Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวเข้ม O net get 100 ภาษาไทย ม.ปลาย โดย True ปลูกปัญญา

ติวเข้ม O net get 100 ภาษาไทย ม.ปลาย โดย True ปลูกปัญญา

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-04-19 03:12:46

Description: หนังสือ,เอกสาร,บทความที่เผยแพร่นี้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

แนวขอสอบ 1. ขอ ใดเปน ประโยคสมบูรณ 1. ภาษาไทยพัฒนามาตลอดเวลา 2. ประเทศชาติบานเมืองของเรา 3. เด็กหญงิ ตัวเลก็ ผวิ ขาวคนนั้น 4. ทะเลสาบขา งหมูบา นเจาพระยา 2. ขอ ใดไมใชประโยครวม 1. พอฝนจะตกเราก็รีบกลับบา นทนั ที 2. คนไทยรกั สงบแตย ามรบก็ไมขลาด 3. ใครๆ กร็ วู า แถวสลี มอากาศเปน พษิ 4. ประชาชนไมใชสะพานลอยตํารวจจงึ ตอ งตกั เตือน 3. ขอ ใดเปน ประโยคความรวม 1. กระแสนาํ้ ไหลแรงจนเซาะตล่ิงพังไปแถบหน่ึง 2. มีหลกั ฐานวา มนุษยย คุ หินใชข วานทองแดงในการลา สัตว 3. ฟาทะลายโจรเปน พชื สมนุ ไพรที่นยิ มใชรักษาอาการเจบ็ คอ 4. การสง เสรมิ การอา นเปนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางหนึง่ 4. ขอ ใดเปน ประโยคสมบรู ณ 1. การแตง กายตามสมยั หรือตามแฟชนั่ ของวยั รุน 2. มีขาวโรคไขห วัดนกระบาดในหลายจงั หวดั ของไทย 3. บุคลกิ ภาพหรอื ช่ือเสยี งของผูพ ดู และการยอมรบั จากผูฟ ง 4. ความเชือ่ สิ่งศกั ดิ์สิทธ์ิ ปาฏหิ าริย ตลอดจนเรื่องไสยศาสตร 5. ขอใดเปน ประโยคตา งชนิดกบั ขอ อืน่ 1. ลกู ทด่ี เี ปนทพี่ ง่ึ ของพอ แมใ นวัยชรา 2. ไมว า ลกู จะเปนอยางไรพอแมก ็ยังคงรักลกู เสมอ 3. หากลกู ทกุ คนดูแลเอาใจใสพ อ แมท า นกจ็ ะมีความสขุ 4. การดูแลเอาใจใสพอ แมเปนหนา ท่ีและความรับผดิ ชอบของลูก 6. ขอใดเปน ประโยคความรวม 1. ฉันกอ็ ยากทําอะไรตามใจตัวเองบา ง 2. อะไรท่ดี ีๆ กน็ าจะทําเสียกอน 3. รานน้อี าหารอะไรกอ็ รอยทง้ั นนั้ 4. อะไรมากอ นเรากก็ นิ ไปพลางๆ 7. ขอ ความตอ ไปนีส้ ว นใดเปน ประโยคตา งชนิดกบั ขออ่ืน 1) การบริโภคอาหารทะเลมีประโยชนอยางยิ่งตอรางกายคนเรา 2) ในเนื้อปลามีกรดไขมันไมอิ่มตัวซึ่งมีสวนชวยลด คอเลสเตอรอลในเลือด 3) คนทช่ี อบรับประทานกงุ สวนมากไมรบั ประทานหางและเปลอื ก 4) ทัง้ หางและเปลือกกงุ เปน อาหารทีอ่ ุดม ไปดว ยแคลเซียมและไคโตซาน 1. สว นที่ 1 2. สวนที่ 2 3. สวนท่ี 3 4. สวนที่ 4 50 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

8. ขอใดเปนประโยคความซอ น 1. ปจ จบุ ันระบบอินเทอรเ น็ตมีบทบาทอยางมากทั้งในหมวู ัยรนุ และวยั ผูใหญ 2. โลกของอนิ เทอรเ น็ตมีสาระประโยชน ความบนั เทิง ความรู และการสอ่ื สารมากมาย 3. ทกุ วนั น้ีเราจะสังเกตเห็นวา อินเทอรเนต็ คาเฟแ ฝงอยูในธรุ กจิ หลายประเภท 4. ในรานอาหาร โรงแรม สปา หา งสรรพสนิ คาและโรงพยาบาลบางแหงมมี มุ ของอินเทอรเน็ตคาเฟทง้ั นน้ั 9. ขอใดเปน ประโยคสมบรู ณ 1. หวั ขอการสนทนาเร่อื งความเปนเลิศในกฬี ายิมนาสติกของประเทศจีน 2. การศกึ ษาวิจยั ดา นวิทยาศาสตรการกีฬาเพ่อื การพฒั นากฬี ายมิ นาสติก 3. การแขงขันยมิ นาสตกิ อยา งตอเนือ่ งและการสนับสนนุ สง เสริมจากรฐั 4. ประเทศจีนใหค วามสําคญั กับกฬี ายิมนาสติกมายาวนานตอเนื่อง 10. ขอ ใดไมใชประโยค 1. การดาํ เนนิ งานธุรกิจหรอื การประกอบอาชีพตอ งมีความพอเพียง 2. เศรษฐกจิ พอเพียงมิไดจ ํากดั เฉพาะเกษตรกรหรอื ชาวไรช าวนาเทา นั้น 3. เกษตรทฤษฎใี หมเปนระบบเศรษฐกจิ ทีเ่ นนใหเกษตรกรสามารถดแู ลตัวเองได 4. การบรหิ ารจัดการเศรษฐกจิ ทที่ าํ ใหค นสามารถดแู ลตวั เองไดโดยไมเ ดอื ดรอน 11. ขอใดไมใชป ระโยคความซอน 1. คนไทยนิยมทําอาหารตามฤดกู าลซึ่งสอดคลองกับธรรมชาติ 2. ปลายฤดฝู นตนฤดหู นาว อากาศทเ่ี ปลยี่ นแปลงทาํ ใหค นเปนหวัด 3. เยน็ นี้แมบ านจะทําแกงสม ดอกแคและผัดผกั รวม 4. เชือ่ กนั วา การรับประทานแกงรอนๆ จะชวยแกไขห วดั ในระยะเปลย่ี นฤดูได 12. ขอใดไมใชประโยคความเดยี ว 1. การละเลนพืน้ เมืองของไทยเปนเอกลักษณโ ดดเดนอยางหน่งึ ของวฒั นธรรมไทย 2. ในทกุ ภาคของประเทศมีการละเลนพืน้ เมืองประจําทอ งถนิ่ ของตน 3. การละเลนพื้นเมอื งมีประโยชนใ นการเผยแพรว ฒั นธรรมไทยสูสากลโลก 4. คนไทยสรางสรรคก ารละเลน พนื้ เมอื งแลว สืบทอดตอกนั มาจนปจจุบนั 13. ขอใดเปนประโยคความซอน 1. ประเทศไทยมแี หลงทองเทย่ี วทางธรรมชาตหิ ลายๆ ประเภท 2. แหลงทอ งเทีย่ วประเภทถํ้ามักอยใู นบรเิ วณภเู ขาในภาคตางๆ ของประเทศ 3. น้าํ ใตดนิ ทไ่ี หลซึมชั้นของหินปูนกอ ใหเ กิดถํา้ ขนาดตางๆ ขึน้ 4. นักทองเทยี่ วสามารถเดินเขา ไปชมส่งิ สวยงามตา งๆ ภายในถ้าํ ได เฉลยคาํ ตอบ 1. ตอบ 1 โจทยถ ามประโยคสมบูรณ หมายความวาตองครบท้งั ภาคประธานและภาคแสดง ซึ่งขอ 2 3 4 ลว นขาดภาคแสดง (กรยิ า) แตข อ 1 ภาษาไทยพัฒนามาตลอดเวลา (กริยา=พัฒนา) 2. ตอบ 3 ขอ ใดเปนประโยคความรวมคือ ดทู ีส่ นั ธาน สังเกตเหน็ วา ขอ 1 2 4 มสี ันธาน พอ...ก็ แต จึง ตามลําดบั เชื่อมอยู สว นขอ 3 มีคาํ วา “วา ” เปน ประโยคความซอ นนามานุประโยค ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 51

3. ตอบ 1 เพราะคําวา “จน” ถือเปนสนั ธานแบบเปน เหตุเปนผล โดยมเี หตมุ ากอนผล สว นขอ 2 มีคําวา “วา ” เปน ประโยค ความซอนนามานุประโยค ขอ 3 มีคําวา “ท”ี่ เชอื่ มอยูเปนประโยคความซอนคณุ านปุ ระโยค และขอ 4 มีกริยาคาํ วา “เปน ” คําเดยี วจึง เปนประโยคความเดยี ว 4. ตอบ 2 เปนประโยคกริยา เพราะจะข้นึ ประโยคดว ยคําวา “เกิด มี ปรากฏ” เทานนั้ 5. ตอบ 1 เพราะ ลกู ท่ีดเี ปน ท่พี ่งึ ของพอ แมในวยั ชรา (ที่ดี เปนประโยคยอยคุณานุประโยค) ขอ 2 มีสนั ธานคําวา ไมวา...ก็ จงึ เปน ประโยคความรวม ขอ 3 มสี นั ธานคําวา หาก...ก็ จึงเปน ประโยคความรวม ขอ 4 สามารถคดิ ได 2 วธิ ี คอื มสี นั ธานเชอื่ มคําวา และ จงึ เปน ประโยคความรวม ขอนจี้ ึงตอบขอ 1 แตถา “การ ดแู ลเอาใจใสพ อ แมเ ปน หนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของลกู ” เรามองเปน กลมุ คาํ จะไดว า ขอ มี กรยิ าคาํ วา “เปน ” คาํ เดยี วจงึ เปน ประโยค ความเดียวซึ่งคาํ ตอบจะตอบได 1 และ 4 (ผอู อกขอสอบอาจมเี จตนาใหค าํ ตอบเปน ขอ 1 แตข อ 4 นน้ั ยงั ไมช ัดเจนอย)ู 6. ตอบ 4 สงั เกตวา ทุกๆ ขอจะเนนคาํ วา “ก”็ ซง่ึ ถา เปน ประโยคความรวม “ก็” จะตอ งเชอ่ื มประโยค 2 ประโยค นั่นคือ อะไร มากอ นเราก็กินไปพลางๆ (สนั ธาน) สวนขออนื่ เปน ก็ เปนคาํ อนุภาค (เดียว) 7. ตอบ 1 สังเกตขอ 2 3 4 จะพบคาํ วา “ซงึ่ ท่ี ท่ี “ตามลําดบั ซ่งึ ทําหนาทแ่ี ทนนามท่อี ยขู า งหนา และเปนประโยคยอยของ ประโยคหลกั สวนขอ 1 น้ัน มีกรยิ า “ม”ี คําเดียวจึงเปน ประโยคความเดียว 8. ตอบ 3 สังเกตคาํ วา “วา” เช่อื มประโยคอยูจ งึ เปนประโยคความซอนแบบนามานปุ ระโยค ขอ 1 2 4 มีกริยา “มี มี มี” ซึ่ง ทาํ หนา ทีเ่ ปนกริยาหลกั เพยี งตัวเดียวจงึ เปนประโยคความเดียว 9. ตอบ 4 ประโยคท่สี มบรู ณตอ งมคี รบท้งั ภาคประธานและภาคแสดง น่นั คือ ประเทศจนี ให ความสําคญั กับกฬี ายิมนาสตกิ ยาวนานตอ เนือ่ ง ประธาน + กรยิ า + กรรม + ขยายกรรม 10. ตอบ 4 การบรหิ ารจัดการเศรษฐกิจที่ทาํ ใหคนสามารถดแู ลตัวเองไดโดยไมเดอื ดรอ น ขอความหนาน้เี ปนประโยคยอ ย ประโยคหลักคอื การบรหิ ารจัดการเศรษฐกิจ???สังเกตวามนั ไมจ บประโยค มีแคเ พยี งภาค ประธานอยา งเดยี วจงึ ไมใ ชประโยคทีส่ มบรู ณ 11. ตอบ 3 เยน็ นี้ = ขยายกริยา แมบ า น = ประธาน จะทํา = กรยิ า แกงสม...=กรรม ซึ่งสงั เกตวา จะมีกรยิ าหลักเพยี งตัว เดียว จึงเปน ประโยคความเดียว (ขอ อ่นื ๆ เปน ความซอน) 12. ตอบ 4 พจิ ารณาวาอาจจะมคี วามรวมและความซอน สงั เกตวาขอ 4 มคี ําวา “แลว” เปน สนั ธานเช่ือมประโยคใหค ลอ ย ตามกนั จงึ เปน ประโยคความรวม 13. ตอบ 3 หาประโยคความซอ น ขอ 1 “ม”ี เปน กริยาเพียงตัวเดียว = ประโยคความเดียว ขอ 2 “มกั อยู” เปน กริยาเพยี งตัวเดียว = ประโยคความเดยี ว ขอ 3 “ที่ไหลซมึ ผานชัน้ ของหินปูน” = เปน ประโยคยอ ย (คณุ านปุ ระโยค) ขอ 4 “สามารถเดินเขา ไปชม” = มีกริยาหลายตวั ทําพรอมกัน (ความรวม) 52 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นอ งๆ สามารถศกึ ษาเพิ่มเตมิ ไดท่ี Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, วลี, ประโยค, ชนดิ ของประโยค, เจตนาของประโยค, ประโยคความเดยี ว, ประโยคความรวม, ประโยคความซอ น • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 17 ประโยค 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch3-1 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 17 ประโยค 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch3-2 • ประโยค http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch3-3 • ประโยค ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch3-4 บนั ทึกชว ยจํา ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 53

บทที4่ ธรรมชาตขิ องภาษา ธรรมชาติของมนุษยที่มีการเกิด แก เจ็บ ตายฉันใด ธรรมชาติของภาษาก็ยอมเปนไปตามกฎของธรรมชาติฉันน้ัน เพราะ ภาษาก็มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา หากแตวาเราไมเคยสังเกตหรือเรียนรูการเปล่ียนของภาษา การเรียนเรื่องธรรมชาติของ ภาษานจ้ี ะใหนองๆ เขา ใจภาษามากยงิ่ ขึ้น อกี ทง้ั จะพบวาภาษาเปนส่ิงมหศั จรรยท่สี ดุ ประการหนง่ึ ของชวี ิตมนุษย ความหมายของภาษา “ภาษา” มาจากคาํ กริยาในภาษาสนั สกฤตวา “ภาษ” จะแปลวา พดู กลา ว หากใชแ ทนคาํ นาม แปลวา คาํ พดู ภาษามลี กั ษณะ ที่จะใชเ สยี งสอ่ื ความหมาย ทเ่ี กดิ ขึน้ จากการตกลงของคนแตล ะกลมุ เพอ่ื ทจ่ี ะกาํ หนดคาํ และความหมายของคาํ โดยจะใชส ญั ลักษณ ตางๆ เปนเครื่องมือการเก็บบันทึกเสียง เชน พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต เปนตน ซ่ึงความหมายของภาษาแบงออกไดเปน 2 ประเภท คอื ความหมายอยางกวา ง “ภาษา” หมายถงึ ภาษาท่ีใชก นั ทกุ ประเภทนั้นเอง ท้งั การแสดงออก เพอื่ สื่อความหมายโดยมรี ะบบ กฎเกณฑเ ขา ใจกนั ระหวา งสองฝา ย ทอ่ี าจจะเปน การแสดงออกทางเสยี ง ทา ทาง หรอื สญั ลกั ษณต า งๆ และอาจเปน การสอ่ื ความหมาย ระหวางมนษุ ยห รอื ระหวา งสัตวกไ็ ด เชน เสียงพูดของนกแกว ภาษามอื ภาษาดนตรี ภาษาคอมพิวเตอร สญั ญาณไฟ สัญญาณธง และสัญญาณแตร เปน ตน เหลา น้ีถงึ แมจะเรยี กภาษาแตก็ไมจ ัดเปนภาษาตามหลกั ภาษาศาสตร ความหมายอยา งแคบ ภาษา คอื ภาษาพดู และภาษาเขยี น เพราะถอ ยคาํ ทม่ี นษุ ยใ ชส อ่ื ความหมายใชส อ่ื ความหมายระหวา งกนั และรวมถงึ ภาษาเขยี นซงึ่ ถา ยทอดเปน ตวั หนงั สอื จากเสยี งพดู เทา นน้ั ความสมั พนั ธร ะหวา งเสยี งกบั ความหมายการกาํ หนดใหเ สยี งหรอื คําแทนความหมายตางๆ น้ัน ขึ้นอยูกับการกําหนดกฎเกณฑและขอตกลงท่ีคนแตละกลุมจะเลือกใช ทําใหเกิดความแตกตางในการ ออกเสยี งเพอ่ื สอื่ ความหมายทแี่ ตกตา งกนั ดงั ทน่ี อ งๆ จะเหน็ จากการออกเสยี งภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาพน้ื เมอื งในแตล ะภมู ภิ าคของ ประเทศและภาษาไทยกบั ภาษาตา งประเทศกจ็ ะพบความแตกตา งกนั ดงั ตวั อยา งตอ ไปนี้ ตวั อยา งท่ี 1 คําวา “ยาย” ในภาษากรุงเทพฯ มีใชตา งออกไปจากภาษาถิ่นอ่นื เชน ภาษาลาํ พูนใช “อุย ” ภาษาสกลนครใช “แมเ ฒา ” ตวั อยางท่ี 2 คาํ วา แม ในภาษาไทย ตรงกับคําวา มาเธอร (Mother) หรอื มัม (Mom) ในภาษาองั กฤษ มุสเธอร (Mutter) ในภาษาเยอรมนั และ มามอง (Maman) ภาษาฝรัง่ เศส เปน ตน เมอ่ื การกาํ หนดเสยี งในภาษาเกดิ จากการทมี่ นษุ ยเ ปน ผกู าํ หนดแลว ขอ สรปุ ทไ่ี ดน นั่ คอื เสยี งกบั ความหมาย ไมม คี วามสมั พนั ธ กัน (จาํ กฎนไ้ี วน ะ ออกขอ สอบบอยมาก) หนว ยในภาษา หนวยภาษา เรยี กงา ยๆ วา สวนประกอบของภาษา ไดแ ก เสยี ง คํา และประโยค การสรางคาํ ใหภ าษานั้นจะนําเสยี งท่มี ี อยอู ยางจาํ กดั (เสียงพยัญชนะ เสียงสระและเสยี งวรรณยกุ ต) มาสรา งคําไดเ พิ่มข้ึน และนาํ คํามาสรางเปนประโยคตา งๆ ไดมากขน้ึ อยางไมจาํ กัด 54 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

การสรา งคาํ คาํ วา นา หมายถึง พ้นื ทส่ี ําหรบั ปลกู ขาว น+า น+า+ม คาํ วา นาง หมายถึง ชื่อ น+า+ว+า คาํ วา นาวา หมายถงึ เรอื การนาํ คํามาสรางประโยค ฉนั ฉันกนิ ฉนั กนิ ขาว ฉันกินขาวผดั กะเพรา จะเห็นวาเราสามารถขยายคําและประโยคใหย าวออกไปไดไมจาํ กดั ไมส ิ้นสุด จากเสยี งในภาษาที่มีจาํ นวนจํากัด ภาษามีการเปล่ยี นแปลง การเปลย่ี นแปลงของภาษาน้ันเกดิ ขึน้ อยางคอยเปน คอยไป ซึง่ เกดิ สาเหตตุ างๆ ดงั น้ี 1. การพดู จาในชวี ิตประจําวัน ถา ผพู ูดไมชัด ออกเสยี งไมถูกตอง เสยี งก็อาจจะกรอ นหรือมกี ารกลมกลนื ของเสียงไป เชน หมากขาม กรอนเสียงเปน มะขาม อยางไร กลืนเสียงเปน ยังไง สาวใภ กรอนเสยี งเปน สะใภ ดฉิ นั กลืนเสยี งเปน เด๊ยี น ยับยับ กรอนเสยี งเปน ยะยับ อันหนง่ึ กลืนเสยี งเปน อนึ่ง 2. อิทธิพลของภาษาอ่ืน ภาษาไทยปจจุบันมีคําภาษาอื่นปนอยูมากโดยเฉพาะภาษาบาลี สันสกฤต เขมร จีน และอังกฤษ ทําใหเกิดการเปลยี่ นในรปู แบบตา งๆ ดังนี้ - รปู ศัพท เชน ราษตรี เปน ราตรี และ กายิน เปน กาย - ตัวสะกดไมต รงตาม เชน กา ด เปน กาซ และ โอกาด เปน โอกาส - การออกเสยี งผดิ เชน ดราฟท ใช ดร เปน คาํ ควบกลา้ํ ภาษาไทยไมใช - มเี สยี งวรรณยกุ ตไมตอ งลกั ษณะพยางค เชน เมก อ้ับ เปน เมคอัพ และ คอ็ มพวิ เตอ เปน คอมพวิ เตอร - การเปลย่ี นแปลงของประโยค เชน เขามาสาย ภาษาไทยใช เขามาชา เขาถกู เชิญไปงานเลี้ยง ภาษาไทยใช เขาไดรบั เชิญไปงานเลีย้ ง 3. ความเปล่ยี นแปลงของสิง่ แวดลอ ม เมื่อมีสิง่ ใหมๆ เกิดข้ึน กระบวนการความคิดใหมๆ เกิดขึน้ เปน สาเหตใุ หเ กดิ คาํ ศัพท ใหมๆ ตามมามากข้ึนตามยุคตามสมยั เชน ถนน เปน ทางดว น บาน เปน คอนโด ทาวเฮาส และคอมพวิ เตอร เปนตน 4. การเรยี นภาษาของเดก็ ภาษาของเดก็ เมอ่ื เรม่ิ เรยี นรภู าษาเดก็ จะคดิ ภาษาของเดก็ เอง ซงึ่ ไมเ หมอื นกบั ภาษาของผใู หญ ใช คาํ ไมต รงกนั ออกเสยี งไมต รงกนั ความหมายจงึ ไมต รงกบั ผใู หญเ มอื่ เดก็ เตบิ โตขน้ึ กจ็ ะสบื ทอดภาษาตอ ไปไดอ กี ทาํ ใหภ าษาเปลย่ี นแปลง ไปได เชน การออกเสยี งตวั ร และ ล ของเดก็ ถา พดู ตวั ร เปน ล ความหมายจะเปลย่ี นแปลง เชน เรยี น เปน เลยี น ถา ผใู หญไ มแ กไ ขให เดก็ พดู อยา งถกู ตอ งแลว เดก็ จะเกดิ ความเคยชนิ ไปถงึ วยั ผใู หญซ งึ่ ยากทจี่ ะแกไ ข ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 55

ลักษณะของภาษาในการส่ือสาร 1. วจั นภาษา คือ ภาษาที่ใชถ อ ยคําในการสื่อสาร ไดแ ก ภาษาพดู และภาษาเขยี น 2. อวจั นภาษา คือ ภาษาท่ีไมใ ชถอ ยคําในการสื่อสาร ไดแ ก อากัปกริ ิยา สัญญาณ สัญลักษณ ตัวอกั ษร ภาพ สี การสมั ผสั และระยะหา ง เปนตน แนวการทําขอสอบเรอ่ื งธรรมชาติของภาษา ธรรมชาติของภาษา อาจจะเปน เรือ่ งใหมใ นการเรยี นวชิ าภาษาไทยของนองๆ แตก ไ็ มใ ชเ รือ่ งท่ียากและตองจดจํากฎบงั คับ ขอตางๆ เหมือนหลกั ภาษา เพยี งแคเ ขาใจแกน ของเรื่องเทา น้ัน ซ่ึงธรรมชาติของทกุ ภาษาในโลกกจ็ ะมลี กั ษณะท่คี ลา ยคลึงกัน ไมได ผิดแผกแตกตางกันมากนัก การทําขอสอบเรื่องธรรมชาติของภาษานองๆ จะตองเปดใจใหกวางอยามองเพียงธรรมชาติของภาษา ไทยเพียงภาษาเดียว แตตองคํานึงถึงธรรมชาติของภาษาอื่นๆ ดวย เพราะโจทยมักจะหลอกเราเสมอ ลองพิจารณาจากตัวอยาง ขอ สอบกจ็ ะทําใหน อ งๆ เขาใจมากยง่ิ ข้ึน ตัวอยา งที่ 1 ตามธรรมชาติของภาษา ขอ ใดไมใ ชล ักษณะทัว่ ไปของภาษา 1. ครูประจาํ ชั้นกวกั มอื เรียกเดก็ นกั เรียนไปเขาแถวท่สี นาม 2. คําวา “บตั รเตมิ เงิน” เปน คําประสมทใ่ี ชใ นภาษาไทยไมนานนัก 3. คณุ วิมลเลา วาลกู สาวอายุ 2 ขวบพูดเกง ข้ึน ใชประโยคไดย าวกวา เม่ือกอนมาก 4. เดก็ ชายทองไมสามารถออกเสยี งคาํ ภาษาอังกฤษท่มี ีเสยี งตัว s สะกดไดเ พราะเสียงสะกดนี้ไมมใี นภาษาไทย คําตอบ ขอ 1. เพราะการเรียกนักเรียนเขาแถวควรใชวิธีการตะโกนเรียกมากกวาการกวักมือเรียก จึงผิดไปจากธรรมชาติ อีกท้ังโจทยถามถึงธรรมชาติของทุกภาษาทําใหค ําตอบขอ 4 จึงผิดไป ตัวอยางที่ 2 คนไทยเรยี กท่อี ยอู าศยั วา “บาน” คนฝร่งั เศสเรียก “เมซอง” คนเขมรเรยี ก “ผเต๊ียะ” แสดงลกั ษณะธรรมชาติ ของภาษาอยางไร 1. ภาษาใชเสียงสือ่ ความหมาย 2. คําสวนมากเสียงไมสัมพันธก ับความหมาย 3. เสียงหน่งึ มีความหมายอยางหน่ึงเพราะลักษณะเสยี ง ทําใหมีความหมายเชนนนั้ 4. ภาษาเปน ขอ ตกลงของคนในแตล ะกลมุ แตล ะพวก คาํ ตอบ ขอ 4. เพราะภาษาเปน ขอ ตกลงของคนในแตละกลมุ แตล ะพวก 56 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นองๆ สามารถศกึ ษาเพมิ่ เติมไดที่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, ธรรมชาตขิ องภาษา, ภาษา • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 01 ธรรมชาตภิ าษาไทย http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch4-1 บนั ทกึ ชว ยจาํ ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 57

บทท่ี5 เหตผุ ลกบั ภาษา “เขาเปน คนพดู ดมี เี หตผุ ลมาก” คาํ พดู ขา งตน จะสอื่ ใหเ ราเหน็ วา การทจี่ ะทาํ ใหใ ครเชอ่ื ถอื ไดก ต็ อ งใหเ หตผุ ลมารองรบั ภาษาก็ ถอื เปน สว นสาํ คญั ทจ่ี ะทาํ ใหแ สดงความเปน เหตผุ ลไดช ดั เจนขน้ึ ซงึ่ เหตผุ ล นน่ั หมายถงึ ความคดิ ตา งๆ เปน หลกั ทวั่ ไป ทจี่ ะมกี ฎเกณฑ และขอ เทจ็ จรงิ ทาํ หนา ทรี่ องรบั และสนบั สนนุ ขอ สรปุ เหตผุ ลจะทาํ ใหข อ สรปุ นน้ั นา เชอ่ื ถอื หรอื ไม ขอ สรปุ ทไี่ ดอ าจเปน ขอ สงั เกต การคาด คะเน การตดั สนิ ใจหรอื อน่ื ๆ กไ็ ด ขอ สรปุ หนงึ่ อาจจะเปน เหตผุ ลสนบั สนนุ ขอ สรปุ อน่ื ๆ อกี กเ็ ปน ได โครงสรา งการแสดงเหตผุ ล 1. เหตุ อาจเรยี กวา ขอรองรบั หรอื ขอ สนับสนนุ 2. ขอ สรุป เรยี กไดห ลายอยา ง เชน ขอ สังเกต การคาดคะเน คําวิงวอน การตดั สินใจ ขอ เตอื นใจและการใหค วามมน่ั ใจ ภาษาทใ่ี ชแ สดงเหตุผล นองๆ สามารถสงั เกต ภาษาท่ใี ชก ารแสดงเหตผุ ลจะใชคาํ สันธานเช่อื มความเปนเหตุผลและขอสรปุ ไวอยางชัดเจน ดังนี้ 1. เหตุ + ผล = จึง ทาํ ให สง ผล  เชน เธอ ทาํ ให ฉนั รูสกึ เหมอื นตอนสิบสี่ ฉันไมไ ดกนิ ขาวเที่ยง จึง หวิ ขา วมาก การนอนดกึ ทุกวนั สงผลให รางกายออ นเพลียเจ็บปว ยไดง าย บุญเพญ็ รอ งเพลงลกู ทงุ เพราะมาก ทําให คุณครูสงเธอเขาแขงขันรองเพลง 2. ผล + เหตุ = เพราะ เนอ่ื งจาก เชน รูเ พียงวาทาํ เพราะ รัก ทาํ เพราะ เธอ ความสาํ เรจ็ ในวงการบันเทงิ เกิดขึน้ ได เพราะ ความเพียรพยายามเปน สาํ คัญ บญุ มาทําขอสอบไดคะแนนดี เพราะ เธอตั้งใจอานหนงั สือ วธิ ีการแสดงเหตผุ ลและการอนมุ าน การอนุมาน เปนกระบวนการหาขอสรุปจากเหตุผล (ไมใชการเดานะนองๆ เพราะถาเดาน่ีคือการม่ัวเลยนะ) สามารถแบง ออกเปน 2 วธิ ี คอื 1. การอนุมานดว ยวธิ นี ริ นยั คอื การแสดงเหตผุ ลจากสว นรวมไปหาสวนยอย ขอ สรุปทไี่ ดจ ะตองแนนอน เปน เชนนน้ั เสมอ และมีความสมเหตสุ มผล 58 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

เชน การขโมยของผอู น่ื ถือเปน การผดิ ศลี 5 ประการ (เหตุผลรวม) ฉนั ขโมยขนมเพ่อื นมากนิ (เหตุผลยอย) ดังนัน้ ฉันผิดศลี 5ประการ (ขอสรปุ ) 2. การอนมุ านดว ยวธิ กี ารอปุ นยั คอื การแสดงเหตผุ ลจากสว นยอ ยไปหาสว นรวม ขอ สรปุ ทไี่ ดไ มแ นน อน ไมต ายตวั ไมช ดั เจน และไมส มเหตสุ มผล  เชน พีช่ ายของฉันสอบเขา เรียนในมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตรได (เหตุผลยอย) ฉนั มพี ช่ี าย (เหตผุ ลรวม) ดังนนั้ ฉนั เปนนอ งของพก่ี ็ตองสอบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรได (ขอสรุป) กระบวนการอนุมานโดยพจิ ารณาจากเหตุและผลลพั ธท ีส่ ัมพันธกัน 1. การอนมุ านจากสาเหตไุ ปหาผลลพั ธ เปน การอนมุ านโดยอาศยั ความรู ความเขา ใจหาขอ สรปุ วา ปรากฏการณน น้ั ทาํ ใหเ กดิ ผลลัพธอ ะไร เชน ขยันดูหนงั สือ (สาเหตุ) -> อนมุ าน -> สอบได (ผลลัพธ) 2. การอนมุ านจากผลลพั ธไ ปหาสาเหตุ เปน การอนมุ านจากปรากฏการณห รอื เหตกุ ารณ โดยอาศยั ความรแู ละเขา ใจของเรา เพอื่ สืบหาสาเหตุ เชน ผลการสอบ ไมเปน ทพี่ อใจ (ผลลพั ธ) -> อนมุ าน -> ความไมประมาท ไมเอาใจใส (สาเหตุ) 3. การอนุมานจากผลลัพธไปหาผลลัพธ เปน การอนุมานจากปรากฏการณหรือเหตุการณอยางหนึ่งวาเปนผลลัพธของ สาเหตุใด แลว พิจารณาตอไปวา สาเหตนุ ้ัน อาจจะกอใหเ กดิ ผลลัพธอ่ืนๆ อีก เชน ตกคณติ (ผลลพั ธ) -> ออ นคณติ (สาเหตุ) -> ตก ฟส ิกส (ผลลัพธ) แนวการทาํ ขอสอบเรือ่ งเหตผุ ลกับภาษา เรือ่ งเหตผุ ลกบั ภาษา สามารถแบงขอสอบออกเปน 2 เรือ่ งใหญๆ คือ เหตผุ ลกบั ภาษาและการอนุมาน ดังนั้นเราจะตอ งรูจัก วธิ ีการขอ สอบทัง้ 2 เรอื่ งใหเ ขา ใจ เพราะเปน เนื้อหาทส่ี มั พันธกนั ตอ งระวังอยา ใหสบั สน เนอ่ื งจากขอสอบเรื่องเหตุผลกับภาษา การสงั เกตสนั ธาน คอื หัวใจสาํ คญั อยางยิ่งในการทําขอสอบ แตขอความในขอสอบที่ ใหพ ิจารณามกั จะไมม ีคาํ สนั ธานปรากฏอยางชัดเจน ดงั นนั้ การทาํ ขอ สอบลักษณะนี้ จะตอ งนาํ สนั ธานท้ัง 2 กลุมขา งตน มาจดั วางใน ขอ ความ เพือ่ หาเหตแุ ละผลลพั ธ ดงั ตัวอยางตอ ไปน้ี ตัวอยางที่ 1 “เชื้อไขหวัดใหญสายพันธุใหมแพรระบาดอยางรวดเร็วจากคนสูคน / ดวยการเปนเชื้อที่ทําใหเกิดโรคระบาด ทางเดนิ หายใจ / และติดตอ ไดงา ย” ขอ ความขางตนมีโครงสรางการแสดงเหตผุ ลแบบใด 1. ขอสนบั สนุน ขอ สนบั สนนุ ขอสรปุ 2. ขอสนบั สนนุ ขอ สรปุ ขอ สนบั สนนุ 3. ขอ สรปุ ขอ สรุป ขอสนบั สนนุ 4. ขอ สรุป ขอ สนบั สนุน ขอ สนับสนนุ ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 59

คําตอบ ขอ 4. ขอสรุป ขอสนับสนุนและขอสนับสนุน เพราะคําวา “ดวยการ” ใหความหมายเดียวกันกับคําวา “เพราะ” ดงั นั้นคาํ ที่อยูหลังคาํ วา “เพราะ” จะตอ งเปนขอสนบั สนนุ เสมอ ตัวอยา งที่ 2 การเติมสันธานเพอ่ื แสดงเหตผุ ล บญุ ยืนไมอ ยากไปโรงเรยี น (ควรเตมิ “เพราะ”) เขาไมสบายและไมม กี ารบา นไปสง ครู ดวงดาวเปน คนหนาตาดี (ควรเติม “ทําให” ) เขาไดเ ปนดาวมหาวทิ ยาลยั วธิ กี ารจาํ เหตุ คอื ทาํ ใหเ กดิ สง่ิ ทเี่ กดิ เรยี กวา ผลลพั ธ ตอ งสงั เกตใหช ดั สนั ธานจดั วางลงอยา งไร หากมคี าํ วา “เพราะ” ตอ งวเิ คราะห กนั อยา งฉบั ไว ตวั หนา นนั้ ไซร คอื ขอ สรปุ รบี จดจาํ หากเจอคาํ วา “จงึ สง ทาํ ให” กต็ อ งเนน ยา้ํ ขา งหนา ทกุ คาํ นน้ั คอื สาเหตสุ งั เกตใหด ี ขอ สอบเรอื่ งการอนมุ านสว นใหญจ ะใหอ า นขอ ความทมี่ เี หตหุ รอื ขอ สนบั สนนุ ตา งๆ มาใหว เิ คราะหด ว ยการอนมุ านหาผลลพั ธ หรือขอสรุปจากขอความทอี่ าน ซงึ่ การทําขอ สอบในลักษณะน้จี ะตองคํานึงถงึ หลกั เหตผุ ลและความเปน ไปไดเ ปนสาํ คญั แตจ ะตองไม นอกประเดน็ และนอกเรอ่ื งจากขอ ความทอ่ี า นดว ย กลวธิ กี ารทาํ ขอ สอบในลกั ษณะนจ้ี งึ จะตอ งสงั เกตถอ ยคาํ และขอ ความโจทยก าํ หนด มาให เพราะจะทําใหก ารอนมุ านสอดคลองกบั ขอ ความมากทีส่ ุด ดงั ตวั อยางตอ ไปนี้ ตัวอยางที่ 1 ขอ ใดไมอาจอนุมานไดจากคาํ พดู ตอไปนี้ “จากการทดสอบทักษะภาษาไทยของนักศึกษา 400 คน มผี ูอยูในเกณฑดีเพียง 30 คน ไมม ผี ูทีไ่ ดค ะแนนในเกณฑด ีมากเลย อยา งนี้ไมเ รยี กวกิ ฤตไดอยางไร” 1. ผพู ดู เหน็ วาผลการทดสอบทกั ษะการใชภ าษาไทยไมน าพอใจ 2. ผพู ูดวติ กวาการเรยี นการสอนภาษาไทยในมหาวทิ ยาลยั ถงึ ขั้นตองปรับปรงุ 3. ผูพูดเหน็ วาความสาํ คัญของการเรียนการสอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัย 4. ผูพูดเหน็ วาไมม ีประโยชนที่จะจดั การเรยี นการทดสอบทกั ษะภาษาไทยในมหาวทิ ยาลัย คําตอบ ขอ 4. เพราะเปนการอนุมานที่ไมมีความสมเหตุสมผลและนอกประเด็นจากขอความที่กําหนดมาให จากขอสอบ ขางตน จะเห็นขอความที่ใหพ ิจารณานน้ั มีขนาดทส่ี นั้ มาก ทุกถอ ยคาํ ท่ีปรากฏจึงมีความสําคญั ตอการตีความและการหาความเปนเหตุ เปน ผลเพ่ือเลอื กคําตอบ ขอ 1. และ 2. สามารถอนมุ านไดจ ากขอ ความท่ีวา “มผี อู ยใู นเกณฑด เี พยี ง 30 คน ไมม ผี ทู ไ่ี ดค ะแนนในเกณฑด มี ากเลย อยา ง น้ีไมเรียกวิกฤตไดอยางไร” ซ่ึงการใชเรียบเรียงประโยคคําถามโดยไมหมายใหตอบ (ปฏิปุจฉา) แตมีนัยยะที่ตองการกระตุนคิดและ แสดงความไมพอใจทผ่ี พู ูดมีตอ ผลสัมฤทธก์ิ ารสอบและความผดิ พลาดในการจดั การเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ในมหาวทิ ยาลยั ขอ 3. อนุมานไดจ ากความรูสึกวติ กและเจตนาของผูพูดท่ีเนนยํา้ ถงึ ความบกพรอ งของการเรยี นการสอนในภาษาไทยทีต่ อ ง อยูภาวะวิกฤต จะตอ งดาํ เนินการแกไ ขอยางเรง ดว น ทําใหอนมุ านไดว า ผพู ูดเหน็ ความสําคัญของการสอนภาษาไทยใหม มี าตรฐานให ดขี ้นึ ขอ 4. ผูพูดเหน็ วา ไมม ปี ระโยชนท่ีจะจดั การเรยี นการทดสอบทกั ษะภาษาไทยในมหาวิทยาลยั เปน ส่ิงที่อาจอนมุ านไดเ พราะ ไมมีขอความสว นใดเลยทแี่ สดงถงึ ความไมมีประโยชนใ นการจัดการทดสอบ ตัวอยา งที่ 2 ขอ ความตอไปนใ้ี ชว ธิ กี ารอนุมานแบบใด “ขยะมลู ฝอยเปน ปญ หาสงิ่ แวดลอ มทสี่ าํ คญั ประการหนง่ึ ของประเทศไทย เพราะยงั ไมส ามารถเกบ็ ขยะมลู ฝอยตา งๆ ไปกาํ จดั ไดหมด มีขยะมลู ฝอยตกคา ง กอใหเ กิดปญ หาส่ิงแวดลอ มและเกิดผลกระทบตอสขุ ภาพของผคู น” 1. อนุมานจากเหตุไปหาผล 2. อนมุ านจากผลไปหาเหตุ 3. อนุมานจากเหตุไปหาเหตุ 4. อนมุ านจากผลไปหาผล คําตอบ ขอ 4. เพราะ เปน การอนมุ านแบบ ผลลัพธ สาเหตุ และผลลพั ธ สามารถแบง ขอ ความเพอ่ื ความชัดเจนตามการแบง 60 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ข้นั ตน ดงั นี้ / ขยะมูลฝอยเปนปญหาสิ่งแวดลอมท่สี ําคัญประการหนึ่งของประเทศไทย / เพราะยังไมสามารถเกบ็ ขยะมลู ฝอยตางๆ ไปกําจดั ไดห มด มีขยะมลู ฝอยตกคา ง / กอ ใหเ กิดปญ หาส่งิ แวดลอ มและเกิดผลกระทบตอสุขภาพของผคู น นองๆ สามารถศกึ ษาเพิม่ เตมิ ไดท ี่ Tag : ภาษาไทย, ความคิดกบั ภาษา, ภาษากับเหตุผล, อนมุ าน, อุปมาน, เหตุผล • ความคิดกบั ภาษา : ภาษากับเหตุผล ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch5-1 • ความคดิ กบั ภาษา : ภาษากับเหตผุ ล ตอนท่ี 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch5-2 • ความคิดกับภาษา : ภาษากบั เหตุผล ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch5-3 บันทกึ ชว ยจาํ ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 61

บทท่ี6 การแสดงทรรศนะ “ทรรศนะ” หรอื “ทศั นะ” (สามารถเขียนไดท้ัง 2 แบบ) โดยรูปศพั ทห มายถงึ ความคดิ เห็น การเห็น ก็ได ซึง่ ในการเรียนเร่อื ง นเ้ี ราจะใหค วามหมายของทรรศนะ คือ ความรูสึกนกึ คดิ หรอื ความคดิ เห็นที่ประกอบดวยเหตุผล ซ่ึงแมจะแตกตา งหรือขัดแยง กน็ ับวา มปี ระโยชนเ พราะเปน แนวทางใหผูอนื่ ไดม โี อกาสใชดุลยพินจิ ตัดสินใจเลือกวถิ ีทางดวยความรอบคอบย่งิ ข้นึ โครงสรา งของการแสดงทรรศนะ แบง ไดเ ปน 3 สว น คอื 1. ท่ีมา คือ ตนเหตุ หรอื สวนท่เี ปนเรือ่ งราวตางๆ ทีท่ าํ ใหเกิดการแสดงทรรศนะ 2. ขอ สนบั สนนุ คือ เหตผุ ลขอเท็จจริง หลักการ รวมทัง้ ทรรศนะหรือมตขิ องผอู ่นื ที่ผแู สดงทรรศนะนาํ มาใส เพ่ือสนับสนนุ ทรรศนะของตน 3. ขอสรปุ คือ สาระสาํ คัญทสี่ ดุ ของทรรศนะ อาจเปนขอ เสนอแนะ ขอวินิจฉัย หรอื ประเมินคา ความแตกตา งระหวางทรรศนะของบคุ คล ทรรศนะของคนในสงั คม อาจแตกตา งกันไป ขนึ้ อยกู ับส่งิ สาํ คญั 2 ประการคอื 1. คณุ สมบตั ิตามธรรมชาตขิ องมนุษย คือ คุณสมบตั ิที่ติดตวั มนษุ ยม าต้ังแตเกดิ ไดแก เชาว ปฏิภาณ ไหวพริบ ความถนดั เปนตน คา นิยม 2. อทิ ธพิ ลของสง่ิ แวดลอ ม คอื ทกุ สง่ิ ทกุ อยา งรอบตวั มนษุ ย ทาํ ใหม นษุ ยม คี วามรู ประสบการณค วามเชอ่ื และคา นยิ มทแ่ี ตก ตา งกัน ซึ่งสง ผลโดยตรงตอ การมีทรรศนะท่ตี า งกนั ดวย คาํ ศัพทตอ ไปน้ี นอ งๆ จะจําความหมายดๆี นะ จะไมไ ดส บั สน ความรู ------ ความเขาใจ ความชาญฉลาดและการรจู ักคดิ วเิ คราะห ประสบการณ ------ สง่ิ ท่เี กดิ จากการทเี่ ราไดก ระทาํ หรอื พบเห็นบางสงิ่ บางอยางมาในชวี ิต ความเชอื่ ------ การมคี วามเช่อื และความศรัทธาในส่งิ ตา งๆ เชน ศาสนา เศรษฐกจิ การเมอื ง และไสยศาสตร ------ ความรูสึกทอี่ ยูในจติ ใจของแตล ะคน อันเปน ส่งิ ท่สี งั คมพงึ ปรารถนาทีจ่ ะเปน เปา หมายของสงั คม และปลกู ฝง ใหส มาชิกของสังคมยดึ ถอื และแกไข เชน ความรํา่ รวย ความยากจน ความซือ่ สตั ย และการเปน คนดี เปนตน ประเภทของทรรศนะ 1. ทรรศนะเกีย่ วกบั ขอเทจ็ จรงิ คือ ทรรศนะที่เกี่ยวกับเรื่องที่เกดิ ข้นึ แลวแตยังเปนเรอ่ื งถกเถียงของคนในสงั คมเพราะ ยังหาขอเท็จจริงไมได ผลที่เราจะไดจากทรรศนะประเภทนี้ จึงเปนเพียงการสันนิษฐาน การคาดการณตามความคิดและความเชื่อ เทา น้ันจะนา เช่อื ถือเพยี งใดข้ึนกบั ขอ สนับสนนุ 2. ทรรศนะเกย่ี วกบั นโยบาย เปนทรรศนะทเ่ี สนอใหท ําส่งิ หน่งึ สงิ่ ใด โดยเราจะบอกขน้ั ตอนจดุ ประสงค ประโยชนท่ีไดร บั และแนวทางการแกไ ขปญ หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ดว ย การแสดงทรรศนะเกยี่ วกบั นโยบาย มกั จะตอ งเสนอขอ เทจ็ จรงิ เพอื่ สนบั สนนุ นโยบายและ ประเมินคานโยบายที่เสนอนั้นดว ย 62 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

3. ทรรศนะเกี่ยวกับคุณคา ทรรศนะประเภทนีเ้ ปน การตัดสนิ วา สง่ิ ใดดหี รือดอยเปน ประโยชนห รือโทษ สิง่ เหลา น้ันอาจเปน วัตถุ บุคคล กิจกรรม วิธีการหรือแมแตทรรศนะก็ได ผูแสดงทรรศนะอาจจะประเมินคาดวยการเปรียบเทียบกับสิ่งของท่ีมีลักษณะ เดียวกันตามเกณฑท ก่ี าํ หนดข้ึน วิธีการสงั เกต ประเภท สถานการณ ลักษณะขอความ ผลของทรรศนะ ขอ เทจ็ จรงิ ----> พูดทว่ั ไป ----> เรือ่ งถกเถียง ----> การคาดการณแ ละขอสันนษิ ฐาน นโยบาย ----> ที่ประชมุ ----> การนําเสนอ ----> แนวทางการพฒั นาและการแกไ ขปรับปรุง คุณคา ----> ทีป่ ระชมุ ---> ประเมินของสง่ิ ใดส่งิ หน่ึง ----> ด,ี ไมด ี, มปี ระโยชนหรอื ไมม ีประโยชน หมายเหตุ ทรรศนะทเ่ี ปน นโยบายมกั จะอยกู ับขอเทจ็ จริง วธิ ใี ชภาษาในการแสดงทรรศนะ การใชภ าษาเพอ่ื แสดงทรรศนะนนั้ เราจะตอ งใชถ อ ยคาํ กะทัดรดั ใชค าํ ท่ีมคี วามหมายแจม ชดั การเรยี งลาํ ดบั ความไมส บั สน วกวน และตองใชภาษาใหถ กู ตอ งกบั ระดบั การสอ่ื สาร และใชส าํ นวนอยา งถูกตอง อยา งไรก็ตามการใชภ าษาในการแสดงทรรศนะมี ลักษณะบางประการ ดังนี้ 1. ใชสรรพนามบุรุษที่ 1 หรือคํานามที่ประกอบคาํ กริยากับกริยาวลที ี่ชี้ชดั วาเปน การแสดงทรรศนะ เชน พวกเรามีความเหน็ วาการรบั นองตอ งเปน กิจกรรมท่ีสรา งสรรค, ผมขอสรุปวาการพัฒนาการเรยี นรูตองเริ่มจากผเู รียนเปนสาํ คญั , ขา พเจา เขาใจวา การมี คุณธรรมคือจดุ เร่มิ ตน ของความด,ี ผมถงึ บอกวาการจะสรางถนนจะตอ งคํานึงงบประมาณและประโยชนของประชาชน 2. ใชค าํ หรอื วลที บ่ี ง ชี้วา เปน การแสดงทรรศนะ เชน คาํ วา นา นาจะ คง คงจะ ควร ควรจะ พึง พงึ จะ มกั และ มกั จะ เชน รฐั บาลนา จะทบทวนนโยบายการศกึ ษาใหม คณะนกั เรยี นคงเขา ใจผดิ วา ครฝู า ยปกครองจะบงั คบั ใหต ดั ผมเกรียน โรงเรยี นควรจะตอ ง คํานงึ ถึงความสขุ ในการเรยี นรู เยาวชนไทยทกุ คนพงึ จะรจู ักบทบาทหนา ทีใ่ นการเปนพลเมืองดี การประเมนิ คาทรรศนะ 1. ประโยชนแ ละลกั ษณะสรา งสรรค ทรรศนะทีด่ คี วรกอ ใหเกิดประโยชน และกอใหเ กดิ สิ่งแปลกใหม ทีน่ ําไปใชประโยชนได ขณะเดียวกนั กย็ ดึ มัน่ ในส่ิงดงี ามของสังคมไว 2. ความสมเหตุสมผล คอื ขอ สนบั สนนุ ตองมีนํ้าหนกั พอทจ่ี ะทาํ ใหขอ สรุปนาเช่อื ถือ 3. ความเหมาะสมกบั ผรู บั สารและกาลเทศะ ในการพจิ ารณา จะตอ งพจิ ารณาดว ยวา ทรรศนะนนั้ แสดงแกผ ใู ดและในโอกาส ใด เพื่อจะประเมนิ ไดว า เหมาะสมหรือไม 4. ภาษาทใี่ ชม ีความชดั เจน ถกู ตองตามหลักภาษาและระดบั ภาษาการสอ่ื สาร ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 63

แนวการทําขอสอบเร่อื งการแสดงทรรศนะ นอ งๆ เร่อื ง การแสดงทรรศนะ นบั ไดว า เปนสาระหนึง่ ที่ออกขอสอบจาํ นวนมาก จะออก 2 ลักษณะ คอื การหาวา ขอ ใดเปน แสดงทรรศนะ และ การใหว เิ คราะหข อ ความแลว ใหห าโครงสรา งการแสดงทรรศนะ ประเภทของทรรศนะและปจ จยั ทท่ี าํ ใหเ กดิ ทรรศนะ ระวงั อยาสบั สนกันนะ การหาวา ขอ ใดเปน แสดงทรรศนะ ตอ งหาคาํ บง ชใ้ี หไ ด เชน นา นา จะ คง คงจะ ควร ควรจะ พงึ พงึ จะ มกั และ มกั จะ ตัวอยา ง ขอ ใดเปน การแสดงทรรศนะ 1. การกวดวชิ าเปนคา นิยมทีเ่ กิดมานานแลว เดก็ ไทยจาํ นวนมากรสู ึกวา การเรียนกวดวชิ าเปน ความจําเปน อยา งหนึง่ 2. ไมวา จะเกดิ ความวติ กกงั วลหรือกลัวสักเพียงใด วันสอบจะตอ งมาถึง ไมว า จะพรอมหรอื ไมพรอ มก็ตองเขาสอบ 3. ความรูจ ะเกิดขนึ้ ไดตองเกิดจากตัวนกั เรยี นเอง จงึ จําเปนอยางยิ่งทโ่ี รงเรยี นควรจะตองมีหอ งสมุดไวบริการ 4. เดก็ ไทยเราน้ันเรียนรูทจี่ ะทอ งจําแตไมสามารถดดั แปลงความรูท ที่ องจํานนั้ มาใชก ับสงั คมยุคใหมไ ด คาํ ตอบ ขอ 3. สงั เกตไดจากคําวา “ควรจะ” การใหวิเคราะหขอความแลวใหหาโครงสรางการแสดงทรรศนะ ประเภทของทรรศนะและปจจัยท่ีทําใหเกิดทรรศนะ ขอสอบนี้มักจะมีตัวเลือกที่คลายคลึงกัน อาจทําใหเกิดการสับสนในตัวเลือก ดังน้ันส่ิงท่ีสําคัญที่เราจะตองเขาใจแนวคิดและจําคํา บง ช้ีใหได ดงั นี้ 1. สังเกตคาํ สนั ธาน (เพราะ ทาํ ให สงผล) แลวแบง วรรคตอนของขอ ความ 2. หาคาํ บงชี้ เชน ควร ควรจะ พงึ พงึ จะ นา จะ เสยี กอน 3. วเิ คราะหโครงสรา งและปจจยั ท่ที ําใหเ กิดทรรศนะ ตวั อยาง พจิ ารณาตัวอยางขอ สอบตอไปน้แี ลว หาโครงสรา งการแสดงทรรศนะ ประเภทของทรรศนะและปจจยั ท่ที ําใหเ กดิ ทรรศนะ “ปญ หารนุ พใ่ี ชค วามรนุ แรงกบั นกั ศกึ ษาใหมเ กดิ ขนึ้ เปน ประจาํ ทกุ ป ทงั้ ๆ ทก่ี อ นปก ารศกึ ษาใหมจ ะเรม่ิ ขนึ้ ผบู รหิ ารของกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารกไ็ ดม คี าํ แนะนาํ ไปยงั สถาบนั การศกึ ษาตา งๆ ถงึ แนวทางการรบั นอ งทจี่ ะไมส รา งปญ หา / ตอ จากนผ้ี เู กยี่ วขอ งคงตอ งวางแผน และหาแนวทางการแกไ ขปญ หาระยะยาว / เพราะไมว า จะเปน รนุ พรี่ นุ นอ งตา งกเ็ ปน ทรพั ยากรบคุ คลของประเทศ” คําตอบ โครงสรา งของทรรศนะน้ี คอื ทม่ี า ขอสรปุ (สังเกตจากหนาเพราะมกั เปนขอ สรปุ ) และขอสนับสนุน ตามลําดับ ประเภทของทรรศนะ คือ นโยบายและขอ เทจ็ จริง ปจ จัยท่ที ําใหเกิดทรรศนะ คอื ประสบการณ 64 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นอ งๆ สามารถศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ไดท ่ี Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, ทรรศนะ, โตแยง, โนมนา วใจ, ความคิดเห็น • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 19 ทรรศนะ โตแยง โนม นาวใจ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch6-1 • ความคดิ กับภาษา : การแสดงทรรศนะ ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch6-2 • ความคิดกับภาษา : การแสดงทรรศนะ ตอนท่ี 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch6-3 • ความคดิ กับภาษา : การแสดงทรรศนะ ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch6-4 บนั ทกึ ชว ยจํา ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 65

บทที7่ การโตแยง การโตแ ยง คอื การแสดงความคดิ เหน็ (ทรรศนะ) ทแี่ ตกตา งระหวา งสองฝา ย โดยการพยายามเปลยี่ นความเชอื่ และทศั นคติ ของผูอน่ื โดยใชขอมูล สถติ ิ หลกั ฐาน เหตผุ ล และทรรศนะของผูร ู มาอา งอิง เพอื่ สนับสนนุ ทรรศนะของตนและคดั คา นทรรศนะของ อกี ฝายหนงึ่ การโตแยงอาจยุติลงไดโดยการตัดสินหรือการวินจิ ฉัยของบุคคลทโี่ ตแยง ขอ พงึ ระวงั นอ งๆ การโตแ ยง ไมใ ชก ารเถยี ง เพราะการโตแ ยง จะตอ งใชข อ มลู อา งองิ และการโตเ ถยี งไมไ ดใ ชเ นน ความรสู กึ และอารมณอยา งเดยี ว โครงสรางการโตแ ยง ประกอบดว ย 1. ขอ สรปุ 2. เหตผุ ล (ผลสนบั สนนุ ) หัวขอและเน้ือหาของการโตแยง หัวขอและเน้ือหาที่เราจะตั้งแลวนํามาโตแยง ไมจํากัดขอบเขตแตส่ิงแรกท่ีควรคํานึงก็คือ การกําหนดขอบเขตใหชัดเจนวา จะโตแ ยง ดวยหัวขอใดและมีประเด็นอะไรท่นี ํามาพิจารณาบา ง กระบวนการโตแ ยง 1. การต้ังประเด็นการโตแ ยง หมายถงึ คาํ ถามท่กี อใหเกดิ การโตแ ยง โดยคกู รณจี ะเสนอคําตอบตอคําถามไปตามทรรศนะ ของตน โดยปกติคําตอบที่เราจะไดก็แตกตางกันไป ขอสําคัญในการโตแยงจําเปนตองรูจักต้ังประเด็นโตแยง เพ่ือไมใหโตแยงกัน นอกกรอบ ซึ่งการตั้งประเด็นการโตแ ยง แบงออกเปน 3 ประเภท ดังน้ี - การโตแยง เกย่ี วกับขอ เสนอเพ่ือใหเ ปลย่ี นแปลงสภาพเดมิ จะเปน ประเด็นทเี่ กย่ี วกบั สภาพเดิมหรือสภาพที่เปน อยู มขี อ เสียหายหรอื ไม อยา งใด - การโตแ ยง เกยี่ วกบั ขอ เทจ็ จรงิ มกั จะเปน ประเดน็ เนน ในเรอ่ื งของความหนกั แนน ของเนอื้ หาหลกั ฐานทม่ี ขี อ พสิ จู น และถกู ตองชัดเจนเพยี งไร - การโตแ ยงเกี่ยวกับคณุ คา มกั จะขึ้นอยกู ับความรูสึกสว นตวั ไมอ าจกําหนดประเดน็ ทแ่ี นนอนได 2. การนยิ ามคําสําคัญท่ีอยใู นประเด็นโตแ ยง คือ การกาํ หนดความหมายของคาํ ตางๆ เพอื่ กอใหค วามเขา ใจตรงกันนัน่ เอง การโตแยงก็ยอมจะไปในทิศทางเดียวกัน อาจจะนิยามตามพจนานุกรม คําอธิบายของผูรูที่เขียนไวเปนลายลักษณอักษร การ เปรยี บเทียบ หรือการยกตัวอยา งก็ได 3. การคนหาและการเรยี บเรยี งขอสนับสนนุ ทรรศนะของตน คือ การหาขอ สนบั สนนุ ดว ยเอกสาร หลักฐานมาเพิม่ นํ้าหนกั ของเหตุผลทจ่ี ะโตแ ยง 4. การชีใ้ หเหน็ จุดออนของฝายตรงขา ม คือ การชแี้ จงจุดบกพรองในการโตแยงของฝายตรงขา ม ซ่ึงสามารถทําไดห ลาย วธิ ี เชน ชใี้ หเ หน็ ถงึ การกาํ หนดนยิ ามทแี่ คบ ไมร ดั กมุ ขอ มลู ไมม นี า้ํ หนกั และเหตผุ ลทเ่ี พยี งพอ หรอื เปน แหลง ขอ มลู ทไ่ี มน า เชอื่ ถอื และ การนาํ เสนอขอ มูลในการโตแ ยง ไมชัดเจนและไมตองตามประเดน็ 66 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

การวนิ จิ ฉัยเพ่อื การโตแ ยง มี 2 วธิ ี 1. พจิ ารณาเฉพาะเนือ้ หาสาระที่แตล ะฝา ยนํามาโตแยง กัน เชน การตัดสนิ คดแี ละการโตว าที 2. วนิ จิ ฉัยโดยใชด ลุ พินจิ ของตนประกอบดวย เชน การลงมติ ิในท่ปี ระชมุ การเลือกตงั้ ขอ ระวังในการโตแยง 1. ผูโ ตแยง ควรหลีกเลยี่ งการใชอารมณ 2. ผโู ตแยงควรมีมารยาทในการใชภ าษา ทงั้ วัจนภาษาและอวัจนภาษา 3. ผูโตแยงควรรูจักเลือกประเด็นในการโตแยงอยางสรางสรรค หรือไมเมื่อโตแยงกันแลวไมกอใหเกิดประโยชน และ บางประเด็นโตแ ยง ไมไ ดเ พราะกระทบกระเทอื นผอู ืน่ กลวธิ ีการใชภ าษา ภาษาในการโตแยง เราจะสามารถสังเกตไดจากคําสันธานที่เช่ือมใจความขัดแยงกัน ไดแกคําวา แต แตวา ถึง…ก็ กวา…ก็ เชน เรอื่ งท่คี ุณเสนอก็นาสนใจ แตมันเปนเรือ่ งทไ่ี มน า จะเปน ไปได ถึงเขาจะสวยสกั แคไ หน ฉันกไ็ มสนใจเขาแลว กวา คุณจะออกแบบเสร็จ โครงการของเรากห็ มดอายุสัญญาพอดี กลวิธีการนําเสนอ การโตแยงน้ันจะนําเสนออยางมีเหตุผลและนุมนวล จะไมแสดงกิริยาอาการที่รุนแรง ใชคําหยาบคาย หรอื ใชค ําทแี่ สดงวาเปน การขัดแยง อยา งชัดเจน เชน เรือ่ งส้ันของคุณนาสนใจมาก แตค ุณควรปรบั แกบ างขอ ความท่ียงั ไมส มจรงิ ความคิดของคณุ คอ นขางทันสมยั แตเราจะมีบุคลากรทีจ่ ะปฏิบัติงานไดเ พยี งพอกบั วิทยาการหรือไม ท่คี ุณพูดมานนั้ ดิฉันเหน็ ดวยกบั หลกั การ แตค ดิ วาจะดาํ เนินการไดย าก ผมไมเหน็ ดว ยกับคณุ เรื่องท่ีคณุ นาํ มาเสนอนน้ั ยังไมม เี หตผุ ลพอ เกบ็ ความคดิ ของคุณไวก อน แลวไปหาขอมลู และหลักฐานมาใหเพียงกอนนําเสนอ กลวิธีการต้ังประเด็นการโตแ ย ง การตั้งประเด็นโตแ ยง จะไมต ้ังประเด็นท่ีวิทยาศาสตรพ ิสูจนแ ลว และตอ งต้ังประเด็น โตแ ยง อยา งสรา งสรรค การสรา งชาตดิ วยปญ ญาสําคญั กวา การพฒั นาดว ยคณุ ธรรม การจํากดั เขตการประเวณี ชว ยแกป ญหาการคา มนษุ ยไดจรงิ หรอื การใชป ุยเคมีดกี วาปยุ ธรรมชาติ เดก็ ทารกควรด่ืมนมแมมากกวานมผง ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 67

แนวการทําขอสอบเร่ืองการโตแ ยง ขอสอบเรื่องการโตแยง นับไดวาเปนขอสอบท่ีนองๆ จะสามารถทําคะแนนได เพราะขอสอบเร่ืองน้ีไมไดออกยุงยาก ซบั ซอ น แตนองๆ อยา ลมื ขอ สาํ คัญเพยี งวา “การโตแยง ไมใ ชก ารโตเ ถียง” ซง่ึ วิธีการจําใหจาํ เปน หลกั การดงั นี้ “ต้ังประเด็นอยา งสรางสรรค โตแยง กันดว ยเหตุผล ไมน ําอารมณมาเกยี่ วของ และขอมลู ตอ งหนกั แนนชัดเจน” หากจําวธิ กี ารไดอ ยา งแมนยาํ แลว ลองพจิ ารณาตวั อยางขอ สอบเพ่ือเปน แนวทางตอไป ตวั อยางที่ 1 ขอ ใดเปน ประเดน็ การโตแ ยง 1. รัฐบาลควรมีนโยบายถาวรท่ีจะแกวกิ ฤตกิ ารณข าดแคลนนํา้ บา งไหม 2. รฐั บาลและประชาชนควรรว มมอื กันบริหารการใชน ้ําอยา งไร 3. ปญ หาการขาดแคลนนํา้ เกดิ จากการนําไปใชผลติ ไฟฟามากเกินไปหรือไม 4. ภาวะเศรษฐกจิ ในปจจบุ ันทําใหความตองการใชก ระแสไฟฟา ลดลงเพยี งใด คาํ ตอบ ขอ 3. เพราะ ปญ หาการขาดแคลนน้าํ เกดิ จากการนาํ ไปใชผ ลติ ไฟฟามากเกินไปหรือไม เปน ประเด็นในการโตแ ยง เพราะสามารถเสนอแนะหรือคาํ ตอบไดมากกวาหนงึ่ แนวทาง อกี ท้งั ใหสงั เกตคําวา “หรือไม” เปนสําคญั แตตวั เลอื กอืน่ เปน การต้งั คาํ ถามเพอ่ื คาํ ถามอยางเฉพาะเจาะจงสังเกตจากคาํ วา “ไหม อยางไร เพียงใด” จงึ ไมเ ปนการตั้งประเด็นเพอื่ การโตแ ยง ตัวอยา งที่ 2 “คําวา ทูล ในทลู เกลาทูลกระหมอมนั้น พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถานกําหนดใหใ ช ทลู พระวรวงศเ ธอกรมหมื่นพิทย ลาภพฤฒิยากร รับส่งั วา โบราณใช ทนู เกลา ทูนกระหมอมเพราะ หมายถงึ ยกขนึ้ ทนู หวั สว น ทลู ภาษาเขมร แปลวา บอก ความหมาย ไมเ ขากัน จึงไมจ าํ เปนตองยืมมาใชใ นกรณีน้ี อยา งไรก็ตามคณะรัฐมนตรีมีมติใหใ ชตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน จึงตอ งใช ทลู เกลาทูลกระหมอ มถวาย” จากขอ ความขา งตนน้ี ประเดน็ ทีส่ ําคัญทสี่ ดุ ในการโตแ ยงคอื อะไร 1. คาํ ราชาศพั ทบ างคําท่ีใชอยูใ นปจ จบุ นั ถูกตอ งหรอื ไม 2. เราควรยืมคาํ ภาษาเขมรมาใชเ ปน คาํ ราชาศัพทหรือไม 3. เราควรยดึ หลกั โบราณในการใชคาํ ราชาศัพทหรอื ไม 4. พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถานถกู ตอ งเสมอหรือไม คาํ ตอบ ขอ 1. เพราะมีความเหน็ ไมต รงกนั ระหวางของคนโบราณกับคาํ บางคําทบ่ี งั คับใชใ นพจนานุกรม อีกทงั้ ขอ 1. ยัง เปนการตัง้ ประเดน็ ในการโตแยงอยา งสรา งสรรคอ กี ดว ย 68 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

นอ งๆ สามารถศึกษาเพิ่มเตมิ ไดท ี่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, ทรรศนะ, โตแยง, โนมนาวใจ, ความคิดเห็น • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 19 ทรรศนะ โตแยง โนมนา วใจ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch7-1 • ความคิดกบั ภาษา : การโตแยง ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch7-2 • ความคิดกบั ภาษา : การโตแยง ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch7-3 • ความคดิ กับภาษา : การโตแ ยง ตอนที่ 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch7-4 บนั ทึกชวยจาํ ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 69

บทท8ี่ การโนม นาวใจ การโนมนาวใจ คอื การสอ่ื สารเพ่อื เปลยี่ นความเชือ่ ทัศนคติ คา นยิ มและการกระทําของผอู ืน่ ดวยวธิ ีการที่เหมาะสม สง ผล กระทบตอจิตใจของบคุ คลจนเกดิ การยอมรบั และยอมเปลี่ยนแปลงตามท่ผี ูโนม นา วตอ งการ หลักการโนม นาวใจ คือ การทําใหม นษุ ยเกิดความเชอ่ื เห็นประโยชนข องสงิ่ ที่ผโู นม นา วใจไดชีแ้ จงหรอื ชักนาํ แลว ผูโนม นา ว ก็จะไดรับผลตามตอ งการ แตถ าผฟู ง ไมค ลอ ยตามแลว การโนมนาวใจยอ มไมสาํ เร็จ กลวิธกี ารโนม นาวใจ 1. การแสดงใหเ หน็ ถงึ ความนา เชอื่ ถอื ของบคุ คลผโู นม นา วใจ คอื การสอื่ สารทแี่ สดงใหเ หน็ คณุ ลกั ษณะทส่ี าํ คญั 3 ประการ คอื มคี วามรจู รงิ มคี ุณธรรมและมคี วามปรารถนาดตี อ ผูอ่นื 2. การแสดงใหเ หน็ ถงึ ความหนกั แนน ของเหตผุ ล คอื ผโู นม นา วจะตอ งเชอื่ มนั่ ทแี่ สดงใหเ หน็ วา สง่ิ ทก่ี าํ ลงั โนม นา วมเี หตผุ ล หนักแนน และมีคุณคา คูควรตอ การยอมรับอยางแทจ ริง 3. การแสดงใหประจักษถึงความรูสึกหรืออารมณรวมกัน คือ การโนมนาวจิตใจของผูท่ีขัดแยงหรือปฏิปกษ เกิดการ คลอยตามตอส่งิ ท่ีกาํ ลังนําเสนอ 4. การแสดงใหเห็นทางเลือกท้ังดานดีและดานเสีย คือ การเปรียบเทียบใหเห็นขอดีและขอเสีย การเปดโอกาสใหผูที่ตน โนมนา วใจใชวจิ ารณญาณตดั สนิ เลือก หากผูทเ่ี ราโนม นา วตดั สินเลอื กตามในส่ิงที่เรานําเสนอกถ็ ือวา การโนมนา วใจสมั ฤทธิ์ผล 5. การสรางความหรรษาแกผูรับสาร คือ การโนมนาวเพื่อสรางความหรรษา โดยอาจจะใชวิธีการพูดทีเลนทีจริงหรือพูด หยอกลอ เพือ่ ผอนคลายความเครียดและสรา งความสนุกสนาน ทัง้ นตี้ อ งข้ึนอยกู ับเวลา สถานที่ และบุคคลดว ย 6. การเราใหเกิดอารมณอยางแรงกลา คือ การตอบสนองตอความรูสึกของมนุษยไมวาจะเปนการดีใจ โกรธแคน กังวล หวาดกลวั ซง่ึ มนษุ ยม กั จะขาดเหตุผล การโนม นา วยอ มจะเกิดการคลอยตามไดงาย ภาษาท่ีใชในการโนมนา วใจ เนื่องจากจุดประสงคสําคัญของการโนมนาว คือ ทําใหผูท่ีเราโนมนาวคลอยตาม ดังนั้นภาษาท่ีใชจะเปนภาษาสุภาพ ไม หยาบคาย ไมบ งั คบั หรอื แสดงอํานาจแตอ ยางใด แตจะใชน้ําเสยี งทีน่ มุ นวลซ่งึ เปน ลกั ษณะเชิงเสนอแนะ ขอรอ ง วงิ วอน หรอื เรา ใจ โดยจะใชถ อยคําที่กระชบั รดั กุม เชน คาํ ขวัญ คาํ โฆษณาและคําเชญิ ชวน ลกั ษณะของสารโนมนา วใจ 1. คาํ เชญิ ชวน สารลกั ษณะนจี้ ะเปน เชงิ วฒั นะ เนน การแนะนาํ ใหช ว ยกนั กระทาํ อยา งใดอยา งหนง่ึ เพอื่ สรา งประโยชนใ หแ ก สังคม โดยใชกลวิธีชี้ใหผูถูกโนมนาวเกิดความภาคภูมิใจถาปฏิบัติตามคําเชิญชวนมักจะพบในการเขียนคําขวัญ แถลงการณ เพลง ปลุกใจ บทความปลกุ ใจ หรอื การพดู ในโอกาสตางๆ เชน 70 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

- ทรัพยากรนาํ้ มวี ันหมด ใชทุกหยดอยางรูคุณคา - รักในหลวง หวงลูกหลาน ชวยกันตานยาเสพติด - รกั เมืองไทย ชชู าตไิ ทย ทะนุบํารงุ ใหร งุ เรือง สมเปน เมอื งของไทย (เพลงรักเมืองไทย) 2. โฆษณาสนิ คา หรือบริการ เปน สารโนมนาวทมี่ งุ ขายสินคา และบริการ เพอื่ ประโยชนทางธุรกิจ โดยการใชถอยคาํ ที่แปลก ใหมสะดุดหู สะดดุ ตา มขี นาดขอความสั้น แตมงุ เนน ลักษณะพเิ ศษที่เกินจรงิ เพ่ือสรา งความนา สนใจใหแ กสินคา และบรกิ ารน้ันๆ  - อารซี จบิ เดยี วจบั ใจ ขวดใหญบาทเดยี ว - มนิ คิ กุ ก้ี เล็กๆ แตเ รา ใจ - หานดินกินหญา หา นฟากนิ ยุง 3. โฆษณาชวนเชื่อ เปนการสอ่ื สารท่จี ูงใจใหเ ปลีย่ นความเชื่อของบุคคลจํานวนมากใหเ ปน ไปตามความตองการของตน โดย ไมค าํ นงึ ความถกู ตอ งและขอ เทจ็ จรงิ การโฆษณาชวนเชอื่ มี 2 ประเภท คอื โฆษณาชวนเชอื่ ทางการคา และการโฆษณาชวนเชอ่ื ทางการ เมอื ง ซงึ่ เจตนาของสารลกั ษณะนจี้ ะเปนเชงิ หายนะมากกวาวฒั นะ จงึ ควรใชวจิ ารณญาณในการพจิ ารณาสาร โดยมกี ลวธิ ีการสอ่ื สาร โดยการตราชื่อฝงตรงขา ม มงุ ทีจ่ ะทาํ ลายความเชือ่ ความศรัทธาและปฏิเสธกับความคดิ น้ันๆ มกี ารใชถอยคําท่ีหรหู รา มีอา งบคุ คล หรือสถาบันตางๆ การทาํ ตัวเหมอื นชาวบา นธรรมดาและการอา งถึงผูมีอทิ ธิพลหรือผทู มี่ ีคนนับถือ เพ่ือเพิ่มความเล่ือมใสศรทั ธาและ คลอยตามความคดิ ทีน่ ําเสนอนั้นๆ เชน - ประชาชนตองมากอน - ไมหว่ันแมวนั มามาก แนวทางการทาํ ขอ สอบ เน่ืองจากการทําขอสอบการโนมนาวใจนั้น นองๆ จะตองระวังการเลือกตัวเลือกใหดีเพราะมีความคลายคลึงและใกลเคียง กนั มาก คาํ บง ชกี้ ไ็ มช ดั เจน ดงั นนั้ การทาํ ขอ สอบตอ งเขา ใจจดุ ประสงคข องการสอ่ื สาร ซง่ึ การโนม นา วนนั้ จะเนน การเชญิ ชวนใหท าํ และ ใหเชื่อสิง่ ตา งๆ โดยใชถ อยคําทมี่ ีผลตอ ความรูสกึ ของมนุษย กลวิธีการจาํ คือ “เชิญชวนใหท ํา ยํ้าคําใหความคิด ฟง สะกิดใจสะดุดห”ู ดงั ตัวอยางตอ ไปนี้ - “อานหนงั สอื วนั ละหนา และเพิม่ คณุ คาแกช วี ิต” เปน การโนมนาวใจใหท าํ ตาม - “การฝกโยคะสามารถชว ยใหผอนคลาย รกั ษา สรางความแข็งแรง ยดื เสน ยดื สาย ระบบกระดกู กลามเน้อื กลาม เน้ือหัวใจ ระบบการยอยอาหาร และระบบประสาท ผลทางดานจิตใจ การฝกทาโยคะอยางตอเนื่องจะมีผลอยางล้ําลึกตอรางกาย ภายในโดยทําใหเกิดความมั่นคงทางอารมณ สมาธิ และความม่ันใจ” เปนการใชความหนักแนนของเหตุผลและชี้ชัดถึงประโยชน สง ผลใหผูรบั สารคลอยตาม - “ขาววงิ้ ขาวจรงิ ตอ งครมี นางนวล” เปน การใชถ อ ยคาํ ทสี่ ะดดุ หแู ละสะกดิ ใจผรู บั สาร เมอื่ เขา ใจหลกั การเรยี บรอ ย แลว มาประลองสมองวิเคราะหตัวอยางขอ สอบกันเลย ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 71

ตวั อยา งที่ 1 การใชภาษาโนมนาวใจขอใดไมส มเหตสุ มผล 1. ยางรถยนตทล่ี าํ้ หนา ทางเทคโนโลยเี พ่อื ความปลอดภยั 2. สระวายนา้ํ ระบบไรท อ ไรก ารรวั่ ซึมชว ยชะลอวัย 3. อาหารสดสะอาดดว ยคุณภาพทคี่ ดั สรรอยางพถิ ีพิถนั 4. สมั ผสั ธรรมชาติอยางใกลช ดิ ดว ยเสนหแ หง บา นสวนชายนา้ํ คําตอบ ขอ 2. เพราะ สระวายนา้ํ ระบบไรท อ ไรก ารรวั่ ซึมชว ยชะลอวยั ไมส มเหตุสมผล ตัวอยา งท่ี 2 ขอ ใดไมมคี วามหมายในทํานองเชญิ ชวน 1. เลกิ เหลาเขาพรรษา 2. คนไทยตองชว ยไทย 3. รกั แมเชือ่ ฟง แม 4. มหัศจรรยวนั กีฬา คาํ ตอบ ขอ 4. เพราะ มหศั จรรยว นั กฬี า มีลักษณะเปนขอความธรรมดาทไี่ มไ ดใชภ าษาในการเชิญชวนตางจากขอ อื่น ทจี่ ะ แฝงการเชิญชวนใหทําหรอื ใหค ิดตาม นองๆ สามารถศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดท ี่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, ทรรศนะ, โตแยง, โนม นา วใจ, ความคิดเห็น • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 19 ทรรศนะ โตแยง โนม นา วใจ http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch8-1 • ความคิดกบั ภาษา : การโนม นา วใจ ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch8-2 • ความคดิ กับภาษา : การโนม นาวใจ ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch8-3 72 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท่9ี การอธิบาย บรรยาย พรรณนาและโวหารการเขียน การอธิบาย บรรยาย พรรณนา คาํ วา “อธบิ าย บรรยายและพรรณนา” เปน คาํ ทฟี่ ง ดแู ลว มคี วามละมา ยคลา ยคลงึ กนั อยา งยงิ่ จนทาํ ใหน อ งๆ เกดิ ความสบั สน และวติ กวา ทาํ อยา งไรจะแยกหวั ขอ เหลา นอ้ี อกจากกนั แตแ ทท จี่ รงิ แลว การอธบิ าย บรรยาย และพรรณนา นน้ั เปน งานเขยี นทมี่ ลี กั ษณะ เฉพาะตัว สามารถสังเกตและแยกออกจากไดงา ย ดงั น้ันเลิกกังวลแลวมาเรยี นรพู รอ มๆ กัน - การอธบิ าย คอื การทาํ ใหบ คุ คลอน่ื มคี วามรู ความเขา ใจในเรอ่ื งตา งๆ ทงั้ ทเี่ ปน ความจรงิ ความสมั พนั ธ หรอื ปรากฏการณต า งๆ ทงั้ ทเ่ี ปน ธรรมชาติหรอื เปนปรากฏการณทางสงั คม กลวิธีการอธิบาย 1. การอธบิ ายตามลาํ ดบั ขน้ั ตวั อยาง การทอดไขเจียวใหนา รับประทาน เรมิ่ จากการนาํ น้าํ มันพชื ในกระทะประมาณ 2 ชอนโตะใสใ นไข แลว ตใี หเ ขา กนั จน เปน เน้ือเดยี วกนั รอใหก ระทะรอ นจึงเอาไขท ต่ี ีเทลงไป กเ็ สรจ็ สรรพพรอ มเสิรฟ 2. การอธบิ ายโดยการใชต ัวอยาง ตวั อยาง สมนุ ไพรถือเปนหนึ่งแนวทางการใชร กั ษาโรคที่คนไทยนิยมกันมาชา นาน แตการเลือกใชสมนุ ไพรน้นั จะตองคาํ นึง ความปลอดภัยใหมากข้ึน อีกท้ังหลีกเล่ียงและระมัดระวังผลขางเคียงท่ีอาจเกิดขึ้นได เชน ไขสูง ตัวรอน อาเจียน ปวดทอง หรือ ทอ งเดนิ อยางรนุ แรง หากมีอาการขา งตนควรหยุดใชและรบี พบแพทย 3. การเปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกตาง ตัวอยาง ดอกกหุ ลาบและดอกทิวลปิ คือดอกไมท ีไ่ ดร ับความนิยมมากทีส่ ุด ในการเลือกซ้อื ดอกไมแ สดงความรัก ซงึ่ ดอกไม ทั้งสองชนดิ ก็มีความหมายแตกตา งกนั ออกไป ดอกกหุ ลาบ หมายถึง ความรักทีเ่ ด็ดเดี่ยว ทระนง และม่นั คง แตด อกทวิ ลิป หมายถึง ความใฝฝ น คูรักทสี่ มบูรณแบบ และความรักทีเ่ ปด เผย 4. การชี้สาเหตุและผลลัพธท ่ีสัมพนั ธก ัน ตัวอยา ง สาเหตุทีท่ าํ ใหเ กดิ ภาวะโลกรอนกเ็ พราะวา กา ซเรือนกระจกทเ่ี พิม่ ขนึ้ จากการทํากจิ กรรมตา งๆ ของมนษุ ย ไมว าจะ เปน การเผาผลาญถา นหินและเช้อื เพลงิ รวมไปถึงสารเคมีทมี่ สี วนผสมของกาซเรือนกระจกท่ีมนุษยใ ชแ ละอื่นๆ อีกมากมาย จึงทําให กาซเรือนกระจกเหลานี้ลอยข้ึนไปรวมตัวกันอยูบนช้ันบรรยากาศของโลก ทําใหรังสีของดวงอาทิตยที่ควรจะสะทอนกลับออกไปใน ปรมิ าณทีเ่ หมาะสม กลับถกู กา ซเรอื นกระจกเหลา นกี้ ักเกบ็ ไว ทําใหอ ุณหภูมขิ องโลกคอ ยๆ สูงขึ้นจากเดิม 5. การนยิ าม ตัวอยาง คุณธรรม หมายถึง คุณสมบัติฝายดีโดยสวนเดียว เปนท่ีต้ังหรือเปนประโยชนแกสันติภาพหรือสันติสุขจึงเปนท่ี ตองการของมนุษย ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 73

- การบรรยาย คือ การเลาเรื่องหรือการกลาวถึงเหตุการณท่ีตอเนื่องกัน โดยช้ีใหเห็นฉากหรือสถานที่ที่เกิดเหตุการณ สาเหตุที่กอใหเกิด เหตกุ ารณ สภาพแวดลอ ม บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ งตลอดจนผลทเี่ กดิ จากเหตกุ ารณน น้ั การบรรยายจะชใ้ี หเ หน็ วา ใครทาํ อะไร ทไี่ หน อยา งไร เพื่ออะไรและผลที่ตามมาเปนอยางไร เชน นิทาน เรื่องสมมติ เรื่องสั้น เร่ืองท่ีมีการเลาประวัติศาสตรหรือความเปนมาของสิ่งใด ส่งิ หนึง่ กลวธิ กี ารบรรยาย 1. บรรยายใหครบวา ใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน อยา งไร เพอื่ อะไร 2. บรรยายเหตกุ ารณต ามลาํ ดบั ของเวลาทเี่ ปน จรงิ เชน การบรรยายถงึ ชวี ติ การเรยี น ผบู รรยายอาจเรม่ิ ตน โดยการเขา เรยี น ครง้ั แรกของตน การเปลย่ี นระดบั การเรยี นในแตล ะชว งชน้ั ชว งชวี ติ การเตรยี มของนกั เรยี น ม.6 การเขา เรยี นในระดบั อดุ มศกึ ษา และ ดาํ เนนิ เร่ืองเรอื่ ยมาจนถงึ การรบั ปริญญาบตั ร 3. บรรยายโดยการสลับเหตุการณ กลาวคือเร่มิ ตน จากเหตกุ ารณตอนสดุ ทายของเร่อื งแลว ยอ นกลับไปถงึ เหตุการณเ ร่ิมตน หรอื อาจจะสลับสับเปลย่ี นกันอยา งไรก็ได ทง้ั นก้ี เ็ พราะสรา งความนา สนใจใหแ กผ อู าน แตตอ งไมส รา งความสับสนใหผอู าน 4. เลอื กเฉพาะเหตกุ ารณท สี่ าํ คญั ทส่ี ง ผลเกย่ี วเนอื่ งถงึ เหตกุ ารณอ นื่ ๆ เทา นนั้ มาบรรยาย ผเู ขยี นเลอื กเลา เฉพาะสว นทสี่ าํ คญั จรงิ ๆ เพ่ือไมใ หผูอานเกิดความนา เบอ่ื 5. เลอื กใชวธิ อี ่นื ๆ แทรกในการบรรยายหรือการเลา - การพรรณนา คอื การใหร ายละเอยี ดของสิ่งใดสิ่งหนงึ่ โดยใชส ํานวนภาษาและกลวธิ ที ที่ าํ ใหผอู า นเกิดจินตภาพอยา งชดั เจน อกี ทั้งทําให เกิดความรสู ึกหรืออารมณรวม กลวธิ กี ารพรรณนา 1. แยกสวนประกอบ การพรรณนาถึงส่ิงใดสงิ่ หนงึ่ โดยแยกสวนประกอบใหแจม แจง และใหเห็นวา แตละสวนจะเสริมซง่ึ กนั และกันอยางไร เชน การพรรณนาถึงดอกกหุ ลาบ เรากจ็ ะแยกสว นประกอบตางๆ เปน สแี ละลกั ษณะกลีบดอก กา น ใบ และความงาม ตางๆ 2. ช้ีลักษณะเดน ส่ิงที่เราจะพรรณนานั้นปกติเราจะตองกลาวถึงลักษณะเดนกอนเสมอ เชน เราจะพูดถึงส่ิงแรกที่เราจะ พดู เรื่องตลาดกพ็ ูดแมคา และพอ คา กอ นเสมอ 3. การใชถ อ ยคาํ ผพู รรณนาจะตอ งรจู กั คาํ มากพอและตอ งรจู กั เลอื กใชถ อ ยคาํ ทเ่ี หมาะสมทง้ั เสยี งและความหมาย เพอื่ ทาํ ให เกิดมโนภาพและความรูสึกสะเทือนอารมณ เชน ภายใตความมืดของผืนฟา ยังคงมีดวงดาราดวงนอยใหญประกายแสงจรัสแจง มนตราแหง ดวงดาวที่พราวระยบิ ระยับจงึ กอ ตวั รวมกลุมกัน ประดุจทะเลแหง ความงามท่เี ตมิ แตม สสี นั บนคา่ํ คืนทีม่ ืดมน ตารางเปรยี บเทียบความแตกตางของการอธบิ าย บรรยาย และพรรณนา อธิบาย บรรยาย พรรณนา - มุง ใหเ กิดความเขา ใจ - มงุ เหน็ ภาพอยา งตอเนอื่ ง - มงุ เห็นภาพเฉพาะจดุ - ใชภ าษานยั ตรง - ใชภาษานัยตรงและ - ใชโวหารพจน - ผรู ับสารตีความไดต รงกนั นยั ประหวดั - ผูรับสารตคี วามไดตรงกนั 74 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

โวหารการเขียน นองรูไหมวา งานเขียนท่ีดีผูเขียนตองใชชั้นเชิงการเขียน ท่ีจะแสดงใหเห็นถึงคุณคา ความหมาย ความเหมาะสมของ ขอความนัน้ ๆ โดยผเู ขยี นจะใชโวหารตา งๆ มาสรา งอารมณ ความรูส กึ หรอื สถานการณตางๆ ใหผอู านเกิดอารมณร วมในการเขียน ซ่ึงที่ใชโ วหารการเขยี นแบงออกเปน 5 โวหาร ดังน้ี 1. บรรยายโวหาร คือ โวหารท่ีใชเลาเร่ือง หรืออธิบายเร่ืองราวตางๆ ตามลําดับเหตุการณ การเขียนบรรยายโวหาร จะเขียนอยางชัดเจน เขียนตรงไปตรงมา รวบรัด เนนแตสาระสําคัญไมจําเปนตองมีพลความ หรือความปลีกยอยเสริม เชน บนั ทกึ จดหมายเหตุ การเขยี นเพ่ือแสดงความคดิ เหน็ ประเภทบทความเชงิ วิจารณ ขาว เปนตน 2. พรรณนาโวหาร มลี กั ษณะคลา ยบรรยายโวหาร แตจ ะมกี ารสอดแทรกหรอื ใสอ ารมณค วามรสู กึ ทที่ าํ ใหเ ราคลอ ยตามดว ย การพรรณนาโวหารจงึ มุง เนนใหภ าพและเกิดอารมณ จึงมักใชการเลน คํา เลนเสียง ใชภาพพจน แมเ นอ้ื ความท่เี ขียนจะนอยแตเ ต็ม ไปดวยสาํ นวนโวหารท่ไี พเราะ อานไดรสชาติ 3. เทศนาโวหาร เปน การใชโวหารช้ใี หเ หน็ ถึงคณุ และโทษของสิ่งตา งๆ รวมทัง้ เปนการแนะนาํ สง่ั สอนอยา งมีเหตุผล เพอ่ื ชักจงู ใหผ ูอ า นคลอยตาม 4. สาธกโวหาร คอื โวหารทม่ี งุ ใหค วามชดั เจน โดยการยกตวั อยา งเพอ่ื อธบิ ายใหแ จม แจง หรอื สนบั สนนุ ความคดิ เหน็ ทเี่ สนอ ใหหนกั แนน นา เช่ือถอื สาธกโวหารเปน โวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร 5. อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรยี บเทียบ โดยยกตวั อยา ง ส่ิงท่คี ลายคลงึ กนั มาเปรียบเพอ่ื ใหเ กดิ ความชดั เจนดานความ หมายดา นภาพ และเกดิ อารมณ ความรสู กึ มากยง่ิ ข้นึ กลา วไดวา อปุ มาโวหาร คอื ภาพพจนประเภทอปุ มานนั่ เอง กลวิธีการจาํ พรรณนา - ใหร ายละเอียด บรรยาย – เลา เรอื่ ง สาธกโวหาร – ยกตวั อยาง เทศนา – สัง่ สอน อปุ มา - เปรยี บเทียบ แนวการทําขอสอบเร่ือง การบรรยาย การอธิบาย พรรณนาและโวหารการเขียน เมอื่ อา นเรอื่ ง การบรรยาย อธบิ าย พรรณนาและโวหารการเขยี นจบ นอ งหลายคนคงสบั สนวา ทาํ ไมการเขยี นและโวหารการ เขยี นคลา ยกนั หรอื แทบจะเหมอื นกนั เลย เวลาทาํ ขอ สอบจะสามารถแยกโจทยแ ละวเิ คราะหค าํ ตอบไดอ ยา งไร ซง่ึ เรอ่ื งนย้ี ง่ิ ไมใ ชเ รอ่ื ง ขอความขา งตนใชวธิ ีการเขยี นแบบใด กลวธิ ีการเขยี นท่ผี ูเขียนใชนัน้ จดั เปน กลวธิ ีการเขียนประเภทใด }ขอ ใดใชวิธกี ารเขียนตา งจากขอ อ่ืน ยากเลยแมนอ ย เพียงแคเ ราจะตอ งสังเกตคาํ สําคญั (Key word) ที่โจทยตองการบอกใหเ จอเสียกอ น เชน ขอความนใ้ี ชโวหารตามขอใด หากลวธิ ีการเขียนแบบ อธิบาย บรรยายและพรรณนา }ขอ ความตอ ไปนีใ้ ชโ วหารในลักษณะใด หาโวหารการเขยี น บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร สาธกโวหาร เทศนาโวหารและพรรณนาโวหาร ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 75

วิเคราะหแ บบงายคอื หาคาํ วา “วธิ ีการ” และ “โวหาร”เปนหลกั ก็จะสามารถทาํ ขอสอบในขนั้ เบอ้ื งตน ตอมาเราจะมาเรยี นรู ถงึ วธิ กี ารการทําขอ สอบในเรือ่ งน้ี โดยจะแบง ออกเปน 2 สว นเชน เดมิ คอื กลวิธีการเขียน และโวหารการเขียน กลวิธีการเขียน การจะหาความแตกตางของแตละวิธีการเขียนไดน้ัน นองๆ จะตองจับจุดแนวทางในแตละกลวิธีการเขียนใหไดเสียกอน ถา ยงั จาํ ไมไ ดใ หย อ นกลบั ไปดทู ต่ี ารางเปรยี บเทยี บความแตกตา งของการอธบิ าย บรรยาย และพรรณนา เมอื่ เขา ใจแลว ลองทาํ ขอ สอบ วัดความเขาใจกนั เลย ขอ ที่ 1 ขอ ความตอ ไปน้ีใชก ลวิธีการเขียนตรงตามขอ ใด (เรียงตามลาํ ดบั ) 1) เม่อื ถึงเทศกาลกนิ เจ รานท่ขี ายอาหารเจจะปก ธงเหลือง 2) “เจ” เปนคําจนี ท่ีแปลวา อุโบสถ แตคาํ วา “เจ” ท่เี ขยี นบนธง นั้น แปลวาไมมีคาว เขยี นดว ยสีแดง เปน สีแหง มงคล พนื้ สเี หลอื งของธงเปน สขี องผูทรงศลี 3) คนท่กี นิ เจจะไมก ินเนื้อสตั วและจะ ถอื ศีลตลอดเทศกาล 1. การบรรยาย การอธิบาย และการบรรยาย 2. การบรรยาย การพรรณนา และการอธิบาย 3. การอธิบาย การอธบิ าย และการบรรยาย 4. การอธิบาย การพรรณนา และการอธิบาย คาํ ตอบ ขอ 1. เพราะ ขอความสวนท่ี 1 และ 3 เปน การเลา เร่ือง จึงเปนการบรรยาย สว นขอ 4. เปน การนยิ ามความหมาย จึงเปน การอธบิ าย ขอท่ี 2 ขอ ความตอ ไปน้ี ใชกลวิธกี ารเขียนประเภทใด “แมเทคโนโลยใี นปจจบุ ัน ไมว า จะเปนคอมพวิ เตอร โทรศพั ทมือถอื จานดาวเทียม ผูดอยโอกาสก็ยังไมไดส ัมผสั กบั ความทนั สมยั เหลานน้ั เพราะฉะนน้ั พวกเขาจงึ ไมร หู รอกวา คอมพิวเตอรรปู รา งหนา ตาเปนอยางไร สงั คมไมเคยเปด โอกาสใหเขาเรยี นรู สงั คม ไดแ ตบ บี ใหว ถิ ชี ีวิตของเขามีทางเลอื กนอ ยลง ตอ งดิ้นรนทาํ มาหากนิ เพ่ือหาเงนิ มาเลย้ี งชีวิตใหรอดไปวันหนึ่งๆ เทานัน้ เพราะฉะน้ัน อยาวาแตโอกาสทพ่ี วกเขาจะกา วใหทนั เทคโนโลยีเลย โอกาสทจี่ ะใหพวกเขาเขา ไปสัมผสั น้ัน ยงั มีคาความเปน ไปไดเทากบั ศนู ย” 1. บรรยายและอธบิ าย 2. บรรยายและพรรณนา 3. อธิบายและพรรณนา 4. บรรยาย อธิบาย และพรรณนา คาํ ตอบ ขอ 2. เพราะผูใชก ารบรรยายเปนสว นใหญ สวนที่เปนพรรณนา – สังคมท่ีไมเคยเปด โอกาสใหเขาเรียนรู สังคมได แตบ บี ใหวิถชี วี ติ ของเขามที างเลอื กนอ ยลง ตองด้ินรนทํามาหากนิ เพอื่ หาเงนิ มาเลยี้ งชีวิตใหรอดไปวนั หน่ึงๆ เทา นัน้ โวหารการเขยี น การทาํ สอบเร่ืองโวหารการเขียนบางคร้งั ขอสอบอาจจะหลอกใหเ ราสับสน โดยการนําเร่อื งทใี่ ชโ วหารที่ คลา ยกนั ออกมาขอ สอบ ดงั นน้ั เราตอ งสงั เกตถอ ยคาํ หรอื ลกั ษณะของโวหารนน้ั ดงั ทสี่ รปุ ไวใ นกรอบกลวธิ กี ารจาํ เพอ่ื ตรวจสอบความ เขาใจนองๆ ลองพจิ ารณาขอ ความทใ่ี หตอ ไปนีว้ าเปนโวหารชนิดใด 1. งานที่ออกมาแลวไมไดผลดีเทาที่ควร ถาจะวิเคราะหปญหาออกมา ก็อาจทําใหทราบวาตีเหล็กผิดจังหวะ เพราะวายัง ไมรอนพอหรอื รอนแลวแตต ชี าไป เหล็กเย็นกอ นงานเสร็จกเ็ ปน บทเรยี นวา ครงั้ ตอไปทาํ งานใหเรว็ และดกี วาเดิม (คาํ ตอบ คอื เทศนา โวหาร) 2. บนเสน ถนนของเมอื งฟา อมร ฉันคือหนึ่งคนทอี่ ยู ณ ทีแ่ หงน้ี และฉันคอื หนึง่ คนทเ่ี ดนิ ตามไลล าความฝน การเดินทาง ณ ท่แี หงนที้ าํ ใหฉันไดเ รยี นรูและตอสกู บั ชวี ิตทกุ รปู แบบ ชีวิตทจี่ ะตอ งอาศยั ความอดทนอยางยง่ิ ยวด จงึ จะผานพนสง่ิ เลวรา ยไปได ส่งิ เลวรา ยท่สี ุดคือ “การเปน พลเมืองชั้น 2” (คําตอบ คือ บรรยายโวหาร) 76 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

3. ฉนั อยากใหมันเปนคนจรงิ ๆ ฉนั จะตอ งกลับบานใหไ ด เขาคดิ พลางเหมอมองดูยอดสนของหมบู า น หาดเส้ียวเห็นอยไู ม ไกล ดวงอาทติ ยส ีแดงเขมกําลงั คลอยลงเหนอื ยอดไมทางทิศตะวันตก (คาํ ตอบ คอื พรรณนาโวหาร) 4. การเปนนักเรียนที่ดีไดน้ัน ไมไดดีเพียงรูปลักษณภายนอกที่งดงามดูดีเทาน้ัน หากแตตองพัฒนาตนเองในทุกส่ิง ไดแก การแตงกาย การมสี มั มาคารวะ การต้ังใจเรยี น มีความซอ่ื สตั ย รกั และเคารพสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย (คําตอบ คือ สาธก โวหาร) 5. การท่ีเราทุกคนจะประสบความสําเร็จไดน้นั เราจะตอ งมีความเพยี รพยายามเปนสําคัญ เยยี่ งพระมหาชนกท่วี า ยนํา้ ขา ม สมุทร แมจ ะแลไมเหน็ ฝงกต็ าม (คาํ ตอบ คอื อุปมาโวหาร) ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 77

บทท่ี10 การอานจบั ใจความ “การอา นจบั ใจความ” คอื หนงึ่ สาระทม่ี กั ออกขอ สอบอยเู สมอ แตไ มม กี ารเรยี นการสอนสาระนอ้ี ยา งชดั เจนหรอื อาจจะไมไ ดเ รยี น เลย ดว ยเหตนุ จี้ งึ ทาํ ใหเ กดิ คาํ ถามทวี่ า ไมเ รยี นแลว จะออกขอ สอบทาํ ไม คาํ ตอบคอื การอา นจบั ใจความนน้ั เปน ทกั ษะเฉพาะตวั ทนี่ กั เรยี น ทกุ คนพงึ มี ผทู ม่ี คี วามสามารถอา นจบั ใจความไดถ กู ตอ งและแมน ยาํ ไดน นั้ จะตอ งเปน ผอู า นหนงั สอื เกง และอา นหนงั สอื ไดแ ตกฉาน ใจความสาํ คญั เปน ดง่ั กญุ แจทจ่ี ะไขประตสู คู วามสาํ เรจ็ ในการอา น จะทาํ ใหผ อู า นมคี วามเขา ใจและลกึ ซง้ึ ในเนอื้ หานน้ั ๆ เพราะ เปน ขอ ความทสี่ าํ คญั และเดน ทส่ี ดุ ในยอ หนา เปน แกน ของยอ หนา ทสี่ ามารถครอบคลมุ เนอ้ื ความในประโยคอน่ื ๆ ใจความรอง (พลความ) หมายถงึ ใจความหรือประโยคทข่ี ยายความประโยคใจความสําคญั เปน ใจความสนบั สนุนใจความ สําคญั ใหช ดั เจนขน้ึ อาจเปนการอธบิ ายใหร ายละเอยี ด ใหค าํ จาํ กัดความ ยกตัวอยา ง เปรียบเทยี บ หรือแสดงเหตผุ ลอยา งถถี่ วน เพ่ือ สนับสนนุ ความคดิ สว นทีม่ ิใชใจความสาํ คัญ แนวทางการอานจับใจความ 1. ต้ังจุดมุงหมายในการอานไดชัดเจน เชน อานเพื่อหาความรู เพื่อความเพลิดเพลิน หรือเพ่ือบอกเจตนาของผูเขียน เพราะจะเปน แนวทางกาํ หนดการอา นไดอยา งเหมาะสม และจบั ใจความหรือคาํ ตอบไดรวดเรว็ ย่งิ ขน้ึ 2. สํารวจสวนประกอบของหนังสืออยางคราวๆ เชน ช่ือเร่ือง คํานํา สารบัญ คําช้ีแจงการใชหนังสือ ภาคผนวก ฯลฯ เพราะสว นประกอบของหนงั สือจะทาํ ใหเ กดิ ความเขาใจเก่ยี วกบั เร่ืองหรอื หนงั สือท่อี า นไดกวา งขวางและรวดเร็ว 3. ทําความเขาใจลักษณะของหนังสือวาประเภทใด เชน สารคดี ตํารา บทความ ฯลฯ ซึ่งจะชวยใหมีแนวทางอานจับใจ ความสําคญั ไดงาย 4. ใชความสามารถทางภาษาในดานการแปลความหมายของคํา ประโยค และขอความตา งๆ อยา งถกู ตองรวดเร็ว 5. ใชป ระสบการณห รอื ภมู หิ ลงั เกยี่ วกบั เรอ่ื งทอี่ า นมาประกอบ จะทาํ ความเขา ใจและจบั ใจความทอ่ี า นไดง า ยและรวดเรว็ ขนึ้ ข้ันตอนการอานจับใจความ 1. อานผานๆ โดยตลอด เพ่ือใหร วู าเร่อื งท่ีอานวาดว ยเร่อื งอะไร จุดใดเปน จดุ สําคัญของเรอื่ ง 2. อา นใหละเอียด เพอื่ ทาํ ความเขา ใจอยางชดั เจน ไมค วรหยุดอานระหวางเร่อื งเพราะจะทาํ ใหความเขาใจไมตดิ ตอกัน 3. อานซ้ําตอนท่ีไมเ ขาใจ และตรวจสอบความเขา ใจบางตอนใหแนน อนถูกตอง 4. เรยี บเรียงใจความสําคญั ของเรอ่ื งดว ยตนเอง กลวิธีการอานจับใจความสําคัญ การอา นจบั ใจความเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนงึ่ ควรจะเรมิ่ ตน ดว ยการหาใจความสาํ คญั ของแตล ะยอ หนา ใหไ ดเ สยี กอ น เพราะขอ ความ ยอ หนา หนงึ่ จะมีใจความสาํ คญั ทีผ่ เู ขยี นตอตองการจะเสนอมากที่สดุ เพียงประการเดยี ว หากไดใจความของแตละยอ หนาแลว กน็ าํ มา 78 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

รวบรวมแลว พิจารณารว มกนั กจ็ ะสามารถจับแกน ของเร่ืองหรือแนวคดิ สาํ คัญที่สุดของเรือ่ งไดงายขึน้ ใจความสําคัญในแตละยอ หนา สวนมากมกั จะอยูท ่ีประโยคใดประโยคหนง่ึ โดยมีขอ สังเกต ดงั น้ี 1. ประโยคตอนตนยอหนา เปนจุดท่ีเราสามารถพบใจความสําคัญของแตละยอหนาไดมากท่ีสุดเพราะผูเขียนมักจะบอก ประเด็นสําคัญไวกอน แลวจึงขยายรายละเอียดเพื่อใหเกิดความชัดเจนภายหลัง ตวั อยาง การพดู สนุ ทรพจน เปน การพดู ทเี่ ปน ทางการหรอื ในพธิ กี ารใชภ าษาราชการ หรอื ในพธิ กี ารใชภ าษาราชการ หรอื ภาษามาตรฐาน หลกั อาจจะมภี าษาถนิ่ ภาษาเฉพาะอาชพี หรอื ภาษาตา งประเทศมาปะปนไดบ า งกแ็ ลว แตก รณใี ชป ระกอบคาํ อธบิ าย ขยายความ และ ยกตวั อยางเทาทีจ่ ําเปนเทานน้ั คาํ คะนอง คาํ ผวน หรือคําหยาบคาย จะมใี นการกลา วสนุ ทรพจนไมไดเ ลย (ถวายงานผา นภาษา ของ สมาคมนสิ ติ เกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ) ใจความสาํ คญั คอื การพดู สนุ ทรพจน เปน การพดู ทเ่ี ปน ทางการหรอื ในพธิ กี ารใชภ าษาราชการ หรอื ในพธิ กี ารใชภ าษาราชการ หรือภาษามาตรฐานหลกั 2. ประโยคตอนทายยอหนา เปนจุดท่เี ราจะสามารถพบใจความสําคญั รองลงมาจากประโยคตอนตนยอหนา โดยผเู ขียนจะ บอกรายละเอยี ด หรอื ประเดน็ ยอยมากอน แลว สรุปดว ยประโยคทเี่ ก็บประเด็นสําคญั ไวภ ายหลัง ตวั อยาง ครูตองใชก ารสอนอยา งมวี ตั ถุประสงคจากการประเมินและใหแบบทดสอบ ซ่งึ ประเมนิ ตวั เองทีแ่ มนตรงในดา นความเขาใจ สาระเนื้อหาได เพื่อเปน การเรา จงึ ควรมกี ารทดสอบบอ ยครั้ง นักปรชั ญาสัจนิยมเนนวา การท่คี รใู หร างวลั ความสําเร็จแกผ ูเรยี นแตละ คนเปน สิง่ สําคัญ เมือ่ ครูรายงานผลสาํ เร็จของนกั เรียน ครตู องเสริมแรงในสิ่งที่ผูเรียนไดเรียนรมู า (ปรชั ญาการศกึ ษา : ความคดิ พน้ื ฐาน ของ รองศาสตราจารยส มประสงค นว มบญุ ลอื ) ใจความสาํ คญั คอื ครตู อ งเสรมิ แรงในสงิ่ ทผ่ี เู รยี นไดเ รยี นรมู า 3. ประโยคตอนกลางยอ หนา เปน จดุ ทคี่ น หาใจความยากยงิ่ ขนึ้ เพราะจะตอ งพจิ ารณาเปรยี บเทยี บใหไ ดว า สาระสาํ คญั ทสี่ ดุ อยูท ป่ี ระโยคใด ตวั อยาง ขณะนไี้ มวาทานจะอยู ณ ทใ่ี ด ท่ใี นบาน บนรถไฟ รถเมล ในหอ งทาํ งาน บนสถานทรี่ าชการหรอื ท่ีใดกต็ าม ทานจะตองใช สายตา “อาน” อยูตลอดเวลา ซ่งึ แนละตองยกเวนในกรณีทีท่ านตาบอด เพราะทา นยอ มจะอา นหนงั สือในเลม นไ้ี มไ ดแ น ยกเวน แตจะ มีใครอา นใหท า นฟง (ศลิ ปะการอานหนงั สอื ของ ครรชดิ อยตู ลอดเวลา) ใจความสําคัญ คือ ทานจะตองใชส ายตา “อาน” อยตู ลอดเวลา 4. ไมปรากฏในประโยคใดอยา งชัดเจน อาจอยใู นหลายประโยคหรืออยูรวมๆ ในยอ หนา ซ่งึ ผอู า นจะตอ งสรปุ ออกมาเองวา นับไดวาเปน การจับใจความสําคญั ทยี่ ากกวาอยา งอ่นื ผูอา นอาจจะใหว ธิ กี ารตง้ั คําถามวา ใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน อยางไร ทาํ ไม ซ่งึ จะ ทําใหมองเห็นประเด็นทสี่ าํ คญั และพบสว นขยายตางๆ ไดมากขึน้ ดว ย ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 79

ตวั อยาง เรือลาํ นัน้ แลน ผา นบานเรือนที่คบั คั่งในบรเิ วณอําเภอ แสงไฟฟาฉายออกมาจากโรงสีขา วลาํ นา้ํ กระทบเมล็ดฝนท่ีสาดลงมา มิรูส้ินสดุ แลดเู หมอื นมา นท่ีทําดว ยน้าํ มากน้ั ไว พอเรือเร่มิ ผานบา นเรือนท่มี อี ยปู ระปรายอยูนอกอาํ เภอ สายลมและสายฝนกก็ ระหนาํ่ ลงมาแรงข้ึนกวาเกา คนโดยสารจํานวนมากทน่ี ัง่ หรอื นอนอยใู นเรอื พากนั ขยบั ตวั เหลยี วซายแลขวามองหนากันอยา งไมส บายใจ พอ เรอื แลน ตอ มาอกี จะเขา หวั เลย้ี วทเ่ี รยี กวา คงุ สาํ เภา กาํ ลงั แรงของพายกุ ม็ าปะทะเขา กลางลาํ เสยี งคนหวดี รอ ง เสยี งคนตะโกน เสยี ง เด็กรองจาข้ึนดวยความตกใจ ที่กําลังหลับก็ทะลึ่งตัวข้ึนสุดแรง ทุกคนถลันตัวเขาใสกราบที่มิไดเอียง ทันใดน้ันเรือก็โคลงกลับมาอีก ขางหนึ่งดวยกําลังถวงสุดเหวี่ยง ทามกลางเสียงรองท่ีฟงไมไดศัพท และเสียงรัวกระด่ิงของนายทาย ซึ่งดึงสายกระด่ิงดวยความ ตกใจปราศจากสญั ญาณใดๆ และเรอื นน้ั กค็ วาํ่ ลงทนั ที เครอื่ งยนตใ นเรอื คงเดนิ ตอ ไปอกี ครหู นงึ่ สะทา นอยา งแรงแลว กห็ ยดุ เงยี บเหมอื น หัวใจสตั วที่เตน ตอ สูอยา งแรงเปนครง้ั สุดทายและตองหยุดลงเม่อื ความตายมาถึงตัว (หลายชีวิต ของ ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช) ใจความสําคญั คือ เรือโดยสารถกู พายแุ ลวควา่ํ ลง การวิเคราะหเจตนาของผูเขียน ใจความสําคัญท่ีไดจากการอานน้ัน มีความสําคัญกับการตีความหมายและเจตนาของผูเขียนอยางย่ิง เพราะท้ังสองอยาง เปน ปจ จยั ทเ่ี กอื้ หนนุ กนั และกนั การวเิ คราะหเ จตนาของผเู ขยี นจงึ เปน การวดั ความเขา ใจและวดั ความลกึ ซง้ึ จากสง่ิ ทไ่ี ดอ า นอกี ครงั้ ซงึ่ การวเิ คราะหเ จตนาของผเู ขยี นในขอ สอบนน้ั มวี ธิ กี ารงา ยๆ ดว ยการจดจาํ นยิ ามคาํ ศพั ทเ หลา นใ้ี หแ มน ยาํ กจ็ ะไมเ กดิ ความสบั สนในการ เลือกคาํ ตอบอยา งแนน อน เสนอแนะ คือ เสนอ-ย่นื เรอื่ งราวความเห็นเพือ่ ใหท ราบใหพ จิ ารณา หรือใหสั่งการแสดงใหเ ห็น แนะ-ชี้ทางหรือวิธี การใหร โู ดยตรงหรอื โดยออ ม เตือนสติ คอื เตือนใหร ตู ัว เตอื นใหไ ดสติ ส่ังสอน คือ ช้แี จงใหเขา ใจและบอกใหทํา กําลงั ใจ คอื สภาพของจิตใจท่ีมีความเชอื่ มนั่ และกระตือรอื รน พรอมท่ีจะเผชิญกับเหตกุ ารณทุกอยา ง ขอรอ ง คอื ขอใหช ว ยเหลือ ขอใหท ําตามที่ขอ แนวการทําขอสอบจับใจความสําคัญ การทําขอสอบเรื่องการจับใจความสําคัญ นอกจากที่นองๆ จะตองพยายามคนหาประโยคหรือขอความท่ีมีสาระครอบคลุม เน้ือหาอื่นๆ แลว นองจะตองใชวิธีการตัดขอความท่ีเปนสวนขยายออกทีละขอความ แตตองระวังมากในขั้นตอนน้ี เม่ือตัดขอความ เหลา น้ไี ดแลว กจ็ ะเหลือแตสงิ่ ท่เี ปนใจความสาํ คญั ในแตล ะยอหนา ได สว นทไ่ี มใชใจความสาํ คัญทส่ี งั เกตไดม ีดังน้ี - คํานิยาม การกําหนดความหมาย - ขอ เปรียบเทียบตางๆ - สาํ นวนโวหาร - ตัวอยา งประกอบ สงั เกตไดจากคําวา “ไดแก” - คําถามและคําอธบิ ายของผเู ขยี น - การอา งชื่อบคุ คล - ยอ หนา พิเศษบางยอ หนามีหนาท่ีเปนสว นขยายความหรอื ตวั อยา งของเรือ่ ง 80 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ลักษณะของใจความสาํ คัญมขี อ สังเกตดังนี้ - เปนถอ ยคาํ ท่กี ลาวถงึ บอยๆ - ครอบคลมุ สาระสําคัญไดทง้ั หมด - มลี ักษณะคลา ยขอ สรุป หรอื ประเด็นท่จี ะเนน ยํ้า การทําขอสอบจับใจความสําคัญ เปนขอสอบที่วัดการคิดวิเคราะหจากการอานไดอยางดีย่ิง เพราะใครอานเกง หรือ เปน คนรกั การอา นกจ็ ะทาํ ขอ สอบประเภทนไ้ี ดร วดเรว็ และแมน ยาํ แตถ า ไมม นี สิ ยั รกั การอา นกต็ อ งอาศยั การจดจาํ วธิ กี ารหาขอ สงั เกตของ การจบั ใจความสาํ คญั ทแี่ นะนาํ ไวข า งตน เมอื่ ไดว ธิ กี ารทาํ ขอ สอบแลว เราลองมาดตู วั อยา งขอ สอบการอา นจบั ใจความสาํ คญั วา จะออก ขอ สอบในลักษณะใด นองๆ ตองคอ ยๆ พิจารณาอยางถถ่ี ว นจงึ จะไดค ําตอบ ตัวอยางท่ี 1 ขอ ใดเปน สารของขอความขางตน ในชีวิตประจําวันใครอยากจะเปรียบเทียบกับใครก็เปรียบได แตมนุษยนั้นควรพอใจในการกระทําดีท่ีสุดของตนเองกับ สภาพแวดลอ มท่ดี ีรอบตน เทา นก้ี ็มคี วามสุขพอเพียงแลว ไมตองเกรงปมดอยใดๆ 1. ความสขุ อยูทกี่ ารกระทาํ 2. การทาํ งานไมควรเปรยี บเทียบกนั 3. ความสขุ เกิดจากความพอใจของมนษุ ย 4. การเปรยี บเทียบทําใหเกิดปมดอย คําตอบ ขอ 3. ความสุขเกิดจากความพอใจของมนุษย เพราะเปนขอความท่ีครอบคลุมสาระสําคัญของเน้ือหาไดท้ังหมด อีกท้งั ถือเปน ขอความทบ่ี ง บอกเจตนาของผเู ขยี นได ขอความขางตนผเู ขียนมีเจตนาอยางไร (ใชคําถามเดียวกนั กับขอ ทผ่ี านมา) 1. เตอื นใจ 2. เสนอแนะ 3. ใหข อ คดิ 4. ใหก าํ ลงั ใจ คําตอบ ขอ 3. การใหข อ คิด เพราะเจตนาของผูเขยี นตง้ั ใจที่จะใหขอ คดิ วา ความสุขสามารถเกดิ ข้ึนถาไมมีการเปรียบเทยี บ ซ่ึงตัวเลือกท่ีอ่ืนจะไมใ ชก ารเขยี นลักษณะนี้ ตัวอยา งท่ี 2 ขอความตอไปน้ีสรปุ ความไดต ามขอใด ทกุ วนั นอี้ ารยธรรมตา งประเทศหลง่ั ไหลเขา มาประเทศมากท้ังวัตถุนยิ ม คตนิ ยิ ม ความเชื่อ ถา คนไทยออนไหวรบั วฒั นธรรม ตางประเทศ ความเปน ชาตไิ ทยก็หมดไปเรอ่ื ยๆ คนรุนหลงั จะไมมโี อกาสไดเห็นศลิ ปวัฒนธรรมไทย คนรุนเราจะตองตระหนักสบื ทอด สานตองานท่บี รรพบุรุษไดสรา งไวอ ยางมหาศาลอยางตอ เน่ือง เพ่ือเปนมรดกทางวัฒนธรรม 1. คนรนุ หลังจะไมไดเหน็ ศิลปวัฒนธรรมไทย ถา คนรุนปจ จุบันยังลุม หลงวฒั นธรรมตางประเทศ 2. อารยธรรมตางประเทศหล่ังไหลเขามามากเพราะคนไทยออ นไหวและเช่อื งาย 3. การรบั วัฒนธรรมตางประเทศทาํ ลายความเปน ชาติไทย 4. คนไทยควรเห็นคุณคาและชว ยกนั สบื สานศิลปวฒั นธรรมไทย คําตอบ ขอ 4. คนไทยควรเหน็ คุณคา และชวยกันสืบสานศิลปวฒั นธรรมไทย เพราะขอ ความทีผ่ เู ขียนเจตนาจะสอื่ สาร ขอนี้ ถือเปน การหาใจความสําคัญท่ีอยูป ระโยคตอนทา ยยอ หนา ตวั อยางที่ 3 “แตส ่ิงหนงึ่ ซงึ่ ไทยราวใจเหลอื คอื เลอื ดเน้อื เปนหนอนคอยบอ นไส บางหากนิ บนนํา้ ตาประชาไทย บา งฝกใฝลทั ธชิ วั่ นากลวั เกรง ทุกวันน้ีศกึ ไกลยังไมหวง แตห วัน่ ทรวงศกึ ใกลไลขม เหง ถาคนไทยหันมาฆา กนั เอง จะรองเพลงชาติไทยใหใ ครฟง ” ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 81

ปญ หาสาํ คัญทีก่ ลาวพาดพงิ ไวใ นขอ ความนี้ คอื อะไร 1. ปญหาการศกึ ษา 2. ปญ หาเศรษฐกิจและคา ครองชพี 3. ปญ หาเร่ืองการแตกแยก 4. ปญหาการขดั แยง ทางความคิด คาํ ตอบ ขอ 3. ปญหาเรือ่ งการแตกแยก นองๆ สามารถศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ไดท ี่ Tag : ภาษาไทย, การอา น, การอานจบั ใจความ, เทคนิคการอา น • การอา น http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch10-1 • การอา นจับใจความสําคญั 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch10-2 • การอาน ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch10-3 บันทกึ ชวยจํา 82 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท่ี11 ระดับภาษา เคยสังเกตไหมวา วิถีชวี ติ ของคนไทยต้งั แตอดีตจนกระทงั่ ปจ จบุ นั ยงั ใหค วามสําคัญตอ “ระบบศักดินา” ของแตละบคุ คลอยู อยา งมไิ ดล ดนอ ยลง สงั คมไทยนนั้ มกี ารแบง ชนชนั้ เชน สามญั ชน เจา นาย เชอ้ื พระวงศญ าตผิ ใู หญ เจา นายหรอื รวมกระทง่ั การตดิ ตอ ในการดําเนินธุรกิจกับบุคคลท่ีไมรูจัก ระหวางผูสงสารและผูรับสาร เชน เด็กกับผูใหญ เพื่อนสนิทกับคนรูจัก ผูบังคับบัญชากับ ผใู ตบังคับบญั ชา ภาษาท่ีใชก็จะเปลี่ยนไปตามความสัมพันธด ังกลาว จากลักษณะของสังคมที่กลา วมาขา งตนนนั้ จึงจําเปน ท่ีจะตองเลือกภาษาใหเหมาะสมกับบุคคล ทําใหเกิดความแตกตา งกัน ของภาษาท่ีใช เรียกวา “ระดบั ภาษา” หมายถงึ การใชภ าษาใหเ หมาะสมกบั บุคคลและสถานการณ ภาษาในแตละระดบั จะมลี ักษณะ ถอ ยคาํ สํานวนทีแ่ ตกตา งกันออกไป อันเกิดจากปจ จยั ตางๆ ดังน้ี 1. โอกาสและสถานที่ เชน ทีป่ ระชมุ ตลาด รา นคา ท่ีสาธารณะ ทเ่ี ฉพาะ เหลา น้ีจะมีภาษาทต่ี า งกันออกไป 2. สัมพนั ธภาพระหวางบุคคล คอื ความเก่ยี วของ 3. ลักษณะของเนื้อหา เน้ือหาของสารท่ีจะสงออกไป ถือวามีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะสารบางสารอาจไมเหมาะสมกับ กาลเทศะหรือสถานการณนน้ั ทําใหต องเลอื กระดบั ภาษาของสารใหเ หมาะสม เพื่อการส่อื สารทีส่ มั ฤทธ์ผิ ล 4. สื่อที่ใชสอ่ื สาร ผสู ง สารจะตองรจู ักเลือกภาษาใหเ หมาะสมกบั สอื่ ท่ีใช เชน การเขียนจดหมายสวนตวั กบั จดหมายกิจธุระ หรอื การพดู คยุ ในวงสนทนากบั การพูดในงานพิธกี าร การแบง ระดับภาษาในลกั ษณะตา งๆ 1. แบงเปน 2 ระดับ คือ ระดับทางการ (แบบแผน) และระดับที่ไมเปน ทางการ (ไมเปนแบบแผน) 2. แบง เปน 3 ระดับ คือ ระดับพธิ กี าร (แบบแผน) ระดบั กึ่งพิธกี าร (กึง่ แบบแผน) และระดับไมเ ปน พธิ กี าร (ภาษาปาก) 3. แบง เปน 5 ระดับ คอื ระดบั พิธีการ ระดบั ทางการ ระดับก่ึงทางการ ระดับไมเปนทางการ และระดับกันเอง ตารางแสดงความสมั พนั ธร ะหวา งภาษา ภาษาระดับท่เี ปนทางการ ภาษาระดบั ที่ไมเ ปน ทางการ (ภาษาแบบแผน) (ภาษาทีไ่ มเปน แบบแผน) ภาษาแบบแผน / ภาษาระดบั ภาษาทีไ่ มเปนแบบแผน / ภาษาทไ่ี มเ ปนแบบแผน / พิธีการ ภาษาระดับทีไ่ มเ ปน พธิ ีการ ภาษาระดับทีไ่ มเปน พธิ ีการ ภาษาระดบั พธิ กี าร ภาษา ภาษาระดบั ก่งึ ภาษา ภาษา ระดับทางการ พธิ กี าร ระดับไมเปน ระดับกันเอง ทางการ ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 83

ลักษณะสําคัญของภาษาแตละระดับ ภาษาแตละระดบั แบง ระดับความสําคญั ไดดงั ตอไปนี้ 1. ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับน้ีใชสื่อสารในท่ีประชุม ซ่ึงจัดอยางเปนพิธีการ เชน การเปดประชุมรัฐสภา การกลาว รายงาน การกลาวคาํ ปราศรยั การกลาวคําอวยพร การกลา วสดดุ ี ผูส งสารมักเปน บุคคลสาํ คัญหรอื มีตาํ แหนง สงู ผูร บั สารสว นใหญ เปนบคุ คลในวงการเดียวกัน สว นใหญผสู งสารเปนผูก ลา วฝายเดียว ไมมกี ารโตต อบ หากจะมกี ารตอบทกี่ ระทําอยางเปน พิธีการ 2. ภาษาระดับทางการ ใชในการบรรยายหรืออภิปรายอยางเปนทางการในการประชุม ใชตอชวงท่ีเปนพิธีการหรือเขียน ขอความปรากฏตอสาธารณชนอยางเปนทางการ และในหนังสือติดตอราชการ หรือวงการธุรกิจก็จะใชภาษาระดับนี้ ผูสงสารและ รับสารเปนบุคคลในวงการหรืออาชีพเดียวกัน สัมพันธภาพระหวางท้ังสองฝายจึงเปนไปในดานของธุรกิจและการงาน ภาษาท่ีใชมี ลักษณะท่ีเจาะจงในดานธุรกิจหรือความรูความคิดท่ีมีความสําคัญเปนที่นาสนใจ เขาสูประเด็นอยางเร็ว อาจมีศัพทเทคนิคหรือศัพท วิชาการมาปะปนบาง แตถอยคําที่ส้นั กระชบั เพ่ือใหป ระหยัดเวลามากท่สี ดุ ดังนั้นภาษาระดับทางการไมม ีการใชลูกเลน และถอยคาํ ท่ี แพรวพราว 3. ภาษาระดับกึ่งทางการ ภาษาระดับนี้คลายกับภาษาระดับทางการแตลดความเปนงานเปนการลงไป เพ่ือใหเกิดความ สมั พนั ธภาพอนั ใกลช ดิ ยง่ิ ขน้ึ ระหวา งผรู บั สารและผสู ง สาร มกั ใชใ นการประชมุ กลมุ ยอ ย หรอื การบรรยายในหอ งเรยี น ขา วและบทความ ทวั่ ไป ใชภ าษาทีท่ าํ ใหร ูสกึ คุนเคยมากกวา ภาษาในระดบั ทางการ เนื้อหามกั เปนเรอื่ งท่วั ไป การแสดงความคิดเห็นในเชงิ วิชาการหรอื เชงิ ธรุ กจิ มกี ารใชศ พั ททางวิชาการเทา ทจี่ าํ เปนเทา นนั้ 4. ภาษาระดับไมเ ปนทางการ หรือ ระดับสนทนา ภาษาระดับสนทนานี้มกั ใชใ นการสนทนาโตต อบระหวา งบุคคลหรือกลมุ บคุ คลไมเกิน 4-5 คน ในเวลาและสถานทที่ ีไ่ มเ ปนสวนตวั แมจะเปน บุคคลทีร่ จู ักมกั คุนกต็ าม เชน การเขยี นจดหมายระหวา งเพ่ือน การรายงานขาว และเสนอบทความในหนังสือพมิ พ เนอ้ื หามกั จะเปน เรอ่ื งท่วั ไป กิจธรุ ะ รวมทัง้ การปรกึ ษาหารอื รว มกัน อีกทัง้ ภาษา ท่ีใชอ าจจะมีคาํ เฉพาะทใ่ี ชสอ่ื สารเฉพาะกลมุ เทา นน้ั ดวย 5. ภาษาระดบั กนั เอง เปน ภาษาท่ีใชใ นวงจํากดั เชน ในครอบครวั ระหวา งสามีภรรยาหรอื เพอ่ื นสนทิ สถานทีท่ ่ีใชม ักเปน ท่ี สวนตวั เชน ท่บี าน ในหองที่เปนสวนตัวของตนโดยเฉพาะ เนื้อหาสาระเปน เรอ่ื งทวั่ ไปในการดาํ เนนิ ชีวติ ประจาํ วนั เรื่องกจิ ธุระ ไมม ี ขอบเขตจํากัด ภาษาระดับน้ีมักใชการพูดจากัน ไมนิยมบันทึกเปนลายลักษณอักษร ยกเวนสํานวนพูดท่ีใชในนวนิยายหรือเรื่องสั้น บางตอนทต่ี อ งการใหส มจรงิ ระดับภาษาแตละระดับนั้นไมไดมีการแบงอยางชัดเจนเพราะบางระดับอาจมีการเหล่ือมลํ้ากันได เชน ภาษาระดับทางการ และภาษาระดบั ก่ึงทางการ บคุ คลแตละบุคคลอาจไมไดใชภาษาทกุ ระดับ แตระดบั ภาษาท่ีเราใชในชีวิตประจาํ วันสว นมาก คอื ระดบั ก่งึ ทางการและไมเ ปน ทางการ ระดับท่ไี มน ยิ มใชคอื ภาษาระดบั ทางการ การใชภ าษาผดิ ระดบั จะเปนผลเสียตอ การสอ่ื สารอยางยง่ิ ความแตกตางของลักษณะภาษาระดับตางๆ 1. การเรียบเรียง ลาํ ดบั หรือระเบียบของใจความท่มี คี วามพิถพี ถิ ันตา งกัน ในการเรียบเรยี งแตกตางกัน เชน ระดบั พิธกี าร และระดบั ทางการ จะมกี ารขดั เกลาบทพดู ไวป ระณตี บรรจง เปน ระเบยี บและไมว กวน ตรงขา มกบั ภาษาระดบั ไมเ ปน ทางการและภาษา ระดบั กันเองท่ไี มไ ดมกี ารเรยี บเรยี ง เร่ืองราวทพ่ี ดู หรอื นําเสนอกส็ ดุ แลวแตจ ะคดิ ณ ขณะนนั้ 2. กลวิธกี ารนําเสนอ ภาษาระดับพิธกี ารและภาษาระดบั ทางการจะนาํ เสนออยางกลางๆ เพราะเปนการสงสารไปยังกลุม บุคคลในฐานะผูแทนของกลุมหรือในนามตําแหนงไมเจาะจง ภาษาก่ึงทางการหรือภาษาไมเปนทางการ ใชกลวิธีการนําเสนอไมมี พิธีรตี อง ไมตายตัว และสามารถนาํ เสนอในวธิ กี ารท่ีแปลกใหม เพื่อดึงดดู ความสนใจได 3. ถอ ยคาํ คาํ ในภาษาไทยสวนใหญล ว นเปน ถอยทบี่ งถงึ ความลดหล่นั ตามระดบั ภาษาตา งๆ ดงั นี้ 84 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ชนิดคํา ระดับพธิ ีการ ระดบั ทางการ ระดับกึ่งทางการ ระดับไมเ ปน ทางการ ระดบั กนั เอง สรรพนาม ผม กระผม ดฉิ นั หรือขาพเจา ฉนั ผม ดิฉนั อิฉนั กนั เรา หนู บุรุษที่ 1 หรือคําเรยี กแทนตวั เองและผอู น่ื สรรพนาม ทา น ทา นท้ังหลาย เออ คุณ ทาน แก ตวั บรุ ษุ ท่ี 2 โรงภาพยนตร คํานาม ใบอนุญาตขับขี่ โรงหนงั รถโดยสารประจําทาง ใบขบั ขี่ ลกั ษณะนาม ดวงตราไปรษณยี  รถเมล ภาพยนตร แสตมป กรยิ า พระสงฆ 9 รปู หนงั กลว ย 4 ผล พระสงฆ 9 องค กําไล 1 วง กลวย 4 ใบ เลือ่ ย 1 ปน กําไล 1 อัน ตาํ รวจ 2 นาย เลื่อย 2 อัน ถงึ แกกรรม ตาํ รวจ 2 คน รับประทาน ตาย เสีย สิ้น ฌาปนกจิ ศพ กิน หลัง่ น้ําพระพุทธมนต งานศพ รดนาํ้ สงั ข ขอ พงึ ระวงั - คําวิสามานยนาม เชน ชื่อโรงเรียน ช่ือคน ช่ือหนวยงาน ในระดับภาษาทางการข้ึนไปควรใชชื่อเต็ม สวนระดับท่ีลดลง มาใชย อได - คาํ วเิ ศษณบางคํา เชน เปรีย้ วจ๊ดี เขียวอ้ือ ดําป ยิม้ แฉง เปนคาํ ภาษาระดบั สนทนาลงไป แนวการทําขอสอบระดับภาษา การทาํ ขอสอบระดบั ภาษาน้ัน นอ งๆ จะตองรจู กั หัวใจของระดบั ภาษานน้ั ๆ เสยี กอน จากนัน้ ลองคดิ เปน ภาพของการสื่อสาร ประกอบดวยกจ็ ะสง ผลดีตอการพิจารณา อันจะทาํ ใหการเลอื กคาํ ตอบมคี วามแมนยาํ มากย่ิงขึ้น ซึง่ มีวธิ ีการดังน้ี ระดับพิธีการ – งานใหญ สือ่ สารเพยี งฝายเดียว ไมตองการคนตอบและภาษาสละสลวย ระดบั ทางการ – งานสาํ คญั ภาษาแบบแผนตองสัน้ กระชับเขาใจงา ย ระดับก่งึ ทางการ – งานท่วั ไป ใชภ าษาเขา ใจงาย เนนเสรมิ สมั พนั ธภาพ ระดบั ไมเปนทางการ – เนน ติดตอ สื่อสารและคาขาย ภาษาอาจจะมีคําเฉพาะกลมุ ระดับกันเอง – พูดคุยในชีวิตประจาํ วนั ใชภาษาพูด มีคาํ หยาบ คําแสลง ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 85

เมื่อเขา ใจหัวใจของภาษาแตละระดับภาษาแลว ตอ ไปจะเปน วธิ กี ารสังเกตระดบั ของภาษาขนั้ เบ้ืองตน ดังน้ี 1. อานขอความแลวนึกภาพสถานการณการใชภาษาตามขอความนั้นๆ ถาเห็นภาพชัดเจนก็วิเคราะหลักษณะของภาษา แตล ะระดบั ไดงายขนึ้ 2. หากขอความน้ันเห็นภาพที่ส่ือออกมาไมชัดเจน พิจารณาหาภาษาระดับกันเอง ระดับพิธีการ ระดับทางการ ระดับก่ึง ทางการ และภาษาไมเปน ทางการตามลําดบั โดยยดึ หัวใจของภาษาแตละระดับเปนสําคญั ประโยชนข องการใหว ิเคราะหร ะดับภาษา ตามลาํ ดบั ขา งตน นี้ เพราะภาษากันเองและภาษาพธิ ีการ มลี ักษณะทโี่ ดดเดนเฉพาะตัว สังเกตงาย มคี วามแตกตางจากภาษาระดบั อน่ื มาก สงผลตอการทําขอ สอบไดเ รว็ ขน้ึ 3. ตรวจและพิจารณาตวั เลือกทใี่ กลเคยี งกบั สง่ิ ที่เราวิเคราะหไดม ากท่สี ดุ ลองฝก ฝนจากตวั อยางขอ สอบระดับภาษา เพื่อสรางความชาํ นาญในการทาํ ขอ สอบ ตวั อยางท่ี 1 ขอ ใดใชภาษาตางระดับจากขออน่ื 1. ในระบอบประชาธปิ ไตย ประชาชนเปน เจาของอาํ นาจประชาธปิ ไตย 2. ศิลปนแหง ชาตเิ ปนบุคคลผสู รา งสรรคผลงานศลิ ปะอันทรงคณุ คา 3. ผูท่ไี ดร บั เลือกเปนสมาชกิ แหง ราชบณั ฑิตยสถานถือวา ไดร ับการยกยอ งอยา งสงู สดุ 4. พฤติกรรมความเชอื่ เร่อื งฤกษย าม เจา ที่เจาทาง และเคร่อื งตกแตงบา น ในเมอื งไทยดูจะเปนพิธกี ารเพอื่ ตนเอง คาํ ตอบ ขอ 4. เพราะเปน ภาษาระดบั กนั เอง แตขออ่ืนเปนภาษาระดบั ทางการ สังเกตไดจ ากคําวา เจาที่เจาทาง ตัวอยา งที่ 2 ขอความตอไปนีใ้ ชภ าษาระดับใด “คําพดู ” เสยี งท่เี ปลง ออกมางา ยๆ อาจมีผลกระทบตอชีวติ สุขหรือทกุ ข สําเรจ็ หรอื ลม เหลว กาํ หนดไดด วยคําพดู ทกี่ ลนั่ ออก จากจติ ใจโดยเริ่มตน ดวยทา ทที ีถ่ กู ตอ ง ดีงาม เพอ่ื คาํ พูดทีเ่ ปลงออกมาจะเปนวาทะท่ีสรางสรรคแ ละสรา งเสริม 1. ระดบั พธิ กี าร 2. ระดับทางการ 3. ระดบั ก่งึ ทางการ 4. ระดบั ไมเ ปนทางการ คาํ ตอบ ขอ 1. เพราะขอ ความขา งตน มกี ารรอ ยเรยี งภาษาไดอ ยา งสละสลวยประณตี ตรงกบั คณุ สมบตั ขิ องภาษาระดบั พธิ กี าร ตัวอยา งท่ี 3 รายงานทางวิชาการสว นใดใชภาษาไมเ หมาะสม 1) การเขา พกั อาศยั อยกู บั คนในหมบู า นทาํ ใหไ ดเ รยี นรวู ิถชี วี ติ ความเปน อยขู องคนเหลา นน้ั 2) นกั วจิ ยั พบวา ตอ งทาํ ตวั เปน คน อยไู ดก ินงา ย คลุกคลตี โี มงกับชาวบาน เพือ่ เสรมิ สรา งความสนิทสนมคนุ เคย 3) ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหมบู าน เคารพสิทธขิ อง เจาของพ้นื ที่ 4) ไมท ําสิง่ ที่ขดั แยง กบั ขอปฏบิ ัติของชุมชน และไมลบหลูความเชือ่ ของคนในทองถนิ่ 1. สว นท่ี 1 2. สว นที่ 2 3. สว นท่ี 3 4. สว นที่ 4 คาํ ตอบ ขอ 2. เพราะ รายงานทางวชิ าการจะตอ งใชภ าษาระดบั ทางการ แตข อ ความสว นท่ี 2 ใชภ าษาระดบั กนั เอง (ภาษาปาก) สงั เกตไดจากคําวา อยูไดกนิ งาย และ คลุกคลีตีโมง ตวั อยางที่ 4 จงเรียงลําดบั ขอความตอไปนีต้ ามระดบั ภาษา โดยเรม่ิ จากภาษาระดับทางการ กงึ่ ทางการ ไมเปน ทางการและ กันเอง 1. ทําไมผหู ญิงท่มี ีลูกแลวอวน สาเหตุทีค่ นมกั นกึ ไมถ งึ คือแมเสียดายของที่ลกู กนิ เหลือ 2. ผูหญิงท่ปี ลอยใหพงุ พลุย เปนพะโลอ ยา งน้ี นอกจากจะดูไมไ ดแ ลวยังจะตายไวเสียดว ย 3. การประชมุ วชิ าการเรอ่ื งโรคอว นครงั้ นจ้ี ดั ขน้ึ เนอ่ื งจากโรคอว นเปน ปญ หาทางสขุ ภาพทท่ี กุ ประเทศทว่ั โลกกาํ ลงั ประสบอยู 4. การลดนาํ้ หนกั ดวยวธิ ีการงายๆ น้ัน เราจะตองควบคุมอาหารและหลกี เล่ียงอาหารทมี่ ไี ขมันสงู 86 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

1. 4 1 3 2 2. 3 1 2 4 3. 3 4 1 2 4. 4 1 2 3 คําตอบ ขอ 3. เพราะ ขอความท่ี 3 ใชภาษาระดับทางการ ขอ ความที่ 4 ใชภ าษาระดบั กง่ึ ทางการ ขอความที่ 1 ใชภ าษาระดบั ไมเปนทางการ ขอ ความท่ี 2 ใชภ าษาระดบั กนั เอง นอ งๆ สามารถศึกษาเพม่ิ เติมไดที่ Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, ระดบั ภาษา, ภาษาราชการ, ภาษาทางการ, ภาษากนั เอง • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 03 ระดบั ภาษา http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch11-1 • ระดับภาษา ตอนท่ี 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch11-2 • ระดบั ภาษา ตอนท่ี 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch11-3 • ระดบั ภาษา ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch11-4 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 87

บทที่12 ราชาศพั ท ถา เอย ถงึ คาํ ราชาศพั ท นอ งๆ คงคดิ วา เปน เรอ่ื งทย่ี ากและตอ งจาํ เยอะมากๆ จนบางคนเจอขอ สอบราชาศพั ทแ ลว ไมท าํ เดาขอ สอบ เลย แตถ า นอ งๆ ลองมาเปลยี่ นวธิ กี ารเรยี นราชาศพั ทแ บบเนน เขา ใจแกน ของสาระกจ็ ะทาํ ใหร าชาศพั ทก ลายเปน เรอื่ งงา ยไดท นั ที ราชาศพั ท คอื คาํ สภุ าพทใี่ ชใ หเ หมาะสมกบั ฐานะของบคุ คลตา งๆ คาํ ราชาศพั ทเ ปน การกาํ หนดคาํ และภาษาทสี่ ะทอ นใหเ หน็ ถงึ วฒั นธรรมอนั ดงี ามของ ไทย แมค าํ ราชาศพั ทจ ะมโี อกาสใชใ นชวี ติ นอ ย แตเ ปน สงิ่ ทแี่ สดงถงึ ความละเอยี ดออ นของภาษาไทยทมี่ คี าํ หลาย รปู หลายเสยี งใน ความหมายเดยี วกนั และเปน ลกั ษณะพเิ ศษของภาษาไทย โดยเฉพาะ ซง่ึ ใชก บั บคุ คลกลมุ ตา งๆ ดงั ตอ ไปน้ี 1. พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัวและสมเดจ็ พระนางเจาพระบรมราชนิ ีนาถ 2. พระบรมวงศานุวงศ 3. พระภกิ ษุสงฆ สามเณร 4. ขนุ นาง ขา ราชการ 5. สภุ าพชน การใชคําราชาศัพท • การใชพ ระบรม พระราชและพระ และนามสําคญั พระบรมราช + นามสําคญั ที่สุด ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เชน พระบรมราโชวาท พระบรมศพ พระราชโองการ พระบรมฉายาลกั ษณ พระราช + นามสาํ คัญที่สุด ของสมเดจ็ พระบรม เชน พระราโชวาท พระราช + นามสําคัญ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว และ สมเดจ็ พระบรม เชน พระราชนพิ นธ พระราชกรณยี กิจ พระราชประวัติ พระ + นามทสี่ าํ คญั ท่ีสดุ ของสมเด็จเจา ฟา พระองคเจา และสมเดจ็ พระสงั ฆราช เชน พระโอวาท พระนพิ นธ พระราชกุศล พระกรณยี กิจ พระประวตั ิ พระ + อวยั วะและของใช ของกษตั รยิ จนถึงพระองคเ จา เชน พระเนตร พระหัตถ พระกรรณ พระนาสิก • การใชพ ระบรมราชปู ถัมภ พระบรมราชานุเคราะห เนื่องจากพระบรมราชูปถัมภและพระบรมราชานุเคราะหมีความหมายใกลเคียงกัน คือการใหการเก้ือกูลหรือค้ําจุนองคกร หรอื บุคคล พระบรมราชปู ถมั ภใ ชใ นกรณชี ว ยเหลอื องคก ร สถาบนั สโมสร หรอื กจิ การอยา งใดอยา งหนง่ึ การใชค าํ วา พระบรมราชปู ถมั ภ สาํ หรบั พระบรมวงศานวุ งศ ดงั น้ี พระบรมราชูปถัมภ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั พระบรมราชนิ ูปถมั ภ สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ พระราชูปถมั ภ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 88 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

พระอปุ ถัมภ พระราชวงศทัว่ ไป พระบรมราชานเุ คราะห ใชใ นกรณกี ารชว ยเหลอื อนเุ คราะหบ คุ คลดว ยพระกรณุ า การใชค าํ วา พระบรมราชานเุ คราะหส าํ หรบั พระบรมวงศานวุ งศ ดงั น้ี พระบรมราชานุเคราะห พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว พระราชานเุ คราะห สมเดจ็ พระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ  สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกุฎราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระอนเุ คราะห พระราชวงศท ่ัวไป • การใชพระชนมพรรษาและพระชนมายุ พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถ พระชนมายุ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี • การใชกริยาราชาศพั ท มี 2 ประเภท 1. สําเรจ็ รปู เชน เสด็จ สรง สรวล เสวย พระราชทาน ประทาน ประชวร บรรทม 2. ใช “ทรง” ดังน้ี 2.1 ทรง + กรยิ าธรรมดา เชน ทรงสราง ทรงหมนั้ ทรงยินดี ทรงวงิ่ 2.2 ทรง + นามธรรมดา เชน ทรงศลี ทรงธรรม ทรงดนตรี 2.3 ทรง + นามราชาศัพท เชน ทรงฉลองพระองค ทรงพระกรุณา ขอ หา ม หา มใช “ทรง” นาํ หนา กริยาราชาศัพทส ําเร็จรูป • การใชคาํ วา “เสด็จ” นาํ หนา เสด็จ + กรยิ าสามญั เชน เสดจ็ ไป เสด็จออก เสดจ็ + นามราชาศัพท เชน เสดจ็ พระราชสมภพ เสดจ็ พระราชดาํ เนินไปตางประเทศ • การใชสรรพนามราชาศัพท ผูฟง บุรษุ ท่ี 2 บรุ ษุ ท่ี 1 ขาพระพุทธเจา 1. พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั } ใตฝาละอองธุลพี ระบาท พระบรมราชนิ นี าถ } }ใตฝ า ละอองพระบาท 2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สมเดจ็ พระเทพพระรตั นฯ 3. สมเด็จเจา ฟา ใตฝ าพระบาท 4. พระองคเ จา สมเด็จพระสงั ฆราช ฝา พระบาท เกลา กระหมอ ม (ฉนั ) 5. หมอมเจา ฝายพระบาท เกลากระหมอ ม หมอมฉนั ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 89

• การใชคาํ ราชาศพั ทใ หถกู ตอ งตามแบบแผนสาํ นวนไทย - เฝาทูลละอองธุลีพระบาท หรือ เฝาฯรบั เสดจ็ หรือ รบั เสดจ็ ไมใ ช ถวายการตอ นรบั - มีความจงรกั ภักดี แสดงความจงรักภกั ดี ไมใ ช ถวายความจงรกั ภักดี • การใชคําราชาศพั ทใหถ กู ตองตามเหตผุ ล กรณพี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวเสด็จเยือนประเทศตางๆ พระราชอาคันตกุ ะ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั เยือนประเทศทพ่ี ระมหากษัตริยเ ปนประมุขของประเทศ พระอาคนั ตุกะ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั เยือนประเทศที่ประธานาธบิ ดเี ปน ประมุขของประเทศ ตัวอยา ง - พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัวทรงเปน พระราชอาคันตกุ ะของสมเด็จพระบรมราชินอี ลิซาเบธ - พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ทรงเปนพระอาคันตกุ ะของประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา กรณี พระมหากษตั รยิ ห รอื ประธานาธบิ ดี ตา งประเทศเสดจ็ มาหรอื มาเยอื น พระมหากษตั รยิ ไ ทย เรยี กวา “พระราช อาคนั ตุกะ” ตวั อยา ง - สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีอลิซาเบธทรงเปน พระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั - ประธานาธบิ ดีของประเทศสหรัฐอเมริกาทรงเปนพระราชอาคันตุกะของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว • ราชาศัพทส าํ หรับพระภิกษุ }- สมเด็จพระสังฆราช จะใชคาํ ระดับเดียวกนั กบั พระองคเ จา เชน บรรทม ประชวร เสวยพระกระยาหาร - สมเดจ็ พระราชาคณะ ใชค ําราชาศัพทสําหรับพระภิกษุ เชน - พระราชาคณะ - พระภกิ ษทุ ่วั ไป จาํ วัด อาพาธ ฉันภตั ตาหาร • คําราชาศัพททีม่ ักจะใชผดิ - ทูลเกลาทลู กระหมอมถวาย ใชกบั ของทส่ี ามารถยกได นอ มเกลา นอมกระหมอมถวาย ใชกับของที่มีขนาดใหญ ยกไมได ถวาย ใชก บั สง่ิ ทเ่ี ปน นามธรรม เชน ถวายชวี ติ ถวายพระราชสมญั ญานาม - โปรด เปน คาํ ศพั ทระดับธรรมดา หรือราชาศพั ทก ็ได ระดบั ธรรมดา มคี วามหมายวา เปนท่ีถูกใจ พอใจ สงเคราะห เชน ราดหนา เปน ของโปรด ของฉนั พระไปโปรดสตั ว ระดบั ราชาศพั ท มคี วามหมายวา ชอบ พอใจ เชน โปรดทางกฬี าเวลาเยน็ โปรดจดั ตงั้ กองลกู เสอื - ทรงพระราชดาํ เนนิ เดนิ เชน ทรงพระดําเนินในหองบรรทม เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไป อาจไปดวยรถที่นง่ั เรือพระทีน่ ั่งก็ได เชน เสดจ็ พระราชดาํ เนินกลบั จาก พระตําหนักภพู าน แนวการทําขอสอบราชาศัพท หลังจากเรียนรูเรือ่ ง ราชาศพั ท ท่จี ะตองจาํ คอ ยขางเยอะและอาจจะสบั สนได ดงั นน้ั การวิเคราะหขอสอบที่ดีก็ตองมีวธิ ีการ จาํ ใหง ายขนึ้ โดยจําลําดบั ของพระบรมวงศานุวงศเปน 3 ระดับ ดงั น้ี 90 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

ระดับที่ 1 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ระดับท่ี 2 สมเดจ็ พระนางเจา ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกุมาร สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ระดบั ที่ 3 พระบรมวงศานวุ งศพ ระองคอน่ื ๆ จากการจดั ลาํ ดับขา งตน จะแสดงใหเ ห็นพระฐานนั ดรศกั ดขิ์ องแตพ ระองค ในทาํ นองเดียวกลวิธีการใชภ าษากล็ ดหลัน่ ลงไป เชนกัน เชน พระบรม – พระราช – พระ อกี หนง่ึ เรอื่ งทน่ี อ งจะตอ งพงึ ระวงั ในการขอ สอบราชาศพั ท นอ งจะตอ งขดี เสน ใตค าํ ราชาศพั ทก อ นจะพจิ ารณาตวั เลอื กของ ขอ สอบทกุ ครง้ั เพอ่ื ใหเ กดิ ความชดั เจนและแมน ยาํ มากยงิ่ ขน้ึ อยา ลมื กฎขอ บงั คบั และขอ หา มตา งๆ ในการใชค าํ ใหถ กู ตอ ง โดยเฉพาะ คาํ วา “ทรง” ทข่ี อ สอบมกั จะออกมาหลอกทกุ ป เมอ่ื เขา ใจอยา งแมน ยาํ แลว มาดตู วั อยา งขอ สอบ เพอื่ เปน แนวทางในการทาํ ขอ สอบกนั เลย ตวั อยางท่ี 1 ขอ ใดใชร าชาศพั ทถกู ตอ ง สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกุฎราชกุมาร ............................. นํา .......................... ทง้ั สองไปเขาเฝาฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวและสมเดจ็ พระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถ 1. เสดจ็ ฯ ราชาอาคันตุกะ 2. ทรงดาํ เนิน พระราชอาคันตกุ ะ 3. ทรงพระดําเนิน พระราชอาคันตุกะ 4. เสด็จพระราชดําเนิน ราชอาคันตกุ ะ คําตอบ ขอ 3. เพราะ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามมกุฎราชกมุ าร จะใช ทรงพระดําเนิน หรือ เสด็จฯ กไ็ ด เม่ือเปน แขก ของสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกมุ าร ตองใชคําวา “พระราชอาคันตกุ ะ” ตวั อยา งที่ 2 ขอ ความตอนใดใชค ําราชาศัพทไ มถูกตอ ง 1. พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอมให 2. สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามมกุฎราชกมุ าร เสด็จออกแทนพระองค ณ พระที่น่งั อมั พรสถาน 3. พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหป ระธานวฒุ สิ ภา 4. เขาเฝา ทูลละอองพระบาทเพ่อื ทลู เกลาทูลกระหมอ มถวายเงนิ โดยเสดจ็ พระราชกศุ ล คําตอบ ขอ 3. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ใช พระบรมราชวโรกาส สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ใช พระราชวโรกาส ตัวอยา งท่ี 3 ขอใดเมอ่ื เติม “พระ” ขางหนา แลว ใชเปน ราชาศัพทสําหรบั พระมหากษัตริย ไดท ุกคาํ 1. บรมราชานสุ าวรีย บรมฉายาลักษณ บรมหฤทัย 2. บรมชนกนาถ บรมโกศ บรมวงศ 3. บรมหตั ถเลขา บรมรปู บรมบพิตร 4. บรมมนเทียร บรมอัฐิ บรมเกศา คําตอบ ขอ 2. เพราะ ถูกตองทกุ คาํ สวนขอ อ่ืนๆ มที ี่ผิดดงั น้ี ขอ 1. ผดิ คาํ วา พระบรมหฤทยั ตองเปน พระราชหฤทัย ขอ 3. ผดิ คาํ วา พระบรมหตั ถเลขา ตอ งเปน พระราชหัตถเลขา ขอ 4. ผิดคาํ วา พระบรมมนเทยี ร ตอ งเปน พระราชมนเทียร พระบรมเกศา ตอ งเปน พระเกศา ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 91

นองๆ สามารถศึกษาเพ่มิ เติมไดท ่ี Tag : สอนศาสตร, ภาษาไทย, คําราชาศัพท, การใชคาํ ราชาศพั ท • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 04 การใชคาํ ราชาศัพท 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch12-1 • สอนศาสตร : ภาษาไทย ม.ปลาย : 05 การใชค ําราชาศัพท 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch12-2 • คาํ ราชาศัพท 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch12-3 • คาํ ราชาศพั ท ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch12-4 • คําราชาศพั ท ตอนท่ี 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch12-5 92 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทที่13 การเขียนบรรณานุกรม การเขียนบรรณานุกรมหรือท่ีเรียกกนั อกี ชอื่ หน่งึ วาการเขียนอางองิ น้ัน เปน ส่ิงทีน่ อ งๆ หลายคนคงคดิ วา เปนเร่ืองทนี่ า เบอื่ เพราะไมร ูว านาํ ไปใชป ระโยชนอะไรได แตการเขยี นอางองิ เปน สวนสําคญั ของการทาํ รายงานหรอื ผลงานท่ีเปนวชิ าการของทกุ ระดับ การศึกษา เพ่ือใหผูท่ีมาอานผลงานของเราเห็นวาผลงานเรานั้นผานการคนควา นาเช่ือถือ รวมท้ังยังเปนการใหเกียรติแกเจาของ ผลงานทเี่ ราไดไปคน ควา มาดว ย การเรยี นเร่ืองการเขียนบรรณานกุ รมน้ันมีหลกั ใหญๆ ทนี่ องๆ ควรจะจําและทาํ ความเขาใจ 2 หลกั คือ หลักที่ 1 รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม ในเรอ่ื งของรปู แบบนน้ั เปน เรอ่ื งทใี่ นระยะแรกนอ งอาจจะตอ งใชค วามจาํ ในการจดจาํ รปู แบบทถ่ี กู ตอ งเสยี กอ น แตเ มอ่ื นอ งไดใ ช รปู แบบทถ่ี กู ตอ งในการเขยี นบรรณานกุ รมเพอื่ ทาํ รายงานสง คณุ ครบู อ ยๆ แลว นอ งกจ็ ะสามารถทาํ ไดอ ยา งเปน อตั โนมตั เิ อง รปู แบบของ การเขยี นบรรณานกุ รมทป่ี รากฏในขอ สอบ มรี ปู แบบดงั ตอ ไปนี้ ชอ่ื ผแู ตง . ปท พี่ มิ พ. ช่ือหนงั สอื . เลมท่ีหรือจํานวนเลม(ถา มี), คร้งั ท่ีพมิ พ. ชอ่ื ชุด หนงั สือและลาํ ดับท่ี (ถาม)ี . สถานทพี่ ิมพ: สาํ นกั พมิ พ. ตัวอยา งของการเขียนบรรณานุกรม นววรรณ พนั ธุเมธา. 2549. คลงั คํา. พมิ พค รัง้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรนิ ทรพริ้นต้งิ แอนดพบั ลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). เม่ือนองไดเห็นแบบของบรรณานุกรมแลวอาจจะคิดวาคงเปนการยากที่จะจดจํารูปแบบได เพราะนอกจากจะตองจําวา บรรณานุกรมประกอบไปดวยอะไรบา งแลว ยงั ตอ งจาํ เครือ่ งหมายตางๆ ทม่ี ดี ว ย แตหลักการจํางายๆ น้ัน ถา นอ งสังเกตจากตัวอยา ง และจากบรรณานกุ รมทวั่ ไปจะพบวา ปกตแิ ลว มกั จะไมม จี าํ นวนเลม และชอื่ ชดุ หนงั สอื ดงั นน้ั การจาํ เพอ่ื ไปสอบอาจจะยงั ไมจ าํ สองสว น น้กี ไ็ ด (แตเ มอื่ ทํารายงานจรงิ ๆ ถา มีตอ งใสไ ปนะ) แลว เรากจ็ ะเหลอื ส่ิงที่ตอ งจําเพียง 6 ชือ่ คือ ชือ่ ผแู ตง ปท ีพ่ ิมพ ชือ่ หนังสอื คร้งั ที่ พมิ พ สถานทีพ่ ิมพ สํานักพิมพ หลงั จากทน่ี องจําท้ัง 6 ช่อื ไดแ ลวกม็ าจําเคร่ืองหมาย ซง่ึ หลักการจาํ งา ยมากๆ ก็คือ ชือ่ หนงั สือจะตองขีดเสนใต (หรอื ทาํ ตวั หนากไ็ ด แตในขอสอบมกั เปนขีดเสน ใต) และทุกสวนจะมจี ดุ (.) กํากับ ยกเวน สถานท่ีพิมพจ ะเปนเคร่ืองหมาย : หากนองสามารถ จับหลกั การเขียนไดเ พยี งเทานกี้ ารเขียนบรรณานกุ รมก็ไมใ ชเร่ืองยากอีกตอ ไป หลักที่ 2 หลกั การเขยี นบรรณานุกรม นอกเหนอื จากเรื่องรูปแบบแลวการเขยี นบรรณานุกรมมหี ลักทค่ี วรจํา ดังตอ ไปนี้ 1. การเรียนลําดบั บรรณานุกรมใหเรียงลาํ ดบั ตามพจนานุกรม 2. ถา รายการบรรณานุกรมมที ั้งหนังสอื ภาษาไทยและภาษาอังกฤษใหเ รียงหนังสอื ภาษาไทยข้ึนกอน 3. ช่อื ผแู ตงไมตอ งมียศ หรอื ตําแหนง เชน ดร. พล.ต แตถ า เปนตาํ แหนงราชนิกุลใหใส , หลงั ช่ือ แลวเขียนตําแหนงดว ย เชน คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว. 4. ผแู ตง อาจเปน คนๆ เดยี ว เปน หมคู ณะ หรอื เปน สถาบนั กไ็ ด เชน สมุ น อมรววิ ฒั น และคณะ หรอื ศกึ ษาธกิ าร, กระทรวง (ถา เปน หนว ยงาน เชน กระทรวง กรม มหาวทิ ยาลยั ใหเ ขยี นชอ่ื ของหนว ยงานนน้ั กอ นแลว จงึ ใสเ ครอื่ ง , และบอกประเภทของหนว ยงาน) ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 93

นอ งๆ จะเหน็ วาหากเราไดศ ึกษาเรอ่ื งบรรณนานกุ รมอยางเขา ใจแลว การเขียนบรรณานกุ รมก็ไมใชเรอื่ งที่ยากเลย เชนเดียว กับขอ สอบของเรื่องนี้ถา เราจาํ หลักขา งตน ไดกส็ ามารถทําขอ สอบไดแ นนอน ตวั อยา งขอ สอบของเรื่องนี้ คอื (o-net ป 2554) ใชขอมูลบรรณานกุ รมตอไปนีต้ อบคําถาม รศ.ดร.สนุ ันท อัญชลนี ุกูล. 2548. ระบบคําภาษาไทย. พมิ พคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: โครงการ เผยแพรผ ลงานวิชาการ คณะอกั ษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . ขอ ใดไมจําเปนตองใสไวใ นการเขยี นบรรณานกุ รมขางตน 1. คํานาํ หนา ชอ่ื ผูแ ตง 2. ครง้ั ทพ่ี ิมพ 3. ปท ีพ่ มิ พ 4. หนวยงานท่พี มิ พเผยแพร สาํ หรบั ขอ สอบขอ นจ้ี ะเหน็ วา เปน ขอ สอบทอ่ี อกมาถามเรอ่ื งความจาํ อยา งชดั เจน ถา นอ งสามารถจาํ หลกั การเขยี นพจนานกุ รมได นอ งกส็ ามารถทาํ ขอ สอบได เมอ่ื อา นขอ สอบแลว จะเหน็ วา ไมส ามารถตอบขอ 2 และ 3 ไดอ ยา งแนน อน เพราะเปน รปู แบบทถ่ี กู กาํ หนดไว ของการเขยี นบรรณานกุ รม ดงั นน้ั จงึ เหลอื สองขอ แตใ นขอ 4 จะเหน็ วา คาํ วา “หนว ยงานทพี่ มิ พเ ผยแพร” นน้ั เปน ชอื่ เรยี กเดยี วกนั ของ สํานักพิมพน่ันเอง ดังนั้นจึงตอบขอ 1 เพราะจากหลักการเขียนบรรณานุกรมจะเห็นวาไมตองใสตําแหนงทางวิชาการทําหนาชื่อ ผเู ขยี น นอกจากขอ สอบในลกั ษณะถามหลกั การเขยี นบรรณานกุ รมแลว ขอ สอบมกั จะใหเ รยี งลาํ ดบั บรรณานกุ รม ซง่ึ จะเรยี งชอ่ื ผเู ขยี น ตามหลกั การเรียงคาํ ตามพจนานกุ รมซงึ่ นองๆ สามารถทาํ ความเขาใจไดในเรอ่ื งตอไป นองๆ สามารถศกึ ษาเพม่ิ เติมไดท่ี Tag : ภาษาไทย, การเขียน, อางองิ , บรรณานุกรม, การทํารายงาน • การทาํ เอกสารอางอิงแบบแวนคเู วอร http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch13-1 94 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท1ี่ 4 การใชพ จนานกุ รม พจนานุกรมเปนส่ิงท่ีนองๆ ทุกคนคงจะเคยใชมาตั้งแตเด็กๆ ถึงแมวาปจจุบันการหาความหมายจะทําไดงายๆ ดวยสื่อ อเิ ลก็ ทรอนกิ สตางๆ แตการใชพ จนานุกรมและการเรยี งคาํ ตามพจนานุกรมกย็ ังคงเปน เรือ่ งที่ควรศกึ ษา โดยเฉพาะเรื่องการเรยี งคํา ตามพจนานกุ รมที่นองๆ จะสามารถนาํ ไปใชใ นการเรยี นหรอื การทาํ งานเร่อื งอืน่ ๆ ได หากเราจะใชพ จนานกุ รม สิ่งท่ีเราจําเปน ตอ งทาํ ไดม ี 2 ส่งิ คอื จะตองเรยี งคาํ ตามพจนานุกรม และจะตอ งรูเกยี่ วกับอกั ษร ยอ ทีจ่ ะประกอบอยูในการอธิบายความหมายของคาํ การเรียงลําดับคําตามพจนานุกรม 1. จะตองเรียงลําดบั ตามรปู พยญั ชนะมากอ นรูปสระ โดยจะเปนการเรยี งตาม ก - ฮ แตจ ะมกี ารเพมิ่ ฤ ฤา หลัง ร และ ฦ ฦา หลงั ล 2. ไมเรียงลําดับตามเสยี งอา น แตเรยี งลาํ ดบั ตามรูปพยางค เชน หญงิ หนงั หมวด หลาย จะตอ งไปคนในหมวดตวั อกั ษร ห ถา จะคน คําวา ทราบ ทรพั ย ก็ไปคน ในหมวดตัวอักษร ท 3. คาํ ทอี่ ยใู นหมวดอกั ษรเดยี วกนั จะเรยี งลาํ ดบั ตามรปู พยญั ชนะตวั ถดั ไปของคาํ ไมส นใจเสยี งตวั สะกด อกั ษรควบ หรอื อกั ษร นํา เชน กฎ มากอน กรด เพราะ ฎ มากอน ร 4. คาํ ที่ขึ้นตน ดว ยพยญั ชนะแลวตามดว ยพยัญชนะ มากอนคําท่ตี ามดว ยสระ เชน ของ มากอน ขาย 5. คําท่ขี ้นึ ตน ดว ยพยัญชนะและตามดวยสระ จะมลี าํ ดับการเรียงรูปพยัญชนะ ดงั นี้ อะ อั ออั ะ อา อํา อิ อี อึ อื อุ อู เอ เอะ เอา เอาะ เอิ เอี เอยี ะ เอีอ เอือ เอยื ะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอ 6. เรยี งลาํ ดบั ตามรูปวรรณยกุ ต สามัญ เอก โท ตรี จตั วา โดยจะเรม่ิ จากคําทไี่ มมรี ูปวรรณยุกตกอน องคประกอบและอักษรยอในพจนานุกรม 1. องคป ระกอบของการนิยามพจนานุกรม คําตงั้ หรือแมค าํ หมายถึง คาํ ทีย่ กขึ้นต้งั เพือ่ นิยามความหมายในการทําพจนานุกรม ลกู คํา หมายถงึ การเรยี กคาํ เม่อื คาํ ตงั้ มาประสมกันแลว ความหมายตางไปจากเดิม เชน คาํ วา ลูก เปน คําตั้ง มลี กู คาํ เชน ลกู คา ลกู เขย 2. อกั ษรยอทอี่ ยูใ นวงเล็บ จะบอกท่มี าของคํา เชน ข. มาจาก เขมร บ. มาจาก บาลี จ. มาจาก จีน ส. มาจาก สันสกฤต 3. อกั ษรยอหนาบทนยิ าม จะบอกชนิดของคําตามหลกั ไวยากรณ เชน น. มาจาก คํานาม ก. มาจาก กริยา ส. มาจาก สรรพนาม ส. มาจาก สันธาน ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 95

4. อกั ษรยอ ในวงเลบ็ หนา บทนิยาม จะบอกลกั ษณะของคาํ ท่ใี ชเ ฉพาะแหง เชน (ถ่นิ ) คําทีใ่ ชเ ฉพาะถ่ิน (โบ) คําโบราณ (ปาก) ภาษาปาก (สํา) คําทีเ่ ปน สํานวน (แบบ) คาํ ท่ีใชเฉพาะในหนงั สือ (กลอน) คําท่ีใชใ นบทรอ ยกรอง สําหรบั เร่ืองขอ สอบของเรื่องการใชพ จนานุกรมน้ี ขอ สอบสวนใหญมี 2 สวนดว ยกัน คอื สว นการเรยี งคาํ ตามพจนานกุ รม ซึ่งมกั จะเปน ขอสอบคกู ับการเขยี นบรรณานกุ รม และอกี สวนหนงึ่ คือ การวัดความรเู ร่อื งองคประกอบตา งๆ ของพจนานกุ รม ซง่ึ ใน ท่ีน้พี ่จี ะนําตวั อยางขอสอบเรอ่ื งการเรยี งคาํ ตามพจนานุกรมมาใหนองๆ ไดด ูกัน (o-net ป 2554) ใชขอมลู บรรณานุกรมตอบคําถามตอ ไปนี้ รศ.ดร.สุนนั ท อญั ชลีนกุ ลู . 2548. ระบบคาํ ภาษาไทย. พิมพครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร- ผลงานวชิ าการ คณะอักษร ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . ในการเรียงลําดบั ตามพจนานกุ รม ชอื่ ผูแตง ในขอ ใดควรเรียงตอจากบรรณานกุ รมขางตน 1. รชั นียญ า กลนิ่ หอม………………….. 2. รุจนี วรี านนั ท… ……………….. 3. สุวคนธ จงตระกลู ………………….. 4. สนุ ารี ภวภตู านนท… ……………….. จากขอสอบจะเห็นวา หากจะทําขอสอบขอนี้นองๆ จะตองมีความรูทั้งเรื่องการเรียงคําตามพจนานุกรมและการเขียน บรรณานุกรม ซึง่ จากความรูใ นการเขยี นบรรณานุกรมทําใหเ ราทราบไดว า ซง่ึ ก็คอื สนุ นั ท ดังนั้นเราจึงไมสามารถตอบขอ 1และ 2 ได เนื่องจากพยัญชนะ ร มากอน ส และคําตอบที่ถูกตองคือขอ 4 เนื่องจากพยัญชนะ น จากชื่อสุนารี มากอนพยัญชนะ ว จากชื่อ สุวคนธ 96 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

บทท่1ี 5 การใชภาษาในทีป่ ระชุม กอนทีเ่ ราจะเรียนเรอื่ งการใชภ าษาในทีป่ ระชุมนั้น สิ่งหนง่ึ ทเี่ ราจะตองเขา ใจ คอื การประชมุ เปน การสื่อสารรูปแบบหนึง่ ซึ่ง เปน การสื่อสารที่มคี วามเปนทางการคอ นขา งมาก ดังนั้นเราจึงตองใชภ าษาในการประชมุ แตกตา งจากการใชภาษาทั่วไป ส่งิ ท่ีทาํ ใหก ารประชมุ เปนการส่ือสารรูปแบบอื่นกค็ ือ การประชมุ มีองคป ระกอบในการสื่อสารครบถว น โดยประกอบไปดว ย ผูสง สาร และผรู ับสาร คอื ผทู เี่ ขา รวมประชมุ ทกุ คนทรี่ วมปรกึ ษาหารอื แสดงความคิดเหน็ (สงสาร) และรับฟง การประชมุ (รับสาร) สาร คอื เนื้อหาในการประชุม มีทงั้ สารทีเ่ ปน สว นบุคคลอยางการแสดงความเหน็ ของแตล ะคน และสารที่เปนของผเู ขารวม ประชุมทุกคนอยา ง มตขิ องท่ีประชุม สอ่ื คือ สือ่ ธรรมชาติ อยา งเชน อากาศ และสือ่ ทีใ่ ชป ระกอบการประชมุ เชน รายงานการประชุม สอื่ อิเล็กทรอนิกส พเ่ี ชอื่ วา นอ งๆ ทกุ คนกต็ อ งเคยผา นการประชมุ มาแลว ทกุ คน เพราะในการเรยี นจะตอ งมกี ารทาํ งานเปน กลมุ เราจะตอ งมกี าร ประชมุ ปรกึ ษาและวางแผนในการทํางานกนั แตการประชุมมใิ ชมเี พยี งการประชมุ ปรึกษาเพียงอยางเดียวเทานนั้ แตก ารประชุมยงั มี รูปแบบอ่ืนดวย โดยการประชมุ สามารถแบงเปนชนดิ ตางๆ ได 10 ชนดิ คือ 1. การประชมุ สามัญ เปน การประชุมตามขอ บังคับที่กําหนดไว เชน ปล ะครง้ั 2. การประชมุ วิสามญั เปนการประชุมพเิ ศษ เม่ือเกดิ เหตุจาํ เปน 3. การประชมุ ลับ เปน การประชมุ ทหี่ ามผูไมมสี ว นเก่ียวของเขา ฟง และไมเปดเผยมตกิ ารประชุม 4. การประชมุ เฉพาะกลุม เปนการประชุมท่จี ะเขา ประชมุ ไดเฉพาะผูทม่ี สี ิทธเ์ิ ทานน้ั 5. การประชมุ สาธารณะ เปนการประชมุ ทเี่ ปดใหผูท่ีสนใจเขา ฟง ได 6. การประชมุ ปรกึ ษา เปน การประชมุ ของกลมุ คนที่มงี านทจี่ ะตอ งทํารว มกัน 7. การประชมุ ปฏิบตั ิงาน เปนการประชมุ เพื่อกาํ หนดความเขาใจและแนวทางในการทํางานสิง่ ใดสิง่ หน่ึงรว มกัน 8. การประชมุ สมั มนา เปน การประชุมเฉพาะกลมุ เพื่อแลกเปลยี่ นความรูความคดิ 9. การประชมุ ช้ีแจง เปน การประชมุ ทห่ี วั หนาหรือผูรบั ผดิ ชอบ ชี้แจงเร่อื งราวหรือขอ ปฏบิ ัตใิ นหนวยงาน ใหผ ูป ฏิบตั เิ ขาใจ ตรงกัน 10. การประชมุ ใหญ เปน การประชุมท่ใี หส มาชิกทงั้ หมดขององคก รเขา รวมประชุม เมอ่ื นอ งๆ ไดรูถ งึ ชนดิ ของการประชมุ แลว กม็ าถงึ เรื่องทสี่ าํ คัญที่สดุ ของเรื่องการใชภาษาในทีป่ ระชมุ ซง่ึ กค็ ือคําศัพทท่ใี ชใ น ทป่ี ระชมุ นน่ั เอง สาเหตทุ พ่ี บี่ อกวา เปน เรอื่ งสาํ คญั กเ็ พราะวา เปน เรอ่ื งทอี่ อกขอ สอบบอ ยมาก จะตอ งจาํ เกอื บทง้ั หมด และคาํ ศพั ทเ หลา น้ีเปนศพั ทท ไ่ี มไ ดใ ชในชวี ิตประจาํ วนั ดังนนั้ เพอื่ การจดจําท่ีงายขน้ึ เราจงึ จะตองจัดกลมุ คาํ ศัพทอ อกเปน 3 กลมุ ดงั ตอ ไปนี้ ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 97

กลุมท่ี 1 กลุมคําศพั ททีเ่ กี่ยวกับคน คาํ ศพั ท ความหมาย ผูจดั ประชมุ ผรู ิเรมิ่ การจัดประชมุ เปนผูกาํ หนดหวั ขอ และผูทจี่ ะรว มประชุม ผมู สี ิทธเ์ิ ขาประชุม บุคลทีไ่ ดร บั เชญิ หรือมีสทิ ธิ์ หรอื มหี นาที่ หรอื ไดรับแตงตง้ั ใหเ ขา รวมประชุม ผูเขา ประชมุ ผมู สี ทิ ธิเ์ ขา รวมประชุมทีม่ าปรากฏตวั ในท่ปี ระชุม องคป ระชมุ ขอ กาํ หนดวา จะตอ งมผี มู สี ทิ ธเิ์ ขา รว มประชมุ มาประชมุ ทง้ั หมดกค่ี นจงึ จะเปด การ ประชมุ ได ที่ประชมุ ผูเขาประชุมทงั้ หมด (ไมใชสถานที่ เปนคน) ประธานการประชมุ ผูควบคุมการประชุม กลุม ที่ 2 กลุม คําศัพทเก่ยี วกบั เอกสารการประชุม คาํ ศพั ท ความหมาย ระเบยี บวาระ หัวขอ ในการประชมุ (มีหลายหวั ขอ ) กาํ หนดการประชุม ลําดับขั้นตอนการประชมุ (จะทาํ อะไรกอน - หลงั ) รายงานการประชุม รายงานสรุปการประชุมครง้ั ทีผ่ านมา เพ่อื ใหท่ีประชมุ ตรวจและรับรอง ความถกู ตอ ง กลุมท่ี 3 กลมุ คําศัพททใ่ี ชเรยี กวิธกี ารส่อื สารในท่ปี ระชุม คําศัพท ความหมาย เสนอ บอกใหท ปี่ ระชุมทาํ เร่อื งใดเรอื่ งหน่งึ ขอ เสนอ ขอ ความหรือขอ คดิ เหน็ (เปด ประเด็น)ที่เสนอตอทป่ี ระชมุ ขอ สนบั สนนุ แสดงความเหน็ ดวยกบั ขอเสนอ คดั คาน ไมเ หน็ ดวยกบั ขอเสนอ อภปิ ราย การแสดงความคิดเหน็ ในท่ีประชุม (สนบั สนุน – คดั คา น) ผา น ที่ประชุมยอมรบั ขอ เสนอ ตก ทีป่ ระชมุ ไมย อมรับขอเสนอ มติ ขอ ตัดสนิ ใจสดุ ทา ยของท่ปี ระชุม และเปน ส่งิ ท่ีจะนําไปปฏิบัติ มตเิ อกฉนั ท ผเู ขาประชุมเห็นพอ งตอ งกนั ทุกคน มติเสยี งขา งมาก ผูเ ขาประชมุ สวนใหญเหน็ ดว ยกบั ขอตดั สนิ ใจน้นั ในเรื่องของคาํ ศัพทน นั้ นอกจากจะมีเยอะแลว ยังมีความหมายที่คลา ยคลึงกัน นองๆ ควรจะตองสงั เกตความแตกตางของ คาํ ศพั ทเหลา นีใ้ หไ ด เชน ผูม ีสิทธิ์เขา ประชุม กับ ผเู ขาประชุม จะเห็นวา มแี มท ้ังสองพวกจะมสี ิทธ์ใิ นการเขา ประชมุ เหมือนกนั แตมี ลกั ษณะตา งกนั คือการมาปรากฏตัวในทป่ี ระชมุ ผูมีสิทธิเ์ ขา ประชมุ ยงั ไมไ ดเขา ประชุม แตผ ูเขาประชุม ไดเขา ประชุมแลว 98 ติวเขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya

สาํ หรบั เรอื่ งการทําขอสอบ ขอ สอบในเร่ืองน้ีเกอื บทุกปจ ะเปนเรอ่ื งของคาํ ศัพท โดยมกั เปนการเลอื กเติมคาํ ศพั ทที่เกย่ี วกบั การประชุมลงในชองวางใหถูกตอง ดังนั้นนองๆ ควรจะตองจดจําคําศัพทใหแมนยํา และเลือกใชใหถูกตองดวย โดยตัวอยางของ ขอ สอบโอเนตเร่อื งคําศพั ทใ นทปี่ ระชมุ มลี ักษณะดงั ตอไปนี้ (o-net ป 2554) จงเลอื กคาํ ในขอ ก และขอ ข ที่เหมาะสมจะเตมิ ลงในชองวางตามลําดับ หลังจากทก่ี รรมการมาครบ ก. ……………… แลว ประธานขอใหท ี่ประชมุ พจิ ารณา ข. ………… ครั้งท่ีแลว เมือ่ ไมม ี การแกไขทีป่ ระชุมมีมติรบั รอง ขอ ก 1. ตามรายช่ือ 2. จํานวน 3. องคประชมุ 4. องคคณะ จากขอ 1 น้ันเปนขอสอบที่ถาเรารคู าํ ศัพทเ ก่ยี วกับการประชุมจะเปนขอสอบที่งายมาก เพราะตัวเลือก 1 2 และ 4 นน้ั ไมได เปนคาํ ศพั ทท่ใี ชในการประชมุ ดงั นน้ั จงึ ตอ งตอบขอ 3 องคประชมุ น่นั เอง แตถ าทุกคําเปนคาํ ท่ใี ชในการประชุมไดแลว นองๆ จะตอ ง พิจารณาจากองคประกอบอ่ืนๆ อยางเชนขอนี้ ถานองๆ สังเกตจะเห็นคําวา “ครบ” ซึ่งหมายถึงกรรมการมาครบจํานวนท่ีจะเปด ประชุมไดแ ลว ซึ่งกเ็ ปน ความหมายเดียวกนั กับคําวา องคป ระชมุ น่นั เอง ขอ ข 1. เอกสารการประชมุ 2. รายงานการประชุม 3. หวั ขอการประชุม 4. ระเบยี บการประชุม สําหรับขอ 2 เปน การวดั เรอ่ื งคาํ ศพั ทเกย่ี วกับเอกสารในการประชมุ ซ่งึ หากพจิ ารณาดๆี จะเหน็ วา สามารถตอบขอ 3 ได เน่ืองจากหัวขอในการประชุมเรียกวา ระเบียบวาระการประชุม และระเบียบวาระการประชุมเปนเร่ืองท่ีประธานการประชุมเปนผู กาํ หนด ดงั นั้นจงึ ไมส ามารถตอบขอ 4 ไดเชน กนั ดังนน้ั เม่ือพจิ ารณาจากบรบิ ทของขอความแลว จะเหน็ วามคี าํ สําคญั ทีค่ ําวา “คร้งั ที่ แลว ” เอกสารการประชมุ ทีจ่ ะบอกถงึ เร่อื งราวในการประชมุ ครง้ั ทแ่ี ลวจึงเรียกวา “รายงานการประชมุ ” จงึ ตอบขอ 2 นองๆ สามารถศึกษาเพ่มิ เตมิ ไดท่ี Tag : ภาษาไทย, ภาษา, การประชมุ , ภาษาในการประชุม, การใชภ าษาในที่ประชมุ , การสื่อสาร • การสอ่ื สาร : ภาษาในการประชุม ตอนที่ 1 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch15-1 • การสื่อสาร : ภาษาในการประชุม ตอนที่ 2 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch15-2 • การสอื่ สาร : ภาษาในการประชมุ ตอนท่ี 3 http://www.trueplookpanya.com /book/m6/onet-thai/ch15-3 ตวิ เขม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 99