้างสรรคน์ วตั กรรมขององคก์ ร 4

ค่มู ือการจดั การความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) 1.5 ทฤษฎีการจัดการความรู้ : เกลยี วความรู้ (Knowledge Spiral หรือ SECI Model) ทฤษฎีเกลียวความรู้ (Knowledge Spiral : SECI Model) ของ Nonaka & Takeuchi เป็นทฤษฎี หน่ึงของการบริหารจัดการความรู้ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย เหมาะกับบริบทของคนไทยที่นิยมการถ่ายทอด ความรู้จากคนสู่คน และสามารถอธิบายจากมุมมองของความรู้ Explicit Knowledge และ Tacit Knowledge สลบั ไปมาได้จนเกิดองค์ความรใู้ หม่ ๆ ไม่หยดุ นง่ิ เป็นวงจรหมุนเวียนตลอดเวลา SECI Model แบ่งการแลกเปลย่ี นความรอู้ อกเปน็ 4 วิธี คือ ๑. Socialization เป็นการแบ่งปัน แลกเปล่ียนความรู้จาก Tacit Knowledge สู่ Tacit Knowledge คือ จากคนไปสู่คน โดยแลกเปล่ียนประสบการณ์ตรงของผู้สื่อสารระหว่างกันอาจอยู่ในรูปการ พูดคุยระหว่างกันอย่างไม่เป็นทางการ รูปแบบการประชุมพูดคุยแลกเปล่ียนประสบการณ์ วิธีแก้ปัญหาในงาน การสอนงานระหว่างหัวหน้าและลูกน้อง Tacit Knowledge to Tacit Knowledge ถ่ายทอดจากคนสคู่ น ๒. Externalization เป็นการดึงความรู้จาก Tacit Knowledge ออกมาเป็น Explicit Knowledge คือ ดึงความรู้จากภายในตัวคนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ตารา คู่มือปฏิบัติงาน OPL OPK OPA 5

คมู่ ือการจดั การความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) ๓. Combination เป็นการรวบรวมความรทู้ ่ีได้จาก Explicit Knowledge ออกมาเป็น Explicit Knowledge คือ รวบรวมความรู้จากหนังสือ ตารา Explicit Knowledge มาสร้างเป็นความรู้ประเภท Explicit Knowledge ใหม่ ๆ ๔. Internalization เป็นการนาความรู้จาก Explicit Knowledge กลับเข้าไปเป็นความรู้ Tacit Knowledge คอื การนาความร้ทู ่ีเรียนรู้มาไปปฏิบัตจิ ริง เช่น หวั หนา้ งานเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน (เป็น Explicit) เมื่อลูกน้องอ่านแล้วสามารถทางานได้ จะเกิดเป็นความรู้ประสบการณ์อยู่ใน ตัวลูกน้อง หรือเกดิ การสรา้ งนวตั กรรมใหม่ ๆ จากการใช้ความรู้น้นั กิจกรรมท่ีกล่าวมาเป็นตัวกระตุ้นการหมุนของ KM Process เพื่อเกิดเป็นวงจรการเรียนรู้และ นวัตกรรม (Learning and Innovation) สิ่งท่ีค้นพบและเป็นปัญหาขององค์กรส่วนใหญ่ที่ว่าทาไมจึงไม่ เกิดการเรียนรู้และนวัตกรรม อาจเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย เช่น กิจกรรม KM ท้ังหมดไม่มุ่งเน้นการ จัดการความรู้ทีเ่ ป็นองค์ความรหู้ ลักท่ีสาคัญ ไมม่ ุ่งเน้นความรู้ในการขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ขององค์กร (Key Knowledge) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไม่ได้แลกเปลี่ยนในประเด็นที่เป็นองค์ความรู้ที่ สาคัญและจาเป็นที่มีผลต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ( Critical Knowledge) คนในองค์กรไม่สืบค้นองค์ความรู้ที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการ ปฏบิ ตั งิ าน คนในองค์กรไมเ่ ชื่อมั่นองค์ความรู้ที่มอี ยู่ซ่ึงอาจมีความไม่ถกู ต้องเพราะไม่มีระบบการกล่นั กรอง องค์ความรู้ท่ีชัดเจน เป็นต้น ในการจัดการความรู้ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงต้องจัดการ กระบวนการและนาเครื่องมือจัดการความรู้ต่าง ๆ (KM Tool) มาใช้อย่างเหมาะสมเพ่ือสร้าง รวบรวม จัดเก็บความรู้ที่สาคัญ การเผยแพร่แก่ผู้ท่ีต้องการใช้ความรู้ การแบ่งปัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง บุคลากร ตลอดจนการเสริมสร้างบรรยากาศ วัฒนธรรมองคก์ รทีส่ นับสนนุ การเรียนรู้ของบุคลากร 6

คมู่ ือการจดั การความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 2. วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมายหลักการจัดการความรู้ กรมทางหลวง 2.1 วสิ ัยทศั นก์ ารจัดการความรู้ กรมทางหลวง “เป็นศูนยค์ วามรู้ของกรมทางหลวงและสรา้ งนวัตกรรมเพอื่ ยกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการ” 2.2 เป้าหมายหลกั การจดั การความรู้ (KM Objective) “ศูนยก์ ลางการเรียนรู้และนวตั กรรมงานทางเพื่อบริการประชาชน” 2.3 ปัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ (Key Success Factors) 1) มีการกาหนดนโยบายด้านการจัดการความรู้ เป็นหน่ึงในนโยบายหลักขององค์กร ทาให้บุคลากร ทั้งหมดขององค์กรรับรู้ ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการความรู้ และยินดีเข้ามามีส่วนร่วม ในกระบวนการจัดการความรู้ 2) มีวิสัยทัศน์ด้านการจัดการความรู้ขององค์กร กลยุทธ์การจัดการความรู้ เป้าหมายและตัวชี้วัดของ โครงการ เนือ้ หาของแผนแมบ่ ทการจัดการความรูส้ อดคล้องกับแผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาองค์กร 3) มีการจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจัดการความรู้โดยตรง และคัดเลือกบุคลากรที่มีความ เหมาะสมเขา้ มารบั หน้าท่ี 4) การให้บคุ ลากรทุกระดับขององค์กรได้เข้ามามีส่วนรว่ มในโครงการด้านการจัดการความรู้ต้ังแตต่ ้น 5) มรี ะบบสารสนเทศสาหรับใช้ในการจัดเก็บรวบรวม เผยแพร่ และรว่ มกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.4 กลยุทธ์การจัดการความรู้ 7

คมู่ อื การจดั การความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) กลยุทธ์หลกั เป้าประสงค์ S1 สร้างการเปล่ยี นแปลง G1 เพ่ือปรบั ทัศนคติของผ้บู ริหารและบุคลากรตอ่ KM 4.0 (Change management) G2 เพอ่ื ให้ผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรมีส่วนร่วมใน KM มากขน้ึ G3 เพือ่ นา KM มาใช้ประโยชนใ์ นการปฏิบตั งิ านได้จริง S2 พฒั นาบุคลากรทเ่ี กีย่ วข้องกับการ G4 เพื่อใหบ้ ุคลากรมีความร้คู วามเขา้ ใจและมีสว่ นรว่ มในการ จัดการความรู้ (Develop KM People) จดั การความรู้ สามารถนาไปใชพ้ ัฒนากรมทางหลวง S3 ปรบั ปรุงกระบวนงานจัดการความรู้ให้ G5 เพื่อให้ KM Process ของกรมทางหลวงได้ระดบั Basic สอดคลอ้ งกบั KM 4.0 (Improve KM Advanced และ Significance ตามเกณฑ์ PMQA 4.0 Process) S4 พัฒนาเทคโนโลยีสนับสนนุ ระบบ G6 เพอ่ื เปน็ ศนู ยค์ วามรูแ้ ละนวัตกรรมสาหรับบคุ ลากร จัดการความรู้ (Develop Technology กรมทางหลวงและประชาชนผใู้ ช้บรกิ าร to support KM) G7 เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรกรมทางหลวงและประชาชนผ้ใู ชบ้ ริการ เขา้ ถงึ องค์ความรู้ได้ง่าย รวดเรว็ 2.5 ตัวช้วี ดั ทสี่ าคญั (Key Performance Indicators) K1 รอ้ ยละหนว่ ยงานทีม่ กี ารจัดการความรูต้ ามหลกั เกณฑ์ของคู่มือการจัดการความรกู้ รมทางหลวง K2 รอ้ ยละหนว่ ยงานที่มีนกั จดั การความรทู้ ่ีผ่านการฝกึ อบรม/สัมมนา K3 จานวนองค์ความรู้และนวัตกรรมทมี่ กี ารเผยแพร่ K4 มรี ะบบการจัดการความรู้ท่ไี ดม้ าตรฐานและสอดคลอ้ งกับ PMQA 4.0 K5 มีโครงสร้างความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Structure) K6 จานวนกระบวนงานทมี่ กี ารปรับปรงุ K7 จานวน Best Practice ทีต่ อบสนองประชาชน K8 จานวนนวัตกรรมทเ่ี ปน็ ผลจากการจัดการความรู้ K9 รอ้ ยละองคค์ วามรตู้ ามโครงสร้างความรู้กรมทางหลวงท่ีเผยแพรใ่ นรปู แบบดิจิทัล K10 มชี อ่ งทางใหบ้ คุ ลากรและประชาชนผู้ใชบ้ รกิ ารเขา้ ถึงความรู้ (สารสนเทศ) ได้ 8

คู่มือการจัดการความรูก้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) 2.6 กลยทุ ธ์ และโครงการสนบั สนุนกลยุทธ์ P1 โครงการสง่ เสริม P2 โครงการฝกึ อบรม P5 แตง่ ตั้งคณะทางาน P11 โครงการจดั ทาและ สนับสนนุ ให้มกี าร นกั จัดการความรู้ จดั ทาและพฒั นาคู่มือ เผยแพร่องคค์ วามรู้ใน จดั การความรู้ทว่ั ทั้ง กรมทางหลวง การจดั การความรู้ รปู แบบดจิ ทิ ลั องค์กร P3 โครงการสมั มนา กรมทางหลวง P12 โครงการสร้าง แลกเปล่ียนเรียนรู้ P6 สมั มนาการจัดทา ช่องทางการเข้าถึง นักจัดการความรู้ คูม่ ือการจดั การความรู้ ความรู้ (สารสนเทศ) กรมทางหลวง กรมทางหลวง (DOH P4 โครงการเผยแพร่ KM Manual) ความรแู้ ละนวตั กรรม P7 โครงการจดั ทา ของกรมทางหลวง โครงสร้างความรู้ (เวทเี ผยแพรส่ ่วนกลาง กรมทางหลวง (DOH และส่วนภมู ภิ าค) Knowledge Structure) P8 จดั ทาแผนการ จดั การความรู้ 4.0 ของหนว่ ยงาน P9 กจิ กรรมคดั เลือก Best Practice เพอ่ื เปน็ ตน้ แบบ P10 กิจกรรมประกวด และตดั สินนวัตกรรม กรมทางหลวง 9

คูม่ ือการจัดการความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) แผนกลยทุ ธก์ ารจดั การความรกู้ รมทางหลวง (2562-2565) 10

แผนกลยุทธก์ ารจัดการความรกู้ ร กลยทุ ธ์หลกั เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ดั 62 25 S1 สร้างการ G1 เพื่อปรับทัศนคติของผู้บรหิ าร K1 รอ้ ยละหนว่ ยงานท่ี เปล่ยี นแปลง (Change และบคุ ลากรต่อ มีการจดั การความรู้ management) KM 4.0 ตามหลักเกณฑ์ของ G2 เพ่ือให้ผูบ้ ริหารและบุคลากร คมู่ ือการจัดการความรู้ มสี ่วนรว่ มใน KM มากขึน้ กรมทางหลวง G3 เพ่ือนา KM มาใช้ประโยชน์ ในการปฏิบัติงานไดจ้ รงิ S2 พัฒนาบคุ ลากร G4 เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความ K2 ร้อยละหน่วยงาน 50 ท่เี กยี่ วข้องกบั การ 20 จดั การความรู้ เข้าใจและมีส่วนรว่ มในการ ทมี่ นี กั จดั การความรู้ (Develop KM People) จดั การความรู้ สามารถนาไปใช้ ทผ่ี ่านการฝึกอบรม/ พฒั นากรมทางหลวง สมั มนา K3 จานวนองค์ความรู้ และนวตั กรรมท่ีมกี าร เผยแพร่

คู่มอื การจัดการความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) รมทางหลวง (2562-2565) คา่ เป้าหมาย 65 โครงการ/กจิ กรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบหลัก 63 64 50 75 100 P1 โครงการส่งเสริมสนบั สนนุ ใหม้ ี - คณะทางาน การจัดการความรทู้ ่วั ท้งั องค์กร ขบั เคลอื่ นกลยทุ ธ์ - กจิ กรรมสอื่ สารกลยุทธก์ าร การจดั การความรู้ จัดการความรู้กรมทางหลวง กรมทางหลวง - โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้เพอ่ื - กองฝึกอบรม สรา้ งนวตั กรรมองค์กร - กิจกรรมประเมนิ และตดิ ตามผล การจดั การความรู้ 100 P2 โครงการฝึกอบรมนักจัดการ - กองฝกึ อบรม 40 50 ความรกู้ รมทางหลวง - กองฝกึ อบรม 30 30 60 P3 โครงการสมั มนาแลกเปลีย่ น - กองฝึกอบรม เรยี นรนู้ กั จดั การความรู้กรมทาง - ทกุ หนว่ ยงาน หลวง 30 P4 โครงการเผยแพร่ความรู้และ นวัตกรรมของกรมทางหลวง (เวทเี ผยแพร่สว่ นกลางและ ส่วนภูมิภาค) 11

กลยทุ ธห์ ลกั เปา้ ประสงค์ ตัวช้ีวัด 62 S3 ปรบั ปรงุ G5 เพื่อให้ KM Process ของ K4 มรี ะบบการจัดการ แล เสร กระบวนงานจดั การ กรมทางหลวงได้ระดบั Basic ความร้ทู ่ไี ด้มาตรฐาน ความรู้ใหส้ อดคล้องกบั Advanced และ Significance และสอดคลอ้ งกับ KM 4.0 (Improve ตามเกณฑ์ PMQA 4.0 PMQA 4.0 KM Process) K5 มโี ครงสรา้ งความรู้ 25 กรมทางหลวง (DOH % KM Structure) K6 จานวนกระบวนงาน 10 ทมี่ กี ารปรบั ปรงุ K7 จานวน Best 1 Practice ที่ตอบสนอง ประชาชน

คู่มอื การจัดการความรูก้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) คา่ เป้าหมาย โครงการ/กิจกรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั 2 63 64 65 ล้ว P5 แตง่ ตง้ั คณะทางานจัดทา - กองฝึกอบรม ร็จ และพฒั นาคูม่ ือการจดั การ ความรกู้ รมทางหลวง P6 สมั มนาการจัดทาคมู่ ือการ -คณะทางานจดั ทาและ จดั การความรู้กรมทางหลวง พัฒนาคมู่ ือการจดั การ (DOH KM Manual) ความรู้กรมทางหลวง 5 50 75 100 P7 โครงการจัดทาโครงสร้าง -กองฝกึ อบรม % % % % ความรกู้ รมทางหลวง (DOH -ทกุ หน่วยงาน Knowledge Structure) 0 10 10 10 P8 จดั ทาแผนการจดั การ -ทุกหน่วยงาน ความรู้ 4.0 ของหน่วยงาน 1 2 2 2 P9 กิจกรรมคัดเลือก Best -คณะกรรมการ Practice เพื่อเปน็ ตน้ แบบ คัดเลือก Best Practice และตดั สนิ ผลงาน นวตั กรรมกรมทางหลวง 12

กลยุทธห์ ลัก เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ัด 62 5 K8 จานวนนวตั กรรม ท่ีเปน็ ผลจากการจดั การ ความรู้ S4 พฒั นาเทคโนโลยี G6 เพอ่ื เปน็ ศนู ยค์ วามร้แู ละ K9 รอ้ ยละองค์ความรู้ สนับสนนุ ระบบจดั การ นวัตกรรมสาหรับบคุ ลากร ตามโครงสรา้ งความรู้ ความรู้ (Develop กรมทางหลวงและประชาชน กรมทางหลวงท่ีเผยแพร่ Technology to ผูใ้ ชบ้ ริการ ในรูปแบบดิจิทัล support KM) G7 เพือ่ ให้บุคลากร กรมทางหลวงและประชาชน K10 มีช่องทางให้ ผู้ใชบ้ ริการเข้าถงึ องค์ความรู้ บคุ ลากรและประชาชน 1 ไดง้ า่ ย รวดเรว็ ผใู้ ชบ้ รกิ ารเขา้ ถงึ ความรู้ ชอ่ (สารสนเทศ) ได้ ทา

คู่มือการจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) คา่ เปา้ หมาย โครงการ/กจิ กรรม ผ้รู ับผดิ ชอบหลัก 2 63 64 65 5 5 5 5 P10 กิจกรรมประกวดและ - คณะกรรมการ ตัดสินนวตั กรรมกรมทางหลวง คดั เลือก Best Practice และตัดสนิ ผลงานนวัตกรรม กรมทางหลวง 60 70 80 P11 โครงการจดั ทาและ - คณะทางานจัดการ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ในรูปแบบ ความร้ปู ระจาหนว่ ยงาน ดิจทิ ัล - ศนู ย์เทคโนโลยี สารสนเทศ - กองฝึกอบรม 1 2 2 2 P12 โครงการสร้างช่องทาง - ศนู ยเ์ ทคโนโลยี อง ชอ่ ง ชอ่ ง ชอ่ ง การเขา้ ถงึ ความรู้ (สารสนเทศ) สารสนเทศ าง ทาง ทาง ทาง - กองฝกึ อบรม 13

คมู่ ือการจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) 2.7 กรอบการดาเนนิ การดา้ นการจดั การความรู้ (KM Framework) กรอบการดาเนินการด้านการจัดการความรู้ประกอบด้วย การตรวจสอบความรู้ (Knowledge Audit) การวิเคราะห์/สังเคราะห์ความรู้ (Analyze & Synthesize knowledge) การพัฒนาระบบและ เคร่ืองมือการจัดการความรู้ (Develop KM System) และการติดตามและประเมินผล (Monitoring Evaluation) การจัดการความรู้จะเป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีสนับสนุนความสาเร็จของวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์/กลยุทธ์ และระบบงานต่าง ๆ ขององค์กร ไดแ้ ก่ ระบบคุณภาพ ระบบพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ระบบสมรรถนะหลักองค์กร ตามภาพ 14

คมู่ ือการจดั การความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) 2.8 เสน้ ทางและเป้าหมายการจดั การความรู้ (KM Roadmap) เสน้ ทางการปฏิบัติในการจดั การความรู้ 7 KM Implementation Steps เป้าหมายการจดั การความรู้ 15



ค่มู ือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 16



ค่มู ือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 17

คู่มือการจัดการความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) 3. โครงสร้างการดาเนนิ งานและการกากับดแู ลด้าน KM (KM Governance Structure) 3.1 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ และคณะทางานด้าน KM 1. คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรใู้ นองค์กรกรมทางหลวง อานาจหน้าท่ี ๑) กาหนดทิศทางและแนวทางการจัดการความรู้ในองคก์ รและสง่ เสรมิ การเป็นองค์กรแหง่ การเรยี นรู้ ๒) พิจารณา กล่นั กรอง ตรวจสอบและใหค้ วามเหน็ ชอบแนวทางการจดั การความรูข้ อง กรมทางหลวง ๓) ให้การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ เรอื่ งตา่ ง ๆ ของคณะทางานการจดั การความรู้ เพือ่ ให้การ ดาเนินการเปน็ ไปตามแนวทางและทศิ ทางทกี่ าหนด ๔) ผลกั ดนั และติดตามความกา้ วหนา้ ใหก้ ารดาเนนิ การจัดการความรขู้ องกรมทางหลวง ดาเนนิ การไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและประสบผลสาเรจ็ ทั่วท้ังองค์กร ๕) ให้ประธานฯ มีอานาจแตง่ ตั้งคณะทางานฯ ไดต้ ามความเหมาะสม 2. คณะทางานการจดั การความรู้ ประกอบดว้ ย ๖ คณะ ไดแ้ ก่ 2.1 คณะทางานการจัดการความรู้ ดา้ นงานบารงุ ทางและงานอานวยความปลอดภยั 2.2 คณะทางานการจดั การความรู้ ดา้ นงานก่อสร้างทางและสะพาน 2.3 คณะทางานการจัดการความรู้ ด้านงานวิเคราะห์และวิจัยวสั ดุทางวศิ วกรรม และงานสารวจและออกแบบ 2.4 คณะทางานการจดั การความรู้ ด้านนวัตกรรมสงิ่ ประดิษฐ์ เครื่องจกั ร อปุ กรณส์ าหรบั งานทาง 2.5 คณะทางานการจดั การความรู้ ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.6 คณะทางานการจัดการความรู้ ด้านบริหารองค์กร อานาจหนา้ ที่ ๑) ศึกษาและวิเคราะห์ความรู้ที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานของกรมทางหลวง เพ่ือเสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กรกรมทางหลวง ในการมอบหมาย หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ หรอื ต่อยอดองคค์ วามรู้ ๒) พิจารณากลั่นกรองและตรวจสอบความถูกต้องของผลงานความรู้จากหน่วยงาน เพื่อนาไปใช้ ให้เกดิ ประโยชน์ในองคก์ รอย่างเปน็ รปู ธรรม ๓) นาเสนอผลงานความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ในภาพรวมต่อคณะกรรมการ เพื่อกาหนดเป็น นโยบายหรอื แนวทางปฏิบัติของกรมทางหลวง ๔) ประธาน มีอานาจแต่งงตั้งคณะทางานย่อยได้ตามความเหมาะสม เพ่ือดาเนินการเก่ียวกับ การจัดการความรู้ ๕) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กรกรมทางหลวง มอบหมาย 18

คู่มือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 3. คณะทางานการจัดการความรู้ประจาสานักงานทางหลวง อานาจหน้าท่ี ๑) ดาเนินการจัดทาองค์ความรู้ตามที่คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร กรมทางหลวงมอบหมาย ๒) ดาเนินการจดั ทาองคค์ วามรตู้ ามความจาเปน็ ของหนว่ ยงาน ๓) ดาเนินการรวบรวมองค์ความรู้ของหน่วยงาน เพื่อจัดทาคลังความรู้ หรือแหล่งจัดเก็บความรู้ ของหนว่ ยงาน ๔) จัดทาแผนการจัดการความรู้ของหน่วยงาน รวมทั้งการจัดทารายงานความคืบหน้าและ ผลการดาเนินงานของการจัดการความรู้ เสนอคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ ในองคก์ รกรมทางหลวง ๕) สนับสนุนการจดั กจิ กรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ภายในหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน ๖) ผลักดนั ให้คณะทางานการจดั การความรู้ของหน่วยงานดาเนนิ การจดั การความรู้อย่างเป็น รูปธรรม โดยการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ รวมถึงนาความรู้มาใช้พัฒนาเพ่ือเป็นประโยชน์ ต่อการปฏบิ ัติงาน ๗) ประสานงานและใหค้ วามร่วมมอื กับคณะทางานการจัดการความรู้ ๘) ประธานฯ มอี านาจแตง่ ต้งั คณะทางานยอ่ ยการจัดการความรปู้ ระจาหน่วยงาน 4. คณะกรรมการคดั เลือกวธิ ีปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) และตัดสินผลงานนวัตกรรม กรมทางหลวง อานาจหน้าท่ี ๑) กาหนดหลกั เกณฑเ์ พ่ือคัดเลือกวิธีปฏิบตั ทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice) และผลงานนวัตกรรม กรมทางหลวง ๒) กาหนดประเภท จานวนรางวัล และของรางวัลสาหรับหน่วยงานท่ีได้รับรางวัลวิธีปฏิบัติ ท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) และนวัตกรรมกรมทางหลวง ๓) พจิ ารณาคดั เลอื กวิธปี ฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) และตดั สนิ ผลงานนวตั กรรม กรมทางหลวง ตามหลักเกณฑท์ กี่ าหนดไว้ ๔) ดาเนนิ การในสว่ นอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง 19

คูม่ ือการจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) 5. คณะทางานขับเคลือ่ นกลยุทธ์การจัดการความรู้กรมทางหลวง อานาจหน้าท่ี ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผลการดาเนินงานจัดการความรู้ และการส่งเสริมการเรียนรู้ในองค์กร กรมทางหลวง เพื่อให้ทราบถึงผลสาเร็จ ปัญหา อุปสรรค และโอกาสในการปรับปรุง พัฒนาการดาเนนิ งาน ๒) จัดทากลยุทธ์การจัดการความรู้กรมทางหลวงและแนวทางการนาไปสู่การปฏิบัติท่ีเป็น รูปธรรม รวมถึงการกาหนดผู้รับผิดชอบ ผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การดาเนินงานบรรลุผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ ๓) นาเสนอกลยุทธ์การจดั การความรู้ให้ CKO พิจารณาให้ความเห็นชอบ และขับเคล่ือนการ ดาเนินงานตามกลยุทธ์การจัดการความรู้ โดยการสื่อสารและติดตามผลการดาเนินงาน อยา่ งต่อเนื่องและท่วั ถงึ ทงั้ องค์กร ๔) รายงานผลการขับเคลื่อนกลยุทธ์การจดั การความร้เู สนอ CKO เพื่อทราบทุกส้นิ ปีงบประมาณ ๕) ดาเนินการอ่นื ๆ ท่ีเก่ยี วข้องเพื่อใหก้ ารดาเนินงานประสบผลสาเร็จ 3.2 ภารกจิ และภาระงาน (Missions) ของหน่วยงานการจัดการความรู้ (กลุ่มสง่ เสริมการเรยี นรใู้ นองคก์ ร กองฝกึ อบรม) 1) พฒั นานโยบายและยทุ ธศาสตร์ดา้ นการจัดการความรู้ เพอ่ื ยกระดบั องค์กรไปสู่การเปน็ องค์กร แห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 2) พฒั นาระบบการจัดการความรใู้ หเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 3) พฒั นาระบบคลังความรทู้ ง้ั Explicit Knowledge & Tacit Knowledge ทีท่ นั สมัย ค้นหางา่ ย และครอบคลมุ ภารกิจสาคัญขององค์กร 4) พัฒนาศักยภาพเครือข่ายนักจัดการความรู้ของหน่วยงานในสังกัดให้มีทักษะ/เทคนิคการ จดั การความรเู้ พอื่ นาไปพัฒนาคุณภาพงาน 5) สร้างวฒั นธรรมการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งในทุกระดับ (บคุ คล/กลุ่มงาน/องคก์ ร) และการเรียนร้เู ปน็ ทีม 6) กากบั ติดตาม และประเมนิ ผลระบบการจดั การความรู้ 7) ปฏิบัตงิ านร่วมกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของเครอื ขา่ ยทเ่ี ก่ยี วข้องหรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย 3.3 หนา้ ทข่ี องนกั จัดการความรู้ (Job Description KM Facilitator) 1) ประสานงานกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทอ่ี ยภู่ ายในสายงาน/ฝา่ ย/ส่วนงาน /แผนก เพื่อให้ไดม้ าซงึ่ ความรู้ 2) สรุปจานวนองค์ความรู้ในธุรกิจเทียบกับเป้าหมาย นาเสนอผลการดาเนินงานการจัดการความรู้ และรายงานความคืบหนา้ ให้คณะทางานการจดั การองค์ความรู้ทราบ 3) อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ (Facilitator) กระตุ้นและเสริมสร้างการบรรยากาศให้เกิดการ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ 20

คู่มอื การจดั การความรู้กรมทางหลวง (DOH KM Manual) 4) นาเสนอแผนการดาเนินงานจัดการองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนให้เกิดกระบวนการ การมสี ว่ นร่วมและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 5) สร้างกิจกรรมเพื่อได้มาซึ่งองค์ความรู้ เช่น สัมภาษณ์ การสรุปประเด็นสาคัญจากการแลกเปล่ียน ความคิดเห็น 6) สอ่ื สาร ประชาสมั พันธ์กจิ กรรมส่งเสริมการจัดการองค์ความรู้ 7) ถ่ายทอดกระบวนการการจัดการองค์ความรู้เพ่ือให้พนักงานเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ จดั การความรู้ในองค์กรและเหน็ ประโยชน์ที่จะได้รบั 8) ช่วยเหลือแนะนาการใช้ระบบการจัดการความรู้ให้แก่ทีมผู้อนุมัติและทีมผู้ใช้งานภายในสายงาน/ ฝ่าย/ส่วนงาน/แผนก 9) ประสานงานกับนักจัดการความรู้ในพื้นที่ การแจ้งปญั หาข้อสงสัย หรือแนะนาแนวทางต่าง ๆ 10) ประสานงานกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในการปรับปรุงการทางานท่ตี ้องอาศยั ระบบความรู้ในองค์กร 3.4 คณุ สมบัตินักจัดการความรู้ (KM Facilitator Job Qualification) 1) เปน็ คนที่มคี วามรกั ผูอ้ ืน่ มคี วามสขุ เมือ่ เหน็ การเตบิ โตการยกระดบั ความคดิ จติ วิญญาณ ออ่ นนอ้ ม ไม่กา้ วรา้ ว เช่อื มัน่ ในความรู้ของปจั เจกและกลุ่ม มีความเช่ือมั่นพลงั แห่งการอยรู่ ่วมกนั รวมถึง พลงั แหง่ วฒั นธรรมและภูมิปัญญา 2) มวี ธิ คี ดิ แบบองค์รวม (System thinking) มกี ารเชอ่ื มโยงความคิดทเ่ี ป็นระบบ การคิดเชิงบวก Positive Thinking มีความคิดเชิงสร้างสรรค์ไม่ติดกรอบ “กล้าจินตนาการ” ความคิดเชิง สังเคราะห์ วเิ คราะห์ และความคิดเชิงออกแบบ (Design thinking) 3) เป็นนักส่อื สาร ร้จู ักเทคโนโลยี 4) มีการทางานเป็นทีม มีความพร้อมที่จะเรียนรู้จากผู้อื่น รวมทั้งพร้อมที่จะเรียนรู้จากผู้เข้าร่วม กระบวนการมีเทคนคิ การสรา้ งสมั พนั ธภาพกับบคุ ลากรรอบข้างทีด่ ี 5) เปน็ ผู้ทีใ่ ฝร่ ู้ มคี วามตั้งอกต้ังใจในการรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มที ักษะในการฟงั ที่ดี จบั ประเด็น วเิ คราะห์ได้ 6) เป็นผู้ที่มีหลักธรรมที่เป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวน้าใจของผู้อ่ืน ผูกไมตรี เอ้ือเฟื้อ เกื้อกูล หรือเป็น หลกั การสงเคราะห์ซึ่งกนั และกันมอี ยู่ 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ทาน คือ การให้ การเสยี สละ หรือการเอ้ือเฟื้อแบ่งปนั ของ ๆ ตนเพื่อประโยชน์แก่บคุ คลอืน่ 2. ปยิ วาจา คอื การพดู จาด้วยถ้อยคาที่ไพเราะอ่อนหวาน พดู ดว้ ยความจริงใจ 3. อัตถจริยา คือ การสงเคราะหท์ ุกชนิดหรือการประพฤตใิ นส่งิ ทเี่ ป็นประโยชน์แก่ผู้อน่ื 4. สมานตั ตา คือ การเปน็ ผู้มีความสมา่ เสมอ หรือมีความประพฤตเิ สมอตน้ เสมอปลาย คณุ ธรรมข้อนี้จะช่วยใหเ้ ราเป็นคนมจี ติ ใจหนักแนน่ ไมโ่ ลเล รวมทั้งยงั เปน็ การสร้างความนยิ ม และไว้วางใจให้แก่ผูอ้ ่นื 21

คู่มือการจดั การความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 4. เคร่อื งมอื ในการจัดการความรแู้ ละระบบสารสนเทศทส่ี นับสนนุ การจดั การความรู้ 4.1 แผนทคี่ วามรูร้ ะดับองคก์ ร (Organization Knowledge Mapping) เป็นแหล่งรวมความรู้/ฐานข้อมูลความรู้ขององค์กรที่มีทั้งหมดในปัจจุบัน ซ่ึงเป็นกลุ่มความรู้ ที่จาเป็นเพ่ือตอบสนองการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์องค์กร โดยการระบุความรู้ที่องค์กรจาเป็นต้องมี ไดแ้ ก่ ความรอู้ ะไรบา้ ง (ช่ือความรู้) และความรู้ท่ยี ังไม่มที ี่จะต้องสร้างหรือค้นหามาไว้ในองค์กรมีอะไรบ้าง มีผู้เชี่ยวชาญในความรู้ด้านต่าง ๆ หรือไม่ แผนท่ีความรู้จะช่วยให้การรวบรวมความรู้ขององค์กรมีความ เป็นระบบและเป็นศูนย์กลางความรู้ขององค์กร เพ่ือให้ผู้ต้องการใช้ความรู้สามารถสืบค้นหาได้ง่ายและ รวดเร็ว โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวม จัดเก็บและเผยแพร่ ท้ังนี้ สามารถใช้โปรแกรม สาเร็จรูปในการเขียนแผนท่ีความรู้ เช่น โปรแกรม Mind master เป็นตน้ ตัวอย่างโครงสร้างแผนทคี่ วามรู้ (Knowledge Mapping) 22

คูม่ อื การจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) แนวทางการเขยี นแผนที่ความรู้ (Knowledge Mapping) แผนท่ีความรู้ขององค์กร หรือ หน่วยงาน เป็นการบ่งชี้ความรู้ขององค์กร/หน่วยงาน ว่ามีองค์ ความรู้สาคัญในการสนับสนุนการทางานให้ประสบความสาเร็จตามภารกิจหรือเป้าหมาย (ยุทธศาสตร์) การเขียนแผนท่ีความรู้ สามารถใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการเขียนได้ เช่น โปรแกรม Mind Master เป็นต้น โดยการบ่งช้ีความรู้ จะมโี ครงสรา้ งการบ่งช้คี วามรู้ แบ่งเปน็ 5 ระดบั ดังนี้ ระดับท่ี ๐ เป็นจุดเริ่มต้นในการบ่งชี้ความรู้ ในระดับน้ีจะเรียกว่าเป็น Center ให้ใส่ชื่อองค์กร/ หนว่ ยงาน ระดับที่ ๑ เป็นการระบุกระบวนการทางานท่ีสาคัญขององค์กร/หน่วยงาน โดยดูจากภารกิจ ทก่ี าหนด ระดับท่ี ๒ เป็นการบ่งชี้ความรู้สาคัญของแต่ละกระบวนการว่า มีองค์ความรู้ที่สาคัญในการ ปฏบิ ัตงิ านเรื่องใดบ้าง แนะนาให้เขยี นขนึ้ ตน้ ด้วยคาวา่ ความร้เู รอ่ื ง…. ระดับท่ี ๓ เปน็ การจาแนกประเภทของความรู้ แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คือ ความร้ชู ดั แจ้ง (Explicit) และความรู้ท่มี อี ย่ใู นตวั บุคคล (Tacit) ระดับที่ ๔ เปน็ การบ่งชี้ ว่ามคี วามรู้ชัดแจ้ง (Explicit) ทมี่ ีอยู่ในองค์กร/หน่วยงาน ว่ามีการจัดทา ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร อยู่ในรูปแบบใดบ้าง จะต้องรวบรวมความรู้ที่มีอยู่ให้ครบถ้วน ไม่ว่าจะอยู่ใน รูปแบบ คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) วิธีการปฏิบัติงาน (Work Instruction) Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน แบบฟอรม์ รายงานที่เก่ียวข้อง รวมท้งั ทีอ่ ยู่ในรูปแบบสารสนเทศ เชน่ โปรแกรมทใี่ ช้ในการ ปฏบิ ัตงิ าน คลปิ วดิ โี อ สื่อองคค์ วามรู้ และเว็บไซด์ (www.) ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง เป็นต้น ในส่วนของการบ่งช้ผี เู้ ชยี่ วชาญในการปฏิบตั ิงาน (Tacit) ให้ใส่ชือ่ -นามสกุล ของบคุ ลากรทม่ี ีความ เช่ียวชาญและชานาญในการปฏบิ ตั ิงานในหวั ขอ้ องค์ความร้นู น้ั ระดับที่ ๕ เป็นการบ่งช้ีผู้ใช้งาน ท่ีจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในความรู้น้ี เพื่อนาไปใช้ในการ ปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างถูกต้อง โดยการบ่งช้ี ใหใ้ ส่ช่ือตาแหน่งงาน เช่น วศิ วกรโยธา เจ้าหนา้ ทส่ี ารบบรณ เปน็ ต้น การบง่ ชี้ความรทู้ ค่ี รบถว้ น มปี ระโยชนส์ าคัญ 1. จะชว่ ยให้องค์กร/หน่วยงาน มองภาพรวมความรู้สาคญั และผเู้ ก่ียวข้องไดค้ รอบคลมุ 2. สามารถนามาใช้ในการจัดการความรู้ เพ่ือให้การทางานมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน หรือใช้ใน การฝึกอบรมบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง ให้มีความรู้ ความเข้าใจความรู้ท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน ลดความเสี่ยงหรือ ปญั หาทีเ่ กิดจากความไม่ชานาญในการปฏิบัตงิ าน 3. เป็นแนวทางในการสร้างให้บุคลลากร เป็นผู้เช่ียวชาญในงานที่รับผิดชอบได้เพ่ิมขึ้น สามารถสอนงาน ถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั บุคลากรท่เี ริม่ มาปฏบิ ัติงานใหม่ 4. เป็นขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการทวนสอบว่ามีการจดั ทาองค์ความรู้ท่มี ีอยู่ในปัจจุบนั มีการกาหนดเป็น แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน เพียงพอต่อการปฏิบัติงานหรือไม่ ถ้ายังไม่มี ไม่เพียงพอ สามารถนามา ออกแบบสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ทจ่ี าเปน็ ต่อการทางานในอนาคตให้กบั องค์กร 23

คู่มือการจดั การความรูก้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) แผนทคี่ วามรกู้ รมทางหลวง เพ่อื สนบั สนุนยุทธศาสตร์กรมทางหลวง หมายเหต:ุ แสดงเฉพาะกลมุ่ ความรู้เทา่ นนั้ หมายเหต:ุ แสดงเฉพาะกลมุ่ ความรู้และหวั ข้อความรู้เทา่ นนั้ 24

ค่มู ือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 25

ค่มู ือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 26

ค่มู ือการจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) 27

4.2 โครงสร้างความรรู้ ะดับองค์กร (Organization Knowledge Structure) โครงสร้างความรู้ระดับองค์กร เป็นการแสดงองค์ความรู้มีอยู่ และองค์ควา ตามเป้าหมาย สามารถนาความร้มู าใชใ้ นการปรบั ปรุงผลลัพธ์การดาเนินการทีส่ าคญั ท ความรมู้ าแสดงในตาราง ทาใหม้ องเหน็ โครงสรา้ งความรู้ท้ังหมดขององคก์ ร โครงสร้างความร้รู ะดบั องคก์ ร (Organ สนบั สนนุ แผนยุทธศาสตร์กรม ลาดบั กลุ่มความรู้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาระบบท ๑ การวางแผนพัฒนาทางหลวง 1.1 ยุทธศาสตร 1.2 โครงขา่ ยระ 1.3 ลาดับชั้นขอ 1.4 มาตรฐานชั้น 1.5 ผงั เมอื ง 1.6 การเชอ่ื มโย 1.7 การศึกษาค 1.8 ระดับการให 1.9 การจดั ทางบ 1.10 ข้อรเู้ ร่อื งข 1.11 การมีส่วน 1.12 การประเม

คมู่ ือการจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) ามรู้ท่ีจาเป็นต้องใช้ในอนาคตที่ใช้ในสนับสนุนการทางานเชิงยุทธศาสตร์ ให้บรรลุ ที่พบวา่ ผลลัพธน์ ้ันไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยดงึ หวั ข้อความร้จู ากแผนที่ nization Knowledge Structure) มทางหลวง (2560-2564) ทางหลวงให้เช่ือมตอ่ เขา้ ถึงและคล่องตัว ช่อื หัวข้อความรู้ ร์ และนโยบายตา่ ง ๆ ะบบคมนาคมขนส่ง องถนน นทางของกรมทางหลวง ยงระหวา่ งประเทศ ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ วศิ วกรรมและผลกระทบสิ่งแวดล้อม หบ้ รกิ าร บประมาณ ข้อจากัด/พ้นื ทอ่ี ่อนไหวด้านสิ่งแวดลอ้ ม นรว่ มของประชาชนในงานวางแผน มินผลโครงการ 28

ลาดบั กลมุ่ ความรู้ 2.1 การสารวจแ 2 การสารวจและออกแบบ 2.2 การออกแบ 2.3 ปฐพกี ลศาส 3 การจัดกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ 2.4 การออกแบ 4 การกอ่ สรา้ งทางและสะพาน 2.5 การออกแบ 2.6 การออกแบ 2.7 การออกแบ 2.8 การออกแบ 2.9 การออกแบ 2.10 การประเม 2.11 การออกแ 3.1 การดาเนนิ ก 3.2 การสารวจแ 4.1 การกอ่ สร้าง 4.2 การกอ่ สรา้ ง 4.3 การกอ่ สรา้ ง 4.4 การคานวณ 4.5 การบรหิ ารส 4.6 การควบคมุ 4.7 การบรหิ ารจ 4.8 การตรวจสอ 4.9 การมีสว่ นรว่

คมู่ อื การจดั การความรูก้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) ชื่อหัวข้อความรู้ แนวทางและภูมปิ ระเทศ บบกายภาพทาง สตร์ ธรณเี ทคนิค และธรณีวิทยา บบอารยะสถาปัตย์ บบเพ่ือลดผลกระทบดา้ นสิ่งแวดล้อม บบภมู สิ ถาปัตย์งานทาง บบสะพาน/อาคารระบายนา้ บบโครงสร้างช้ันทาง/ผวิ ทาง บบเพื่อความปลอดภยั มินราคาค่าก่อสรา้ งเบอ้ื งตน้ แบบโครงสร้างพิเศษ การจัดกรรมสิทธ์ทิ ี่ดิน และประเมนิ ราคาท่ดี นิ และสง่ิ ปลูกสร้าง งทาง งสะพาน งทางลอด ณราคากลาง สัญญา มคณุ ภาพวัสดุ จราจรระหวา่ งการก่อสร้าง อบความปลอดภัยระหวา่ งกอ่ สรา้ ง (Road Safety Audit) วมของประชาชนในงานกอ่ สรา้ ง 29

ลาดบั กลมุ่ ความรู้ 4 การกอ่ สรา้ งทางและสะพาน (ต่อ) 4.10 การประเม 4.11 การตดิ ตา 4.12 กฎหมาย 4.13 การประส ๕ นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการกอ่ สร้างทางและสะพาน ยุทธศ การพฒั นาและบารงุ รักษาระดบั การใหบ้ รกิ ารของระบ 1 การบารุงรักษาทางและสะพาน 1.1 การบารุงรกั 1.2 วธิ กี ารซ่อมบ 1.3 การบรหิ ารจ 1.4 การบริหารจ 2 การอานวยความปลอดภัยและจราจร 2.1 วิศวกรรมจร 2.2 วิศวกรรมงา ๓ นวตั กรรมทางเทคโนโลยกี ารบารุงทาง ยทุ ธศ การควบคมุ และพัฒนามาตรฐานความปลอดภยั บนระบบทางหลวงอย่างบรู ณ 1 งานป้องกนั และลดอุบตั เิ หตุ 1.1 งานปอ้ งกนั และลด 1.2 งานป้องกันและลด 2 การอานวยการจราจร 2.1 การอานวยการจรา 2.2 การอานวจการจรา 3 การบริหารจดั การในเขตทางหลวง 3.1 การดาเนนิ การในเข 3.2 การจดั การทรัพย์ส

คูม่ อื การจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) ช่อื หัวข้อความรู้ มินโครงการ ามตรวจสอบคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มในระหวา่ งก่อสรา้ ง (Environment Monitoring) ระเบียบ คาสงั่ ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง สานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ศาสตรท์ ่ี 2 บบทางหลวงทร่ี วดเรว็ ครอบคลุม และทันตอ่ สถานการณ์ กษาทางและสะพาน บารุงรกั ษาทางและสะพาน จัดการแผนงานซอ่ มบารุง จดั การเครอ่ื งจกั รกลในงานซ่อมบารุง ราจร านทาง ศาสตรท์ ่ี 3 ณาการ เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนและลดการสญู เสียทางเศรษฐกิจ ดอบุ ตั เิ หตสุ าหรับผใู้ ช้รถ (Motorized Vehicles) ดอุบัติเหตสุ าหรบั ผใู้ ชท้ าง (Pedestrian and Non-Motorized) าจรในสภาวะปกติ าจรในสภาวะพิเศษ ขตทาง สินอื่น ๆ ในเขตทาง 30

ลาดบั กลุ่มความรู้ 4 การประชาสัมพันธ์เพอื่ ความปลอดภัย 4.1 การให้ความรแู้ กป่ ร บนทางหลวง 4.2 การรณรงค์ประชา 4.3 การรณรงคป์ ระชา 5 นวัตกรรมดา้ นเทคโนโลยเี พ่อื อานวยความ 5.1 การใช้อุปกรณ์อาน ปลอดภยั 5.2 การใชเ้ ทคโนโลยีส 5.3 การใชน้ วัตกรรมดา้ 5.4 นวัตกรรมเพื่อสนบั ยุทธศ การพัฒนาระบบบริหารจดั การองค์กรตามหลักธรรมาภบิ าลอย่างต่อ 1 การวิจยั และพัฒนางานทาง 1.1 ทางหลวงสเี ขียว (G 1.2 ทางหลวงอัจฉรยิ ะ ๑.3 ขอ้ มลู สารสนเทศเ 1.4 การวิจัยด้านวัสดุก 1.5 การวจิ ัยดา้ นธรณเี ท 1.6 การวจิ ยั ด้านการขน 1.7 การวจิ ัยดา้ นสะพา 1.8 การวจิ ัยด้านพลงั งา 2 การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ 2.1 การบรหิ ารงบประม งบประมาณ การเงนิ และบัญชี 2.1.1 การขอต้ังงบ 2.1.2 การจดั สรรง 2.1.3 การตดิ ตามก

คมู่ อื การจัดการความร้กู รมทางหลวง (DOH KM Manual) ช่อื หัวข้อความรู้ ระชาชนเกยี่ วกบั มาตรฐานความปลอดภัย าสัมพันธ์เพอื่ สรา้ งความตระหนักถึงความปลอดภัยบนทางหลวง าสัมพนั ธก์ ารปฏิบัตติ ามมาตรการของกฎหมายที่เกย่ี วข้องกบั ความปลอดภัย นวยความปลอดภยั สารสนเทศและดิจิตอล านการขนส่งอัจฉริยะ บสนุนความสะดวกและปลอดภัย ศาสตร์ที่ 4 อเน่อื ง เพ่ือเชอ่ื มโยงความสมดุลทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม Green Highways) เพ่ือการวจิ ยั กอ่ สร้างทางและโครงสร้างถนน ทคนิคและฐานราก นส่งและอานวยความปลอดภยั บนถนน านและโครงสร้างอน่ื ๆ านและส่ิงแวดล้อม มาณ บประมาณ งบประมาณ การใช้จา่ ยงบประมาณ 31

ลาดับ กลุ่มความรู้ 2.2 การเบิกจ่าย 2 การพัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ 2.2.1 การตรวจสอ งบประมาณ การเงินและบญั ชี (ต่อ) 2.2.2 การเบิกเงินง 2.2.3 การเบกิ เงนิ เ 3 การพฒั นาและเพิ่มประสิทธิภาพการพสั ดุ 2.2.4 การจ่ายเงนิ 4 การพฒั นาและเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบรหิ าร 2.3 การบัญชี เครื่องจกั รกล 2.3.1 การบันทึกแ 2.3.2 การบันทกึ แ 2.3.3 การบันทึกส 2.3.2 การจัดทารา 2.3.3 การประเมิน 3.1 การจัดซอื้ จัดจา้ ง 3.๒ การบริหารพสั ดุ 4.๑ การวางแผนการจดั 4.๒ วธิ กี ารกาหนดคุณล 4.๓ การจดั ซ้ือจดั หาเคร 4.๔ การโอนย้ายและจัด 4.๕ การวเิ คราะห์ รวบร 4.๖ การตดิ ตามการเชา่ 4.๗ การซอ่ มบารุงรักษ 4.๘ การจาหน่ายเคร่อื ง

คมู่ ือการจดั การความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) ชอื่ หัวข้อความรู้ อบใบสาคญั งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ เดอื นและค่าจา้ งประจา น (เงินงบประมาณและเงนิ นอกงบประมาณ) และปรับปรุงบัญชี (เงนิ งบประมาณ) และปรับปรงุ บัญชี (เงนิ นอกงบประมาณ) สินทรพั ย์ ายงานการเงิน นผลการปฏิบัติงานด้านบัญชี ดหาเครือ่ งจักรกล ลักษณะเฉพาะและมาตรฐานเครอ่ื งจักรกลและอปุ กรณ์ ร่ืองจักรกล ดเครื่องจกั รกลไปให้ผูเ้ ชา่ รวมรายงานและจัดเก็บคา่ เชา่ เครือ่ งจักรกล าใชเ้ ครื่องจักรกล ษาเครือ่ งจักรกล งจกั รกล 32

ลาดบั กล่มุ ความรู้ 5.1 การวางแผนอตั รากา 5 การบริหารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล 5.1.1 หลักการวางแ 5.1.2 ยทุ ธศาสตร์กร 5.1.3 ภารกิจของกร 5.1.4 มาตรการบริห 5.1.5 อัตรากาลังบคุ 5.1.6 การวเิ คราะห์ค 5.1.7 การกาหนดตา 5.1.8 การจัดทากรอ 5.2 การบริหารอัตรากาล 5.2.1 การสรรหาแล 5.2.2 การเกลีย่ อตั ร 5.2.3 การยา้ ยสบั เป 5.2.4 การป้องกันกา 5.3 การบรหิ ารผลการปฏ 5.3.1 การบริหารแล 5.3.2 การกาหนดแล 5.3.3 การประเมนิ ผ 5.3.4 การสรา้ งความ 5.4 การสง่ เสริมคณุ ธรรม 5.4.1 การวางแผนย 5.4.2 การส่งเสริมค 5.4.3 การเสริมสรา้ ง 5.4.4 การป้องกันแล

ค่มู อื การจัดการความรกู้ รมทางหลวง (DOH KM Manual) ชือ่ หัวข้อความรู้ าลงั แผนอตั รากาลงั รมทางหลวง รมทางหลวงและหน่วยงานในสงั กดั หารกาลงั คนภาครฐั คลากรทม่ี ีอย่ใู นปจั จุบนั ความตอ้ งการอัตรากาลงั ในอนาคต าแหน่งขา้ ราชการ อบพนกั งานราชการ ลัง ละคัดเลอื กบคุ ลากร รากาลงั ปล่ียนหมุนเวยี นงาน ารขาดชว่ งบุคลากร ฏบิ ตั งิ าน ละประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ละถา่ ยทอดตวั ช้ีวัดระดบั บุคคล ผลสัมฤทธ์ิของงานรายบุคคล (PART ขอ้ ง-7) มก้าวหน้าในสายงาน มจริยธรรม ยทุ ธศาสตร์การสง่ เสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมและการป้องกนั และปราบปรามทจุ รติ ในภาครฐั คณุ ธรรมจริยธรรมของเจ้าหนา้ ที่ของรัฐ งวินยั ชา้ ราชการและเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ละปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบในภาครัฐ 33

ลาดบั กลุ่มความรู้ 5.4.5 การจัดโครง 5 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ตอ่ ) 5.5 การสง่ เสริมคณุ ภาพ 5.5.1 การวางแผน 5.5.2 การดาเนินก 5.5.3 การดาเนินก 5.5.4 การจดั สวสั ด 5.5.5 การจดั โครง 5.5.6 การดาเนินก 5.6 ยุทธศาสตร์การพฒั 5.6.1 ยุทธศาสตรก์ 5.6.2 ยทุ ธศาสตรก์ 5.7 การพัฒนาทรพั ยาก 5.7.1 การประเมิน 5.7.2 การวางแผน 5.7.3 เคร่อื งมอื ใน 5.7.4 การดาเนินโ 5.7.5 การตดิ ตามป 5.8 กรอบ ขอ้ ตกลงควา 5.8.1 การขอรบั จดั 5.8.2 กรอบ ขอ้ ตก 5.8.3 กรอบ ข้อตก 5.8.4 การดาเนินโ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook