Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-24 23:26:21

Description: ดร.เสฐียร ทั่งทองมะดัน
www.Kalyanamitra.org
หนังสือ,เอกสาร,บทความ นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

๒๐๐ สาขาออกไปมากมายท้ังในสหรัฐอเมริกา อารเ์ จนตินา เยอรมนี และออสเตรเลีย พระชาวจีนนิกายเซนหรือชาน (Chan) รูปแรกท่ีมาเผยแผ่ในสหรัฐอเมริกาคือ Hsuan Hua ท่านก่อต้ัง The Dharma Realm Buddhist Association (DRBA) ข้ ึนท่ี มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ เพื่อเป็ นศูนย์กลางในการสอนพระพุทธ- ศาสนาเซนแบบจีนแก่ชาวอเมริกนั และยงั ไดก้ อ่ ต้งั องคก์ รเซนอื่นๆ อีกมากมาย เช่น The Gold Mountain Monastery, The City of Ten Thousand Buddhas เป็ นตน้ พระภิกษุนิ กายเซนชาวเกาหลีที่มีช่ือเสียงในอเมริกาคือท่านเชียงเย็น (Sheng-yen) ซึ่งเดินทางมาสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ.๒๕๑๓ และไดก้ ่อต้ังโรงเรียน สอนพระพุทธศาสนานิกายเซน ช่ือ The Kwan Um School of Zen ข้ ึนในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ไดข้ ยายสาขาออกไปกวา่ ๑๐๐ แหง่ ท้งั ในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ยุโรป เอเชีย แอฟริกา และตะวนั ออกกลาง หวั ใจสาคญั ในการฝึกของอาจารยเ์ ชียงเย็นคือ การฝึกเป็ นกลุ่มหรือเป็ นทีมในทุกกิจกรรม ผูเ้ ขา้ รับการอบรมจะตอ้ งรบั ประทาน อาหารร่วมกัน ทางานร่วมกัน และฝึกสมาธิร่วมกัน หากทาเป็ นทีมจะทาใหก้ าร ปฏิบตั ิธรรมมีความกา้ วหน้าไปพรอ้ มๆ กนั ชาวพุทธญี่ป่ ุนนอกจากจะนานิกายเซน มาเผยแผ่แลว้ ยังไดน้ านิกายโซกะ กัคไค เขา้ มาดว้ ย โดยจัดต้ังองค์กรอย่างเป็ น ทางการในปี พ.ศ.๒๕๐๓ และเพยี งเวลาไมถ่ ึง ๔๐ ปี ไดข้ ยายตวั อยา่ งรวดเร็ว มีสาขา กวา่ ๗๑ แหง่ มีสมาชิก ๓๓๐,๐๐๐ คน กระจายอยทู่ วั่ ทุกมลรฐั สาหรบั พระพุทธศาสนามหายานแบบทิเบตน้ัน เขา้ สู่สหรัฐอเมริกาหลัง นิกายเซน โดยลามะรูปแรกท่ีเป็ นผูบ้ ุกเบิกคือ Geshe Ngawang Wangyal เป็ นลา มะนิกายเกลุก (Gelug) ท่านเดินทางไปอเมริกาในปี พ.ศ.๒๔๙๘ และจดั ต้งั สมาคม ลามะแห่ งอเมริก า \"Lamaist Buddhist Monastery of America\" ข้ ึ น ที่ มลรัฐ นิวเจอร์ซีย์ ในปี พ.ศ.๒๕๐๑ ลูกศิษยช์ าวอเมริกันของท่านที่เป็ นนักวิชาการผูม้ ี ชื่อเสียงมีหลายท่าน เชน่ Robert Thurman, Jeffrey Hopkins และ Alexander Berzin หลงั จากน้ันก็มีลามะท่านอ่ืนๆเขา้ ไปเผยแผอ่ ีกหลายรปู สาหรบั ท่านทะไล ลามะองค์ปัจจุบนั ไปอเมริกาคร้งั แรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๒ และไปเยือนคร้งั ล่าสุดในเดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๔๖ ท่ีผ่านมา โดยประธานาธิบดี จอรจ์ ดับเบิลยู บุชใหก้ ารตอ้ นรบั อย่างสมเกียรติ สาเหตุท่ีองค์ทะไล ลามะเป็ นที่ รูจ้ กั และเป็ นที่สนใจของคนทวั่ โลก เป็ นผลมาจากเหตุสาคญั ประการหนึ่งคือ ฮอลลี

๒๐๑ วูดสตูดิโอแห่งประเทศสหรฐั อเมริกาไดถ้ ่ายทาชีวติ ของท่านลงสู่แผ่นฟิ ลม์ ออกฉาย ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ ในเรื่องคุนดุน (Kundun) และเรื่องเจ็ดปี ในทิเบต (Seven Years in Tibet) โดยเฉพาะเร่ืองหลังน้ ี แบรด พิตต์ ดาราช่ือดงั แห่งฮอลลีวดู เป็ นนักแสดงนา จึงทาใหม้ ีคนติดตามชมกันทัว่ โลก ภาพยนตร์ท้ัง ๒ เรื่องไดถ้ ่ายทอดเหตุการณ์ สาคญั ทางการเมืองของทิเบตคือ กรณีที่ประเทศจีนนาโดยเหมาเจ๋อตุง เขา้ ยดึ ครอง ทิเบตในปี พ.ศ.๒๔๙๔ และเป็ นเหตุใหอ้ งคท์ ะไล ลามะตอ้ งเสด็จล้ ีภยั ทางการเมือง ไปอยู่ที่ธรรมศาลา ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ ภาพยนตร์ เรื่องน้ ีสรา้ งความสะเทือนใจแก่ชาวโลกอย่างมาก และที่สาคัญได้สัน่ สะเทือน การเมืองจีนไม่น้อย จนรฐั บาลจีนถึงกับประกาศหา้ ม Martin Scorsese ผูก้ ากบั ช่ือ ดงั และแบรด พติ ต์ เขา้ ไปเหยยี บแผ่นดินจนี ในปี พ.ศ.๒๕๐๔ ประเทศจากทวีปเอเชีย ๘ ประเทศ คือ พม่า กัมพูชา ลังกา อินเดีย ลาว ไทย เวียดนาม ไตห้ วนั และญี่ป่ ุน ไดร้ ่วมกันก่อสรา้ งวดั พุทธ ศาสนาแห่งชาติข้ ึน โดยการประชุมกันของเอกอัครราชทูตของประเทศต่างๆ การ รวมตวั กนั คร้งั น้ ีเป็ นการแสดงพลงั สามคั คีของชาวพุทธใหโ้ ลกไดป้ ระจกั ษ์วา่ แมม้ า จากต่างชาติต่างเผ่าพนั ธุ์กนั แต่ชาวพุทธมีเลือดสีเดียวกันคือ สีกาสายะ เป็ นสมณ ศากยบุตรเหมือนกนั ในปี เดียวกนั น้ ี มหาวทิ ยาลยั วสิ คอนซินไดเ้ ปิ ดสอนหลกั สูตรพุทธศาสตรใ์ น ระดับปริญญาเอกข้ ึนเป็ นแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา ในแผนกวิชาภารตศึกษา ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ไดม้ ีการจดั ต้งั มหาวทิ ยาลยั พุทธธรรมข้ ึนในรฐั แคลิฟอรเ์ นีย โดยเปิ ดสอนสาขาวิชาพระพุทธศาสนาต้ังแต่ระดับปริญญาตรีจนถึงปริญญาเอก และนับจากน้ันเป็ นตน้ มา มหาวิทยาลัยจานวนมากไดเ้ ปิ ดสอนพระพุทธศาสนา และในปี พ.ศ.๒๕๓๙ มีมหาวิทยาลัยประมาณ ๑๕ แห่งท่ีเปิ ดสอนหลักสูตร พระพุทธศาสนาจนถึงปริญญาเอก เช่น Harvard University, Princeton University, University of Chicago, University of Virginia เ ป็ น ต้ น แ ต่ ใ น ปั จ จุ บั น สถาบนั การศึกษา เกือบทุกแหง่ ในสหรฐั อเมรกิ าเปิ ดสอนวชิ าพระพุทธศาสนา สาหรบั พุทธศาสนิกชนไทยในอเมริกา ไดร้ ่วมใจกันก่อต้งั พุทธสมาคมไทย อเมริกันข้ ึนที่นครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ ได้นิมนต์ พระสงฆ์ไทย จานวน ๓ รูป คือ พระราชโมลี (พระเทพโสภณ วัดพระเชตุพนฯ)

๒๐๒ พระวชิรธรรมโสภณ (วดั วชิรธรรมสาธิต) และพระมหาสิงหท์ น (วดั พระเชตุพนฯ) เดินทางไปจาพรรษาชวั่ คราวที่นครลอสแอนเจลิส รฐั แคลิฟอรเ์ นีย หลงั จากน้ัน ๒ ปี คือในวนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๕ มีการวางศิลาฤกษ์เพ่ือสรา้ งวดั ไทยแหง่ แรก ในสหรฐั อเมริกา โดยสมเด็จพระวนั รตั (ปุณณสิริมหาเถระ) เป็ นองค์ประธาน ได้ สรา้ งพระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ พรอ้ มประกอบพิธีฝังลูกนิมิตและผูกพัทธสีมา เม่ือวนั ที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๕ ภายหลงั มีการสรา้ งวดั ไทยข้ ึนอีกหลายวดั ดว้ ยกนั เชน่ วดั ไทยลอสแอนเจลิส รฐั แคลิฟอรเ์ นีย วดั พุทธวราราม รฐั โคโลราโด วดั ธรรมา ราม รฐั อิลลินอยส์ วดั ไทยกรุงวอชิงตนั ดี.ซี. รฐั แมรแี ลนด์ เป็ นตน้ ๗) ประเทศออสเตรเลีย ประเทศออสเตรเลียมีช่ืออย่างเป็ นทางการว่า เครือรัฐออสเตรเลีย (Commonwealth of Australia) ประกอบด้วย ๖ รัฐ และเขตปกครองตนเอง ๒ มณฑล มณฑลแรกคือ ออสเตรเลียนแคพิทอลเทอร์ริทอรี เมืองหลวงช่ือ แคนเบอรร์ า (Canberra) เป็ นศูนยก์ ลางการปกครองของประเทศ มณฑลที่สองคือ นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี มีเมืองดาร์วิน (Darwin) เป็ นเมืองหลวง ส่วนรัฐท้ัง ๖ ประกอบดว้ ย รัฐนิวเซาท์เวลส์ เมืองหลวงชื่อ ซิดนีย์ (Sydney) รัฐน้ ีมีประชากร หนาแน่นมากท่ีสุด รฐั ควีนส์แลนด์ มีเมืองหลวงชื่อ บริสเบน (Brisbane) รฐั เซาท์ ออสเตรเลีย เมืองหลวงชื่อ แอดิเลด (Adelaide) รัฐแทสเมเนี ย เมืองหลวงชื่อ โฮบารต์ (Hobart) รฐั เวสเทิรน์ ออสเตรเลีย เมืองหลวงชื่อ เพิรท์ (Perth) และรฐั วกิ ตอเรยี เมืองหลวงช่ือ เมลเบิรน์ (Melbourne) ประเทศออสเตรเลียมีประชากรประมาณ ๒๐,๕๕๕,๓๐๐ คน (พ.ศ.๒๕๔๙) ส่วนใหญ่นั บถือศาสนาคริสต์ ผู้ท่ีนั บถือศาสนาอ่ืนก็มีอยู่พอสมควร เช่ น พระพุทธศาสนา อิสลาม ฮินดู และยวิ ท้ังน้ ีเพราะออสเตรเลียใหเ้ สรีภาพในการนับ ถือศาสนา จากการสารวจผูน้ ับถือศาสนา ในปี พ.ศ.๒๕๔๔ พบวา่ พุทธศาสนิกชนมี อยู่ประมาณ ๓๕๗,๘๑๓ คน และในปี พ.ศ.๒๕๔๙ มีศูนยท์ างพระพุทธศาสนาอยู่ ประมาณ ๔๑๒ ศูนย์ แมจ้ านวนพุทธศาสนิกชนในออสเตรเลียจะยงั มีปริมาณน้อย แต่ก็มีอัตราการเติบโตรวดเร็วท่ีสุดในทุกศาสนา ชาวพุทธในออสเตรเลียยุคแรก เป็ นชาวเอเชยี ที่เขา้ ไปทางานในรฐั ต่าง ๆ โดยเริ่มตน้ เมื่อปี พ.ศ.๒๓๙๑ กลุ่มแรงงาน

๒๐๓ ชาวจีนจึงเป็ นชาวเอเชียกลุ่มแรกที่นาพระพุทธศาสนาเขา้ ไป แรงงานเหล่าน้ ีเขา้ ไป ทางานในอุตสาหกรรมขุดทองของรฐั วิกตอเรีย (Victorian gold fields) เพราะในชว่ ง น้ันเป็ นยุคที่ชาวโลกกาลงั ต่ืนทองคา (Gold Rush) ต่อมาปี พ.ศ.๒๓๙๙ จึงไดส้ รา้ ง วดั ข้ ึนที่ทางตอนใตข้ องเมืองเมลเบิรน์ วดั น้ ีมีหลากหลายวฒั นธรรมคือ ท้งั ลทั ธิเต๋า ขงจ้ ือ รวมท้ังเทพเจา้ และโหราศาสตรต์ ่าง ๆ สืบเน่ืองจากชาวจีนเหล่าน้ ีไปทางาน ชวั่ คราว ภายหลงั วดั จงึ ตอ้ งปิ ดตวั ลง จนกระทงั่ ในปี พ.ศ.๒๔๑๐ กลุ่มชาวพุทธจากประเทศญ่ีป่ ุนหลายกลุ่มไดเ้ ขา้ ไปในออสเตรเลีย ซึ่งเป็ นกลุ่มของนักกายกรรมและนักมายากล ไดเ้ ขา้ ไปอย่าง ต่อเนื่องตลอดศตวรรษ โดยรวมกลุ่มกนั อยทู่ ี่แหล่งอุตสาหกรรมแถบนอรเ์ ทิรน์ ออส เตรเลีย พระพุทธศาสนาท่ีนาเขา้ ไปจากประเทศญ่ีป่ ุน เป็ นมหายานนิกายชินโต จากน้ันในปี พ.ศ.๒๔๑๓ ชาวพุทธจากศรีลังกาไดเ้ ขา้ ไปทางานในไร่ออ้ ยท่ีรฐั ควีนส์ แลนด์ และสรา้ งวดั นิกายเถรวาทข้ ึนในรฐั น้ันที่ Thursday Island ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ชาวศรีลงั กาก็ไดเ้ ขา้ มาสมทบอีกหนึ่งกลุ่มประมาณ ๕๐๐ คน ชาวพุทธศรี ลงั กาเหล่าน้ ีไดช้ ่วยกนั ปลูกตน้ โพธ์ิข้ ึน ซ่งึ มอี ยู่ ๒ ตน้ ท่ียงั คงเจริญเติบโตยงั่ ยนื ควบคู่ พระพุทธศาสนามาจนกระทงั่ ถึงปัจจุบนั แมช้ าวพุทธตะวนั ตกก็เขา้ ไปเผยแผ่ในออสเตรเลียเช่นกัน นาโดยพนั เอก เฮนรี่ สตีล โอลคอตต์ เข้าไปในปี พ.ศ.๒๔๓๔ เขาใชเ้ วลาหลายเดือนบรรยาย พระพุทธศาสนาในท่ีต่าง ๆ ดว้ ยความท่ีเป็ นคนตะวนั ตกชานาญในภาษาอังกฤษ เขา้ ใจวฒั นธรรมในประเทศที่นับถือศาสนาคริสตเ์ ป็ นอย่างดี จึงทาใหก้ ารบรรยาย ของเขาน่าสนใจเป็ นอย่างยิ่ง พันเอกเฮนร่ี สตีล โอลคอตต์ เป็ นคนสาคัญที่ร่วม ก่อต้ังสมาคม Theosophical Society ข้ ึน สมาคมน้ ี มีจุดมุ่งหมาย เพื่อเผยแพร่ ปรชั ญาทางพระพุทธศาสนา หน่ึงในสมาชิกสมาคมน้ ีคือ เอ็ลเฟร็ด เดียคิน (Alfred Deakin) ซึ่งต่อมาเขาไดเ้ ป็ นนายกรฐั มนตรีของประเทศออสเตรเลียถึง ๓ สมยั เอ็ล เฟร็ด เดียคิน เดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดียและศรีลงั กาเป็ น ระยะเวลา ๓ เดือน ในปี พ.ศ.๒๔๓๓ เขาไดเ้ ผยแพร่หนังสือเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนา เล่มหน่ึง ซึ่งเกิดข้ ึนจากประสบการณ์ที่ไดจ้ ากการเยือนถิ่นพระพุทธศาสนาในคร้งั น้ัน

๒๐๔ การเผยแผ่พระพุทธศาสนายุคแรกในออสเตรเลีย กระทาโดยฆราวาสเป็ น หลกั จนกระทงั่ ปี พ.ศ.๒๔๕๓ พระภิกษุชาวพม่ารูปแรกไดเ้ ดินทางไปออสเตรเลีย จึง เป็ นจุดเรมิ่ ตน้ ใหพ้ ระภิกษุจากเอเชียประเทศตา่ งๆ ตามเขา้ ไปภายหลงั เพือ่ ยงั ความ สว่างทางปัญญาใหเ้ กิดข้ ึนแก่ชาวออสเตรเลีย นับต้ังแต่บัดน้ันไดเ้ กิดองค์กรทาง พระพุทธศาสนาข้ ึนหลายแห่ง เช่นในปี พ.ศ.๒๔๘๑ เล็น บูลเล็น (Len Bullen) ก่อต้ังกลุ่มผูศ้ ึกษาพระพุทธศาสนาข้ ึนท่ีเมืองเมลเบิรน์ ในปี พ.ศ.๒๔๙๖ สมาคม พระพุทธศาสนาแหง่ วกิ ตอเรียก็ไดร้ บั การก่อต้งั ข้ ึน และท่ีสาคญั ในปี พ.ศ.๒๕๐๑ มี การก่อต้งั สหพนั ธ์พระพุทธศาสนาแห่งออสเตรเลียข้ ึน ซ่ึงสหพันธ์น้ ีเติบโตรวดเร็ว มาก ขยายสาขาไปหลายแหง่ เชน่ ออสเตรเลียตะวนั ตก ออสเตรเลียใต้ ควนี สแ์ ลนด์ และรฐั วกิ ตอเรีย ก่อนถึงปี พ.ศ.๒๕๑๓ มีพระภิกษุจากศรีลังกาชื่อ โสมะโลกะ (Somaloka) เดินทางเขา้ ไปประกาศพระศาสนา ท่านไดก้ ่อต้ังสมาคมพระพุทธศาสนาแห่งนิว เซาท์เวลส์ข้ ึนในปี พ.ศ.๒๕๑๔ โดยสรา้ งข้ ึนที่ Blue Mountains ทางตะวนั ตกของ เมืองซิดนีย์ (Sydney) สมาคมน้ ีไดข้ ยายศูนยส์ าขาเพ่ิมข้ ึนอีกมากมาย สาหรบั ชาว พุทธจากประเทศไทยก็ไดเ้ ขา้ ไปเผยแผ่เชน่ กนั เม่ือวนั ท่ี ๑๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๗ ไดส้ รา้ งวดั ธรรมรงั ษีข้ ึนดว้ ยความร่วมมือจากชาวพุทธนานาชาติ วดั น้ ีอยูใ่ นความ อุปถัมภ์ของมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ทาการเปิ ดสอบธรรมศึกษาเป็ นวดั แรก ของประเทศออสเตรเลีย นอกจากน้ ียงั ไดเ้ ปิ ดสอนภาษาไทย ศิลป-วฒั นธรรมไทย ราไทย และอ่ืนๆ ใหก้ บั ชาวต่างชาติและชาวไทยอีกดว้ ย ภายหลงั ชาวพุทธไทยก็ได้ สรา้ งวดั ข้ ึนอีกหลายแหง่ สาหรบั พระพุทธศาสนามหายานนิชิเร็นนิกายโซกะ กคั ไคน้ัน เรม่ิ ตน้ เม่ือปี พ.ศ.๒๕๐๗ โดยไดซาขุ อิเคดะ ผูน้ าองคก์ รโซกะ กคั ไคคนปัจจุบนั ไดเ้ ดินทางเขา้ ไป ในประเทศออสเตรเลีย จดั ต้งั กลุ่มโซกะ กคั ไคข้ ึนท่ีเมืองเมลเบิรน์ มีสมาชิก ๖ คน หลงั จากน้ันไดข้ ยายกลุ่มออกไปอยา่ งรวดเร็ว ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ ๒๗๐ กลุ่มทัว่ ประเทศออสเตรเลีย แตล่ ะกลุ่มจะมสี มาชกิ ประมาณ ๕-๑๐ คน ส่วนพระพุทธศาสนาทิเบต เริ่มต้นข้ ึนเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๗ โดยลามะจาก ทิเบตรูปแรกเดินทางเขา้ ไปเผยแผใ่ นออสเตรเลีย จากน้ันในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ลามะชื่อ Geshe Acharya Thubten Loden ก็เขา้ ไปประกาศพระศาสนา ไดต้ ระเวนสอนชาว

๒๐๕ ออสเตรเลียประมาณ ๑,๐๐๐ คน ถึงวิธีการเขา้ ถึงความสุขและสันติภาพอันย่งิ ใหญ่ ผ่านหลักพุทธศาสนาทิเบต นอกจากน้ ีองค์ทะไล ลามะผูน้ าสงฆแ์ ห่งทิเบตก็ไดเ้ ขา้ ไปโปรดชาวออสเตรเลียดว้ ยเช่นกัน โดยเขา้ ไปถึง ๓ คร้งั คือในปี พ.ศ.๒๕๒๕ พ.ศ.๒๕๓๕ และพ.ศ.๒๕๓๙ ไปแต่ละคร้ังก็ไดพ้ บปะกับพุทธศาสนิกชนมากมาย และท่ีสาคญั ในการไปคร้งั ที่สาม องคท์ ะไล ลามะไดเ้ ขา้ พบและถ่ายรูปร่วมกบั จอหน์ ฮาวเวริ ด์ (John Howard) นายกรฐั มนตรีแห่งประเทศออสเตรเลียดว้ ย ปัจจุบนั ศนู ย์ พระพุทธ-ศาสนาทิเบตมีมากมายทัว่ ประเทศออสเตรเลีย จากขอ้ มูลในเว็บไซต์ www.buddhanet.net ระบุว่าปัจจุบันมีอยู่ประมาณ ๑๐๗ ศูนย์ ซ่ึงถือว่ามีอัตรา การเติบโตรวดเร็วมาก๖.๓ สาเหตุที่ชาวตะวนั ตกหนั มานับถือพระพทุ ธศาสนา การมาเอเชียของชาวตะวนั ตกในยุคล่าอาณานิคม แมโ้ ดยมากความต้ังใจ เดิมจะมาเพ่ือการคา้ การเมือง และการเผยแผ่คริสตศ์ าสนา แต่เม่ือเขาเหล่าน้ันได้ สัมผัสกับหลักเหตุผลในพระพุทธศาสนา ซ่ึงสอดคลอ้ งกับวิทยาศาสตร์ที่กาลัง เจริญรุง่ เรืองอยใู่ นตะวนั ตก ทาใหห้ ลายต่อหลายคนเกิดความประทบั ใจทุ่มเทศึกษา อยา่ งจริงจงั และยงั เป็ นกาลงั สาคญั ในการเผยแผ่ในแดนตะวนั ตกดว้ ย ประกอบกบั ในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ และ ๒๕ ที่ผ่านมา มีการจัดส่งสมณทูตจานวนมากจาก เอเชียไปเผยแผ่พุทธธรรมในยุโรป อเมริกา และโอเชียเนีย ปัจจุบันชาวตะวนั ตก จานวนไม่น้อยจึงหนั มาสนใจพระพุทธศาสนาและมีแนวโน้มจะเพ่ิมมากข้ ึนเรื่อย ๆ โดยเฉพาะพระพุทธศาสนามหายาน ท้ังน้ ีเพราะหลกั คาสอนที่ใหศ้ รทั ธาในพระเจา้ โดยปราศจากเหตุผล ไมเ่ ป็ นที่นิยมของชาวตะวนั ตกเสียแลว้ ชาวยุโรปและอเมริกา จานวนมาก ไม่เชื่อเรือ่ งพระเจา้ หากพระเจา้ ทรงมีมหิทธานุภาพ ทรงสรา้ งสรรพส่ิง และยง่ิ ดว้ ยความเมตตากรุณาจรงิ พระองคค์ งไมป่ ลอ่ ยใหโ้ ศกนาฏกรรมสะเทือนโลก วนั ท่ี ๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๔ เกิดข้ ึนกับชาวอเมริกัน ดว้ ยเหตุน้ ีชาวตะวนั ตก มากมายจึงเลิกนับถือศาสนาเดิมและกลายเป็ นคนว่างจากศาสนา แต่เมื่อเขา เหล่าน้ันมาพบพระพุทธธรรม คาสอนที่ทา้ ใหพ้ ิสูจน์โดยไม่จาเป็ นตอ้ งเช่ือตาม จึง ปักใจรกั พระพทุ ธศาสนายง่ิ นัก อลั เบิรต์ ไอสไตน์ เคยใหท้ ัศนะเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและศาสนาท่ีสอน ใหเ้ ชือ่ ในพระเจา้ ไวว้ า่ \"ศาสนาในอนาคตจะตอ้ งเป็ นศาสนาสากล ศาสนาน้ันควรอยู่ เหนือพระเจา้ ท่ีมีตัวตน และควรเวน้ คาสอนแบบสาเร็จรูปท่ีใหเ้ ช่ือตามเพียงอย่าง

๒๐๖ เดียว และแบบเทววทิ ยา คืออา้ งเอาเทวดาเป็ นหลกั ใหญ่ ศาสนาน้ันเม่ือครอบคลุม ท้ังธรรมชาติและจิตใจ จึงควรมีรากฐานอยู่บนสานึกทางศาสนาท่ีเกิดข้ ึนจาก ประสบการณ์ต่อสิ่งท้ังปวง คือท้ังธรรมชาติและจิตใจอย่างที่เป็ นหน่วยรวมท่ีมี ความหมาย พระพุทธศาสนาตอบขอ้ กาหนดน้ ีได้ ถา้ จะมีศาสนาใดท่ีรบั มือได้ กบั ความตอ้ งการทางวทิ ยาศาสตรส์ มยั ปัจจุบนั ศาสนาน้ันควรเป็ นพระพุทธศาสนา\" นอกจากน้ ี พระพุทธศาสนายังมีคาสอนไม่ใหใ้ ชค้ วามรุนแรงดว้ ย ดังที่ ปรากฏในโอวาทปาฏิโมกข์ จึงถูกใจชาวตะวนั ตกผูใ้ ฝ่ หาสนั ติภาพย่ิงข้ ึน ชาวพุทธที่ แทจ้ ริงแมถ้ ูกทารา้ ยจนถึงชีวิตก็ไม่มีปรากฏในประวตั ิศาสตรว์ ่าไดร้ วมตัวกันจับ อาวุธข้ ึนต่อสู้ ไดแ้ ต่ใชค้ วามอดทนตามพระพุทธโอวาท แต่ในศาสนาเทวนิยมน้ันมี ปรากฏอยบู่ ่อยครง้ั ท้งั ในอดีตและปัจจุบนั ที่เกิดการนองเลือดข้ ึนระหวา่ งศาสนาบา้ ง ระหว่างนิกายบา้ ง เช่น สงครามครูเสด (Crusade) เป็ นตน้ ชาวคริสต์และมุสลิม ต่อสู้กันยาวนานเกือบ ๒๐๐ ปี จากปี พ.ศ.๑๖๓๙-พ.ศ.๑๘๓๔ เพื่อแย่งเมือง เยรูซาเล็ม ท่ีเช่ือกนั ว่าเป็ นดินแดนศกั ด์ิสิทธ์ิตามหลกั ศาสนาของตน ดว้ ยหลกั แห่ง เหตุผล ไม่สอนใหเ้ ช่ือโดยไม่ไดพ้ ิสูจน์ และการไม่ใชค้ วามรุนแรง พระพุทธศาสนา จึงเป็ นท่ียอมรับของชาวตะวันตกมากข้ ึนเร่ือย ๆ ปัจจุบันพระพุทธศาสนาใน ตะวนั ตกจึงเติบโตรวดเร็วมาก จากที่กล่าวมาท้งั หมด พอจะสรุปไดว้ า่ พระพุทธศาสนาในตะวนั ตกยุคปัจจุบันมีอัตราการเติบโตรวดเร็วมากและ เติบโตเร็วกวา่ ทุกศาสนา โดยเจริญรุ่งเรืองอยูใ่ นประเทศอังกฤษ เยอรมนี ฝรงั่ เศส สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกาและแคนาดา เป็ นต้น ส่วนโซนโอเชียเนี ยน้ัน พระพุทธศาสนาเจริญรุง่ เรอื งอยใู่ นประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ พระพุทธศาสนาเร่ิมเป็ นที่รูจ้ ักของชาวตะวันตกอย่างกวา้ งขวางเมื่อ ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๔ - ๒๕ โดยพระพุทธศาสนาเถรวาทเขา้ ไปเผยแผ่ก่อน ในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ซึ่งแพร่หลายอยู่ในหมู่นักวิชาการแต่ประชาชนทัว่ ไปยงั ไม่ ค่อยรูจ้ กั จนกระทัง่ พุทธศตวรรษท่ี ๒๕ นิกายมหายานหลายนิกายไดเ้ ขา้ ไปเผยแผ่ ซ่งึ ไดร้ บั ความนิยมมากท้งั ในวงวชิ าการและประชาชนทวั่ ไปโดยเฉพาะนิกายเซนและ พระพุทธศาสนาแบบทิเบต

๒๐๗ สาเหตุสาคญั ท่ีชาวตะวนั ตกหนั มานับถือพระพุทธศาสนาน้ัน ในเบ้ ืองตน้ เพราะเส่ือมศรทั ธาในศาสนาเดิมที่สอนใหเ้ ช่ือเพียงอยา่ งเดียวโดยปราศจากเหตุผล ซ่ึงขัดแยง้ กับหลักวิทยาศาสตร์ท่ีกาลังเจริญรุ่งเรืองอยู่ในตะวันตก และเม่ือเขา เหล่าน้ันไดศ้ ึกษาพระพุทธศาสนาท่ีทา้ ทายใหพ้ ิสูจน์โดยไมบ่ ังคบั ใหเ้ ช่ือตาม อีกท้ัง หลักคาสอนยงั ยึดเหตุผลและการไม่ใชค้ วามรุนแรง จึงทาใหช้ าวตะวนั ตกศรทั ธา และหนั มานับถือพระพุทธศาสนา อาจารยข์ อจบจดหมายฉบบั น้ ีเพยี งเท่าน้ ี ขอใหพ้ ระรตั นตรยั คุม้ ครอง อาจารย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook