Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-24 23:26:21

Description: ดร.เสฐียร ทั่งทองมะดัน
www.Kalyanamitra.org
หนังสือ,เอกสาร,บทความ นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

๑๐๐ ศรีลังกาเป็ นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาเถรวาทมาต้ังแต่ยุคโบราณ พระพุทธศาสนาจากอินเดียเขา้ สู่ลังกาเมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๓๖ โดยพระเจา้ อโศก มหาราชทรงส่งพระมหินทเถระและคณะไปประกาศพระศาสนาในสมัยพระเจา้ เท วานัมปิ ยติสสะ มีคนออกบวชหลายพนั คน พระราชาทรงอุทิศมหาเมฆวนั อุทยาน เป็ นวดั เรียกวา่ วดั มหาวหิ าร พระมหินทเถระไดน้ า พระไตรปิ ฎกพรอ้ มท้งั อรรถ กถามาสู่ลงั กา และยงั ไดน้ าอารยธรรม ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม เขา้ ไปดว้ ย ต่อมาพระนางอนุ ฬาเทวีมเหสีและสตรีบริวารจานวนมากปรารถนาจะ อุปสมบทบา้ ง พระเจา้ เทวานัมปิ ยติสสะจึงทรงส่งคณะทูตไปสู่ราชสานักของพระเจา้ อโศก ทูลขอพระสงั ฆมิต-ตาเถรี และก่ิงพระศรีมหาโพธ์ิดา้ นทักษิณมาสู่ลงั กาทวีป จงึ ทาใหม้ สี ตรีออกบวชเป็ นภิกษุณีกนั จานวนมาก ในปี พ.ศ.๔๓๓๑ รชั สมยั ของพระเจา้ วฏั ฏคามณีอภยั พวกทมิฬเขา้ ยดึ ครอง อนุราธปุระเป็ นเวลา ๑๔ ปี จนพระองคต์ อ้ งเสียราชบลั ลงั กแ์ ละเสด็จล้ ีภยั ไปซอ่ งสุม กาลัง ระหว่างน้ันทรงไดร้ ับการอุปถัมภ์จากพระมหาติสสะ ต่อมาเม่ือปราบพวก ทมิฬไดแ้ ลว้ จึงเสด็จกลับมา ครองราชยอ์ ีกคร้งั ทรงใหท้ าการสังคายนาและจารึก พระพุทธพจน์ลงใบลานเป็ นคร้ังแรก นอกจากน้ ียังทรงอุปถัมภ์พระมหาติสสะ พรอ้ มท้ังสรา้ งวดั อภัยคีรีวิหารถวายดว้ ย เป็ นเหตุใหพ้ ระภิกษุมหาวิหารไม่พอใจ สงฆจ์ งึ แตกออกเป็ น ๒ คณะ คือ มหาวหิ าร กบั อภยั คีรวี หิ าร คณะมหาวิหารเป็ นฝ่ ายอนุรกั ษ์นิยม ไม่มีการเปล่ียนแปลงแกไ้ ขพระธรรม วนิ ัยใดๆ และยงั ตาหนิรงั เกียจภิกษุต่างนิกายวา่ เป็ นอลัชชี ส่วนคณะอภัยคีรีวิหาร เป็ นคณะท่ีเปิ ดกวา้ ง ยอมรบั เอาความคิดเหน็ ต่างนิกาย ไมร่ งั เกียจภิกษุต่างนิกาย พระพุทธโฆษาจารย์ กาลต่อมามีปราชญ์พระพุทธศาสนาผูม้ ีช่ือเสียงท่าน หนึ่งชื่อพระพุทธโฆษาจารย์ (เกิดปี พ.ศ.๙๔๕) เดินทางจากอินเดียมาท่ีสานักมหา วิหารเพื่อศึกษา พระพุทธศาสนาและแปลคัมภีร์ต่างๆ ท่านรจนาคัมภี ร์ พระพุทธศาสนาที่สาคญั ๆ ประมาณ ๑๓ คมั ภีรซ์ ึ่งพุทธศาสนิกชนไดใ้ ชศ้ ึกษากนั มา จนถึงปัจจุบนั เช่น คมั ภีรญ์ าโณทัยปกรณ์ วสิ ุทธิมรรค และคมั ภีรอ์ รรถกถาอธิบาย ความพระไตรปิ ฎกต่างๆ เช่น อรรถกถาธรรมบท อรรถกถาชาดก อรรถกถาพระ วนิ ัย อรรถกถาพระสูตรตา่ งๆ เป็ นตน้

๑๐๑ ระหวา่ งพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ถึง ๑๗ เป็ นยุคที่ลังกาเดือดรอ้ นวุน่ วายเพราะ การรุกรานจากอินเดียบา้ ง ความไม่สงบภายในบา้ ง ในช่วงน้ ีเองพระภิกษุณีสงฆไ์ ด้ สูญส้ ินไป และพระภิกษุก็ลดน้อยลงไปมาก จนกระทงั่ พ.ศ.๑๖๐๙ เม่ือพระเจา้ วิชยั พาหุที่ ๑ มีพระราชประสงค์ จะฟ้ ื นฟูพระศาสนา แต่ทรงหาพระภิกษุที่อุปสมบท ถูกตอ้ งแทบไม่ครบ ๕ รูป จึงตอ้ งอาราธนาพระสงฆ์จากพม่าตอนใตม้ ากระทา อุปสมบทกรรมในลงั กา ในรัชสมัยของพระเจา้ ปรากรมพาหุที่ ๑ (พ.ศ.๑๖๙๗-๑๗๓๐) ซ่ึงเป็ น พระโอรสของพระเจา้ วิชยั พาหุท่ี ๑ พระพุทธศาสนาในศรีลังการุ่งเรืองมาก มีการ รวมคณะสงฆใ์ หเ้ ป็ นอันหน่ึงอนั เดียวกัน ทรงสถาปนาสมเด็จพระสงั ฆราชปกครอง สงฆ์ท้ังประเทศเป็ นคร้งั แรก ทรงสรา้ งวดั วาอารามดว้ ยศิลปกรรมที่งดงาม ทาให้ ลังกากลายเป็ นศูนยก์ ลางการศึกษาพระพุทธ-ศาสนา มีพระสงฆ์และนักปราชญ์ จากหลายประเทศมาศึกษาจานวนมาก ภายหลังรัชกาลน้ ีพวกทมิฬจากอินเดียก็มารุกรานอีก ไดเ้ ขา้ ต้ังถ่ินฐาน มนั่ คงและขยายอาณาเขตออกไปเร่ือยๆ อาณาจกั รสิงหลตอ้ งถอยร่นลงใตแ้ ละตอ้ ง ยา้ ยเมืองหลวงอยู่บ่อยๆ ทาใหพ้ ระพุทธศาสนาเจริญไดย้ าก เพียงแต่ธารงรกั ษา ความมนั่ คงเขม้ แข็งไวเ้ ท่าน้ัน ในปี พ.ศ. ๒๐๑๙ พระภิกษุคณะหนึ่งจากพม่ามารบั การอุปสมบทท่ีลงั กาและนาคมั ภีรภ์ าษาบาลีกลบั ไปดว้ ย ประมาณปี พ.ศ.๒๐๕๐ ชนชาติโปรตุเกสไดเ้ ขา้ มาคา้ ขาย และใชก้ าลังยึด ครองดินแดนบางส่วนไว้ พยายามบังคับชาวลังกาใหน้ ับถือศาสนาคริสต์นิกาย โรมนั คาทอลิก ทาใหพ้ ระพุทธศาสนากลบั เสื่อมถอยลง จนตอ้ งนิมนตพ์ ระสงฆจ์ าก ประเทศพมา่ มาใหก้ ารอุปสมบทแกก่ ุลบุตรชาวศรีลงั กาอีก ในปี พ.ศ.๒๒๐๐ ชาวฮอลันดาไดเ้ ขา้ มาคา้ ขายในลังกาและช่วยขับไล่พวก โปรตุเกสออกไปได้ เม่ือฮอลนั ดายดึ ครองพ้ ืนท่ีไดจ้ ึงนาเอาคริสตศ์ าสนามาเผยแพร่ อีก และพยายามกีดกันพระพุทธศาสนา สถานการณ์พระพุทธศาสนาในขณะน้ัน ยา่ แย่ลงมาก ชาวพุทธเองก็มวั แต่รบราฆ่าฟันกัน อีกท้ังยงั เกิดวิกฤตการณ์ขา้ วยาก หมากแพงอย่างรุนแรง พระภิกษุสงฆอ์ ดรนทนไม่ไหวไดท้ ้ ิงวดั วาอารามไปจนหมด แตม่ ีสามเณรเหลืออยบู่ า้ งโดยมีสามเณรสรณงั กรเป็ นหวั หน้าคณะ

๑๐๒ ในปี พ.ศ.๒๒๙๔ สามเณรสรณังกรทูลขอให้ พระเจา้ กิรติศรีราชสิงหะ กษัตริย์ลังกาในขณะน้ั น ส่งทูตมานิ มนต์พระสงฆ์จากเมืองไทยไปฟ้ ื นฟู พระพุทธศาสนา สมัยน้ันตรงกับรัชสมัยของพระเจา้ บรมโกศแห่งกรุงศรีอยุธยา พระองคท์ รงส่งพระสมณทูตไทยไปจานวน ๑๐ รูป มีพระอุบาลีเป็ นหวั หน้า ทาการ บรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวลงั กาถึง ๓,๐๐๐ คน ณ เมืองแคนดี สามเณรสรณัง กรซ่ึงไดร้ ับการอุปสมบทในคร้ังน้ ี ไดร้ บั การสถาปนาใหเ้ ป็ นสมเด็จพระสังฆราช ต้ังแต่น้ันมาจึงเกิดนิกายสยามวงศ์หรืออุบาลีวงศ์ข้ ึน ต่อมาพระอุบาลีเถระเกิด อาพาธและไดม้ รณภาพในลงั กานัน่ เอง ในสมยั เดียวกนั น้ ี มีสามเณรลังกาคณะหนึ่งเดินทางไปขอรบั การอุปสมบท ในประเทศพม่า แลว้ กลับมาต้ังนิกายอมรปุรนิกายข้ ึน อีกคณะหนึ่งเดินทางไปขอ อุปสมบทจากคณะสงฆม์ อญแลว้ กลับมาต้ังนิกายรามัญนิกายข้ ึน ในสมยั น้ันจึงมี นิกายเกิดข้ ึน ๓ นิกาย คือ นิกายสยามวงศ์ นิกายอมรปุรนิกาย และนิกายรามญั ซ่ึง ยงั คงสืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั ในปี พ.ศ.๒๓๔๕ องั กฤษเขา้ ครองอานาจแทนฮอลันดา ไดท้ าสนธิสัญญา กบั กษัตริยล์ งั กาเพ่ือรบั ประกนั สิทธิของฝ่ ายลงั กาและเพื่อคุม้ ครองพระศาสนา คร้นั ต่อมาเกิดกบฏข้ ึนเม่ืออังกฤษปราบกบฏไดส้ าเร็จจึงดัดแปลงสนธิสัญญาเสียใหม่ ทาใหร้ ะบบกษัตรยิ ล์ งั กาสูญส้ ินต้งั แต่บดั น้ัน ในช่วงแรกของการปกครองโดยรฐั บาลองั กฤษ พระพุทธศาสนาไดร้ บั ความ เป็ นอิสระมากข้ ึน ดว้ ยสนธิสญั ญาดังกล่าว แต่ภายหลังถูกกีดกันและต่อตา้ นจาก ศาสนาคริสตอ์ ีก รฐั บาลถูกบีบใหย้ กเลิกสญั ญาที่คุม้ ครองพระพุทธศาสนา องคก์ าร คริสต์เตียนผูกขาดการศึกษาทัว่ ประเทศ โรงเรียนชาวพุทธเหลืออยูเ่ พียงแห่งเดียว คือ ทีทโดดันดุวา นอกจากน้ ีบาทหลวงยงั โจมตีคาสอนในพระพุทธศาสนาอย่าง รุนแรงและต่อเนื่ อง แต่ไม่มีใครสามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ จนกระทั่งท่าน คุณานันทเถระไดถ้ ือกาเนิดข้ ึนใน พ.ศ.๒๓๖๖ ตอ่ มาไดอ้ อกบวชและศึกษาพระธรรม วินัยจนแตกฉาน ท่านไดอ้ าสาเป็ นทนายแกต้ ่างใหพ้ ระศาสนา ดว้ ยการโตว้ าทะกบั นักบวชที่มาจาบจว้ งศาสนาพุทธจนไดร้ บั ชยั ชนะ ฟ้ ื นฟูพระพุทธศาสนาใหร้ ุ่งเรือง อีกครง้ั

๑๐๓ การโตว้ าทะจดั ข้ ึน ๕ คร้งั ดว้ ยกนั ในระหวา่ งเดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๔๐๘ - เดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๑๖ ศาสนิกอ่ืนท่ีมาร่วมฟังหรือไดอ้ ่านบทโตว้ าทะจาก หนังสือพิมพใ์ นแต่ละคร้งั น้ัน หลายคนเส่ือมศรทั ธาจากศาสนาเดิมของตนแลว้ หนั มานับถือพระพุทธศาสนา หน่ึงในน้ันคือ เฮนร่ี สตีล โอลคอตต์ (Henry Steele Olcott) เขาและมาดามเอช.พี.บลาวตั สกี ตัดสินใจเดินทางมาศรีลังกาในปี พ.ศ. ๒๔๒๓ พอเหยียบแผ่นดินศรีลังกาท่ีท่าเมืองกลั เล ท้ังสองไดป้ ระกอบพิธีปฏิญาณ ตนเป็ นพุทธมามกะทันที ณ วดั วิชยั นันทะ จากน้ันไดฟ้ ้ ื นฟูพระพุทธศาสนาอยา่ ง จริงจัง จัดต้ังโรงเรียนชาวพุทธข้ ึน ๔๐๐ โรงเรียนทั่วประเทศเพื่อแข่งขันกับ โรงเรยี นคริสเตียน นอกจากน้ ี ยังมี ชาวตะวัน ตกอี ก ห ลายท่ าน มาศึ กษ าและฟ้ ื น ฟู พระพุทธศาสนาในลงั กา เช่น เอฟ.แอล.วูดวารด์ (F.L.Woodward) บุตรของนักบวช นิกายโปรเตสแตนต์แห่งซาแฮมประเทศอังกฤษ เดินทางมาถึงศรีลังกาในวนั ท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๔๖ ไดช้ ว่ ยสอนหนังสือท่ีวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนามหนิ ทะ ขณะน้ันวิทยาลยั มหินทะมีนักเรียนอยู่ ๖๐ คน ศึกษากันอยใู่ นอาคารเรียน เก่าๆ ของชาวฮอลันดา เอฟ.แอล.วูดวาร์ด บริจาคเงินกว่า ๒,๐๐๐ ปอนด์ เพื่อ กอ่ สรา้ งอาคารเรียนใหม่ เขาออกแบบอาคารเรยี นเอง ควบคุมการก่อสรา้ งเอง และ ด้วยความทุ่มเทในการทางานต่อมาไม่นานนักเรียนจึงเพ่ิมข้ ึนเป็ น ๓๐๐ คน วูดวารด์ สอนนักเรียนวนั ละหลายๆ ช้ัน รูจ้ ักช่ือศิษยท์ ุกคนท้ังชื่อจริงและช่ือเล่น นิสยั ส่วนตวั ของเขาเป็ นคนเครง่ ครดั ในวนิ ัยมาก เขาจงึ ป้ันศิษยด์ ว้ ยวนิ ัย เป็ นเหตุให้ วิทยาลัยเติบโตรวดเร็วมาก เขาทาหน้าที่เป็ นอาจารย์ใหญ่อยู่ ๑๖ ปี โดยไม่รับ เงินเดือน วูดวารด์ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนายงิ่ นัก จะถืออุโบสถศีลและสวมชุดขาว ในวนั พระจนั ทรเ์ พ็ญ จะนิมนตพ์ ระมารบั ภตั ตาหารที่วิทยาลยั ปี ละหลายๆ ครง้ั โดย เขาจะทาหนา้ ท่ีลา้ งเทา้ พระสงฆท์ ีละรูปดว้ ยกิรยิ านอบนอ้ มอยา่ งยิง่ ด้วยการช่วยกันฟ้ ื นฟูพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังของพุทธศาสนิกชน เหล่าน้ ี จึงทาใหศ้ าสนาพุทธเจริญรุ่งเรืองอีกคร้งั และที่สาคญั ปัจจุบนั ศรีลังกาเป็ น ประเทศที่มพี ระพทุ ธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ

๑๐๔ ๒. พระพทุ ธศาสนาในเอเชียตะวนั ออก ประเทศในเอเชียตะวันออก ไดแ้ ก่ จีน ไตห้ วัน มองโกเลีย เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ ญี่ป่ ุน พระพุทธศาสนาในเอเชียตะวนั ออกเป็ นนิกายมหายาน โดยเร่ิมตน้ เผยแผ่จากอินเดียสู่จีน จากจีนสูเ่ กาหลีและจากเกาหลีสู่ญ่ีป่ ุน เป็ นตน้ ส่วนประเทศ ทิเบตน้ันบางตารากลา่ ววา่ ไดร้ บั พระพุทธศาสนาต้งั แตส่ มยั พุทธกาล ซึง่ จะไดข้ ยาย ความในรายละเอียดดงั ต่อไปน้ ี ๑) ประเทศจนี สาธารณรัฐประชาชนจีน (Peoples Republic of China ) มีเมืองหลวงชื่อ ปักกิ่ง เมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ เซี่ยงไฮ้ ปัจจุบันจีนปกครองดว้ ยระบอบคอมมิวนิสต์ มี ประชากรมากที่สุดในโลก คือ ประมาณ ๑,๓๑๕,๘๔๔,๐๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๔๘) จานวนพุทธศาสนิกชนในจีนน้ันยากท่ีจะประเมินว่ามีอยู่เท่าไร จากขอ้ มูลในวิกิ พี เดี ยระบุ ว่ามี อยู่ ป ระม าณ ๒ ๘ ๐ -๓ ๕ ๐ ล้าน ค น ใน ขณ ะที่ เว็บ ไซต์ www.adherents.com ระบุว่ามี ๑๐๒ ลา้ นคน อย่างไรก็ตามจีนก็เป็ นประเทศท่ีมี พุทธศาสนิกชนมากท่ีสุดในโลก จีนมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า ๔,๐๐๐ ปี มี ราชวงศต์ ่างๆ ผลดั เปล่ียนกนั ปกครองสืบต่อกันมาหลายราชวงศ์ เริ่มต้งั แต่ราชวงศ์ เซ่ีย ซาง โจว จ๋ิน ฮนั่ จ้ ิน เหลียง ซุย ถัง สมัย ๕ ราชวงศ์ ไดแ้ ก่ ซอ้ ง เหลียว หยวน หมิง และราชวงศ์ชิง นอกจากน้ ียังมีราชวงศ์ย่อยๆ อีกมากในที่น้ ีจะกล่าวเฉพาะ ราชวงศท์ ี่มีความสาคญั ต่อพระพุทธศาสนาเท่าน้ัน พระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศจีนประมาณพุทธศักราช ๖๐๘ ในสมัยของ พระเจา้ ฮนั่ ม่ิงต่ีแหง่ ราชวงศฮ์ นั่ ตานานกล่าววา่ คืนหนึ่งพระจกั รพรรดิทรงพระสุบิน ไปวา่ มีบุรุษทองคาเหาะไปทางทิศตะวนั ตก พระองคจ์ ึงสอบถามขุนนางวา่ ฝันเชน่ น้ ี มีความหมายว่าอย่างไร ขุนนางผูห้ น่ึงตอบว่าทางทิศตะวันตกมียอดคน (พระ สมั มาสัมพุทธเจา้ ) ถือกาเนิดข้ ึน เม่ือไดย้ ินเช่นน้ันพระองคจ์ ึงรบั สงั่ ใหข้ ุนนาง ๑๘ คน ออกเดินทางเพอ่ื เสาะหายอดคนผนู้ ้ัน ในที่สุดก็เดินทางมาถึงเมืองโขตาน ไดพ้ บ พระภิกษุ ๒ รูป คือ พระกาศยปะมาตังคะกับพระธรรมรกั ษ์ ขุนนางจีนจึงนิมนต์ พระท้งั สองรปู น้ ีไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาที่ประเทศจีน

๑๐๕ เมื่อพระเถระท้ังสองรับนิมนต์แล้ว จึงใช้ม้าขาวบรรทุกพระคัมภีร์และ พระพุทธรูปไปยงั เมืองโลยางนครหลวงของจีนในขณะน้ัน พระเจา้ ฮัน่ ม่ิงต่ีทรงพอ พระทัยอย่างมากและรบั สงั่ ใหส้ รา้ งวดั ข้ ึนที่ดา้ นนอกของประตูเมืองหยง่ เหมิน โดย ใหช้ ื่อว่า วดั แปะเบย้ ่ี แปลวา่ วดั มา้ ขาว เพ่ือเป็ นอนุสรณ์แก่มา้ ท่ีบรรทุกพระคมั ภีร์ พระพุทธศาสนามา ถือวา่ วดั มา้ ขาวเป็ นปฐมสงั ฆาราม ในประเทศจีน และพระเจา้ ฮนั่ มิ่งตี่เป็ นปฐมกษัตริยจ์ ีนท่ีนับถือพระพุทธศาสนา การอุปสมบทเกิดข้ ึนคร้งั แรก ในปี พ.ศ.๗๙๓ โดยพระภิกษุอินเดียชื่อ พระธรรมกาละ เดินทางไปจีนเหนือถึง เมืองโลยาง ทาพธิ ีผูกพทั ธสีมาข้ ึนและใหก้ ารอุปสมบทแก่กุลบุตรจนี ในยุคราชวงศจ์ ้ นิ พวกมองโกลไดแ้ ผ่อิทธิพลมาทางภาคเหนือของจีน เขา้ ยดึ ลุ่มแม่น้าเหลืองไวห้ มด ทาใหจ้ ีนแบ่งเป็ นภาคเหนือและใต้ เรียกว่า ยุคน่าปัก (พุทธศตวรรษที่ ๘ - ๑๑) ภาคเหนือเป็ นมองโกล ส่วนภาคใตเ้ ป็ นจีนแท้ มีแม่น้า แยงซีเกียงเป็ นพรมแดน ในยคุ นา่ ปักน้ ีสมณะเสิงเจียนนาคมั ภีรม์ หาสงั ฆกิ ะ-ภิกษุณี กรรมนั และภิกษุณีปาฏิโมกข์ มายงั เมืองโลยางและไดอ้ ุปสมบทภิกษุณีรูปแรกข้ ึนใน ระหว่างปี พ.ศ.๙๐๐ - ๙๐๔ คือ ภิกษุณีจิงเจียน ณ ภิกษุณีอารามจูหลิน ณ เมือง โลยาง ในสมัยพระเจ้างุ่ยบูเต้แห่งจีนเหนื อทรงหลงเชื่อลัทธิเต๋าว่า จะทายา อายุวฒั นะใหเ้ สวยแล้วจะมีพระชนม์ ๑๐,๐๐๐ ปี แต่นักบวชเต๋าขอใหพ้ ระองค์ ทาลายพระพุทธศาสนาเสีย พระเจา้ งุย่ บูเตจ้ ึงตรสั สงั่ ทาลายวดั และประหารพระสงฆ์ ในคร้งั น้ันพระราชโอรสซ่ึงเป็ นพุทธมามกะไดส้ ่งสายลบั ไปเตือนพระสงฆ์ใหห้ นีไป กอ่ น พระภิกษุสว่ นใหญ่จึงรอดตาย แต่วดั ถูกทาลายไป ๓๐,๐๐๐ กวา่ วดั หลงั จากการสรรคตของพระเจา้ งุ่ยบูเต้ พระราชนัดดาของพระองค์เสด็จข้ ึน ครองราชยส์ ืบต่อไป กษัตริยพ์ ระองคน์ ้ ีทรงฟ้ ื นฟูพระพุทธศาสนาข้ ึนใหม่ ในปี พ.ศ. ๙๒๙ - พ.ศ.๑๐๗๗ ทรงสรา้ งถ้าตุนหวงข้ ึนเพ่ือเป็ นสถานท่ีปฏิบัติธรรมของพระ กัมมฏั ฐาน ยุคต่อมามีการสรา้ งเพ่ิมข้ ึนเรื่อยๆ หลายรอ้ ยปี จนกลายเป็ นสถานที่ มหศั จรรย์ มีถ้าน้อยใหญ่กวา่ ๔๐๐ ถ้า ถ้าท้ังหมดขุดดว้ ยแรงงานคน ไม่ไดเ้ กิดข้ ึน เองตามธรรมชาติ ชาวพุทธในอดีตหาวิธีป้องกันไม่ใหพ้ ระสัทธรรม อนั ตรธาน จึง จารึกพระไตรปิ ฎกลงบนแผ่นผาภายในถ้าต่างๆ แลว้ ปิ ดประตูถ้าดว้ ยกอ้ นศิลา โดย

๑๐๖ หวงั ใหค้ นยุคหลังไดศ้ ึกษา ปัจจุบันถ้าน้ ีต้ังอยู่กลางทะเลทรายโกบี เมืองตุนหวง มณฑลกานสู พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาตามลาดับจนถึงสมัยพระเจา้ เหลียงบูเต้ ทรงครองราชย์ พ.ศ.๑๐๒๒ ณ เมืองนานกิง ภาคใตข้ องจีน พระองคไ์ ดร้ บั ฉายาว่า เป็ นอโศกแห่งแผ่นดินจีนยุคสมยั ของพระองคม์ ีนักบวชจานวนมาก เฉพาะเมืองโล ยาง มีภิกษุและภิกษุณีถึง ๒,๐๐๐,๐๐๐ รูป พระต่างชาติอีก ๓,๐๐๐ รูป พระเจา้ เหลี ยงบูเตท้ รงถือมงั สวิรตั ิ ทรงออกกฎหมายหา้ มฆ่าสัตวท์ ัว่ ประเทศ พระภิกษุจึงหัน มาฉันเจหรือมังสวิรัติตามพระราชาจนเป็ นประเพณีมาถึงปัจจุบัน พระองค์ทรง ศึกษาธรรมะและแสดงธรรมดว้ ยพระองค์เองอยู่เนืองๆ ทรงอุทิศพระองค์เป็ น อุปัฎฐากพระถึง ๓ คร้ัง ญาติวงศ์และข้าราชการต้องใชเ้ งินถึง ๑ โกฏิ เพ่ือไถ่ พระองคอ์ อกมา ปรมาจารยต์ ๊กั มอ้ หรือพระโพธิธรรม (Bodhidharma) ชาวอินเดียใต้ เขา้ ไป เผยแผ่พุทธศาสนาในสมยั พระเจา้ เหลียงบูเต้ ท่านเดินทางไปท่ีจีนภาคเหนือในปี พ.ศ.๑๐๖๙ สรา้ ง วดั เสี่ยวลิ่มย่ี หรือวัดเสา้ หลินข้ ึนบนภูเขาซงซัว มณฑลเห อหนัน จากน้ันก่อต้งั นิกายฉานข้ ึน ฉาน หมายถึง ฌาน ในภาษาบาลี หรือ ธยาน ในภาษาสันสกฤต หรือ เซน ในภาษาญ่ีป่ ุน ตานานเล่าว่า ขณะอยู่วัดเสา้ หลิน ปรมาจารยต์ ๊กั มอ้ นัง่ สมาธิผินหน้าเขา้ ฝาอยู่ ๙ ปี ไมล่ ุกข้ ึน นิกายเซนเน้นการปฏิบตั ิสมาธิและวิปัสสนาเพ่ือใหเ้ ขา้ ถึงฌานท่ีเรียกวา่ ซา เซน โดยไม่อาศยั ตัวหนังสือหรือปริยตั ิธรรมใดๆ จึงมีคาขวญั ประจานิกายวา่ \"ปุก ลิบบุน้ ยี่ ติกจ้ ีน้ังซิม เกียงแส่ เซ่งฮุด\" แปลวา่ ไม่ตอ้ งอาศยั หนังสือแต่ช้ ีตรงไปยงั จิต ของมนุษย์ ใหเ้ ห็นแจง้ ในภาวะท่ีแท้จริงแลว้ บรรลุเป็ นพุทธะ ต่อมานิกายเซนได้ ขยายไปยงั ประเทศเกาหลี ญี่ป่ ุน เวยี ดนาม และปัจจุบนั เป็ นท่ีนิยมมากในตะวนั ตก ปรมาจารยต์ ๊กั มอ้ ยงั เป็ นผูใ้ หก้ าเนิดวิชากงั ฟูวดั เสา้ หลินซึ่งโด่งดงั ไปทัว่ โลก อีกดว้ ย ในตอนน้ันท่านเห็นวา่ พระมีสุขภาพอ่อนแอ ไมส่ ามารถเจริญกรรมฐานได้ อยา่ งเคร่งครดั จึงหาวิธีใหพ้ ระภิกษุฝึกฝนรา่ งกายควบคู่กบั ปฏิบตั ิธรรม เร่ิมแรก กงั ฟูจึงไม่ไดฝ้ ึกเพ่ือการต่อสูแ้ ต่เป็ นหนทางเขา้ สู่แก่นธรรมะ ภายหลังถูกดัดแปลง เป็ นวรยุทธสาหรบั การสูร้ บ ในสมยั ราชวงศถ์ ัง (พ.ศ.๑๑๖๑-๑๔๕๐) การฝึกวทิ ยา ยุทธของวดั เสา้ หลินไดร้ บั การสนับสนุนจากราชสานักอยา่ งเต็มท่ีถึงขนาดมีกองทัพ

๑๐๗ พระ ยามศึกสงครามจะใหพ้ ระภิกษุลาสิกขาไปป้องกันประเทศ พอเสร็จศึกจึง กลบั มาบวชใหม่ มหนั ตภัยคุกคามพระพุทธศาสนา ในช่วง พ.ศ.๑๑๑๗ - ๑๑๒๐ มหนั ตภัย ใหญ่ หลวงได้เกิ ดข้ ึนกับพระพุ ทธศาสนาในแคว้นจิว คื อ มี การยกเลิ ก พระพุทธศาสนาและลทั ธิเต๋า บงั คบั ใหพ้ ระสงฆล์ าสิกขา ๒,๐๐๐,๐๐๐ รปู ยดึ วดั และ หลอมพระพุทธรปู เพื่อเอาทองคาและทองแดงไปทาทองแท่งและเหรียญกษาปณ์ ใน ยคุ พระเจา้ เฮียนตง หา้ มมีการสรา้ งวดั หล่อพระพุทธรูปและพิมพพ์ ระสูตรโดยไมไ่ ด้ รบั อนุญาต ผูท้ ี่จะบวชตอ้ งสวดพระสูตรได้ ๑,๐๐๐ หน้า หรือเสีย ค่าบวชใหห้ ลวง ๑๐๐,๐๐๐ อีแปะ ตอ่ มาปี พ.ศ.๑๓๘๘ รชั สมยั จกั รพรรดิบู่จง ทรงเล่ือมใสลทั ธิเต๋า ทรงแตง่ ต้งั นักบวชเต๋า เป็ นเสนาบดี มีการโตว้ าทีกันระหว่างพระภิกษุกับนักบวชเต๋า ฝ่ าย พระภิกษุไดร้ บั ชยั ชนะ พระเจา้ บู่จงไม่พอพระทัย ทรงสงั่ ทาลายวดั กวา่ ๔,๖๐๐ วดั ทาลายเจดียแ์ ละวิหารกว่า ๔๐,๐๐๐ แห่ง บังคับใหภ้ ิกษุและภิกษุณีสึกมากกว่า ๒๖๐,๐๐๐ รูป สมัยพระเจา้ ซีจงทรงบังคับให้ภิกษุ ครองจีวรแบบเต๋า บางยุค หน่วยงานราชการขายบัตรอุปสมบท คนมีศรทั ธาแต่ไม่มีเงินก็ไม่ไดบ้ วช พระภิกษุ ตอ้ งเสียภาษี ยกเวน้ ผูพ้ ิการหรือมีอายุ ๖๐ ปี เช่น รชั กาลพระเจา้ ยินจงในปี พ.ศ. ๑๕๗๘ ราชวงศ์ถังยุคทองของพุทธจกั ร หลังจากท่ีพระพุทธศาสนาในแควน้ จิวถูก ทาลายไป ต่อมาไดร้ บั การฟ้ ื นฟูข้ ึนใหม่ในสมยั ราชวงศ์ซุย (พ.ศ.๑๑๓๒ - ๑๑๖๑) และไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ จรญิ รุง่ เรืองสูงสุดในสมยั ราชวงศถ์ ัง (พ.ศ.๑๑๖๑ - ๑๔๕๐) โดยเฉพาะยุคถังไท่จงฮ่องเต้ สมยั น้ ีมีความเจริญท้งั ฝ่ ายอาณาจกั รและพุทธจกั ร มี การสรา้ งวดั ข้ ึนหลายแห่ง มีการแปลพระสูตรจากภาษาบาลีเป็ นภาษาจีนมากมาย และท่ีสาคญั มีนักปราชญค์ นสาคญั เกิดข้ ึนคือ พระถงั ซมั จงั๋ และ สมณะอ้ ีจิง พระถังซมั จงั๋ เป็ นนักปราชญ์ชาวพุทธคนสาคัญ คาวา่ ถังซัมจงั๋ แปลวา่ ผู้ ทรงพระไตรปิ ฎกแห่งราชวงศ์ถัง ท่านถือกาเนิดในตระกูลเฉิน ในปี พ.ศ.๑๑๔๓ ณ เมืองโลยาง ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเหอหนัน มีนามเดิมว่า เฉินฮุย เขา้ สู่ร่มกาสาว พสั ตรเ์ มื่ออายุได้ ๑๓ ปี มีฉายาวา่ ฮวนฉาง หรือหยวนฉ่าง หรือเฮี่ยนจงั เม่ือบวช แลว้ ก็ต้ังใจศึกษาพระพุทธศาสนาจนแตกฉาน แต่เมื่อศึกษาไปมากเขา้ ท่านเกิด

๑๐๘ ความสงสยั และขดั แยง้ ในใจ คมั ภีรป์ ระกอบการคน้ ควา้ ก็มีน้อย ท่านจึงมีความคิด ที่จะไปศึกษาใหถ้ ึงตน้ แหล่งคือ ประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ.๑๑๗๓ ท่านจึงตดั สินใจออกเดินทาง เสน้ ทางไปน้ันอนั ตรายมาก ตอ้ งผ่านทะเลทรายรอ้ นระอุและเทือกเขาอันหนาวเหน็บ ก่อนหน้าน้ันมีภิกษุนับ รอ้ ยๆ รูปเดินทางไปแลว้ แต่ส่วนใหญ่ส้ ินชีวิตในระหว่างทาง กวีจีนจึงเขียนโคลงไว้ วา่ \"ข่ือเจ่ียเซ่งแปะ กุยบ่อจ๊บั เอ๋าเจี่ย องั ใจ จุย้ เจี่ยล้งั \" แปลวา่ ในยามไปสิ มีจานวน นับรอ้ ย คร้นั ยามกลบั เล่าก็เหลือไม่ถึงสิบ บุคคลผูอ้ ยู่ภายหลงั ไฉนเลยจะทราบถึง ความยากลาบากของผทู้ ี่ไปกอ่ น ก่อนเดินทาง มีผูห้ วงั ดีเตือนถึงอนั ตรายดังกล่าว แต่พระถังซมั จงั๋ ยืนยนั วา่ อาตมาต้ังใจจะไปเยือนดินแดนศักด์ิสิทธ์และศึกษาธรรม อาตมาจะไม่เสียใจเลย หากตอ้ งตายระหว่างเดินทาง ในที่สุดท่านจึงออกเดินทาง เสน้ ทางท่ีใชต้ อ้ งผ่าน ทะเลทรายตะกลามากนั (Taklamakan) ซ่ึงแปลวา่ เขา้ ไดแ้ ต่ออกไมไ่ ด้ เป็ นหน่ึงใน ทะเลทรายที่อันตรายที่สุดในโลก ชาวจีนเรียกว่า ทะเลทรายมรณะ กระบอกน้า ของท่านตกลงบนพ้ ืนระหวา่ งเดินทาง น้าท่ีมีอยู่ก็ไหลออกจมหายไปในผืนทรายจน หมดส้ ิน ท่านตอ้ งอดน้าอยู่ ๔ วนั คร่ึงกวา่ จะเจอแหลง่ น้า หลงั จากเดินทางมาได้ ๑ ปี ก็ถึงอินเดีย และพกั อยู่ ๑๙ ปี ระหวา่ งน้ันไดไ้ ป ศึกษาที่มหาวิทยาลยั นาลนั ทาอยู่ ๕ ปี โดยเป็ นศิษยข์ องอธิการบดีศีลภทั ร หลงั จาก ศึกษาพระไตรปิ ฎก จนแตกฉานแลว้ จึงเดินทางกลับประเทศจีนโดยนาคัมภีร์ กลบั ไปกวา่ พนั เล่ม เมื่อพระเจา้ ถงั ไถ่จงมหาราชทรงทราบวา่ ท่านมาถึงพรมแดนจีน แลว้ ทรงปี ติโสมนัสมาก ใหจ้ ดั ขบวนเกียรติยศไปรบั ในฐานะเป็ นบุรุษอาชาไนยของ ชาติ ในวนั ท่ีเขา้ สู่นครเชียงอาน ทรงรบั สงั่ ใหร้ าษฎรทุกบา้ นที่ขบวนผา่ นต้ังโต๊ะบูชา หนา้ บา้ น พระถังซัมจัง๋ ทุ่มเทแปลคัมภีร์ท่ีเอาชีวิตเป็ นเดิมพันอัญเชิญมาออกสู่ ภาษาจีน แปลท้ังหมด ๗๔ คัมภีร์ นับเป็ นจานวนลานไดพ้ ันกว่าผูก ในปี พ.ศ. ๑๑๘๓ ท่านยงั เขียนบันทึกการ เดินทางตามหาพระไตรปิ ฎกไวด้ ว้ ย โดยใหช้ ่ือว่า \"ตา้ ถังซียู่จ้ ี\" หมายถึง จดหมายเหตุการณ์เดินทางสู่ดินแดนตะวนั ตกของมหาราช วงศถ์ งั บนั ทึกน้ ีเป็ นประโยชน์อยา่ งมากต่อนักการศึกษา ในยุคหลงั สาหรบั ใชเ้ ป็ น คู่มือในการสารวจวดั โบราณในอินเดีย เพราะเป็ นบันทึกที่แม่นยามากจนไดช้ ่ือวา่

๑๐๙ เป็ นผูน้ าทางท่ีไม่เคยพลาดเลยในอินเดีย เม่ือท่านอายุได้ ๖๔ ปี เกิดอาพาธและ มรณภาพลงท่ามกลางความเศรา้ เสียใจของชาวจีนท้ังชาติ พระเจา้ ถังเกาจงทรงให้ ขา้ ราชการท้ังประเทศหยุดงาน ๓ วัน เพ่ือไวท้ ุกข์ ในวันฝังศพมีคนมาร่วมพิธี ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน พระไตรปิ ฎกฉบับแรกของโลก เม่ือราชวงศ์ซอ้ งไดร้ ับการสถาปนาข้ ึนโดย พระเจา้ ไทโจว้ อ่องเตใ้ นปี พ.ศ.๑๕๐๓ พระองคท์ รงอุปถัมภพ์ ระพุทธศาสนาดว้ ยการ พิมพพ์ ระไตรปิ ฎก พรอ้ มอรรถกถาและฎีกา เป็ นฉบบั แรกของโลก เนื่องจากจีนเป็ น ชาติแรกที่พิมพห์ นังสือได้ ชาวยุโรปไดร้ บั รูเ้ รือ่ งกระดาษและการพมิ พห์ ลงั จากจีน เกือบ ๔๐๐ ปี พระไตรปิ ฎกฉบับน้ ีจัดพิมพ์ลงบนแผ่นไมท้ ้ังหมด ๑๓๐,๐๐๐ แผ่น หอสมุดแหง่ ชาติประเทศไทยไดจ้ ดั เก็บตวั อยา่ งจาลองของพระไตรปิ ฎกฉบบั น้ ีไวด้ ว้ ย หลังจากราชวงศซ์ อ้ งแลว้ พระพุทธศาสนาก็เร่ิมเสื่อมลงอีก ลัทธิขงจ้ ือมีอิทธิพลสูง กว่า เนื่องจากยุคหลังพระสงฆ์ไม่ค่อยศึกษาหาความรูจ้ ึงไม่มีความองอาจในการ เทศน์สอน ปัญญาชนจึงหนั ไปนับถือขงจ้ อื ที่สง่ เสริมการศึกษา กบฏไทเ้ ผง ในสมยั ราชวงศช์ ิงหรอื แมนจู (พ.ศ.๒๑๘๗-๒๔๕๕) เรม่ิ มนี ักล่า อาณานิคมตะวนั ตกเขา้ มาและนาคริสต์ศาสนามาเผยแผ่ดว้ ย มีชาวจีนคนหน่ึงชื่อ ซิวฉวน เขา้ รีตนับถือคริสต์ หาพรรคพวกไดม้ ากจึงต้งั กลุ่มกบฏข้ ึนชื่อ ไทเ้ ผง แปลวา่ มหาสนั ติ พวกกบฏโฆษณาวา่ พระยะโฮวาสงั่ ใหท้ าลายพระพุทธศาสนา ลทั ธิขงจ้ ือ เต๋า และราชวงศแ์ มนจู ใหห้ มด สรา้ งโลกคริสเตียนใหม่ในเมืองจีน กบฏไทเ้ ผง ใช้ เวลารบ ๑๖ ปี ยึดจีนได้ ๑ ใน ๓ ต้ังเมืองหลวงข้ ึนที่นานกิง บังคับใหป้ ระชาชน เขา้ รีต แลว้ ทาลายวดั และศาลเจา้ ฆ่าคน ๒๐ ลา้ นคน วดั ในเขตของกบฏจานวน พนั ๆ รา้ งโดยไมม่ ีทางบูรณะใหมข่ ้ ึนเลย สมัยสาธารณรัฐ ดร.ซุน ยัดเซ็น ก่อการปฏิวัติเปลี่ยนการปกครองจาก ระบอบกษัตริยเ์ ป็ นสาธารณรฐั ในปี พ.ศ.๒๔๕๔ เนื่องจากไมพ่ อใจการปกครองของ กษัตริยซ์ ึ่งเห็นแก่ประโยชน์ตนมากกวา่ ประเทศชาติ สถานการณ์พระพทุ ธศาสนาใน ยุคสาธารณรัฐน้ันค่อนขา้ งตกตา่ ศาสนาพุทธเป็ นเหมือนวัตถุโบราณที่ถูกลืม ปัญญาชนรุ่นใหมห่ นั ไปนับถือคริสตศ์ าสนาซึ่งมาควบคู่กบั ระบอบการปกครองใหม่ อันเป็ นส่ิงทันสมัยสาหรับชาวจีน แต่ยุคน้ ี ก็ยังมีพระภิกษุและภิกษุณีอยู่มาก พอสมควรคือ ๗๓๘,๐๐๐ รูป มวี ดั ประมาณ ๒๖๗,๐๐๐ วดั

๑๑๐ ยุคสาธารณรัฐประชาชนจีน ยุคสาธารณรัฐอยู่ได้เพียง ๓๘ ปี เท่าน้ัน ประเทศจีนก็มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกครง้ั ใน พ.ศ.๒๔๙๒ เหมาเจ๋อตุงผูน้ า พรรคคอมมิวนิสต์จีนมีชยั ต่อเจียงไคเช็กผูน้ าพรรคก๊กมินตงั๋ ในสงครามกลางเมือง เจียงไคเช็กจึงหนีไปอยู่เกาะไต้หวันพรอ้ มประชาชนจานวนหน่ึง เหมาเจ๋อตุง ปกครองดว้ ยลทั ธิมารก์ ซิส ซ่ึงขดั แยง้ กบั พระพุทธศาสนา โดยถือวา่ พระเป็ นกาฝาก สังคม มีการบีบค้นั ใหพ้ ระลาสิกขา ผูไ้ ม่สึกก็ใหท้ านาและปลูกชา วดั เกือบทุกแห่ง ถูกสั่งปิ ด พระภิกษุ หลายรูปหลบหนี ไปเกาะไต้หวันและปั กหลักเผยแผ่ พระพุทธศาสนาที่นั่น จนปัจจุบันไตห้ วันเป็ นประเทศหนึ่งท่ีพระพุทธศาสนา แข็งแกรง่ มีชื่อเสียงระดบั โลก เชน่ วดั ฝอกวงซนั ซึ่งมีท่านซิงหวินตา้ ซือเป็ นผูน้ า วดั น้ ีไดข้ ยายสาขาออกไปกวา่ ๒๕๐ ประเทศทวั่ โลก หลังจากเหมาเจ๋อตุงถึงแก่อสัญกรรมในปี พ.ศ.๒๕๑๙ เต้ ิงเสี่ยวผิงเขา้ รับ ตาแหน่ งในฐานะผู้นารัฐบาลแทน ยุคน้ ี ได้ผ่อนความเข้มงวดลง ทาให้ พระพุทธศาสนาฟ้ ื นตวั ข้ ึนอีกคร้งั ในวนั ท่ี ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๖ หนังสือพิมพล์ ง ขา่ ววา่ มีการคน้ พบพระบรมสารีริกธาตุ ๒๑ องค์ ท่ีวดั หวาหลิน เขตลี่วาน นครกวาง โจว ส่ือจีนระบุว่า พระบรมสารีริกธาตุมกั ปรากฏ เม่ือบา้ นเมืองมีสนั ติสุขและสูญ หายเม่ือบา้ นเมืองเดือดรอ้ น นับต้งั แต่ยุคเต้ ิงเส่ียวผิงเป็ นตน้ มาพระพุทธศาสนาใน จนี จึงคอ่ ยๆ ฟ้ ื นตวั ข้ ึนตามลาดบั จนปัจจุบนั จีนเป็ นประเทศที่มพี ุทธศาสนิกชนมาก ท่ีสุดในโลก นิกายในประเทศจีน จีนเป็ นตน้ แหล่งของพระพุทธศาสนามหายานหลาย นิกายซึ่งต่อมาไดเ้ ผยแผ่ไปยงั ประเทศต่างๆ ทัว่ โลก โดยนิกายท่ีสาคัญๆมีดงั น้ ีคือ นิกายสัทธรรมปุณฑริกหรือเทียนไท้ นิกายสุขาวดี หรือเจง้ โทว้ จง และนิกายธยาน หรือเซน เป็ นตน้ สาหรบั นิกายเซนไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ ในประวตั ิของพระโพธิธรรม ใน ท่ีน้ ีจะกล่าวถึงอีก ๒ นิกายดงั น้ ี ๑. นิกายสทั ธรรมปุณฑริก เป็ นนิกายที่ยึดพระสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็ น แม่บท ซ่ึงพระสูตรน้ ียงั ไม่มีขอ้ มูลแน่ชดั วา่ แต่งข้ ึนท่ีไหน เมอื่ ใด และดว้ ยภาษาอะไร ตัวพระสูตรไดร้ ับการแปลจากภาษาสันสกฤตเป็ นภาษาจีน ๖ คร้งั คร้ังแรกในปี พ.ศ.๗๙๘ ฉบับท่ีไดร้ ับการยอมรับและนิยมศึกษากันมากท่ีสุดคือ ฉบับของพระ กุมารชีวะซ่ึงแปลในปี พ.ศ.๙๔๙ สทั ธรรมปุณฑริกสูตร มีช่ือเสียงเดน่ ข้ ึนมาเมื่อพระ

๑๑๑ ตีเจ้ ีย (พ.ศ.๑๐๘๑ - ๑๑๔๐) แห่งภูเขาเทียนไท้ ไดร้ ูแ้ จง้ สารตั ถธรรมของสทั ธรรม ปุณฑริกสูตรแลว้ ก่อต้งั เป็ นนิกายสัทธรรมปุณฑริก (ฮวบฮัว่ จง) ข้ ึน หรือเรียกว่า นิกายเทียนไท้ ตามชื่อสานัก นิกายน้ ีสอนวา่ ดว้ ยหลกั แห่งสทั ธรรมปุณฑริกสูตรเท่าน้ันที่จะทาใหท้ ุกคน สามารถบรรลุพุทธภาวะไดอ้ ยา่ งเสมอภาคกนั พระสูตรน้ ีเป็ นการเปิ ดเผยความล้ ีลบั สุดยอดแกพ่ ระสาวกท้งั ปวงกอ่ นท่ีพระสมั มาสมั พุทธเจา้ จะปรนิ ิพพาน สทั ธรรมปุณฑริกสูตร แปลเป็ นภาษาจีนว่า เมียวโฮเร็งเงเคียว คาวา่ เมียว โฮ คือ พระสัทธรรม คาว่า เร็งเง แปลว่า ดอกบัวขาว หรือ ปุณฑริก คาว่า เคียว แปลว่า สูตร ส่วนในภาษาอังกฤษ สัทธรรมปุณฑริกสูตร แทนดว้ ยคาว่า Lotus Sutra ต่อมาเม่ือพระพุทธศาสนาเผยแผ่จากจีนไปสู่เกาหลีและจากเกาหลีไปสู่ ญี่ป่ ุน นิกายสทั ธรรมปุณฑริกสูตรก็ถูกนาไปเผยแผ่ดว้ ย ผูท้ ี่มีบทบาทสาคญั ในการ เผยแผ่นิกายน้ ีในญ่ีป่ ุนคือ พระไซโจ แหง่ สานักสงฆบ์ นภูเขาฮิเออิ และพระนิชิเรน็ ๒. นิกายสุขาวดี นิกายสุขาวดีก่อต้งั ข้ ึนในปี พ.ศ.๙๔๕ สมยั ราชวงศจ์ ้ ินโดย พระฮุยเอ้ ียง ท่านพานักอยทู่ ี่วดั ตงั นิ่มย่ี บนภูเขาลูซ้ วั มณฑลกงั ไส บนภูเขาขุดสระ ใหญ่ ปลูกดอกบัวขาวเต็มสระ ท่านฮุยเอ้ ียงพรอ้ มสาวกหลายพันคนนั่งสวดมนต์ หน้าสระน้ ี โดยสมมติวา่ สระน้าแห่งน้ ีเป็ นสระทิพยใ์ นแดนสุขาวดี ซ่ึงท่านเหล่าน้ัน ต่างต้งั จติ ปรารถนาจะไปเกิด เบ้ ืองตน้ สานักน้ ีอาศัยขอ้ ความในพระสูตร ชื่อ พุทธธยานสาครสูตร คือ เพ่งจิตถึงพระอมิตาภพุทธเจา้ เป็ นอารมณ์ ต่อมาไดม้ ีการพฒั นารูปแบบคาสอนไป ตามลาดบั นิกายน้ ี ไมม่ ีหลกั อภิปรชั ญาท่ีซบั ซอ้ นใหต้ อ้ งคิดมาก เหมาะกบั สามญั ชนทวั่ ไป พระชานเตา (Shan tao) สรุปหวั ใจหลกั ของนิกายน้ ีไว้ ๓ ประการคือ ๑. ส่ิง แปลวา่ ความเชื่อ ตอ้ งปลกู ศรทั ธาอยา่ งซาบซ้ ึงในองคพ์ ระอมติ าภะ ๒. ง๋วง แปลวา่ ต้งั ปณิธานอธิษฐานเพอ่ื ไปเกิดในแดนสุขาวดีอยา่ งแน่วแน่ ๓. เหง คือ ปฏิบตั ิกาย วาจา ใจ ใหอ้ ยใู่ นกุศลธรรม โดยเฉพาะการเปล่งคา บูชาพระอมิตาภพุทธเจา้ วา่ นโม อมิตาภาย พุทธาย ภาษาจีนวา่ นัมบู ออนี ท่อฮุด ภาษาญ่ีป่ ุนวา่ นัมบู อมิดา บุตสึ ภาษาญวนว่า นามโบ อายีดา้ เผิก โดยตอ้ งท่อง

๑๑๒ วนั ละหลายๆ หน ย่ิงมากยิ่งดี ภาวนาดว้ ยการนับลูกประคา ประคาเม็ดหนึ่งต่อ ภาวนาบทหนึ่ง ๒) ประเทศเกาหลี หลังสงครามโลกคร้ังที่ ๒ แลว้ ในปี พ.ศ.๒๔๙๑ คาบสมุทรเกาหลีถูก แบ่งเป็ นสองส่วน คือ เกาหลีเหนือปกครองดว้ ยระบอบคอมมิวนิสต์ และเกาหลีใต้ ปกครองดว้ ยระบอบประชาธิปไตย เกาหลีเหนือ (North Korea) มีช่ือเป็ นทางการ วา่ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic Peoples Republic of Korea : DPRK) มีเมืองหลวงช่ือ เปี ยงยาง และเป็ นเมืองที่ใหญ่ท่ีสุด เกาหลีเหนือมี ประชากรประมาณ ๒๓,๑๑๓,๐๑๙ คน (พ.ศ.๒๕๔๙) ส่วนใหญ่ไม่มี ศาสนา เพราะระบอบคอมมิวนิสต์ไม่สนับสนุนศาสนา มีพุทธศาสนิกชนนิกายเซนอยเู่ พียง ๔๐๐,๐๐๐ คน (๑.๖๗%) ลดลงจากเดิม ๒๓.๓๓% วัดมีอยู่ ๓๐๐ วัด และมี ครสิ ตศ์ าสนิกชนประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน (๐.๐๕%) เกาหลีใต้ (South Korea) มีช่ือเป็ นทางการว่า สาธารณ รัฐเกาหลี (Republic of Korea) มีเมืองหลวงชื่อ โซล และเป็ นเมืองท่ีใหญ่ที่สุด เกาหลีใตม้ ี ประชากรประมาณ ๔๗,๘๑๗,๐๐๐ คน นับถือศาสนาพุทธมหายานประมาณ ๒๕% นับถือศาสนาครสิ ต์ ๒๕% นับถือศาสนาขงจ้ อื อีก ๒% และมีกลุม่ ท่ีไม่เช่ือในพระเจา้ อี ก ๓ ๐ -๕ ๒ % (Nonbeliever in God) ห รื อป ระม าณ ๑ ๔ ,๕ ๗ ๙ ,๔ ๐ ๐ - ๒๕,๒๗๐,๙๖๐ คน เกาหลีใตเ้ ป็ นประเทศที่มีภิกษุณีอยจู่ านวนมาก ในปัจจุบนั มีอยู่ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ รูป พระพุทธศาสนาเร่ิมเขา้ สู่ประเทศเกาหลีเมื่อปี พ.ศ.๙๑๕ โดยพระธรรมทูตซุนเตา ท่านนานิกายมหายานจากจีนมาสู่อาณาจกั รโกกุเรียวคือ เกาหลีในปัจจุบนั สมยั ก่อนเกาหลีประกอบดว้ ย ๓ อาณาจกั รคือ โกกุเรยี ว ปึ กเจ และซลิ ลา ซ่ึง ปกครองคาบสมุทรเกาหลีและบางส่วนของแมนจูเรีย ต้ังแต่ศตวรรษท่ี ๑ ก่อน คริสตกาลถึงคริสต์ศตวรรษ ที่ ๗ ผูน้ าท้ัง ๓ อาณาจักรยกพระพุทธศาสนาเป็ น ศาสนาประจาชาติ ต่อมาอาณาจักรซิลลาสามารถรวมแควน้ ท้ังสามใหเ้ ป็ นหน่ึง เดียวกนั ไดใ้ นปี พ.ศ.๑๒๐๐ ทาใหป้ ระเทศเป็ นปึ กแผน่ มนั่ คง รฐั บาลใหก้ ารอุปถมั ภ์ พระพุทธศาสนาอยา่ งจริงจงั มีการจดั พมิ พพ์ ระไตรปิ ฎก ๑,๖๐๐ หน้า ดว้ ยตวั พิมพ์

๑๑๓ ไมแ้ กะ และจารึกพระคมั ภีรเ์ ป็ นจานวน ๕๐,๐๐๐ กวา่ เล่ม ยุคน้ ีพระพุทธศาสนาจึง เจริญรุง่ เรอื งมาก อาณาจกั รซิลลาปกครองเกาหลีอยูไ่ ด้ ๒๗๘ ปี ก็พ่ายแพแ้ ก่อาณาจกั รโกกุ เรียวในปี พ.ศ.๑๔๗๘ ราชวงศน์ ้ ีก็มีศรทั ธาในพระพุทธศาสนา พระมหากษัตริยท์ ุก พระองค์จะนิมนต์พระภิกษุหน่ึงรูปเป็ นท่ีปรึกษา ยุคน้ ีมีการสรา้ งวัดวาอาราม จานวนมาก และมีวฒั นธรรมอย่างหน่ึงเกิดข้ ึนคือ ครอบครวั เกาหลีที่มีลูกชาย ๔ คน ตอ้ งใหบ้ วชเป็ นพระ ๑ คน เน่ืองจากพระเกาหลีบวชในนิกายมหายานเมื่อบวชแลว้ ก็จะมกี ิจกรรมสงฆท์ ่ี แตกต่างจากนิกายเถรวาท เชน่ ตอ้ งทานา ทากิมจิ เก็บผลไม้ เป็ นตน้ การทานา น้ันจะทาเป็ นกลุ่มใหญ่ ในปลายเดือนมิถุนายน โดยขณะดานาพระภิกษุจะพบั ขา กางเกงถอดเส้ ือคลุมออกแลว้ เขา้ แถวดานา มีพระสองรูปถือเชือกยาวเพื่อจดั แถวให้ ตรง ส่วนการทากิมจิน้ันคือการทาผกั ดองจากกะหลา่ และหวั ไชเทา้ เพื่อเตรยี มไวฉ้ นั ในฤดูหนาว และยงั มีการเก็บผลไม้ เช่น เกาลดั ผลตน้ สน และลูกพลับสุก สาหรบั ฉนั ในฤดูหนาว พระเกาหลีจะนิยมบาเพ็ญทุกรกิริยาคลา้ ยกับสมยั ที่พระสิทธัตถโพธิสัตว์ ออกบวชใหมๆ่ เชน่ อดอาหาร ฉันอาหารดิบ ไม่เอนหลงั นอน ไมพ่ ูด เผาน้ ิวตวั เอง และมีการปลีกวเิ วกไปอยใู่ นหบุ เขาโดยไมป่ ลงผม หนวด และเครา การห้ามภัตรหรือการอดอาหาร เป็ นท่ีนิยมกันมากในเกาหลี ใชเ้ วลา ประมาณ ๓ วนั ถึง ๒ อาทิตย์ เพราะเชื่อวา่ เป็ นการรกั ษาโรคเร้ ือรงั ไดท้ ุกชนิด ส่วน การเผาน้ ิวมือตวั เอง ทาเพื่อบูชาพระสมั มาสมั พุทธเจา้ บางรูปก็ทาเพ่ือความมนั่ คง ในการบวช บา้ งก็ทาเพื่อเล่ียงการเกณฑ์ทหาร แต่บางรูปทาเพ่ือความมีชื่อเสียง ตอ้ งการใหฆ้ ราวาสเคารพนับถือยงิ่ ข้ ึน ในปี พ.ศ.๑๙๓๕ - ๒๔๕๓ พระพุทธศาสนาในเกาหลีเขา้ ถึงยุคเส่ือม เน่ืองจากราชวงศ์โซซอนข้ ึนมามีอานาจ และเชิดชูลัทธิขงจ้ ือใหเ้ ป็ นศาสนาประจา ชาติ มคี าสงั่ หา้ มบวชพระ พระสงฆจ์ ึงหนีออกไปอยอู่ ยา่ งสงบตามชนบทและป่ าเขา เกาหลีตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของญี่ป่ ุนในปี พ.ศ.๒๔๕๓ ญี่ป่ ุนส่งเสริมให้ พระสงฆม์ ีครอบครวั ได้ และสนับสนุนใหด้ ารงชีวิตเหมือนฆราวาส ท้งั น้ ีเพราะญ่ีป่ ุน ตอ้ งการทาลายวฒั นธรรมของเกาหลีซึ่งถูกหล่อหลอมข้ ึนจากคาสอนด้ังเดิมของ

๑๑๔ พระพุทธศาสนา หากสามารถเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของพระภิกษุได้ ก็จะทาลาย วฒั นธรรมด้งั เดิมไดด้ ว้ ย พระเกาหลีมีครอบครวั เม่ือรฐั บาลญ่ีป่ ุนสนับสนุนการมคี รอบครวั พระสงฆ์ เกาหลีจานวนมากจึงเร่ิมมีครอบครัวอย่างเงียบๆ เพราะช่วงแรกๆ ยังไม่เป็ นที่ ยอมรบั ในวงกวา้ ง และก่อนหน้าน้ ีเคยมีผูน้ าเสนอขอใหพ้ ระมีครอบครัวมาก่อน แลว้ แต่ไม่ไดร้ บั การอนุมัติ ในปี พ.ศ.๒๔๒๒ พระชาวเกาหลีชื่อ ฮันยองกัน ไดย้ ื่น ฎีกาต่อคณะรฐั มนตรีญี่ป่ ุนและคณะผูบ้ ริหารฝ่ ายสงฆ์ เพ่ือเรียกรอ้ งใหย้ กเลิกขอ้ หา้ มภิกษุภิกษุณีมคี รอบครวั โดยมีเหตุผลดงั น้ ี ๑) ถา้ ไม่อนุญาตใหพ้ ระภิกษุมีครอบครัว ก็จะมีพระลาสิกขาเพ่ิมมากข้ ึน เรื่อยๆ แต่ถ้าอนุ ญาต พระก็จะอยู่ในสมณเพศต่อไปได้ สามารถมีทายาทสืบ พระพทุ ธศาสนาเพ่อื แข่งขนั กบั ศาสนาอื่นได้ และในปัจจุบนั พระที่มีครอบครวั โดยไม่ เปิ ดเผยก็มีอยแู่ ลว้ จงึ กอ่ ใหเ้ กิดความละอายโดยไมจ่ าเป็ น ๒) พระฮันยองกันอา้ งว่า หลักคาสอนในศาสนาพุทธถือว่า การถือเพศ พรหมจรรย์ หรอื ไม่ถือพรหมจรรยไ์ มไ่ ดแ้ ตกตา่ งกนั เลย การไมถ่ ือพรหมจรรยน์ ้ันจะ ทาใหพ้ ระภิกษุมปี ระสบการณช์ ีวติ ในทางโลกเพมิ่ ข้ ึน ขอ้ เสนอน้ ีรฐั บาลไม่ไดอ้ นุมตั ิ ท้ังน้ ีอาจเป็ นเพราะกระแสต่อตา้ นมีมากกวา่ แต่ในท่ีสุดเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๙ สภาสงฆ์แห่งเกาหลีภายใตก้ ารควบคุมของ ญี่ป่ ุนมีมติเห็นชอบใหพ้ ระเกาหลีมีครอบครวั ได้ ผลการตัดสินใจคร้งั สาคัญน้ ีเป็ น จุดเร่ิมตน้ แห่งความแตกแยกระหว่างพระภิกษุท่ีถือพรหมจรรยก์ ับพระภิกษุท่ีมี ครอบครวั อยา่ งไรก็ตามพระท่ีมีครอบครวั ตอ้ งประสบกบั การเปล่ียนแปลงในชีวิตอยา่ ง มาก เนื่องจากตอ้ งมีรายไดม้ าเล้ ียงครอบครวั ตอ้ งทางานแบบฆราวาส จึงไม่มีเวลา ศึกษาพระธรรมวินัย ไม่มีเวลาฝึกสมาธิ และเผยแผ่คาสอนพระพุทธศาสนา ที่ สาคัญที่สุดอันเป็ นความประสงค์ของญ่ีป่ ุนคือ ไม่มีเวลาปลุกระดมมวลชนต่อตา้ น ญี่ป่ ุน จงึ ทาใหป้ กครองงา่ ย ในปี พ.ศ.๒๔๘๘ ช่วงปลายสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ กองทัพสหภาพโซเวียต และสหรฐั อเมริกาเขา้ ยึดเกาหลีจากญ่ีป่ ุน และแบ่งประเทศออกเป็ น ๒ ส่วน คือ เกาหลีเหนือ(North Korea) และเกาหลีใต้ (South Korea)

๑๑๕ เม่ือเกาหลีพน้ จากการปกครองของญี่ป่ ุนแลว้ ชาวพุทธโดยเฉพาะพระสงฆ์ ในเกาหลีใตไ้ ดเ้ คลื่อนไหว มีการประชุมใหญ่แลว้ ลงมติใหร้ ัฐบาลยกเลิกขอ้ บังคับ ต่างๆ ท่ีขดั แยง้ กบั หลกั พระพุทธศาสนา พรอ้ มท้งั ใหค้ ณะสงฆป์ กครองตนเอง โดยมี สานักงานอยใู่ นนครหลวงและจงั หวดั ต่างๆ มีการประชุมเพื่อตราธรรมนูญปกครอง คณะสงฆข์ ้ ึนในปี พ.ศ.๒๔๘๙ ส่วนเกาหลีเหนือน้ันปกครองดว้ ยระบอบคอมมิวนิสต์ ซึง่ ไมส่ นับสนุนศาสนาใดๆ จึงไมม่ ีความเคล่ือนไหวทางศาสนามากนัก ผลจากการเคลื่อนไหวใหม้ ีการยกเลิกกฎต่างๆ เช่น การอนุญาตใหพ้ ระมี ครอบครวั เป็ นตน้ ทาใหเ้ กิดความขัดแยง้ กันอย่างรุนแรงระหว่างพระท่ีประพฤติ พรหมจรรยก์ ับพระที่มีครอบครวั ในท่ีสุดในปี พ.ศ.๒๕๐๕ คณะสงฆเ์ กาหลีจึงแตก ออกเป็ น ๒ นิกาย คือ นิกายโชกาย และนิกายแตโก ซึ่งนิกายโชกายคือพระที่ถือ พรหมจรรย์ ส่วนนิ กายแตโกคือพระท่ีมีครอบครัว นิ กายโชกายน้ันได้รับการ สนับสนุนจากรฐั บาลและศาลสูงตัดสินใหม้ ีสิทธิปกครองทุกวดั ในประเทศรวมท้ัง นิกายแตโกดว้ ย แตถ่ ึงกระน้ันก็ไมส่ ามารถยงั ขอ้ ขดั แยง้ ใหส้ งบลงได้ ปัจจุบนั พระพุทธศาสนาในเกาหลีเป็ นนิกายเซนผสมกบั ความเช่ือในพระอมิ ตาภพุทธเจา้ และพระเมตไตรยโพธิสตั ว์ พระสงฆม์ ีความคิดกา้ วหน้าทันเหตุการณ์ ตื่นตวั ท่ีจะปรบั ปรุงตนใหท้ ันโลกอยเู่ สมอ การพฒั นาพระสงฆเ์ น้นไปที่การศึกษาซึ่ง สอดคลอ้ งกบั ทิศทางของรฐั บาล ชาวเกาหลีมีสถิติอ่านออกเขียนไดถ้ ึง ๙๕% ขอ้ มูล ในปี พ.ศ.๒๕๒๖ ระบุว่ามีพุทธศาสนิ กชนอยู่ ๑๑,๑๓๐,๒๘๘ คน ฝ่ ายหญิง ๗,๑๖๐,๗๐๔ คน ฝ่ ายชาย ๓,๙๖๙,๕๘๔ คน มีวดั ท่ีลงทะเบียน ๓,๑๖๓ วดั และไม่ ลงทะเบียนอีก ๔,๐๙๐ วดั มีพระภิกษุจานวน ๑๔,๒๐๖ รูป และภิกษุณี ๖,๕๔๙ รูป สว่ นมากเป็ นนิกายโชกาย คือนักบวชท่ีประพฤติพรหมจรรย์ เกาหลีใตม้ ีมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาอันเก่าแก่คือ ดงกุก สรา้ งในปี พ.ศ.๒๔๔๙ ประกอบดว้ ยวทิ ยาลัย ๙ แห่ง และบณั ฑิตวิทยาลยั ๔ แห่ง มีนักศึกษา ชายหญิงประมาณ ๑๕,๐๐๐ คน มีหลักสูตรอบรมพิเศษสาหรับภิกษุและภิกษุ ณี มหาวิทยาลัยแหง่ น้ ีมีโครงการแปลและ จดั พิมพพ์ ระไตรปิ ฎกฉบบั เกาหลีในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ โดยการนาของคณะสงฆ์ มีคณะกรรมการแปล ๖๕ คน ออกตีพิมพเ์ ดือนละ ๑ เล่ม จนกวา่ จะครบ ๒๔๐ เล่ม ระยะเวลาดาเนินโครงการ ๔๕ ปี นอกจากน้ ียงั มี

๑๑๖ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมสาหรบั ภิกษุ ภิกษุณี สามเณรและสามเณรีดว้ ย โดยเปิ ด โอกาสใหฆ้ ราวาสเขา้ เรียนรว่ มกบั นักบวชได้ คณะสงฆ์เกาหลีใตย้ ังมีสถานศึกษาฝ่ ายสามัญระดับต่างๆ ดว้ ย เปิ ดรับ นักเรียนชายหญิงทั่วไป มีคฤหัสถ์เป็ นผู้บริหาร แต่อยู่ในความควบคุมของ คณะกรรมาธิการฝ่ ายการศึกษาของคณะสงฆ์ โดยแบง่ ประเภทของสถาบนั ได้ ดงั น้ ี มหาวทิ ยาลยั และวทิ ยาลยั ๓ แหง่ โรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑๑ แหง่ โรงเรียนมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๑๖ แหง่ โรงเรียนประถมศึกษา ๓ แหง่ โรงเรียนอนุบาล ๗ แหง่ สาหรบั ภิกษุณีในเกาหลีใตน้ ้ัน เป็ นผมู้ ีความรูค้ วามสามารถปฏิบตั ิศาสนกิจ เคียงบ่า เคียงไหล่กับพระภิกษุไดเ้ ป็ นอย่างดี ผูห้ ญิงเกาหลีนิยมบวชเป็ นภิกษุณี ต้ังแต่อายุ ๒๐ - ๔๐ ปี โดยบวชเป็ นสามเณรีถือศีล ๑๐ อยู่ ๒ ปี แลว้ เรียนใน มหาวิทยาลัยหลักสูตร ๓-๕ ปี จากน้ันจึงบวชเป็ นภิกษุณี ถือศีล ๓๖๘ ขอ้ การ ปกครองภิกษุณีน้ันข้ ึนต่อองค์การการปกครองคณะสงฆ์ท้ังหมด จึงทาใหส้ งฆส์ อง ฝ่ ายเป็ นอนั หนึ่งอนั เดียวกนั ในแตล่ ะวดั จะมีภิกษุณีเป็ นเจา้ อาวาส ๓. ประเทศญี่ป่ ุน ประเทศญี่ป่ ุน (Japan) มีเมืองหลวงชื่อ โตเกียว และเป็ นเมืองที่ใหญ่ท่ีสุด ประชากรญ่ีป่ ุนมีประมาณ ๑๒๘,๐๘๕,๐๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๔๘) พุทธศาสนิกชนมี ประมาณ ๘๙,๖๕๐,๐๐๐ คน ซึ่งมากเป็ นอันดับ ๒ ของโลก รองจากประเทศจีน ประวตั ิศาสตรพ์ ระพุทธศาสนาในญ่ีป่ ุน แบ่งออกเป็ น ๖ ยุค คือ ยุคแรก ยุคนารา ยุคโชกุนตระกูลแรก ยคุ สงครามกลางเมือง ยคุ ปิ ดประเทศ และยคุ เมจถิ ึงปัจจุบนั ยุคแรก พระพุทธศาสนาจากจีนเผยแผ่เขา้ สู่ญ่ีป่ ุนโดยผ่านเกาหลีในปี พ.ศ. ๑๐๙๕ ซ่ึงอยู่ในรชั สมยั ของพระเจา้ กิมเมจิ ในคร้งั น้ันพระเจา้ เซมาโวกษัตริยแ์ ควน้ กทุระแห่งเกาหลีทรงส่งพระพุทธรูปทองเหลืองหุม้ ทองคา และพระคมั ภีรไ์ ปถวาย พระเจา้ กิมเมเจิพรอ้ มท้ังพระราชสาส์นมีใจความวา่ น่ีเป็ นศาสนาที่ดีที่สุดท่ีหม่อม ฉันเห็น หม่อมฉันไม่ตอ้ งการใหศ้ าสนาน้ ีจากัดแพร่หลาย เฉพาะเพียงเกาหลีแห่ง เดียว ขอใหพ้ ระองค์โปรดรบั ศาสนาน้ ีไว้ พระจกั รพรรดิญ่ีป่ ุนทรงพอพระทัยเพราะ

๑๑๗ ไม่เคยได้สดับคาสอนอันวิเศษเช่นน้ ี มาก่อน ต้ังแต่น้ันชาวญี่ป่ ุนจึงเร่ิมนับถือ พระพทุ ธศาสนา แตย่ งั ไมแ่ พรห่ ลาย เพราะศาสนาเดิมคือชินโต ยงั มอี ิทธิพลอยมู่ าก จนกระทงั่ ถึงสมยั ที่จกั รพรรดินีซอู ิโกะ (Suiko) ครองราชย์ ประมาณปี พ.ศ. ๑๑๓๕-๑๑๗๑ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก พระนางทรงสละราชสมบัติออก ผนวชเป็ นภิกษุ ณี โดยมอบภาระให้พระราชนั ดดาพระนามว่า อุมายาโดะ (Umayado) ทาหน้าที่สาเร็จราชการแทน เจา้ ชายอุมายาโดะน้ ี ต่อมาไดร้ บั การ ขนานพระนามวา่ โชโตกุ ไทชิ เจา้ ชายโชโตกุทรงยกพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ ทรงสรา้ งวดั ประมาณ ๔๐๐ วดั ทรงรอบรูพ้ ระไตรปิ ฎก ทรงนิพนธอ์ รรกถาพระสูตรสาคญั ของ มหายาน ๓ สูตร คือ สัทธรรมปุณฑริกสูตร วิมลเกียรตินิเทศสูตร ศรีมาลาเทวีสิง หนาทสูตร ตน้ ฉบบั ลายพระหตั ถ์ยงั คงรกั ษาอยจู่ นถึงปัจจุบนั ทรงบญั ญตั ิกฎหมาย แห่งรฐั โดยยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพราะผลงานทางพระพุทธศาสนาท่ี ทรงทาไวม้ ากมาย เจา้ ชายโชโตกุจงึ ไดร้ บั ฉายาวา่ เป็ นพระเจา้ อโศกแหง่ ญี่ป่ ุน พระพุทธศาสนาที่เจา้ ชายโชโตกุทรงศรทั ธาช่ือวา่ เอกยาน มีธรรมกายเป็ น จุดหมายมีคาสอนประสานกนั ระหว่างมหายานและเถรวาท ไม่แบ่งแยกกันระหวา่ ง พระสงฆก์ บั คฤหสั ถ์ ทุกคนสามารถปฏิบตั ิธรรมในชวี ติ ประจาวนั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งออก บวชหรือปลีกวิเวก เม่ือเจา้ ชายโชโตกุส้ ินพระชนม์ในปี พ.ศ.๑๑๖๕ พสกนิกรต่าง เศรา้ โศกเสียใจอย่างสุดซ้ ึง เหล่าพุทธบริษัทจึงสรา้ งพระพุทธรูปขนาดเท่าพระ วรกายพระองคข์ ้ ึน เพ่อื เป็ นอนุสรณแ์ หง่ คุณความดีของพระองค์ ยคุ นารา ต้งั แต่ยุคเจา้ ชายโชโตกุเป็ นตน้ มา พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรือง มาตามลาดับ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของวฒั นธรรมญ่ีป่ ุนสืบมา เม่ือถึงสมัยนารา (Nara) ประมาณปี พ.ศ.๑๒๕๓ - ๑๓๒๗ พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรืองยงิ่ ข้ ึน นารา อนั เป็ นราชธานีของญี่ป่ ุนยคุ น้ันถึงกบั ได้ ช่ือวา่ นครแหง่ อารามหน่ึงพนั เพราะถนน ทุกสายในเมืองน้ ี มีวัดพระพุทธศาสนา ยุคน้ันมีนั กปราชญ์ญ่ีป่ ุนไปศึกษา พระพุทธศาสนาท่ีประเทศจีนเพิ่มมากข้ ึนและไดน้ านิกายต่างๆ มาเผยแผ่ในญ่ีป่ ุน ซ่ึงสมยั น้ันมี ๖ นิกายดว้ ยกนั ในปี พ.ศ.๑๒๘๔ พระเจา้ จกั รพรรดิโชมุทรงประกาศจกั รพรรดิราชโองการ ใหส้ รา้ งวดั ของราชการประจาจงั หวดั ทัว่ ประเทศ ยุคน้ ีลาภสักการะเกิดข้ ึนกบั คณะ

๑๑๘ สงฆม์ าก เพราะกษัตริย์ และพสกนิกรใหก้ ารอุปถัมภ์ จึงทาใหม้ ีผูเ้ ขา้ มาบวชเพื่อ หวงั ลาภสกั การะจานวนมาก อีกท้งั คณะสงฆ์ เขา้ ครอบงาราชการแผ่นดิน ทาใหห้ า่ ง เหินการปฏิบตั ิธรรม ศาสนาจึงเส่ือมลง พระจกั รพรรดิ ตอ้ งการจะลิดรอนอานาจ ทางการเมืองของพระสงฆ์ จึงย้ายเมืองหลวงจากนาราไปเกียวโต (เฮอัน) พระพุทธศาสนา ๖ นิกายน้ ีจึงไม่ไดร้ บั การอุปถัมภ์จากราชสานักอีก เป็ นเหตุให้ เสื่อมลงในที่สุด ในยุคเกียวโตหรือเฮอัน (พ.ศ.๑๓๓๗ - ๑๗๒๘) พระไซโจ และพระคูไค ซึ่ง เดินทางไปศึกษายงั ประเทศจนี ไดก้ ลบั มาเผยแผ่ที่ญ่ีป่ ุน ท่านไซโจต้งั สานักสงฆข์ ้ ึนที่ ภูเขาฮิเออิในปี พ.ศ.๑๓๒๘ เพื่อเผยแผ่นิกายเทนได หรือเทียนไท้ หรือนิกาย สทั ธรรมปุณฑริก พระสงฆส์ านักน้ ีมีอาวธุ ไวป้ ้องกนั ตวั ในยามศึกสงครามดว้ ย ส่วน ท่านคูไคไดก้ ลบั มาเผยแผ่นิกายชินงอน หรอื ตนั ตระ ยุคน้ ีราชการใหก้ ารสนับสนุน พระพุทธศาสนาอยา่ งมากเช่นกนั พระจกั รพรรดิเกือบทุกพระองค์เสด็จออกผนวช แต่ช่วงปลายยุคมีสงครามเกิดข้ ึน โดยขุนพลช่ือ โยริโมโต แห่งตระกูล มินาโมโต บุกโจมตีกรุงเกียวโตและนารา ยึดอานาจการปกครองจากพระจกั รพรรดิ และไดเ้ ผา วดั วาอารามไปจานวนมาก ยุคน้ันพระสงฆ์บางวดั จึงมีกองทัพไวป้ ้องกันวดั และมี พระบางพวกออกรบเพื่อช่วงชิงอานาจทางการเมืองดว้ ย แต่โยริโมโตก็สามารถ ปราบปรามไดอ้ ยา่ งราบคาบ ยุคโชกุนตระกูลแรก โชกุน หมายถึง ผู้บัญชาการกองกาลังทหารของ ประเทศ หากเปรียบกบั ตาแหน่งทางทหารในปัจจุบนั แลว้ อาจเทียบไดก้ บั ตาแหน่ง ผูบ้ ญั ชาการทหารสูงสุด ผูท้ ี่ไดร้ บั ตาแหน่งโชกุนคนแรกคือ โยริโมโต หลงั จากที่โยริ โมโตตีเมืองเฮอนั และนาราไดแ้ ลว้ ในปี พ.ศ.๑๗๒๘ เขาสถาปนาเมืองกามากุระข้ ึน เพ่ือเป็ นศูนยก์ ารปกครองระบบโชกุนหรือรฐั บาลทหาร และไดร้ บั การแต่งต้ังจาก สมเด็จพระจักรพรรดิในปี พ.ศ. ๑๗๓๕ ให้ดารงตาแหน่ ง เซอิไทโชกุน ยุคน้ ี พระพุทธศาสนาจึงเส่ือมโทรมเพราะไฟสงคราม แต่พุทธศาสนิกชนก็พยายามฟ้ ื นฟู ข้ ึนใหม่จนกลับรุ่งเรืองอีก โดยคร้งั น้ันมีนิกายที่สาคัญอยู่ ๓ นิกายคือ นิกายโจโด นิกายเซน และนิกายนิจิเรน็ ๑. นิกายโจโด หรือสุขาวดี ท่านโฮเน็นไดก้ ่อต้งั นิกายน้ ีข้ ึนในยุคกามากุระ วนั หน่ึงท่านไดอ้ ่านอรรถกถาอมิตายุรธยานสูตรพบขอ้ ความตอนหน่ึงกล่าววา่ หาก

๑๑๙ บุคคลนึกถึงและออกพระนามพระอามิตาภพุทธเจา้ โดยมิตอ้ งคานึงถึงอากปั กิริยา และกาลเวลาแล้ว ถ้าปฏิบัติได้สมา่ เสมอก็ย่อมเรียกไดว้ ่า เป็ นสัมมากัมมันตะ เพราะตอ้ งดว้ ยปฏิญญาแหง่ พระอมิตาภพุทธเจา้ ท่านรูส้ ึกประทบั ใจขอ้ ความน้ ีมาก และไดเ้ ลิกขอ้ ปฏิบตั ิอยา่ งอื่นหมด เปล่งแต่คาวา่ นัมบู อมิดา บุตสึ อยา่ งเดียว โดย เชื่อวา่ เพียงแค่น้ ีก็สามารถไปเกิดยงั แดนสุขาวดีซึ่งเป็ นที่อยู่พระอมิตาภพุทธเจา้ ได้ จากน้ันท่านจึงออกเผยแผ่คาสอนและไดร้ บั ความนิยมอย่างรวดเร็วท้งั น้ ีเพราะหลกั ปฏิบตั ิไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น ๒. นิกายเซน ท่านโยไซ และท่านโดเกน ไดเ้ ดินทางไปศึกษาท่ีภูเขาฮิเออิ จากน้ันก็เดินทางไปยงั ประเทศจีน ศึกษาพระพุทธศาสนานิกายเซนแลว้ นากลับมา เผยแผ่ท่ีญ่ีป่ ุน ท่านโยไซสรา้ งวดั ชื่อ โชฟูกูจิ ข้ ึนในปี พ.ศ.๑๗๓๔ ที่เกาะกิวชิว เมือง กามากุระ เพื่อเป็ นศูนยก์ ลางในการเผยแผ่นิกายรินไซเซน ส่วนท่านโดเกนสรา้ งวดั เออิเฮอิจขิ ้ ึนเป็ นศนู ยก์ ลางการเผยแผ่ โซโตะเซน จากท่ีกล่าวแลว้ ว่า นิกายเซนเน้นการปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนาเพ่ือให้ เขา้ ถึงฌานที่เรียกว่า ซาเซน โดยไม่อาศัยตัวหนังสือหรือปริยตั ิธรรมใดๆ จึงมีคา ขวญั ประจานิกายวา่ ปุกลิบ-บุน้ ย่ี ติกจ้ ีน้ังซิม เกียงแส่ เซ่งฮุด แปลวา่ ไมต่ อ้ งอาศยั หนังสือแตช่ ้ ตี รงไปยงั จติ ของมนุษย์ ใหเ้ ห็นแจง้ ในภาวะท่ีแทจ้ ริงแลว้ บรรลุเป็ นพทุ ธะ ความแตกตา่ งกนั ระหวา่ งรินไซเซน กบั โซโตะเซน คือ รินไซเซน อาจารยผ์ ูส้ อนจะใช้ วิธีรุนแรงต่างๆ ปลุกลูกศิษยใ์ หต้ ่ืนเพื่อความรูแ้ จง้ เช่น ถ่ายทอดธรรมดว้ ยการ ตะโกนใส่ลูกศิษยบ์ า้ ง ใชไ้ มเ้ ทา้ ตีขณะนัง่ วปิ ัสสนาบา้ ง ส่วนโซโตะเซนอาจารยจ์ ะฝึก ใหล้ ูกศิษยม์ องความจริงจากแง่มุมต่างๆ ใหเ้ ห็นวา่ แต่ละมุมลว้ นมีเอกภาพเดียวกัน ไมอ่ าจแยกขาดจากกนั ๓. นิกายนิชิเร็น เป็ นนิกายท่ียึดพระสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็ นแม่บทโดย พระนิชิเร็นเป็ นผูก้ อ่ ต้งั ข้ ึน ท่านเกิดวนั ท่ี ๑๖ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.๑๗๖๕ และอุปสมบท เมื่ออายุได้ ๑๖ ปี หลงั จากศึกษาพระธรรมมาเป็ นเวลา ๑๐ ปี แลว้ ท่านไดข้ อ้ สรุปวา่ คาสอนของพระสทั ธรรมปุณฑรกิ สูตรน้ ีเท่าน้ันถูกตอ้ งแทจ้ ริง จากน้ันจึงเร่ิมเผยแผ่คาสอน หลักปฏิบัติของนิกายน้ ีไม่ซบั ซอ้ น เพียงแต่มี ศรัทธามัน่ คงแลว้ กล่าวนมัสการว่า นะมุ เมียวโฮ เรงเง เคียว ซึ่งแปลว่า ขอนอบ

๑๒๐ น้อมแด่สทั ธรรมปุณฑริกสูตร โดยขณะกล่าวตอ้ งตระหนักวา่ ตนเองมีพุทธภาวะอยู่ ในตวั แลว้ จะสามารถกาจดั สกั กายทิฏฐิและบรรลุธรรมได้ นิชเิ ร็นเป็ นคนหวั รุนแรง เผยแผค่ าสอนโดยวธิ ีโจมตีตา่ งนิกาย เขาด่าโฮเน็น ผูก้ ่อต้ัง นิกายสุขาวดีว่าเป็ นสัตว์นรก การกล่าว นัมบู อมิดา บุตสึ ของนิกาย สุขาวดีก็เป็ นทางไปสู่นรก อีกท้งั ชอบวพิ ากษ์วิจารณ์รฐั บาล เขาเขียนเสนอโครงการ ปกครองประเทศใหร้ ฐั บาล และพยากรณ์วา่ ถา้ รฐั บาลไม่ทาตามเขาจะมีมหนั ตภยั มาสู่ประเทศ นิชิเร็นจึงมีคนเกลียดชงั มาก เขาถูกเนรเทศ ๒ คร้งั ถูกทารา้ ยถึง ๒ คร้งั แต่ก็รอดตายมาไดท้ ุกคราว ยุคสงครามกลางเมือง หลังจากที่โชกุนตระกูลแรกคือมินาโมโตปกครอง ประเทศมาได้ ๒๘ ปี อานาจจึงเร่ิมเปลี่ยนมือ คือในปี พ.ศ.๑๗๕๖ อานาจที่แทจ้ ริง เปล่ียนไปยงั ตระกูลโฮโจ ซง่ึ เป็ นตระกูลทางภรรยาของโยรโิ มโต การฟ้ ื นฟูอานาจการปกครองโดยจักรพรรดิมีข้ ึนในช่วงส้ันๆ คือต้ังแต่ปี พ.ศ.๑๘๗๖ - ๑๘๘๑ หลังจากน้ันรัฐบาลโชกุนหรือรัฐบาลทหารชุดใหม่ก็ได้ สถาปนาข้ ึนอีก โดยตระกูลอาชิคางะ ท่ีมุโรมาจิ ในกรุงเกียวโต หลังจากปกครอง ประเทศมาได้ ๒๐๐ กว่าปี ก็เกิดสงครามกลางเมืองข้ ึนระหว่างผูน้ าทหารแต่ละ ตระกูล ในคร้ังน้ันมีนักรบผูห้ น่ึงชื่อ โอดะ โนบุนากะ (Oda Nobunaga) ฝึ กให้ ทหารของเขาใชอ้ าวุธปื นที่พอ่ คา้ โปรตุเกสนามาขายในปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ จึง ทาใหก้ องทพั แข็งแกรง่ และสามารถปราบหวั เมอื งต่างๆ ลงได้ ชว่ งสงครามกลางเมืองน้ ีส่งผลกระทบต่อพระพุทธศาสนาอยา่ งรา้ ยแรงมาก พระภิกษุถึงกับตอ้ งจบั อาวุธข้ ึนต่อสูก้ ับเหล่าทหาร โดยมีสานักสงฆ์นิกายเทนได แห่งภูเขาฮิเออิเป็ นศูนยก์ ลางของกองทัพ โอดะ โนบุนากะ สงั่ การใหก้ องทหารกว่า ๓๐,๐๐๐ นาย เขา้ โอบลอ้ มเทือกเขาฮิเออิแลว้ ตีโอบตะลุยข้ ึนไปยงั วดั ซากาโมโตะ สงั่ ใหฆ้ ่าพระทุกรูปและชาวบา้ นทุกคนบนเทือกเขาไม่เวน้ แมแ้ ต่ผูห้ ญิงและเด็กทารก ใหเ้ ผาวัดและบา้ นเรือนทุกหลังจนวอดวาย จากน้ัน ใหท้ หารบุกเผาวดั อ่ืนๆ อีก ประมาณ ๓,๐๐๐ วดั ที่มที ีท่าวา่ จะกอ่ การกบฏตอ่ เขา หลงั จากปราบกองทพั พระสงฆล์ งไดร้ าบคาบแลว้ โอดะ โนบุนากะสนับสนุน ใหม้ ิชชนั นารีชาวโปรตุเกสนาศาสนาคริสต์นิกายเยซูอิทมาเผยแผ่ จนไดร้ บั ความ นิยมอยา่ งรวดเร็ว แมต้ วั เขาเองก็เปลี่ยนไปนับถือครสิ ตศ์ าสนาดว้ ย โนบุนากะครอง

๑๒๑ อานาจอยู่ไดก้ ว่า ๔๘ ปี ก็ถูกอะเคจิ มิตสึฮิเดะ แม่ทัพคนสนิทสังหารในปี พ.ศ. ๒๑๒๕ เนื่ องจากแค้นใจที่ถูกโนบุนากะทาให้เขาได้รับความอับอายต่อหน้า นายทหาร แต่อะเคจิ มิตสึฮิเดะก็ถูกลอบสงั หารเช่นเดียวกันจากโทโยโทมิ ฮิเดโยชิ นายทหารคนสนิทอีกคนหนึ่งของโอดะ โนบุนากะ จากน้ัน โทโยโทมิ ฮิเดโยชิ ก็ไดส้ ืบทอดอานาจต่อจากโนบุนากะ รวมญี่ป่ ุน ใหเ้ ป็ นหนึ่งเดียวไดส้ าเร็จในปี พ.ศ.๒๑๓๓ ช่วงแรกเขาสนับสนุนนักสอนศาสนา ชาวตะวนั ตกเป็ นอยา่ งดี จนกระทงั่ วนั หน่ึงกะลาสีฝรงั่ พดู ในรา้ นเหลา้ วา่ รฐั บาลของ เขาอาศยั พวกบาทหลวงเป็ นแนวหน้า ในการล่าอาณานิคม ท่ีใดชาวพ้ ืนเมืองนับถือ คริสตศ์ าสนามาก ก็ชอื่ วา่ เป็ นเมอื งข้ ึนทางจิตใจ ถา้ เกิดสงครามข้ ึนแลว้ พวกเหล่าน้ ี จะเป็ นสายลบั ชว่ ยกองทัพใหเ้ ขา้ มาโจมตีบา้ นเมืองของตน เม่ือฮิเดโยชิทราบเร่ืองน้ ี จึงออกคาสงั่ กวาดลา้ งคริสตศ์ าสนาใหส้ ้ ินซาก ยุคปิ ดประเทศ หลงั จากฮิเดโยชิเสียชีวิตแลว้ โทะคุงะวะ อิเอะยะสุ ไดค้ รอง อานาจต่อโดยยา้ ยศูนย์กลางการบริหารแผ่นดินไปที่เมืองเอะโดะ (ปัจจุบันคือ โตเกียว) และไดต้ ้งั รฐั บาลโชกุนข้ ึนในปี พ.ศ.๒๑๔๖ รฐั บาลโทะคุงะวะปกครองญี่ป่ ุน อยู่ ๒๖๐ ปี ยุคน้ ียงั มีการติดต่อกับตะวนั ตกทางดา้ นการคา้ แต่ไดก้ าจดั นักบวช และคริสต์ศาสนิกชนอย่างรุนแรง เช่น ประหารชีวิต กาหนดโทษเผาท้ังเป็ นและริบ ทรพั ยผ์ ูน้ ับถือศาสนาคริสต์ ต่อมาไดข้ ับไล่ชาวตะวนั ตกออกจากประเทศ สัง่ หา้ ม ชาวต่างชาติทุกคนเขา้ ประเทศ ยกเวน้ กลุ่มที่ไดร้ บั อนุญาตบางกลุ่ม ต้งั แต่น้ันญี่ป่ ุน จึงเขา้ สู่ยุคปิ ดประเทศ สถานการณ์พระพุทธศาสนายุคน้ ีก็ซบเซา เพราะถูกรฐั บาล แทรกแซง และใหก้ ารสนับสนุนศาสนาขงจ้ ือแทน ยุคเมจิถึงปัจจุบัน ญ่ีป่ ุนปิ ดประเทศอยู่ประมาณ ๒๕๐ ปี เปิ ดประเทศอีก คร้ังหลังจาก การมาเยือนของสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ.๒๓๙๖ ยุคน้ ีระบบโชกุน อ่อนแอลงมากและส้ ินอานาจลงในสมยั พระจกั รพรรดิเมจิ (พ.ศ.๒๔๑๑ - ๒๔๕๕) สมยั น้ ีญี่ป่ ุนเจริญกา้ วหน้ามาก ดว้ ยระยะเวลาเพียง ๓๐ ปี แห่งการพัฒนาประเทศ ตามตะวนั ตก ญี่ป่ ุนไดก้ ลายเป็ นยุโรปแห่งตะวนั ออก มีกาลงั ทางเศรษฐกิจและทาง ทหารพรงั่ พรอ้ ม จนสามารถจมกองทพั เรอื รสั เซียในทะเลญี่ป่ ุนไดท้ ้งั กองทพั ยุคน้ ีลัทธิชินโตไดร้ บั ความนิยม เพราะคาสอนยกย่องพระจกั รพรรดิใหเ้ ป็ น อวตารของเทพเจา้ ส่วนพระพุทธศาสนากลับเสื่อมโทรม มีการหา้ มต้ังนิกายใหม่

๑๒๒ หา้ มสรา้ งวดั เพิ่ม พิธีกรรม ความเชื่อและวตั ถุท่ีเคารพในพระพุทธศาสนาถูกยกเลิก จากพระราชสานักท้งั หมด ประกาศให้ ยดึ วดั มาสรา้ งเป็ นโรงเรียน โรงงาน บงั คบั ให้ ชีไปมี สามี ด้วยแรงกดดันน้ ี ท าให้พุ ทธบริษั ท มีความต่ื นตัวและปฏิ รูป พระพุทธศาสนาเพ่ือความอยรู่ อดดงั น้ ี ๑.สรา้ งโรงเรียนข้ ึนในวดั ใหญๆ่ บางวดั และสรา้ งวทิ ยาลยั อาชวี ะชน้ั สูงดว้ ย ๒.สรา้ งมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาข้ ึน โดยรวบรวมทุนจากวดั ใหญ่ๆ หลายวัด หรือรวบรวมทุ นระหว่างนิ กาย เช่น นิ กายเท็ นไดกับนิ กายชิน มหาวิทยาลัยของญี่ป่ ุนที่สรา้ งโดยทุนของพระพุทธศาสนายุคน้ันมี ๑๓ แห่ง เช่น มหาวทิ ยาลยั โอตานิ ๓.บาเพญ็ งานดา้ นสาธารณกุศล ดว้ ยการสรา้ งโรงพยาบาล สถานสงเคราะห์ คนทุพพลภาพ สถานสงเคราะหเ์ ยาวชน องคก์ รจดั หางานใหแ้ ก่คนตกงาน วดั ใหญ่ๆ หลายวดั รวมทุนกันสรา้ งบริษัทการคา้ โรงงานอุตสาหกรรม เม่ือไดก้ าไรมาแลว้ ก็ นามาใชจ้ า่ ยเพอ่ื ประโยชน์ของพระพุทธศาสนา ๔.ส่งเสริมการค้นควา้ ทางพระพุทธศาสนาอย่างกวา้ งขวาง จัดพิมพ์ พระไตรปิ ฎกฉบับท่ีมีช่ือเสียงที่สุดในโลก คือ ฉบับไทโช ตีพิมพ์หนั งสือ พระพุทธศาสนาจานวนมาก ปี ละหลายลา้ นเล่ม ความรูท้ างพระพุทธศาสนาของ ญ่ีป่ ุนจงึ กา้ วหน้ามาก เม่ือมีการปฏิรูปเช่นน้ ี ทาใหฐ้ านะพระพุทธศาสนาฟ้ ื นตัวอย่างรวดเร็ว จน รฐั บาลไมก่ ลา้ แตะตอ้ งกิจการภายใน ในท่ีสุดการคุกคามพระพุทธศาสนาจึงยุติไป โดยปริยาย และหลงั จากญ่ีป่ ุนแพส้ งครามโลกคร้งั ท่ี ๒ นายพลแมคอาเธอร์ สงั่ ยุบ ศาสนาชินโต เพราะถือเป็ นศาสนาเพาะวญิ ญาณสงคราม จึงทาใหพ้ ระพุทธศาสนา หมดคู่แข่งอยา่ งเป็ นทางการไปหนึ่งศาสนา ซึ่งไดต้ ่อสูท้ างอุดมการณ์กนั มายาวนาน นับพนั ปี ถึงแมจ้ ะไมอ่ าจลบเลือนไปจากจิตวญิ ญาณของชาวญ่ีป่ ุนไดเ้ สียทีเดียว ทุกวนั น้ ีคู่แข่งใหม่ที่น่ากลวั กวา่ ชินโตมากคือ วฒั นธรรมตะวนั ตก ที่นับวนั จะหลงั่ ไหลเขา้ ไปยงั ญี่ป่ ุนมากข้ ึนเร่ือยๆ วฒั นธรรมเหล่าน้ ีส่งเสริมใหค้ นติดในวตั ถุ ความสะดวกสบายและสนุกสนานเพลิดเพลินจนละท้ ิงศาสนา เยาวชนทัว่ โลกไม่ใช่ เฉพาะญี่ ป่ ุนให้เวลากับการคุยโทรศัพท์มื อถือ เล่นอินเทอร์เน็ ต เล่มเกม คอมพิวเตอร์ เดินเท่ียวหา้ งสรรพสินคา้ มากกวา่ เวลาอ่านหนังสือ หลายต่อหลาย

๑๒๓ คนเล่นเกมจนไมไ่ ดห้ ลบั ไม่ไดน้ อน จนมีข่าวเด็กช็อกตายหน้าจอคอมพิวเตอรใ์ หไ้ ด้ ยินอยู่บ่อยๆ แลว้ เยาวชนยุคน้ ีจะเอาเวลาท่ีไหนมาสนใจพระพุทธศาสนาเพราะ แมแ้ ตเ่ วลานอนยงั ไมม่ ี ปัจจุบันชาวญี่ป่ ุนยังนับถือพระพุทธศาสนาควบคู่กับศาสนาชินโต โดย พระพุทธศาสนา แบ่งออกเป็ นหลายนิกาย นิกายท่ีสาคญั มี ๕ นิกาย คือ ๑. นิกายเทนได หรอื เทียนไท้ หรือสทั ธรรมปุณฑริก พระไซโจเป็ นผตู้ ้งั โดย ต้งั ชอื่ นิกายตามช่อื ภูเขาเทียนไทใ้ นประเทศจนี ซ่ึงเป็ นสานักที่ท่านไปศึกษา ๒. นิกายชินงอน หรือตันตระ พระคูไคเป็ นผูต้ ้งั ในเวลาใกลเ้ คียงกบั นิกาย เทนได นิกายน้ ียึดคัมภีรม์ หาไวโรจนสูตรเป็ นหลัก ถือว่าพระไวโรจนพุทธเจา้ เป็ นท่ีเคารพสูงสุด นอกจากน้ ี นิกายน้ ียงั ประสานคาสอนเขา้ กบั ลทั ธิชินโต สามารถ ยบุ วดั ชนิ โตเป็ นวดั ชินงอนไดห้ ลายวดั ๓. นิกายโจโด หรือสุขาวดี โฮเน็นเป็ นผูต้ ้งั นิกายน้ ีสอนวา่ สุขาวดีเป็ นแดน อมตสุข จะไปถึงไดด้ ว้ ยการออกพระนามพระอมติ าภพุทธะ โจโดยงั มนี ิกายยอ่ ยอีก มาก เชน่ โจโดชิน หมายถึง สุขาวดีแท้ ต้งั โดยชินแรน มีคติวา่ \"ฮิโชฮิโชกุ ไม่มีพระ ไม่มีฆราวาส\" ทาใหพ้ ระในนิกายน้ ีมีภรรยาได้ ฉันเน้ ือได้ มีความเป็ นอยู่คลา้ ย ฆราวาส ๔. นิกายเซน หรือฌาน นิกายเซนเน้นการปฏิบตั ิสมาธิและวปิ ัสสนาเพ่ือให้ เขา้ ถึงฌานท่ีเรียกว่า ซาเซน นิกายน้ ีคนช้ันสูงและพวกนักรบนิยมมาก เซนมี นักวิชาการคนสาคัญคือ ดร.ดี ที ซูสุกิ (พ.ศ.๒๔๓๓-๒๕๐๙) เป็ นผูบ้ ุกเบิกเผยแผ่ เซนใหเ้ ป็ นท่ีรจู้ กั ในตะวนั ตก ดว้ ยการแต่งตาราและแปลคมั ภีรเ์ ป็ นภาษาองั กฤษ ๕. นิกายนิชิเร็น พระนิชิเร็นเป็ นผูต้ ้งั นิกายน้ ีนับถือสทั ธรรมปุณฑริกสูตร อยา่ งเดียว โดยภาวนาวา่ นะมุ เมียวโฮ เรงเง เคียว (นโม สทธมมปุณฑริก สุตตสส แปลวา่ ขอนอบน้อมแด่ สทั ธรรมปุณฑรกิ สูตร) เม่ือเปล่งคาน้ ีออกมาดว้ ยความรสู้ ึก วา่ มีธาตุพทุ ธะอยใู่ นใจ ก็บรรลุ โพธิญาณได้ โซกะ กคั ไค (Soka Gakkai) เป็ นนิกายที่ใหญ่ที่สุดและมีอิทธิพลมากที่สุดใน สายนิชิเร็น ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า ๑๒ ลา้ นคนใน ๑๙๐ ประเทศทัว่ โลก โดยมี ได ซาขุ อิเคดะ เป็ นผนู้ าองคก์ ร โซกะ กคั ไค แปลวา่ สมาคมสรา้ งสรรคค์ ุณคา่

๑๒๔ การเผยแผ่ของนิกายน้ ีใชย้ ุทธวิธี ชากุบุกุ แปลว่า ทาลายแลว้ ครอบครอง หมายความว่าทาใหม้ องเห็นขอ้ ผิดพลาดในหลักคาสอนเก่าจนไม่เชื่อถือแลว้ ให้ เปล่ียนมานับถือนิกายนิชิเร็น วิธีเขา้ นิกายน้ ีคือ ทาลายรูปเคารพในศาสนาหรือ นิกายเดิมของตนแลว้ ไปเขา้ วดั ที่อยู่ใกล้ เพื่อทาพิธีประมาณ ๒๕ นาที พรอ้ มรับ มอบโงฮอนวอน มาต้งั บูชาที่บา้ นตน และสวด นะมุ เมียวโฮ เรงเง เคียว ทุกวนั ตอน เชา้ ๕ คร้งั ตอนคา่ ๓ คร้งั การบรหิ ารของสมาคมเน้นความเป็ นทีม สมาชกิ ตอ้ งเป็ นหน่ึงเดียวไมม่ ีการ โตแ้ ยง้ หมู่คณะจะเขม้ แข็งมัน่ คงได้ดว้ ยศรัทธาเป็ นฐานและเป็ นจุดศูนย์รวม บุคคลเป็ นเพียงส่วนประกอบและมีความหมายเพียงช่วยใหเ้ กิดการกระทาของ ส่วนรวม นิกายน้ ีจะสรา้ งรฐั ซอ้ นข้ ึนในรฐั โดยสมาชิกประมาณ ๒๐-๓๐ ครอบครวั รวมกนั เป็ น กลุ่มเรียกวา่ Squad ถา้ รวมได้ ๖ Squad เรียกวา่ Company ถา้ รวมได้ ๑๐ Company เรียกว่า District ถ้ารวมหลายๆ District เรียกว่า Religion Chapter หรือภาค แต่ละหน่ วยเหล่าน้ ี มีการประชุมกันเป็ นประจาเพื่อแลกเปล่ียน ประสบการณท์ างศาสนาซ่ึงกนั และกนั ในดา้ นเยาวชนมีการสอนธรรมภาคฤดูรอ้ น แจกตาราเก่ียวกับหลักธรรม ของนิกาย และจดั สอบประจาปี เมือ่ สอบไดก้ ็รบั คุณวุฒิตามลาดบั ช้นั ปัจจุบัน โซกะ กคั ไค มีบทบาทสาคญั ในการเมืองญี่ป่ ุน เพราะมีบุคคลช้นั นาของนิกายน้ ีเป็ นเลขาธิการพรรคการเมอื งช่ือ พรรคโกเมอิโต โดยมีนโยบายที่เป็ น ประชาธิปไตยแบบพระพุทธศาสนา พรรคน้ ีขยายตวั อยา่ งรวดเร็วจนมีอิทธิพลเป็ น อนั ดบั สามของประเทศ ๓) ประเทศทิเบต ทิเบต (Tibet) ต้ังอยู่บนเทือกเขาหิมาลัยเป็ นท่ีราบสูงท่ีสูงที่สุดในโลกจน ไดร้ บั ฉายาวา่ หลงั คาโลก ปัจจุบนั ทิเบตเป็ นเขตปกครองพิเศษของจีน หลงั จากถูก ยึดครองในปี พ.ศ.๒๔๙๔ องค์ทะไล ลามะ เท็นซิน กยตั โซ ผูน้ าทิเบตจึงเสด็จล้ ีภัย ไปต้งั รฐั บาลพลดั ถิ่นอยู่ ณ ธรรมศาลา ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยมชี าวทิเบตประมาณ ๘๐,๐๐๐ คนติดตามไปดว้ ย

๑๒๕ ในอดีตก่อนการยึดครองของจีน ทิเบตไดร้ บั ฉายาว่า \"แดนแห่งพระธรรม\" (Land of Dharma) ปัจจุบันก็ยงั หลงเหลือภาพน้ ีอยู่ แมจ้ ะมวั หมองไปมากหลงั จาก เป็ นเมืองข้ ึนของจีน ชาวทิเบตนิยมบวชเป็ นพระภิกษุ เฉพาะในลาซา เมืองหลวง ของทิเบต มีพระอยู่ถึงคร่ึงหน่ึงของพลเมืองท้ังหมด นอกเมืองหลวงก็มีอยูจ่ านวน มาก แต่ละวดั มีพระอยหู่ ลายพนั รูป เช่น วดั เซรา มี ๗,๐๐๐ รูป วดั ไคปุงมี ๕,๐๐๐ รปู วดั กนั ดนั มี ๓,๐๐๐ รูป เป็ นตน้ ชาวทิเบตถือวา่ ๓ วดั น้ ีเป็ นประดุจเสาค้าชาติ ๓ ตน้ เหตุที่กุลบุตรออกบวชกนั จานวนมาก เพราะทิเบตมีวฒั นธรรมอยา่ งหนึ่งคือ แต่ ละครอบครวั จะตอ้ งอุทิศบุตรชายอยา่ งน้อย ๑ คน ใหบ้ วชเป็ นพระตลอดชวี ติ ศาสนาในทัศนะของชาวทิเบต ไม่ใช่เป็ นเพียงกฎเกณฑท์ ่ีใหค้ นคอยปฏิบัติ ตาม แต่ศาสนาเป็ นส่วนหนึ่งของวถิ ีชีวิต ผสมผสานอยใู่ นชีวิตประจาวนั ของพวกเขา ดังท่ีท่านสังฆรกั ขิตะกล่าวว่า พระพุทธศาสนาในทิเบตคือวิถีชีวิต ท้ังชีวิตของชาว ทิเบตคือพระพุทธศาสนา สภาพแวดลอ้ มคือพระพุทธศาสนา ทุกอณูของพ้ ืน แผน่ ดินทิเบต เราจะเหน็ เฉพาะภาพพระพทุ ธศาสนา ชาวทิเบตใหค้ วามสาคญั กับการสวดมนตม์ าก โดยเฉพาะบทสวดท่ีชาวโลก คุน้ เคยกนั ดี คือ โอม มณี ปัทเท หุม อนั เป็ นมนต์ หรือมนั ตระแหง่ ความกรุณา พวก เขาเช่ือว่าถา้ สวดไดถ้ ึง ๖๐๐,๐๐๐ จบ จะทาใหบ้ รรลุพระนิพพาน แต่ละคนจะมี ลูกประคา ๑๐๘ ลูกประจาตัว เพ่ือเป็ นอุปกรณ์ช่วยในการสวดมนต์ อิทธิพลของ พระพุทธศาสนาทาใหช้ าวทิเบตมีนิสัยอ่อนน้อม ฉายภาพแห่งความเมตตากรุณา ออกมาตลอดเวลา ท้ังๆ ที่ในอดีตชาวทิเบตมีนิสยั โหดรา้ ย บางครง้ั ถึงกบั กินเน้ ือคน เลยทีเดียว ในสมัยพุทธกาล ทิเบตเป็ นดินแดนส่วนหนึ่งของอินเดีย อยู่ในอาณาเขต แควน้ โกศล ป่ ามหาวนั ท่ีอยู่ใกลก้ รุงกบิลพัสดุ์ มีบริเวณดา้ นเหนือครอบคลุมถึง ภูเขาหิมาลยั ซ่ึงเป็ นท่ีต้งั ของทิเบตในปัจจุบนั พระพุทธองคท์ รงแสดงมหาสมยสูตร และมธุปิ ณฑิกสูตร ณ ป่ ามหาวนั ดังน้ันพระพุทธศาสนาจึงเขา้ สู่ทิเบตต้ังแต่สมัย พุทธกาลแลว้ ต่อมาสมยั พระเจา้ อโศกมหาราชทรงส่งสมณทูต ๙ สายไปประกาศ พระศาสนา โดยสายของพระมัชฌิ มเถระและคณะได้เดินทางมาประกาศ พระพุทธศาสนา ณ บรเิ วณเทือกเขาหิมาลยั น้ ี

๑๒๖ ต่อมาปี พ.ศ.๙๗๖ กษัตริย์ลาโธ โธรี เย็นเซ (พ.ศ.๙๐๐ - ๑๑๐๐) ไดร้ บั เครื่องบรรณาการจากตัวแทนอินเดีย อนั มีคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาและพระพุทธรูป ดว้ ย พระองค์จึงเป็ นกษัตริย์ทิเบตพระองค์แรกที่นับถือพระพุทธศาสนา ช่วงน้ ี พระพุทธศาสนายงั ไม่แพร่หลายเพราะลทั ธิบอน อันเป็ นความเชื่อด้งั เดิมของชาว ทิเบตยงั มีอิทธิพลอยมู่ าก เมื่อพระเจา้ ซองเซน กัมโป ข้ ึนครองราชย์ (พ.ศ.๑๑๖๐ - ๑๒๔๑) ทรงทา สงครามกบั จีนและตีเมืองเสฉวนได้ พระเจา้ ถังไท่จงฮ่องเตจ้ ึงปรารถนาจะผูกมิตร กับทิเบตดว้ ยการยกเจา้ หญิงในราชสกุลองค์หนึ่งพระนามว่า บุน้ เซง้ กงจู้ ใหเ้ ป็ น มเหสีของพระเจา้ ซองเซน กมั โป ต่อมาเม่ือทิเบตรุกรานเนปาล กษัตริยเ์ นปาลจึงขอ ผูกไมตรีดว้ ยการยกพระธิดาชื่อ กฤกุฏีเทวี ใหเ้ ป็ นมเหสีของพระองคเ์ ช่นกัน ราช ธิดาท้งั สองไดอ้ ญั เชิญพระพุทธรูปและคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาเขา้ ไปในทิเบตดว้ ย ท้งั สองพระองคไ์ ดช้ กั จงู ใหพ้ ระสวามนี ับถือพระพทุ ธศาสนา พระเจา้ ซองเซน กมั โปทรงส่งท่ีปรึกษาราชสานักคนสาคญั ชื่อ ทอนมี สมั โภ ตะ พรอ้ มคณะอีก ๑๒ คน ไปศึกษาพระพุทธศาสนา ณ มหาวิทยาลัยนาลันทา ประเทศอินเดีย ทอนมี สมั โภตะและคณะไดน้ าอกั ษรสันสฤตมาเป็ นตน้ แบบในการ ประดิษฐอ์ กั ษรและไวยากรณ์ภาษาทิเบตข้ ึน และไดแ้ ปลคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาจาก ภาษาสันสกฤตเป็ นภาษาทิ เบตด้วย หลังจากน้ั นชาวทิ เบตจึงได้ศึกษา พระพุทธศาสนากันอย่างกวา้ งขวาง ในปี พ.ศ.๑๑๗๓ พระเจา้ ซองเซน กัมโป ประกาศใหพ้ ระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติ และทรงสรา้ งพทุ ธสถานท่ีสาคญั หลายแหง่ เชน่ พระราชวงั โปตาลา และวดั โจคงั เป็ นตน้ หลงั จากรชั สมยั พระเจา้ ซองเซน กัมโปแลว้ ลัทธิบอนกลับมามีอิทธิพลอีก คร้งั ไดข้ ่มพระพุทธศาสนาโดยอา้ งฤทธ์ิเดชต่างๆ ของลทั ธิตน จนกระทงั่ พระเจา้ ธริ ซอง เดทเซน ข้ ึนครองราชย์ (พ.ศ.๑๓๓๓ - ๑๔๐๑) พระองคท์ รงอาราธนาพระคุรุ ปัทมสัมภวะ แห่งลัทธิมนตรยาน ผูร้ ูเ้ วทมนตรม์ ากใหม้ าปราบลัทธิบอน ท่านคุรุ ปัทมสัมภวะใชเ้ วลา ๑ ปี กว่า จึงปราบไดห้ มดแลว้ ต้ังนิกายเนียงม่า (Nyiangma) หรือนิ กายหมวกแดง และสร้างวัดสัมเยข้ ึนเป็ นศูนย์กลางในการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา

๑๒๗ นอกจากน้ ี พระเจา้ ธริซอง เดทเซนยงั นิมนต์พระนิกายสรวาสติวาทมา ๑๒ รปู แลว้ คดั เลือกชาวทิเบตใหม้ าบรรพชาอุปสมบท ๕ คน ต่อมามีชาวทิเบตอีก ๓๐๐ คน ท้ังชายและหญิงมาบรรพชาอุปสมบทดว้ ย พระเจา้ ธริซอง เดทเซนทรงตรา กฎหมายใหม้ กี ารสนับสนุนดา้ นต่างๆ แก่พระภิกษุสามเณร จึงเป็ นการวางรากฐาน อนั มนั่ คงใหแ้ กพ่ ระพทุ ธศาสนา พระเจา้ ธริ รลั ปาเชน (พ.ศ.๑๔๐๙ - ๑๔๔๔) ครองราชยเ์ ป็ นกษัตริยท์ ิเบต พระองค์ต่อมา ทรงมีพระราชศรทั ธาแรงกลา้ ในพระพุทธศาสนา ถึงกับสยายพระ เกศารองเป็ นอาสนะใหพ้ ระสงฆน์ ั่งลอ้ มแสดงธรรมถวายพระองค์ ทรงแต่งต้ังชาว พุทธใหด้ ารงตาแหน่งทางราชการเป็ นจานวนมาก และมีการลงโทษผูท้ ่ีไม่มีเคารพ พระสงฆด์ ว้ ย ทาใหพ้ วกลัทธิบอนหรือผูท้ ี่เสียผลประโยชน์ไม่พอใจมาก ดว้ ยเหตุน้ ี พวกน้ ีจึงลอบปลงพระชนมพ์ ระองคเ์ สีย พระพุทธศาสนารุ่งเรืองมายาวนานเพราะไดร้ บั การสนับสนุนจากกษัตริย์ ทุกพระองค์ท่ีผ่านมา แต่เม่ือพระเจ้าลัง ดาร์ม่า (พ.ศ.๑๔๔๔ - ๑๔๔๙) ข้ ึน ครองราชย์ พระองค์นับถือลทั ธิบอน จึงพยายามทาลายพระพุทธศาสนา บังคับให้ พระสงฆล์ าสิกขา พระภิกษุตอ้ งหลบออกไปอยูใ่ นชนบท ภิกษุรูปหนึ่งอดรนทนไม่ ไหวจากการกระทาของพระองค์ จึงแต่งตวั ดว้ ยชุดดา สวมหมวกสีดาเขา้ ไปปะปนกบั ชาวเมอื ง แลว้ ลอบปลงพระชนมพ์ ระเจา้ ลงั ดารม์ า่ เสีย ต่อมาในปี พ.ศ.๑๕๗๗ - ๑๕๘๑ ทิเบตไดอ้ าราธนาพระทีปังกรศรีชญาณ อธิการบดีมหาวิทยาลยั วกิ รมศิลาแหง่ อินเดีย ใหม้ าช่วยปฏิรูปพระพุทธศาสนาและ ก่อต้งั นิกายลามะ (Lamaism) ในทิเบต พุทธศตวรรษท่ี ๑๖ น้ ีมีการส่งคนไปศึกษา พระพุทธศาสนาที่มหาวิทยาลัยนาลันทามาก มีการแปลคัมภีร์เป็ นภาษาทิเบต สรา้ งวดั และนิมนต์นักปราชญ์อินเดียไปทิเบตหลายท่าน ทาใหพ้ ระพุทธศาสนา รุง่ เรอื งข้ ึนมาอีกครง้ั ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ท่านตสองขะปะไดส้ รา้ งวดั กันดัน ใกลก้ ับลาซา และต้งั นิกายเกลุกหรือนิกายหมวกเหลืองข้ ึน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อปฏิบัติวินัยให้ เคร่งครัดยิ่งข้ ึน เพราะลามะในนิกายเนียงม่าส่วนมากเลอะเทอะมีลูกมีเมียในวดั แต่นิกายเกลุกหา้ มเด็ดขาด นอกจากน้ ีท่านยงั รวบรวมคัมภีรท์ ี่ไดแ้ ปลเป็ นภาษา ทิเบตข้ ึน โดยแบ่งเป็ น ๒ หมวด คือ พุทธพจน์ ๑๐๐ เล่ม และอรรถกถา ๒๒๕ เล่ม

๑๒๘ คมั ภีรเ์ หล่าน้ ีเรียกวา่ พระไตรปิ ฎก หรือคมั ภีรพ์ ระพุทธศาสนาฉบบั ทิเบต ซ่ึงไดต้ ก ทอดมาจนถึงปัจจุบัน ลูกศิษยข์ องท่านตสองขะปะไดส้ รา้ งวดั ใหญ่ข้ ึน คือ วดั เซรา วดั ไคปุงและวดั ตชิลุมโป และท่ีสาคญั ท่านตสองขะปะยงั เป็ นผูร้ ิเร่ิมแนวคิดการสืบ ทอดอานาจโดยการกลบั ชาติมาเกิดดว้ ย กาเนิดองคท์ ะไล ลามะ ในชว่ งปลายพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ ตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒๒ อลั ตนั ข่านแหง่ มองโกลบุกยดึ ทิเบต และมโี อกาสไดพ้ บกบั โซนัม กยตั โซ ประมุข สงฆน์ ิกายเกลุก องคท์ ี่ ๓ อลั ตนั ข่านเกิดความเล่ือมใสย่งิ นักจึงถวายตาแหน่ง ทะเล ใหแ้ ก่ท่าน ชาวทิเบตออกเสียงว่า ทะไล (Dailai) โซนัม กยัตโซไดถ้ วายตาแหน่ง ทะไล ลามะ ยอ้ นหลงั ข้ ึนไปในสองชาติแรกของท่านดว้ ย ซึ่งก็คือประมุขสงฆน์ ิกายเก ลุกองคท์ ่ี ๑ และ ๒ นัน่ เอง ยุคของทะไล ลามะ องคท์ ี่ ๔ นิกายเกลุกก็เจริญรุง่ เรือง เหมือนเดิม เพราะกองทหารมองโกลหนุนหลงั อยู่ สมยั ทะไล ลามะ องค์ท่ี ๕ โลซงั กยตั โซ (พ.ศ.๒๑๕๘ - ๒๒๒๓) การเมือง ในทิเบตปั่นป่ วน เกิดการแยง่ ชิงบลั ลงั กก์ นั ในนครลาซา กุชรีข่าน ผูน้ ามองโกลจึง เขา้ มาชว่ ยปราบปราม จากน้ันจึงมอบอานาจการปกครองท้ังฝ่ ายอาณาจกั รและศา สนจกั รใหแ้ กท่ ่านโลซงั กยตั โซ ทะไล ลามะ องค์ที่ ๕ จงึ เป็ นจุดเร่ิมตน้ ระบอบการ ปกครองที่มีพระเป็ นผูน้ าสูงสุดของประเทศ ท่านโลซัง กยตั โซ ทรงทาใหช้ าวมอง โกลเป็ นพุทธศาสนิกชนท้ังประเทศ และทรงสรา้ งต่อเติมพระราชวงั โปตาลาให้ ใหญ่โตกวา่ เดิม องค์ทะไล ลามะในปัจจุบัน เป็ นองค์ท่ี ๑๔ พระนามว่า เท็นซิน กยัตโซ พระองคท์ รงจดั ต้งั รฐั บาลพลดั ถ่ินอยู่ ณ ธรรมศาลา ประเทศอินเดีย เนื่องจากทิเบต ถูกกองทัพจีนยึดครองในปี พ.ศ.๒๔๙๔ พระองค์จึงเสด็จล้ ีภัยมาอยปู่ ระเทศอินเดีย ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ เหตุการณ์น้ ีทาใหท้ ิเบตและพระพุทธศาสนาแบบทิเบตเป็ นท่ีรูจ้ กั ไปทัว่ โลก โดยเฉพาะชาวตะวนั ตก ในสหรฐั อเมริกามีชาวพุทธทิเบตอยู่ประมาณ ๕,๐๐๐,๐๐๐ คน ส่วนใหญ่เป็ นนิกายหมวกเหลืองหรอื เกลุก องค์ทะไล ลามะ องคป์ ัจจุบันไดม้ าเยือนประเทศไทยในปี พ.ศ.๒๕๓๖ เพื่อ รบั รางวลั โนเบล สาขาสนั ติภาพ ซ่ึงจดั ข้ ึนท่ีประเทศไทย ในการน้ ีรฐั บาลจีนไดเ้ ตือน ประเทศไทยว่า ไม่ควรออกวีซ่าใหอ้ งค์ทะไล ลามะ เพราะว่าพระองค์เกี่ยวขอ้ งกับ กิจกรรมแบ่งแยกดินแดนจีนตลอดมา แต่รฐั บาลไทยก็ออกวีซ่าให้ โดยมีเหตุผลว่า

๑๒๙ เป็ นเมืองพุทธ ไม่มีเหตุอนั ควรที่จะสกดั ก้นั พระท่ีจะเขา้ ประเทศ นอกเสียจากมาก่อ เหตุรา้ ยเท่าน้ัน แต่ดว้ ยกระแสกดดนั จากจีนเมื่อองค์ทะไล ลามะเขา้ มาในประเทศ ไทยแลว้ ปรากฏวา่ ไม่มีวดั ไหนกลา้ ใหท้ ี่พกั แก่ท่าน ในคร้งั น้ัน หลวงพ่อปัญญานัน ทะ วดั ชลประทาน ไดอ้ าสาใหพ้ ระองคพ์ กั ท่ีวดั ท่าน แต่สุดทา้ ย วดั บวรนิเวศวิหารก็ ไดน้ ิมนต์ใหท้ ่านไปพกั ท่ีนั่นในฐานะเป็ นท่ีประทับของสมเด็จพระสังฆราชประมุข สงฆไ์ ทย ปัจจุบันพระพุทธศาสนามหายานในทิเบตเป็ นแบบวัชรยานหรือตันตระ โดยมนี ิกายสาคญั มี ๔ นิกาย คือ เนียงมา่ กาจู สกั ยะ และเกลุก ๑. นิ กายเนี ยงม่า ผู้ก่อต้ัง คือ คุรุปั ทมสัมภวะ ท่านแบ่งคาสอนใน พระพทุ ธศาสนาเป็ น นวยาน พระในนิกายน้ ีนิยมสวมหมวกสีแดง ๒. นิกายกาจู อาจารยท์ ุงโป ญาลจอร์ และมารป์ ะโชคี โลโด เป็ นผูก้ ่อต้งั โดย ยึดหลักคาสอนสายท้ัง ๔ ของตนั ตระคือ กายมายา การสืบทอดวิญญาณ ความฝัน และแสงสวา่ ง บางคร้งั นิกายน้ ีเรียกวา่ นิกายหมวกดา เพราะเวลาประกอบพิธีพระ นิกายน้ ีนิยมสวมหมวกสีดา ๓. นิกายศากยะ ก่อต้งั โดยท่านคอนจ็อก เจลโป มีคาสอนสาคญั คือ ธรรม ทอง ๑๓ ขอ้ และคาสอนลัมเดร (Lamdre) หลักแห่งมรรคและผล ซึ่งเป็ นการ รวมกันระหว่างบริสุทธ์ิและศูนยตา โดยสาระคือความแยกกันไม่ได้ระหว่าง สงั สารวฏั และนิพพาน พระในนิกายน้ ีนิยมสวมหมวกหลายสี ๔. นิกายเกลุก ผูก้ ่อต้ังนิกายน้ ี คือ อาจารยต์ สองขะปะ นิกายน้ ีมุ่งในดา้ น ความเคร่งครดั ทางวินัย การศึกษาพระสูตรและตันตระจะใชว้ ิธีการวิเคราะห์โดย ผ่านทางตรรกวภิ าษ พระในนิกายน้ ีนิยมสวมหมวกสีเหลือง พระราชวงั โปตาลา ตอนเริ่มตน้ สรา้ งเป็ นเพียงวงั เล็กๆ ต่อมามีการก่อสรา้ ง ต่อเติมข้ ึนเรื่อยๆ นับรอ้ ยปี จนเป็ นพระราชวงั ท่ีใหญ่โตมโหฬารมีพ้ ืนท่ีครอบภูเขาไว้ ท้ังลูก พระราชวงั โปตาลาเป็ นศูนยก์ ลางแห่งจิตวิญญาณชาวทิเบต หลังคาประดับ ดว้ ยกระเบ้ ืองทองคา และมีพระเจดีย์หุม้ ทองคาเรียงรายกันอยู่ช้ันบนสุด มีหอ้ ง ต่างๆ กวา่ ๑,๐๐๐ หอ้ ง เช่น หอ้ งประชุมรฐั สภา มีโซนมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ วทิ ยาลยั การแพทย์ ชาวทิเบตทุกคนท่ีเดินทางมาเยือนในวินาทีแรกที่เห็นยอดพุทธวิหาร ทองคาทุกคนจะคุกเข่าลงสวดมนต์

๑๓๐ วดั โจคัง เป็ นวดั แรกในทิเบต เป็ นสถานท่ีศักด์ิสิทธ์ิท่ีชาวทิเบตใฝ่ ฝันที่จะ จาริกไปแสวงบุญใหไ้ ดส้ ักคร้งั ในชีวิต พระเจา้ ซองเซน กัมโปทรงสรา้ งวดั โจคังข้ ึน เพื่อเป็ นท่ีประดิษฐานองค์พระประธานโจโวศากยมุนี พระพุทธรูปท่ีสาคัญท่ีสุดใน ทิเบต ได้รับการอัญเชิญมาโดยมเหสีชาวเนปาลของพระองค์ ปัจจุบันวัดโจคัง เจริญรุ่งเรืองมาก จะมีนักแสวงบุญนับ ๑,๐๐๐ คนกระทาประทักษิณและสวดมนต์ ทุกวนั ทุกเวลา ผูจ้ าริกแสวงบุญ แต่ละปี มีผูแ้ สวงบุญจานวนมากไปเยือนสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิ ตา่ งๆ ในทิเบตโดยเฉพาะพระราชวงั โปตาลา และวดั โจคงั สาหรบั ชาวทิเบตแลว้ การ จาริกแสวงบุญไปยงั วดั โจคังถือเป็ นความปรารถนาสูงสุดและตอ้ งเดิมพันกันดว้ ย ชีวิตทีเดียว เพราะชาวทิเบตจานวนมากใชว้ ธิ ีเดินทางไปดว้ ยเทา้ และมีจานวนไม่ น้อยที่ตอ้ งจบชีวิตลงก่อนจะถึงวดั โจคงั เพราะไม่อาจทนต่อสภาพอากาศท่ีโหดรา้ ย ได้ โดยเฉพาะอากาศอนั หนาวเยน็ ตา่ กวา่ จุดเยอื กแข็ง บางคร้งั ติดลบถึง ๔๐ องศา เสน้ ทางแห่งการหยงั่ รู้ ดนั จู เป็ นหนึ่งในนักเดินทางแสวงบุญน้ ี จุดมุ่งหมาย ของเขานอกจากสรา้ งบุญใหก้ ับตนเองแลว้ ดันจูออกจาริกเพ่ือไถ่บาปใหพ้ ่อที่ท้ ิง ครอบครวั ไปต้งั แต่เขายงั เด็ก เสน้ ทางกวา่ ๒,๐๐๐ กิโลเมตร ระหวา่ งชิงไฮ (Qinghai) บา้ นของเขาและวดั โจคงั คือ สิ่งทา้ ทายอนั ยงิ่ ใหญ่ โจมาและใบมา คือแมก่ บั น้องสาว ผูค้ อยดูแลเขาตลอดการเดินทาง ดนั จูท่องบทสวดมนตย์ า่ งเทา้ ไปขา้ งหน้าและนอน กราบเหยียดยาวบนหิน กรวด น้าแข็ง และหิมะตลอดการเดินทาง มีเพียงศรทั ธา เท่าน้ันที่ผลักดันเขาไปข้างหน้า ดังจูไม่ได้คิดถึงจุดหมายเลย เขานึ กถึงแต่ วตั ถุประสงคแ์ ละความหมายของแต่ละคร้งั ที่กม้ กราบลงบนถนน อนั เปรียบประดุจ เสน้ ทางแห่งการหยงั่ รู้ ระดับความสูงกว่า ๔,๐๐๐ เมตร และอุณหภูมิท่ีตา่ กว่าจุด เยือกแข็งไดท้ าใหท้ ุกคนอ่อนลา้ แต่ในท่ีสุดพวกเขาก็ทาสาเร็จหลงั จากเดินทางมาก วา่ ๒ ปี โจมาไดแ้ ต่นัง่ น้าตาไหลดว้ ยความปี ติเม่ือเห็นยอดพระราชวงั โปตาลาแห่ง นครลาซา ดันจูใชเ้ วลาท้ังวนั สวดมนต์และกราบพระพุทธรูปทุกองค์ในวดั โจคัง การกราบแต่ละคร้งั หมายถึงจุดส้ ินสุดแห่งการเดินทางอนั ยิ่งใหญ่ หลังจากพวกเขา กลบั ไปถึงหมู่บา้ นแลว้ คนท้ังหมู่บา้ นออกมาตอ้ นรบั ดว้ ยความปี ติ พระผูใ้ หญ่แห่ง วหิ ารซีในชงิ ไฮรบั ดนั จเู ป็ นลามะ ซงึ่ สิ่งน้ ีเป็ นความหวงั อนั สูงสุดในชวี ติ เขา

๑๓๑ ๓. พระพทุ ธศาสนาในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตไ้ ดแ้ ก่ประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย รวมท้ังประเทศท่ีเป็ นเกาะในทะเล ไดแ้ ก่ ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไนและติมอรต์ ะวนั ออก ประเทศท่ีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธในปัจจุบันคือ ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชาและพม่า ส่วนประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซยี และบรูไน จะนับถือศาสนาอิสลามเป็ นหลกั ประเทศฟิ ลิปปิ นสแ์ ละติมอร์ ตะวนั ออก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ประวตั ิศาสตรพ์ ระพุทธศาสนา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะกล่าวถึงประเทศที่สาคัญๆ ๖ ประเทศ คือ ไทย กมั พชู า อินโดนีเซยี ลาว พมา่ และเวยี ดนาม ดงั ตอ่ ไปน้ ี ๑. ประเทศไทย ประเทศไทยมีชื่อเป็ นทางการว่า ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นพระ ประมุข ไทยมีประชากรประมาณ ๖๒,๔๑๘,๐๕๔ คน (พ.ศ.๒๕๔๘) โดย ๙๕% นับ ถือพระพุทธศาสนาเถรวาท ๓% นับถือศาสนาอิสลาม และอีก ๒% นับถือศาสนา ครสิ ต์ พระพุทธศาสนาเขา้ มาสู่ไทยในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราชประมาณปี พ.ศ. ๒๓๖ โดยพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเป็ นผูน้ ามาเผยแผ่ยงั สุวรรณภูมิ ซ่ึงใน ขณะน้ันอาณาจักรไทยรวมอยู่ในดินแดนสุวรรณภูมิด้วย สุวรรณภูมิ แปลว่า แผน่ ดินทองคา ปัจจุบนั ยงั ช้ ีชดั ไมไ่ ดว้ า่ สุวรรณภูมอิ ยตู่ รงไหน นักโบราณคดีมที ศั นะ แตกตา่ งกนั ๔ กลุ่มใหญด่ งั น้ ี ๑. นักโบราณคดีกลุ่มอินเดีย ๙๐% เชื่อว่า สุวรรณภูมิ คือ แหลมมลายู ประกอบด้วยดินแดนส่วนใต้สุดของพม่า ภาคใต้ของไทยท้ังหมด คาบสมุทร มาเลเซีย และประเทศสิงคโปร์ ประวตั ิพ้ ืนเมืองกล่าวไวว้ ่า สมัยโบราณย่านน้ ีมี ทองคามาก เล่นพนันกนั โดยเอาทองออกประกนั เวลาชนไก่ก็เอาทองเท่าตวั ไก่เป็ น เดิมพนั ๒. กลุ่มอินเดีย ๑๐% เชื่อว่า สุวรรณภูมิ คือ ริมทะเลดา้ นตะวนั ออกของ อินเดียใต้ ๓. กลุม่ พมา่ เช่ือวา่ สุวรรณภูมิ ไดแ้ กต่ อนกลางและตอนใตข้ องประเทศพม่า

๑๓๒ ๔. กลุม่ ไทยเชื่อวา่ ศนู ยก์ ลางสุวรรณภูมิอยทู่ ่ีจงั หวดั นครปฐม อยา่ งไรก็ตาม สุวรรณภูมิมีขอบเขตกวา้ งขวาง สิริวฒั น์ คาวนั สา กล่าวไวว้ า่ มีชนเผ่า ต่างๆ หลายเผ่าอาศยั อยูใ่ นดินแดนแห่งน้ ี เช่น มอญ พม่า ละวา้ มลายู และขอม เป็ นตน้ อาณาจกั รทวารวดี หลกั จากที่บรรพบุรุษของไทยไดร้ บั พระพุทธศาสนาเถร วาทมาต้ังแต่ยุคของพระเจา้ อโศกมหาราชแลว้ ก็ได้รักษาสืบทอดกันเรื่อยมา จนกระทัง่ ถึงยุคของ อาณาจกั รทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓ ซึ่งมี ศนู ยก์ ลางอยทู่ ี่จงั หวดั นครปฐมในปัจจุบนั ในยุคน้ ีพระพทุ ธศาสนาเจรญิ รุง่ เรอื ง พบ โบราณวัตถุและโบราณสถานต่างๆ มากมาย เช่น พระพุทธรูปศิลาขาว พบท่ี นครปฐม ๓ องค์ อยุธยา ๑ องค์ และพบพุทธสถานโบราณหลายแห่งในนครปฐม โดยเฉพาะองคพ์ ระปฐมเจดีย์ อาณาจกั รศรีวิชยั อาณาจกั รที่อยูใ่ นช่วงเดียวกันกบั ทวารวดีคือ อาณาจกั ร ศรีวิชยั ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๙ ซึ่งมีอาณาบริเวณกวา้ งครอบคลุมปลาย แหลมมลายูและเกาะชวา ยังไม่พบหลักฐานระบุได้ชัดเจนว่าศูนย์กลางของ อาณาจกั รน้ ีอยู่ท่ีใด ดร.เวลล์ กล่าววา่ เมืองปาเลมบัง บนเกาะสุมาตราในประเทศ อินโดนี เซีย เป็ นเมืองหลวงของอาณาจักรศรีวิชัย ในขณะท่ีท่านพุทธทาสมี ความเห็นวา่ เมอื งหลวงของศรีวชิ ยั อยทู่ ่ีไชยา สุราษฎรธ์ านี มีการคน้ พบศิลาจารกึ ที่วดั เสมาเมือง จงั หวดั นครศรธี รรมราช ซึ่งบ่งบอกวา่ พระเจา้ กรุงศรีวิชยั เป็ นผูศ้ รทั ธาในพระพุทธศาสนามหายาน และพบหลกั ฐานในที่ อื่นๆ อีกมากมายในปี พ.ศ.๑๒๑๔ สมณะอ้ ีจิงเดินทางจากจีนมาเรียนหนังสืออยู่ที่ ศรีวิชยั ๖ เดือน จึงเดินทางต่อไปอินเดีย ท่านไดแ้ นะนาเพ่ือนภิกษุชาวจีนวา่ ก่อน จะไปชมพูทวีปควรจะไปศึกษาเบ้ ืองต้นท่ีศรีวิชัยก่อน เพราะเป็ นแหล่งศึกษา พระพุทธศาสนามหายานที่สาคญั และโดง่ ดงั เกือบจะทดั เทียมกบั อินเดีย อาณาจกั รลพบุรี ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๖ ราชวงศส์ ุริยวรมนั แห่ง กมั พชู าเจริญรุง่ เรือง ไดแ้ ผ่อาณาจกั รครอบคลุมมายงั ลุ่มแมน่ ้าเจา้ พระยาและลุ่มน้า มูล ไดม้ ีชยั ชนะเหนืออาณาจกั รทวารวดีและต้งั ราชธานีเพ่ืออานวยการปกครองข้ ึน ในเมืองต่างๆ เช่น เมืองลพบุรี สุโขทัย ศรีเทพ (เพชรบูรณ์) พิมาย และสกลนคร ในเมืองต่างๆ เหล่าน้ ี ลพบุรีหรือละโวเ้ ป็ นเมืองสาคัญท่ีสุด ลพบุรีได้รับเอา

๑๓๓ พระพุทธศาสนามหายานจากกัมพูชามาผสมผสานกับเถรวาทด้ังเดิมท่ีสืบต่อมา ต้งั แต่สมัยทวารวดี ในสมยั น้ ีมีการสรา้ งศาสนสถานมากมาย เช่น พระปรางคส์ าม ยอด ปราสาทหินพมิ าย และปราสาทหินเขาพนมรุง้ เป็ นตน้ อาณาจกั รสุโขทัย ประมาณปี พ.ศ.๑๘๐๐ หวั หน้าคนไทยกลุ่มหน่ึง คือ พ่อ ขุนบางกลางหาว ไดป้ ระกาศอิสรภาพขบั ไล่พวกขอมหรือกมั พชู าออกไป แลว้ ต้งั ราช ธานีข้ ึนท่ีกรุงสุโขทัย และไดส้ ถาปนาพระองคข์ ้ ึนเป็ นกษัตริยท์ รงพระนามวา่ พอ่ ขุน ศรีอินทราทิตย์ เป็ นปฐมกษัตริยข์ องสยามประเทศ ทางดา้ นศาสนาน้ันยุคน้ ีมีท้ัง ศาสนาพราหมณ์ พระพุทธศาสนามหายานและเถรวาทซ่ึงตกทอดมาจากอดีต แต่ พ่อขุนศรีอินทราทิตยท์ รงเคารพนับถือนิกายเถรวาทมากท่ีสุด ต่อมาประมาณปี พ.ศ.๑๘๒๒ พ่อขุนรามคาแหงเสด็จข้ ึนครองราชย์ เป็ นกษัตริย์องค์ ท่ี ๓ แห่งกรุง สุโขทยั ยคุ น้ ีมคี วามเจรญิ รุง่ เรอื งมากท้งั อาณาจกั รและพทุ ธจกั ร พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงอาราธนาพระสงฆ์จากนครศรีธรรมราชซึ่ง ไปรา่ เรียนมาจากลังกาใหม้ าเผยแผ่ที่กรุงสุโขทัย ซ่ึงต่อมาไดร้ ับความนิยมมาก คณะสงฆ์สมยั น้ันแบ่งเป็ น ๒ คณะ คือ คณะคามวาสี คือฝ่ ายคันถธุระหรือศึกษา ดา้ นปริยตั ิ และคณะอรญั วาสี คือ ฝ่ ายวิปัสสนาธุระหรือฝ่ ายที่เน้นบาเพ็ญสมาธิ ภาวนา ชาวสุโขทัยมีความศรทั ธาในพระพุทธศาสนามาก ดังขอ้ ความในศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ดา้ นที่ ๒ ตอนหน่ึงวา่ \"...คนในสุโขทัยน้ ีมักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามคาแหงเจา้ เมืองสุโขทัย ท้ังชาวแม่ ชาวเจา้ ท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจา้ ลูกขุนท้ังส้ ินท้ังหลาย ท้ัง ผหู้ ญิงผูช้ าย ฝูงท่วยมศี รทั ธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน เม่ือออก พรรษากรานกฐินเดือนหนึ่งจึงแลว้ เม่ือกรานกฐินมีพนมเบ้ ีย พนมหมาก มีพนม ดอกไม้ มีหมอนนัง่ หมอนนอน บรพิ ารกฐินโอยทานแลญิบลา้ น ไปสวดญตั ติกฐินถึง อรญั ญิกพนู้ ...\" พระพุทธศาสนายุคสุโขทัยน้ันรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยพระนัดดา (หลาน) ของพ่อขุนรามคาแหงคือ พระมหาธรรมราชาลิไท เสด็จข้ ึนครองราชยป์ ระมาณปี พ.ศ.๑๘๙๐ ทรงเป็ นกษัตริยอ์ งค์แรกที่รอบรูพ้ ระไตรปิ ฎกและภาษามคธ ทรงพระ ราชนิพนธ์วรรณคดีพระพุทธศาสนา เร่ืองไตรภูมิพระร่วง ซึ่งเป็ นวรรณคดีช้ ินแรก ของไทยในปี พ.ศ.๑๘๘๘ โดยอา้ งอิงจากคมั ภีรต์ ่างๆ ถึง ๓๔ เรื่อง ทรงสรา้ งเจดียท์ ี่

๑๓๔ นครชุม (เมืองกาแพงเพชร) สรา้ งพระพุทธชินสีห์ พระพุทธชินราชที่พิษณุโลก และ ในปี พ.ศ.๑๙๐๕ พระองคเ์ สด็จออกผนวช นอกจากน้ ีศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๕ กล่าวไวว้ า่ พระเจา้ ลิไททรงปรารถนาพุทธภูมิดว้ ยดงั ขอ้ ความวา่ \"จุงเป็ นพระพุทธ จุงจกั เอาฝูง สัตวท์ ้ังหลาย(ขา้ ม)สงสารทุกข์น้ ี\" เมื่อกษัตริย์ทรงมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา เช่นน้ ีจึงเป็ นเหตุใหป้ ระชาชนถือเป็ นแบบอย่างและเป็ นเหตุใหพ้ ระพุทธศาสนา เจริญรุง่ เรอื งมาก อาณาจกั รลา้ นนา ไดร้ บั การสถาปนาข้ ึนในปี พ.ศ.๑๘๔๐ โดยพระยามงั ราย ทรงเป็ นพระสหายสามเสา้ ระหว่างพ่อขุนรามคาแหงกับพระยางาเมืองแห่งเมือง พะเยา ทรงสรา้ งเมืองข้ ึนที่เชิงเขาเทวบรรพต (ดอยสุเทพ) ใหช้ ่ือวา่ นวปุรีศรีนคร พิงค์เชียงใหม่ พระพุทธศาสนาสมัยน้ันเป็ นนิกายเถรวาทเป็ นหลัก ซึ่งมีความ แพร่หลายเป็ นศาสนาประจาทอ้ งถิ่น ต่อมาเม่ือพระเจา้ ติโลกราชเสวยราชสมบัติ ระหวา่ งปี พ.ศ.๑๙๘๕ - ๒๐๒๐ ยุคน้ ีพระพุทธศาสนาเจริญท่ีสุดถือเป็ นยุคทองของ ลา้ นนา ในปี พ.ศ.๑๙๘๕ ทรงบวชพระชาวเชียงใหม่ ๕๐๐ รูป ทรงสังคายนา พระไตรปิ ฎกที่ลา้ นนา ซ่ึงถือเป็ นการสังคายนาคร้งั ที่ ๘ ผลการสงั คายนาคร้งั น้ ีทา ใหศ้ าสนาเขม้ แข็งและบา้ นเมืองเป็ นปึ กแผน่ ข้ ึน ต่อมาเม่ือพระเมืองแก้ว ซ่ึงเป็ นพระเจา้ หลานของพระเจา้ ติโลกราชข้ ึน ครองราชย์ ระหวา่ งปี พ.ศ.๒๐๓๘ - ๒๐๖๘ มีพิธีบวชนาคหลวงคร้งั ใหญ่คร้งั แรกใน ลา้ นนาถึง ๑,๒๐๐ กว่ารูป สมัยลา้ นนาพระสงฆ์แตกฉานในคัมภีรบ์ าลีและแต่ง ตาราเป็ นภาษาบาลีไวม้ ากกว่าสมัยใดๆ จานวนคัมภีร์ที่แต่งไวไ้ ม่ตา่ กว่า ๓๒ คัมภีร์ ตาราบางเล่มยังใช้เป็ นหลักสูตรของคณะสงฆ์มาถึงปั จจุบัน เช่น มงั คลัตถทีปนี ชินกาลมาลีปกรณ์ เป็ นตน้ แมแ้ ต่บทสวดพาหุง ท่ีใชอ้ ยูท่ ุกวนั น้ ี ก็ แต่งในยุคน้ ี พระลงั กาก็นาไปใชส้ วดจนถึงปัจจุบนั เชน่ กนั อาณาจักรอยุธยา พระเจา้ อู่ทองทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็ นราชธานี เม่ือวนั ท่ี ๓ เมษายน พ.ศ.๑๘๙๓ ซ่ึงขณะน้ันอาณาจกั รสุโขทัยเริ่มเสื่อมอานาจลง และในที่สุดไดเ้ ป็ นเมืองข้ ึนของอยุธยาในปี พ.ศ.๑๙๒๑ กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรือง ยาวนานถึง ๔๑๗ ปี มีกษัตริยป์ กครองสืบต่อกันมาถึง ๓๓ พระองค์ อยุธยาเป็ น เมืองที่อุดมสมบูรณ์ดว้ ยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ดังคากล่าวว่า \"ในน้ามีปลา ในนามี

๑๓๕ ขา้ ว\" ทัว่ ท้ังจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา มีวดั วาอาราม ปราสาท พระราชวงั ปูชนีย สถาน และปชู นียวตั ถุมากมาย พระเจา้ อู่ทองทรงสรา้ งวดั ข้ ึน ๒ วดั คือ วดั พุทธไธศวรรย์ และวดั ใหญ่ชัย มงคล พระพุทธศาสนาเจริญสูงสุดในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งเป็ น พระมหากษัตริยพ์ ระองค์ท่ี ๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงครองราชยร์ ะหว่างปี พ.ศ. ๑๙๙๑-๒๐๓๑ ทรงสรา้ งวดั และบูรณะวดั ต่างๆมากมาย ในปี พ.ศ.๒๐๐๘ พระองค์ เสด็จออกผนวช มีขา้ ราชการและบรมวงศานุวงศ์ออกบวชตามมากถึง ๒,๓๘๘ คน ซงึ่ เป็ นประดุจดงั่ การออกบวชของพระบรมโพธิสตั วท์ ้งั หลายในอดีต คร้นั ถึงรชั กาลพระรามาธิบดีที่ ๒ ทรงหล่อพระพุทธรูปสูงใหญ่ช่ือ พระศรี สรรเพชญ์ ดว้ ยทองคาหนัก ๕๓,๐๐๐ ชัง่ แลว้ หุม้ ดว้ ยทองคาอีก ๒๘๖ ชัง่ หรือ ๒๒,๘๘๐ บาท หลงั จากสมยั พระรามาธิบดีท่ี ๒ พระพทุ ธศาสนาก็ไดร้ บั การอุปถมั ภ์ จากพระมหากษัตริยเ์ รื่อยมาจนกระทัง่ ถึงรชั กาลของพระเจา้ ทรงธรรม กษัตริยอ์ งค์ ท่ี ๒๑ แห่งกรุงศรีอยุธยา ครองราชยใ์ นปี พ.ศ.๒๑๕๓ ก่อนเสวยราชสมบตั ิพระองค์ เคยออกผนวช เป็ นผูร้ อบรูใ้ นพระไตรปิ ฎก ต่อมาเม่ือเป็ นพระเจา้ แผ่นดินแลว้ ได้ เสด็จลงพระท่ีนัง่ จอมทอง ๓ หลงั เพื่อสอนพระบาลีแก่ภิกษุสามเณร ทุกวนั มีภิกษุ สามเณรไปเรียนกันจานวนมาก ในสมัยของพระองค์มีการส่งพระภิกษุไปเรียนที่ ลงั กาดว้ ย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๑ พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่กิจทางศาสนา เสด็จทรงบาตรทุกวนั ในสมยั น้ัน ชาติตะวันตกเขา้ มาล่าอาณานิคมในแถบเอเชีย ประเทศต่างๆ ตกเป็ นเมืองข้ ึน โดยมาก แต่ไทยรอดพ้นมาได้ท้ังดา้ นอาณาจักรและศาสนจักรด้วยพระปรีชา สามารถของกษัตริยใ์ นแต่ละสมัย คร้งั หนึ่งพระเจา้ หลุยส์ท่ี ๑๔ แห่งฝรงั่ เศส ส่ง พระราชสาส์นมาถึงพระนารายณ์มหาราช มีใจความว่า พระเจา้ กรุงฝรัง่ เศสขอ ชกั ชวนพระเจา้ กรุงศรีอยุธยาใหม้ าร่วมแผ่นดินเดียวกัน โดยขอใหพ้ ระองค์เปลี่ยน ศาสนามานับถือศาสนาเดียวกบั ฝรงั่ เศส... พระนารายณ์มหาราชทรงขอบพระทัยพระเจา้ ฝรงั่ เศสหนักหนาที่มีความ สนิทเสน่หาในพระองค์ แต่ทรงประหลาดใจวา่ เหตุใดพระเจา้ กรุงฝรงั่ เศสจึงมากา้ ว ก่ายกบั ฤทธ์ิอานาจของพระผเู้ ป็ นเจา้ เพราะการที่มีศาสนาตา่ งๆ ในโลกน้ ี ไมใ่ ช่เป็ น

๑๓๖ ความประสงค์ของพระผูเ้ ป็ นเจา้ หรอกหรือ พระองค์จึงปล่อยใหม้ ีไปดัง่ น้ัน มิได้ บันดาลใหม้ ีเพียงศาสนาเดียว เม่ือพระผูเ้ ป็ นเจา้ มีฤทธ์ิมากในเวลาน้ ี พระองค์คง ปรารถนาใหต้ ัวเรานับถือพุทธศาสนาไปก่อน เพราะฉะน้ัน เราจึงจะรอคอยพระ กรุณาของพระองค์ บนั ดาลใหเ้ ราเลื่อมใสในคริสตศ์ าสนาในวนั ใด เราก็จะเขา้ รีตใน วนั น้ัน จงึ ขอฝากชะตากรรมของเราและกรุงศรีอยุธยาสุดแตพ่ ระเจา้ จะบนั ดาลเถิด พระนารายณ์มหาราชทรงโปรดใหม้ ีพระราชโองการประกาศวา่ ใหค้ นไทย นับถือศาสนา ไดต้ ามชอบใจ แลว้ พระราชทานที่ดินใหส้ รา้ งโบสถ์คริสตงั ใหม่ ท้ังน้ ี เพื่อไม่ให้ทูตฝรัง่ เศสผิดหวัง มากเกินไป มีคนไทยบางส่วนหันมานับถือคริสต์ ศาสนาแต่ก็เพียงน้อยนิด แมผ้ ่านมา ๓๐๐ กวา่ ปี จนถึงปัจจุบนั คริสตศ์ าสนิกชนใน ไทยมีเพียง ๒% เท่าน้ัน กุศโลบายของพระนารายณ์มหาราชน้ ีเป็ นการเสียน้อยเพ่ือ รกั ษาส่วนใหญ่เอาไว้ แต่ถา้ พระองคท์ รงเปล่ียนศาสนาเสียแลว้ เป็ นไปไดว้ า่ ในยุค น้ันและยุคต่อมาชาวไทยโดยส่วนใหญ่จะเปล่ียนไปนับถือคริสตศ์ าสนาตามพระองค์ ปัจจุบนั ชาวพุทธอาจจะเป็ นชนกลุม่ น้อยในท่ามกลางคริสตศ์ าสนิกชนก็เป็ นไปได้ สมยั กรุงธนบุรี หลกั จากที่กรุงศรีอยธุ ยาสูญเสียเอกราชใหแ้ ก่พมา่ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชทรงกอบกูเ้ อกราชไดใ้ นปลายปี เดียวกนั แลว้ ทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็ นราชธานีแห่งใหม่ ทรงสนับสนุนปัจจัย ๔ แก่พระภิกษุ สามเณรท่ีต้งั ใจเล่าเรียนพระไตรปิ ฎก และทรงขอรอ้ งใหภ้ ิกษุต้งั มนั่ อยใู่ นพระธรรม วนิ ัย หากขดั ขอ้ งส่ิงใดพระองคจ์ ะจดั การอนุเคราะห์ ทรงมีพระราชดารสั วา่ \"ถา้ พระ ผเู้ ป็ นเจา้ ท้งั ปวงมีศีลคุณบริบูรณใ์ นพระศาสนาแลว้ แมจ้ ะปรารถนามงั สะรุธิระของ โยม โยมก็อาจจะเชือดเน้ ือแลโลหิตออกมาบาเพ็ญทานได\"้ เพราะสมยั น้ันมีภิกษุ ประพฤตินอกรีตต้งั ตนเป็ นแมท่ พั พระเจา้ ตากสินจงึ จบั สึกไปจานวนมาก สมยั รตั นโกสินทร์ หลงั จากส้ ินยุคธนบุรีแลว้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราชไดเ้ สด็จข้ ึนครองราชสมบตั ิในวนั ที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ ทรง ยา้ ยเมืองหลวงมาที่ กรุงเทพมหานคร หรือกรุงรตั นโกสินทร์ พระพุทธศาสนาใน กรุงรัตนโกสินทร์น้ันมีความเจริญรุ่งเรืองไม่แพ้ยุคใดท่ีแล้วมา ท้ังน้ ี เพราะ พระมหากษัตริยท์ ุกพระองค์ทรงเป็ นหลักชัยในการส่งเสริมบารุงพระพุทธศาสนา เป็ นอยา่ งดี

๑๓๗ รชั กาลท่ี ๑ (พ.ศ.๒๓๒๕ - ๒๓๕๒) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราชทรงมีศรทั ธาในพระพุทธศาสนา เสด็จออกทรงบาตรเวลาเชา้ ตอนเพล ถวายภัตตาหาร เวลาเย็นเสด็จออกท้องพระโรงเพื่อสดับพระธรรมเทศนาเป็ น ประจา ทรงโปรดใหท้ าสงั คายนาพระไตรปิ ฎกในปลายปี พ.ศ.๒๓๓๑ ณ พระอุโบสถ วดั พระศรีสรรเพชญ์ (วดั มหาธาตุในปัจจุบนั ) โดยมีพระภิกษุ ๒๑๘ รูป ราชบณั ฑิต ๓๒ คน พระองค์เสด็จไปท่ีประชุมสังคายนาวนั ละ ๒ คร้ัง เชา้ และเย็น เพ่ือถวาย ภตั ตาหารและน้าปานะ สงั คายนาอยู่ ๕ เดือนจึงเสรจ็ แลว้ โปรดใหค้ ดั ลอกสรา้ งเป็ น ฉบบั หลวงข้ ึน เรียกวา่ ฉบบั ทองใหญ่ นอกจากน้ ีทรงออกกฎหมายเก่ียวกบั คณะสงฆ์ เป็ นคร้งั แรกและออกต่อๆ กันมา รวม ๑๐ ฉบับ ฉบับที่ ๑ ออกในปี พ.ศ.๒๓๒๕ ฉบับที่ ๑๐ ออกในปี พ.ศ.๒๓๔๔ และทรงโปรดใหส้ รา้ งวดั พระศรีรตั นศาสดาราม หรอื วดั พระแกว้ ในปี พ.ศ.๒๓๒๕ เพอ่ื เป็ นที่ประดิษฐานพระแกว้ มรกต รชั กาลที่ ๒ (พ.ศ.๒๓๕๒ - ๒๓๖๗) ในสมยั ของพระบาทสมเด็จพระเลิศหลา้ นภาลยั มีการปรบั หลกั สูตรการศึกษาภาษาบาลีใหมจ่ าก \"บาเรียนตรี บาเรียนโท บาเรยี นเอก\" เป็ นแบบ ๙ ประโยค ดงั ที่ใชก้ นั อยใู่ นปัจจุบนั ในการสอบวดั ผลน้ัน ใช้ วิธีสอบปากเปล่าคือใหแ้ ปลพระบาลีต่อหน้ากรรมการ ๓- ๔ รูป และมีครูเขา้ ฟัง เป็ นพยาน ๒๐ - ๓๐ รูป ถา้ นักเรียนแปลเก่ง อาจจะสอบผ่าน ๙ ประโยคภายในวนั เดียวก็ได้ ในปี พ.ศ.๒๓๖๓ มีอหิวาตกโรคระบาดผูค้ นลม้ ตายมาก พระองคจ์ ึงบาเพ็ญ กุศลหลายอยา่ งเพื่อขจดั ปัดเป่ าภัยพิบัติ โปรดใหแ้ ปลพระปริตรเป็ นภาษาไทย ให้ เจา้ นายและขา้ ราชการฝ่ ายในฝึกหดั สวดพระปริตรทุกวนั โดยพระองค์เสด็จข้ ึนทรง ฟังสวดถวาย ณ พระท่ีนั่งไพศาลทักษิณทุกคืน ธรรมเนียมการสวดพระปริตรน้ ี ปฏิบัติกันมาต้ังแต่สมัยพุทธกาล เม่ือ คร้ังที่เมืองไพศาลีเกิดภัยพิบัติด้วย อหิวาตกโรคเป็ นตน้ พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ตรสั สงั่ ใหพ้ ระอานนท์เรียนรตั นสูตรวา่ ดว้ ย \"ยงกิญจิ ฯลฯ\" แลว้ ทาพระปริตรสวดขจัดปัดเป่ าภัยต่างๆ ในเมืองไพศาลีให้ มลายหายไป รชั กาลที่ ๓ (พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ทรงมีศรทั ธาต่อพระพุทธศาสนาเป็ นอยา่ งย่งิ มีคากล่าววา่ ไมว่ า่ พระองคจ์ ะประทับ

๑๓๘ อยู่ ณ ที่ใด ไมว่ ่าจะมีเหตุการณ์อนั ใดเกิดข้ ึน พระองคจ์ ะทรงระลึกถึงการบารุงพระ ศาสนาไวก้ ่อน พระองค์เสด็จทรงบาตรทุกวัน ทรงอาราธนาพระมาถวายธรรม เทศนาและบอกคมั ภีรใ์ นวงั เป็ นประจา พระองคไ์ มโ่ ปรดละครในคือละครท่ีมีผูห้ ญิง แสดง แต่โปรดการทรงธรรม ในรชั กาลน้ ีมีการสรา้ งพระไตรปิ ฎกมากกวา่ รชั กาลอ่ืน ท่ีแลว้ มาคือ มีถึง ๕ ฉบบั ไดแ้ ก่ ฉบบั รดน้าเอก รดน้าโท ทองนอ้ ย ชุบยอ่ และฉบบั อกั ษรรามญั ดว้ ยความที่พระองค์เอาใจใส่ต่อกิจการทางศาสนาเช่นน้ ี จึงมีกุลบุตร ออกบวชกนั จานวนมาก ตามบนั ทึกของชาวยุโรประบุวา่ ในกรุงเทพมหานครมีภิกษุ สามเณร ๑๐,๐๐๐ รูป และทวั่ พระราชอาณาจกั รมี ๑๐๐,๐๐๐ รปู กาเนิดธรรมยุต ในสมยั น้ ีไดเ้ กิดนิกายธรรมยุตข้ ึน โดยพระวชิรญาณเถระ ทรงศรทั ธาเลื่อมใสในจรยิ าวตั รของพระมอญช่ือ ชาย พทุ ธวโส จึงทรงอุปสมบทใหม่ กบั คณะสงฆม์ อญในปี พ.ศ.๒๓๗๒ แลว้ ต้งั คณะธรรมยุตข้ ึนในปี พ.ศ.๒๓๗๖ จากน้ัน เสด็จมาประทบั ท่ีวดั บวรนิเวศวหิ ารซึ่งเป็ นศูนยก์ ลางของคณะธรรมยุติกนิกาย คณะ สงฆเ์ ดิมน้ันถูกเรียกวา่ มหานิกาย ก่อนสวรรคต พระองค์ตรสั สงั่ เหล่าขา้ ราชบริพารเร่ืองกิจการบา้ นเมืองและ ศาสนาไวว้ า่ \"สงครามขา้ งญวนขา้ งพมา่ เห็นจะไมม่ ีแลว้ จะมอี ยกู่ ็แต่ชาวฝรงั่ ใหร้ ะวงั ใหจ้ งดีอย่าใหเ้ สียทีเขา การงานสิ่งใดของเขาที่คิดว่าดี ควรจะเรียนเอาไวก้ ็ใหเ้ อา อย่างเขา แต่อยา่ นับถือเล่ือมใสไปทีเดียว ทุกวนั น้ ีคิดจะสละห่วงใยใหห้ มด อาลัย อยู่แต่วดั สรา้ งไวใ้ หญ่โตหลายวดั ที่ยงั คา้ งอยูก่ ็มี ถา้ ชารุดทรุดโทรมไปจะไม่มีผูช้ ่วย บารุง... (เงินพระคลงั ๔ หม่ืนชงั่ ) ขอสกั ๑ หมื่นชงั่ เถิด ถา้ ผูใ้ ดเป็ นเจา้ ของแผ่นดิน ชว่ ยบอกแก่เขา ขอเงินรายน้ ีช่วยทะนุบารุงวดั ท่ีชารุดและการวดั ท่ียงั คา้ งอยูน่ ้ันให้ แลว้ ดว้ ย\" รชั กาลท่ี ๔ (พ.ศ.๒๓๙๔-๒๔๑๑) พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เม่ือทรงเป็ นเจา้ ฟ้ามงกุฎไดผ้ นวชอยู่ ๒๗ พรรษา ทรงลาสิกขาแลว้ ข้ ึนครองราชย์ เม่ือพระชนมายุ ๕๗ พรรษา ใน พ.ศ. ๒๓๙๔ พระองคท์ รงสรา้ งวดั ใหมข่ ้ ึนหลายวดั เช่น วดั ปทุมวนาราม วดั โสมนัสวิหาร วดั มกุฎกษัตริยาราม วดั ราชประดิษฐสถิต มหาสีมาราม และวดั ราชบพิตร เป็ นตน้ ตลอดจนบูรณะวดั ต่างๆ อีกมาก โปรดให้ มีพระราชพิธี \"มาฆบูชา\" ข้ ึนเป็ นคร้ังแรก ในปี พ.ศ.๒๓๙๔ ณ ที่วดั พระศรีรัตน ศาสดาราม ปวงชนชาวไทยไดถ้ ือปฏบิ ตั ิเป็ นประเพณีสืบกนั มาจนถึงทุกวนั น้ ี

๑๓๙ รัชกาลท่ี ๕ (พ.ศ.๒๔๑๑-๒๔๕๓) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยู่หัวมหาราชทรงเป็ นกษัตริยท์ ี่มีวิสัยทัศน์กวา้ งไกล ทรงนาพาชาติไทยไปสู่ ความเจริญกา้ วหน้าท้ังทางกิจการบา้ นเมืองและทางศาสนา ทรงเร่ิมตน้ การศึกษา สมยั ใหม่ในประเทศไทย โดยใหว้ ดั เป็ นศูนยก์ ลางและใหพ้ ระสงฆเ์ ป็ นครูสอนหนังสือ แก่เยาวชน ในปี พ.ศ.๒๔๒๗ ไดจ้ ัดต้ังโรงเรียนสาหรบั ราษฎรข้ ึนเป็ นแห่งแรก ณ วดั มหรรณพาราม ในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ทรงโปรดใหย้ า้ ยท่ีราชบัณฑิตบอกพระปริยัติธรรมแก่ พระภิกษุสามเณร จากในวดั พระศรีรัตนศาสดารามออกมาเป็ นบาลีวิทยาลัยช่ือ มหาธาตุวิทยาลัย ท่ีวดั มหาธาตุ และต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๓๙ ไดป้ ระกาศเปลี่ยนนาม มหาธาตุวิทยาลัย เป็ นมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซ่ึงเป็ นท่ีศึกษาพระปริยัติ ธรรมและวิชาการช้นั สูงของพระภิกษุสามเณร โดยทรงมุ่งหมายจะใหจ้ ดั การศึกษา แบบตะวนั ตก ทรงโปรดใหจ้ ัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกดว้ ยอักษรไทยชุดละ ๓๙ เล่ม จานวน ๑,๐๐๐ ชุด ในปี พ.ศ.๒๔๓๕ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๓๖ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระ ยาวชิรญาณวโรรสทรงจัดต้ัง \"มหามกุฏราชวิทยาลัย\" ข้ ึน เพื่อเป็ นแหล่งศึกษา พระพทุ ธศาสนาแกพ่ ระภิกษุสามเณรฝ่ ายธรรมยตุ ินิกาย เพ่ือให้การปกครองสงฆ์มีความรัดกุมยิ่งข้ ึน พระองค์จึงโปรดให้ตรา พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ข้ ึนใน พ.ศ.๒๔๔๕ ตรงกับ ร.ศ.๑๒๑ (รตั นโกสินทรศ์ ก ๑๒๑) นอกจากน้ ีพระองคย์ งั ทรงสรา้ งวดั ใหมข่ ้ ึนหลายวดั เช่น วดั วดั ราชบพิตร วดั เทพศิรินทราวาส วดั เบญจมบพิตร วดั อัษฎางนิมิตร วดั จุฑาทิศ ราชธรรมสภา และวดั นิเวศน์ธรรมประวตั ิทรงบูรณะวดั มหาธาตุ และวดั อื่นๆ อีก ทรงนิพนธว์ รรณกรรมทางพทุ ธศาสนาจานวนมาก รัชกาลท่ี ๖ (พ.ศ.๒๔๕๓ - ๒๔๖๘) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจา้ อยู่หัวทรงพระปรีชาปราดเปร่ืองในทางพระศาสนามาก ทรงนิพนธ์หนังสือ พระพุทธศาสนาหลายเรื่อง เช่น เทศนาเสือป่ า พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรสั รูอ้ ะไร เป็ นตน้ ทรงอบรมสัง่ สอนธรรมะขา้ ราชการด้วยพระองค์เอง ในปี พ.ศ.๒๔๕๕ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปลี่ยนวิธีการสอบบาลี สนามหลวงจากปากเปล่ามาเป็ นขอ้ เขียนเป็ นครง้ั แรก

๑๔๐ ต่อมาอีกหนึ่งปี คือใน พ.ศ.๒๔๕๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดใหใ้ ชพ้ ุทธศักราช (พ.ศ.) แทน ร.ศ. และในปี พ.ศ.๒๔๖๒ - ๒๔๖๓ ทรง โปรดใหพ้ ิมพค์ ัมภีรอ์ รรถกถาพระไตรปิ ฎก อรรถกถาชาดกและคัมภีรอ์ ่ืนๆ เช่น วิ สุทธิมรรค มิลินทปัญหา เป็ นตน้ หลกั สูตรนักธรรมท่ีเรยี นกนั อยใู่ นปัจจุบนั น้ ีทรง โปรดใหจ้ ดั การศึกษาข้ ึนในปี พ.ศ.๒๔๖๙ ก่อนหน้าน้ันเรียกวา่ \"องคข์ องสามเณรรู้ ธรรม\" ซึ่งมกี ารสอบคร้งั แรกในเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๔ รชั กาลท่ี ๗ (พ.ศ.๒๔๖๘ - ๒๔๗๗) พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรงโปรดใหม้ ีการทาสงั คายนาพระไตรปิ ฎกคร้งั ท่ี ๓ ของประเทศไทยข้ ึนในระหวา่ ง พ.ศ.๒๔๖๘ - ๒๔๗๓เพื่อถวายเป็ นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลา้ เจา้ อยู่หัว แลว้ ทรงใหจ้ ดั พิมพ์ พระไตรปิ ฎกฉบับสยามรฐั ชุดละ ๔๕ เล่ม จานวน ๑,๕๐๐ ชุด พระราชทานแก่ประเทศต่างๆ ประมาณ ๔๕๐ ชุด ซ่ึงนับเป็ นเกียรติ ประวัติของประเทศสยาม เพราะประเทศพุทธศาสนาอ่ืนๆ ในคร้ังน้ันยังไม่มี ประเทศใดทาได้ ปี พ.ศ.๒๔๗๑ กระทรวงธรรมการหรือกระทรวงศึกษาธิการใน ปัจจุบันไดจ้ ัดหลักสูตร \"ธรรมศึกษา\" เพ่ือเปิ ดโอกาสใหฆ้ ราวาสเรียนพระปริยตั ิ ธรรมอยา่ งเป็ นทางการเป็ นคร้งั แรก รชั กาลท่ี ๘ (พ.ศ.๒๔๗๗-๒๔๘๙) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว อานันทมหิดลมีการแปลพระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาไทย ๒ ประเภท คือ ๑. พระไตรปิ ฎก แปลโดยอรรถ พิมพ์เป็ นเล่มสมุด ๘๐ เล่ม เรียกว่า พระไตรปิ ฎกภาษาไทย แต่เสร็จสมบูรณ์หลงั จากส้ ินรชั กาลพระองคไ์ ปแลว้ คือในปี พ.ศ.๒๕๐๐ เพ่อื ฉลองในโอกาส ๒๕ พทุ ธศตวรรษ ๒. พระไตรปิ ฎก แปลโดยสานวนเทศนา พิมพ์ลงใบลาน แบ่งเป็ น ๑,๒๕๐ กณั ฑ์ เรียกวา่ พระไตรปิ ฎกฉบบั หลวง เสรจ็ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๒ ในปี พ.ศ.๒๔๘๔ รัฐบาลออก พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พ.ศ.๒๔๘๔ เพ่ือใหก้ าร ปกครอง คณะสงฆม์ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั การปกครองแบบใหม่ ถดั มาอีก ๔ ปี คือในปี พ.ศ.๒๔๘๘ มหามกุฏราชวทิ ยาลัยซึ่งต้งั ข้ ึนในปี พ.ศ.๒๔๓๖ ไดป้ ระกาศ ต้งั เป็ นมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ ชอ่ื \"สภาการศึกษามหามกุฏราชวทิ ยาลยั \" รัชกาลท่ี ๙ (พ.ศ.๒๔๘๙ - ปั จจุบัน) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มีการจัดต้ังโรงเรียนปริยตั ิธรรมแผนกสามัญ

๑๔๑ ระดับประถมปลาย และมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑ - ๖ ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๐๑ มีการจดั ต้งั โรงเรียนพุทธศาสนาวดั อาทิตยข์ ้ ึนเป็ นแห่งแรก ณ มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เพื่อเปิ ดการสอนพุทธศาสนาแก่เด็กและเยาวชน ต่อมาไดข้ ยาย ไปทวั่ ประเทศ กระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดใหว้ ชิ าพระพุทธ-ศาสนาเป็ นวชิ าภาค บงั คบั แกน่ ักเรียนระดบั มธั ยมศึกษา ปี ท่ี ๑-๖ ในปี พ.ศ.๒๕๐๘ ไดม้ ีการจดั ต้งั สานักงานองคก์ ารพุทธศาสนิกสมั พนั ธแ์ ห่ง โลกข้ ึน ณ ประเทศไทย (พ.ส.ล.) เพ่ือเป็ นศูนยก์ ลางของชาวพุทธทวั่ โลก นอกจากน้ ี ปัจจุบนั มกี ารเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านวรรณกรรมมากข้ ึน เพราะเขา้ ถึงประชาชน ไดง้ ่ายและรวดเร็ว หากผูแ้ ต่งเขียนไดด้ ีจะไดร้ บั ความนิยมจากผูอ้ ่านไมแ่ พน้ วนิยาย เช่น หนังสือ \"เสียดายคนตายไม่ไดอ้ ่าน\" เป็ นตน้ ซ่ึงจดั พิมพ์ ๓๐ กวา่ คร้งั แลว้ ขาย ดีมากเขา้ ถึงผอู้ า่ นกวา่ แสนคน ในดา้ นพิธีกรรมมีการเปลี่ยนแปลงพระราชพิธีของพระมหากษัตริยเ์ ป็ นพิธี ของรฐั บาล เรียกวา่ \"รฐั พิธี\" โดยใหก้ ระทรวงต่างๆ เป็ นผูจ้ ัด มีการจดั งานส่งเสริม พระพุทธศาสนาช่วงวนั วิสาขบูชาของทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ใหพ้ ระบรมวงศานุวงศ์เสด็จแทนพระองค์ในพิธีเวียนเทียนในวนั สาคัญทางพุทธศาสนา เช่น วนั วิสาขบูชา มาฆบูชา อาสาฬหบูชา ณ พุทธมณฑล ซ่งึ สรา้ งข้ ึนเมอ่ื คร้งั ฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ๒) ประเทศกมั พชู า กัมพูชา (Cambodia) หรือเขมรมีช่ือทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ปกครองแบบราชาธิปไตยภายใตร้ ัฐธรรมนูญ มีเมือง หลวงช่ือพนมเปญ และเป็ นเมืองท่ีใหญ่ที่สุด เคยตกเป็ นเมืองข้ ึนของฝรงั่ เศสเกือบ รอ้ ยปี ได้รับเอกราชอย่างเป็ นทางการในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ กัมพูชามีประชากร ประมาณ ๑๔,๐๗๑,๐๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๔๘) ประชากร ๙๓% นับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ส่วนอีก ๗% นับถือภูตผีและอ่ืนๆ กมั พชู าเป็ นประเทศท่ีมีพระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาประจาชาติมายาวนาน กว่า ๒,๐๐๐ ปี หลักฐานหลายแหล่งยืนยันตรงกันว่า พระพุทธศาสนาต้ังอยู่ใน ดินแดนแหง่ น้ ีต้งั แต่พทุ ธศตวรรษท่ี ๓ เชน่ หลกั ฐานจากศิลาจารกึ ท่ีคน้ พบ ณ เมือง โวกญั อนั เป็ นศิลาจารึกท่ีเก่าแก่ ท่ีสุดในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในอดีตกมั พชู าคือ

๑๔๒ ดินแดนส่วนหนึ่งของสุวรรณภูมิ อันเป็ นถิ่นที่พระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เดินทางมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต้งั แต่บดั น้ันพระพุทธศาสนาในกมั พชู าจึงค่อยๆ เจรญิ รุง่ เรอื งข้ ึนตามลาดบั จนกระทงั่ ถึงยุคประวตั ิศาสตรก์ มั พชู า๔ ยุค คือ ยุคฟูนัน เจนละ พระนคร และยคุ ปัจจุบนั ดงั ต่อไปน้ ี ยุคฟูนัน (พ.ศ.๖๐๐-๑๑๐๐) คาว่า ฟูนัน (Funan) เป็ นคาท่ีเรียกตาม หลกั ฐานท่ีปรากฏในจดหมายเหตุของจีน ซึ่งเพ้ ียนมาจากภาษาเขมรวา่ พนม หรือ วนม ในภาษาสันสกฤต ซ่ึงแปลว่า ภูเขา ในอดีตชาวฟูนันเคยนับถือลทั ธิโลกธาตุ ดิน น้า ลม ไฟ และผีสางนางไม้ แต่เมื่อพระพุทธศาสนาเขา้ สู่สุวรรณภูมิแลว้ ชาว ฟูนันจึงหนั มานับถือพระพุทธศาสนา จนกระทงั่ พ.ศ.๕๔๓ พราหมณ์ชาวอินเดียชื่อ เกาณฑินยะรบชนะเผ่าฟูนันและไดร้ บั สถาปนาข้ ึนเป็ นพระราชาปกครองพระนคร ในราชสานักจะนับถือศาสนาพราหมณ์นิ กายไศวะ ซ่ึงเป็ นศาสนาด้ังเดิมของ พระราชาเกาณฑินยะ แต่ประชาชนทัว่ ไปบา้ งก็นับถือศาสนาพุทธบา้ งก็นับถือ ศาสนาพราหมณ์ ในรชั สมยั ของพระเจา้ ศรีมาระ พระองคท์ รงนับถือพระพุทธศาสนาและทรง ประกาศยกยอ่ งใหเ้ ป็ นศาสนาประจาชาติ มีศิลาจารึกเก่าแก่อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๗-๘ บันทึกไวว้ ่า พระองค์ทรงสัง่ ใหพ้ ระราชาผูเ้ สวยราชยต์ ่อไปในอนาคตนับถือ และสนับสนุนพระพทุ ธศาสนาดว้ ย ในยุคต่อมาพงศาวดารจีนบนั ทึกไวว้ า่ พระราชา ยุคต่อมาก็ไดน้ ับถือพระพุทธศาสนาตามคาสงั่ ของพระเจา้ ศรีมาระ นอกจากน้ ียงั กล่าวถึ งพระนาคเสนภิ กษุ ชาวอินเดียซ่ึงเดินทางไปอาณาจักรฟู นั นและเดิ นทาง ตอ่ ไปเมืองจีนในปี พ.ศ.๑๐๒๗ ในครง้ั น้ันพระนาคเสนกล่าวถวายพระพรต่อพระเจา้ กรุงจีนว่า \"ในประเทศฟูนันบา้ นเมืองเจริญรุ่งเรืองมาก ประชาชนนับถือศาสนา พราหมณ์ก็มี พระพุทธศาสนาก็มี พระพุทธศาสนาน้ันรุ่งเรืองมาก มีพระภิกษุสงฆ์ จานวนมากและฝึกปฏบิ ตั ิตามวนิ ัยอยา่ งเครง่ ครดั \" หลังจากน้ันไม่นานคือในปี พ.ศ.๑๐๔๖ กษัตริย์ฟูนันส่งราชทูตและ พระภิกษุไปกรุงจีนอีก คือ พระสังฆปาละ และพระมนั โตโล โดยพระพระสงั ฆปาละ เป็ นผูร้ ูภ้ าษาศาสตรห์ ลายภาษา และทรงพระไตรปิ ฎก มีจริยวตั รงดงาม กิตติศัพท์ เล่ืองลือไปถึงพระเจา้ กรุงจีนคือ จกั รพรรดิบู่ตี่แห่งราชวงศเ์ หลียง จึงนิมนตท์ ่านไป

๑๔๓ สอนธรรมะและแปลพระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาจีน ท่านแปล พระไตรปิ ฎกอยูน่ านถึง ๑๖ ปี ชื่อท้งั สองท่านยงั ปรากฏอยใู่ นพระไตรปิ ฎกจนี มาจนถึงปัจจุบนั ต่อมาปี พ.ศ.๑๐๕๗ พระเจา้ อนุรุทธวรมันเสด็จข้ ึนครองราชย์ ทรงมีพระ ราชศรทั ธาในพระพุทธศาสนาอยา่ งแรงกลา้ ทรงประกาศถวายพระองค์เป็ นอุบาสก ทรงมีพระเกศธาตุเสน้ หน่ึงไวเ้ ป็ นท่ีสกั การบูชา พระเจา้ อนุรุทธวรมนั เป็ นกษัตริย์ องคส์ ุดทา้ ยท่ีปรากฏนามในยุคฟูนัน ในปี พ.ศ.๑๑๗๐ อาณาจกั รเจนละยกทัพมาตี และรวมฟูนันเขา้ เป็ นสว่ นหนึ่งของเจนละ ยุคเจนละ (พ.ศ.๑๑๐๐ - ๑๓๔๔) เจนละ เป็ นคาจีนที่เรียกเมืองกมั พูชาท่ี อยทู่ างภาคเหนือของนครฟูนัน คาน้ ีเพ้ ียนมาจากภาษาเขมรวา่ เจอื น-เลอ หมายถึง ช้นั บน ท่ีสูง หรือทางเหนือ พระเจา้ วรมนั เสด็จข้ ึนครองราชยเ์ ป็ นกษัตริยอ์ งค์แรก ประมาณปี พ.ศ.๑๐๙๓ กษัตริยใ์ นยุคตน้ น้ ียงั คงนับถือศาสนาฮินดูนิกายไศวะเป็ น หลัก ต่อมาในรัชกาลของพระเจา้ อีศานวรมัน ที่ ๑ (พ.ศ.๑๑๕๙ - ๑๑๖๙) พงศาวดารจีนยุคราชวงศ์สุย บันทึกไวว้ ่า \"ในรัชกาลของพระองค์น้ ี (พระเจ้า อีศานวรมนั ท่ี ๑) มีภิกษุ ภิกษุณี หลายรูป...\" ในรชั กาลของพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๑ (พ.ศ.๑๒๐๐ - ๑๒๒๔) มีหลกั ฐานจาก บนั ทึกของ หลวงจีนอ้ ีจิงท่ีเดินทางไปอินเดียและผ่านดินแดนแถบน้ ีระบุวา่ สมยั น้ัน พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก มีวดั ทัว่ ไปทุกแห่ง ประชาชนทัว่ ไปนิยมบวชใน พระพุทธศาสนา แมพ้ วกเจา้ นายก็นิยมบวชเช่นเดียวกัน ในพุทธศตวรรษที่ ๑๔ พระพุทธศาสนามหายานไดเ้ ขา้ มาเผยแผ่ในเอเชียอาคเนยแ์ ลว้ และกัมพูชาก็ไดร้ บั เอาพระพุทธศาสนามหายานไวเ้ ช่นกัน แต่ก็ไม่มีอิทธิพลมากเหมือนเถรวาท หลัง รชั กาลพระเจา้ ชยั วรมนั ไดไ้ มน่ านอาณาจกั รเจนละก็ส้ ินสุดลง ยุคพระนคร (พ.ศ.๑๓๔๕ - ๑๙๗๕) ยุคพระนครหมายถึง ยุคนครวดั และ นครธม เป็ นยุคที่อารยธรรมเขมรเจริญรุ่งเรืองมากท่ีสุด เป็ นมหาอาณาจกั รใหญ่มี ศิลปะและสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นกวา่ ยุคใดๆ โดยเฉพาะปราสาทนครวดั (Angkor Wat) และนครธม (Angkor Thom) ยุคน้ ีเริ่มนับต้งั แต่รชั กาลของพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ ๒ (พ.ศ.๑๓๔๕ - ๑๔๒๐) จนถึงรชั กาลของพระเจา้ พญายาต (พ.ศ.๑๙๗๕) ซึ่งทรง สละพระนครไปสรา้ งเมืองหลวงใหม่ท่ีพนมเปญอันเป็ นเมืองหลวงของกัมพูชาใน ปัจจุบนั

๑๔๔ หลังจากที่พระเจา้ ชัยวรมนั ท่ี ๒ ครองราชยใ์ นปี พ.ศ.๑๓๔๕ แลว้ ทรงยา้ ย พระนครจากเจนละมาต้ังท่ี พนมเหนทรบรรพตหรือเขาพนมคู เลนในปั จจุ บัน พระองค์ทรงนับถือศาสนาพราหมณ์ แต่พระพุทธศาสนาก็ยงั เป็ นท่ีเป็ นท่ีเคารพนับ ถือกันอยูใ่ นหมู่ประชาชน หลังจากยุคของพระองค์แลว้ กษัตริยแ์ ต่ละพระองค์ก็นับ ถือพราหมณ์บา้ งนับถือพระพุทธศาสนาบา้ งสลับกันไป แต่ท้ังสองศาสนาก็อยู่ รว่ มกนั อยา่ งเป็ นสุข คร้นั มาถึงรชั กาลของพระเจา้ สุริยวรมนั ท่ี ๑ ทรงข้ ึนครองราชยใ์ นปี พ.ศ. ๑๕๔๕ - ๑๕๙๓ พระองค์เป็ นปฐมกษัตริย์ท่ียกพระพุทธศาสนามหายานเป็ น ศาสนาของรฐั อยา่ งเป็ นทางการ พระเจา้ สุริยวรมนั ท่ี ๒ ครองราชยใ์ นช่วงปี พ.ศ. ๑๖๕๖ - ๑๖๙๓ ทรงนับถือศาสนาพราหมณ์และสรา้ งปราสาทนครวดั ข้ ึนเพ่ือบูชา พระวษิ ณุ ต่อมาในสมยั ของพระเจา้ ชยั วรมนั ที่ ๗ ไดเ้ ปล่ียนใหเ้ ป็ นวดั ในศาสนาพทุ ธ นครวัด ต้ังอยู่ท่ีเมืองเสียมราฐหรือเสียมเรียบ จัดเป็ นหน่ึ งในเจ็ดสิ่ง มหัศจรรยข์ องโลกมีขนาดใหญ่มากถึง ๒๐๐,๐๐๐ ตารางเมตร มีกาแพงดา้ นนอก ยาวดา้ นละ ๑.๕ กิโลเมตร ใชห้ ินท้ังหมด ๖๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ใชช้ า้ งกว่า ๔๐,๐๐๐ เชือกและแรงงานคนนับ ๑๐๐,๐๐๐ คน ในการขนหินและชกั ลากหิน นคร วดั มีเสา ๑,๘๐๐ ตน้ หนักตน้ ละกวา่ ๑๐ ตัน เวลาในการสรา้ งร่วม ๑๐๐ ปี ใชช้ ่าง แกะสลกั ๕,๐๐๐ คน และใชเ้ วลาถึง ๔๐ ปี ในการแกะสลกั พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ ๗ ครองราชยใ์ นปี พ.ศ.๑๗๒๔ พระองคม์ ีช่ือเสียงโด่งดัง ที่สุดในประวตั ิศาสตรก์ ัมพูชา ทรงสรา้ งนครธมข้ ึนเป็ นราชธานี ทรงเจริญจริยวตั ร ตามพระเจ้าอโศกมหาราชและพระโพธิสัตว์ท้ังหลาย ทรงสร้างปราสาทและ พระพุทธรปู ๗๙๘ องค์ เพือ่ ประดิษฐานทวั่ ราชอาณาจกั ร ทรงสถาปนาปราสาทตาพรหมหรือวดั บุรีราชมหาวิหารเป็ นมหาวิทยาลัย สงฆ์ มีพระมหาเถระเป็ นศาตราจารยใ์ หญ่อยู่ ๑๘ องค์ และอาจารยร์ องลงมาถึง ๒,๗๔๐ องค์ มีอุบาสกช่วยงาน ๒,๒๓๒ คน อุบาสิกา ๖๑๕ คน ราษฎรผูม้ าจาศีล หรอื มาศึกษาธรรมระยะส้นั และระยะยาว ๑๒,๖๔๐ คน และกลุ่มอื่นๆ อีก ๖๖,๖๒๕ คน รวมท้ังหมดเป็ น ๗๙,๒๖๕ คน ซึ่งนับรวมชาวพม่าและจาปาท่ีมาพักศึกษาใน ที่น้ ีดว้ ย ภายในวดั มีบา้ นพัก(กุฏิ)ท่ีสรา้ งดว้ ยหินจานวน ๕๖๖ แห่ง สรา้ งดว้ ยอิฐ ๒๘๘ แหง่ มีพระภิกษุจานวน ๔๓๙ รูป มารบั ภตั ตาหารทุกวนั ในพระราชวงั

๑๔๕ นอกจากน้ ีพระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี ๗ ทรงใหพ้ ระราชกุมารคือพระตามลินทะไป ศึกษาพระพุทธศาสนาที่ลงั กา และผนวชที่วดั มหาวิหารแห่งเกาะลังกา ซึ่งขณะน้ัน พระพุทธศาสนาเถรวาทในศรีลงั กากาลงั เจริญรุ่งเรืองเป็ นศูนยก์ ลางของการศึกษา สงฆ์ ต่อมาเมื่อพระกุมารกลบั มากมั พูชาแลว้ ทรงทาใหน้ ิกายเถรวาทเจริญรุ่งเรือง เป็ นศาสนาประจาชาติของกมั พชู ามากระทงั่ ปัจจุบนั ส่วนพระพุทธศาสนามหายาน และศาสนาพราหมณค์ ่อยๆซบเซาลงไปต้งั แตบ่ ดั น้ัน ในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ อาณาจกั รกมั พูชาอ่อนแอลงมาก ขณะเดียวกันช่วง น้ันอาณาจกั รอยุธยาของไทยซ่ึงสถาปนาในปี พ.ศ.๑๘๙๔ มีความเขม้ แข็งข้ ึน ไดเ้ ขา้ โจมตีเมืองพระนครของกัมพูชาและยึดไดส้ าเร็จในปี พ.ศ.๑๘๙๕ ต่อมาปี พ.ศ. ๑๙๗๔ ไดเ้ ขา้ มาปลน้ ทาลายอีกคร้งั พระเจา้ พญายาตจึงสละพระนครในปี พ.ศ. ๑๙๗๕ แลว้ เสด็จไปประทับที่พนมเปญ ยุคพระนครที่เจริญรุ่งเรืองมากวา่ ๖๐๐ ปี (พ.ศ.๑๓๔๕ - ๑๙๗๕) จึงส้ ินสุดลง ยุคปัจจุบนั (พ.ศ.๑๙๗๕ - ปัจจุบนั ) เม่ือยุคพระนครส้ ินลงแลว้ กมั พูชาได้ เมืองหลวงใหม่ อยู่ใกลท้ ะเลสาบใหช้ ื่อว่า กรุงละแวก ยุคน้ ีพระพุทธศาสนายงั คง รุ่งเรืองอยู่ ประชาชนมีความ เคารพศรทั ธาต่อพระสงฆ์ แมจ้ ะมีมิชชนั นารีต่างชาติ มาเผยแผ่แต่ก็ไม่ไดผ้ ล เช่น ในปี พ.ศ. ๒๑๐๙ ชาวโปรตุเกสช่ือ กาสปาร์ ดากรูซ เดินทางมากรุงละแวกแต่ตอ้ งเดินทางกลับเพราะไมอ่ าจเปล่ียนศาสนาชาวพ้ ืนเมือง ได้ เน่ืองจากประชาชนมคี วามจงรกั ภกั ดีตอ่ พระสงฆอ์ ยา่ งสุดหวั ใจ กาสปาร์ ดากรูซ บอกวา่ พระสงฆป์ ระกอบข้ ึนดว้ ยคนที่มีความสามารถใน กมั พูชา กวา่ ๑ ใน ๓ หรือตามท่ีเขาประมาณก็นับจานวนแสนรูป พระภิกษุเหล่าน้ ี ไดร้ บั ความเคารพอย่างสูงจากประชาชนราวกับเป็ นเทพเจา้ เป็ นๆ ผูท้ ่ีอ่อนอาวุโส กว่าในหมู่ภิกษุดว้ ยกัน ก็บูชา ผูอ้ าวุโสกวา่ เสมือนเทพเจา้ ไมม่ ีใครคดั คา้ นพระใน เรื่องใดๆ บางคร้งั ขณะที่ขา้ พเจา้ กาลังนัง่ เทศน์อยู่ ทันทีที่พระเหล่าน้ันเดินผ่านมา (ชาวบา้ น) ก็พูดเปรยข้ ึนวา่ \"นัน่ ก็ดีอยู่หรอก แต่ของเราดีกว่า\" แลว้ พวกเขาก็เดิน หนีไปหมดท้ ิงขา้ พเจา้ ไวแ้ ต่ลาพงั ในปี พ.ศ.๒๔๑๐ กัมพูชาตกเป็ นเมืองข้ ึนของฝรัง่ เศส ไดร้ ับเอกราชในปี พ.ศ.๒๔๙๖ ในรชั สมยั สมเด็จพระเจา้ นโรดมสีหนุ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ พระองคท์ รง สละราชสมบัติถวายแด่พระราชบิดาคือ พระเจา้ สุรามฤต ส่วนพระองค์เองกา้ วลงสู่

๑๔๖ วถิ ีชีวติ นักการเมือง ทรงต้งั พรรคสงั คมราษฎรน์ ิยมข้ ึน และมีชยั ชนะในการเลือกต้งั ไดเ้ ป็ นนายกรฐั มนตรใี นเวลาต่อมา พระเจา้ นโรดมสีหนุทรงนาหลกั ธรรมมาประยุกต์ใชก้ บั การเมืองโดยใหช้ ่ือ ว่า ทฤษฎีพุทธสังคมนิยม (Buddhist Socialism) เพ่ือต่อสูก้ ับคอมมิวนิสต์ท่ีเร่ิม ขยายเขา้ มาในกัมพูชา แต่ดว้ ยแรงกดดันจากสหรฐั อเมริกาและความขัดแยง้ จาก ภายใน จึงทาใหเ้ กิดการรัฐประหารข้ ึนโดยนายพลลอน นอล ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ สงครามกลางเมอื งจึงปะทุข้ ึนต้งั แต่บดั น้ัน ชาวกมั พชู าตอ้ งสูญเสียเลือดเน้ ือและชีวติ ไปนับลา้ นคน กวา่ สงครามน้ ีจะยตุ ิลงในปี พ.ศ.๒๕๓๔ พระพุทธศาสนาในชว่ งรฐั บาลของนายพลลอน นอล ยงั ไดร้ บั การสนับสนุน อยูเ่ ชน่ เดิม รฐั บาลประกาศวา่ พระพุทธศาสนายงั เป็ นศาสนาประจาชาติ แต่ขอให้ คณะสงฆ์ช่วยต่อต้านคอมมิวนิ สต์คือกลุ่มเขมรแดง มีการโฆษณาว่า ถ้า คอมมิวนิสต์เขา้ มาจะไม่มีศาสนา พระพุทธ-ศาสนาและพระสงฆ์จะหมดไปจาก ประเทศกมั พชู า นายพลลอน นอลปกครองประเทศอยู่เพียง ๕ ปี ก็ถูกปฏิวตั ิอีกคร้ังในปี พ.ศ.๒๕๑๘ โดยกลุ่มเขมรแดง ซึ่งมีนายพล พต (Pol Pot) เป็ นผูน้ า เขมรแดงนา ระบอบคอมมิวนิสตม์ า ปกครองประเทศ ประกาศนโยบายบริหาร ๘ ประการ เชน่ ใหพ้ ระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ลาสิกขาท้ังหมด แลว้ ไปทานาแทน ประหารชีวิต ผนู้ ารฐั บาลเดิมท้งั หมด มหนั ตภัยคุกคามพระพุทธศาสนา สถานการณ์พระพุทธศาสนายุคน้ ีตกตา่ ท่ีสุด พระสังฆราชถูกนาไปสังหาร ประชาชนและภิกษุสามเณรถูกฆ่าประมาณ ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน พระท่ีเหลือถูกเขมรแดงสงั่ ใหท้ างาน ถา้ ไม่ทางานจะไม่มีขา้ วฉัน บา้ งก็ถูกบงั คบั ใหล้ าสิกขา วดั ถูกปิ ดหรอื ร้ อื ท้ ิง บา้ งก็ถูกทาเป็ นฟารม์ ไกห่ รือเลา้ หมู คอมมิวนิสตถ์ ือวา่ ศาสนาคือยาฝิ่นของประชาชน ภิกษุไม่ทาอะไรจึงทาใหส้ งั คมเป็ น อัมพาต หา้ มตักบาตรทาบุญ ผูอ้ ยู่ในเหตุการณ์สมยั น้ัน กล่าวว่า \"ยุคน้ัน ไม่มีวดั ไมม่ พี ระสงฆ์ ไมม่ ีประชาชนไปสวดมนต์ ไมม่ ีการบูชาพระรตั นตรยั \" เมื่อผ่านยุคสงครามกลางเมืองมาแลว้ องค์การสหประชาชาติได้เขา้ มา ชว่ ยเหลือในดา้ นต่างๆ เช่น ใหเ้ งินชว่ ยเหลือ ๓,๐๐๐ ลา้ นเหรียญสหรฐั เพ่ือจดั การ เลือกต้ังในปี พ.ศ.๒๕๓๖ และไดเ้ ปลี่ยนช่ือประเทศเป็ น ราชอาณาจักรกัมพูชา

๑๔๗ (Kingdom of Cambodia) สถานการณ์พระพุทธศาสนาจึงค่อยๆ ดีข้ ึนตามลาดับ แมก้ ารเมืองจะไม่ค่อยนิ่งคือยงั มีการปฏิวตั ิอยูบ่ า้ งใน ปี พ.ศ.๒๕๔๐ แต่ก็ไม่ส่งผล กระทบต่อพระพทุ ธศาสนามากนักเหมือนชว่ งสงครามกลางเมือง ๓) ประเทศพม่า ประเทศพม่ามีชื่อเป็ นทางการว่า สหภาพพม่า (Union of Myanmar) มี เมืองหลวงชื่อเนปี ดอ เมืองใหญ่สุดคือ ย่างกุ้ง ปกครองด้วยรัฐบาลทหาร มี ประชากรประมาณ ๕๐,๕๑๙,๐๐๐ คน (พ.ศ. ๒๕๔๘) นับถือศาสนาพุทธ ๙๐% นับถือศาสนาคริสต์ ๔% ศาสนาอิสลาม ๓% ศาสนาฮินดู ๐.๗% นับถือผีไสย ศาสตร์ ๒.๓% ประวตั ิศาสตรข์ องพม่าน้ันมีความยาวนานและซบั ซอ้ น มีคนหลายเผ่าพนั ธุ์ เคยอาศัยอยู่ในดินแดนแห่งน้ ี เช่น เผ่ากัปปะลี มอญ พยู ไทยใหญ่ พม่า เป็ นตน้ ชาวพม่าไดอ้ พยพมาราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ โดยมาจากบริเวณพรมแดนระหวา่ งจีน และทิเบต เขา้ สู่ท่ีราบลุ่มแม่น้าอิรวดี และไดก้ ลายเป็ นชนเผ่าส่วนใหญ่ที่ปกครอง ประเทศในเวลาตอ่ มา มนุษยไ์ ดเ้ ขา้ มาอาศัยอยู่ในพม่าราว ๑๑,๐๐๐ ปี มาแลว้ ชนชาติแรกคือเผ่า กัปปะลีหรือนิกริโต แต่เผ่าแรกที่สรา้ งอารยธรรมข้ ึนเป็ นเอกลักษณ์ของตนไดค้ ือ มอญ ชาวมอญอพยพเขา้ มาราว ๒,๔๐๐ ปี ก่อนพุทธกาล ไดส้ ถาปนาอาณาจักร สุวรรณภูมิข้ ึนราวพุทธศตวรรษที่ ๒ มีเมืองหลวงช่ือ \"สะเทิม\" ส่วนชนเผ่าเดิมคือ กัปปะลีก็เคลื่อนยา้ ยไปอยู่ตามเกาะบะลู ซึ่งเป็ นเกาะใหญ่ต้ังอยู่ตรงขา้ มกับเมือง เมาะลาไย ชนเผ่าน้ ี มีหน้าตาน่ากลัว ผมหยิก ผิวดา มีนิสัยกระดา้ ง จึงถูกมองวา่ เป็ นพวกยกั ษ์ และคาวา่ บะลู ก็แปลวา่ ยกั ษ์ ศิลาจารึกเจดียช์ เวดากองบนั ทึกไวว้ า่ พระพุทธศาสนาเขา้ สู่พมา่ ต้งั แต่สมยั พุทธกาล กล่าวคือพ่อคา้ ชาวมอญชื่อ ตปุสสะ และภัลลิกะ ไดร้ บั พระเกศธาตุจาก พระสมั มาสมั พุทธเจา้ มาประดิษฐาน ณ เจดียช์ เวดากอง ส่วนในอรรถกถาบันทึกไว้ วา่ พ่อคา้ ตปุสสะ และภัลลิกะ เดินทางจากอุกกลชนบท ไปยงั มชั ฌิมประเทศดว้ ย เกวียน ๕๐๐ เล่ม ระหว่างทางไดถ้ วายสัตตุผงและสตั ตุกอ้ นแด่พระสัมมาสัมพุทธ เจา้ ก่อนกลบั พระศาสดาทรงประทานเสน้ พระเกศธาตุ ๘ เสน้ ชนท้ังสองไดน้ าไปสู่

๑๔๘ นครของตนแล้วบรรจุพระเกศธาตุไวท้ ี่ประตูอสิตัญชนนคร แต่ท้ังน้ ี ยังไม่พบ หลกั ฐานวา่ อุกกลชนบทและอสิตญั ชนนคร อยใู่ นพมา่ หรอื ไม่ พงศาวดารมอญบันทึกไวว้ ่า เมื่อปี ๒๕๐ ก่อนคริสต์ศักราช (พ.ศ.๒๙๓) พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางมาประกาศพระศาสนา ณ ดินแดนสะเทิม แห่งอาณาจกั รสุวรรณภูมิแลว้ สวดพระปริตรเพ่ือขบั ไล่เหล่ายกั ษ์น้าหรือผีเส้ ือสมุทร มิใหม้ าเป็ นอันตรายแก่ชาวมอญ จึงสันนิษฐานไดว้ า่ พวกยกั ษ์ในตานานมอญน้ัน น่าจะหมายถึงชนเผ่ากปั ปะลีนัน่ เอง ในอรรถกถาก็กล่าวไวว้ า่ เมื่อพระโสณเถระและ พระอุตตรเถระไปถึงสุวรรณภูมิ นางรากษสหรือยกั ษ์ตนหนึ่งพรอ้ มดว้ ยบรวิ ารข้ ึนมา จากสมุทร มนุษย์เห็นนางรากษสตนน้ันแลว้ ก็กลัวรอ้ งเสียงดัง พระเถระนิรมิต อตั ภาพใหม้ ากกวา่ พวกรากษสแลว้ ขบั ใหห้ นีไป ชาวพยูเขา้ มาอาศยั อยู่ในดินแดนประเทศพม่าต้งั แต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๔ และไดส้ ถาปนานครรัฐข้ ึนหลายแห่ง เช่น ศรีเกษตร (Sri Ksetra) เป็ นตน้ ในช่วง เวลาดังกล่าว ดินแดน พม่าเป็ นส่วนหน่ึงในเสน้ ทางการคา้ ระหวา่ งจีนและอินเดีย จากเอกสารของจีนพบว่า มีเมืองอยู่ภายใตอ้ านาจปกครองของชาวพยู ๑๘ เมือง ชาวพยนู ับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเด็กๆ ไดร้ บั การศึกษาท่ีวดั ต้งั แต่อายุ ๗ ขวบจนถึง ๒๐ ปี พระพุทธศาสนาเถรวาทเจริญรุ่งเรืองในพม่าในราวพุทธศตวรรษที่ ๖ ต่อมา มีพระสงฆ์ ฝ่ ายมหายานซ่ึงเป็ นศิษยข์ องพระวสุพันธุไดน้ าลัทธิตันตระไปเผยแผ่ จนพระพุทธศาสนาท้งั สองนิกายเจริญรุง่ เรืองเป็ นเวลาหลายรอ้ ยปี และรุ่งเรืองมาก ในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๑ ชาวพมา่ เป็ นชนเผ่าอพยพมาจากทางตอนเหนือทีละน้อย ไดข้ ยายอานาจลง มาทางใตเ้ ขา้ รุกรานพวกมอญ มอญจึงตอ้ งถอยไปสรา้ งเมืองหลวงใหม่ที่หงสาวดี ใน ปี พ.ศ.๑๓๖๘ พม่าไดต้ ้ังอาณาจกั รข้ ึน มีศูนย์กลางอยู่ท่ีเมืองพุกาม(Pagan) ในปี พ.ศ.๑๓๙๒ ซึ่งเป็ นช่วงที่อาณาจกั รพยูเส่ือมสลายแลว้ อาณาจกั รพุกามแต่แรกน้ัน มิไดเ้ ป็ นอนั หน่ึงอันเดียวกัน กระทัง่ ในรชั สมยั ของพระเจา้ อโนรธา (พ.ศ.๑๕๘๗ - ๑๖๒๐) พระองคส์ ามารถรวบรวมแผน่ ดินพมา่ ใหเ้ ป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั สาเร็จ ในปี พ.ศ.๑๖๐๐ พระเจา้ อโนรธายกทัพตีเมืองสะเทิมของมอญ นาเอา พระไตรปิ ฎกและประเพณีพระพุทธศาสนามา ทรงทาใหน้ ิกายเถรวาทแพร่หลาย

๑๔๙ ดว้ ยความช่วยเหลือจากพระภิกษุมอญช่ือ ชินอรหนั ต์ ทรงสรา้ งเจดียท์ ี่สาคัญหลาย แห่งโดยเฉพาะมหาเจดียช์ เวดากอง โดยสรา้ งเสริมเจดียอ์ งคเ์ ดิม ซ่ึงเป็ นประเพณีท่ี สืบต่อมายาวนานวา่ พระเจา้ แผ่นดินทุกพระองคจ์ ะตอ้ งทรงทานุบารุงพระเจดีย์ ใน สมัยพระนางฉิ่นซอปู้ทรงพระราชทานทองคาเท่าน้าหนักพระองค์เองคือ ๔๐ กิโลกรมั เพื่อนาไปตีแผ่หุม้ พระเจดีย์ สมัยพระเจา้ ธรรมเซดีก็ทรงบริจาคทองคา หนักเป็ นส่ีเท่าของน้าหนักพระองคเ์ อง ในสมยั พระเจา้ มินดงทรงส่งฉตั รฝังเพชรอนั ใหม่มาถวายเป็ นพทุ ธบูชา ต้งั แต่น้ันมาจงึ เป็ นธรรมเนียมมาถึงปัจจุบนั ที่กษัตริยท์ ุก พระองค์จะตอ้ งพระราชทานทองคาเท่าน้าหนักพระองค์เองไปตีเป็ นแผ่นหุม้ องค์ พระมหาเจดีย์ เจดียช์ เวดากอง (Shwedagon Pagoda) เป็ นภาษาพม่า ชเว แปลว่า ทอง ดากอง แปลว่า เมืองตะเกิง ซึ่งเป็ นชื่อเดิมของเมืองย่างกุง้ เจดีย์ชเวดากอง จึง แปลวา่ พระเจดียท์ องเมืองตะเกิง ซ่ึงเป็ นมหาเจดียท์ องคาท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก ต้งั อยู่ บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุง้ ตานานกล่าวว่าสรา้ งเมื่อ ๒,๕๐๐ ปี ที่แลว้ โดยพอ่ คา้ ท้งั สอง แต่นักโบราณคดีเชอื่ กนั วา่ สรา้ งระหวา่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๖ ถึง ๑๐ แรกเริ่มสรา้ งมีความสูงเพียง ๒๗ ฟุต แต่ดว้ ยแรงศรทั ธาของชาวพม่าไดร้ ่วมกัน บริจาคทรัพย์สิน เงินทอง แลว้ ก่อสรา้ งเสริมองค์พระเจดีย์ใหส้ ูงใหญ่ข้ ึนเร่ือยๆ จนกระทัง่ ปัจจุบันมีความสูงถึง ๓๒๖ ฟุต กวา้ ง ๑,๓๕๕ ฟุต ทองคาที่โอบหุม้ เจดีย์ ชเวดากองอยู่ มีน้าหนักถึง ๑,๑๐๐ กิโลกรมั ช่างพม่าจะใชท้ องคาแทๆ้ นามาตีเป็ น แผ่นเรียงปิ ดองค์เจดียไ์ ว้ บนยอดของพระเจดีย์ มีเพชรอยู่ ๕,๔๔๘ เม็ด โดยเฉพาะ ยอดสุดมเี พชรเม็ดใหญ่ อยู่ ๗๒ กระรตั และทบั ทิม ๒,๓๑๗ เม็ด นอกจากเจดีย์ชเวดากองแล้ว ในอาณาจักรพุกามมีการสรา้ งเจดีย์อีก มากมาย เพราะชาวพุกามเชื่อวา่ การสรา้ งเจดียจ์ ะไดอ้ านิสงสส์ ูงสุด ตลอดที่ราบริม ฝั่งอิรวดีพ้ ืนท่ีกวา้ งไกลสุดสายตา ลว้ นประดบั ประดาไปดว้ ยเจดียม์ ากมาย กล่าวกนั วา่ มีถึง ๔,๐๐๐ องคท์ ีเดียว เมืองพุกามจึงไดช้ ่ือวา่ ทะเลเจดีย์ ดว้ ยเหตุน้ ีพุกามจึง ไดร้ ับยกย่องใหเ้ ป็ นมรดกโลก (World Heritage) จาก UNESCO แต่ทุกวนั น้ ีเหลือ เจดียอ์ ยู่เพียง ๒,๐๐๐ กวา่ องค์เท่าน้ัน ส่วนมากเป็ นเจดียร์ า้ ง แต่ดว้ ยแรงศรทั ธา และความเกรงกลวั บาปที่ฝังลึกในจิตใจของชาวพม่า เจดียจ์ ึงยงั ยืนหยดั อยไู่ ดโ้ ดยไม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook