Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวเข้ม O net get 100 ภาษาไทย ม.ปลาย โดย True ปลูกปัญญา

ติวเข้ม O net get 100 ภาษาไทย ม.ปลาย โดย True ปลูกปัญญา

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-04-19 03:12:46

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความที่เผยแพร่นี้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

6. ขอใดใชก ลวธิ ีการแตงเหมอื นตัวอยางตอ ไปนี้ “สรรพสัตวพ ูดจาประสาคน คงภูมใิ จเหลอื ลนไดตอบคาํ ” 1. ขอ ก. 2. ขอ ข. 3. ขอ ค. 4. ขอ ง. 7. คาํ ประพนั ธต อ ไปนใ้ี ชภ าพพจนตามขอใด “ฉนั มองคลน่ื รนื่ เรเขาเหฝ ง พร่ําฝากฝงภักดไี มมสี อง มองดาวเฟย มเยีย่ มพักตรล ักษณล ํายอง จากคนั ฉองชลาลัยใสสะอาง” 1. บุคคลวัตและอปุ ลักษณ 2. สัญลักษณและอตพิ จน 3. บคุ คลวตั และสญั ลักษณ 4. อุปลกั ษณและอตพิ จน 8. ลักษณะการประพันธท ่เี ดนชัดทสี่ ุดของบทประพนั ธตอ ไปนี้คืออะไร “จากความวุนววู ามสูค วามวาง จากความมดื มาสวางอยางเฉิดฉัน จากความรอ นระอเุ ปน เยน็ นิรันดร ไมร พู ลันพลิกเหน็ เปนความรู” 1. การเลนเสยี งสัมผสั 2. การซ้าํ คาํ เพมิ่ ความหมาย 3. การเลนคําหลากความหมาย 4. การใชคําทมี่ ีความหมายขดั แยง กนั 9. “พิราบบนิ กลับมาหลงั คาโบสถ พายโุ หดยงั กระห่ึมกระเกย้ี มเรอื เมอื่ แกวตกลงแตกก็แหลกรื้อ แตแ กวคือแกวพรา งใจ” คําประพนั ธข างตนใชภ าพพจนใดบา ง 1. สัญลกั ษณ บุคลาธษิ ฐาน อปุ ลกั ษณ 2. สญั ลกั ษณ ปฏิพากย อปุ ลักษณ 3. อุปลักษณ บคุ ลาธษิ ฐาน อตพิ จน 4. อปุ ลกั ษณ อติพจน อุปมา 10. \"บหุ ลันเล่อื นลอยฟาไมราคี รัศมสี องสวา งด่งั กลางวัน” ขอความนี้เปน โวหารภาพพจนชนิดใด? 1. อปุ มา 2. อตพิ จน 3. อปุ ลกั ษณ 4. บุคลาธิษฐาน เฉลยคําตอบ 1. เฉลย ตอบขอ 4. การอปุ มา คอื การเปรยี บสงิ่ หนงึ่ “เหมอื น” เหมอื นอกี สง่ิ หนงึ่ ถา พจิ ารณาขอ 1. มอี ปุ มาตรงคาํ วา “เพยี ง” ขอ 2. มอี ปุ มาตรงคําวา “เสมอ” และ 3. มีอุปมาตรงคําวา “เลห ” 2. เฉลย ตอบขอ 3. เพราะโวหารบคุ คลวตั คอื การทสี่ ิ่งไมมชี วี ิตทาํ กริยาเหมอื นสงิ่ มชี ีวิต ซ่งึ ในท่ีน้ี “ความชรา” นน้ั ทาํ กริยา “มาเยือน” 3. เฉลย ตอบขอ 2. เพราะในท่นี ีม้ คี วามหมายวา สง่ั นกใหไปบอกนางวาพคี่ ิดถงึ ซ่งึ นกไมส ามารถทํากรยิ าบอกได จงึ เปน บุคคลวัต แตนองบางคนอาจยังสงสัยวาทําไมไมตอบ 3. เพราะดอกไมทํากริยา “รอง” แตในที่นี้ไมไดหมายถึง ดอกไมที่เปน พืช แต ดอกไมใ นท่นี คี้ อื ดอกไมไฟ (เสียงพลุ) น่นั เอง 4. เฉลย ตอบขอ 1. เพราะในที่น้สี ่อื ความหมายวา “นํ้าคาง” ทําอาการ “หม ” กลีบดอกล่ันทม 5. เฉลย ตอบขอ 4. เพราะเปน “การเลน คาํ พอง” น่ันคือ คําวา “พูด” โดย “พดู ” มาจาก “บางพูด” ซง่ึ เปน ชื่อสถานที่ แต คําวา “พูด” คําท่ีสองคือคํากริยา เชนเดียวกันกับในตัวเลือก โดยคําวา “รัก” คําแรก คือ “ตนรัก” แต “รัก” คําที่สองหมายถึง “อาการรกั ” 150 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

6. เฉลย ตอบขอ 1. เปนกลวธิ ีการแตง โดยใชบุคคลวตั สงั เกตจาก “สตั วพ ดู จาประสาคน” ซง่ึ ตรงกบั ในโจทยท ีว่ า “ความวา ง เปลามาเยือน” 7. เฉลย ตอบขอ 1. เพราะวา จากกลอนขางตน นั้น นองๆ สามารถบุคคลวัตไดจาก “คลนื่ รน่ื เรเขาเหฝง” และ “ดาวเฟยม เย่ียมพักตร” สวนอุปลกั ษณน ั้นสังเกตจาก “คนั ฉองชลาลยั ” คอื เปรียบนา้ํ เปน กระจก น่ันเอง 8. เฉลย ตอบขอ 4. พ่ีวาขอนี้สังเกตงายมากๆ เพราะในทุกวรรคมีการใชคําท่ีตรงกันขามกัน ไมวาจะเปน “ความวุนวาย, ความวา ง” “ความมดื ดาวเฟยมเยีย่ มพกั ตร, ความสวา ง” “ความรอน, ความเย็น” 9. เฉลย ตอบขอ 1. โดยสญั ลกั ษณน ั้นสังเกตจากคาํ วา “พายุ” ซึง่ ในที่นหี้ มายถึง “อุปสรรคท่ขี วางกั้น” บุคลาธิษฐานหรอื บุคคลวตั นนั้ สงั เกตไดจ าก “พายโุ หดยงั กระหมึ่ กระเกย้ี มเรอื ” และอปุ ลกั ษณน นั้ กด็ ไู ดจ ากตอนทา ยของบท นน่ั คอื “แกว คอื แกว พรา งใจ” 10. เฉลย ตอบขอ 1. เพราะถานอ งๆ สงั เกตดๆี จะเห็นคํากญุ แจ คอื คําวา “ดงั่ ” ซึง่ เปน คาํ ท่ีใชแสดงการเปรยี บเทยี บ คําไวพจน คาํ ไวพจน คอื คาํ ทมี่ คี วามหมายเหมอื นกนั ในบทประพนั ธห รอื ในการแตง วรรณคดนี นั้ คาํ ไวพจนจ ะถกู นาํ มาใชอ ยา งมากมาย เพ่ือความงดงามทางภาษา ยกตวั อยา งเชน พระเจา แผน ดนิ เชน ประมุข กษัตริย กษัตรา กษตั รยี  กษตั ราธิราช พระมหากษตั รยิ  กษัตร กษัตรยิ ร าช กษิตลบดี ขตั ตยิ ะ ขัตติยา พระราชาธิราช ราชา ภมู ิบดี มหบิ ดี มหิบาล มหบิ าล มหปิ นเรศ นเรศวร มหาบพติ ร(เฉพาะพระที่ใช) บรมพิตร ภวู นาถ ภวู ไนย ภวู เนตร ภธู ร ภธู เรศวร ภเู บศ ภบู าล ภบู ดี ภูเบนทร ภเู บศวร นริศวร นราธปิ นฤเทพ นฤบดี นรราช นฤเบศ นรงั สรรค นรนิ ทร ภธู เรศ จกั รี จักรนิ บพิตร ภมู นิ ทร บดนิ ทร ดวงใจ เชน แด กมล ทรวง มน มโน รติ ฤทยั ฤดี หฤทยั อุระ อก ทอ งฟา เชน คคนัมพร คคนางค คคนานต ทิฆัมพร นภ นภดล นภมณฑล นภา นภาลยั โพยม โพยมาน เวหะ เวหา ดอกไม เชน บุปผ บุปผา บปุ ผชาติ บุษยา บุษบะ จาว จราว มาลยั มาลา พบู กรรณกิ า กสุ ุม โกสุม กสุ ุมาลย บุษบง บษุ บัน บุหงา บุหลนั ผกา พเยีย มาลย มาลี สมุ น สุมนา สุมาลี ผูห ญงิ เชน กัญญา กัลยา กลั ยาณี กานดา แกว ตา ขนิษฐา ดรณุ ี ดวงสมร ถี นง นงราม นงคราญ นงนุช นงเยาว นงลกั ษณ นุช เนยี ง แนง แนงนอย บงั อร พธู ยุพา ยุพิน ยวุ ดี เยาวมาลย เยาวเรศ สายสมร สุดา อนงค วนิดา พนิดา วรดนู อร อังคณา อิตถี ชา ง เชน หสั ดี คเชนทร คชนิ ทร ดมไร หัสดินทร กรี กรนิ ทร กุญชร คช คชา คชาธาร พลาย พงั นาค นาคนิ ทร นาเคนทร สาร หัตถี ไอยรา คชสาร สาง เมือง เชน ธานี นคร ธานิน นครนิ ทร นคเรศ บรู ี บรุ ี พารา กรงุ ไกร ปุระ บรุ นิ ทร พระอาทิตย เชน ตะวนั ทินกร ทิวากร ประภากร พันแสง ภาณุ ภาณุมาศ รพี รวี รังสิมนั ต รงั สมิ า ราํ ไพ สุรยิ ะ สุรยิ ง สุริยา สรุ โิ ย สรู อกกะ อังศุธร อังศุมาลี อาภากร อุษณกี ไถง ตโมนุท ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 151

ใชค ําประพนั ธตอ ไปน้ีตอบคําถาม 1. โฉมงามทรามสุดสวาทพี่ ดาลฤดจี อจติ พิศวง ขอแตเ พียงไดพงิ อิงองค แนบอนงคขวัญฟายาใจ 2. หอมหวนชวนสูดอยาพูดลอ ฉันจะพอใจเชอ่ื นั้นหาไม เปนความจรงิ หลอกหญงิ งา ยกระไร พ่ีมไิ ดห ลอกเจาเยาวมาลย 3. อนั ชายพูดคลอ งๆ เหมือนลอ งนํา้ ถอยคําวา วอนลว นออ นหวาน พอเบือ่ หนายวายหลงนงคราญ ก็ทิง้ ไปไดปานผกาโรย 4. แมรักจรงิ หวานยงิ่ บุหงาสวรรค ย่งิ กวาแกนจนั ทนอ นั หอมโหย รักรว มชวี าไมร าโรย จะชว ยโชยกล่ินสวาทไมขาดเอย 1. ขอ ใดใชค ําไวพจนม ากที่สุด 1. ขอ 1 2. ขอ 2 3. ขอ 3 4. ขอ 4 2. ขอใดใชคําไวพจนมากทสี่ ุด 1. โฉมงามทรามสดุ สวาทพี่ ดาลฤดจี อจิตพศิ วง ขอแตเ พยี งไดพงิ อิงองค แนบอนงคข วัญฟา ยาใจ 2. ถึงหว ยโปงเหน็ ธารละลานไหลคงคา ใสปลาวายคลายคลายเหน็ มกี รวดแกว แพรวพรายรายกระเด็น บางแลเหน็ เปนสีบุษราคมั 3. อันความรกั หนกั แนนแสนวิตก ระอาอกแทบเทาภูเขาหลวง พรหมินทรอินทรจันทรส ้นิ ทง้ั ปวง กบ็ นบวงสน้ิ ฟาสุราลยั 4. อนั ชายพดู คลองๆ เหมือนรองนาํ้ ถอ ยคาํ วา วอนลว นออนหวาน เบ่ือหนา ยวายหลงนงคราญ ก็ทิ้งไปไดป านผกาโรย 3. ขอใดมีคาํ ไวพจน 1. รัศมีมีเสยี งเพยี งดนตรี ประทปี ทีฆรัสสะจงั หวะโยน 2. ระเมียรไมใ บโบกสโุ นกเกาะ สุดเสนาะเสยี งนกท่ผี กผนิ 3. เสียงนกรอ งคลอ งคําลาํ นาํ ขบั ดุรยิ ศพั ทสาํ นกึ เม่อื พฤกษไหว 4. โปรยประท่นิ กลน่ิ ผกาสรุ าลยั เปนคลน่ื ในเวหาศหยาดยนิ ดี เฉลยคําตอบ 1. เฉลย ตอบขอ 1. เนือ่ งจากคาํ ไวยพจนน ั้นคือ คาํ ทม่ี ีความหมายเหมอื นกัน โดยขอ 1 มคี าํ ไวยพจนท ห่ี มายถึงผูหญงิ 5 คํา ไดแ ก “โฉมงาม ทรามสุดสวาท อนงค ขวัญฟา ยาใจ” และแปลวา ใจอกี 2 คาํ คือ “ฤดี จิต” สวนขอ 2 มคี าํ ไวยพจนท่หี มายถึงผหู ญิง 2 คาํ ไดแก “หญิง เยาวมาลย” และในขอ 3 กับ 4 ไมม คี าํ ไวยพจน 2. เฉลย ตอบขอ 1. เชนเดียวกันกบั ขอทแี่ ลว แตขอนพ้ี ีต่ ั้งใจใหนอ งๆ ไดร ูจักกับคําไวยพจนใ นตวั เลือกอืน่ ๆ 3. เฉลย ตอบขอ 2. “ระเมยี รไมใบโบกสุโนกเกาะ สุดเสนาะเสยี งนกท่ผี กผนิ ” มีคําไวยพจน คอื สกุ โนก-นก เพราะเปน คําท่มี ีความหมายเหมอื นกนั 152 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นอ งๆ สามารถศึกษาเพม่ิ เติมไดท ี่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, คําประพันธ, ฉนั ทลักษณ, โวหาร, ภาพพจน • 20 : โวหารเปรยี บเทียบ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch31-1 • โวหารภาพพจน http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch31-2 บันทกึ ชว ยจํา ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 153

บทท่ี30 คณุ คาวรรณคดี ในการอา นวรรณคดเี รอ่ื งหนงึ่ นอกจากเราจะไดค วามสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ แลว วรรณคดมี กั จะสะทอ นคณุ คา ดา นตา งๆ เอา ไวใหเราเสมอ ไมวาจะเปนการสะทอนสังคมและสภาพความเปนอยูของคนในสมัยกอน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไว อยางมากมาย โดยรวมแลว เราสามารถแยกคุณคาออกมาได 3 ดานดวยกัน ดังน้ี คุณคาดานอารมณ วรรณคดีที่ดีตองสามารถส่ืออารมณที่ผูเขียนถายทอดไวในงานเขียน ตองทําใหผูอานเกิดอารมณ อยา งใดอยา งหนงึ่ ขณะท่อี าน ไมวาจะเปน อารมณสุข ตืน่ เตน เรา ใจ หรอื โศกเศรา คณุ คา ดา นสตปิ ญ ญา เปน วรรณกรรมทใ่ี หค วามรใู นดา นตา งๆ ไมว า จะเปน ดา นสงั คมวฒั นธรรม ดา นภาษา ประวตั ศิ าสตร โบราณคดี วิถชี วี ติ หรอื กฎหมาย นอกจากความรตู างๆ เรายังตอ งนับรวมไปถงึ คติและขอคดิ ตางๆ ทีม่ ักสอดแทรกเขามาในเร่ืองดวย วรรณคดนี น้ั นอกจากจะใหค วามเพลดิ เพลนิ แกผ อู า นแลว ยงั เปน กระจกบานใหญท ส่ี ะทอ นเรอื่ งราวในอดตี และเปน สง่ิ ทใ่ี หค ณุ คา ดา น ความคดิ เสรมิ สรา งสตปิ ญญาและยกระดบั จิตใจเราอีกดว ย คณุ คา ดา นคณุ ธรรม / สงั คม กวมี กั จะเขยี นสะทอ นสงั คมสมยั นน้ั เราจงึ สามารถมองเหน็ ชวี ติ สภาพความเปน อยู วฒั นธรรม ความเชอื่ และคา นยิ มคนในสังคม ไดรถู ึงขนบธรรมเนียมประเพณี ความเช่ือ คานยิ มและจรยิ ธรรมรว มกัน ในวรรณคดนี น้ั นอกจาก น้ันวรรณคดียังแทรกคุณธรรมในเร่ือง ซ่ึงทาํ ใหผ อู านรสู ึกจรรโลงใจอีกดว ย เมอ่ื เราไดท ราบไปแลว วา คณุ คาทางวรรณคดมี ีอะไรบา ง ตอ มาพีจ่ ะมาสรปุ คุณคาท่ีพบบอ ยในขอสอบ โดยพจี่ ะมาสรปุ หวั ขอ ท่ีมักพบบอยในขอ สอบใหนอ งๆ ไดอ านกนั 1. ขนบธรรมเนียม บทไหวครู เปน การแสดงความเคารพหรือเปนการกลาวถงึ ผมู ีพระคุณ บานเมอื ง ไปจนถงึ กษตั รยิ  ตวั อยาง “สะธสุ ะจะขอไหว พระศรีไตรสะระณา พอ แมแ ละครูบา เทวดาในราศ”ี บทประพันธขางตนยกมาจากเร่ือง “กาพยพระไชยสุริยา” เปนบทไหวครู สิ่งศักดิ์สิทธิ์และผูมีพระคุณ ซึ่งกลาวข้ึนมาใน ตอนตนเรื่องเพื่อชว ยใหเ กิดสิรมิ งคลแกก วีและงานประพนั ธของกวี บทแตงตัว มักกลาวถึงกอนการออกรบเพ่ือใหผูอานรูสึกผอนคลาย โดยกวีจะบรรยายใหเห็นถึงความงดงามของอาภรณ ตางๆ ซึ่งบางอยา งก็เปนเคร่อื งแตงกายสมยั กอ นทไี่ มมแี ลว ในปจ จุบัน เชน สรอยสังวาล พาหรุ ดั ตาบ ชายไหว ชายแคลง เปน ตน ซ่งึ ถือเปน คุณคาอยา งหนึ่ง ตวั อยา ง “รดชาํ ระมลทนิ อนิ ทรีย มรุ ธาวารีภิเษกสรง ลบู ไลเสาวคนธธารทรง บรรจงสอดซับสนับเพลา ภูษายกพืน้ ดําอําไพ สอดใสฉลององคท รงวันเสาร เจียระบาดคาดรดั หนวงเนา ปนเหนงเพชรเพริศเพราพรรณราย” 154 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทประพันธขางตนยกมาจากเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง เปนบทแตงตัวท่ีกวีบรรยายวาตัวละครน้ีอาบน้ําและกําลัง สวมเส้อื และกางเกงผา นงุ ทีค่ าดดวยเข็มขดั ตวั อยางเคร่อื งทรงที่สาํ คัญ สนบั เพลา หรอื กางเกง ภูษา หรือ ผา นงุ หอยขา ง หรือ เจียระบาด หรอื ชายแครง ฉลององค หรอื เสือ้ รดั สะเอว หรอื รดั องค หอ ยหนา หรอื ชายไหว ปน เหนง หรอื เขม็ ขัด ทบั ทรวง หรอื ตาบหนา อนิ ทรธนู ชฎา พาหรุ ดั หรอื กําไลแขน สังวาล หรือ สรอยทคี่ ลองไขวกนั ดานหนาตาบทิศ 2. วัฒนธรรม วฒั นธรรมเกย่ี วกบั กษตั รยิ  ในวรรณคดเี รอื่ งตา งๆ มักจะกลาวถงึ กษตั รยิ เ สมอและเน่อื งจากกษตั ริยเ ปน ผทู ่ีมีอาํ นาจย่ิงใหญ ในสมัยกอน จึงจําเปนตองมีขนบประเพณีเก่ียวกับกษัตริยสอดแทรกเขามาในเรื่อง ยกตัวอยางเชน การกลาวถึงธงตราครุฑซึ่งเปน สญั ลักษณของกษัตรยิ  หรือแมแตก ารที่กษตั ริยต อ งใชฉ ตั ร 9 ชัน้ นอกจากน้ใี นเรอื่ งกาพยเหเ รือ ยังไดม กี ารกลาวถงึ โขนเรอื พระทนี่ งั่ ของกษตั รยิ อ กี ดว ย และลลิ ติ โองการแชง นา้ํ ยงั มกี ารทาํ พธิ ดี ม่ื นา้ํ พพิ ฒั นส ตั ยาเพอ่ื แสดงถงึ ความจงรกั ภกั ดตี อ กษตั รยิ น น่ั เอง 3. ศิลปะไทย ดา นสถาปต ยกรรม การอานวรรณคดีทําใหเราไดรับความรูดานตางๆ เกี่ยวกับสถาปตยกรรม ไมวาจะเปนวัด โบสถ หรือเรือนไทย นอกจากนี้ ยังทาํ ใหเ ราไดรูจกั สว นประกอบของวัดมากขึน้ เชน ชอ ฟา ใบระกา หางหงส นาคสะดุง หนาบัน เปนตน ดานประติมากรรม ประติมากรรม คอื งานแกะสลัก งานที่มีช่ือเสยี งของไทย เชน รูปปน ครุฑยุดนาค กนิ รี เทพนม เปน ตน ดา นจติ รกรรม ดานจิตรกรรม หรือ งานวาดท่ีสําคัญๆ ของไทยน่ันก็คือ จิตรกรรมฝาผนังบนผนังวัดและโบสถตางๆ นอกจากน้ียังมีลาย กระหนกซง่ึ เปนลายไทยทงี่ ดงามอีกดว ย ดานหัตถกรรม ในวรรณคดีนั้นแสดงใหเราเห็นงานหัตถกรรมของผูหญิงสมัยกอนมากมาย ยกตัวอยางเชน การรอยมาลัย บุหงารําไป ผา กรองทอง ผา ตาด ไดรูจกั สวนประกอบของพวงมาลัย เชน อุบะ เปนตน ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 155

ตวั อยา ง “เหมือนอุบะนวลละออง เจาแขวนไวใ หเ รยี มชม” “นึกนอ งกรองมาลัย วางใหพี่ขา งท่ีนอน” 4. ความเชื่อ โชคลางในสงคราม กอนการออกรบทุกครั้ง เพ่ือเอาฤกษเอาชัยในการสงคราม จึงจําเปนตองทําพิธีตางๆ เพื่อเปนการเรียกขวัญและกําลังใจ เชน การดูฤกษยาม พธิ โี ขลนทวาร พธิ ีตดั ไมขม นาม ซึง่ ทัง้ หมดน้เี ปนพิธกี รรมทางพราหมณท ้งั ส้นิ พิธโี ขลนทวาร เปน ประตูที่สรา งขึน้ ชว่ั คราวทีม่ ักใชก อ นการสงคราม เพือ่ ใชในพิธีกรรมทเี่ ปน สิริมงคล เปน การสรา งเสรมิ กําลงั ใจและชวย ขจดั ความอัปมงคลแกผ ทู เ่ี ดินผา น พธิ ตี ัดไมข ม นาม เปน พธิ ที างไสยศาสตรก อ นออกสงคราม โดยตอ งหาตน ไมท ม่ี ชี อื่ เหมอื นพอ งกนั กบั ชอ่ื ขา ศกึ มาตดั ใหข าดเพอื่ เอาฤกษเ อาชยั โชคลาง เปน สงิ่ ทม่ี กั พบบอ ยในวรรณคดี คอื ลางไมด ี ยกตวั อยา งเชน ตากระตกุ เขมน ตา จงิ้ จกรอ ง แมงมมุ ตอี ก ฉตั รหกั ซง่ึ มกั หมาย ถงึ การพายแพใ นสงคราม ไสยศาสตร วรรณคดีทพ่ี บเรื่องไสยศาสตรมากก็คือ เสภาขนุ ชา งขนุ แผนท่มี กี ารเสกคาถา ใชไสยศาสตรตลอดเรื่องเชน ปลุกผี สะเดาะ กลอน วิชาอยูยงคงกระพันคาถามหาละลวยทําใหผ หู ญิงรักผูหญิงหลง ผสี าง เชน ผีตานี ผีกระสือ ผีกระหงั กมุ ารทอง แมย านาง เปน ตน สงิ่ ศักด์ิสทิ ธ์ิ เชน พระพุทธรูป เทวดา เทวรูป พระพุทธศาสนา ความเชื่อหลกั ๆ ทีพ่ บมากในวรรณคดี คอื เรอ่ื งเวรกรรม ทําดไี ดดีทําชว่ั ไดช ว่ั เร่ืองบุญ-บาป วัฏสงสาร หรอื การเวยี นวาย ตายเกิด และ ความไมเ ทย่ี ง หรือ อนจิ จงั เปน ตน 5. คานิยมไทย ความหมาย ส่ิงท่ีเปนความตองการของกลุมคนในสังคม ที่คนสวนใหญยอมรับกันวาเปนส่ิงท่ีดี สมควรนําไปปฏิบัติ ทั้งนี้ ก็ขึน้ อยกู บั ดลุ ยพินจิ ของแตละคน เพราะจะมีคานยิ มก็มีทงั้ คานยิ มทีด่ แี ละคา นยิ มท่ีไมอีกท้งั คานยิ มยงั เปนมรดกทางความคิดของคน ไทย ลกั ษณะคา นยิ มของสังคมไทย 1. ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา 2. เชอ่ื เรือ่ งในกฎแหง กรรม 3. ความกตัญูรคู ุณ 4. การรับผดิ ชอบตอหนา ที่ตน 5. เช่อื ในเรื่องวิญญาณ ภตู ผีปศ าจ 6. ยกยองระบบศกั ดนิ า 7. เคารพผอู าวโุ ส 8. เคารพเทดิ ทูนพระมหากษัตริย 9. เชื่อถอื โชคลาง 10. การรกั บานเกดิ เมอื งนอน 156 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ตวั อยา งบทประพันธ เกิดมาประสบภาร ธุระไดบ ําเพ็ญทํา” ความรับผดิ ชอบตอหนา ที่ “ขอตายใหตาหลบั ดวยชื่อนับวาชายชาญ ตัวอยางขอสอบโอเนต 1. ขอใดไมป รากฏลักษณะทางวฒั นธรรมไทย 1. ทัง้ ซุมเสามณฑปกระจกแจม กระจังแซมปลายเสาเปน บัวหงาย 2. หอมควนั ธปู เทียนตลบอยูอบอาย ฟุงกระจายรื่นร่ืนทงั้ หอ งทอง 3. มีรมโพธริ์ กุ ขงั เปนรงั ร่นื พิกลุ ช่อื ชอ บังพระสรุ ิยฉ าย 4. เห็นขนเมน พ่ียงั หมายเสยี ดายนาง เจา เคยสางสอยเสนกระเด็นราย 2. ขอใดไมไ ดแ สดงคุณคาทางวัฒนธรรม 1. ดว ยไดไ ปเคารพพระพุทธรูป ทั้งสถปู บรมธาตพุ ระศาสนา 2. ฝายสาวสาวเกลามวยสวยสะอาด แตข ยาดอยวู า นงุ ผาถงุ 3. ทั้งหุน โขนโรงใหญช องระทา มานอนโรงคอยทาแตร าตรี 4. ถึงทาเรือเรอื ยัดกนั อดั แอ ดูจอแจจอดรอมตลิ่งชมุ 3. ขอใดเปน งานดา นสถาปตยกรรม 1. กานแยงยกดอกดูเดน ดี 2. ท่ีฐานปทมร งคท องรองเรือง 3. กนกยอดลงยาราชาวดี 4. สงิ หค ลู ายเสน ดูเดน โดด 4. ขอใดสะทอ น “ภมู ิปญ ญาไทย” ท่ีเกิดจากการคนควาและความชา งสงั เกตของบรรพบรุ ษุ ไทยไดเ ดน ชดั ทีส่ ุด 1. ลักจ่นั วัลยเปรียงแกน ปรลู าย เปนยาหายโรคภยั ท่ีในตัว 2. บานทวารลานแลลว นลายมุก นาสนกุ ในกระหนกดผู กผัน 3. นกบินกรวดพรวดพราดประกายพราย พลกุ ระจายชอ ชวงดังดวงเดือน 4. มตี นกาํ พฤกษทานในลายวัด ลูกหมากยัดเงินท้งิ อทุ ิศถวาย ใชคาํ ประพันธต อ ไปนีต้ อบคาํ ถามขอ 5-6 1. ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปน เกลา พระพุทธเจาหลวงบํารุงซง่ึ กรุงศรี ประทานนามสามโคกเปน เมืองตรี ชื่อปทุมธานเี พราะมีบัว 2. พฤกษาสวนลว นไดฤ ดูดอก ตระหงา นงอกตามกระแสแลสลา ง กลว ยระกาํ อมั พาพฤกษาปราง ตอ งน้าํ คา งชอชมุ เปนพมุ พวง 3. ท่ีทา ยบานศาลเจาของชาวบา น บวงสรวงศาลเจาผีบายศรตี ้ัง เห็นคนทรงปลงจิตอนจิ จัง ใหคนทัง้ ปวงหลงลงอบาย 4. ถงึ บานง้วิ เหน็ แตงิ้วละลิว่ สูง ไมม ีฝงู สตั วส ิงกงิ่ พฤกษา ดวยหนามดกรกดาษระดะตา นึกก็นากลวั หนามขามขามใจ 5. คําประพันธขอ ใดไมมี “กระจกสอ งภาพทางวฒั นธรรม” 1. ขอ 1 2. ขอ 2 3. ขอ 3 4. ขอ 4 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 157

6. ขอ ใดไมแ สดงอารมณข องผูป ระพนั ธ 1. ขอ 1 2. ขอ 2 3. ขอ 3 4. ขอ 4 เฉลยคําตอบ 1. เฉลย ตอบขอ 3 ถานอ งๆ ลองพจิ ารณาความหมายของวัฒนธรรมนัน้ นอ งจะพบวา “วัฒนธรรมคอื สงิ่ ท่ีมนุษยส รา งสรรค ข้นึ ” ดงั นนั้ สง่ิ ใดที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติจงึ ไมใชวฒั นธรรมโดยวฒั นธรรมใน ขอ 1 คือ มณฑป ขอ 2 คือ ธปู และหองทอง ขอ 4 คือ สางขนเมน 2. เฉลย ตอบขอ 4 ขอนใ้ี หนองๆ ดูความหมายของวัฒนธรรมเชน กนั กับขอทแ่ี ลว ขอ ใดไมมสี งิ่ ที่มนุษยส รา งสรรคข ึ้น ขอนน้ั กจ็ ะไมใชวัฒนธรรม โดยขอ 1 สามารถสงั เกตไดจ าก “พระพุทธรูป สถปู ” ขอ 2 “เกลามวย” ขอ 3 “หนุ โขน ระทา” 3. เฉลย ตอบขอ 2 สถาปตยกรรม หมายถงึ สิง่ กอสรา ง ซ่ึงฐานปท ม คือ ฐานบัวท่ีทาํ เปน แทน รองสําหรับวางพระพทุ ธรูป สว นขออ่ืนๆ อยาง “กา นแยง” “ลงยา” และ “ลายเสน ” น้ันเปนงานประติมากรรม 4. เฉลย ตอบขอ 1 เพราะในที่นีพ้ ดู ถงึ ยาสมุนไพรไทย ซึ่งเปน สิ่งทค่ี นไทยไดค น พบในอดตี สว นขอ อ่ืนๆ เปน การพูดถงึ ศิลปะ กาละเลน และการทาํ บญุ ซง่ึ ไมเ กีย่ วกบั การคนควา ของคนไทย 5. เฉลย ตอบขอ 2 ในท่นี ้ีวัฒนธรรมในขอ 1 คอื “เมอื งตรี” ขอ 3 คือ “ศาลเจา ” และ “บายศร”ี ขอ 4 คือ “บานงว้ิ ” นอ งๆ ตองจาํ ไวเสมอวาวัฒนธรรมตอ งเปน ส่งิ ที่มนษุ ยสรางขึ้นไมใ ชธ รรมชาตริ อบตัวเรา 6. เฉลย ตอบขอ 2 เพราะเปน แคก ารบรรยายใหเ ห็นถึงสภาพแวดลอ ม สวนขออน่ื ๆ เชน ขอ 1 นองๆ กส็ ามารถสงั เกตได ทันทจี ากคําวา “โศก” ขอ 3 แสดงมกี รอารมณ ดูไดจาก “ปลงจติ ” สวนขอ 4 ดไู ดจาก “ขามขามใจ” นองๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดท ี่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, คําประพนั ธ, คณุ คาวรรณคดี • 21 : วิเคราะหคําประพันธ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch32-1 158 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นองๆ สามารถศกึ ษาเพ่ิมเติมไดที่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, gat, ขอ สอบเชือ่ มโยง • สอนศาสตร ภาษาไทย ม.6 : GAT เชอ่ื มโยง (1) http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch33-1 • สอนศาสตร ภาษาไทย ม.6 : GAT เชอ่ื มโยง (2) http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch33-2 • สอนศาสตร ภาษาไทย ม.6 : การคิด เชอ่ื มโยง http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch33-3 • สอนศาสตร ภาษาไทย ม.ปลาย : สญั ลักษณการเชื่อมโยง (GAT) 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch33-4 • สอนศาสตร ภาษาไทย ม.ปลาย : สัญลักษณการเชอ่ื มโยง (GAT) 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch33-5 บันทกึ ชวยจาํ ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 159

นอ งๆ สามารถฝกทาํ ขอ สอบเพิม่ เติมไดท ี่ • แนวขอ สอบ GAT ภาษาไทย ป 2552 ชุดท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-1 • แนวขอ สอบ GAT ภาษาไทย ป 2552 ชุดที่ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-2 • แนวขอสอบ GAT ภาษาไทย ป 2552 ชุดท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-3 • แนวขอ สอบ GAT ภาษาไทย ป 2552 ชดุ ที่ 4 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-4 • แนวขอ สอบ GAT ภาษาไทย ป 2552 ชุดท่ี 5 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-5 • แนวขอสอบ O-NET ภาษาไทย(2549) ชดุ ที่ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-6 • แนวขอ สอบ O-NET ภาษาไทย(2549) ชุดที่ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-7 • แนวขอ สอบ O-NET ภาษาไทย(2549) ชดุ ที่ 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-8 • แนวขอ สอบ O-NET 2556 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch34-9 160 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บนั ทกึ ชว ยจาํ 

บรรณานุกรม จงชยั เจนหัตถการกิจ. 2553. หลกั ภาษาไทย. พิมพค รั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส. 2556. ภาษาไทยใช NET. พิมพครัง้ ที่ 13. กรุงเทพฯ: อมรินทรพรนิ้ ตง้ิ . ดวงใจ ไทยอุบญุ . 2543. ทักษะการเขยี นภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั . นววรรณ พนั ธเุ มธา และคณะ. 2532. เอกสารการสอนชุดวชิ า 10161 การใชภ าษาไทย. พมิ พคร้งั ที่ 10. นนทบรุ :ี สํานักพิมพมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. นายิกา นวลพญา. 2551. คําทับศพั ทแ ละคําไทยทมี่ กั เขียนผิด. กรุงเทพฯ: คล่ืนอกั ษร. ปรัชญา อาภากลุ , การุณนั ทน รัตนแสนวงศ. 2542. ทักษะการใชภ าษาไทยเพือ่ การส่อื สาร. กรุงเทพ: ศูนยเ ทคโนโลยีการศึกษา ฝา ยเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม. ปง เจริญศิริรัตน. 2549. เฉลยขอ สอบเขามหาวิทยาลัย ภาษาไทย. พิมพค รงั้ ท่ี 38. กรงุ เทพฯ. โรงเรยี นกวดวิชาอาจารยปง (DA’VANCE). ภาสกร เกดิ ออน และคณะ. 2552. ภาษาไทย หลักภาษาไทยและการใชภ าษา ม.4. พิมพค ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: อักษรเจรญิ ทัศน. มาลี พนั ธุประเสรฐิ และอมั พร ทองใบ. 2555. หลกั ภาษาไทยฉบบั สมบูรณ. นนทบรุ ี: ธงิ ค บียอนด. เสนีย วิลาวลั ย. 2547. หนงั สอื เรียนสาระการเรยี นรเู พิม่ เตมิ หลักการใชภ าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 – 6. กรงุ เทพฯ: วฒั นาพานชิ . ศักดา ปน แหนงเพ็ชร. 2549. ประมวลสาระชดุ วิชา 10161 ภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร. พิมพค รง้ั ท่ี 5. นนทบรุ :ี สาํ นักพมิ พม หาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. เอมอร รตั นเนตร. 2554. พชิ ิต Admissions ใน 30 วนั วิชาภาษาไทย (ชว งช้นั ท่ี 3 ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ: บรษิ ทั สํานักพิมพแ พนสยาม จาํ กดั .