Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชาดกเรื่องทานบารมี

ชาดกเรื่องทานบารมี

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-04-15 02:44:44

Description: สมาคมสมาธิเพื่อการพัฒนาศีลธรรมโลก
www.Kalyanamitra.org
หนังสือ,เอกสาร,บทความ ที่นำมาเผยแพร่นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

1 àÃ×èͧ www.kalyanamitra.org

2 àÃè×ͧ àÃ×Íè § ISBN : 978-616-91637-9-4 ผคู น ควา และเรยี บเรยี ง : สริ ปิ ณุ โฺ ณ ภาพประกอบ : www.dmc.tv และเวปไซดอ น่ื ๆ ออกแบบปก : วทิ ยา สทุ ธศิ รโี ยธนิ รปู เลม /จดั อารต : วทิ ยา สทุ ธศิ รโี ยธนิ พมิ พค รง้ั ที่ ๑ : พ.ศ.๒๕๖๒ ลขิ สทิ ธแ์ิ ละจดั พมิ พโ ดย :สมาคมสมาธเิ พอื่ การพฒั นาศลี ธรรมโลก โทร.๐๓๘-๔๒๐๐๔๓ พมิ พท ี่ : บรษิ ทั พมิ พด ี จำกดั โทร. ๐-๒๔๐๑-๙๔๐๑ ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนกั หอสมุดแหง ชาติ National Library of Thailand Cataloguing in Publication Data สิรปิ ณุ โฺ ณ ชาดกเร่ืองทานบารมี, นนทบุรี : สมาคมสมาธิเพื่อ การพัฒนาศลี ธรรมโลก, ๒๕๖๒. ๑๙๒ หนา 1.ชาดก, 2.เรอ่ื งยอ, 3.ทานบารมี I. สริ ิปณุ ฺโณ ผคู นควาและเรียบเรยี ง II.ชื่อเร่อื ง 294.3184 ISBN 978-616-8103-06-7 www.kalyanamitra.org

3 ¤Ó¹Ó ชาดกเรอ่ื งทานบารมี เปนการรวบรวมชาดกแบบยอ ทพ่ี ระโพธสิ ตั วท รงบำเพญ็ บารมใี นเรอื่ งทานบารมรี ะดบั ตา งๆ รวมถงึ พระสาวก เชน พระสารบี ตุ ร, พระอานนท, ภกิ ษรุ ปู อน่ื , พระนางมลั ลกิ าเทว,ี ชายผเู ขญ็ ใจและการถวายทานของมหาชน ในการทำทานรูปแบบตา งๆ รวม ๒๐ เรอ่ื ง ชาดกเกือบท้ังหมดทรงตรัสเลาท่ีวัดเชตวัน ยกเวน มหาเวสสนั ตรชาดก ตรสั ที่ นโิ ครธาราม, ผลของการใหท าน ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชาติปจจุบัน และที่สง ผลมาจากชาติในอดีต หวงั วา ทา นผอู า นจะไดร บั ความรู มมุ มอง ความเชอื่ มโยง ในเนอ้ื หา และสาระจากเรอ่ื งทเ่ี รยี บเรยี งขนึ้ ทงั้ หมดในเลม น้ี ขอความเจรญิ ในธรรม และความเบกิ บานใจในการสรา ง ทานบารมี จงบงั เกิดมแี กทกุ ทาน สิรปิ ณุ ฺโณ มาฆบูชา ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๖๒ Line ID : Siripunno Fanp@ge : Siripunno E-mail : [email protected] www.kalyanamitra.org

ÊÒúÑÞ4 àÃÍ×è § ๑. สวี ริ าชชาดก (ทานบารม)ี วาดวย การใหดวงตาเปนทาน...............................5 ๒. อทาสทพิตรตหชมาณดชกาดวากดว ย การใหทานกับการรบ........19 ๓. วา ดวย ชาติพราหมณ ๑๐ ชาติ............................27 ๔. มหาเวสสันตรชาดก (อปุ ทานบารม)ี วาดวย พระเวสสนั ดรทรงบำเพ็ญทานบารม.ี ........37 ๕. อกติ ติชาดก วา ดวย อกติ ติดาบสขอพรทา วสักกะ.....................47 ๖. สสปณ ฑติ ชาดก (ปรมตั ถทานบารม)ี วา ดว ย ผสู ละชวี ติ เปน ทาน.....................................51 ๗. สภังิกขขชาาปดรกัมปวรา ดชวายดกอานสิ งสถ วายรองเทา .............57 ๘. วา ดว ย การใหทานในทานใด มผี ลมาก.................63 ๙. กุณฑกปวู ชาดก วาดวย มีอยางไรกนิ อยางน้นั ...............................73 ๑๐. กุมมาสปณ ฑชาดก วาดวย อานิสงสถวายขนมกุมมาส.......................81 ๑๑. สุปต ตชาดก วาดว ย นางกาแพทอ ง....................89 ๑๒. อพั ภนั ตรชาดก วาดว ย ผลไมท ิพย. ....................97 ๑๓. มงั สชาดก วา ดวย วาทศลิ ปของคนขอ..............113 ๑๔. คุณชาดก วาดว ย มติ รธรรม.............................119 ๑๕. ตริ ตี ิวจั ฉชาดก วาดวย ควรบูชาผมู พี ระคุณ......129 ๑๖. พิลารโกสิยชาดก วาดว ย ใหท านไมไดเ พราะเหตุ ๒ อยาง.............135 ๑๗. สุธาโภชนชาดก วาดว ย ของกนิ อนั เปนทิพย.....145 ๑๘. สสุ มี ชาดก วาดว ย พระเจา สุสมี ะ......................171 ๑๙. ทุทททชาดก วา ดว ย คติของคนดคี นชัว่ ............177 ๒๐. มัจฉทานชาดก วา ดว ย บญุ ทใ่ี หท านแกปลา.....181 www.kalyanamitra.org

5 ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ñ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) NjҴŒÇ ¡ÒÃãËŒ´Ç§μÒ໚¹·Ò¹ สถานทตี่ รัส พระเชตวนั มหาวิหาร ทรงปรารภ อสทิสทาน สาเหตุทตี่ รสั ก็ในกาลนั้น พระเจาปเสนทิโกศลทรงถวายบริขาร ครบทกุ อยางในวนั ท่ี ๗ แลวทลู ขออนุโมทนา. พระศาสดา ไมไดตรสั อะไรเลย เสด็จหลีกไปแลว. พระราชาเสวยพระกระยาหารเชาแลว เสด็จไปยัง พระวหิ าร ทลู ถามวา “ขา แตพระองคผเู จริญ เพราะเหตไุ ร? พระองคจึงไมท รงทำอนโุ มทนา” พระศาสดาตรัสวา “ดูกอนมหาบพิตร เพราะบริษัท ไมบ รสิ ทุ ธ”์ิ แลว ทรงแสดงพระธรรมเทศนาโดยพระคาถาวา น หเว กทรยิ า เทวโลกํ วชนฺติ เปนตน แปลวา คนตระหน่ี ท้ังหลาย ยอ มไปสูเ ทวโลกไมไดเ ลย ดงั นี้. พระราชาทรงเลื่อมใส ทรงบูชาพระตถาคตดวยผา อุตราสงค๒ สีเวยยกพัสตรมีราคาแสนหนึ่ง แลวเสด็จกลับ พระนคร. ๑ ตน ฉบบั ชาตกฏั ฐกถา อรรถกถาขทุ ทกนกิ าย ชาดก, ล.๖๑, น.๖๒, มมร. ๒ อตุ ราสงค [อดุ ตะรา] น. จวี รสาํ หรับหม. www.kalyanamitra.org

6 àÃ×èͧ www.kalyanamitra.org

ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) 7 ในวนั รงุ ขน้ึ ภกิ ษทุ ง้ั หลายสนทนากนั ในโรงธรรมสภา วา “อาวโุ สทั้งหลาย พระเจาโกศลราชทรงถวายอสทิสทาน แลว ยงั ไมอ มิ่ ดว ยการถวายทานแมข นาดนน้ั เมอื่ พระทศพล ทรงแสดงธรรมแลว ไดถวายผาสีเวยยกพัสตรอันมีคา แสนหนึ่งอีก อาวุโสทั้งหลาย ตลอดเวลาที่ทาวเธอทรง ถวายทาน ยังไมรูสึกอิ่มพระทยั เลย.” พระศาสดาเสด็จมาแลว ตรัสถามวา “ภิกษุทั้งหลาย บดั นพ้ี วกเธอสนทนากนั ดว ยเรอ่ื งอะไร?” เมอื่ ภกิ ษเุ หลา นน้ั กราบทลู ใหทรงทราบแลว จงึ ตรสั วา “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ขน้ึ ชอื่ วา พาหริ ภณั ฑ๓ บคุ คล จะใหไ ดง า ยกห็ าไม โปราณกบณั ฑติ ทงั้ หลายกระทำชมพทู วปี ทงั้ สน้ิ ใหเ ปน เนนิ สงู แลว ใหท านบรจิ าคทรพั ย วนั ละหกแสน ทกุ ๆ วัน ยงั ไมอ ่มิ ดวยพาหริ กทานเลย ผใู หของรกั ยอ มได ของรักฉะน้ัน บัณฑิตท้ังหลายจึงไดควักดวงตาทั้งสอง ใหท านแกยาจก ผูม าถึงเฉพาะหนา .” แลวทรงนำอดีตนทิ านมาแสดงดงั ตอ ไปนี้ เนอื้ หาชาดก ในอดีตกาล เมื่อพระเจาสีวิมหาราชเสวยราชสมบัติ ในอริฏฐปุรนครแควนสีวิรัฐ พระมหาสัตวเจาบังเกิดเปน พระราชโอรสของทาวเธอ พระประยูรญาติท้ังหลายขนาน พระนามของพระกมุ ารนน้ั วา ‘สีวริ าชกมุ าร.’ ๓ ส่งิ ของภายนอก, ของนอกกาย www.kalyanamitra.org

8 àÃ×èͧ พระราชกุมารเจริญวัยแลวไปยังพระนครตักกสิลา ศึกษาศิลปศาสตรจบแลว กลับมาแสดงศิลปะศาสตรถวาย พระชนกทอดพระเนตร จนไดรับพระราชทานยศเปน มหาอปุ ราช พระองคเ ปน ผยู นิ ดใี นการบรจิ าคทาน ทรงบรจิ าคทาน ทกุ วัน วันละ ๖๐๐,๐๐๐ กหาปณะ โดยสรางศาลาโรงทาน ไว ๖ แหง คือ ที่ประตูเมืองท้ัง ๔ แหง ใจกลางเมืองอีก ๑ แหง และทป่ี ระตูพระราชนเิ วศนอ กี ๑ แหง พระองคจ ะเสดจ็ ไปโรงทาน ทรงตรวจตราการใหท าน ดวยพระองคเองในทกุ วันพระ คร้ังหน่ึง ในวันดิถี ๑๕ ค่ำ พระเจาสีวิราชประทับ เหนือราชบัลลังก ทรงนึกถึงมหาทานท่ีพระองคไดบริจาค พลางดำริวา ‘ทรัพยสมบัติภายนอกทุกอยางเราก็ใหครบ ถว นบรบิ รู ณแลว ไมมสี ่งิ ใดทเี่ รายงั ไมเคยบริจาค แตทานเหลานี้มิไดทำใหเรายินดีปรีดาเพิ่มขึ้นเลย ไฉนหนอ? จะมีคนท่ีมาขอวัตถทุ เี่ ปน ของภายในบา ง’ พระองคทรงดำริตอไปวา ‘ในวันนี้หากมีผูมาขอเน้ือ เราก็จะใหเนื้อ ขอเลือดก็จะใหเลือด ขอหัวใจก็จะใหหัวใจ และถา ใครขอดวงตาของเรา เราจะควกั ดวงตาทงั้ คใู หท นั ท’ี ทา วสักกเทวราชประสงคจะทดลองกำลังใจ จึงแปลง เปนพราหมณชรามีดวงตามืดบอด ไปเขาเฝาพระราชา ผูกำลงั ตรวจตราโรงทาน เมอ่ื ไปถึงไดป ระคองอญั ชลเี หนอื เศียรเกลา www.kalyanamitra.org

ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) 9 พระราชาตรัสถามวา “ทานพราหมณ ทานมาวันน้ี มคี วามประสงคส ่ิงใด?” ทาวสักกเทวราชตรัสตอบวา “ขาแตมหาราชเจา ผูทรงธรรม การบริจาคทานของพระองคไดฟุงขจรไปทั่ว สารทิศ ขาพระองคเปนคนตาบอดมีนัยนตาขางเดียว ขอพระองคโปรดพระราชทานพระเนตรขางหน่ึงแก ขา พระองคด ว ยเถดิ ” พระราชาสดบั ถอ ยคำเชน นนั้ เกดิ ความปต ปิ ราโมทย ยิ่งนัก ถึงกับเปลงอุทานวา “เปนลาภใหญของเราหนอ ความปรารถนาของเราจะสำเร็จบริบูรณในวันนี้แหละ เราจะไดใหใ นสิง่ ทีใ่ หไดโ ดยยากแลว ” พราหมณไดกราบทูลอีกวา “บัณฑิตท้ังหลายกลาว วา ‘ดวงตาเปนสิ่งยากที่บุรุษจะสละได’ ขอพระองคโปรด พระราชทานดวงเนตรนั้น ที่ไมมีส่ิงอ่ืนจะย่ิงกวา แกขา พระองคเ ถดิ ” พระราชาตรัสตอบวา “ทา นพราหมณ ทา นปรารถนา สงิ่ ใดจากเรา ขอสงิ่ นน้ั จงเปน ผลสำเรจ็ แกท า นเถดิ เมอื่ ทา น ขอดวงตาขางเดียว เราจะใหดวงตาทั้ง ๒ ขางแกทาน เลยทเี ดียว” จากนัน้ ทรงนำพราหมณเขา ไปในพระราชฐาน รบั สง่ั ใหเรยี กหมอมาควกั ดวงตาของพระองค เรอ่ื งทพี่ ระราชาจะบรจิ าคดวงตาแกพ ราหมณต าบอด ไดก ระจายไปทั่วเมอื งอยางรวดเรว็ www.kalyanamitra.org

10 àÃè×ͧ เหลา อำมาตยร าชเสนาพสกนกิ รตา งกราบทลู ทดั ทาน พระราชาเอาไว แตพระราชาทรงยืนยันวา “แมเราจะรัก ดวงตาทั้งสองปานใด แตสัพพัญุตญาณอันประเสริฐน้ัน เปนสิ่งท่ีเรารักและปรารถนามากยิ่งกวา เพราะฉะน้ัน เราจงึ ยนิ ดที จ่ี ะสละดวงตา ทา นทงั้ หลายอยา ไดห า มการบรจิ าค ของเรา และอยาไดถอื โกรธในพราหมณน เี้ ลย” จากน้ัน พระองคทรงรับส่ังใหแพทยควักดวงตา ท้ังสองออก หมอไดบดโอสถหลายขนานทาพระเนตร เบ้อื งขวา พระองคไ ดร บั ทุกขเวทนาแสนสาหัส หมอเกิดความสงสารข้ึนมาจับใจ ไมอาจทำตอไปได จึงกราบทูลพระราชาวา “ขอเดชะ ขาแตมหาราชเจา ขอพระองคทรงตดั สินพระทัยใหมเถิด ขาพระองคสามารถ ทำพระเนตรใหกลับเปนปกติได” พระองคทรงปฏิเสธวา “ทา นอยา มวั ชกั ชา อยเู ลย จงรบี ควกั ดวงตาของเราออกเถดิ ” หมอจงึ ปรุงโอสถนอ มเขาไปใหท รงทาพระเนตรซำ้ อีก เมอ่ื ดวงตาถกู ควกั ออก พระราชาทรงเกดิ ทกุ ขเวทนา แสนสาหัส แตดวยความมุงม่ันเด็ดเดี่ยวที่จะสละดวงตา เปนทานใหได จึงขมทุกขเวทนาไว หมอไดวางดวงตาไว ในพระหัตถข องพระราชา พระองคทรงรับดวงตาทั้งสองไว พลางตรัสวา “สพั พญั ตุ ญาณเทา นนั้ เปน ทรี่ กั กวา นยั นต าทงั้ สองของเรา ตงั้ รอ ยเทา พนั เทา ขอผลทเี่ ราบรจิ าคดวงตานี้ จงเปน ปจ จยั ใหไดพระสัพพัญุตญาณอันประเสริฐน้ันเถิด” แลวได พระราชทานดวงพระเนตรทงั้ สองแกพราหมณ www.kalyanamitra.org

ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) 11 พราหมณรับดวงตาทั้งสองมาแลว ไดประดิษฐานไว ในเบาตาดวยฤทธานุภาพ ทำใหสามารถมองเห็นไดอีก เปนอัศจรรย เม่ือพระราชารูวา ‘พราหมณมองเห็นไดเปนปกติ’ ทรงโสมนสั เปน อยา งยง่ิ มปี ต แิ ผซ าบซา นไปทว่ั พระวรกาย ขมทุกขเวทนาท่ีเกิดข้ึน ทำใหความเจ็บปวดที่มีอยูหายไป หมดสิน้ เม่ือพระราชาเห็นวา ‘พระองคเปนคนตาบอด ไมส ะดวกทจ่ี ะปกครองบา นเมอื งอกี ตอ ไป’ จงึ มอบราชสมบตั ิ แกอำมาตยท้ังหลาย แลวเสด็จออกผนวชเปนฤๅษีอยูใน พระราชอทุ ยาน ทรงรำพงึ ถงึ ทานของพระองคว า “กอนให ก็มีจิตเล่อื มใส ขณะใหก ม็ ีใจศรทั ธา หลังใหแ ลว มีใจเอิบอมิ่ เบกิ บาน” ทาวสักกะเห็นความเด็ดเด่ียวในการบริจาคทานของ พระโพธิสัตว จึงเสด็จมาแนะนำใหพระราชาขอพร เพ่ือให ไดด วงตากลบั คืนมาอีกครงั้ พระราชาทรงทำสัจกิริยาวา “ผูใดมาขอกับเรา ผูนั้น เปน ทรี่ กั ของเรายงิ่ นกั เมอ่ื พราหมณม าขอดวงตาขา งเดยี ว เราไดใหดวงตาท้ังสอง โดยไมมีความรูสึกเสียดายเลย ดว ยสัจจวาจาน้ี ขอจกั ษุจงบงั เกดิ ข้นึ แกเราเถิด” สนิ้ คำอธษิ ฐาน ดวงตาทง้ั สองเกดิ ขน้ึ ใหมท นั ที มลี กั ษณะ ที่สวยงามมาก พระองคสามารถทอดพระเนตรไดไกลถึง ๑๐๐ โยชน มองทะลุฝาหรือกำแพงหรือภูเขาไดหมด ไมมีสิ่งใดบดบังดวงตาของพระองคไดอีกตอ ไป www.kalyanamitra.org

12 àÃ×Íè § แตพ ระเนตรของพระเจา สวี ริ าชนนั้ จะวา เปน พระเนตร ปกตกิ ไ็ มใ ช จะวา เปน พระเนตรทพิ ยก ไ็ มใ ช เพราะพระเนตร ของพระองคทรงพระราชทานแกสักกพราหมณแลว ทั้งสักกพราหมณก็ไมสามารถทำพระเนตรใหเปนปกติ เหมือนของเดิมได อน่ึง ธรรมดาพระเนตรทิพยจะเกิดขึ้น แกจักษุซ่ึงมีที่ตั้งอันถอนเสียแลวหามิได ฉะน้ันพระเนตร เหลา นนั้ ของพระเจา สวี ริ าช ตอ งเรยี กวา ‘สจั จปารมติ าจกั ษ’ุ คือจักษทุ ีเ่ กิดขึน้ เพราะสัจจบารมีของพระองค. ในกาลท่ีพระเนตรเหลาน้ันเกิดข้ึนพรอมกันน่ันเอง ราชบริษัททั้งปวงตางก็มาประชุมพรอมกันดวยอานุภาพ ของทาวสักกเทวราช. ลำดับนั้น เมื่อทาวสักกเทวราชจะทรงทำการชมเชย พระเจา สีวริ าชในทา มกลางมหาชนน่ันเอง ทา วสกั กเทวราชประทบั ยนื ขน้ึ บนอากาศ ตรสั พระคาถา เหลาน้ี ในทามกลางมหาชนแลว ทรงโอวาทพระมหาสัตว เจา วา “ขอพระองคจ งอยา ประมาท” แลว เสดจ็ ไปยงั เทวโลก ทันท.ี ฝายพระมหาสัตวเจาแวดลอมดวยมหาชน เสด็จ เขาสูพระนครดวยสักการะใหญ แลวเสด็จข้ึนประทับ ณ สจุ นั ทกปราสาท. ความทที่ า วเธอไดพ ระเนตรทง้ั คกู ลบั คนื มา ปรากฏแพรส ะพัดไปตลอดทั่วสีวรี ฐั สีมามณฑล. ลำดบั นน้ั ประชาชนชาวสวี รี ฐั ทงั้ สน้ิ ตา งถอื เอาเครอื่ ง บรรณาการมาถวายเปนอันมาก เม่ือตองการจะเขาเฝาชม พระบารมีพระเจา สวี ิราช www.kalyanamitra.org

ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) 13 พระมหาสัตวเจาทรงดำริวา ‘เมื่อมหาชนน้ีประชุม กันแลว เราจักพรรณนาทานของเรา’ จึงตรัสส่ังใหสราง มณฑปใหญท ป่ี ระตพู ระราชนเิ วศน ประทบั นงั่ บนราชบลั ลงั ก ภายใตส มสุ สติ เศวตฉตั ร ตรสั ใหต กี ลองประกาศในพระนคร ตรัสส่งั ใหเ สนาขา ราชการท้ังมวลประชมุ กนั แลวตรัสวา “ดูกอนประชาชนชาวสีวีรัฐผูเจริญท้ังหลาย ทาน ทง้ั หลายเหน็ พระเนตรทพิ ยข องเราเหลา นแ้ี ลว จำเดมิ แตน ไ้ี ป ยงั ไมไ ดใ หท านกอ น แลว อยา เพง่ิ บรโิ ภค.” เม่ือจะทรงแสดงธรรมไดตรัสพระคาถา ๔ คาถา ความวา ใครหนอในโลกนี้ ถูกขอทรัพยอันนาปล้ืมใจแลว แมจ ะเปน ของพเิ ศษ แมจ ะเปน ของทรี่ กั อยา งดขี องตน จะไมพ งึ ให เราขอเตอื นทา นทงั้ หลายผเู ปน ชาวแควน สพี ที กุ ๆ คน ทม่ี า ประชุมกัน จงดูดวงตาท้ังสองอันเปนทิพยของเราในวันน้ี ตาทพิ ยข องเราเหน็ ไดท ะลภุ ายนอกฝา ภายนอกกำแพง และภูเขาตลอด ๑๐๐ โยชนโดยรอบ ในโลกอันเปนที่อยู ของสตั วท ง้ั หลายนี้ ไมม อี ะไรทจี่ ะยงิ่ ไปกวา การบรจิ าคทาน เราไดใหจกั ษทุ เ่ี ปนของมนษุ ยแ ลว กลบั ไดจ ักษทุ ิพย ดูกอนชาวแควนสีพีทั้งหลาย ทานท้ังหลายไดเห็น จกั ษทุ พิ ยท เี่ ราไดน แี้ ลว จงใหท านเสยี กอ น จงึ คอ ยบรโิ ภคเถดิ บคุ คลผใู หท านและบรโิ ภคแลว ตามอานภุ าพของตน ไมม ใี คร จะติเตียนได ยอ มเขา ถงึ สคุ ติสถานดังนี้. www.kalyanamitra.org

14 àÃè×ͧ ครนั้ พระเจา สวี ริ าชทรงแสดงธรรมดว ยคาถา ๔ คาถา เหลา นด้ี ว ยประการฉะนแี้ ลว จำเดมิ แตน นั้ มา ในวนั กงึ่ เดอื น และวันปณณรสี๔อุโบสถ ก็รับส่ังใหมหาชนประชุมกัน ทรงแสดงธรรมดว ยคาถาเหลา นเี้ ปน ประจำ มหาชนสดับธรรมนั้นแลวพากันทำบุญทั้งหลาย มที าน เปน ตน ไดไปสเู ทวโลกเตม็ บริบรู ณท ว่ั กัน. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ตรัสวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตท้ังหลายในปางกอน ไมยินดีดวยทานในภายนอก ไดควักดวงตาท้ังสองของตน บริจาคทานแกยาจกผูมาถึงเฉพาะหนาดวยอาการอยางนี้” แลวทรงประกาศจตรุ ารยิ สจั . ประชุมชาดก สีวิกแพทยใ นคร้ังนัน้ ไดม าเปน พระอานนท ทาวสกั กเทวราช ไดม าเปน พระอนรุ ุทธะ ราชบรษิ ัททีเ่ หลือ ไดมาเปน พทุ ธบรษิ ัท สวนพระเจาสวี ริ าช ไดม าเปน เราผูตถาคต ๔ ปณ รสี แปลวา ดิถเี ปนท่เี ตม็ 15 วนั คอื วัน 15 คำ่ ใชเรยี กทง้ั ขางขนึ้ และขางแรม เรียกเตม็ วา ปณ รสดี ถิ ี www.kalyanamitra.org

ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) 15 ขอ คิดจากชาดก ๑. ชาดกเรอื่ งนี้ พระเจา สวี ริ าชโพธสิ ตั ว ทรงสละดวงตา ซ่ึงจะวาไปแลว นาจะจัดเปนทานอุปบารมี แตในเรื่องน้ี จัดเปนทานบารมี ๒. ในมลิ นิ ทปญ หามกี ารปุจฉา-วิสัชนาในเรื่องนี้ดังน้ี เมณฑกปญ หา วรรคท่ี ๑ ปญหาที่ ๕ สวี ริ าชชาดก พระเจามิลินทรตรัสถามวา “ดูกอนพระนาคเสน คำที่วา ‘คนตาบอดมีจักษุประสาทพิการแลว ยอมไมมี โอกาสทจ่ี ะกลบั เหน็ ไดอ ยา งเดมิ อกี นน้ั ’ มกี ลา วไวใ นพระสตู ร บา งหรอื ไม?” พระนาคเสนทลู ตอบวา “ขอถวายพระพร มี” ม. ถา เชน นนั้ เรอ่ื ง สวี ริ าชชาดก ทว่ี า พระเจา สวี ริ าช ทรงควักพระเนตรทั้งสองใหเปนทาน มีพระจักษุประสาท พิการแลว แตตอมาทรงไดพระจักษุประสาทคืนดี ทอดพระเนตรเหน็ ไดอยางเดมิ น้ัน จะมไิ มจรงิ หรือ ? น. ขอถวายพระพร จรงิ ม. ถาจริง จะใหขาพเจา ลงความเชอ่ื คำไหนไดเ ลา ? น. ขอถวายพระพร คำตนน้ัน ทานกลาวตามปรกติ วิสยั ของนยั นต า ซึง่ เมอื่ พกิ ารแลวยอ มคืนดีอยา งเดมิ ไมได www.kalyanamitra.org

16 àÃè×ͧ สว นทที่ า นกลา วไวใ นชาดกซง่ึ ผดิ จากคำเบอ้ื งตน ไปนน้ั กเ็ พราะทา นกลา วดว ยสามารถแหง อานภุ าพของสตั ยาธษิ ฐาน คอื ความตงั้ ใจไวม นั่ ในความจรงิ อยา งใดอยา งหนง่ึ ขอถวาย พระพร พระองคเคยทอดพระเนตรเห็น หรือเคยไดทรงสดับ บางหรือไมวา ‘ผูท่ีกระทำสัตยาธิษฐานแลว อาจทำใหฝน ตกหรือไฟดับ หรอื กำจัดกำลงั แหงยาพิษเสยี ก็ได’ ม. กเ็ คยไดเ หน็ ไดย ินอยูบาง น. นน่ั พระองคท รงเขา พระหฤทยั วา ‘เปน ไดด ว ยอะไร?’ ม. เขา ใจวา เปนดว ยอานภุ าพแหงสัตยาธิษฐาน น. นั่นแลฉันใด น่ีก็ฉันนั้นเหมือนกัน จักษุประสาท ของพระเจาสีวิราช ยอมกลับคืนดีไดอยางเดิม ก็ดวย อานุภาพแหงสัตยาธิษฐาน คือการที่ทรงต้ังพระหฤทัยมั่น อยูในความจริงอยางใดอยา งหนงึ่ นนั่ เอง ขอถวายพระพร อาตมภาพจะเลาเร่ืองของพระเจาอโศกถวาย คือ ครัง้ หนึ่ง พระเจาอโศกเสด็จไปประพาสรมิ แมน ้ำคงคา คร้นั แลวมพี ระราชดำรสั ถามเหลาอำมาตยวา “ผูที่สามารถทำใหน้ำในแมน้ำคงคานี้ไหลกลับทวน กระแสไปได เห็นจะไมม”ี www.kalyanamitra.org

ñ ÊÕÇÔÃÒªªÒ´¡ (·Ò¹ºÒÃÁÕ) 17 ก็ขณะนั้น มีหญิงเพศยาคน ๑ ช่ือ ‘นางพินทุมดี’ อยู ณ รมิ ฝง นำ้ นั้น เมอ่ื ไดยนิ พระราชดำรสั ดงั นน้ั จงึ กระทำสตั ยาธษิ ฐาน ‘ขอใหน ำ้ ไหลกลบั ทวนกระแส เพ่อื ถวายทอดพระเนตร’ น้ำในแมน้ำคงคาก็ไหลกลับทวนกระแสตามความ ประสงค พระเจาอโศกทรงพศิ วงในพระราชหฤทยั จงึ ตรัส ถามวา “เหตุอะไรจงึ เปนเชนนี้?” อำมาตยจึงกราบทูลวา “ขอเดชะ ท่ีเปน เชนน้ี กเ็ พราะวานางพินทมุ ดีกระทำ สจั จกิริยา ขอใหนำ้ ไหลกลับ” จึงเสด็จพระราชดำเนินไปตรสั ถาม นางพินทมุ ดวี า “อะไรเปนกำลังในสัจจกริ ยิ าของเจา ?” “ขอเดชะ หมอมฉันมีความจริงใจอยูอยางหน่ึง คือ การบำเรอบุรุษ กระหมอมฉันกระทำเสมอหนากันหมด จะเปน ใคร มฐี านะอยา งไรกต็ าม เมอ่ื ใหท รพั ยแ กก ระหมอ ม ฉันแลว ยอมไดรับการบำเรอเปนอยางเดียวกันทั้งสิ้น กระหมอ มฉันอางความจริงใจน้ี กระทำสตั ยาธิษฐาน” ขอถวายพระพร เร่อื งนพ้ี ระองคทรงเชือ่ หรือไม? ” ม. เชอื่ สเิ ธอ เพราะมีเหตุมผี ลพอทจี่ ะคิดเห็นได www.kalyanamitra.org

18 àÃè×ͧ น. ขอถวายพระพร นชี่ ใี้ หเ หน็ วา การกระทำสตั ยาธษิ ฐาน คือกริ ิยาทก่ี ลาวอา งถึงความจรงิ อยางใดอยางหนง่ึ แมเ ปน ความจริงในส่ิงลามก ก็ใหเกิดผลไดสมประสงค ก็เมื่อ ความจริงมีอยูเชนนี้ จึงจะไมไดควักพระเนตรกลับคืนดี อยางเดิม ในเมอื่ ทรงกระทำสัตยาธษิ ฐาน อา งถึงความจรงิ นนั้ ๆ ไดเลา ม. เธอวานชี้ อบแลว www.kalyanamitra.org

19 ò ÍÒ·ÔμμªÒ´¡õ ÇÒ‹ ´ŒÇ ¡ÒÃãË·Œ Ò¹¡Ñº¡ÒÃú สถานท่ตี รสั พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ อสทิสทาน สาเหตทุ ี่ตรสั เรอ่ื งอสทิสทานมเี น้อื ความพิสดาร ในอรรถกถามหาโควินทสตู ร. กใ็ นวนั ท่ี ๒ จากวนั ทพี่ ระเจา โกศลถวายอสทสิ ทานแลว ภกิ ษทุ ง้ั หลายสนทนากนั ในโรงธรรมสภาวา “อาวโุ สทงั้ หลาย พระเจาโกศลทรงฉลาดเลือกเนื้อนาบุญอันประเสริฐ ถวายมหาทานแดอริยสงฆ มพี ระพทุ ธเจา เปน ประมขุ .” พระศาสดาเสด็จมาแลวตรัสถามวา “ดูกอนภิกษุ ท้ังหลาย บัดน้ี พวกเธอนั่งสนทนากันดวยเรื่องอะไร?” เมอื่ ภกิ ษเุ หลา น้นั กราบทลู ใหทรงทราบแลว . ตรัสวา “ดูกอนภิกษุท้ังหลาย การเลือกถวายทาน ในเนื้อนาบุญอันสูงย่ิงของพระเจาโกศล ไมนาอัศจรรย โบราณกบัณฑิตก็ไดเลือกเฟนแลว จึงไดถวายมหาทาน เหมือนกัน” ดังน้ีแลว ทรงนำเอาเร่ืองในอดีตมาสาธก ดงั ตอ ไปน้ี :- ๕ ตน ฉบับ ชาตกฏั ฐกถา อรรถกถาขุททกนกิ าย ชาดก อัฏฐกนิบาต, ล.๕๙, น.๕๗๓, มมร. www.kalyanamitra.org

20 àÃ×èͧ www.kalyanamitra.org

ò ÍÒ·ÔμμªÒ´¡ 21 เน้ือหาชาดก ในอดีตกาล พระเจาเภรุวมหาราช ครองราชสมบัติ ในเภรวุ นคร สีวิรฐั ทรงบำเพ็ญทศพิธราชธรรม สงเคราะห มหาชนดวยสังคหวัตถุ ๔ ทรงดำรงอยูในฐานะเปนมารดา บิดาของมหาชน ไดใหทานแกคนกำพรา วณิพก และ ยาจกทัง้ หลายมากมาย. พระองคมีอัครมเหสีพระนามวา ‘สมุททวิชยา’ เปนบัณฑิต สมบรู ณดวยญาณ. วันหนึ่ง พระเจาเภรุวมหาราชเสด็จทอดพระเนตร โรงทาน ทรงพระดำรวิ า ‘ปฏคิ าหกทง้ั หลายลว นเปน ผูทุศลี เหลวไหล บริโภคทานของเรา ขอน้ันไมทำใหเรายินดีเลย เราใครจะถวายทานแดพระปจเจกพุทธเจาผูมีศีล เปน อรรคทกั ขไิ ณยบคุ คล๖ แตท า นเหลา นนั้ อยใู นหมิ วนั ตประเทศ ใครหนอจักไปนิมนตทานมาได เราจักสงใครไปนิมนตได’ ทรงพระดำริดังนแี้ ลว ไดตรัสบอกความน้ันแดพระเทวี. ลำดบั นั้น พระเทวีไดทูลพระราชาวา “ขาแตพระองค ขอพระองคอยาทรงวิตกเลย เราจักสงดอกไมไปนิมนต พระปจเจกพุทธเจาท้ังหลาย ดวยกำลังทานท่ีจะพึงถวาย กำลังศีล และกำลังความสัตยของเราท้ังหลาย ครั้นพระ ปจ เจกพทุ ธเจา ทงั้ หลายมาถงึ แลว จงึ จกั ถวายทานทสี่ มบรู ณ ดวยบรขิ ารทกุ อยา ง.” ๖ อรรค, อคั ร แปลวา เลศิ , เยีย่ ม, ยอด ทกั ขไิ ณยบุคคล แปลวา บุคคลผูค วรไดร บั การทำบุญ www.kalyanamitra.org

22 àÃ×èͧ พระราชาทรงรับสั่งวา “ดีแลว.” ดังน้ีแลวรับส่ังใหตี กลองประกาศวา ‘ชาวพระนครทง้ั สน้ิ จงสมาทานศีล.’ สว นพระองคเ องพรอ มดว ยราชบรพิ าร กท็ รงอธษิ ฐาน องคแหงอุโบสถ บำเพ็ญมหาทาน แลวใหราชบุรุษ ถอื กระเชา ทอง ใสด อกมะลเิ ตม็ เสดจ็ ลงจากปราสาท ประทบั ท่ีพระลานหลวง ทรงกราบเบญจางคประดิษฐเหนือพื้นดิน แลวผินพระพักตรไปทางทิศปราจีน ถวายนมัสการ แลว ประกาศวา “ขา พเจา ขอนมัสการ พระอรหนั ตท ้ังหลาย ในทิศปราจีน ถาคุณความดีอะไรๆ ของขาพเจามีอยูไซร ขอทานทั้งหลายจงอนุเคราะหพวกขาพเจา โปรดมารับ ภิกษาหารของขาพเจาท้ังหลายเถิด” ประกาศดังนี้แลว ทรงซดั ดอกมะลิไป ๗ กำมอื . ในวันรุงข้ึน ไมมีพระปจเจกพุทธเจามา เพราะ ในทิศปราจนี ไมม พี ระปจ เจกพุทธเจา. ในวันที่ ๒ ทรงนมัสการไปทางทิศทักษิณ ก็หา มพี ระปจ เจกพุทธเจา มาไม. วันที่ ๓ ทรงนมัสการไปทางทิศปจฉิม ก็หา มพี ระปจ เจกพทุ ธเจามาไม. วันท่ี ๔ ทรงนมัสการไปทางทิศอุดร. ก็แหละครั้น ทรงนมสั การแลว ทรงซดั ดอกมะลไิ ป ๗ กำมอื อธษิ ฐานวา ‘ขอพระปจเจกพุทธเจาทั้งหลายที่อยูในหิมวันตประเทศ ดา นทิศอดุ ร จงมารบั ภิกษาหารของขา พเจา .’ www.kalyanamitra.org

ò ÍÒ·ÔμμªÒ´¡ 23 ดอกมะลิไดลอยไปตกลงเหนือพระปจเจกพุทธเจา ทง้ั หลาย ๕๐๐ องค ทเ่ี งอ้ื มภูเขานันทมลู กะ. พระปจเจกพุทธเจาเหลานั้นพิจารณาดู ก็รูวา ‘พระราชานมิ นต.’ วันรุงขึ้น จึงเรียกพระปจเจกพุทธเจามา ๗ องค แลวกลาววา “แนะทานผูเชนกับดวยเรา พระราชานิมนต ทานทั้งหลาย ทานทั้งหลายจงสงเคราะหพระราชาเถิด.” พระปจ เจกพทุ ธเจา เหลานน้ั เหาะมาลงท่ปี ระตูพระราชวัง. พระเจาเภรุวมหาราชทอดพระเนตรเห็นพระปจเจก พทุ ธเจา เหลาน้นั แลวทรงโสมนสั นมสั การแลว นมิ นตข น้ึ ปราสาท ทรงสกั การะบชู าเปน การใหญ แลว ถวายทาน. คร้ันฉันเสร็จแลว ไดนิมนตใหมาฉันวันตอๆ ไปอีก จนครบ ๖ วัน ในวันท่ี ๗ ทรงจัดแจงบริขารทานทุกอยา ง แตง ตง้ั เตยี งตง่ั ท่วี จิ ติ รดว ยแกว ๗ ประการ ทรงวางเคร่ือง สมณบริโภคท้ังปวงมีไตรจีวรเปนตน ในสำนักของ พระปจ เจกพทุ ธเจา ท้งั ๗ พระองค ถวายนมัสการ ตรัสวา “ขาพเจาขอถวายบริขารเหลานี้ทั้งหมดแดพระคุณเจา ทั้งหลาย.” เมื่อพระปจเจกพุทธเจาเหลาน้ันฉันเสร็จแลว พระราชาและพระเทวที งั้ ๒ พระองคป ระทบั ยนื นมสั การอย.ู ลำดับนั้น พระปจเจกพุทธเจาผูเปนใหญในหมู เมอื่ จะอนโุ มทนาแดพ ระราชาและพระเทวี จงึ ไดก ลา วคาถา ๒ คาถาวา :- www.kalyanamitra.org

24 àÃ×Íè § เมื่อเรือนถูกไฟไหม บุคคลผูเปนเจาของขนเอา สิ่งของอันใดออกได ส่ิงของอันน้ันยอมเปนประโยชนแก เจา ของนนั้ แตข องทถ่ี กู ไฟไหมย อ มไมเ ปน ประโยชนแ กเ ขา. โลกถกู ชราและมรณะ เผาแลว อยา งน้ี บคุ คลพงึ นำออก เสียดวยการใหทาน ทานท่ีใหแ ลว จะนอยก็ตาม มากก็ตาม ชือ่ วาเปน อันนำออกดแี ลว . ทานที่ใหแลวจะนอย หรือมากก็ตามนั้น ช่ือวาเปน การนำออกดีแลว. พระสงั ฆเถระ ครนั้ อนโุ มทนาอยา งนแ้ี ลว ไดใ หโ อวาท แดพระราชาวา “มหาบพิตร พระองคอยาทรงประมาท” แลวเหาะข้ึนอากาศ ทำชอฟาปราสาทใหแยกเปนสองชอง ไปลง ณ เงอื้ มภเู ขานนั ทมลู กะ. แมบ รขิ ารทพี่ ระราชาถวาย แกพ ระปจ เจกพทุ ธเจา กล็ อยตามไปกบั พระปจ เจกพทุ ธเจา ลงท่ี เงื้อมภูเขาน้ันเหมือนกัน. พระสกลกายของพระราชาและ พระเทวี เตม็ ตื้นไปดวยปต.ิ เมอื่ พระปจ เจกพทุ ธเจา ผเู ปน ใหญใ นหมู ไปอยา งนแ้ี ลว พระปจเจกพุทธเจาท่ียังคงเหลืออยู ๖ องค ไดอนุโมทนา ดวยคาถา องคละคาถาวา :- คนใดใหท านแกทานผูมีธรรมอันไดแ ลว ผูบรรลธุ รรม ดวยความเพียรและความหม่ัน คนนั้นลวงเลยเวตรณีนรก ของพระยายมไปได แลวจะเขาถงึ ทพิ ยสถาน. www.kalyanamitra.org

ò ÍÒ·ÔμμªÒ´¡ 25 ทานผูรูกลาวทานกับการรบวามีสภาพเสมอกัน นักรบแมจะมีนอยก็ชนะคนมากได เจตนาเคร่ืองบริจาค ก็เหมือนกัน แมจะนอยยอมชนะหมูกิเลสแมมากได ถาบุคคลเช่ือกรรมและผลแหงกรรมยอมใหทานแมนอย เขากเ็ ปน สขุ ในโลกหนา เพราะการบรจิ าคมปี ระมาณนอ ยนนั้ . การเลือกทักขิณาทานและพระทักขิไณยบุคคล แลว จงึ ใหท าน พระสคุ ตเจา ทรงสรรเสรญิ ทานทบ่ี คุ คลถวาย ในพระทักขิไณยบุคคล มีพระพุทธเจาเปนตน ซ่ึงมีอยู ในสตั วโลกนี้ ยอ มมผี ลมากเหมอื นพชื ทหี่ วา นลงในนาดี ฉะนน้ั บุคคลใดไมเบียดเบียนสัตวทั้งหลาย เท่ียวไปอยู ไมท ำบาป เพราะกลวั คนอน่ื จะตเิ ตยี น บณั ฑติ ทง้ั หลายยอ ม สรรเสรญิ บคุ คลผกู ลวั บาปนนั้ ยอ มไมส รรเสรญิ บคุ คลผกู ลา ในการทำบาป เพราะวาสัตบุรุษทั้งหลายยอมไมทำบาป เพราะความกลวั ถกู ติเตยี น. บุคคลยอมเกิดในตระกูลกษัตริย เพราะพรหมจรรย อยา งตำ่ เกิดในเทวโลก เพราะพรหมจรรยอ ยางกลาง และ บรสิ ุทธ์ไิ ด เพราะพรหมจรรยอยา งสูง. ทาน ทานผูรูสรรเสริญโดยสวนมาก ก็จริง แตวา บทแหง ธรรมแลประเสรฐิ กวา ทาน เพราะวา สตั บรุ ษุ ทงั้ หลาย ในคร้ังกอนหรือวากอนกวาน้ันอีก ทานมีปญญาเจริญ สมถวิปส สนาแลว ไดบ รรลุพระนพิ พานทเี ดยี ว. คร้ันกลาวอนุโมทนาอยางนี้แลว ก็ไดเหาะไปเหมือน อยางนัน้ แหละ พรอมกับบรขิ ารท้ังหลาย. www.kalyanamitra.org

26 àÃ×Íè § พระปจเจกพุทธเจา ๗ พระองคพรรณนาอมตมหา นพิ พานแดพ ระราชาดว ยอนโุ มทนาคาถาอยา งนี้ แลว กลา ว สอนพระราชาดวยอัปปมาทธรรม แลวไปที่อยูของตนๆ ตามนยั ดงั กลาวแลว นน่ั แล. แมพระราชา พรอมดวยพระอัครมเหสี ก็ไดถวาย ทานจนตลอดพระชนมายุ. ครั้นเคล่อื นจากอตั ภาพนัน้ แลว ก็ไดเสดจ็ ไปสูสวรรค. พระศาสดา คร้ันทรงนำพระธรรมเทศนาน้ีมาแสดง แลวตรัสวา “แมในกาลกอน บัณฑิตก็ไดเลือกถวายทาน ดว ยอาการอยางน”้ี ประชมุ ชาดก พระปจ เจกพทุ ธเจา ท้ังหลายในคร้ังนั้น ปรนิ ิพพานแลว พระสมทุ ทวิชยาเทวี ไดเ ปน มารดาพระราหุล พระเจา เภรวุ ราช คอื เราตถาคต ฉะนีแ้ ล. ธรรมะเปรยี บเทียบ ทานอนั บุคคลใหแ ลว ในเขตใด มีผลมาก, บคุ คลพงึ เลอื กใหทานในเขตนน้ั ; การเลอื กใหอนั พระสุคตทรงสรรเสรญิ แลว , ทานทบี่ คุ คลใหแ ลว ในทกั ขไิ ณยบคุ คลทงั้ หลาย ทมี่ อี ยใู นโลก คือหมู สัตวท ่ียังเปนอยูนี้ มผี ลมาก เหมือนพชื ทบ่ี ุคคลหวา นแลว ในนาดีฉะน้ัน. (คาถาธรรมบท เร่ืองยมกปาฏิหาริย) www.kalyanamitra.org

27 ó ·Ê¾ÃÒËÁ³ªÒ´¡÷ ÇÒ‹ ´ÇŒ  ªÒμ¾Ô ÃÒËÁ³ ñð ªÒμÔ สถานทต่ี รสั พระวิหารเชตวนั ทรงปรารภ อสทิสทาน สาเหตุท่ตี รัส เรอ่ื งอสทสิ ทานน้นั มคี วามพสิ ดารปรากฏแลว ในวิธรู ชาดก อัฏฐนบิ าต เรื่องมีวา ปางเมื่อพระราชาจะทรงถวายทานนั้น ทรงเลือกคัดภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป กระทำพระศาสดา ใหท รงเปน ประธานและไดท รงถวายทานแดพ ระมหาขณี าสพ ทง้ั นนั้ . ครง้ั นน้ั เมอ่ื ภกิ ษจุ ะกลา วคณุ กถาของทา วเธอ ยกเรอื่ ง ข้ึนสนทนากันในธรรมสภาวา “ผูมีอายุทั้งหลาย พระราชา เมอื่ จะทรงถวายอสทสิ ทาน ไดท รงเลอื กถวายในภกิ ษผุ เู ปน ทป่ี ระดิษฐานแหงมรรคผล.” พระศาสดาเสด็จมาตรสั ถามวา “ดูกอ นภิกษุทัง้ หลาย เมอื่ ก้ี พวกเธอกำลงั สนทนาเรื่องอะไรกัน?” เมอ่ื พวกภกิ ษพุ ากนั กราบทลู ใหท รงทราบแลว ตรสั วา ๗ ตน ฉบบั ชาตกฏั ฐกถา อรรถกถาขทุ ทกนกิ าย ชาดก ปกณิ ณกนบิ าต, ล.๖๐, น.๕๑๖, มมร. www.kalyanamitra.org

28 àÃ×èͧ www.kalyanamitra.org

ó ·Ê¾ÃÒËÁ³ªÒ´¡ 29 “ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ไมนาอัศจรรยเลยท่ีโกศลราช ผูอุปฏฐากของพระพุทธเจาเชนเรา ทรงเลือกถวายทาน ปวงบณั ฑติ แตกอ น เมอ่ื พระพุทธเจา ยงั ไมเ สดจ็ อบุ ตั ิ ก็เคย เลือกถวายแลว” ภิกษุเหลานั้นพากันกราบทูลอาราธนา ทรงนำอดีต นิทานมาดังตอ ไปนี้ เนอื้ หาชาดก ในอดีตกาล ครั้งพระเจาโกรัพยยุธิฏฐิลโคตรเสวย ราชสมบัติ ณ พระนคร อินทปต แควนกุรุ. อำมาตยของ พระองคนามวา ‘วิธรู ะ’ คอยถวายอรรถและธรรม. พระราชาทรงยังชมพูทวีปทุกแหงหนใหกระฉอน ทรงถวายมหาทาน. บรรดาคนท่ีรับทานน้ันบริโภค จะหาคนหนึ่งท่ีรักษา ศีล ๕ ก็ไมมีเลย ทุกคนทุศีลทั้งน้ัน ทานมิไดกระทำให พระราชาทรงยินดี พระราชาเขาพระหทัยวา ‘การเลือก ใหทานมีผลมาก ทรงมีพระประสงคจะใหทานแกผูมีศีล’ ทรงดำริวา ‘ตองปรึกษากับวิธรู บณั ฑิต.’ ทา วเธอทรงรับสง่ั ใหทา นผมู าสทู เ่ี ฝานั่งเหนืออาสนะ ตรสั ถามปญหา. พระราชายุธิฏฐิลทรงปรารถนาธรรม ไดตรัสกะ วิธรู อำมาตย. ตอไปเปนดำรัสของพระราชาและคำตอบของทาน วิธรู ะวา www.kalyanamitra.org

30 àÃè×ͧ พระเจายุธิฏฐิละผูทรงฝกใฝในธรรม ไดตรัสกับ วธิ รู อำมาตยวา “ดูกอนวิธูระ ทานจงแสวงหาพราหมณทั้งหลาย ผมู ศี ลี เปน พหสู ตู งดเวน จากเมถนุ ธรรม ซงึ่ สมควรจะบรโิ ภค โภชนาหารของฉัน ดูกอนสหาย ฉันจะใหทักษิณาในพวก พราหมณทใ่ี หท านแลว จักมีผลมาก.” “ขาแตพระองคผูสมมติเทพ พราหมณทั้งหลาย ผมู ศี ลี เปน พหสู ตู งดเวน จากเมถนุ ธรรม ทส่ี มควรจะบรโิ ภค โภชนาหารของพระองคน้ันหาไดยาก ขาแตพระมหาราชา ขาพระพุทธเจาไดสดับมาวา ‘ชาติพราหมณมี ๑๐ ชาติ’ ขอพระองคจ งทรงสดบั การจำแนกแจงชาตพิ ราหมณเ หลา นน้ั ของขาพระองค ๑) ชนทั้งหลายถือเอากระสอบอันเต็มไปดวยรากไม เรียบรอย ปดสลากบอกสรรพคุณยาไว รดน้ำมนตและ รา ยมนต ขา แตพ ระราชา ชนเหลา นน้ั แมจ ะเปน เหมอื นกบั หมอ ก็ยังเรียกกันวาเปนพราหมณ ขาแตพระมหาราชา ขาพระพุทธเจากราบทูลถึง พราหมณพวกน้ันแกพ ระองคแลว เราจะตอ งการพราหมณ เชน นั้นหรอื หาไม พระเจา ขา .” (พระเจา โกรพั ยะตรสั ดงั นวี้ า ) “ดกู อ นวธิ รู ะ ชนเหลา นน้ั ปราศจากคุณเครื่องความเปนพราหมณ จะเรียกวาเปน พราหมณมิได ทานจงแสวงหาพราหมณเหลาอื่นผูมีศีล เปน พหสู ตู งดเวน จากเมถนุ ธรรม ซง่ึ สมควรบรโิ ภคโภชนาหาร ของฉัน ดูกอนสหาย ฉันจักใหทักษิณาในพวกพราหมณ ทีใ่ หท านแลวจกั มผี ลมาก.” www.kalyanamitra.org

ó ·Ê¾ÃÒËÁ³ªÒ´¡ 31 วธิ รู บณั ฑติ กราบทลู ลกั ษณะพราหมณ อกี ๙ ลกั ษณะ พระราชาก็ตรสั ตอบในทำนองเดยี วกัน “๒) ชนทงั้ หลายถอื กระดง่ิ ตปี ระกาศไปขา งหนา บา ง คอยรบั ใชบ า ง ศกึ ษาในการขบั รถบาง ขา แตพ ระราชา ชนเหลา นน้ั แมจ ะเหมอื นกบั คนบำเรอ ก็ยังเรยี กกนั วา ‘เปน พราหมณ’ .....” “๓) พวกพราหมณถือน้ำเตาและไมสีฟน คอยเขา ใกลพ ระราชาทงั้ หลาย ในบา นและนคิ มดว ยตง้ั ใจวา เมอื่ คน ท้งั หลายในบานหรอื นิคมไมใ หอ ะไรๆ พวกเราจกั ไมล ุกขนึ้ ขาแตพระราชา ชนเหลาน้ันแมจะเหมือนกับผูกดข่ี ขมเหง ก็ยงั เรียกกันวา ‘เปนพราหมณ’ .....” “๔) ชนทง้ั หลายมเี ลบ็ และขนรกั แรง อกยาว ฟน เขลอะ มีธุลีบนศีรษะเกรอะกรังดวยฝุนละออง เปนพวกยาจก ทองเท่ียวไป ขาแตพระราชา ชนพวกนั้นแมจะเหมือนกับ มนุษยขดุ ตอ กย็ ังเรียกกันวา ‘เปน พราหมณ’ .....” “๕) ขาแตพระองคผูเปนอธิบดีแหงประชาชน ชนทั้งหลายขายสง่ิ ของเครอื่ งชำ คอื ผลสมอ ผลมะขามปอ ม มะมวง ชมพู สมอพิเภก ขนุนสำมะลอ ไมสีฟน มะตูม พทุ รา ผลเกด ออ ยและงบนำ้ ออ ย เครอื่ งโบกควนั นำ้ ผงึ้ และ ยาหยอดตา ขาแตพระราชา ชนเหลานั้นแมจะเหมือนกับ พอคา กย็ งั เรียกกันวา ‘เปน พราหมณ’ .....” “๖) ชนท้ังหลายใชคนใหทำการไถและการคา ใชให เลี้ยงแพะเลี้ยงแกะ สูขอนางกุมารีทำการวิวาหมงคลและ อาวาหมงคล ชนเหลา นน้ั แมจ ะเหมอื นกบั กฎุ ม พแี ละคฤหบดี ก็ยงั เรยี กกันวา ‘เปน พราหมณ’ .....” www.kalyanamitra.org

32 àÃ×èͧ “๗) ยังอีกพวกหนึ่งเลา เปนปุโรหิตในบานบริโภค ภกิ ษาทเี่ กบ็ ไว ชนเปน อนั มากพากนั ถามปโุ รหติ บา นเหลา นน้ั พวกเหลา นน้ั จกั รบั จา งตอนสตั ว แมป ศสุ ตั วค อื กระบอื สกุ ร แพะถูกฆาเพราะปุโรหิตชาวบานเหลาน้ัน ขาแตพระราชา คนเหลานั้นแมจะเหมือนกับคนฆาโค ก็ยังเรียกกันวา ‘เปน พราหมณ’ .....” “๘) อีกพวกหนึ่งเปนพราหมณถือดาบและโลเหน็บ กระบ่ี ยนื เฝา อยทู ย่ี า นพอ คา บา ง รบั คมุ ครองขบวนเกวยี นบา ง ชนเหลา นนั้ แมจ ะเหมอื นคนเลยี้ งโคและนายพราน กย็ งั เรยี ก กนั วา ‘เปนพราหมณ’ .....” “๙) ชนท้ังหลายปลูกกระทอมไวในปา ทำเคร่ือง ดกั สตั ว เบยี ดเบยี นกระตา ยและเสอื ปลาตลอดถงึ เหย้ี ทง้ั ปลา และเตา ขาแตพระราชา ชนทั้งหลายแมจะเปนผูเสมอกับ นายพราน เขากเ็ รียกกนั วา ‘เปนพราหมณ’ .....” “๑๐) อกี พวกหนงึ่ ยอ มนอนใตเ ตยี ง เพราะปรารถนา ทรัพย พระราชาท้ังหลายสรงสนานอยูขางบน ในคราว มพี ธิ โี สมยาคะ ขา แตพ ระราชา ชนพวกนนั้ แมจ ะเหมอื นกบั คนกวาดมลทนิ กย็ งั เรยี กกนั วา ‘เปน พราหมณ’ .....” “ขาแตพระมหาราชา ขาพระพุทธเจากราบทูลถึง พราหมณพ วกนนั้ แกพ ระองคแ ลว เราจกั ตอ งการพราหมณ เชนน้ันหรอื หาไม พระเจาขา.” www.kalyanamitra.org

ó ·Ê¾ÃÒËÁ³ªÒ´¡ 33 “ดูกอนวิธูระ ชนเหลาน้ันปราศจากคุณเครื่องความ เปนพราหมณ จะเรียกวาเปนพราหมณไมได ทานจง แสวงหาพราหมณเหลาอื่นผูมีศีล เปนพหูสูต งดเวนจาก เมถนุ ธรรม ซง่ึ สมควรบรโิ ภคโภชนาหารของฉนั ดกู อ นสหาย ฉนั จะใหท กั ษณิ าในพวกพราหมณท ใี่ หท านแลว จกั มผี ลมาก.” พระโพธิสัตวกราบทูลแถลงถึงพวกพราหมณ เพยี งบญั ญัตเิ รยี กเหลา นี้ ดว ยประการฉะน้แี ลว คราวนเี้ มอื่ จะทลู แถลงถงึ พราหมณผ มู ปี ระโยชนย อดเยยี่ ม ไดก ราบทูลคาถา ๒ คาถาวา ขา แตพ ระองคผ สู มมตเิ ทพ พราหมณท ง้ั หลาย ผมู ศี ลี เปนพหูสูต งดเวนจากเมถุนธรรม ซึ่งสมควรบริโภค โภชนาหารของพระองค มอี ยูแล พราหมณเ หลา นนั้ บรโิ ภค ภตั ตาหารหนเดยี ว และไมด ื่มนำ้ เมา ขาแตพระมหาราชา ขาพระพุทธเจากราบทูลถึง พราหมณเหลานั้นแกพระองคแลว พวกเราคงตองการ พราหมณเ ชน นี้ซิ พระเจา ขา . พระราชาทรงสดบั คำของทานแลว ตรัสถามวา “สหายวธิ รู ะ ทา นพราหมณผ เู ปน ทกั ขไิ ณยบคุ คลเลศิ เชน น้ี อยูทไ่ี หนเลา?” กราบทูลวา “ขาแตพระมหาราชเจา ทานอยู ณ เงอ้ื มเขานนั ทมูลในหิมวนั ตตอนเหนือ พระเจา ขา .” รับสั่งวา “พอบัณฑิต ถาเชนนั้น เธอจงชวย แสวงหาทา นพราหมณพ วกนน้ั แกเ ราดว ยกำลงั ของเธอเถดิ ” ทรงดพี ระฤทยั ตรสั คาถาวา www.kalyanamitra.org

34 àÃè×ͧ ดูกอนวิธูระ พราหมณเหลานั้นแหละเปนผูมีศีล เปนพหูสูต ดูกอนวิธูระ ทานจงแสวงหาพราหมณพวกนั้น และจงเชญิ พราหมณพวกนนั้ มาโดยเรว็ ดวยเถิด. พระมหาสัตวรับพระดำรัสของพระองคดวยคำวา “สาธ”ุ กราบทลู วา “ขา แตม หาราชเจา ถา เชน นน้ั พระองคใ ห ราชบุรุษนำกลองออกไปเท่ียวตีประกาศวา ‘ชาวพระนคร ทุกคน จงตกแตงพระนครพากันใหทาน อธิษฐานอุโบสถ และถอื ศลี จงทวั่ กนั เถดิ ’ แมพ ระองคก ท็ รงสมาทานอโุ บสถ กบั ชนผูเปนบรษิ ทั เถิด พระเจาขา” ตนเองพอรงุ เชา บรโิ ภคแลว สมาทานอโุ บสถ ตอนเยน็ ใหค นนำผอบทองเตม็ ดว ยดอกไมต ามธรรมชาติ กบั พระราชา ประดษิ ฐานเบญจางคประดษิ ฐ ระลกึ ถงึ พระคณุ ทง้ั หลายแหง พระปจ เจกพทุ ธเจา ทงั้ หลาย กราบไหวแ ลว นมิ นตด ว ยคำวา “ขอพระปจเจกพุทธเจาประมาณ ๕๐๐ องคผูสถิตอยู ณ เง้อื มเขานนั ทมลู กะในหิมวันตประเทศตอนเหนือ จงรับ ภกิ ษาของขา พเจาทั้งหลายในวนั พรงุ นี้” แลว ทง้ิ กำดอกไม ๘ กำไปในอากาศ. คร้ังน้ันพระปจเจกพุทธเจา ๕๐๐ องคอยู ณ ที่น้ัน ดอกไมท งั้ หลายลอยไปตกลงในเบอื้ งบนสำนกั แหง พระปจ เจก พุทธเจาเหลาน้ัน พระคุณทานนึกอยูรูเหตุน้ันแลวกลาววา ‘ทา นผมู เี นียรทุกขท ัง้ หลาย ชาวเรา วิธูรบัณฑติ นมิ นตแ ลว ก็แหละทานผูน้ีมิใชสัตวพอดีพอราย ทานผูน้ีเปนหนอเนื้อ แหงพระพุทธเจา จักไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาในกัปน้ีแล พวกเราตอ งกระทำสงเคราะหทา น พากันรับนมิ นต. ’ www.kalyanamitra.org

ó ·Ê¾ÃÒËÁ³ªÒ´¡ 35 พระมหาสัตวทราบ ‘การที่พระปจเจกพุทธเจา รบั นมิ นต ดว ยสญั ญาทด่ี อกไมท งั้ หลายไมค นื มา’ กราบทลู วา “ขาแตพระมหาราชเจา พระปจเจกพุทธเจาทั้งหลาย จักพากันมา เชิญพระองคทรงกระทำสักการะและสมั มานะ เถดิ พระเจาขา .” วันรุงขึ้น พระราชาทรงกระทำสักการะใหญโต ใหตกแตง อาสนะอันควรคามาก ในทองพระโรงหลวง ฝายพระปจเจกพุทธเจาน้ันพากันกระทำปรนนิบัติ สรีระในสระอโนดาต เสร็จแลวกำหนดเวลา พากันมาทาง อากาศลงท่ีทองพระลานหลวง พระราชาและพระโพธิสัตวมีใจเลื่อมใส รับบาตร จากหตั ถแ หง พระคณุ ทา นเหลา นน้ั เชญิ ขน้ึ ปราสาท ใหน งั่ แลว ถวายทกั ษโิ ณทก องั คาสดว ยขาทนยี ะและโภชนยี ะ อนั ประณตี ในท่ีสุดแหง ภัตกจิ ของพระคณุ ทา นเหลานน้ั ก็นิมนต เพ่ือฉันในวนั รุงข้นึ ๆ ตอๆ กันไป รวมเปน ๗ วัน ดว ยวิธีน้ี ถวายมหาทานในวนั คำรบ ๗ ไดถวายบริขารทั้งปวง. พระคณุ ทา นเหลา นน้ั กระทำอนโุ มทนาแลว พากนั ไป ณ เงื้อมเขานนั ทมูลกะน้ันทางอากาศ. บรขิ ารท้ังหลายเลา กไ็ ปพรอมกันกบั พระคุณทา นทเี ดียวแล. พระศาสดาทรงนำพระธรรมเทศนานม้ี าแลว ตรสั ยำ้ วา “ดกู อ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย การทโี่ กศลราชผอู ปุ ฏ ฐากของเรา ถวายวเิ จยยทาน (การเลอื กแลว ให) ไมน า อศั จรรย บณั ฑติ แตปางกอนถึงพระพุทธเจายังไมอุบัติ ก็ไดถวายทานแลว เหมอื นกัน” www.kalyanamitra.org

36 àÃ×èͧ ประชมุ ชาดก พระราชาในครัง้ น้ันไดมาเปน พระอานนท พระปจ เจกพทุ ธเจา ทั้งหลาย ปรินิพพานแลว สวนวิธูรบณั ฑิตไดมาเปน เราตถาคต ขอสังเกตจากชาดก เรอ่ื งที่ ๒. อาทิตตชาดก วา ดวย การใหทานกบั การรบ พระเจาเภรุวมหาราช (พระโพธิสัตว) เปนผูทำการโปรย ดอกมะลเิ พื่อนมิ นตพ ระปจเจกพทุ ธเจาจำนวน ๗ พระองค ดวยพระองคเอง พระปจเจกพุทธเจาทั้ง ๗ พระองคทรง รบั ทานน้นั และทรงแสดงธรรมแกพ ระราชา สวนชาดกเรอื่ งน้ี ๓. ทสพราหมณชาดก วาดวย ชาติพราหมณ ๑๐ ชาติ วิธูรบัณฑิตโพธิสัตว เปนผูทำการโปรยดอกไมเพื่อนิมนต พระปจ เจกพทุ ธเจา จำนวน ๕๐๐ พระองค พระราชาทำทาน ตอ เนอ่ื ง ๗ วนั www.kalyanamitra.org

37 ô ÁËÒàÇÊÊѹμêҴ¡ø (ÍØ»·Ò¹ºÒÃÁÕ) NjҴnj  ¾ÃÐàÇÊÊѹ´Ã·Ã§ºÓà¾çÞ·Ò¹ºÒÃÁÕ สถานท่ตี รัส นิโครธาราม กรงุ กบลิ พสั ดรุ าชธานี ทรงปรารภ ฝนโบกขรพรรษ สาเหตทุ ่ตี รัส พระศาสดาทรงยังธรรมจักรอันบวรใหเปนไปแลว เสดจ็ สูกรงุ ราชคฤหโ ดยลำดบั ประทบั อยู ณ กรุงราชคฤห นั้นตลอดเหมันตฤดู๙ มีพระอุทายีเถระเปนมัคคุเทศก พระขีณาสพ ๒๐,๐๐๐ แวดลอม เสด็จจนถึงกรุงกบิลพสั ดุ เปนการเสด็จครั้งแรก ศักยราชทั้งหลายประชุมกัน ดวย คิดวา ‘พวกเราจักไดเห็นสิทธัตถกุมารนี้ ผูเปนพระญาติ อันประเสริฐของพวกเรา เลือกหาสถานท่ีเปนที่ประทับ ของพระผูมีพระภาคเจา ก็กำหนดกันวา ราชอุทยานของ นโิ ครธศกั ยราช นา รน่ื รมย’ จงึ ทำวธิ ปี ฏบิ ตั ิ จดั แจงทกุ อยา ง ในนิโครธารามนั้น ถือของหอมดอกไมและจุรณเปนตน รับเสด็จ สงทารกทาริกาชาวเมืองท่ียังหนุมๆ ประดับดวย ๘ ตนฉบับ ชาตกัฏฐกถา อรรถกถาขุททกนิกาย ชาดก มหานิบาต, ล.๖๔, น.๕๙๙, มมร. ๙ ฤดหู นาว www.kalyanamitra.org

38 àÃ×èͧ www.kalyanamitra.org

ô ÁËÒàÇÊÊѹμêҴ¡ 39 เคร่ืองอลังการท้ังปวงไปกอน แตนั้นจึงสงราชกุมารีไป เสด็จไปเองในระหวางราชกุมารราชกุมารีเหลาน้ัน บูชา พระศาสดาดวยดอกไมของหอมและจุรณเปนตน พาเสด็จ พระผูมพี ระภาคเจา ไปสูนิโครธารามนั่นแล. พระผมู พี ระภาคเจา มพี ระขณี าสพ ๒๐,๐๐๐ แวดลอ ม ประทบั นงั่ ณ บวรพทุ ธอาสนท ป่ี ลู าดไว ในนโิ ครธารามนนั้ . กาลนั้น เจาศากยะท้ังหลายเปนชาติถือตัว กระดาง เพราะถือตัว คิดกันวา ‘สิทธัตถกุมารนี้เด็กกวาพวกเรา เปนนอง เปนภาคิไนย เปนบุตร เปนนัดดาของพวกเรา’ คิดฉะนี้แลว จึงกลาวกะราชกุมารท่ียังหนุมๆ เหลาน้ันวา “เธอท้ังหลายจงไหวพระผูมีพระภาคเจา พวกเราจักนั่ง เบ้ืองหลังพวกเธอ.” เม่ือเจาศากยะเหลาน้ันไมอภิวาท พระผมู ีพระภาคเจา นงั่ กันอยูอยา งนี้ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงทราบอธั ยาศยั ของเจา ศากยะ เหลานั้น จึงทรงดำริวา ‘พระญาติท้ังหลาย ไมไหวเรา เอาเถิด เราจักยังพระญาติเหลานั้นใหไหว’ ทรงพระดำริ ฉะน้ีแลว ทรงเขาจตุตถฌานอันเปนบาทแหงอภิญญา จำเดิมแตน้ัน ก็เสด็จข้ึนสูอากาศ เปนดุจโปรยละอองธุลี พระบาทลงบนเศยี รแหง พระญาตเิ หลา นน้ั ทรงทำปาฏหิ ารยิ  เชน กบั ยมกปาฏหิ ารยิ  ณ ควงไมค ณั ฑามพพฤกษ. www.kalyanamitra.org

40 àÃÍè× § กาลนั้น พระเจาสุทโธทนมหาราชไดทอดพระเนตร เหน็ อศั จรรยน น้ั จงึ ตรสั วา “ขา แตพ ระองคผ เู จรญิ ในวนั เมอ่ื พระองคประสูติ เม่ือพระพ่ีเล้ียงเชิญพระองคเขาไปใกล เพ่ือใหนมัสการชฏลิ ช่ือ ‘กาฬเทวละ.’ ขา พระองคกไ็ ดเ หน็ พระบาทท้ังสองของพระองคกลับไปต้ังอยู ณ ศีรษะแหง พราหมณ ขาพระองคก็ไดกราบพระองค น้ีเปนการกราบ ของขา พระองคค รง้ั แรก. ในวันวัปปมงคลแรกนาขวัญ เมื่อพระองคบรรทม ณ พระยภ่ี ๑ู ๐อนั มสี ริ ใิ ตร ม เงาไมห วา ขา พระองคไ ดเ หน็ เงาไมห วา ไมบายไป. ขาพระองคก็ไดกราบพระบาทของพระองค นเ้ี ปน การกราบของขา พระองคค รั้งที่ ๒. บัดน้ี ขาพระองคเห็นปาฏิหาริย อันยังไมเห็นน้ี จึงไดกราบพระบาทของพระองค น้ีเปนการกราบของ ขาพระองคครง้ั ที่ ๓.” ก็เมื่อพระเจาสุทโธทนะถวายบังคมแลว เจาศากยะ แมองคหนึ่งที่จะไมอาจถวายบังคม ดำรงนิ่งอยู มิไดมี. ชนเหลา นน้ั แมท งั้ หมดไดถ วายบงั คมแลว พระผมู พี ระภาคเจา ยังพระประยูรญาติท้ังหลาย ใหถวายบังคมแลว เสด็จลง จากอากาศประทับนัง่ ณ บวรพุทธอาสนท ่ปี ูลาดไวแลว ๑๐ ทน่ี อน, ที่นงั่ , ฟกู , นวม www.kalyanamitra.org

ô ÁËÒàÇÊÊѹμêҴ¡ 41 เม่ือพระผูมีพระภาคเจาประทับนั่งแลว พระประยูร ญาตทิ ป่ี ระชมุ กนั ไดแ วดลอ มแลว ทงั้ หมดมจี ติ แนว แน นง่ั อย.ู ลำดบั นนั้ มหาเมฆตงั้ ขนึ้ ยงั ฝนโบกขรพรรษใหต กแลว นำ้ ฝนนนั้ สแี ดง เสยี งซซู า ไหลไปลงทล่ี มุ . ผตู อ งการใหเ ปย ก ก็เปยก ฝนน้ันไมตกตองกายของผูที่ไมตองการใหเปยก แมสักหยาดเดียว ชนท้ังปวงเหลาน้ันเห็นอัศจรรยน้ัน กเ็ กิดพศิ วง. ภกิ ษทุ ง้ั หลายพดู กนั วา “โอ นา อศั จรรย โอ ไมเ คยมี โอ อานภุ าพแหง พระพทุ ธเจา มหาเมฆจงึ ยงั ฝนโบกขรพรรษ เห็นปานนี้ ใหตกในสมาคมแหงพระประยูรญาติทั้งหลาย.” พระศาสดาทรงสดบั ดงั นนั้ แลว ตรสั ถามวา “ดกู อ นภกิ ษุ ท้งั หลาย บัดน้ี เธอทัง้ หลายน่ังสนทนากนั ถึงเร่อื งอะไร?” เมอ่ื ภกิ ษเุ หลา นน้ั กราบทลู ใหท รงทราบแลว มพี ระพทุ ธ ดำรัสวา “ดูกอนภิกษุท้ังหลาย มิใชแตในบัดนี้เทานั้น ทม่ี หาเมฆยงั ฝนโบกขรพรรษใหต ก แมใ นกาลกอ น เวลาทเ่ี รา ยงั เปน โพธสิ ตั วอ ยู มหาเมฆเหน็ ปานน้ี กย็ งั ฝนโบกขรพรรษ ใหต กในญาตสิ มาคม เหมอื นกนั ” ตรสั ฉะนี้ แลว ทรงดษุ ณภี าพ. ภิกษุเหลานั้นทูลอาราธนา จึงทรงนำอดีตนิทานมา ตรสั เลา ดงั ตอไปน้.ี www.kalyanamitra.org

42 àÃÍè× § เนื้อหาชาดก เร่ืองยอ เทพธดิ าผสุ ดี อคั รมเหสขี องทา วสกั กเทวราช ไดร บั พร ๑๐ ประการเม่ือตองจุติมาปฏิสนธิเปนมนุษย พรประการ หนึ่ง คือ ใหมีโอรสท่ีทรงพระเกียรติยศ พระนางได อภิเษกสมรสกับพระเจาสญชัยแหงแควนสีพี และประสูติ พระโอรสที่ตรอกพอคาขณะเสด็จประพาส พระนคร จงึ ขนานพระนามวา ‘พระเวสสนั ดร’ (ผเู กดิ ทา มกลางพอ คา ) พระเวสสนั ดรครองราชยต ง้ั แตพ ระชนมายุ ๑๖ พรรษา อภิเษกสมรสกับพระนางมัทรี เจาหญิงแหงแควนมัททะ มพี ระโอรสและพระธดิ า คอื เจา ชายชาลี กบั เจา หญงิ กณั หา พระเวสสนั ดรมพี ระทยั กระหายการใหท าน จงึ สรา งโรงทาน ถึง ๖ แหง ตอ มาไดพ ระราชทาน ชา งปจ จยั นาค ซง่ึ เปน ชา งมงคล คพู ระนครใหแ กท ตู ของแควน กาลงิ คะ ชาวเมอื งสพี ไี มพ อใจ พากนั ไปกราบทลู พระเจา กรงุ สญั ชยั ใหเ นรเทศ พระเวสสันดรไดเสด็จออกบวชเปนฤๅษีที่เขาวงกต โดยพระนางมทั รี เจา ชายชาลี เจา หญงิ กณั หาตดิ ตามไปดว ย ในแควน กาลงิ คะ พราหมณช ราชชู ก มภี รรยาสาวชอื่ ‘นางอมติ ตตาปนา’ นางใหช ชู กไปขอพระกมุ ารชาลกี ณั หามา www.kalyanamitra.org

ô ÁËÒàÇÊÊѹμêҴ¡ 43 รบั ใช ชชู กออกเดนิ ทางไปเขาวงกต ไดพ บกบั พรานเจตบตุ ร ซง่ึ พระเจา เจตราชทรงตง้ั ไว ถวายการอารกั ขาพระเวสสนั ดร ชชู กอา งวา ‘ตนเปน ทตู จากแควน สพี ี มาทลู เชญิ พระเวสสนั ดร พระนางมัทรีและพระโอรสธิดากลับเมือง’ จึงผานไปได และเพ่อื ทราบทางเขา สเู ขาวงกต ชูชกไปยังพระอาศรมของพระเวสสันดร ไดกลาวกับ พระอจั จตุ ดาบสวา ‘จะมาสนทนาธรรมกบั พระเวสสันดร’ ชชู กรอใหร งุ เชา พระนางมทั รอี อกไปหาผลไม จงึ เขา ไป ขอสองกมุ าร พระเวสสนั ดรทรงยนิ ดยี กให พรอ มทงั้ คาดคา ตวั ไวด ว ย ชูชกรีบนำสองกุมารไปกอนท่ีพระนางมัทรีเสด็จกลับ ทาวสักกะเกรงวา ‘จะมีผูมาขอพระนางมัทรี’ จึงแปลงเปน พราหมณมาขอทูลขอ แลวถวายคืน แลวไดถวายพร ๘ ประการ กอนเสด็จกลับดาวดึงส ชูชกพาพระกุมารชาลีกัณหามาถึงทางสองแพรง ดว ยบญุ บารมขี องพระกมุ าร จงึ บนั ดาลใหช ชู กตดั สนิ ใจไปเมอื ง เชตุดรเขาเฝาพระเจาสญชัยและพระนางผุสดี ทรงไถ พระนดั ดา แลว พระองคต รสั สงั่ ใหจ ดั กระบวนขา ราชบรพิ าร ไปรบั พระเวสสนั ดรและพระนางมทั รีทีเ่ ขาวงกต www.kalyanamitra.org

44 àÃ×èͧ เมื่อกษัตริยท้ัง ๖ พระองค ทรงพบกัน ก็ดีพระทัย จนสลบลง ขณะน้ันไดเกิดฝนโบขรพรรษ ตองพระวรกาย ชวยใหทุกพระองค และทุกคนไดสติฟนขึ้นมา แลวเสด็จ กลบั สพู ระนคร พระศาสดาครนั้ ทรงนำพระธรรมเทศนามหาเวสสนั ดร ชาดก ซงึ่ ประดบั ดว ยคาถาประมาณ ๑,๐๐๐ คาถานม้ี าแลว ตรัสวา “ดูกอนภิกษุท้ังหลาย แมในกาลกอน มหาเมฆ ก็ยังฝนโบกขรพรรษใหตกในที่ประชุมแหงพระประยูรญาติ ของเราอยางนเ้ี หมือนกนั ” ประชมุ ชาดก พราหมณชูชกในกาลนน้ั คือภกิ ษุเทวทตั นางอมิตตตาปนา คอื นางจิญจมาณวิกา พรานเจตบุตร คอื ภิกษฉุ นั นะ อัจจตุ ดาบส คือภกิ ษุสารบี ุตร ทา วสกั กเทวราช คอื ภกิ ษอุ นุรทุ ธะ พระเจา สญชยั นรนิ ทรราช คอื พระเจา สทุ โธทนมหาราช พระนางผุสดเี ทวี คือพระนางสริ มิ หามายา พระนางมทั รีเทวี คือยโสธราพมิ พามารดาราหลุ www.kalyanamitra.org

ô ÁËÒàÇÊÊѹμêҴ¡ 45 ชาลกี มุ าร คือราหุล กณั หาชินา คอื ภกิ ษณุ ีอุบลวรรณา ราชบรษิ ัทนอกนี้ คือพุทธบรษิ ัท ก็พระเวสสนั ดรราช คือเราเองผสู มั มาสัมพุทธเจา แล. ขอสังเกต สตั ตสตกมหาทาน หมายถงึ การใหท านวตั ถุ ๗ ชนดิ ชนิดละ ๗๐๐ คือ ๑) ชาง ๗๐๐ เชือก ลวนประดับดวยคชาลังการ มีเคร่ืองรัดกลางตัว ที่ทำดวยทองคำบริสุทธิ์ คลมุ ดวยเคร่ืองประดับทอง มนี ายหตั ถาจารย ถือโตมรน่ังประจำ ๒) มา ๗๐๐ ตวั ลว นประดบั ประดาดว ยอศั วาภรณ เปนมาอาชาไนย เปนพาหนะวองไว มีนาย อศั วาจารยข ี่ประจำ สวมเกราะถือธนู ๓) รถ ๗๐๐ คัน ที่แข็งแรงม่ันคง หุมดวยหนัง เสอื เหลอื ง เสอื โครง ประดบั ดว ยสรรพาลงั การ หลายอยาง สวยงามมาก อีกทั้งมีคนขับถือ ธนสู วมเกราะประจำรถอกี ดว ย www.kalyanamitra.org

46 àÃÍè× § ๔) สตรี ๗๐๐ นาง แตละนางอยูใ นรถ สวมสรอ ย ทองคำประดบั กาย ลว นมเี ครอื่ งประดบั ประดา สเี หลอื งอรา ม นงุ หม ผา สเี หลอื ง ประดบั อาภรณ สีเหลือง มีดวงตาโตสวย ย้ิมแยมกอนจึงพูด มีรูปรา งสวยงาม ๕) แมโคนมอีก ๗๐๐ ตัว ลวนเปนหัวหนาโค ที่คัดเลือกเปนพิเศษ สามารถรีดน้ำนม ไดวันละหมอ ๖) ทาสหญงิ ๗๐๐ คน ๗) ทาสชายอีก ๗๐๐ คน ท้ังหมดลวนไดรับ การฝกฝนมาอยางดี พรอมเคร่ืองดื่ม และ โภชนาหารหาประมาณมิได ปญ จมหาบรจิ าค - สละทรพั ย, อวยั วะ, ชวี ติ , บตุ ร และภรรยา www.kalyanamitra.org

47 õ Í¡ÔμμÔªÒ´¡ññ (·Ò¹ÍØ»ºÒÃÁÕ) ÇÒ‹ ´ŒÇ ͡μÔ μԴҺʢ;÷ŒÒÇÊ¡Ñ ¡Ð สถานทตี่ รสั พระเชตวนั มหาวหิ าร ทรงปรารภ อบุ าสกผูทานบดีชาวกรุงสาวตั ถผี หู นงึ่ สาเหตทุ ่ีตรัส เลากันมาวา อุบาสกนั้นนิมนตพระศาสดา ถวาย มหาทานแดภิกษุสงฆ มีพระพุทธเจาเปนประธานตลอด ๗ วนั ในวนั สดุ ทา ยไดถ วายบรขิ ารทงั้ ปวงแกพ ระอรยิ สงฆ. ลำดบั นนั้ พระศาสดาประทบั ทา มกลางบรษิ ทั นน้ั แหละ เมอ่ื ทรงกระทำอนุโมทนาตรัสวา “อบุ าสก การบรจิ าคของเธอใหญห ลวง กรรมทที่ ำได ยากยิ่งเธอกระทำแลว ธรรมดาวาทานวงศนี้เปนวงศของ หมบู ณั ฑติ แตก อ นแทจ รงิ อนั ชอื่ วา ทาน ไมว า จะเปน คฤหสั ถ ไมวาเปนบรรพชิตควรใหท ้งั นัน้ ก็บัณฑิตแตเกากอนบวชอยูในปา และแมจะฉันใบ หมากเมานง่ึ กับวตั ถุเพียงแตนำ้ ไมเ ค็มและไรก ลิน่ กย็ ังให แกยาจกที่ประจวบเหมาะ ตนเองยังอัตภาพใหเปนไปดวย ปต สิ ขุ .” ๑๑ ตนฉบับ ชาตกฏั ฐกถา อรรถกถาขทุ ทกนกิ าย ชาดก เตรสนิบาต, ล.๖๐, น.๒๘๔, มมร. www.kalyanamitra.org

48 àÃ×èͧ www.kalyanamitra.org

õ Í¡ÔμμÔªÒ´¡ (·Ò¹ÍØ»ºÒÃÁÕ) 49 อุบาสกนั้นกราบทูลอาราธนาวา “ขาแตพระองค ผเู จรญิ การถวายบรกิ ขารทง้ั ปวงนปี้ รากฏแกม หาชนแลว ละ พระเจา ขา ขอ นพี้ ระองคต รสั ยงั มไิ ดป รากฏ โปรดตรสั คำนนั้ แกพ วกขา พระองคเถิด พระเจา ขา .” เน้อื หาชาดก ครั้งนนั้ บุตรของพราหมณท ่ีมีทรพั ยม ากช่อื ‘อกิตต’ิ เมอ่ื พอ แมต ายลง เกดิ ความเบอื่ หนา ยในสมบตั ิ จงึ ออกบวช และบำเพ็ญเพียร ยังฌานและอภิญญาใหบังเกิดแลว เปนผูมีความปรารถนานอ ย ทาวสักกะทรงคิดจะทดลองใจ จึงแปลงเปนยาจกมา ขอทาน อกติ ตดิ าบสไดใ หท านถงึ ๓ วนั ในสว นทเ่ี ปน อาหาร ของตนทั้งหมด ทาวสักกะจงึ ทรงแสดงตัวและประทานพร ดาบสจึงขอใหตนอยาพบคนพาล เพราะคนพาล มปี ญ ญาทราม ยอ มแนะนำชกั ชวนในสง่ิ ทไี่ มใ ชธ รุ ะ แนะนำ ความชั่วเปน ความดี พดู ดีกโ็ กรธ เปน ผไู มรูวนิ ยั ประชมุ ชาดก ทา วสกั กะในครงั้ นนั้ ไดม าเปน พระอนรุ ุทธะ สวนอกิตติบณั ฑิต คือ เราตถาคต แล. www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook