Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวเข้ม O net get 100 ภาษาไทย ม.ปลาย โดย True ปลูกปัญญา

ติวเข้ม O net get 100 ภาษาไทย ม.ปลาย โดย True ปลูกปัญญา

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-04-19 03:12:46

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความที่เผยแพร่นี้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ชอ งทรปู ลูกปญญา โทรทัศนความรูดูสนุก ทางทรูวิช่ันส 6 ทุกรายการสาระ ความรู สาระบันเทิง และการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมตลอด 24 ช่วั โมง พบกบั เร่อื งราวสรา งแรงบนั ดาลใจ • รายการสอนศาสตร รายการสอนเสริมแนวใหมค รบ 8 วิชา ม.3 ม.6 ติวสดทกุ วันโดยติวเตอรช่อื ดงั ทรูปลูกปญญา • รายการ I AM แนะนําอาชพี นา สนใจโดยรุน พ่ใี นวงการ • รายการสารสังเคราะห นําขา วสารมาสงั เคราะหอัพเดท หนวยงานเพ่ือการศึกษา ภายใตกลุมบริษัท ทรู คอรปอเรชนั่ จํากัด (มหาชน) ที่บรู ณาการเทคโนโลยีและความ กันแบบไมตกเทรนด เชี่ยวชาญดานคอนเทนต พัฒนาเปนสื่อไลฟสไตลเพ่ือสงเสริม การศึกษาและคุณธรรม สามารถเชื่อมโยงทุกมิติการเรียนรูได อยา งครบวงจร นิตยสารปลูก plook นิตยสารสงเสริมความรูคูคุณธรรมสําหรับเยาวชนฉบับแรก ในประเทศไทย วางแผงทุกสัปดาหแรกของเดือน หยิบฟรีไดท่ี www.trueplookpanya.com True Coffee TrueMove Shop สถานศึกษา แหลงการเรียนรู หองสมุด และโรงพยาบาล ทั่วประเทศ หรืออานออนไลนใน ทรูปลูกปญญาดอทคอม คลังความรูคูคุณธรรมท่ีใหญ www.trueplookpanya.com ทสี่ ดุ ในประเทศไทย อดั แนน ดว ยสาระความรใู นรปู แบบมลั ตมิ เี ดยี สนุกกับการเรียนรูดวยตัวเอง ท้ังยังเปดโอกาสใหทุกคนสราง เน้ือหา แบงปน ความรูร วมกัน โดยไมมีคาใชจ า ย แอพพลิเคช่ัน Trueplookpanya.com ตอบโจทยไลฟสไตลการเรียนรูของคนรุนใหม ดวยฟรี พบกบั ความเปน ทีส่ ดุ ท้งั 4 ดา นแหง การเรยี นรู แอพพลิเคช่ัน “Trueplookpanya.com” ใหคุณพรอมสําหรับ การเรยี นรใู นทกุ ทที่ กุ เวลา รองรบั การใชง านบน iOS (iPhone, iPod, • คลังความรู รวบรวมเนื้อหาการเรียนทุกระดับช้ันครบ iPad) และ Android 8 กลุมสาระการเรียน • คลังขอสอบ ขอสอบออนไลนพรอมเฉลยท่ีใหญท่ีสุด ในประเทศไทย พรอ มการประเมินผลสอบทางสถิติ • แนะแนว ขอมูลการศึกษาตอ พรอมเจาะลึกประสบการณ : www.trueplookpanya.com : TruePlookpanya การเรียนและการทํางาน • ศูนยขาวสอบตรง/Admissions ขาวการสอบทุกสนาม ทุกสถาบนั พรอ มระบบแจงเตือนเรียลไทม

หนงั สือชดุ “ตวิ เขม O-NET Get 100” สรางสรรคโ ดย ทรปู ลกู ปญญา มีเดีย โครงการเพอื่ สังคมของบริษทั ทรู คอรปอเรชน่ั จํากัด (มหาชน) เลขท่ี 46/8 อาคารรุงโรจนธ นกุล ตึก B ช้ัน 9 ถนนรชั ดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหว ยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร : 02-647-4511, 02-647-4555 โทรสาร : 02-647-4501 อีเมล : [email protected] : www.trueplookpanya.com : TruePlookpanya หนงั สอื ชดุ “ติวเขม O-NET Get 100” ใชส ัญลักษณอ นญุ าตของครเี อทฟี คอมมอนส แบบ แสดงทีม่ า-ไมใ ชเพือ่ การคา -อนญุ าตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย

คำนำ การสอบ O-NET หรือช่ืออยางเปนทางการวา การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (Ordinary National Educational Test) โดย สทศ. ถอื เปนอกี สนามสอบท่สี ําคัญสาํ หรบั นองๆ ในระดับ ป.6, ม.3, ม.6 เพอื่ เปน การประเมินผลการเรียนรูของนองๆ ในระดับชาตเิ ลยทีเดยี ว และยงั เปน ตวั ชีว้ ดั คณุ ภาพการเรยี นการ สอนของแตละโรงเรียนอกี ดวย คะแนน O-NET กย็ งั เปนสวนสาํ คญั ในการคิดคะแนนในระบบ Admissions เพอ่ื สมัครเขา คณะท่ีใจปรารถนา ไดค ะแนนดีก็มชี ยั ไปกวา ครึง่ และเพอื่ เปน อกี ตวั ชว ยหนง่ึ ในการเตรยี มความพรอ มใหน อ งๆ กอ นการลงสนามสอบ O-NET ทางทรปู ลกู ปญญาจงึ ไดจ ดั ทาํ หนังสอื ชดุ “ตวิ เขม O-NET Get 100” สดุ ยอดคูมือเตรยี มตัวสอบ O-NET สาํ หรบั นอ งๆ ในระดับ ม.3 และ ม.6 ทเ่ี จาะลกึ เนอ้ื หาทมี่ กั ออกสอบบอ ยๆ โดยเหลา รนุ พเ่ี ซยี นสนามในวงการตวิ รวบรวมแนวขอ สอบตงั้ แต อดตี จนถึงปจ จุบนั พรอมเฉลยอยา งละเอยี ด และคาํ อธิบายที่เขาใจงาย จําไดแ มน ยํา นาํ นองๆ Get 100 ทําคะแนน สูเปา หมายในอนาคต หนังสือชุด “ติวเขม O-NET Get 100” โดยทรูปลูกปญญา ประกอบดวยวิชาคณิตศาสตร ภาษาไทย สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ ที่รวบรวมเน้ือหาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิชา ฟส กิ ส เคมี ชวี วทิ ยาของระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวมทงั้ หมด 11 เลม โดยสามารถศกึ ษาเนอ้ื หาหรอื ทาํ ขอ สอบ ออนไลนเ พิม่ เตมิ ไดจาก www.trueplookpanya.com ทม่ี ี link ใหในทายบท สามารถดาวนโหลดหนงั สอื ไดฟรี ผา นเวบ็ ไซตท รปู ลูกปญ ญา ท่ี www.trueplookpanya.com/onet ทมี งานทรปู ลูกปญ ญา

สารบัญ หนา เรือ่ ง 7 23 หลักภาษาไทย 47 บทที่ 1 เสียง อักษรไทย และพยางค 54 บทท่ี 2 คาํ ไทยแทและคาํ ยืม ชนดิ ของคํา การสรา งคาํ 58 บทท่ี 3 วลีและประโยค 62 66 การใชภาษาไทย 70 บทท่ี 4 ธรรมชาติของภาษา 73 บทที่ 5 เหตุผลและภาษา 78 บทที่ 6 การแสดงทรรศนะ 83 บทที่ 7 การโตแยง 88 บทท่ี 8 การโนมนาวใจ 93 บทท่ี 9 การอธิบาย บรรยาย พรรรณนาและโวหารการเขียน 95 บทท่ี 10 การอา นจับใจความ 97 บทท่ี 11 ระดับภาษา 100 บทที่ 12 คาํ ราชาศัพท 103 บทท่ี 13 การเขยี นบรรณานุกรม 105 บทที่ 14 การใชพจนานกุ รม 109 บทที่ 15 การใชภ าษาในที่ประชุม บทที่ 16 การใชภาษาในรายงานเชงิ วิชาการ บทท่ี 17 การเขียนวรรคตอน บทท่ี 18 ประโยคสาํ นวนภาษาตา งประเทศ บทที่ 19 สาํ นวนไทย

สารบัญ เรื่อหงนังสือ ตวิ เขม O-NET Get 100 วชิ าภาษาไทย - ม.ตน เลมน้ี ไดสรุปเน้อื หาวชิ าภาษาไทยในรหะนดบั ามัธยมตน บทท่ี 20แ(มล.ก1ะ-ามมรีป.เ3รข)ะียสทนิทมี่ เธกั รภิจยี ะางอพคอมกวาสากอมขบน้ึ พรอ มทง้ั แบบฝก หดั รวมไปถงึ เทคนคิ ตา งๆ ทจี่ ะชว ยใหน อ งๆ สามารถทาํ ขอ ส1อ1บ1ไดร วดเรว็ บทที่ 21 คาํ ทับศพั ทและศัพทบ ัญญตั ิ 113 บทที่ 22 ควใานมกหารมเตารยยี ขมอตงวั คสําาํ หรบั วชิ าภาษาไทย นอ งๆ ควรฝก ในเรอ่ื งของการอา น การตคี วาม คดิ วเิ คราะห 1ล1อ5งประเมนิ บทที่ 23ตวั ปเอรงะดกูวาา ศมจี ดุ ออ นเร่อื งไหน จะไดเ สรมิ เรือ่ งนน้ั และเก็บคะแนนในสวนนัน้ ไดดีขน้ึ 118 บทที่ 2245เหปกน็ แารใรนะนเโวโรยขจียอคทงสยกลอเาํ รําบกือ่ ดวซงับมกง่ึ คามรกัําอจแาะลนเปะนขน า อขจอคะคเวปวาาน มมสวบนททคน่ี วอามงๆมาสใาหมอ าา รนถแเกล็บะคตะคี แวนานมไโดดเยยหอละกั พกยาารยสาาํ มคหญั มใน่ันทกําาขรทอ าํสโอจบทเ11ยย22ก อ02าะรๆอเา พนือ่ ใใหห บทที่ นองๆ อานรวมๆ และพยายามสรปุ ใหไ ดป ระเดน็ แบบคราวๆ กอ นวา เขาตอ งการจะสื่ออะไร ข้นั ตอมาก็ใหด ตู ัวเลือกวา คาํ ประพสัมนั พธัน ธกนั ไหม แลว ก็พยายามตัดตวั เลือกท่คี ดิ วา ไมใ ชอ อกทีละตัว บทที่ 222768ภาคลฉษีลวนัาพาไาทท่ีๆมวลยรรกัหไรทูดษวณว่ัด ังณไว คเปยปดเคนกี วอย่ีายมวามกงัน่บัยใิ่งคจวแําาปลหะรนะgังพeสtันือ1ธเ0ล 0มกนนั้ี จทะุกชควนยใหนองๆ 11O32-40NET บทที่ มีความเขาใจ และสามารถทําขอสอบ 141 วิชา บทที่ บทที่ 29 ลลี าการแตง และโวหาร 144 บทท่ี 30 คณุ คา วรรณคดี 154 ทีมงานทรปู ลูกปญ ญา

คุยกอนอาน หนังสอื ตวิ เขม O-NET Get 100 วิชาภาษาไทย - ม.ปลาย เลม น้ี ไดจ ัดทําขน้ึ สําหรับนอ งๆ ม.6 หรือเทียบเทาที่ กําลงั จะเตรียมตวั สอบ O-NET ม.6 ซง่ึ ถอื เปน อกี ตัวชวยท่จี ะทําใหนองประหยดั เวลาในการเตรียมตัวสอบไดมากข้นึ เพราะเราไดส รปุ เนอ้ื หาวชิ าภาษาไทยทมี่ กั จะออกสอบ พรอ มทง้ั แบบฝก หดั รวมไปถงึ เทคนคิ ตา งๆ ในการสอบ สาํ หรบั วชิ าภาษาไทย แนวขอ สอบในแตล ะปจ ะไมค อ ยตา งกนั มาก จะเปน แนวทเี่ นน การตคี วาม คดิ วเิ คราะห หลกั ภาษาทตี่ อ ง ใชใ หถูกตอ ง มากกวาเนนการทอ งจํา สวนโจทยพ วกคดิ วิเคราะหน ้นั มขี อ ควรระวงั คอื นองๆ อยา นาํ ความคดิ สว นตัวเขาไปวิเคราะหดว ยนะ เพราะจะ ทาํ ใหต ีความผิดกันไปใหญ โจทยใ หม าแคไ หนกค็ วรใชข อมลู แคน ้ัน ในโจทยเรอื่ งการอา น นา จะเปนสว นท่ีนองๆ สามารถเกบ็ คะแนนไดเยอะ พยายามหมนั่ ทําขอ สอบเยอะๆ เพือ่ ให เหน็ แนวขอ สอบ ซงึ่ มกั จะเปน ขอ ความ บทความมาใหอ า น และตคี วาม โดยหลกั การสาํ คญั ในการทาํ โจทยก ารอา น ให นองๆ อา นรวมๆ และพยายามสรปุ ใหไดประเดน็ แบบครา วๆ กอนวา เขาตอ งการจะสื่ออะไร ขน้ั ตอ มากใ็ หดตู ัวเลอื กวา สัมพนั ธก ันไหม แลวกพ็ ยายามตัดตวั เลือกที่ไมใ ชออกทีละตัว นอกจากเทคนคิ เลก็ ๆ นอ ยๆ เหลา นแี้ ลว พๆ่ี หวงั เปน อยา งยง่ิ วา หนงั สอื เลม นี้ จะชว ยใหน อ งๆ มคี วามเขา ใจ และ สามารถทาํ ขอ สอบ O-NET วชิ าภาษาไทยไดด ว ยความมั่นใจและ get 100 กนั ทุกคน ทมี งานทรูปลูกปญ ญา

บทท่1ี เสยี ง อกั ษรไทย และพยางค เสยี งในภาษาไทย เสยี ง หมายถึง เสยี งท่มี นษุ ยเปลงออกมาเพื่อสือ่ ความหมายระหวา งมนุษย พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค วามหมายคาํ วา “เสียง” วา “ส่งิ ทรี่ ับรูไ ดด วยหู” เชน เสียงฟารอ ง เสยี งเพลง เสียงพูด เปน ตน เมอ่ื นอ งออกเสียงคําวา “ดนิ ” สังเกตวา จะมเี สยี งดว ยกันทัง้ หมด 3 เสยี งในคําน้ี ดิน1. เสียงสระ (อ)ิ 2. เสียงพยัญชนะ /ด/ /น/ 3. เสยี งวรรณยุกต (สามัญ) ดังนน้ั จงึ ขอบอกกอ นเลยวา ระบบเสยี งในภาษาไทยมี 3 ชนดิ ดังน้ี 1. เสียงสระ เสียงสระ คอื เสยี งทเี่ ปลงออกมาจากลาํ คอแลว ไมถูกอวยั วะในปากสกดั ก้นั เลย ลักษณะของเสยี งสระ 1. เปน เสยี งทลี่ มผา นออกมาไดโดยสะดวกไมถ ูกอวยั วะในปากกกั ลม 2. ลนิ้ และรมิ ฝปากเปน อวัยวะท่ีชวยใหเ สยี งสระนนั้ ตางกัน 3. เสยี งสระออกเสยี งไดยาว 4. เสียงสระทกุ เสียงเปน เสียงกอง 5. เสยี งสระมที งั้ เสยี งส้นั และเสียงยาว 6. เสยี งสระเปน เสยี งทช่ี ว ยใหพ ยญั ชนะออกเสยี งได เพราะเสยี งพยญั ชนะตอ งอาศยั เสยี งสระเกาะเสมอจงึ ออกเสยี งได “นอ งลองออกเสียง ก นอ งจะเสยี งเปน กอ เห็นวาตอ งอาศยั สระออชวยออกเสียง” สระในภาษาไทย มี 21 รปู 21 เสียง (ปจจุบัน) รปู สระ เปน เครอ่ื งหมายที่เขยี นขึน้ แทนเสยี งสระ มี 21 รปู ดังน้ี 1. ะ เรียกวา วิสรรชนยี  12. ใ เรียกวา ไมม วน 2. ั เรียกวา ไมหันอากาศ หรอื ไมผัด 13. ไ เรียกวา ไมมลาย 3. ็ เรยี กวา ไมไ ตค ู 14. โ เรยี กวา ไมโ อ 4. า เรยี กวา ลากขาง 15. ฤ เรยี กวา ตัว ฤ (ร)ึ 5. ิ เรยี กวา พนิ ทุ 16. ฤๅ เรยี กวา ตัว ฤๅ (รอื ) 6. ่ เรยี กวา ฝนทอง 17. ฦ เรยี กวา ตวั ฦ (ล)ึ 7. ่ ่ เรียกวา ฟน หนู 18. ฦๅ เรียกวา ตวั ฦๅ (ลอื ) 8. ํ เรียกวา นฤคหิต หรือ หยาดนํา้ คา ง 19. อ เรยี กวา ตัว ออ ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 7

9. ุ เรียกวา ตีนเหยยี ด 20. ย เรียกวา ตัว ยอ 10. ู เรยี กวา ตนี คู 21. ว เรียกวา ตัว วอ 11. เ เรยี กวา ไมห นา เสียงสระ มีท้งั สนิ้ 21 เสยี ง แบง ออกเปน 2 ชนดิ ดงั น้ี 1. สระเดี่ยว (สระแท) มี 18 เสยี ง แบง ไดคอื สระเดย่ี วส้ัน (รสั สระ) - สระเดี่ยวยาว (ทีฆสระ) อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ เอาะ ออ เออะ เออ โอะ โอ 2. สระประสม (สระเล่ือน) คือ การเล่ือนเสียงจากสระหน่ึงไปยังอีกสระหนึ่ง โดยการนําสระเดี่ยวมาประสมกัน มีทั้งส้ิน 3 เสยี ง ดังนี้ สระประสมเสยี งยาว อวั = อู + อา เออื = อือ + อา เอีย = อี + อา นองๆ ทองไวว า กันลืมวา “ผัว เบือ่ เมยี ” สง่ิ ท่ีนองควรระวงั ไว สระประสมเสียงสั้น คือ อัวะ เอือะ เอียะ ปจจุบันไมจัดเปนสระประสมเพราะจะออกเสียงเปนสระส้ันหรือสระยาว ความหมายของคาํ ก็ไมเปล่ียน เชน เพียะ จะออกเสียงเปน เพยี้ ในการเขียนและพดู จะนิยมใชร ปู สระยาว อวั เออื เอยี มากกวา และ สระประสมเสยี งสน้ั นัน้ ไมคอ ยพบในภาษาไทย สว นใหญจะพบในคํายมื ภาษาจนี เชน ขนมเปย ะ กอเอีย๊ ะ เปนตน สระเกิน ไดแ ก อาํ ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ปจจุบนั ไมจัดเปน สระ เพราะสระเกินนไี้ มไดแทนเสยี งสระเทานั้น แตย ังแทนเสียง พยัญชนะและเสยี งวรรณยุกตด ว ย เชน ดํา อา นวา ด อะ ม (สังเกตวาจะพบเสยี งพยัญชนะตัวสะกดแม กม) ใส อา นวา ส อะ ย (สังเกตวา จะพบเสียงพยัญชนะตวั สะกดแม เกย) เรา อา นวา ร อะ ว (สงั เกตวา จะพบเสียงพยัญชนะตัวสะกดแม เกอว) รวมไปถึง ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ทีม่ พี ยัญชนะตนเปน ร และ ล ตามลาํ ดับ ลวนแลว สระเกินนไ่ี มไ ดแ ทนเสียงสระแตยังทาํ หนา ทแี่ ทน เสยี งพยญั ชนะดว ย เราจึงจดั สระเกินน้ีเปน “อกั ษรแทนพยางค” วธิ ีเขียนรูปสระ แบงออกเปน 3 ชนดิ 1. สระคงรปู คือ คาํ ทอ่ี อกเสียงสระใดแลวใชรูปสระนัน้ เชน ดิน = ด+อ+ิ น โหน = ห+โอ+น กราบ = กร+า+บ แคะ = ค+แอะ 8 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

2. สระลดรปู คอื คําที่ไมป รากฏรูปสระเมอื่ ออกเสยี ง เชน คบ = ค+โอะ+บ (ตดั รปู สระโอะออก แตค งพยัญชนะตน และสะกดไว) เคย = ค+เ-อ+ย (ตวั ย สะกดจะลดรปู ตัว อ เหลอื ไวแ ตไมห นา) สวน = ส+อวั +น (ลดไมห ันอากาศ คงเหลอื ไวแตต วั วอ) 3. สระเปลีย่ นรปู คอื เปลย่ี นแปลงสระเดมิ ไปเปนรูปสระอ่นื เชน กนั = ก+อะ+น (เปล่ียนวสิ รรชนยี เ ปน ไมห ันอากาศ) ธรรม = ธ+อะ+ม (เปลีย่ นวิสรรชนียเปน รร หนั ) แขง็ = ข+แอะ+ง (เปลีย่ นวิสรรชนยี เ ปน ไมไตค )ู เดนิ = ด+เออ+น (เปลีย่ นตัว ออ เปน อิ) 2. เสยี งพยัญชนะ เสยี งพยญั ชนะ คอื เสยี งทเี่ ปลง ออกมาแลว ถกู สกดั กนั้ โดยอวยั วะสว นหนง่ึ ทาํ ใหเ สยี งตา งกนั ออกไปตามอวยั วะทม่ี าสกดั กนั้ เรยี กอีกชอ่ื วา “เสียงแปร” ลักษณะของเสียงพยญั ชนะ 1. เปนเสียงที่เกิดจากลม บริเวณเสียงเสน ผานออกมาทางชองระหวางเสนเสียง แลวกระทบอวัยวะตางๆ ในชองปาก ท่ีเรียกวา ฐานกรณ เชน ริมฝปากกับฟน ริมฝปาก ฟนกับปุมเหงือก 2. มีท้ังเสียงกอ งและไมก อง 3. พยญั ชนะไมสามารถออกเสียงตามลาํ พงั ได ตองอาศัยเสยี งสระชว ย จึงจะสามารถออกเสียงได เชน นองลองออกเสยี ง กอ ขอ คอ งอ จะใชสระ ออ ชว ยออกเสยี ง 4. เสยี งพยญั ชนะสามารถปรากฏทต่ี น คาํ โดยนาํ หนา เสยี งสระ เรยี กวา พยญั ชนะตน และปรากฏหลงั คาํ โดยอยหู ลงั เสยี งสระ เรยี กวา พยัญชนะทายหรือสะกด พยัญชนะในภาษาไทย มี 44 รูป 21 เสียง รูปพยญั ชนะ มี 44 รูป ดงั นี้ กขฃค ฅฆงจ ฉชซฌ ญฎ ฏ ฐ ฑ ฒณด ตถทธ นบปผ ฝพฟภ มยร ล ว ศษส ห ฬอ ฮ ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 9

เสยี งพยัญชนะ มี 21 เสยี ง ดังน้ี 1. /ก/ = ก 12. /ป/ = ป 2. /ข/ = ข ฃ ค ฅ ฆ 13. /พ/ = พ ผ ภ 3. /ง/ = ง 14. /ฟ/ = ฟ ฝ 4. /จ/ = จ 15. /ม/ = ม 5. /ช/ = ช ฉ ฌ 16. /บ/ = บ 6. /ซ/ = ซ ส ศ ษ 17. /ร/ = ร 7. /ย/ = ย ญ 18. /ล/ = ล ฬ 8. /ด/ = ด ฎ 19. /ว/ = ว 9. /ต/ = ฏ 20. /อ/ = อ 10. /ท/ = ฐ ฒ ถ ท ธ 21. /ฮ/ = ฮ ห 11. /น/ = น ณ *นอ งๆ อยา งง วาทําไมถึงมีเสยี งพยัญชนะแค 21 เสียง ก็ดวยเหตทุ ี่วา เสียงพยัญชนะบางตัวนน้ั ออกเสียงเหมือนกัน เชน เสียง /ข/ มีพยญั ชนะท่ีออกเสยี งซ้าํ กนั คือ ข ฃ ค ฅ ฆ นั่นเอง เสียงพยญั ชนะ แบง ออกเปน 2 ประเภท 1. เสยี งพยญั ชนะตน คอื เสียงพยัญชนะท่ีปรากฏหนา พยางค หนาสระ แบงออกเปน 2 ชนิด 1.1 เสียงพยญั ชนะตนเดยี่ ว คือ เสยี งพยญั ชนะทอ่ี อกเสียงพยญั ชนะตน 1 เสยี ง เชน มารกั ทาํ ไมตอนน้ี = /ม/ /ร/ /ท/ /ม/ /ต/ /น/ หมเู ห็ดเปดไก = /ม/ /ห/ /ป/ /ก/ 1.2 เสียงพยญั ชนะตน ประสม (ควบ) คือ เสียงพยัญชนะท่ีออกเสียงพยญั ชนะตน 2 เสียงควบกนั เชน กราบกราน = /กร/ /กร/ เปล่ียนแปลงครบครนั = /ปล/ /ปล/ /คร/ /คร/ สงิ่ ท่นี องตองรูเอาไว คือ เสยี งพยญั ชนะตน ประสมสามารถแบงออกเปน 2 พวก คอื อกั ษรควบ และ อกั ษรนํา เม่อื นองดูท่รี ปู ของ อักษรควบ และ อักษรนาํ แลว ลักษณะของรปู นน้ั จะควบกบั พยญั ชนะอกี ตัวหน่ึง เชน กราบ กบั ตลาด แตเหตุทที่ าํ ใหอ ักษรควบกล้ําและอกั ษรนําน้นั แตกตา งกนั อยตู รงที่ “วธิ กี ารออกเสียง” น้ันเรามาดูกันเลย อกั ษรควบ คอื พยัญชนะ 2 ตวั ทอ่ี อกเสียงกลา้ํ อยูในสระเดียวกนั แบงออกเปน 2 ประเภท ดงั นี้ 1. อกั ษรควบแท คอื อกั ษรควบท่เี กิดจากพยญั ชนะ 2 ตัวทม่ี ี ร ล ว ประสมอยดู วย ประสมสระเดียวกนั แลว อาน ออกเสยี งพรอ มกนั สองตวั เชน ไกว ตรา ครอบครัว กลาง คลอง กราด เปรียบ ควา ครู เปน ตน อกั ษรควบกลํ้าแท แบง ออกเปน 2 ชนิด 1.1 อกั ษรควบไทยแท คอื อักษรควบกลา้ํ แทที่ปรากฏมาแตเดมิ ในระบบเสียงภาษาไทย มี 11 เสยี ง ดังน้ี กร คร ปร พร ตร กล คล ปล พล กว คว นอ งๆ ทอ งกันลืมไวว า “กอนค่ําไปพบเต่ีย เสยี ง ร ล ว 3 2 1” เชน กราว กรอง กลบั ครอบ ขรขุ ระ ตริตรอง ขลิบ ผลัก ปรบั ปรงุ พราย ความ เปน ตน 10 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

วธิ กี ารจําคือ นองๆ เขียน “ ก ค ป พ ต” จากนั้นนํา ร ล ว ไปเรยี งในแถวแนวต้ังแลวสงั เกตวา ก และ ค จะมี 3 เสยี ง ป และ พ จะมี 2 เสยี ง ต จะมี 1 เสยี ง เลยทองวา “3 2 1” นน่ั เอง 1.2 อักษรควบภาษาตา งประเทศ คอื อกั ษรควบกลํา้ แทท่ไี ดรับอิทธพิ ลจากภาษาตา งประเทศ เชน ภาษา อังกฤษ ภาษาสันสกฤต ซ่งึ มี 6 เสียง ดงั นี้ /บร/ = บรน่ั ดี บรอนซ บราวน /บล/ = บลู เบลอ บลอ็ ก /ดร/ = ดรมี ดราฟต /ฟร/ = ฟรี ฟรักโทส /ฟล/ = ฟลูออรนี ฟลุต */ทร/ = แทรกเตอร นิทรา จนั ทรา เปน ตน * ถา โจทยถามนองๆ วา ขอ ใดเปนอกั ษรควบ หรอื คาํ ควบกลํา้ ทม่ี ีมาแตเ ดมิ ในระบบเสยี งภาษาไทย แสดงวา โจทย ตองการ “อักษรควบไทยแท” ถาเจอ 6 เสยี งนกี้ ็ตดั ทิ้งทนั ทเี ลย 2. อกั ษรควบไมแ ท คอื ตวั อกั ษรควบกบั พยญั ชนะ ร แตอ อกเสยี งเหมอื นพยญั ชนะเดยี่ ว จะออกเสยี งเพยี งพยญั ชนะ ตัวหนาเทา นน้ั แบง ออกเปน 2 ลักษณะ 2.1 ออกเสียงพยัญชนะตัวหนา ( เหน็ รปู ร แตไมอ อกเสียง /ร/) เชน จริง สรา ง เสริม เศรา สระ สรวง เสรจ็ เปนตน ขอ สอบมักจะถามถึง “เสยี งพยญั ชนะตน” นอ งๆ จาํ ไวเ ลยวา ร ไมเ กีย่ ว เราจะออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตวั หนา เชน สราง พยญั ชนะตน คือ /ส/ เปน พยัญชนะตนเดย่ี ว 2.2 ออกเสยี งพยญั ชนะตน ท้ัง 2 รูปเปนพยัญชนะตน ตัวอนื่ (รปู ทร ออกเสยี ง /ซ/) เชน ทราบ ทรง ทราม ทรุดโทรม แทรก ทราย ไทร เปน ตน ขอ สอบมักจะถามถงึ “เสยี งพยญั ชนะตน” เชนกัน นอ งๆ ตั้งสติพยายามอานออกเสยี งดๆี จะพบวา ทร นั้นออกเสียงเปน ซ เชน ทรุด พยญั ชนะตน คอื /ซ/ ไมใช /ทร/ อักษรนํา คือ พยัญชนะ 2 ตัวประสมสระเดียวกัน เชนเดียวกับอักษรควบแตตางกันตรงวิธีการออกเสียง แบงออกเปน 2 ลกั ษณะ 1. อา นออกเสียง 2 พยางค คอื พยางคแ รกออกเสยี งเปน สระ อะ (ก่ึงเสียง) สว นพยางคหลงั อา นแบบมี ห นํา โดย มอี กั ษรสูง อักษรกลาง หรอื อกั ษรต่ํานําอักษรเดย่ี ว เชน ตลาด = ต ะ- หลาด ขนม = ข ะ- หนม ฉลาม = ฉ ะ- หลาม สมอง = ส ะ- หมอง เปนตน 2. อา นออกเสียง 1 พยางค คอื ไมออกเสยี งตวั นาํ แตจะออกเสียงกลนื เปนเสียงเดียวกันมี 2 ลกั ษณะ 2.1 อ นํา ย เชน อยา อยู อยา ง อยาก 2.2 ห นํา อกั ษรต่ําเด่ยี ว เชน หนู เหงา หยอย เหมา หงาย หญา ใหญ ไหล เปน ตน ระวงั ! * นองจะสังเกตเห็นวา อักษรนาํ แบบอา นออกเสียง 1 พยางคน้ี จะไมอ อกเสียงตัว อ และ ห ดังนนั้ ตวั อ และ ห นจี้ งึ ไมใ ช เสียงพยญั ชนะตน เชน หนู พยัญชนะตน จะเปน เสียง /น/ เปน ตน * คําตอ ไปนีไ้ มใ ชอ กั ษรนํา แตเ พียงอา นเหมอื นอักษรนาํ (อา นอยา งอักษรนํา) เชน สริ ิ บัญญัติ ศักราช (คอื อา นมี ห นาํ เลียน แบบนนั่ เอง) ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 11

2. เสียงพยัญชนะทา ย เสยี งพยญั ชนะทา ย (ตัวสะกด) คอื พยญั ชนะท่ีตามหลังสระ มี 9 มาตรา ดงั น้ี 1. ไมม ตี วั สะกด 1 มาตรา คือ แม ก กา 2. มีตวั สะกด 8 มาตรา คอื แม กง กม เกย เกอว กก กด กบ กน เสียงพยญั ชนะทาย คอื พยญั ชนะท่ีตามหลังสระ มี 8 มาตรา บางพยางคไมจําเปนตอ งมเี สยี งพยัญชนะทายกไ็ ด (พยางคท่ี ไมม ีพยญั ชนะทา ย คอื ผ ฝ ฌ อ ห ฉ ฮ) 1. เสียง ก สะกด เรยี กวา แมก ก ใช ก ข ค ฆ เปน ตวั สะกด เชน ปาก สุข เมฆ 2. เสียง ด สะกด เรียกวา แมกด ใช ด ต ถ ท ธ ฏ ฎ ฑ ฐ ฒ จ ช ซ ศ ษ ส เปน ตวั สะกด เชน ราด 3. เสียง บ สะกด เรยี กวา แมกบ ใช บ ป พ ภ ฟ เปนตัวสะกด เชน บาป ภาพ โลภ ลาภ 4. เสยี ง ง สะกด เรยี กวา แมก ง ใช ง เปน ตวั สะกด เชน ยุง จริงจงั 5. เสยี ง น สะกด เรยี กวา แมก น ใช น ณ ญ ร ล ฬ เปนตัวสะกด เชน ออน คุณ หาญ โอฬาร 6. เสียง ม สะกด เรยี กวา แมกม ใช ม เปนตัวสะกด เชน สาม ตมู ตาม 7. เสียง ย สะกด เรยี กวา แมเกย ใช ย เปน ตัวสะกด เชน ตาย เอย เคย 8. เสยี ง ว สะกด เรยี กวา แมเกอว ใช ว เปนตวั สะกด เชน ดาว เปร้ียว ราว เปนตน ระวัง! (พยัญชนะท่เี ปนตวั สะกดไมได คือ ผ ฝ ฌ อ ห ฉ ฮ = “ฮาๆ ผีฝากเฌอเอมใหฉ ัน” ส่ิงทนี่ องควรระวงั ไว 1. สระเกิน คอื อํา ไอ ใอ เอา มเี สียงพยัญชนะสะกดอยูดว ยเสมอ ดังน้ี อาํ = อ+อะ+ม (มเี สียง /ม/ เปนตัวสะกด) ไอ ใอ = อ+อะ+ย (มีเสยี ง /ย/ เปนตวั สะกด) เอา = อ+อะ+ว (มเี สียง /ว/ เปน ตัวสะกด) เชน ดํา นา้ํ ไข ให เมา เขา เปนตน 2. ว และ ย ทป่ี รากฏอยใู นสระ อวั และ เอยี เปน รปู สระ ตวั วอ และ ตวั ยอ ไมใ ชพ ยญั ชนะสะกด แมเ กอวและแมเ กย เชน หวั เสยี รั้ว กลวั วัว เมีย เปย เปนตน 3. อ เปน รปู พยญั ชนะเฉพาะเปน พยญั ชนะตน และรปู สระทเี่ รยี กวา ตวั ออ ดงั นน้ั อ จงึ ไมใ ชพ ยญั ชนะทา ยหรอื ตวั สะกด เชน พอ เธอ เบ่ือ มอื เปน ตน 3. เสยี งวรรณยุกต เสียงวรรณยกุ ต คอื เสียงทเี่ ปลงออกมาพรอ มกับเสยี งสระ จะมเี สยี งสงู ต่ําตามการส่นั สะเทือนของเสียง จึงเรียกอีกชื่อวา เสยี งดนตรี ลกั ษณะของเสียงวรรณยุกต 1. เสยี งวรรณยกุ ต ไมสามารถเกิดลําพังได จะเกิดพรอ มกบั เสยี งสระ 2. เสยี งวรรณยุกตเ กดิ ระดบั สูงต่าํ คลายเสยี งดนตรี 3. เสยี งวรรณยุกต ทาํ ใหคํามีความหมายแตกตางกันไป เชน ปา ปา ปา ปา ปา วรรณยกุ ตใ นภาษาไทย มี 4 รูป 5 เสยี ง ดงั นี้ เสียง เสยี งสามญั เสยี งเอก เสยี งโท เสียงตรี เสียงจตั วา รปู - ่ ้ ๊๋ วรรณยุกตจําแนกตามลกั ษณะการใช แบง ออกเปน 2 ชนิด ดงั น้ี 1. วรรณยกุ ตมีรปู คือ คําทีป่ รากฏรปู วรรณยุกตบนคาํ น้นั ๆ เชน ขา ว เจี๊ยบ ปู เปน ตน 2. วรรณยกุ ตไมมีรูป คือ คาํ ทีไ่ มม ีรูปปรากฏอยบู นคําน้ันๆ เชน นก ขงิ กา ขา จะ เปนตน 12 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เสียงวรรณยกุ ต แบงออกเปน 2 ประเภท 1. เสยี งวรรณยุกตร ะดบั คอื วรรณยกุ ตทีม่ เี สียงคอ นขา งคงท่ตี ลอดพยางค ไดแก เสยี งสามัญ = หนว ยเสียงวรรณยกุ ตร ะดับกลาง “ปา” เสียงเอก = หนวยเสียงวรรณยกุ ตระดบั ต่ํา “ปา ” เสียงตรี = หนว ยเสียงวรรณยกุ ตระดับสูง “ปา” 2. เสยี งวรรณยกุ ตเ ปลยี่ นระดบั คอื วรรณยกุ ตท ม่ี เี สยี งเปลยี่ นแปลงมากระหวา งตน พยางคก บั ทา ยพยางค ไดแ ก เสยี งโท = หนวยเสียงวรรณยกุ ตเปล่ียนตก “ปา” เสียงจัตวา = หนว ยเสียงวรรณยกุ ตเ ปลยี่ นขน้ึ “ปา ” แนวขอสอบ 1. ขอใดมีคําทีส่ ะกดดวยแมกดมากทสี่ ดุ 1. อุบัติเหตเุ กิดขน้ึ เปน นิตยใ นโอกาสวนั สุดสปั ดาห 2. งานเฉลมิ ฉลองพระเกยี รติในวโรกาสการประสตู ิพระโอรส 3. ขอต้งั สัจจะอธษิ ฐานยึดมนั่ ในชาติ ศาสน กษตั รยิ ชว่ั นิรันดร 4. ยศถาบรรดาศักดไิ์ มสามารถสกดั กนั้ ใหแ คลว คลาดปราศจากอุปท วนั ตรายได 2. ขอ ใดมีเสยี งวรรณยกุ ตครบหา เสียง 1. โงไ มเปนเปนใหญย ากฝากใหคดิ 2. ทางชวี ติ จะรุง โรจนโ สตถิผล 3. ตองรโู งรูฉลาดปราดเปรื่องตน 4. โงส บิ หนดกี วาเบง เกง เดี๋ยวเดียว 3. ขอใดมเี สยี งวรรณยุกตค รบ 5 เสยี ง 1. เจา คุมแคน แสนโกรธพโิ รธพี่ 2. แตเดอื นย่จี นยางเขา เดือนสาม 3. เหมอื นคนปาคนไพรไมร ุง เรือง 4. จากอารามแรมรา งทางกนั ดาร 4. ขอ ใดไมมสี ระประสม 1. ใครดถู ูกผชู าํ นาญในการชาง 2. ความคดิ ขวางเฉไฉไมเ ขา เรื่อง 3. เหมอื นคนปา คนไพรไมรงุ เรือง 4. จะพดู ดว ยนั้นกเ็ ปลอื งซงึ่ วาจา 5. ขอใดไมมีเสยี งวรรณยุกตจัตวา 1. พระเหลอื บลงตรงโตรกชะโงกเงื้อม 2. น้ํากระเพ่ือมแผน ผาศิลาเผนิ 3. กระจางแจง แสงจนั ทรแ จม เจริญ 4. พระเพลิดเพลินพลางเพรยี กสําเหนยี กใจ 6. ขอใดประกอบดวยพยางคท อ่ี อกเสยี งสระยาวทกุ คาํ 1. เวิ้งวา ง เงนิ ผอน แบง แยก 2. วด้ี วาย เชิญชวน คลอนแคลน 3. โพลเ พล รอ งแรง จองหอง 4. กรีดกราย รอนเร ลอดชอง 7. ขอใดมเี สยี งพยญั ชนะตน มากทีส่ ุด (ไมน ับเสียงซาํ้ ) 1. ใครมาเปนเจาของครอง 2. คงจะตองบงั คับขบั ไส 3. เคีย่ วเข็ญเย็นค่ํากรา่ํ ไป 4. ตามวสิ ัยเชิงเชน ผูเปน นาย ใชค ําประพนั ธต อไปน้ีตอบคําถาม ขอ 8-9 ก. จะหาจันทนกฤษณานน้ั หายาก ข. เหมอื นคนมากมดี ่ืนนับหม่ืนแสน ค. จะประสงคองคป ราชญกข็ าดแคลน ง. เสมอแมน จันทนแ ดงแรงราคา ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 13

8. ขอ ใดไมมเี สียงวรรณยกุ ตโท 3. ขอ ค 4. ขอ ง 1. ขอ ก 2. ขอ ข 9. ขอใดมีเสียงสระประสม 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง ใชค าํ ประพันธต อ ไปน้ีตอบคําถาม ขอ 10 - 14 ก. โบราณวา เปนขา จอมกษัตรยิ  ข. ราชสวสั ดติ์ องเพยี รเรียนรักษา ค. ทานกาํ หนดจดไวในตาํ รา ง. มมี าแตโ บราณชา นานครัน 10. ขอใดมเี สยี งสระประสม 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง 11. ขอใดมีคาํ ทอ่ี อกเสยี งอกั ษรควบ 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง 12. ขอ ใดมเี สยี งวรรณยกุ ตค รบ 5 เสียง 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง 13. ขอใดมอี กั ษรตาํ่ นอ ยที่สุด (ไมนบั อกั ษรทีซ่ ํ้ากนั ) 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง 14. ขอ ใดมอี ักษรนาํ 1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ข และ ค 3. ขอ ค และ ง 4. ขอ ง และ ก 15. คาํ ในขอใดมีตัวสะกดมาตราเดียวกบั “เหตุผล” ทุกคํา 1. พุดตาน ถอดถอน มลพษิ 2. มดเทจ็ คิดสนั้ จัดการ 3. ผลัดเวร บทกลอน โทษทณั ฑ 4. สวดมนต จดุ ออน ทรัพยส ิน 16. ใชค าํ ถามตอ ไปนตี้ อบคําถามขอ ก และ ขอ ข ไดฟ ง หลานทานยา น้าํ ตาตก สะอ้ืนอกอาดรู วา ทนู หัว ก. ขอ ความขางตนมีพยางคที่ปรากฏเสียงพยัญชนะทายกพี่ ยางค 1. 9 พยางค 2. 10 พยางค 3. 11 พยางค 4. 12 พยางค ข. ขอความขางตนมีคําที่รปู วรรณยกุ ตไ มตรงกับเสียงวรรณยุกตกี่คาํ 1. 9 คาํ 2. 10 คาํ 3. 11 คาํ 4. 12 คํา 17. ใชค าํ ถามตอ ไปนต้ี อบคําถามขอ ก และ ขอ ข 1. พระอตุ สา หเงือดงดสะกดจิต 2. มิไดคิดมุงมาดปรารถนา 3. แกลง ทาํ สาํ รวมหลบั ตา 4. กมหนาน่ิงอยไู มดไู ป ก. ขอใดประกอบดว ยคาํ หรอื พยางคทขี่ ้นึ ตน ดวยเสียงพยญั ชนะเดยี่ วทง้ั หมด 1. ขอ 1 2. ขอ 2 3. ขอ 3 4. ขอ 4 ข. ขอ ใดมีเสียงสระประสม 1. ขอ 1 และ 2 2. ขอ 3 และ 4 3. ขอ 1 และ 3 4. ขอ 2 และ 4 18. ขอ ใดมีเสียงควบกล้ําทไี่ มป รากฏมาแตเดมิ ในระบบเสียงภาษาไทย 1. นา้ํ เลอื ดหรอื พลาสมาเปน สว นประกอบสวนใหญม ีอยรู อ ยละ 55 ของเลือดทั้งหมด 2. นา้ํ เลือดมีสภาวะเปน เบสประกอบดว ยนาํ้ และสารอ่ืนๆ เชน โปรตีน วิตามิน เกลอื แร 14 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

3. เกลด็ เลอื ดเปนชนิ้ สวนของเซลลม ีรูปรางไมแนน อนมีขนาดเล็ก ไมมนี วิ เคลยี ส 4. เกล็ดเลือดจะหลงั่ สารเคมไี ฟบรนิ ซง่ึ ชว ยทําใหเ ลอื ดแข็งตัวเมอื่ เกดิ บาดแผล เฉลยคาํ ตอบ 1. ตอบ 1, 3, 4 (ขอสอบขอน้ี มีความผดิ พลาดจงึ ทําใหมีหลายคําตอบ) ซงึ่ 1. มี 6 คํานน่ั ก็คอื อบุ ตั ิ เหตุ เกดิ นิตย โอกาส สดุ 3. มี 6 คํานัน่ ก็คือ สจั อธษิ ยึด ชาติ ศาสน กษัตริย 4. มี 6 คาํ นน่ั ก็คอื ยศ สามารถ สกัด คลาด ปราศ อุปท สว นขอ 2 มี 4 คําคือ เกียรติ โอกาส ประสูติ โอรส 2. ตอบ 2 โจทยถ ามขอ ท่มี วี รรณยุกตค รบท้งั 5 เสียง นองไลเสยี งดจู ะพบวา ขอ 2 ทาง ชี วิต จะ รงุ โรจน โสต ถิ ผล = สามญั สามญั ตรี เอก โท โท เอก เอก จัตวา (ครบทกุ เสยี ง) 3. ตอบ 1 โจทยถามขอท่ีมีวรรณยกุ ตครบท้งั 5 เสียง นองไลเ สียงดูจะพบวา ขอ 1 เจา คมุ แคน แสน โกรธ พิ โรธ พี่ = โท สามญั จัตวา จตั วา เอก ตรี โท โท (ครบทกุ เสียง) 4. ตอบ 1 โจทยถ ามไมมเี สยี งสระประสม ใหจาํ วา “ผัว เบอื่ เมยี ” พิจารณาโดยนองๆ หาขอ ที่ ไมม ี อวั เอือ เอยี ขอ 2. เร่ือง ขอ 3. เรอื ง ขอ 4. เปลอื ง ขอ 1. นองๆ หาดูไมพบ อวั เออื เอีย เลยเปนคําตอบน่ันเอง 5. ตอบ 1 โจทยถ ามขอใดไมม ีเสยี งจัตวา ถา นอ งไลเ สียงจะพบวา ขอ 2 มีเสียงจตั วา คือคาํ วา ผา กับ เผิน ขอ 3 มีเสยี งจัตวา คือคําวา แสง ขอ 4 มเี สียงจัตวา คอื คําวา สํา สวน ขอ 1 ไมม เี สยี งจตั วาเลย จึงเปนคําตอบของขอน้ี 6. ตอบ 2 โจทยถ ามเสียงสระยาว ซง่ึ มี 9 ตัว ลองพจิ ารณากัน ว้ีดวาย = อี อา เชิญชวน = เออ อัว คลอนแคลน = ออ แอ จึงเปน คําตอบ 1. เวิง้ วา ง = เออ อา เงินผอ น = เออะ เอาะ แบง แยก = แอะ แอ 2. โพลเ พล = โอ เอ รอ งแรง = เอาะ แอะ จองหอง = ออ แอ 3. กรดี กราย = อี อา รอ นเร = เอาะ เอ ลอดชอ ง = ออ เอาะ 7. ตอบ 4 โจทยร ปู แบบนี้ เวลาทาํ ขอ สอบไมใ หส ับสนควรทําดงั นี้ 1. ใครมาเปนเจาของครอง = คร ม ป จ ข 2. คงจะตอ งบงั คับขับไส = ค จ ต บ ส คร ค 3. เคี่ยวเข็ญเย็นคา่ํ กร่าํ ไป = ค ย กร ป 4. ตามวสิ ัยเชงิ เชนผเู ปนนาย = ต ว ส ช ผ ป น ขช ค กลาวคอื คาํ ไหนที่ซํา้ กันใหเขยี นตอขา งบน กันการผิดพลาด การนบั เกนิ และระวงั พยญั ชนะตนประสม อกี ทั้งเสยี ง พยัญชนะตนที่เสยี งซํา้ เชน ข ฃ ค ฅ ฆ ซ่ึงนบั เปน เสยี งเดยี วกนั ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 15

8. ตอบ 4 โจทยถามไมม ีเสยี งวรรณยกุ ตโ ท ขอ 1 ยาก ขอ 2 มาก ขอ 3 ก็ 9. ตอบ 2 หา อวั เอือ เอยี ซ่ึงจะพบในขอ 2 คือ เหมือน 10. ตอบ 2 หาคําท่ีมเี สียงสระประสม (อัว เออื เอีย) คอื เพยี ร และ เรยี น 11. ตอบ 4 โจทยถามคําท่ีออกเสียงควบกล้ํา นัน่ ก็คือเสยี งพยัญชนะตนประสม คอื ครนั /คร/ 12. ตอบ 2 โจทยถามเสียงวรรณยุกตค รบ 5 เสียง นอ งไลเสียงดจู ะพบวา ขอ 2 ราด ชะ สะ หวัด ตอ ง เพียร เรยี น รกั ษา = โท ตรี เอก เอก โท สามัญ สามญั ตรี จตั วา (ครบทกุ เสยี ง) 13. ตอบ 3 อกั ษรตา่ํ มี 24 ตัว (ต่ําคู 14 เสยี ง ตาํ่ เด่ียว 10 เสยี ง) ขอ 1 มี 5 ตัว คอื ร ณ ว ม ย ขอ 2 มี 7 ตัว คอื ร ช ว ง พ ย น ขอ 3 มี 4 ตัว คอื ท น ว ร ขอ 4 มี 6 ตัว คอื ม ร ณ ช น ค 14. ตอบ 2 อกั ษรนาํ มี 2 ชนดิ คอื อาน 1 พยางค กับ อาน 2 พยางค อกั ษรนําทพ่ี บคือ สวัสดิ์ และ กําหนด 15. ตอบ 3 คาํ วา “เหตุผล” มีตวั สะกดคือ แมกดและแมกน ตามลาํ ดับ ผลัด-เวน บด-กลอน โทด-ทัน จึงเปนคําตอบ 16. ก. ตอบขอ 2 ข. ตอบขอ 2 เสียงพยัญชนะทา ยมี 10 พยางค ไดแก ได (ย) ฟง (ง) หลาน (น) ทาน (น) น้ํา (ม) ตก (ก) อ้ืน (น) อก (ก) ดูร (น) ทนู (น) ระวังคาํ วา “หวั ” ว ไมใ ชแมเกอวแตเปน สวนหนงึ่ ของสระ อวั ซงึ่ เปนสระ คําท่มี รี ปู วรรณยกุ ตไ มตรงกับเสียงวรรณยุกต มี 9 ไดแก หลาน (รูปสามญั เสียงจตั วา) ทา น (รปู เอก เสียงโท) ยา (รปู เอก เสียงโท) นา้ํ (รูปโท เสียงตรี) ตก (รปู สามญั เสยี งเอก) สะ (รูปสามญั เสยี งเอก) วา (รูปเอก เสยี งโท) หัว (รูปสามญั เสียงจัตวา) 17. ก. ตอบขอ 4 ข. ตอบขอ 3 ขอ 4 มีเสยี งพยญั ชนะตนเดย่ี วทุกคํา ไดแก กม(ก) หนา (น) น่งิ (น) อย(ู ย) ไม(ม) ดู(ด) ไป(ป) สว นขอ 1 2 3 มีเสยี งพยญั ชนะตน ควบคือ พระ(พร) ปรารถนา(ปร) แกลง(กล) ตามลําดับ เสียงสระประสมนน้ั กห็ า อัว เอือ เอยี ไดแก 1. เงอื ด และ 3. รวม จึงตอบขอ 3 น่ันเอง 18. ตอบ 4 โจทยขอ น้ีถามเสยี งควบกลา้ํ ที่ไมปรากฏมาแตเ ดิมในระบบเสยี งภาษาไทย แปลงา ยๆ คือ ถามวา ขอ ใดไมม เี สียง ควบกลํ้าไทยแท ซ่ึงเรามีหลักการจาํ คาํ ควบกล้ําไทยแท น่นั ก็คอื “กอนคา่ํ ไปพบเต่ยี ” = กร คร ปร พร ตร กล คล ปล พล กว คว ขอ 1 มคี าํ วา พลาสมา ประกอบ ขอ 2 มีคาํ วา ประกอบ โปรตนี เกลอื แร ขอ 3 มีคําวา เกล็ด นวิ เคลยี ส ขอ 4 มคี าํ วา เกล็ด ไฟบริน แผล คําวา “ไฟบรนิ ” ควบกลํา้ /บร/ จะไมป รากฏในระบบเสียงภาษาไทย อกั ษรไทย ไตรยางศ ไตรยางศ หรอื อกั ษรสามหมู คอื ระบบการจดั หมวดหมอู กั ษรไทย เฉพาะรปู พยญั ชนะตามลกั ษณะการผนั วรรณยกุ ต เนอื่ งจาก พยญั ชนะไทย เมอื่ กาํ กบั ดวยวรรณยกุ ตหน่ึงๆ แลว จะมีเสียงวรรณยกุ ตท แี่ ตกตา งกัน 16 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

พยัญชนะไทยแบง ออกเปน 3 หมู โดยแบงพ้ืนเสยี งที่ยงั ไมไ ดผ นั ซึง่ มีระดับเสียง สูง กลาง ตํ่า เรียกวา ไตรยางศ อกั ษรกลาง อกั ษรสงู อกั ษรตํา่ คู อกั ษรตํ่าเดี่ยว ก ผ พภ ง จ ฝ ฟ ญ ดฎ ถฐ ทฒฑธ น ตฏ ขฃ คฅฆ ย บ สศษ ซ ณ ป ห ฮ ร อ ฉ ชฌ วมฬล อักษรกลาง มี 9 ตัว ไดแ ก ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ มีหลักการทอ งจาํ วา ไกจ กิ เดก็ ตาย (เฎ็กฏาย) บนปากโอง อกั ษรสงู มี 11 ตัว ไดแก ผ ฝ ถ ฐ ข ส ศ ษ ห ฉ มีหลักการทอ งจาํ วา ผฝี ากถุงขา วสารใหฉ นั อกั ษรต่าํ มี 24 ตวั แบงออกเปน 2 ชนิด อักษรเดย่ี ว คือ อกั ษรต่าํ ที่ไมมีเสยี งคูกบั อักษรสูงมี 10 ตวั ไดแ ก ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ มหี ลกั การทอ งจําวา งใู หญนอนอยู ณ รมิ วัดโมฬโลก อกั ษรคู คอื อักษรตํ่าที่มเี สยี งคูก บั อักษรสูงมี 14 ตัว ไดแก พ ภ ค ฅ ฆ ฟ ท ธ ฑ ฒ ซ ช ฌ ฮ มีหลกั การทองจําวา พอ คาฟนทองซอื้ ชา งฮอ อกั ษรคู อกั ษรสูง คฅฆ ขฃ ชฌ ฉ ฑฒทธ ฐถ ซ สศษ พภ ผ ฟฝ ฮห อักษรต่าํ คู คือ อะไร อักษรตา่ํ คู คือ อักษรตํา่ ทมี่ ีเสยี งคลา ยกับอกั ษรสงู เชน ซ กบั ส ศ ษ ถา อกั ษรตาํ่ เดี่ยว คือ อักษรตํ่าท่ไี มมเี สียงคลา ยอกั ษรสงู คาํ เปน คําตาย คําเปน มหี ลกั การสังเกตดังน้ี 1. พยางคท มี่ ตี วั สะกด แม กน กม เกย เกอว กง เชน จน สม เตย เกย่ี ว สาย ลงิ คง 2. พยางคที่ประสมดวยสระเสยี งยาว เชน นา มี มา หู แม สู ซื้อ ดู ปลา ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 17

3. พยางคทป่ี ระสมดวย อํา ไอ ใอ เอา จดั เปนคําเปน เพราะมตี วั สะกด เชน เหา ใส จํา ดํา ไว หลกั การจํา “คนเปนเปน นมยวงๆ และตองยาว” คาํ ตาย มหี ลักการสังเกตดงั น้ี 1. พยางคท ม่ี ตี ัวสะกด แม กก กบ กด เชน เมฆ กราบ ชก ศพ โบสถ บาตร ออก 2. พยางคทปี่ ระสมดวยสระเสียงส้ัน เชน เกะกะ และ สริ ิ โตะ ปรุ หลกั การจาํ “คนตายอายุส้ันเพราะมันเปนกบด” คาํ ครุ คาํ ลหุ คําครุ คือ พยางคท ่อี อกเสียงหนัก มหี ลกั การสังเกตดงั น้ี 1. พยางคท ม่ี มี าตราตัวสะกดในทุกมาตรา เชน หงิ่ หอ ย บา นเรอื น น้าํ รัก 2. พยางคที่ประสมดว ยสระเสยี งยาวเทาน้นั เชน เกศา ชวี า ราตรี 3. พยางคท ี่ประสมดว ย อํา ไอ ใอ เอา จัดเปนคาํ ครุเพราะมีตัวสะกด เชน ดาํ ให เขา คาํ ลหุ คือ พยางคท อ่ี อกเสียงเบา มหี ลักการสงั เกตดังน้ี 1. พยางคท ี่ไมม เี สยี งพยญั ชนะสะกด 2. พยางคท่ปี ระสมดวยสระเสยี งสนั้ เทา นัน้ เชน นะคะ เอะอะ แกะ ขรขุ ระ 3. รวมถึง บ ณ ธ ก็ เพราะเปนพยางคที่ออกเสยี งสนั้ และไมม ีเสยี งพยญั ชนะสะกด หมายเหตุ คาํ ครุ คาํ ลหุ เปน ลักษณะบังคบั เฉพาะของฉนั ทลกั ษณประเภท ฉันท เชน อินทรวิเชยี รฉนั ท พยางค พยางค หมายถึง เสียงท่ีเปลงออกมาในแตละครั้ง พรอมกันท้ังเสียงสระ เสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต อาจมี ความหมายหรือไมมีความหมายก็ได พยางค แบงออกเปน 2 ประเภท 1. พยางคเปด คอื พยางคที่ไมมเี สียงพยญั ชนะสะกด เชน วา หมา ตา มี เปนตน 2. พยางคป ด คือ พยางคท่มี เี สียงพยญั ชนะสะกด เชน นอ ง เดิน กลับ บา น เปนตน รวมถึงสระ อํา ไอ ใอ เอา เชน ให ไว เขา เมา ดาํ เปนตน อกี ทั้งพยางคล หทุ ่ลี งเสยี งหนัก ส่งิ ทนี่ องควรระวงั ไว * พยางคท ี่ประสมดวยสระเสียงสน้ั ในแม ก.กา และออกเสยี งหนกั เชน จะจะ เกะกะ เตะ จะมีเสยี ง /อ/ ทา ยเสยี ง ถงึ แมจะ ไมปรากฏรูปก็ตองนับวาเปนเสียงพยางคปด เชน เห็นกับตาจะจะ (ปด-ปด) หรือคําท่ีมีเสียงส้ันอยูท่ีตนคําท่ีออกเสียงหนักหรือ เนน หนกั เชน ทเุ รยี น (ปด) ตะกรา (ปด) * พยางคท ป่ี ระกอบดวยสระประสม (อวั เอือ เอยี ) มี ว อ ย เปนสระจึงไมมีรูปพยญั ชนะสะกดถอื วาเปน พยางคเปด เชน ววั เรอื ดว ย เปน ตน โครงสรางพยางค ในการพิจารณาขอสอบทถี่ ามวา โครงสรางพยางค องคป ระกอบของพยางค หรอื สว นประกอบของพยางคม ีความเหมอื น หรอื แตกตางกนั อยา งไร มีขั้นตอนการพจิ ารณาดงั นี้ 18 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

1. พิจารณา เสยี งพยัญชนะสะกด วา เปนพยางคเ ปดหรือพยางคปด เราทองวา 2. พจิ ารณา เสียงพยัญชนะตน ถามี เปน เสียงพยญั ชนะเดีย่ ว หรอื เสียงพยญั ชนะประสม (อักษรควบ) “ ทา ย 3. พจิ ารณา เสียงวรรณยุกต วา เปนเสยี งสามญั เอก โท ตรี หรือ จัตวา ตน 4. พิจารณา เสียงสระ วา เปน เสยี งสระเด่ยี ว หรือ เสยี งสระประสมถาเปน เสยี งสระเดีย่ ว ตองดูวาเปนเสยี งสระส้ัน หรอื เสยี งสระยาว ดน สระ” ตวั อยา ง 1. ขอใดมีโครงสรา งพยางคต างกบั ขอ อ่ืน 1. ขา งแรม 2. ทองจาํ 3. ต้งั ใจ 4. สรอ ยเงนิ 1. เสยี งพยญั ชนะสะกด ปด ปด ปด ปด ปด ปด ปด ปด 2. เสยี งพยัญชนะตน เดีย่ ว เดย่ี ว เดย่ี ว เดย่ี ว เดี่ยว เดี่ยว เด่ยี ว เดย่ี ว 3. เสยี งวรรณยุกต โท สามัญ โท สามญั โท สามญั โท สามญั 4. เสยี งสระ ยาว ยาว สน้ั ส้นั สัน้ สั้น สัน้ ส้นั แนวขอสอบ 1. ขอใดมคี าํ ตายมากท่ีสดุ 1. ประดุจทรงวราภรณสนุ ทรสวัสดิ์ 2. เรอื งจรสั ยิ่งมงกฎุ สดุ สงา 3. ประดบั พระวรเดชวิเศษฤทธิ์ 4. ท่ีสถติ อานภุ าพสโมสร 2. ทุกพยางคในขอ ใดเปนคาํ เปน 1. พระเสด็จโดยแสนชล 2. ทรงเรอื ตน งามเฉิดฉาย 3. เรอื ชยั ไววองวง่ิ 4. รวดเรว็ จริงย่งิ อยางลม 3. เสียงของพยางคในขอ ใดมโี ครงสรางตางกบั ขออ่ืน 1. ขวาน 2. หลาม 3. เผย 4. ฝงู 4. คาํ ประพันธตอ ไปนี้ขอ ใดมพี ยางคค ําตายมากทีส่ ดุ 1. พระภมู นิ ทรลนเกลา ของชาวไทย 2. เสด็จไปทัว่ แควน แดนสยาม 3. พระเมตตาดจุ ฟา แสนงดงาม 4. ทั่วสยามไมแ ยกเผา เราคือไทย 5. ขอใดมตี าํ แหนง คําครุคําลหุเหมอื นขอ ความตอไปนี้ “บารมี ธ มากลน” 1. คนจะดเี พราะนา้ํ ใจ 2. สารนีม้ ีลบเลือน 3. ฟาสนี ํ้านาํ้ สฟี า 4. พรุงนเ้ี ราจะรักกัน ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 19

ใชคําประพันธตอ ไปนี้ตอบคําถาม ขอ 6 - 7 ข. เหมือนคนมากมดี ื่นนับหม่นื แสน ก. จะหาจนั ทนกฤษณานัน้ หายาก ค. จะประสงคอ งคป ราชญก็ขาดแคลน ง. เสมอแมนจันทนแ ดงแรงราคา 6. ขอใดมอี กั ษรกลางนอยท่สี ดุ 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง 7. ขอใดมีจํานวนพยางคม ากทีส่ ุด 1. ขอ ก 2. ขอ ข 3. ขอ ค 4. ขอ ง 8. คาํ ทุกคาํ ในขอใดอานออกเสียงจํานวนพยางคเทากบั คาํ วา “พนั ธกรณี” 1. เทวนาครี นมิ มานรดี สตั บรภิ ณั ฑ 2. บดีวรดา นิคหกรรม จตุรพิธพร 3. ทาสปญ ญา นักษัตรบดี ปจ จยั นาค 4. ฉกามาพจร ญาณวิทยา สวุ รรณภมู ิ 9. ขอใดมีพยางคท่เี ปนคาํ ตายมากท่ีสดุ 1. รูแลว อยาอวดรู พินิจดอู ยาหมนิ่ เมิน 2. เหน็ โทษเขา เปนตรี จงึ ออกตัวดว ยจติ 3. เราแจง คัมภีรฉัน ทศาสตรอ ันบรุ าณปาง 4. อนึ่งเลามีคาํ โจทก กลา วยกโทษแพทยอันมี เฉลยคาํ ตอบ 1. ตอบ 3 โจทยถามเรื่องคาํ ตาย เรามีหลกั จาํ ไวว า “กบด + ออกสระเสยี งส้นั ” ขอ 3 คือ ประ ดบั พระ วร (วอ-ระ) เดช วิ เศษ ฤทธิ์ มี 8 คํา 2. ตอบ 3 โจทยถ ามเรื่องคาํ เปน มีหลักสงั เกตคอื “นมยวง สระเสียงยาว อาํ ไอใอเอา” “เรือชยั ไววองว่งิ ” = เสียงยาว แมเ กย แมเกย แมเกอว แมเ กอว ตามลาํ ดับ 3. ตอบ 1 โจทยถามเรือ่ งโครงสรา งพยางค สาํ คัญมากๆ ทน่ี องตอง check เปน step คือ “ทา ยตน ดนสระ” ซึ่งขอ นท้ี ้งั 4 ขอ มพี ยัญชนะทา ยเหมือนกันหมดแตพ ยญั ชนะตน ของขอ 1 เปน อักษรควบกลํา้ /ขว/ ซึ่งขอ อืน่ เปนพยัญชนะตนเด่ยี ว 4. ตอบ 3 โจทยถามพยางคค าํ ตายมากท่สี ดุ เรามหี ลักจําไวว า “กบด + ออกเสียงสระสน้ั ” ขอ 3 คอื พระ เมต ดุจ งด (มี 4 พยางค) 5. ตอบ 1 คําครุ คอื คําทม่ี ีตัวสะกดทกุ มาตรา ประสมสระเสียงยาว สว นคําลหุ คอื คําทไ่ี มมีตัวสะกด ประสมสระเสยี งสั้น จากโจทย “บารมี ธ มากลน ” = ครุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ซึง่ ตรงกบั ขอ 1 “คนจะดีเพราะนาํ้ ใจ” = ครุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ 6. ตอบ 2 โจทยถ ามเรอื่ ง อักษรกลาง ซ่งึ ไดแ ก ก จ ด ต ฎ ฏ ต บ ป อ ลองพจิ ารณาแตข อ ก. จะหาจันทนกฤษณาน้ันหายาก =จจก ข. เหมือนคนมากมดี ืน่ นบั หมื่นแสน = ด (นอยสดุ ) ค. จะประสงคอ งคป ราชญก็ขาดแคลน = จ ป อ ป ก ง. เสมอแมน จันทนแดงแรงราคา =จด 20 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

7. ตอบ 1 เพราะมมี ากสดุ คอื 9 พยางค สวนทเ่ี หลืออานได 8 พยางค 8. ตอบ 1 “พนั ธกรณ”ี อา นได 5 พยางค (พัน ทะ กอ (กะ) ระ น)ี ซ่งึ ตรงกับขอ 1 คือ เทวนาครี = เท วะ นา คะ ร,ี นิมมานรดี = นิม มา นอ ระ ดี, สัตบรภิ ณั ฑ = สัด ตะ บอ ริ พนั 9. ตอบ 4 คาํ ตายคือมตี วั มาตราแม กก กบ กด (กบด) หรือมีสระเสียงสั้นถา ไมม ีตัวสะกด อ โจทก ยก โทษ แพทย = 5 พยางค นองๆ สามารถศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดท ่ี Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, เสียงสระ, สระ, เสียงพยญั ชนะ, พยัญชนะ, เสยี งวรรณยกุ ต, วรรณยุกต, อักษรนาํ , อกั ษรควบ, คําเปน , คําตาย, คําครุ, คาํ ลหุ, ไตรยางค, อักษรไทย • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 07 สระในภาษาไทย http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-1 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 06 มหัศจรรยพยัญชนะไทย http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-2 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 01 ธรรมชาติภาษาไทย http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-3 • การออกเสียงคาํ ที่มอี ักษรนาํ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-4 • การออกเสียงพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต และการลงเสียงหนักเบา http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-5 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 21

• อักษรไทย ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-6 • ลหุ/ครุ ส้ัน/ยาว เบา/หนกั (๑) http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-7 • ลห/ุ ครุ สั้น/ยาว เบา/หนกั (๓) http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-8 • การใชพ ยัญชนะ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch1-9 บนั ทึกชว ยจํา 22 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท่2ี คําไทยแทและคํายืม ชนิดของคํา การสรา งคํา คาํ ไทยแทและคํายืม เนอ้ื หาในบทนี้ นอ งๆ เพยี งสงั เกตและใสใ จจดจาํ คาํ ตา งๆ วา มาจากภาษาใด ซงึ่ มหี ลกั การสงั เกตทต่ี ายตวั และชดั เจน นอ งๆ ก็ จะสามารถตอบคาํ ถามหรอื ขอ สอบไดอ ยา งถกู ตอ ง คําไทยแท คําไทยแทม ลี ักษณะสังเกตได ดังนี้ 1. คําไทยแทสว นมากเปน คาํ พยางคเ ดยี ว และมีความหมายสมบรู ณใ นตัวเอง เชน พอ แม พี่ นอง ไร นา หมา แมว รอ น ดิน นํา้ ลม ไฟ ฟา ผม เจา ไป นง่ั นอน กิน ฝูง อนั อว น ผอม ช่ัว ดี ชาว ดํา หน่ึง สอง สาม หลาย ยาว สน้ั ไม ใจ เปนตน ขอ สังเกต! คาํ ไทยแทเมือ่ อานแลว จะเขา ใจความหมายไดทันทีเลย ไมต อ งแปลอกี รอบหนึ่ง 2. คาํ ไทยแทไ มน ยิ มคาํ ควบกลํ้า เชน เรา ไร ดี ดาบ หิน เปน ตน 3. คาํ ไทยแทม ักจะสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน ชก ฟด โยน วัด พบ ยิง โนม จิม้ กดั ผม จวบ เปนตน 4. คาํ ไทยแทจ ะไมมตี ัวการันต เชน ยนั สัด สนั เปน ตน ระวัง! * คาํ ไทยแทท ีม่ ีตวั การนั ตมอี ยบู า งเนื่องจากการแผลงอกั ษร เชน แผลง ผวิ เปน ผีว้  แปลวา ถา หากวา มา ห แปลวา ผี ยกั ษ เยียร แปลวา งามย่งิ 5. คาํ ไทยแทจะไมใ ชพ ยญั ชนะเหลา นี้ ไดแ ก ฆ ฌ ญ ฏ ฎ ฐ ฑ ณ ฒ ธ ภ ฬ ศ ษ ยกเวน ถาพบคาํ พวกนจ้ี าํ ไวเ ลยวา เปน คําไทยแท ไดแ ก ฆา เฆยี่ น ฆอง ระฆงั ศึก เศิก ศอก เศรา พศิ หญงิ ใหญ หญา ณ ธ ธง เธอ สะใภ อําเภอ สําเภา 6. ภาษาไทยเปนภาษาท่ีมีเสียงวรรณยุกต ทําใหคําเกิดระดับเสียงตางกันและทําใหคํามีความหมายตางกันไปดวย เชน เสอื เส่อื เส้ือ ปา ปา ปา ปา ปา นา นา นา เปน ตน 7. คาํ ไทยแทอาจมีมากกวา 1 พยางค ซึง่ เกดิ จาก 7.1 การเพ่ิมเสยี งหนาศพั ท เชน คบ = ประคบ จวบ = ประจวบ ทาํ = กระทาํ โดด = กระโดด แอม = กระแอม คกึ = คะคึก ริก = ระริก ฉาด = ฉะฉาด อมุ = ชอมุ นกยาง = นกกระยาง ลูกดมุ = ลกู กระดุม โงก = ชะโงก 7.2 การกลายเสยี งตามการเปลย่ี นแปลงของภาษา (การกรอนเสยี ง) เชน หมากมว ง = มะมว ง หมากพราว = มะพรา ว ตวั เข = ตะเข ตาวนั = ตะวัน ตาปู = ตะปู ตากรา = ตะกรา ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 23

ตน เคยี น = ตะเคียน ตน โก = ตะโก ตน ไคร = ตะไคร สายเอว = สะเอว สายดือ = สะดือ สายดึง = สะดึง สง่ิ ท่ีนอ งควรระวังไว คาํ บางคาํ ท่ีมีตวั สะกดตรงตามมาตราจะไมใชคําไทยแท เชน โลก กาย ชน วัย ชยั เดนิ โปรด เปนตน คําบางคําที่มีลักษณะเหมือนคําไทยแท แตเปนคําท่ีเราไมรูความหมายและไมไดใชในชีวิตประจําวันจะไมใชคําไทยแท เชน แสะ แข บาย ชน คําเหลาน้ีมกั พบในวรรณคดี ซง่ึ แปลวา มา ดวงจันทร ขาว คน ตามลําดบั นอกจากนี้ยงั มีคาํ ไทยแทบางคาํ ที่สะกดไมต รงตามมาตรามใี ชใ นคาํ ประพนั ธ เชน ดูกร มาจาก ดกู อน อรชร มาจาก ออ นชอย คาํ ยมื คํายืม ภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทยปจจุบันมีหลากหลายสาเหตุ เชน เกิดจากความสัมพันธระหวางประเทศที่มี อาณาเขตใกลเคียงกัน เกิดจากการติดตอคาขายในอดีต เกิดจากความสัมพันธทางการทูต และรวมไปถึงความสัมพันธทางศาสนา ความเจริญทางการศึกษา คาํ ทีภ่ าษาไทยยมื มาใชคอ นขางมาก ไดแก คาํ บาลี คาํ สนั สกฤต และคําเขมร เปน ตน ซึ่งมลี ักษณะใหสงั เกต ดงั นี้ คาํ ยมื ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี ภาษาสนั สกฤต 1. บาลมี สี ระ 8 ตัว คอื อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ 1. สันสกฤตมีสระ 14 ตัว คอื เหมอื นบาลีแต เชน สกั กะ อัคคี อตุ ุ มจิ ฉา เพ่มิ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา เชน ฤษี ฤดู ไอศวรรย เมาลี ตฤณ 2. บาลใี ช ส เชน สาสนา สัตตะ สริ ิ สญู 2. สันสกฤตใช ศ ษ เชน ศาสนา ศีรษะ วนั ศุกร 3. บาลีใช ฬ เชน จฬุ า กีฬา ครฬุ 3. สนั สกฤตใช ฑ เชน จุฑา กรฑี า ครุฑ 4. บาลีใชห ลกั พยญั ชนะตวั สะกดตัวตามดัง 4. สันสกฤตใชตัว รร แทน รฺ (ร เรผะ) เชน ตาราง เชน ปจจัย อทิ ธิ นิพพาน บัลลังก ธรรม กรรม มรรค สรรพ วรรณ 5. บาลใี ชพยญั ชนะเรียงพยางค เชน กิริยา 5. สันสกฤตใชอักษรควบกลาํ้ เชน กรยิ า สวามี สามี ปฐม ถาวร ประถม สถาวร 6. บาลีมหี ลกั ตัวสะกดตวั ตาม 6. สันสกฤตใช ส นํา ด ต ถ ท ธ น สงิ่ ทน่ี อ งควรระวังไว 1. การใช ศ และ ษ มกั เปน คําสนั สกฤต นอกจากน้ียังสามารถใชไ ดใ นภาษาอื่น คอื คาํ ไทยแททใี่ ช ศ ษ เชน ศึก เศกิ ศอก เศรา พิศ พัศดี ดาษดา ดาษ คํายืมภาษาตะวันตกที่ใช ศ ษ เชน ออฟฟศ องั กฤษ ฝร่งั เศส คํายมื ภาษาเขมรที่ใช ศ เชน เลิศ มาศ ศก ศรี 2. ถาเปนคาํ พยางคเดยี ว มกั อา นออกเสยี งแยกพยางคได หรอื สามารถเปล่ยี นแปลงรูปคําได เชน วนั ถาเปนคาํ ไทยแทจ ะอยูในบรบิ ทใดกค็ งรปู เชนนี้เสมอ วัน ถาเปนคาํ บาลีสันสกฤต สามารถอานแยกพยางคไดหรอื เปลย่ี นแปลงรปู คาํ เชน วนา ซงึ่ วัน มคี วามหมายวา ปา 24 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

3. มักสะกดไมต รงมาตราในภาษาบาลสี นั สกฤต 4. ถาตวั สะกดมี 2 ตวั ตวั ท่ี 2 เปน ร จะเปน คําสันสกฤต เชน จักร มิตร 5. ถาคํานัน้ มี ย (ตย นย ทย ธย รย ศย ณย สย) จะเปน คําสันสกฤต เชน อาทิตย อัศจรรย ตารางตวั สะกดตัวตาม สาํ หรับคาํ บาลี ดงั น้ี วรรค แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ 3 แถวท่ี 4 แถวท่ี 5 ง วรรค กะ กข ค ฆ ญ วรรค จะ จฉ ช ฌ ณ วรรค ฏะ ฎฐ ฑ ฒ น วรรค ตะ ตถ ท ธ ม วรรค ปะ ปผ พ ภ เศษวรรค ยรลวศษสหฬ๐ จาํ งายๆ สําหรบั เศษวรรค ทองวา “ ยกั ษวิ่งลงเรอื เหน็ เสอื จฬุ า ๐” 1. พยญั ชนะแถวที่ 1 เปนตวั สะกด พยัญชนะแถวท่ี 1 หรือ 2 เปน ตวั ตาม เชน ภกิ ขุ ทุกข จกั กะ มจั จุ ปุจฉา ยุตติ สัตถา 2. พยัญชนะแถวท่ี 3 เปน ตวั สะกด พยัญชนะแถวที่ 3 หรอื 4 เปน ตวั ตาม เชน อัคคะ วชิ ชา ลัทธิ อทิ ธิ ทพั พี นิพพาน ทพั ภ 3. พยญั ชนะแถวที่ 5 เปนตวั สะกด พยัญชนะแถวท่ี 1-5 ในวรรคเดยี วกนั เปน ตัวตาม เชน สงั ขาร อังคาร สัญญา บญุ ญ สันฐาน สมั ผสั สมภาร 4. พยญั ชนะเศษวรรคเปน ตวั สะกด พยัญชนะเศษวรรคเปนตัวตาม เชน บลั ลังก อัสสะ มสั สุ รัสสะ อยั ยกิ า วัลลภ หัสสะ พิจารณาวาคําใดเปนคาํ ภาษาบาลี คําภาษาสันสกฤต 1. อทิ ธิ - ฤทธิ์ อธิบาย อทิ ธิ เปนคาํ ภาษาบาลี เพราะ ท เปนตัวสะกด ธ เปนตัวตาม ตามตารางนน่ั เอง ฤทธ์ิ เปน คาํ สันสกฤต เพราะ ฤ เปน สระทีใ่ ชในภาษาสันสกฤต 2. ไอศวรรย - อิสริยะ อธบิ าย ไอศวรรย เปน คําภาษาสนั สกฤต เพราะ ใช สระไอ มีตัว ศ ใช ร หนั และมี ย อิสริยะ เปนคําภาษาบาลี เพราะเปนการอา นเรียงพยางค 3. จกั ษุ - จักขุ อธิบาย จักษุ เปนคําภาษาสันสกฤต เพราะ ใชตวั ษ นั่นเอง ไมใชใ นคําภาษาบาลี จกั ขุ เปน คําภาษาบาลี เพราะ ก เปนตวั สะกด ข เปน ตัวตาม ตามตารางนน่ั เอง 4. ปรกติ - ปกติ อธบิ าย ปรกติ เปน คาํ ภาษาสนั สกฤต เพราะ ใชอ กั ษรควบกลาํ้ ปกติ เปนคําภาษาบาลี เพราะ เปนการอา นเรียงพยางค 5. จฬุ า - จฑุ า อธบิ าย จฬุ า เปน คําภาษาบาลี เพราะ ใชตวั ฬ จฑุ า เปนคําภาษาสนั สกฤต เพราะ ใชต ัว ฑ ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 25

6. อัจฉริยะ - อัศจรรย อธบิ าย อจั ฉรยิ ะ เปน คาํ ภาษาบาลี เพราะ จ เปน ตัวสะกด ฉ เปน ตวั ตาม ตามตารางนั่นเอง อัศจรรย เปนคําภาษาสนั สกฤต เพราะ ใชตวั ศ ใช ร หัน และมี ย 7. วฒั นะ - วรรธนะ อธิบาย วฒั นะ เปนคาํ ภาษาบาลี เพราะ เปน การอานเรียงพยางค ใช ฒ วรรธนะ เปน คาํ ภาษาสันสกฤต เพราะ ใช ร หัน 8. ขัตตยิ ะ - กษตั รยิ  อธิบาย ขัตตยิ ะ เปน คําภาษาบาลี เพราะ ต เปนตวั สะกด ต เปนตัวตาม ตามตารางน่ันเอง กษัตรยิ  เปนคาํ ภาษาสันสกฤต เพราะ ใชต ัว ษ ใช ตร และมี ย 9. อชั ฌาสยั - อธั ยาศยั อธิบาย อชั ฌาสัย เปน คําภาษาบาลี เพราะ ช เปน ตวั สะกด ฌ เปน ตวั ตาม ตามตารางนั่นเอง อธั ยาศยั เปนคาํ ภาษาสนั สกฤต เพราะ ใชต ัว ศ คํายมื ภาษาเขมร คาํ ยมื ภาษาเขมรเขา มาปะปนในภาษาไทย สว นมากมกั ใชเ ปน คาํ ราชาศพั ท ใชใ นคาํ สามญั ทว่ั ไป และคาํ ทเ่ี ปน คาํ โดด คลายกบั ภาษาไทย โดยมขี อ สังเกตดังน้ี 1. มกั สะกดดวยพยัญชนะ จ ญ ร ล ส โดยไมม ีตวั ตาม จาํ งายๆ ทองวา “เจาหญงิ รกั เส่ยี เลง็ ” เชน เสดจ็ ตรวจ ผจญ เจรญิ เผชิญ บําเพ็ญ สราญ เมิล กาํ นลั ตาํ บล กงั วล ควาญ ทูล กํานล กาํ สรวล ตรัส 2. เปนคําพยางคเดียวที่ไมม ีความหมายสมบูรณใ นตัวเอง ตอ งแปลความหมาย เชน แข เพญ็ ทรวง ศก ทลู เลศิ มาศ ทอ โปรด กาจ เลอ สรวง สรร เฌอ แสะ กนั 3. คาํ เขมรมคี วบกลา้ํ มาก เมอ่ื ไทยยมื เขา มาใช อา นออกเสยี งควบกลา้ํ บา ง อกั ษรนาํ บา ง และอา นเรยี งพยางคบ า ง เชน สนาม พเยีย ขนง เขนย ฉนวน เสนียด สดบั โขมด ขจี ขลาด ขลงั เขลา เพราะ เพลง ไพเราะ ปรกั 4. การแผลงคําตามวธิ ขี องคําเขมร แผลง ข เปน กระ เชน ขจาย - กระจาย ขจอก - กระจอก ขทง - กระทง ขดาน - กระดาน แผลง ผ เปน ประ บรร เชน ผทม - ประทม, บรรทม ผจง - ประจง, บรรจง ผลาญ - ประลาญ ผสม - ประสม, บรรสม ยกเวน บรรหาร เปน คาํ บาลี สนั สกฤต เพราะแผลงมาจาก บริหาร แทรก อาํ อาํ น อําร อําง เชน เสรจ็ - สาํ เรจ็ อวย - อํานวย ชะ - ชาํ ระ ชอื - ชําเงอื เติม บัง บนั บาํ เชน ควร - บังควร คม - บงั คม เพญ็ - บาํ เพญ็ 26 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เตมิ ประ ชมุ - ประชุม เชน ราบ - ปราบ ลาญ - ผลาญ เติม ป ผ เชน แนวขอสอบ 1. ขอ ใดเปน คาํ ไทยแททกุ คาํ 1. รกู ินเพ่ิมพลังงาน รอู า นเพิ่มกําลังปญ ญา 2. นา้ํ มนั ขาดแคลน คยุ กับแฟนก็ตองดับไฟ 3. รักบา นตองลอ มรวั้ รกั ครอบครัวตอ งลอ มรัก 4. ภาษาบอกความเปนชาติ เอกราชบอกความเปนไทย 2. ขอใดเปนคาํ ไทยแทท ง้ั หมด 1. พแ่ี กลงเมนิ เดนิ มาขา งบอโพง 2. เห็นทาเลยี่ นเตียนโลง เปนทางถาง 3. พิศพนมชมเพลินแลวดินพลาง 4. ถงึ ระหวา งแนวถา้ํ ทลี่ าํ ธาร 3. ขอใดไมมคี ํายืมจากภาษาตางประเทศ 1. ฝรงั่ เปนตนตํารับอาหารกินเรว็ ยนื กินเดนิ กนิ ก็ได 2. เมอ่ื เรารบั มาก็ตองกนิ ตามอยางเขาและรูสกึ วา งายดี 3. เราไมไดกนิ เพือ่ ประหยัดเวลาเอาไวทาํ การงานอยา งอน่ื 4. เปน การกินเลน ๆ กนิ ในหมคู นวยั ทย่ี งั ทํามาหากินไมไดม ากกวา 4. ขอใดไมม คี ําทม่ี าจากภาษาบาลหี รอื ภาษาสันสกฤต 1. เราตองใชภ าษาไทยใหถ กู ตอง 2. อยาเลย้ี งลกู ใหเปน เทวดา 3. ช่อื ของเขาอยใู นทําเนียบรนุ 4. ภรรยาของเขาทาํ งานอยทู นี่ ี่ 5. ขอ ความตอ ไปนีส้ วนใดไมมคี ําทมี่ าจากภาษาอังกฤษ 1) เรตติ้งของรายการโทรทัศนสัมพันธกบั เวลาในการออกอากาศ 2) รายการทีอ่ อกอากาศในชวงไพรม ไทมหรอื ชวงเวลาท่ี มีผูชมโทรทัศนม าก 3) จะมีโอกาสไดรบั ความนยิ มมากกวา รายการทอ่ี อกอากาศในชวงเวลาที่คนชมรายการนอย 4) ชว งเวลาท่ีมีผชู ม มากก็คอื หวั ค่าํ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ หลงั รายการขาว 1. สวนท่ี 1 2. สว นท่ี 2 3. สวนที่ 3 4. สว นท่ี 4 6. คําประพันธต อไปน้ีมีคํายืมภาษาตา งประเทศก่คี าํ (ไมน บั คําซา้ํ ) พ่มี นษุ ยสุดสวาทเปนชาติยกั ษ จงคดิ หักความสวาทใหข าดสูญ กลบั ไปอยคู หู าอยาอาดรู จงเพิ่มพูนภาวนารกั ษาธรรม 1. 7 คํา 2. 8 คํา 3. 9 คํา 4. 10 คาํ 7. ขอใดไมมคี ํายมื ภาษาบาลสี ันสกฤต ก. วันจะจรจากนอ งสิบสองค่ํา ข. พอจวนยํ่ารุงเรงออกจากทา ค. ราํ ลกึ ถึงดวงจันทรครรไลลา ง. พ่ตี ง้ั ตาแลแลตามพราย 1. ขอ ก และ ข 2. ขอ ก และ ค 3. ขอ ข และ ง 4. ขอ ค และ ง ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 27

8. ขอใดมคี าํ จากภาษาบาลีหรอื สนั สกฤตทอ่ี า นอยา งอกั ษรนําในภาษาไทย 1. เรงรีบร้พี ลสกลไกร มาใกลทวิ ทงุ ธานี 2. เหน็ ละหานธารน้ําไหลหล่งั รม ไทรใบบงั สรุ ิยศ รี 3. มารถคชกรรมครัน่ ครนื้ ดงั เสียงคล่ืนในสมุทรไมข าดสาย 4. คอยเลด็ ลอดสอดแนมจบั กุม ช้ันในใหป ระชุมจตุรงค 9. ขอความตอ ไปนีส้ ว นใดไมม ีคํายืมจากภาษาบาลหี รอื สันสกฤต 1) กลุมคนทีร่ า่ํ รวยยังคงความมัง่ ค่ังของตวั เองไวไดเ ปนเลิศ 2) โดยผูคนแวดลอมซึ่งเปนที่ปรกึ ษาทางการเงินและกฎหมาย 3) ท่ลี วนมฝี มอื ยอดเยีย่ มในแวดวงอาชพี นน้ั ๆ 4) จะเหน็ ไดวาบรรดาเศรษฐเี งินลา นมกั ไมเดินหนา สรา งความรํา่ รวยโดยลําพัง 1. สว นที่ 1 2. สว นท่ี 2 3. สวนท่ี 3 4. สวนที่ 4 เฉลยคําตอบ 1. ตอบ 3 โจทยถามเรอื่ งคาํ ไทยแท ขอ 1 พลงั = บาลี, สนั สกฤต ปญ ญา = บาลี ขอ 2 แฟน = อังกฤษ ขอ 4 ภาษา = สันสกฤต, ชาติ เอก ราช = บาลี สังเกตเห็นวา ขอ 3 จะสะกดตรงตามมาตราทุกคํา ไมม ตี ัว ศ ษ จงึ เปน คําไทยแท 2. ตอบ 2 คําไทยแทบ างคําทสี่ ะกดตรงตามมาตราอาจไมใชคําไทยแทเสมอไป คอื ขอ 1 เดนิ (ดาํ เนนิ ) = เขมร ขอ 3 พนม = เขมร ขอ 4 ธาร(ธารา) = บาลสี ันสกฤต ขอ 2 จะเปน คําไทยแทท งั้ หมด เพราะไมไดม กี ารแผลงคํา 3. ตอบ 2 ขอ นีม้ คี ําไทยแทท กุ คํา สวนขอ อน่ื คอื ขอ 1 ฝรงั่ = เปอรเซยี ตํารับ = เขมร อาหาร = บาลสี ันสกฤต เดิน = เขมร ขอ 3 เวลา, กาล = บาลี สนั สกฤต ขอ 4 การ, วัย = บาลี สนั สกฤต 4. ตอบ 3 โจทยถามบาลสี ันสกฤต นองตอ งเขาใจหลักการตามตาราง แยกใหไ ด คือ ขอ 1 ภาษา มตี วั ษ จึงเปน สนั สกฤต ขอ 2 เทวดา (เทว) เปนบาลีสันสกฤต ขอ 4 ภรรยา มตี วั ร หนั จงึ เปน สันสกฤต สว นขอ 3 เปนคําตอบเพราะไมมคี ําบาลีสันสกฤต 5. ตอบ 3 สว นท่ี 1 มีคําวา เรตติ้ง สวนที่ 2 มคี าํ วา ไพรมไทม ขอ 4 มคี ําวา ทวี ี (สังเกตวาคําที่มาจากภาษาองั กฤษจะเขยี น ทบั ศพั ทเ อาการออกเสยี งมาเลย เรตตง้ิ = rating) 6. ตอบ 4 10 คํา ไดแ ก มนษุ ย (มี ษ เปน สนั สกฤต) สวาท (สะกดไมตรงมาตรา) ชาติ (สะกดไมตรงมาตรา) ยกั ษ (มี ษ เปน สันสกฤต) สญู (สะกดไมต รงมาตรา) คูหา อาดรู (สะกดไมต รงมาตรา) ภาวนา (อา นเรยี งพยางค อา นแลวตองแปลอีก) รกั ษา (มี ษ เปน สนั สกฤต) ธรรม (มี ร หัน เปน สันสกฤต) 7. ตอบ 3 ขอ ข และ ง ไมมคี ํายมื ภาษาบาลีสันสกฤต สวน ก คือ จร(สะกดไมต รงมาตรา อานแลวตอ งแปลอกี ) ขอ ค คอื จนั ทร(ใชต ัวการนั ต) 8. ตอบ 3 เพราะคําวา สมทุ ร (เปนคําสันสกฤตเพราะมี ท ควบกับ ร) เปน อกั ษรนาํ เพราะอา นออกเสียง 2 พยางค โดยพยางค แรกมีเสียง อะ และพยางคท่สี องมี ห นาํ ต่ําเด่ียว = สะ – หมดุ 9. ตอบ 1 ระวัง! ขอ 1 เปนคาํ ตอบเพราะคาํ วา เลศิ เปนคาํ เขมรซงึ่ เปนขอ ยกเวน มใิ ชคาํ สันสกฤต สวนขอ 2 มีคําวา ปรึกษา(ส.) กฎ(ข.) ขอ 3 มีคาํ วา อาชพี (บ.ส.) ขอ 4 มคี ําวา เศรษฐี(ส.) 28 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นอ งๆ สามารถศกึ ษาเพิม่ เติมไดท่ี Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, คาํ เขมร, คาํ บาลี, คําสันสกฤต, คําไทยแท, คํายมื • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 10 ภาษาตา งประเทศในภาษาไทย 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-1 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 11 ภาษาตา งประเทศในภาษาไทย 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-2 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 09 สงั เกตคําไทยแทงา ยนดิ เดยี ว http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-3 • คาํ ตา งประเทศ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-4 • คําตา งประเทศ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-5 • คาํ บาลแี ละสันสกฤต http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-6 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 29

ชนิดของคาํ ชนดิ ของคํา คําในภาษาไทย แบง ออกเปน 7 ชนิด คือ 1. คํานาม คํานาม คือ คําที่ใชเรียกช่ือ คน สัตว สิ่งของ สถานที่ อาการ สภาพ และลักษณะ ท้ังส่ิงท่ีมีชีวิตและไมมีชีวิต ท้ังที่เปน รปู ธรรมและนามธรรม คํานามแบง ออกเปน 5 ชนิด 1. สามานยนาม คือ คาํ นามสามญั ทใ่ี ชเปน ช่อื ท่วั ไป หรือเปนคาํ เรียกสง่ิ ตา งๆ โดยทัว่ ไป ไมช เี้ ฉพาะเจาะจง เชน คน รถ ปลา สม เปนตน 2. วิสามานยนาม คอื คาํ นามทเี่ ปนชอ่ื เฉพาะของคน สัตว สถานท่ี หรือเปน คําเรียกบุคคล สถานท่เี พอ่ื เจาะจงวาเปนคนไหน ส่ิงใด เชน โรงเรียนสตรวี ิทยา วดั พระแกว โรงพยาบาลศริ ิราช ตัวอยางเชน สมชายไปเท่ยี วกบั ศรนี วล นองไปโรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษา 3. ลกั ษณนาม คอื คํานามทีท่ าํ หนาทีป่ ระกอบนามอ่นื เพ่อื บอกรูปรา ง ลกั ษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนน้ั ใหช ดั เจนขึ้น เชน แทง เรือน หลัง อนั ตน ตวั อยา งเชน ชา ง 2 เชอื ก เปย โน 5 หลงั 4. สมุหนาม คอื คํานามบอกหมวดหมขู องสามานยนาม และวสิ ามานยนามท่รี วมกนั มากๆ เชน ฝงู นก คณะนักเรยี น เหลา ลกู เสอื ตวั อยางเชน คณะลิเกมาถงึ สถานทแ่ี สดงแลว ฝงู นกอพยพมาจากตอนเหนือของประเทศ 5. อาการนาม คอื คําเรยี กสิง่ ทไ่ี มมีรปู รา ง ไมมขี นาด จะมคี าํ วา \"การ\" และ \"ความ\" นําหนา เชน การกนิ การนอน การเรียน ความสวย ความคิด ความดี ตัวอยางเชน การวิง่ ชว ยเผาผลาญพลงั งาน ความสะอาดของหอ งเรยี นชว ยปอ งกันเชอ้ื โรค ขอ สังเกต คําวา \"การ\" และ \"ความ\" ถานําหนาคําชนิดอ่ืนที่ไมใชคํากริยา หรือวิเศษณจะไมนับวาเปนอาการนาม เชน การรถไฟ การประปา ความแพง เปนตน คําเหลานี้จดั เปน คําประสมหรือสามานยนาม ระวัง! คาํ ลักษณนามที่ออกขอ สอบบอ ย กระบอก ใชกบั ปน ขาวหลาม กระบอกสบู กระบอกพลุ ไฟฉาย ไฟพะเนียง ตน ใชก ับ ฤาษี ยักษ ผเี สื้อสมทุ ร ผเี สื้อยกั ษ ภตู ผี คนธรรพ กินนร กนิ รี กระสอื กระหงั โยคี นางไม นักสทิ ธ์ิ เซยี น เปรต รูป ใชกับ นักบวช นักพรต นักบญุ พระสงฆ พระคณาจารย สมี (โบราณใชเปนคาํ เรยี กพระภกิ ษ)ุ สมภาร สามเณร บาทหลวง ดวง ใชกับ ดาว ผีพงุ ใต แสตมป วิญญาณ ดวงตา ดวงใจ หวั ใจ โคม ชวาลา ตัว ใชก บั สัตว เขม็ กลัด เขม็ หมุด ขมิ ขื่อ ตะขอ เกาอ้ี เกีย๊ ว เก้ียมอ๋ี กีตาร กระตา ยขดู มะพราว ตัวอกั ษร ตัวโนต เลม ใชก ับ เกวียน หนังสอื เขม็ ทวน หอก ดาบ ตาลปตร ตะหลิว ไมตะพด ตะไบ เคียว ไมพ าย ไมพ ลอง เทยี น กรรไกร หวี หลัง ใชก บั สปั คับ เก้ยี ว เกง กฏุ ิ กบู กระตอบ กระทอม บา น ตู ตาํ หนกั จักรเย็บผา จวน ยุง 30 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

คนั ใชก ับ รม ชอน สอม เบด็ คนั ชง่ั คันไถ ซอ โซง โลง ตราชู ตะเฆ ยอ ธนู ทพั พี รถมอเตอรไ ซค แทรกเตอร พิณ เครอ่ื ง ใชกับ เครื่องซักผา เคร่ืองบนั ทกึ เสียง เครือ่ งยนต เครอ่ื งบนิ คอมพวิ เตอร ชงิ ชาสวรรค พดั ลม เฮลคิ อปเตอร บาน ใชก ับ หนา ตาง บานเลือ่ น บานประตู กระจกเงา บังตา บานกระทงุ บานตู ดอก ใชก บั ดอกไม เหด็ ธูป ลกู หนาไม ลกู หนู ลกู ธนู ลูกกุญแจ ลูกเกาทัณฑ พลุ ดอกไมไ ฟ หัว ใชกับ หวั กอ ก หัวปลี หัวเทียน สมดุ ขอย สมดุ ไทย เผอื ก มัน กลอย ขนมจนี สาย ใชก ับ สายสรอ ย สายรุง แมน ้าํ รดั ประคด ระโยง นา้ํ พุ ทางดวน ทางหลวง ถนน ลูก ใชกบั กระถาง กระตบิ กระทะ กระบุง กะละมงั ขีปนาวุธ ภูเขา ครก คลื่น จรวด บอลลนู ฉบับ ใชก บั สัญญา จดหมาย เช็ค สนธสิ ัญญา สลากกินแบง วุฒิบัตร วารสาร วทิ ยานพิ นธ พนั ธบัตร ใบรับรอง ใบลา โฉนด ใบสทุ ธิ ใบหุน ใบเสร็จ ปฏิทิน ประกาศนียบตั ร นิตยสาร อัน ใชกับ กรอบรปู บนั ได เข็มทศิ ตะบอง นาฬกาทราย นาฬก านาํ้ ปรอท ปลัก๊ ไฟ ปน แปรง ฟน ยาง ไฟแชก็ ไมกางเขน ไมเ ทา ไมเ รียว รัดเกลา แร็กเกต ลกู บดิ สามตา 2. คาํ สรรพนาม คาํ สรรพนาม คอื คาํ ทใี่ ชแ ทนนามในประโยคสอื่ สาร เราใชค าํ สรรพนามเพอ่ื ไมต อ งกลา วคาํ นามซาํ้ ๆ (หวั ใจของคาํ สรรพนาม คอื “ใชแทน”) ชนิดของคําสรรพนาม แบงเปน 6 ชนดิ 1. บุรุษสรรพนาม (สรรพนามท่ีใชในการพูด) เปนสรรพนามที่ใชในการพูดจา ส่ือสารกันระหวางผูสงสาร (ผูพูด) ผูรับสาร (ผูฟง) และผทู ่ีเรากลา วถงึ มี 3 ชนิด ดังนี้ -สรรพนามบรุ ษุ ที่ 1 ใชแ ทนผสู งสาร (ผพู ูด) เชน ฉนั ดฉิ ัน ผม ขาพเจา เรา หนู เปนตน -สรรพนามบุรษุ ที่ 2 ใชแ ทนผูรบั สาร (ผูท่ีพดู ดวย) เชน ทา น คณุ เธอ แก ใตเ ทา เปนตน -สรรพนามบุรุษที่ 3 ใชแ ทนผูทก่ี ลาวถงึ เชน ทา น เขา มนั เธอ แก เปน ตน 2. ประพันธสรรพนาม (สรรพนามท่ีใชเช่ือมประโยค) สรรพนามน้ีใชแทนนามหรือสรรพนามท่ีอยูขางหนาและตองการ จะ กลาวซ้าํ อกี ครงั้ หนงึ่ นอกจากน้ียงั ใชเ ชอ่ื มประโยคสองประโยคเขาดวยกนั จะมีคาํ วา “ผู ที่ ซึง่ อัน” เชน รานอาหารที่อยูตรงขา มบานของฉนั เปดตอนเทยี่ ง เด็กทสี่ วมเสื้อสชี มพูเปน นองของสมชาย เธอผไู มเคยยอ ทอยอมประสบความสําเร็จ 3. วภิ าคสรรพนาม (สรรพนามบอกความชี้ซา้ํ ) เปน สรรพนามทใ่ี ชแทนนามทีอ่ ยูขา งหนา เมอ่ื ตองการเอยซาํ้ โดยทีไ่ มตอ ง เอยนามนน้ั ซา้ํ อีก และเพือ่ แสดงความหมายแยกออกเปนสวนๆ ไดแกค าํ วา “บา ง ตา ง กัน” เชน นักเรยี นตา งแสดงความคิดเห็น นกั เรยี นบา งก็เลน บางกน็ อนขณะครสู อน เราตกลงวา จะไปเทยี่ วกนั 4. นยิ มสรรพนาม (สรรพนามชเี้ ฉพาะ) เปนสรรพนามท่ีใชแทนคาํ นามท่กี ลา วถงึ ท่ีอยู เพือ่ ระบุใหชัดเจนยิง่ ขึ้น ไดแกค ําวา น่ี นี้ นั่น นน้ั โนน โนน อยางนี้ อยางนน้ั เชน นนั้ เชน น่ีคือบา นของฉัน นนั่ รถยนตของเธอ เธอไปนอนตรงโนน ฉันจะนอนตรงน้ี ฉนั วา อยางนด้ี กี วา อยา งโนน ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 31

5. อนยิ มสรรพนาม (สรรพนามบอกความไมเ จาะจง) คอื สรรพนามทใ่ี ชแ ทนนามทก่ี ลา วถงึ โดยไมต อ งการคาํ ตอบ ไมช เี้ ฉพาะ เจาะจง ไดแกคําวา ใคร อะไร ท่ไี หน ผูใ ด สิง่ ใด ใครๆ อะไรๆ เชน ใครๆ กพ็ ดู เชน น้ันได อะไรๆ ก็วาแตผ ม ใดๆ ในโลกลว นอนจิ จงั 6. ปฤจฉาสรรพนาม (สรรพนามท่เี ปนคําถาม) คอื สรรพนามทใ่ี ชแทนนามเปนการถามทตี่ องการคาํ ตอบ ไดแ กคาํ วา ใคร อะไร ไหน ผใู ด เชน ใครหยบิ ปากกาบนโตะ ไป ทาํ ไมมาโรงเรียนสาย ไหนโทรศัพทของฉัน 3. คํากรยิ า คํากริยา คือ คําที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทําของคํานาม และคําสรรพนามในประโยค คํากริยาบางคําอาจมี ความหมายสมบรู ณในตัวเอง บางคําตองมคี าํ อืน่ มาประกอบและบางคําตอ งไปประกอบคําอ่ืนเพ่ือขยายความ ชนิดของคํากรยิ า คํากริยาแบงออกเปน 5 ชนดิ ดงั น้ี 1. อกรรมกริยา (กริยาท่ีไมตองมกี รรมมารบั ) คอื กรยิ าท่ีมีความหมายสมบูรณ ชัดเจนในตวั เอง เชน แมย ืน รถติด ฝนตกหนัก เดก็ ๆ หวั เราะ ไกขนั หลอ นนั่ง 2. สกรรมกริยา (กริยาทต่ี องมกี รรมมารองรับ) คอื กริยาที่ตอ งมกี รรมมารบั จึงจะไดใจความสมบรู ณ เชน นองกินเคก สมใจลา งจาน ฉันเตะฟตุ บอล พอตกปลา นิดใหอ าหารแมวทุกวัน 3. วิกตรรถกริยา (คําที่มารับไมใชกรรมแตเปนสวนเติมเต็ม) คือ คํากริยานั้นตองมีคํานามหรือสรรพนามมาชวยขยาย ความหมายใหส มบูรณ เชน คาํ วา เปน เหมือน คลาย เทา คือ เสมือน ดุจ เชน สมศักดิเ์ ปน ตํารวจ เธอคอื หวั หนา หอ ง ม.6 ลูกดุจแกวตาของพอ แม พอเปน หัวหนาของครอบครัว นองคลา ยพอ มาก ปากกาดจุ อาวุธ 4. กริยานุเคราะห (กริยาชวย) คือ คําท่ีเติมหนาคํากริยาหลักในประโยคเพื่อชวยขยายความหมายของคํากริยาสําคัญ ให ชดั เจนยง่ิ ขึน้ ทําหนาท่บี อกกาลหรือการกระทาํ เชนคาํ วา กําลงั จะ ได แลว ตอง อยา จง โปรด ชว ย ควร คงจะ อาจจะ เปนตน เชน เธอกําลังกนิ ขาว หนอยตอ งทําความสะอาดบาน เขาอาจจะไปอังกฤษ ลูกควรเตรียมตัวใหพ รอ ม แมจะไปตลาด จงแกไขงานใหเรยี บรอย 5. กริยาสภาสมาลา คือ กรยิ าทที่ าํ หนา ท่เี ปน คาํ นามอาจเปน ประธาน หรือกรรมหรือบทขยายของประธาน เชน เขาซอมรองเพลงทุกวัน เธอชอบเลนบาสเกตบอล ออกกําลังกายมปี ระโยชนตอสุขภาพรางกาย 32 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

4. คาํ วิเศษณ คําวิเศษณ คือ คําที่ใชขยายคําอ่ืน ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา หรือคําวิเศษณ ใหมีความหมายชัดเจนขึ้น (หัวใจของคาํ วิเศษณ คอื “ใชข ยาย”) คําวิเศษณ แบง ออกเปน 10 ชนิด คือ 1. ลกั ษณวิเศษณ คือ คําวิเศษณท บ่ี อกลักษณะ ชนิด ขนาด สี เสียง กล่นิ รส อาการ เปน ตน เชน คนเลวยอ มไดรบั ผลกรรม สม ตาํ จานนี้มรี สเปรยี้ ว หวาน เผด็ 2. กาลวเิ ศษณ คือ คาํ วิเศษณท ่บี อกเวลา อดีต ปจ จบุ ัน อนาคต เชา สาย บาย คาํ่ เปนตน เชน เจานายออกไปขา งนอกตอนเท่ยี ง พอ แมจะตักบาตรทกุ เชา 3. สถานวิเศษณ คือ คาํ วิเศษณท่ีบอกสถานทีห่ รอื ระยะทาง ไดแกคําวา ใกล ไกล เหนอื ใต ขวา ซาย หนา บน หลัง เปนตน เชน โรงพยาบาลอยูไกล หองของสมจิตอยูชั้นลาง 4. ประมาณวเิ ศษณ คอื คําวิเศษณท ่ีบอกจาํ นวนหรือปรมิ าณ ไดแกค าํ วา มาก นอย หมด หนึ่ง สอง หลาย ทั้งหมด จุ เปนตน เชน นักเรยี นขาดเรยี นสองคน ทกุ ส่งิ ทจ่ี ดั ขึน้ สวยงามมาก 5. นิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณท่ีบอกความช้ีเฉพาะแนนอน ไดแกคําวา นี่ โนน น่ัน นี้ นั้น โนน แน เอง ท้ังนี้ ทั้งน้ัน อยา งน้ี เปน ตน เชน หลอ นน่ีทาํ ตวั แยมาก หนังสือเลมนีเ้ ปน ของฉนั 6. อนยิ มวิเศษณ คอื คาํ วิเศษณท ี่บอกความไมช ีเ้ ฉพาะ ไมแ นนอน ไดแ กคาํ วา อนั ใด อืน่ ใด ไย ไหน อะไร เชนไร เปน ตน เชน คนไหนกินกอนก็ได หนังสอื เลม ไหนเราก็ชอบอาน 7. ปฤจฉาวิเศษณ คือ คาํ วเิ ศษณท ี่บอกเนอื้ ความเปนคาํ ถามหรือความสงสัย ไดแกคาํ วา ใด อะไร ไหน ทาํ ไม เปน ตน เชน ปากกาดามไหนเปน ของเธอ เธอรูไ หมวาเขาเปนใคร 8. ประติชญาวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่แสดงถึงการขานรับในการเจรจาโตตอบกัน ไดแกคําวา จา คะ ครับ ขอรับ ขา วะ จะ เปน ตน เชน พอครบั ผมอยากไปทะเล อาจารยค ะ หนขู ออนุญาตสง การบา นคะ 9. ประตเิ ษธวเิ ศษณ คอื คําวเิ ศษณท ่ีบอกความปฏเิ สธไมยอมรับ ไดแ กคําวา ไม ไมไ ด หามิได บ เปนตน เชน เราไมไปเชยี งใหมก ับเขา องิ อรไมไดส ง รายงานกับครูจินตนา 10. ประพนั ธวเิ ศษณ คอื คําวิเศษณท ี่ประกอบคํากรยิ าและคําวิเศษณเ พอื่ เช่ือมประโยค จะมีคําวา ที่ ซงึ่ อัน อยา งท่ี ให วา เพือ่ เพ่ือวา เพราะ เม่ือ จน ตาม เปน ตน เชน หนอ ยชอบทําอะไรอยางท่หี ลอนตองการ คนชัว่ ทีป่ รบั พฤตกิ รรมตัวเองไดยอมไดรบั โอกาส ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 33

5. คาํ บพุ บท คําบพุ บท คอื คาํ ท่มี หี นา ทเี่ ชอ่ื มคาํ หรอื กลมุ คาํ เพอื่ แสดงความสมั พันธก ับคาํ อน่ื ๆ ในประโยค คาํ บุพบท แบงออกเปน 2 ชนิด 1. คาํ บุพบทท่แี สดงความสัมพันธร ะหวางคาํ ตอคํา โดย บอกความเปน เจา ของ - สมุดเลมนีเ้ ปน ของเธอ บอกความเกีย่ วขอ ง - จติ ราไปกรุงเทพกบั สมพร บอกจดุ หมาย - เขาเรียนหนักเพือ่ อนาคตที่ดี บอกเวลา - แมไปวัดต้ังแตเชาแลว บอกสถานท่ี - เรานดั เจอกนั ท่ีหนาโรงเรียน บอกความเปรียบเทยี บ - อัม้ สวยกวา อ้ิบ 2. คาํ บพุ บททไ่ี มแสดงความสมั พันธก บั บทอืน่ โดยจะอยูตน ประโยค ใชเปน คาํ เรยี กรองหรือทักทาย มคี ําวา ดกู ร ดรู า ดูแนะ ขา แต (ปจ จบุ ันยกเลิกใชแ ลว) เชน ดูกอ น คุณควรคดิ ใหด ๆี อีกรอบ ดูกร สงฆผ ูทรงศีลวิสทุ ธิโอภาสขาดกเิ ลสแดนสงสาร 6. คําสนั ธาน คําสันธาน คือ คําทที่ ําหนา ที่เชื่อมประโยคกบั ประโยค เชอื่ มขอ ความกบั ขอความใหส ละสลวย คาํ สันธานมี 4 ชนิด คือ 1. เช่อื มใจความท่คี ลอยตามกนั ไดแกคําวา กบั และ ทั้ง…และ ทัง้ …ก็ คร้ัน…ก็ พอ…ก็ เชน พอเธอกินขา วเสร็จก็ไปอาบน้ํา พอและแมไปเที่ยวภเู ขา 2. เชือ่ มใจความท่ีขัดแยง กัน ไดแ กค าํ วา แต แตวา ถึง…ก็ กวา…ก็ เชน กวาถ่ัวจะสุกงาก็ไหม เขาอยากกนิ เคกแตเ ธออยากกนิ พซิ ซา 3. เชือ่ มใจความเปน เหตเุ ปนผลกัน ไดแกค าํ วา จึง เพราะ…จงึ เพราะฉะน้ัน…จึง เชน เพราะฝนตกรถจึงตดิ คอมพวิ เตอรเ สียพจ่ี งึ เอาไปซอ ม 4. เช่ือมใจความใหเ ลือกอยางใดอยางหน่ึง ไดแกค าํ วา หรอื หรอื ไมก็ ไมเชนนน้ั มฉิ ะนัน้ เชน นกั เรียนจะทําการบานหรอื ไมกอ็ านหนงั สือ ไมเธอกฉ็ ันท่ีจะไดไปอเมรกิ า 7. คาํ อุทาน คาํ อทุ าน คอื คําทเี่ ปลง ออกมาเพอ่ื แสดงอารมณห รอื ความรูสึกของผพู ูด มกั จะเปน คําทไ่ี มม คี วามหมาย แตเนน ความรสู กึ และอารมณข องผูพูด คาํ อุทานแบงออกเปน 2 ชนดิ คือ 1. อทุ านบอกอาการ ใชเปลง เสยี งเพื่อบอกอาการและความรสู กึ ตา งๆ ของผพู ูด เชน แนน เฮ โวย ชชิ ะ ดดู ู ตายจริง วาย อนจิ จา โถ เปนตน 2. อทุ านเสริมบท คือ คาํ พดู เสรมิ ข้นึ มาโดยไมมคี วามหมาย อาจอยหู นาคํา หลงั คาํ หรือแทรกกลางคาํ เพื่อเนนความหมาย ของคาํ ท่จี ะพูดใหชัดเจนข้ึน เชน อาบน้าํ อาบทา ลืมหูลืมตา กินน้าํ กินทา 34 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

สิ่งทีข่ อ สอบชอบออกและนองๆ ควรทําความเขาใจอยาสับสนมอี ยดู วยกนั หลายจุด คือ 1. นิยมสรรพนาม VS นิยมวิเศษณ เชน นี่คือหนงั สอื ของเธอ VS หนังสือเลมน้ีของเธอ นองๆ สงั เกตวา น่ี เปนคาํ ท่ใี ชแ ทนส่งิ ที่ผพู ดู พูดวา คือหนังสอื สงั เกตวา จะนาํ หนา คาํ นามอยู ดังนั้นจงึ เปน นยิ มสรรพนาม แตค าํ วา น้ี เปนการเนนยา้ํ และขยายใหเ ราทราบวา ตอ งเปน เลมน้ี ดังนนั้ คาํ วา นี้ จึงขยายคําวา สมุด จึงเปน นยิ มวเิ ศษณ 2. อนยิ มสรรพนาม VS อนิยมวเิ ศษณ เชน อะไรๆ ก็วา ผม VS หนงั สือเลม ไหนกแ็ พงไปหมด นอ งๆ สังเกตวาอนิยมจะมีความคลา ยคลงึ กบั ปฤจฉา แตอนยิ มจะไมต อ งการคําตอบ ถา จะพิจารณาวา เปน อนิยมสรรพนาม หรอื อนิยมวเิ ศษณ ก็อยาลมื หัวใจสําคัญนั้นกค็ อื สรรพนามใชแ ทน วิเศษณใชขยาย กลาวคอื อะไรๆ คํานส้ี งั เกตวาจะไมไดข ยายคาํ ใด เลยจึงเปน อนิยมสรรพนาม สว นคาํ วา ไหน จะเปนการขยายเพอื่ ประกอบคํานาม หนงั สอื ท่ไี มตองการคาํ ตอบจงึ เปน อนิยมวิเศษณ 3. ปฤจฉาสรรพนาม VS ปฤจฉาวิเศษณ เชน ไหนหนังสือของเธอ VS หนังสอื เลมไหนของเธอ นอ งๆ สังเกตวาประโยค 2 ประโยคนี้แสดงคําถามทต่ี อ งการคําตอบแต คาํ วา ไหน คําแรกน้ีเปน การแทนสงิ่ ๆ หนงึ่ วา อยู ทไ่ี หน อยูต น ประโยคสว นมากจะเปนปฤจฉาสรรพนาม สว นคาํ วา ไหน คาํ ทสี่ องนี้เปน การขยายเพ่ือประกอบคํานาม หนังสอื วา เปน เลม ไหน ตองเปน ปฤจฉาวิเศษณ 4. ประพนั ธสรรพนาม VS ประพันธวิเศษณ เชน ผูช ายทีอ่ ยูหนาบา นเปน นักดนตรี VS นกั เรียนทุกคนต้งั ใจทีจ่ ะทํางานใหเ สรจ็ นอ งๆ สังเกตดีๆ จะเห็นวา ที่ คําแรกแทนคําวา ผชู าย (ใชแทนคํานามขางหนา จะอยูตดิ คํานาม) จงึ เปนประพันธสรรพนาม สว น ที่ คาํ ทีส่ องใชป ระกอบคํากรยิ าท่ีอยูข างหนา เพอื่ ขยาย ที่ จงึ ขยายคําวา ตง้ั ใจ ทอ่ี ยูข างหนา ดงั นน้ั จงึ เปนประพันธวเิ ศษณ 5. อกรรมกริยา VS ลกั ษณวิเศษณ เชน ฝนตก VS หองครัวสะอาด คําวา ตก และ สะอาด เม่อื อยูในประโยคทงั้ สองนีจ้ ะทําหนา ที่เปนภาคแสดงของประโยคได กลาวคือ สะอาด นอกจากจะ เปนคาํ วิเศษณไดแลว ยังสามารถทาํ หนาท่ีเปนกริยาของประโยคได 6. วภิ าคสรรพนาม VS ประมาณวิเศษณ เชน นักเรยี นบางก็กินบางก็เลน VS นักเรียนบางคนกนิ บา ง ท้งิ บาง นอ งๆ สังเกตดๆี จะพบวา คาํ วา บา ง ในประโยคแรกจะใชแทนคาํ นามคําวา นกั เรยี น เพอื่ แยกเปนสว นๆ เปน ฝายๆ จงึ ถือ เปน วภิ าคสรรพนาม แตค าํ วา บาง ในประโยคทส่ี องใชประกอบเพ่ือบอกปริมาณ ใชป ระกอบคาํ กริยาคําวา กนิ และ ท้งิ จึงถือเปน ประมาณวิเศษณ 7. คาํ บพุ บท VS สถานวิเศษณ เชน แมอ ยูใ นบา น VS แมอยขู างนอก คาํ บพุ บทจะตอ งตามดว ยคาํ นามหรอื คาํ สรรพนาม ซงึ่ คาํ วา ใน เปน บพุ บทเพราะอยหู นา บา น ทเี่ ปน คาํ นาม สว นสถานวเิ ศษณ จะบอกตําแหนงโดยจะวางอยทู ายประโยคไมม คี าํ นาม ซึ่งคําวา ขางนอก เปน สถานวิเศษณเ พราะอยทู ายสดุ ของประโยคและไมม ีคํา นามหรอื คาํ สรรพนามตามหลงั 8. คาํ บพุ บท VS คาํ สนั ธาน เชน ปลาหมอตายเพราะปาก VS ปากหมอตายเพราะปากไมด ี นอ งๆ จาํ ไวเลยวา “บพุ บท +นาม” “สนั ธาน + ประโยค” คาํ วา เพราะ คาํ แรกจึงเปน คําบุพบท เพราะอยูห นาคํานาม คาํ วา เพราะ คาํ ทส่ี องเปนคําสันธานเพราะอยูป ระโยค ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 35

แนวขอ สอบ 1. ขอความตอไปน้ีมคี าํ สันธานและคําบุพบทกี่คํา (O-NET’51) ทุกวันนี้โลกแคบลงจนส่ือสารกันไดทันใจและเรากาวทันโลกไดตามวิถีโลกาภิวัฒน วิทยาการตางๆ นาจะสัมพันธกันไดมาก ข้ึน โลกของนกั วิชาการมใิ ชม เี พียงซกี ตะวันออกกบั ซีกตะวนั ตกเทา น้นั 1. สนั ธาน 2 คํา บพุ บท 3 คาํ 2. สันธาน 2 คาํ บพุ บท 2 คํา 3. สนั ธาน 3 คํา บพุ บท 3 คํา 4. สันธาน 3 คํา บพุ บท 2 คาํ 2. ขอความตอไปนี้มีคาํ สันธานและคําบพุ บทกีค่ าํ (นับคําซํา้ ) นํ้าเปนองคประกอบสําคัญตอรางกายของมนุษยและทําใหเราสามารถดําเนินชีวิตอยูได ถารางกายขาดน้ําเราจะไม สามารถดาํ รงชวี ิตอยูไดเ ลย 1. สนั ธาน 2 คํา บุพบท 1 คํา 2. สันธาน 2 คาํ บุพบท 2 คํา 3. สนั ธาน 1 คํา บพุ บท 2 คาํ 4. สันธาน 1 คาํ บุพบท 1 คํา 3. ขอ ความตอไปนี้มีคํานามและคํากริยาหลักอยา งละก่ีคํา (ไมนับคําซา้ํ ) กจิ กรรมนนั้ เปน ของดี แตส ถาบนั อดุ มศกึ ษาไมไดต ง้ั ขน้ึ สาํ หรบั นกั ศกึ ษาเพอื่ ทาํ กจิ กรรม กจิ กรรมมไี วใหน กั ศกึ ษาใชเ วลาวา งทาํ ประโยชนแ ละเปลย่ี นบรรยากาศ 1. นาม 7 คํา กรยิ า 8 คํา 2. นาม 6 คาํ กริยา 8 คํา 3. นาม 7 คาํ กริยา 7 คํา 4. นาม 6 คาํ กรยิ า 6 คาํ 4. ขอความตอ ไปนมี้ บี ุพบทและสันธานกีค่ ํา คนไทยสมยั โลกาภวิ ตั นไ ดเ ปรยี บคนไทยรนุ กอ นในดา นทม่ี คี วามรกู วา งขวาง เพราะสามารถแสวงหาความรไู ดจ ากแหลง ตา งๆ ท้ังหนังสือ วทิ ยุ โทรทัศน และคอมพิวเตอร 1. บุพบท 1 คํา สันธาน 3 คํา 2. บุพบท 2 คาํ สันธาน 3 คํา 3. บุพบท 1 คํา สนั ธาน 4 คาํ 4. บพุ บท 2 คาํ สันธาน 4 คํา 5. ขอความตอไปน้มี ีคํานามและคาํ กริยาหลกั อยางละกค่ี ํา (ไมนับคาํ ซํา้ ) การกูยมื จะมปี ระโยชนตอ เมอ่ื เงินทกี่ ูมาน้นั ใชอยางมคี ุณภาพและสรา งรายไดเ พื่อเพม่ิ ตน ทนุ ของเงนิ จํานวนนนั้ 1. นาม 4 คาํ กริยา 3 คาํ 2. นาม 5 คํา กริยา 4 คาํ 3. นาม 6 คาํ กรยิ า 5 คํา 4. นาม 7 คํา กริยา 6 คาํ 6. ใชข อความตอ ไปนี้ตอบคําถาม ขอ ก. และขอ ข. วตั ถุดบิ ทจี่ ะผลติ เครื่องปนดินเผามหี ลายอยา ง เพื่อใหไดค ุณภาพตามความตองการทจ่ี ะใชประโยชน ก. ขอความขางตนมีคาํ นามกค่ี าํ 1. 4 คํา 2. 5 คํา 3. 6 คํา 4. 7 คาํ ข. ขอความขางตน มคี าํ กริยาหลักกีค่ าํ 1. 4 คาํ 2. 5 คาํ 3. 6 คํา 4. 7 คํา 7. ใชข อ ความตอ ไปนี้ตอบคาํ ถามขอ ก. และขอ ข. เนอื่ งจากวถิ ชี วี ติ ของคนไทยเปลยี่ นไป ทงั้ พอ บา นและแมบ า นตอ งทาํ งานหารายไดใ หเ พยี งพอจงึ ไมม เี วลามากในการปรงุ อาหาร ก. ขอความขางตนมคี าํ บพุ บทกคี่ ํา 1. 2 คาํ 2. 3 คาํ 3. 4 คํา 4. 5 คาํ ข. ขอความขางตน มีคาํ สันธานกค่ี าํ 1. 2 คาํ 2. 3 คํา 3. 4 คาํ 4. 5 คาํ 36 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เฉลยคําตอบ 1. ตอบ 1 สนั ธาน 2 คาํ คือ จน และ สว นบุพบท 3 คาํ คือ ตาม ของ กับ 2. ตอบ 2 สันธาน 2 คํา คอื และ ถา สวนบพุ บท 2 คาํ คือ ตอ ของ 3. ตอบ 3 คํานามมี 7 คาํ คอื กิจกรรม ของดี สถาบนั อดุ มศกึ ษา นักศกึ ษา เวลาวา ง ประโยชน บรรยากาศ คํากริยามี 7 คาํ คอื เปน ตั้ง ทาํ มี ให ใช เปลี่ยน 4. ตอบ 2 มีคาํ บุพบท 2 คําคือ ใน, จาก สวนคาํ สันธานมี 3 คําคือ เพราะ, ท้งั , และ 5. ตอบ ไมม คี าํ ตอบ สงิ่ ท่ตี องระวังในขอ น้คี ือ “คํากริยาหลัก” น้ันหมายความวา สามารถไดเฉพาะ อรรมกริยา สกรรมกรยิ า วกิ ตรรถกรยิ า และกรยิ าสภาวมาลา สว นกริยานุเคราะหถือเปน กรยิ าชว ยไมใ ชก รยิ าหลกั คําตอบคือ คาํ นาม 7 คาํ ไดแ ก การกยู ืม ประโยชน เงิน คณุ ภาพ รายได ตนทนุ จาํ นวน สว นคาํ กริยาหลัก ไดแ ก มี กู ใช สราง เพิม่ 6. ตอบ ก. ตอบ 3 เพราะคาํ นามมีแค 6 คาํ ไดแ ก วัตถุดิบ เคร่ืองปนดนิ เผา อยา ง คุณภาพ ความตอ งการ ประโยชน ข. ตอบ 1 ระวังโจทย ถามเฉพาะกริยาหลกั ไดแก ผลติ มี ได ใช (จะ ให เปนกริยาชว ย) 7. ตอบ ก. ตอบ 1 คําบพุ บทมี 2 คําไดแ ก ของ ใน ข. ตอบ 3 คาํ สนั ธานมี 4 คําไดแ ก เนอื่ งจาก ท้ัง และ จึง การสรางคํา นอ งๆ ภาษาไทยเปน ภาษาทีม่ ีการพฒั นาการอยา งตอเนือ่ ง จงึ เกดิ วธิ ีการสรางคําเพ่อื เพิม่ คาํ ใหมมี ากขนึ้ โดยใชว ิธกี ารตาม ภาษาไทย ไดแก คําประสม คําซอน และคําซํ้า อีกทั้งยังมีการสรางคําที่นํามาจากภาษาตางประเทศ ไดแก คําสมาส และคําสนธิ ดงั นน้ั ในบทนน้ี องๆ จะไดเรียนรถู ึงการสรา งคาํ และสามารถแยกคําทีเ่ กดิ จากการสรา งคาํ ไดถ ูกตอง กอ นทนี่ อ งๆ จะนาํ คาํ ทมี่ อี ยไู ปสรา งใหเ กดิ คาํ ใหมข น้ึ นนั้ นอ งๆ ตอ งรจู กั หนว ยศพั ทท เ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ของภาษาไทยกอ น นนั่ กค็ อื คาํ มลู ดงั น้ี คาํ มลู คาํ มูล คือ คําทีม่ ีความหมายสมบูรณในตวั เอง เปนคําดง้ั เดมิ ทม่ี ีในภาษาเดิม เปน ภาษาไทยหรอื มาจากภาษาใดๆ ก็ได อาจมี พยางคเ ดียวหรอื หลายพยางคก ไ็ ด แตต อ งไมใ ชค าํ ทเ่ี กิดจากการประสมกับคําอ่ืนๆ เชน คาํ มูลพยางคเดยี ว = ชา ง ปา มา วัว ควาย ใจ กิน เห็น บน ใน คาํ มลู สองพยางค = ขนม ทะเล นารี กะทิ ตะกละ สะดวก คํามูลสามพยางค = กะละแม มะละกอ นาฬก า กะละมงั จะละเม็ด เปนตน นองๆ กําลังสงสัยวาแลว จะดอู ยางไร วิเคราะหอ ยางไรวาคาํ คาํ นั้นเปน คาํ มลู ไมใ ชคาํ อ่ืนๆ วธิ ีการงา ยๆ ท่ีจะสงั เกต คือ ลองแยกคํานั้นๆ ออกมา ถา พบวามีบางคําหรอื ทุกคาํ ไมม ีความหมายเลย หรือมีความหมาย แตค วามหมายนนั้ ไมม เี คากับคําเดมิ เลย แสดงวาเปน คาํ มูล เชน มะละกอ ลองแยกออกมาจะพบวา มะ+ละ+กอ (มะ กับ ละ จะไมมีความหมาย) ดงั น้นั มะละกอจึงเปนคาํ มลู กระถาง ลองแยกออกมาจะพบวา กระ+ถาง (กระ เปน ชือ่ เตาชนิดหน่งึ ถาง เปน กรยิ าแปลวา ฟนใหเตียน) ระวัง เม่ือแยกออกมาแลวมีความหมายทุกคําอยาดวนสรุปวาไมใชคํามูล สังเกตความหมายใหมท่ีเกิด ไมมีความเก่ียวของกับความหมาย เดิมเลย จึงถอื เปนคํามูล ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 37

หมาขาว ลองแยกออกมาจะพบวา หมา+ขาว (หมา มคี วามหมาย ขาว กม็ ีความหมาย) เมอ่ื ดไู ปทคี่ วามหมายใหม ที่เกิด หมาขาว คือหมาท่ีมีสีขาว จะพบวาความหมายยังเก่ียวของกับความหมายเดิมอยูและทุกคํามีความหมายหมด สามารถ แยกศัพทไ ด สรปุ ไดเ ลยวา ไมใชค าํ มูล สรุปอกี คร้งั คําคาํ หนึง่ จะเปนคํามลู ไดจ ะตอ ง 1. คําพยางคเดียวทม่ี าจากภาษาใดๆ ก็ได 2. ถา มหี ลายพยางค จะแยกศัพทไมได เพราะเมอื่ แยกแลว คําจะไมม ีความหมาย 3. ถามหี ลายพยางค แยกคาํ ไดม ีความหมาย ความหมายนัน้ ตองไมเกี่ยวของกับความหมายเดิม คาํ ประสม คําประสม คือการนาํ คาํ มลู ท่มี ีความหมายไมเหมือนกัน ตงั้ แตส องคําข้นึ ไปนาํ มารวมกนั แลวเกิดความหมายใหมแ ตยงั มีเคา ความหมายเดมิ คาํ ทเี่ กิดขน้ึ จะเรยี กวา คําประสม ระวัง! คาํ มูล 2 คําทม่ี ารวมกันเกดิ เปน คําประสม ตอ งไมมลี ักษณะของคาํ ซอนเพ่อื ความหมาย คอื ตองไมมคี วามหมายเหมอื นกัน คลายกนั หรือตรงกนั ขามกัน โครงสรา งของคําประสม คําหลกั + คําเตมิ = คําประสม (คาํ ใหม) นองๆ อาจสงสยั อะไรคือ คําหลัก อะไรคอื คําเติม ลองดตู วั อยางเพื่อเพิม่ ความเขา ใจ เชน กนิ เมือง กนิ แรง กินใจ กินท่ี กนิ ดอง เปนตน สังเกตวา คาํ วา กิน นัน้ เปนคําหลักทต่ี อ งการคาํ เตมิ ซง่ึ คอื คําวา เมอื ง แรง ใจ ที่ ตามลาํ ดับมาประกอบเพือ่ ใหมคี วามหมาย ที่หลากหลายมากขึ้น หลักการสรา งคาํ ประสม 1. คํามูลที่นํามาสรางเปนคําประสม อาจทําหนาท่ีเปนคํานาม คําสรรพนาม กริยา วิเศษณ หรือบุพบท ก็ได คํามูลอาจ เกดิ จากการประสมกบั คาํ ชนิดเดยี วกัน หรอื คําตางชนดิ กนั กไ็ ด เชน นาม+นาม เชน หวั ใจ พอบาน พอ มด น้ําตา ชา งไม นาม+สรรพนาม เชน พระคุณทา น กระหมอ มฉนั นาม+กรยิ า เชน นํา้ ตก นํา้ เนา รถเข็น ยาถาย ลกู เลน นาม+วิเศษณ เชน แกงหวาน ปลาเค็ม เครอื่ งคาว ของแขง็ กรยิ า+กริยา เชน ยกฟอง ตมยํา ถกเถียง กนิ ขาด กริยา+นาม เชน กนิ ใจ กินแถว กนิ เมยี จับยาม กรยิ า+วเิ ศษณ เชน อวดดี ไปดี ถือดี เปนกลาง วิเศษณ+นาม เชน สองใจ สามเกลอ คูใ จ วเิ ศษณ+ วเิ ศษณ เชน ออนหวาน สกุ ดบิ หวานเย็น บพุ บท+นาม เชน ใตเ ทา ขา งถนน (เด็ก) ซึ่งหนา บพุ บท+กริยา เชน ตามมตี ามเกิด สังเกต! คําประสมจะเกิดจากคําก่ีชนิดก็ตาม เม่ือประกอบกันเปนคําประสมแลวจะเปนคําชนิดเดียวเทาน้ัน เชน ตมยํา เกดิ จาก กริยากับกรยิ า เม่ือประสมเปน “ตม ยํา” แลวจะเปน นาม เทา นน้ั 38 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

2. คํามูลท่นี าํ มาประสมกนั อาจเปนคาํ ท่ีมาจากภาษาใดกไ็ ด ซ่งึ อาจเกิดจากคําไทยกับคาํ ไทย คาํ ไทยกบั คําในภาษาอืน่ หรือ เปน คําที่มาจากภาษาอ่นื ทง้ั หมด เชน คาํ ไทยกบั คําไทย เชน หมอความ แมยาย กนิ ท่ี นํ้าหวาน โรงเรียน หมดตัว เตารีด คาํ ไทยกับคาํ ภาษาอื่น เชน คําไทย+เขมร เชน ของขลงั ของโปรด ทะเลสาบ สายตรวจ คาํ ไทย+จีน เชน กินหนุ ของเก กินโตะ น้าํ เตา หู ตีตัว๋ คาํ ไทย+บาลสี ันสกฤต เชน แมพ ิมพ ลูกศษิ ย ข้โี รค เขาฌาน คําไทย+องั กฤษ เชน เรยี งเบอร ฝาเบียร น้าํ กอก สรา งจากคําภาษาตา งประเทศท้ังหมด เชน บาลี+บาลี เชน ผลผลิต การยทุ ธ์ิ วัตถุโบราณ ภาพยนตร บาลี+สนั สกฤต เชน ภาพลกั ษณ กิจจะลกั ษณะ สังเกตการณ บาล+ี จนี เชน รถเกง บาลี+อังกฤษ เชน รถเมล รถบสั รถแท็กซ่ี บาลี+เขมร เชน นพมาศ เทพนม เจตจาํ นง จนี +จนี เชน แฉโพย ส่งิ ทนี่ องควรระวังไว คาํ ทน่ี ํามาประสมกนั บางคาํ น้ัน อาจไมไ ดเ กดิ ความหมายใหม ซงึ่ จะไมใชค ําประสม เชน ลูกเสือ (นามกับนาม) ถามีความหมายวา ลูกของเสือ จะไมไดเกิดความหมายใหมจึงไมใชคําประสม เปนเพียงวลี แตถ า มีความหมายวา ลูกเสือเนตรนารีทนี่ องๆ เคยเรียนกนั น้ัน จะถือวาเกดิ ความหมายใหมจ งึ จะเปน คําประสม ส่ิงที่นอ งๆ ควรสังเกต ถาเจอคําเหลาน้ีข้ึนตนมักจะเปนคําประสม เพราะตองนําคําอ่ืนๆ มาประกอบเพื่อใหเกิดความหมายหลากหลายมากข้ึน เชน พอ + แม + ลูก + นา้ํ + ชา ง + ชาว + เครือ่ ง + หัว + นัก + หมอ + ที่ + การ + ความ + เสีย + ยก + กิน เปนตน คําซอ น คําซอ น คือ การนําคาํ มลู ทมี่ ีความหมายหรือเสยี งใกลเคยี งกนั หรอื เหมือนกันมาซอ นกันแลว ทาํ ใหเ กดิ ความหมายใหมหรือ ความหมายใกลเคียงกบั ความหมายเดิม คําซอ นมี 2 แบบ ดังนี้ 1. คาํ ซอ นเพอื่ ความหมาย เปน การขยายความใหชัดเจนยง่ิ ข้ึน โดยคํามลู ทง้ั 2 คําจะมีลักษณะดงั น้ี 1.1 คําซอ นที่มีความหมายเหมอื นกนั เชน บา นเรือน อวนพี จิตใจ รูปรา ง ขา ทาส 1.2 คาํ ซอนที่มคี วามหมายแคบลง เจาะจง เชน ขัดถู ใจคอ หตู า ญาติโยม 1.3 คาํ ซอนทมี่ ีความหมายกวา งกวา เดิม เชน ขา วปลา ถว ยชาม คัดเลือก ทุบตี 1.4 คาํ ซอ นทมี่ ีความหมายเปล่ียนไปจากเดิม เชน ดดู ด่มื คบั แคบ ออ นหวาน อบรม 1.5 คาํ ซอ นท่ีมีความหมายตรงกนั ขา ม เชน ชัว่ ดี ผิดถูก เปนตาย รา ยดี สงั เกต! เวลานอ งๆ ไปทาํ ขอ สอบ พยายามพิจารณาโดยการแยกพยางคเหมือนคําประสม แตถ าเมอ่ื แยกแลว คําแตล ะคาํ นนั้ มีความ หมายท่เี หมือนกัน ใกลเคียงกันหรือตรงกันขามกนั จะเปน คาํ ซอ น เชน บานเรอื น ลองแยกออกมา บาน+เรือน (บา น มคี วามหมายเหมือนกับคําวา เรอื น) ผดิ ถกู ลองแยกออกมา ผิด+ถกู (ผดิ มีความหมายตรงกันขามกบั คําวา ถกู ) ทัง้ สองคาํ นี้ จึงถือเปน คาํ ซอ น ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 39

2. คําซอนเพ่ือเสยี ง คือการนาํ คํามลู สองคํามาประกอบกนั เพอ่ื ใหเกิดเสียงคลองจองกนั อาจเปนคําเลยี นเสยี งธรรมชาติ ก็ได เชน โครมคราม เจดิ จา โยกเยก ชิงชงั เปน ตน วิธกี ารสรา งคาํ ซอ นเพือ่ เสียง 1. นาํ คํามลู ที่มีความหมาย มีเสียงสระ และอกั ษรที่ใกลเคียงกนั มาซอนกนั เชน ขบั ข่ี แข็งขัน บูบ้ี 2. นําคํามูลท่ีเปนคําหลักหรือเปนศัพทหลัก แลวสรางเสียงที่ไมมีความหมายข้ึนเพื่อสรางความคลองจองกัน เชน เยินยอ ชิงชงั ภเู ขาเลากา ตอ นรบั ขบั สู ผลหมากรากไม 3. สรา งจากคํามูลท่มี ีเสยี งซอ นกันมาคูกัน เชน ดกุ ดกิ โลเล โยเย งอแง วอกแวก คําซ้าํ คําซํ้า คอื การนําคํามลู คาํ เดยี วกันมากลา วซา้ํ เพือ่ เนน นาํ้ หนกั ของคํา เมื่อซํ้าแลวสามารถใชไ มยมกแทนคาํ ซํ้าน้ันได สงั เกต! นองๆ จําไวเลยวา คําซ้าํ ตอง 1. เขียนเหมอื นกัน 2. เขียนติดกัน 3. หนาที่ของคําเหมอื นกนั ความหมายทีเ่ กดิ จากคาํ ซา้ํ 1. พหูพจน เชน นองๆ พี่ๆ เดก็ ๆ เพื่อนๆ 2. แยกจาํ นวน เชน ชิน้ ๆ ตูๆ หองๆ ชดุ ๆ ถงุ ๆ 3. บอกกริยาซํา้ ๆ เชน พูดๆ กนิ ๆ ทําๆ อา นๆ ดๆู 4. บอกพวก กลุม ลกั ษณะ เชน ขาวๆ อวนๆ เลก็ ๆ แบนๆ กลมๆ เหลี่ยมๆ 5. บอกสถานท่ี ไมเจาะจง เชน แถวๆ ขางๆ เชาๆ สายๆ ค่ําๆ ใกลๆ 6. ความหมายเปลย่ี นไปจากเดิม เชน ไปๆมาๆ กลว ยๆ หมๆู สดๆ รอ นๆ 7. ทํานองคาํ สงั่ เชน ดๆี เบาๆ รีบๆ ชา ๆ เร็วๆ เงยี บๆ 8. แสดงอาการหรือเหตกุ ารณต อเนือ่ ง เชน รํ่าๆ พรวดๆ หยมิ ๆ ปรอยๆ 9. เนนความรูส กึ โดยใชเสียงสงู เนน เชน ด๊ําดาํ รวยรวย ตา ยตาย เกงเกง 10. เลยี นเสียงธรรมชาติ เชน เหมียวๆ โครมๆ โฮกๆ เปรยี้ งๆ ระวงั ! * คาํ ทเ่ี ขียนติดกันบางคําไมใชค ําซา้ํ เพราะทาํ หนา ทต่ี า งกันในประโยค เชน สถานท่ีทแี่ มไ ปเทยี่ วบอยคือทะเลบางแสน = ที่ที่ ไมใชค ําซํ้า ใสไ มยมกไมไ ด คนคนนีไ้ มน า จะทําผิดไดเ ลย = คนคน ไมใ ชค าํ ซ้าํ ใสไ มย มกไมไ ด * คาํ ซํ้าบางคาํ นิยมใชเปนคาํ ซา้ํ อยางเดยี ว ไมอ าจใชเปน คาํ เด่ยี วๆ ได เชน หยกๆ หลดั ๆ ฉอดๆ ปาวๆ = เขาเพิง่ มาหยกๆ ไมส ามารถใชเปน เขาเพ่งิ มาหยก เพราะจะทําใหส่อื ความหมาย ไดผ ิด คําสมาส คําสมาส คือ วิธีการสรางคําท่ีมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต ซ่ึงเกิดเปนคําใหม มีความหมายใหมแลวอานออกเสียง ตอ เนอ่ื งกนั ไป 40 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

คําสมาส มี 2 ประเภท 1. คาํ สมาสทไี่ มม กี ารสนธิ (สมาสแบบสมาส) คอื คาํ สมาสทไี่ มม กี ารเปลยี่ นแปลงเสยี งหรอื กลมกลนื เสยี ง เรยี กวา “คาํ สมาส” 2. คาํ สมาสที่มกี ารสนธิ (สมาสแบบสนธ)ิ คอื คําสมาสที่มกี ารเปล่ยี นแปลงหรือกลมกลืนเสยี ง เรียกวา “คาํ สนธิ” ทองงายๆ วา “สมาสชน สนธิเชอื่ ม” คําสมาส มลี ักษณะดงั ตอ ไปนี้ 1. คาํ ทนี่ ํามาสมาสกันตอ งเปน คําทมี่ าจากภาษาบาลี สนั สกฤตเทานัน้ หามเปน ภาษาอนื่ เด็ดขาด 2. การเรียงลาํ ดับ คาํ สมาสตองแปลจากหลังมาหนา เพราะคําประกอบอยหู นา คําหลักอยหู ลัง เชน ผลิตผล (ผลทเี่ กดิ ข้นึ ) ยทุ ธวธิ ี (วิธีการทาํ สงคราม) วาทศิลป (ศลิ ปะการพดู ) 3. คาํ สมาสจะไมใ ชเคร่อื งหมายทณั ฑฆาต และรปู สระอะทีท่ ายพยางคแ รก เชน กิจการ ราชการ 4.เวลาอาน จะออกเสียงสระที่เชื่อมติดกันระหวางคําหนากับคําหลัง ถาไมมีใหออกเสียง อะ ระหวางรอยตอของคํา เชน ภมู ิศาสตร (พมู ิสาด) กรรมกร (กาํ มะกอน) ราชการ (ราดชะกาน) 5. คาํ วา “พระ” ซึง่ มาจากภาษาบาลสี ันสกฤตวา “วร” เม่ือไปประกอบเปนคําหนา โดยมคี าํ หลักที่เปน คาํ ภาษาบาลีสันสกฤต จะถอื วา เปน คําสมาส เชน พระบาท พระกร พระชิวหา พระสงฆ ระวงั ! * มีคําสมาสบางคําท่ีนิยมอานแบบไทย คือไมออกเสียงสระท่ีทายพยางคแรก นองจําไวเลยวา เปนขอยกเวน ใหอานตาม ความนิยม เชน ชาตินยิ ม อานวา ชาด-น-ิ ยม * คําสมาสท่ีข้ึนตนดวย พระ ถาประสมกับคําอ่ืนท่ีไมใชภาษาบาลีสันสกฤต ไมถือวาเปนคําสมาส ถือเปนคําประสม เชน พระอู พระเกา อ้ี พระขนง พระสนม สังเกต! คําตอไปนี้ ดเู หมือนจะเปน คาํ สมาส แตน องๆ ตอ งสังเกตดีๆ จะพบวา ไมใชค าํ สมาส เชน ผลไม ไม เปน คาํ ไทย ครสิ ตจักร คริสต เปน องั กฤษ พลความ ความ เปน คาํ ไทย “ คําสมาสตอ งเกิดจากคํา กลเมด็ เมด็ เปนคาํ ไทย ภาษาบาลสี นั สกฤตเทานน้ั ” ราชดาํ เนิน ดําเนิน เปนคาํ เขมร อยาลืมเดด็ ขาด !! ตัวอยางคําสมาส ประวตั ศิ าสตร (ประวัติ+ศาสตร) ธรรมศาสตร (ธรรม+ศาสตร) วีรกรรม (วรี +กรรม) เกษตรกรรม (เกษตร+กรรม) วฒั นธรรม (วัฒน+ธรรม) ชยั ภูมิ (ชัย+ภมู )ิ คาํ สนธิ คอื การสมาสโดยการเชอื่ มคาํ เขา ระหวา งพยางคห ลงั ของคาํ หนา กบั พยางคห นา ของคาํ หลงั เรยี กวา การสมาสทม่ี สี นธิ หรอื คําสมาสแบบกลมกลืนเสียง เปนการยออกั ขระใหน อ ยลง แบงเปน 3 ประเภท ดงั นี้ “สนธิเชอ่ื ม” 1. สระสนธิ คอื การนาํ คาํ บาลสี นั สกฤตทลี่ งทา ยดว ยสระไปสนธกิ บั คาํ ทข่ี นึ้ ตน ดว ยสระ ซง่ึ เมอื่ สนธแิ ลว จะมกี ารเปลย่ี นแปลง รปู สระตามเกณฑ ดงั น้ี 1.1 ตัดสระทา ยคําหนา แลว ใชส ระหนาคาํ หลงั (กฎของคาํ หนา) มาทําความเขาใจกันอกี คร้งั = ______(คาํ หนา) + อ_____(คําหลงั ) ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 41

วธิ ีการสระสนธิ นอ งๆ จําเปนขั้นตอน คือ 1. ตัดสระคําหนา 2. ตัด อ คําหลงั 3. นําคํามารวมกัน เชน ชล + อาลัย = 1. ตดั สระอะทคี่ ําหนา (ชละ) 2. ตัด อ ทิง้ 3. นํามารวมได ชลาลยั มหา + อรรณพ = 1. ตดั สระอา 2. ตัด อ ทิ้ง 3. นํามารวมได มหรรณพ วชริ + อาวุธ = วชริ าวุธ วร + โอกาส = วโรกาส พุทธ + โอวาท = พุทโธวาท วทิ ย + อาลยั = วิทยาลยั 1.2 ตดั สระทายคําหนา ใชส ระหนา คาํ หลัง แตเ ปล่ยี นสระคําหลงั ดวย (กฎของคาํ หลงั ) อะ เปน อา เชน ธรรม + อธปิ ไตย = 1. ตดั สระอะ 2. เปลยี่ น อะ เปน สระอา 3. ตดั อ ทง้ิ ได ธรรมาธปิ ไตย อิ เปน เอ เชน นร + อศิ วร = 1. ตดั สระอะ 2. เปลีย่ น อิ เปน เอ 3. ตัด อ ท้ิง ได นเรศวร อุ เปน อู เชน คณุ + อปุ การ = 1. ตัดสระอะ 2. เปลย่ี น อุ เปน อู 3. ตัด อ ทง้ิ ได คุณูปการ อุ อู เปน โอ เชน นย + อุบาย = 1. ตดั สระอะ 2. เปลย่ี น อุ เปน โอ 3. ตัด อ ทิ้ง ได นโยบาย 1.3 เปลยี่ นสระที่ทา ยคําหนา อิ อี เปน ย อุ อู เปน ว เสียกอ น แลว สนธิ (กฎของคาํ หนา) อิ อี เปน ย (ทาํ คลา ยๆ ขอ 1.1 หลงั จากเปลีย่ นเปน ย แลว) เชน อคั คี + โอภาส = 1. เปลย่ี น อี เปน ย ได อคั คย 2. ตดั สระอะ 3. ตดั อ ทง้ิ ได อคั โยภาส อุ อู เปน ว (ทําคลา ยๆ ขอ 1.1 หลังจากเปล่ยี นเปน ว แลว ) เชน จกั ขุ + อาพาธ = 1. เปลยี่ น อุ เปน ว ได จกั ขว 2. ตดั สระอะ 3. ตดั อ ทง้ิ ได จกั ขวาพาธ 2. พยัญชนะสนธิ คอื การเชอ่ื มคาํ ดวยพยญั ชนะ โดยเช่อื มเสียงพยัญชนะในพยางคท ายของคําหนา กบั เสยี งพยัญชนะหรือ สระในพยางคแ รกของคําหลงั ดังน้ี 2.1 คาํ ท่ลี งทา ยดว ย ส สนธกิ บั พยัญชนะ ใหตัด ส ของคาํ หนาทงิ้ เชน นริ ส + ภัย = 1. ตดั ส ทิ้ง 2. นํามารวมกนั ได นริ ภัย นิรส + ทุกข = นริ ทกุ ข ทุรส + พล = ทรุ พล 2.2 คําทล่ี งทายดว ย ส สนธิกบั พยัญชนะ เปลย่ี น ส เปน โ เชน รหส + ฐาน = 1. เปลย่ี น ส เปน โ 2. นํามารวมกนั ได รโหฐาน มนส + ภาพ = มโนภาพ ศริ ส + เพฐน = ศิโรเพฐน 3. นฤคหติ สนธิ คอื การเชอื่ มคําดว ยนฤคหติ โดยเช่ือมพยางคห ลงั ของคําหนาเปนนฤคหิตกบั เสียงสระในพยางคแรกของ คาํ หลงั ดงั น้ี 3.1 นฤคหิตสนธกิ บั สระ เปลยี่ น ๐ เปน ม แลว สนธกิ นั เชน สํ + อาคม = 1. เปลย่ี น ๐ เปน ม 2. ตัดสระอะ 3. ตดั อ ท้งิ ได สมาคม สํ + อทิ ธิ = สมิทธิ สํ + อาทาน = สมาทาน สํ + อาบัติ = สมาบัติ สํ + อาโยค = สมาโยค 3.2 นฤคหติ สนธกิ บั พยัญชนะวรรค เปล่ยี น ๐ เปนพยญั ชนะทา ยวรรคน้ันกอนสนธิ วรรค กะ เปน ง เชน สํ + กร = สังกร สํ + เกต = สังเกต สํ + คม = สงั คม วรรค จะ เปน ญ เชน สํ + จร = สญั จร สํ + ชาติ = สัญชาติ สํ + ญา = สัญญา วรรค ตะ เปน น เชน สํ + เทศ = สนั เทศ สํ + ดาป = สันดาป สํ + ดาน = สนั ดาน วรรค ฏะ เปน ณ เชน สํ + ฐาน = สัณฐาน สํ + ฐิติ = สณั ฐติ ิ 42 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

วรคค ปะ เปน ม เชน สํ + บัติ = สมบัติ สํ + บูรณ = สมบรู ณ สํ + พล = สมั พล 3.3 นฤคหิตสนธิกับเศษวรรค เปลีย่ น ๐ เปน ง เชน สํ + โยค = สังโยค สํ + วร = สังวร สํ + หรณ = สังหรณ สํ + หาร = สังหาร แนวขอสอบ 1. ขอ ความตอ ไปนม้ี คี าํ ซอ นกคี่ าํ ขา วเปน ธญั ญาหารทมี่ ปี ระโยชนอ ยทู กุ อณขู องเมลด็ ขา ว เนอ้ื ขา ว ราํ ขา ว และจมกู ขา ว เราจงึ ความกนิ ขา วใหค รบทกุ สว นของ เมล็ด เพ่ือชีวิตทแี่ ข็งแรงสดใส หางไกลจากโรครายตางๆ และมีสุขภาพดอี ายุยนื ยาว 1. 3 คํา 2. 4 คาํ 3. 5 คํา 4. 6 คํา 2. ขอใดมคี าํ สมาสทีม่ กี ารสนธิ 1. ธาตเุ จดยี  ธญั พชื ธรรมจารี 2. รตั นชาติ ราชสาสน รมณียสถาน 3. ภมู ิลักษณ ภษู ามาลา ภิญโญภาพ 4. พรรณนาโวหาร ยหุ เสนา พรหมาสตร 3. ขอใดมีคาํ ท่ไี มใ ชค าํ ประสมปนอยู 1. ทางขาม ทางดว น ทางผา น ทางหลวง 2. ยาเขยี ว ยาชา ยาธาตุ ยาเรอื 3. ของเกา ของโจร ของรอน ของไหว 4. นา้ํ กรด นา้ํ เกลอื นํ้าขาว นํ้าเหลือง 4. ขอ ความตอไปนมี้ ีคาํ ประสมกค่ี าํ (ไมน ับคาํ ซํ้า) ในน้าํ มันพืชมสี ารตา นอนุมูลอสิ ระทเ่ี รารูจ กั กันดีคือวติ ามนิ อี แตน กั วทิ ยาศาสตรญ ี่ปุนไดคน พบสารตานอนุมลู อสิ ระท่สี าํ คัญ อีกชนดิ หนง่ึ คอื โอรีซานอล สารนี้พบมากทส่ี ดุ ในขา วโดยเฉพาะในสวนผวิ ของขาวกลองที่เรยี กวา ราํ ขาว 1. 3 คาํ 2. 4 คาํ 3. 5 คาํ 4. 6 คาํ 5. ขอใดมคี าํ สมาสทีม่ ีการสรา งคาํ ตางจากคําอื่นอยูดว ย 1. อาศรมบท กลั ปพฤกษ 2. อรรถศาสตร สญั ประกาศ 3. ชาติวุฒิ นิธินาถ 4. มนุ นิ ทร ครภุ ณั ฑ 6. ขอ ใดไมม ีคําสมาส 1. มยุรฉตั รชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี 2. ไพรฟาประชาชี ชาวบุรกี ป็ รดี า 3. ผาสุกรุกขมูล พนู สวสั ด์ิสถาวร 4. เรง พลโยธาพานรินทร เรงรัดหัสดนิ 7. คําซาํ้ ในขอ ใดตอ งใชเปน คําซํา้ เสมอ (O-NET’53) 1. คนงานใหมข ยันเปนพกั ๆ เอาแนไ มไ ด 2. นกั เรยี นอนบุ าลหกลม หัวเขา แตก เลือดไหลซบิ ๆ 3. งานนถ้ี ึงจะไดเงินเดือนนอ ย ก็ทําไปพลางๆ กอ นแลว กนั 4. ถาเราวางแผนใหดีตง้ั แตแ รกๆ โครงการนีก้ ็คงสําเร็จไปแลว ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 43

8. ขอใดเปน คาํ ซอนทุกคาํ 2. ถอ งแท ถถ่ี วน ถากถาง 1. ซ้ําซอ น ซอ นรปู ซกั ฟอก 3. บีบค้นั เบยี ดเบยี น เบาความ 4. แปรผัน เปา หู โปรยปราย 9. ขอ ใดมคี ําประสมทุกคํา 1. คําขาด คาํ คม คําราม 2. เดนิ แตม เดนิ รถ เดินสะพัด 3. นํ้าปา น้ําไหล น้าํ มอื 4. ตดิ ลม ตดิ ใจ ติดขัด 10. ขอ ใดไมมีคําสมาส 1. วิสทุ ธโยธามาตยเจา กรมขวา 2. หนงึ่ ชื่อราชโยธา เทพซา ย 3. ตําแหนง ศกั ดยิ์ ศถา เสถียรท่ี 4. คุมพยุหยาตรายาย ยางเขา ตามสถาน 11. ขอใดมีคําสมาสทม่ี ีการสรางคาํ ตา งกบั ขออนื่ 1. ขบั คเชนทรสาวกาว สา ยเสอ้ื งเทาทาง 2. สถานทีพ่ ุทธบาทสรา ง สบื ไวแ สวงบญุ 3. สธุ ารสรบั พระเตา เครอ่ื งตน ไปตาม 4. โดยเสด็จดาํ เนนิ แคลว คลาดคลอยบทจร 12. ขอ ใดเปนคาํ ซอนทุกคํา 1. ลกั ลอบ โลดแลน ลูกเลน 2. วา งเวน วอดวาย วนเวยี น 3. แจกจาย จับจด จืดจาง 4. มั่งมี มงุ มั่น มอบหมาย 13. คาํ ซ้าํ ในขอใดตอ งใชเ ปน คําซาํ้ เสมอ 1. พอฝนตก น้าํ ทว ม รถกจ็ ะตดิ มากๆ จนนาเบ่อื 2. ฉนั ซอมบานคราวนี้คดิ คราวๆ แลว ก็เปนเงนิ หลกั แสน 3. แมบอกใหรบี ๆ ทํางาน วันเสารอาทิตยจ ะไดไ ปตา งจังหวัด 4. ถานักเรียนวางแผนการลงทะเบียนใหด ๆี การเรียนกจ็ ะไมห นักมาก 14. ขอความใดตอไปนสี้ วนใดมคี ําประสมนอ ยทีส่ ดุ 1) การหอ ขนมเปนศิลปะอยางหนึง่ ของการทําอาหารไทย 2) คนไทยมีฝมอื อันประณีตรจู ักนาํ ใบตองมาหอ ขนม 3) รจู ักทํา กระทงและเหลากานมะพรา วทําไมก ลดั 4) ไมไดใ ชลวดเย็บกระดาษทีเ่ ปน อันตรายอยา งในสมยั น้ี 1. สว นที่ 1 2. สวนที่ 2 3. สวนที่ 3 4. สวนท่ี 4 เฉลยคาํ ตอบ 1. ตอบ 2 คําซอนมี 4 คํา คือ แข็งแรง สดใส หา งไกล ยนื ยาว (มีความหมายใกลเ คยี งกัน) เน้ือขาว ราํ ขาว จมูกขา ว ถือเปน คาํ ประสมไมใชคาํ ซอ น 2. ตอบ 4 โจทยถามคําสนธิ เวลาทําคือ ลองแบงคํา คําสนธิจะแบงไมคอยไดและไมออกเสียงอะ ก่ึงเสียง น้ันคือ “พรหมาสตร” = พรหม + อาสตร (แปลวา ศร) เปนสระสนธิ 3. ตอบ 2 โจทยถามไมใชคําประสม เม่ือลองพิจารณาแลวอาจมีคําซอนปะปนอยู แตท่ีจริงแลวน้ัน คําวา “ยาเรือ” เปน กลมุ คําหรือวลี 4. ตอบ 3 มคี ําประสม 5 คํา ไดแก นํ้ามนั พชื สารตานอนมุ ลู อิสระ นกั วทิ ยาศาสตร ขาวกลอ ง ราํ ขา ว (เกดิ จากการนําคําตงั้ แตสองคําขึน้ ไปมารวมกนั แลว เกิดความหมายใหม) 5. ตอบ 4 โจทยถ ามคําสมาสทีม่ ีวิธีการสรางแตกกนั จงึ ตองพจิ ารณาคาํ สมาสแบบสมาส กับ คําสมาสแบบสนธิ ซ่ึงพบคํา สนธิเพียงคาํ เดียวคือ “มุนินทร” = มุนิ + อนิ ทร 6. ตอบ 2 ไมมีคาํ สมาส ขอ 1 มยรุ ฉัตร ขอ 2 รกุ ขมูล ขอ 3 พานรินทร = พานร + อินทร 44 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

7. ตอบ 1 แนวทางในการทําขอสอบแนวนี้ คอื ลองอานตวั เลือกแบบไมอา นออกเสยี งซํา้ แลวพิจารณาท่ีความหมาย นัน้ คอื “คนงานใหมขยันเปน พกั เอาแนไมได” ตัดไมย มกออก ความหมายตา งไปเลย สว นขอ อื่นตัดไมยมกออกก็ยังคงความหมายเดมิ อยู 8. ตอบ 2 ถามคาํ ซอน (ความหมายและเสียง) ไดแก ถอ งแท ถ่ถี วน ถากถาง ขอ 1 ซอ นรูป เปนคาํ ประสม ขอ 3 เบาความ เปน คาํ ประสม ขอ 4 เปาหู เปนคาํ ประสม 9. ตอบ 2 ถามคําประสมทุกคาํ (ตอ งไมใชว ิธแี บบคําซอนคอื คาํ เหมือน คาํ ตรงกันขาม) ไดแก เดนิ แตม เดินรถ เดินสะพดั จดั เปนคําประสมทกุ คํา คาํ ราม เปนคาํ มลู น้าํ ไหล เปน ประโยค ตดิ ขดั เปน คาํ ซอน 10 ตอบ 3 เพราะศกั ด์ยิ ศถา เปน คาํ ซอ น 1. วิสุทธโยธามาตย = วสิ ทุ ธ/โยธา + อมาตย (สมาสแบบสนธ)ิ 2. ราชโยธา = ราช/โยธา (สมาสแบบสมาส) 3. พยุหยาตรา = พยุห/ยาตรา (สมาสแบบสมาส) 11. ตอบ 1 เพราะ คเชนทรเปนคาํ สมาสทม่ี สี นธิ (คช + อินทร) พทุ ธบาท สธุ ารส บทจร เปน คําสามาสทไ่ี มม สี นธิ 12 ตอบ 2 วางเวน วอดวาย วนเวยี น เปนคําซอ น / ลูกเลน จบั จด มอบหมาย เปน คาํ ประสม 13. ตอบ 2 “คราวๆ” ตองใชเปนคําซา้ํ เสมอ มเิ ชน นน้ั เม่ืออา นแลว จะส่อื ความหมายผิด 14. ตอบ 4 ลวดเย็บกระดาษ เปนคําประสมมคี ําเดียว สวนขอ 1 การหอขนม การทําอาหารไทย/ ขอ 2 ฝม อื ใบตอง / ขอ 3 กา นมะพรา ว ไมกลดั นอ งๆ สามารถศึกษาเพมิ่ เตมิ ไดท ่ี Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, คํา, ชนิดของคํา, การสรางคํา, คํามูล, คําประสม, คําซํ้า, คําซอน, คํานาม, คาํ สรรพนาม, คํากรยิ า, คาํ วเิ ศษณ, คาํ บุพบท, คาํ สมาส, คําสนธิ • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 12 การสรางคํา 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-7 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 13 การสรางคาํ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-8 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 14 การสรา งคํา 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-9 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 45

• สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 15 ชนิดคํา ในภาษาไทย 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-10 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 16 ชนิดคํา ในภาษาไทย 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-11 • ชนิดของคํา ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-12 • ชนดิ ของคาํ ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-13 • ชนดิ ของคาํ ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch2-14 46 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท่3ี วลีและประโยค บทน้นี อ งๆ จะไดเ รียนรคู วามแตกตา งระหวางวลีและประโยค ซึง่ ขอ สอบมักจะใหน อ งๆ สังเกตวาเปนวลีหรือประโยค รวม ถงึ ชนิดของประโยคทีข่ อ สอบชอบออกมากทสี่ ดุ วลี คือ คาํ หลายคาํ ที่นาํ มาเรียงชดิ ติดกัน มใี จความไมส มบรู ณเพราะขาดสวนใดสวนหนงึ่ ในภาคประธานหรือภาคแสดง อาจใช โดยลาํ พงั ได หรือใชป ระกอบประโยค เชน นกั เรยี นโรงเรยี นสตรีวิทยา พ่แี ละนอง ยาวสองกิโลเมตร ประเทศในแถบเอเชยี สังเกต! เวลานองๆ จะแยกความแตกตา งระหวางวลีกับประโยค วลีเม่อื นองๆ อา นจะรูสึกวา ไมจบประโยค รสู กึ อานแลว มนั ตองมตี อ เชน หนงั สอื สีเขยี ว (อา นแลว รูสึกไมจบ) ถา เปน เชนนจ้ี ะเปน วลี ระวงั ! บางคร้ังถา มกี รยิ าในขอ ความนั้น นองๆ ตองสังเกตวา กริยาตวั นั้นไมเ ปน กรยิ าหลกั ของประโยค เชน การใชส ิทธิ เสรภี าพและ ปฏบิ ัติหนาทต่ี ามรัฐธรรมนญู (ปฏบิ ัติ ไมไดเปนกรยิ าหลกั ประโยค แตเ ปนเพียงกรยิ าทอ่ี ยภู าคประธานเทาน้ันเอง) จึงจะเปน วลี ประโยค คอื ถอยคาํ ท่ีนํามาเรียงกันแลวเกิดใจความท่สี มบูรณ ซ่ึงประกอบไปดวยภาคประธานและภาคแสดง การพจิ ารณาวาขอความใดเปนประโยคหรอื ไม นอ งๆ ตองดูที่ความหมายวาครบสมบรู ณช ดั เจนหรอื ไม เพราะบางประโยค อาจละเวน สวนใดสวนหน่ึงได เชน “ใครไปดูหนังกับนุน” “นิดและหนอ ย” (ถอื วา เปน ประโยค เพราะมใี จความวา นดิ และหนอยไปดหู นงั กบั นุน) สว นประกอบของประโยค ประโยคจะประกอบไปดวย 2 สวน คือภาคประธานและภาคแสดง 1. ภาคประธาน คือ คาํ หรอื กลุมคําที่ทําหนา ทีเ่ ปนประธาน เปนผกู ระทํา ผูแสดงของประโยคซึง่ จะมี บทประธาน บทขยายประธาน โดยบทขยายอาจจะมหี รอื ไมม กี ็ได 2. ภาคแสดง คอื คําหรือกลุม คาํ ที่ประกอบไปดวย บทกริยา บทกรรมและสว นเติมเตม็ โดยบทกรยิ าจะทาํ หนาท่ี เปน ตวั แสดงของประโยค บทกรรมจะทําหนา ที่เปนผถู กู กระทํา และสวนเตมิ เตม็ ทาํ หนาท่เี สรมิ ใจความของประโยคใหส มบรู ณ ระวัง! นองๆ ควรพจิ ารณาทภี่ าคแสดง ถาบทกรยิ าน้ันเปนอกรรมกริยา คอื กริยาทไี่ มต อ งการกรรมมารับ ซึ่งถอื วาเปนประโยคแลว มีความสมบูรณแลว เชน เด็กวง่ิ นกบิน ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 47

รูปประโยค รปู ประโยค มี 5 รูป ดังน้ี 1. ประโยคประธาน คอื ประโยคทม่ี ปี ระธานอยหู นา ตามดวยภาคแสดง เชน รถตดิ หนังสือขาด แมวกนิ ปลา พอเปน ตาํ รวจ 2. ประโยคกรยิ า คือ ประโยคทม่ี ีคํากรยิ าข้นึ ตน ตามดว ยประธาน มีคาํ วา เกิด มี ปรากฏ เชน เกิดสึนามทิ ีท่ ะเลฝง อนั ดามัน มนี กหลายฝูงอพยพมาที่น้ี ปรากฏสิ่งแปลกขึน้ ในน้ํา 3. ประโยคกรรม คือ ประโยคที่มีกรรมอยหู นา เพื่อเนนกรรมใหช ัดเจน เชน เขาถกู ครูตี หนงั เรื่องน้ีใครแสดงบทพระเอก (กรรม+ประธาน+กรยิ า) 4. ประโยคการิต ประโยคทม่ี ีกรรมรับ หรอื กรรมรอง เชน แมใหน องไปซอ้ื ผักทต่ี ลาด ครูใชน กั เรียนไปหยบิ หนงั สอื เรียนมา 5. ประโยคกรยิ าสภาวมาลา คอื ประโยคทีม่ กี ริยาหรอื กริยาวลี ทําหนา ที่เปน คํานาม และทาํ หนา ทเี่ ปนประธาน กรรม หรอื บทขยายของประโยค (การนําคํากรยิ ามาใชเ ปนประธาน กรรม หรือสว นขยายเอาโดยไมมีคําวา การ ความ นําหนา ) เชน แบดมนิ ตันเปน กฬี าทสี่ นกุ มาก ดม่ื นมทุกวันทาํ ใหร า งกายแข็งแรง เจตนาของประโยค ประโยคท่ีนองๆ ใชอยใู นชีวติ ประจาํ วนั สามารถแบงออกได 3 ประเภทตามเจตนา ดงั นี้ 1. ประโยคแจงใหทราบ คือ ประโยคที่ผูพูดตอ งการสง สารถงึ ผูรบั สารหรือผฟู งเพอื่ ใหไดร บั รู เชน พ่ชี อบกนิ ขาวรา นรสเลิศ กระเปา เดนิ ทางใบใหมม ีสดี ํา 2. ประโยคถามใหต อบ คือ ประโยคที่ผูพูดใชส อ่ื สารเม่ือตอ งการคําตอบจากผูฟง เชน เธอชอบกินอะไร แมไปเท่ียวทไ่ี หน 3. ประโยคบอกใหทาํ คอื ประโยคท่ผี ูพูดใชถอ ยคาํ เชงิ คาํ สง่ั ขอรอง ตักเตอื นใหผูฟง ปฏิบตั ติ าม เชน หามเดินลัดสนาม กรุณาถอดรองเทา กอนเขาหอ ง ชนดิ ของประโยค ขอ สอบชอบออกชนดิ ของประโยคมากทส่ี ดุ ดงั นน้ั นอ งๆ พยายามทาํ ความเขา ใจและพจิ ารณาใหอ อกวา ทงั้ 3 ชนดิ ของประโยค นั้นแตกตา งกันอยางไร ดงั น้ี 1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) คอื ประโยคทมี่ เี นอ้ื ความเดียว มีบทกริยาเพียงบทเดยี ว เชน นกบนิ พอกนิ ผลไม เธออา นหนังสือในหอ งสมุด เขาเปน ความหวงั ของพอ แม จํางายๆ วา S1 V1 ประธาน 1 กริยา 1 ทําคนเดยี ว ระวงั ! ประโยคความเดียวจะมีกรยิ าตัวเดยี วเทา นัน้ แตต อ งระวังกลมุ คาํ กริยา ซึง่ กต็ องถอื เปน กริยาตวั เดยี วเชนกัน แตถา ประโยคใด ทม่ี ีกรยิ าตง้ั แต 2 ตัวข้นึ ไปประโยคนนั้ ยอมไมใ ชป ระโยคความเดียว เชน นวิ ตเี้ ดนิ เลน ท่ีรมิ หาด 2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) คอื ประโยคทีน่ ําเอาประโยคความเดียวต้งั แตสองประโยคขึน้ ไปมารวมกนั โดยมี คาํ สนั ธานเปนตัวเชื่อม 48 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

จํางายๆ วา เดยี ว+เดยี ว=รวม เชอ่ื ม BY สนั ธาน ลักษณะใจความของประโยคความรวม มี 4 ชนิด 1. ประโยคความรวมทม่ี เี นอื้ ความคลอ ยตามกนั สนั ธานทใี่ ชเ ชอ่ื มคอื และ แลว ...ก็ ทง้ั ..และ ครน้ั ..จงึ เมอ่ื ...ก็ เปน ตน เชน เนยและนัทไปเทีย่ วทะเล เมื่อเธอมาเขาก็ไป 2. ประโยคความรวมที่มีเนื้อความขดั แยง กนั สันธานทใี่ ชเช่ือม คือ แต แตทวา กวา ...ก็ แมว า แตก ็ เชน กวา ถวั่ สุก งากไ็ หม แมเขาจะอา นหนังสือหนกั แตก ย็ งั ไมสาํ เร็จ 3. ประโยคความรวมทม่ี เี นอื้ ความเปน เหตเุ ปน ผลกนั สนั ธานทใ่ี ชเ ชอ่ื มคอื จงึ ดงั นน้ั ...จงึ เพราะ...จงึ เพราะฉะนน้ั เปน ตน เชน เพราะฝนตกรถจึงติด เขาซอมวา ยนาํ้ หนกั เขาจงึ ไดรบั ชัยชนะ ระวัง! ถา เปนประโยคความรวม “เหตุตองมากอนผล” 4. ประโยคความรวมที่มเี น้ือหาความใหเลือกเอาอยา งใดอยางหน่งึ สันธานที่ใชเ ชอ่ื มคือ หรือ หรอื ไมก็ ไมเ ชน นน้ั ไม. ..ก็ เปนตน เชน เธอจะกนิ ผักหรือผลไม ไมนกก็แสงจะไดร บั ทนุ เลา เรียนในมหาวทิ ยาลยั สงั เกต! วิธีสังเกตประโยคความรวม 1. นองๆ สามารถแยกประโยคออกจากกนั ได 2. มีคาํ สนั ธานเปนคําเช่อื มประโยค (บางครงั้ อาจละไว) 3. ประกอบดว ยกริยา 2 ตวั 3. ประโยคความซอน (สังกรประโยค) คือ ประโยคท่ีมีใจความสําคัญเพียงใจความเดียว ซ่ึงประกอบดวยประโยคหลัก (มขุ ยประโยค) และประโยคยอ ย (อนปุ ระโยค) โดยประโยคยอ ยทาํ หนา ท่ปี ระกอบขยายสว นใดสวนหนงึ่ ในประโยคหลัก มุขยประโยค คือ ประโยคหลกั ที่มใี จความสาํ คัญ เชน ฉนั ชอบครูทใ่ี จดีและสอนสนกุ อนุประโยค คือ ประโยคยอยทขี่ ยายประโยคหลกั เชน ฉันชอบครทู ใ่ี จดีและสอนสนกุ โดยอนุประโยคนสี้ ามารถแบง ออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ 1. นามานปุ ระโยค คอื ประโยคยอยท่ีทาํ หนา ท่ีแทนคาํ นามในประโยคหลกั ซง่ึ คาํ นามน้ีอาจเปนประธาน กรรม หรอื สว นเติมเตม็ ขอ สงั เกตงา ยๆ คือ ประโยคนจี้ ะตามหลังคาํ วา ให วา เชน คนกินกาแฟใสห มวกสดี าํ เธอทาํ ใหเขาไปโรงเรียนสาย เรามอง “คนกนิ กาแฟ” เปน ประธาน และ “เขาไปโรงเรยี นสาย” เปน กรรมของประโยค 2. คณุ านปุ ระโยค คอื ประโยคยอ ยทที่ ําหนาท่ขี ยายคํานามหรือคาํ สรรพนาม โดยใชป ระพันธสรรพนาม ผู ที่ ซ่งึ อัน เปน บทเช่อื ม เชน ยายที่ขายกลว ยทอดอาศัยอยทู า ยหมูบ า น (ขยายคาํ นาม ยาย) หนงั สือซงึ่ วางอยบู นโตะแพงมาก (ขยายคํานาม หนังสือ) 3. วิเศษณานปุ ระโยค คอื ประโยคยอยทที่ าํ หนาทขี่ ยายกริยา หรอื วเิ ศษณ โดยมีประพนั ธวเิ ศษณ ที่ ซง่ึ อนั เมือ่ เพราะ จน ตาม เปน บทเช่อื ม เชน เขาทํารายงานตามครูสง่ั (ขยายคาํ กรยิ า ทํา) เล็กฝก รอ งเพลงจนเขาชํานาญมาก (ขยายคาํ กริยา ฝกรอง) รถตดิ เพราะฝนตก (ขยายคํากรยิ า ติด) ระวัง! ประโยคยอยทีใ่ ช “เพราะ” เปน บทเชอ่ื ม เน้อื ความจะตองเอา ผลมากอ นเหตุ ซง่ึ จะแตกตางจากประโยค ความรวมแบบเปน เหตเุ ปน ผลที่ เหตุมากอ นผล ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 49