Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รักษ์ป่าน่าน ครั้งที่ ๒

รักษ์ป่าน่าน ครั้งที่ ๒

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2020-01-06 03:52:54

Description: สำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
หนังสือ,เอกสาร,บทความ นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

“รกั ษ์ปา่ นา่ น” ครั้งท่ี 2 การประชุมสัมมนา “รกั ษ์ปา่ นา่ น” ครง้ั ท่ี 2 วันจนั ทร์ท่ี 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ณ ศูนยก์ ารเรยี นรแู้ ละบรกิ ารวชิ าการ เครอื ขา่ ยแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตําบลผาสงิ ห์ อาํ เภอเมอื งน่าน จังหวดั นา่ น

“รกั ษ์ป่านา่ น” ครง้ั ท่ี 2 978 – 616 – 7975 – 00 – 9 ISBN : จดั พิมพ์โดย สาํ นกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สวนจิตรลดา พระราชวังดุสติ กรงุ เทพฯ 10303 พมิ พ์คร้ังท่ี 1 โทรศัพท์ 0 2282 6511, 0 2281 3921 จํานวน โทรสาร 0 2281 3923 ออกแบบและจดั รูปเลม่ พสิ ูจน์อกั ษร กุมภาพนั ธ์ 2558 พมิ พ์ที่ 1,000 เล่ม นางสาวมนัสวี ตนั เสถยี ร นางสาวพิชญน์ รี พทิ ักษอ์ วกาศ บริษทั พ.ี เอ.ลีฟวิ่ง จํากดั เลขท่ี 4 ซอยสริ ินทร 7 แขวงบางบําหรุ เขตบางพลดั กรุงเทพฯ 10700 โทรศพั ท์ 0 2881 9890 โทรสาร 0 2881 9892

คาํ นาํ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดําเนินไปทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจในพื้นท่ีจังหวัดน่านอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลากว่า 20 ปี ได้ทอดพระเนตรเห็นพ้ืนท่ี ป่าเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ทรงห่วงใยและทรงเห็นถึงความจําเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเร่งฟ้ืนฟูและ อนุรักษ์ป่าไม้ให้คืนสู่สมดุลโดยเร็วท่ีสุด จึงมีพระราชดําริให้หน่วยงานต่าง ๆ ร่วมมือกันในการจัด ประชุมสัมมนา “รักษ์ป่าน่าน ครั้งที่ 2” ขึ้นในวันจันทร์ท่ี 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ณ ศูนย์การ เรียนรู้และบริการวิชาการ เครือข่ายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตําบลผาสิงห์ อําเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน โดยมุ่งหวังท่ีจะให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมเพ่ืออนุรักษ์และ ฟื้นฟูพ้ืนที่ป่าไม้ ให้ผู้เข้าร่วมประชุมเกิดความตระหนักและเห็นความจําเป็น นําไปสู่ความร่วมมือของ ภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีจะช่วยกันสร้างสํานึกให้เด็กและเยาวชนอนุรักษ์ป่า และประชาชนร่วมแรงร่วมใจ กันอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดน่าน ซ่ึงถือว่าเป็นรากฐานส่วนหนึ่งของประเทศให้มั่นคง และยั่งยืนตอ่ ไป หนงั สอื “รกั ษ์ป่าน่าน ครั้งท่ี 2” เลม่ นี้ ประกอบด้วย บทพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเทพ- รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง การจัดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ และ บทความทเ่ี ปน็ ตวั อย่างกิจกรรมท่นี าํ เสนอในการประชุมสัมมนาในครั้งนี้ คณะผู้จัดการประชุมสัมมนา ไดจ้ ดั พมิ พ์ข้ึนเพ่อื เผยแพรข่ อ้ มูลแก่นักวิชาการ คณะครูและนักเรยี น ตลอดจนผ้สู นใจ จะได้นําความรู้ และประสบการณ์ท่ีดีไปประยุกต์ปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนบังเกิดผลทําให้ป่าไม้ของจังหวัด นา่ นฟ้ืนฟูและกลับคนื สสู่ มดุลอยา่ งยั่งยืน ประชาชนมชี วี ิตความเปน็ อยูท่ ี่ดตี ลอดไป สาํ นักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2558

กาํ หนดการ 0800 – 0845 น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินถึง เสด็จฯ ทอดพระเนตรนทิ รรศการ  การปลูกจิตสาํ นึกรกั ษป์ า่ น่าน โดย กลมุ่ โรงเรยี นในโครงการตามพระราชดาํ ริ  สร้างป่า สร้างรายได้ โดย สาํ นกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี  รรู้ กั ษ์ป่า รรู้ ักษ์นา้ํ โดย ธนาคารกสกิ รไทย  การเล้ียงกบ : เสริมรายได้ – สร้างอาชีพ และ เรียน – รู้ – รักษ์นก (พ.ศ. 2557 – 2558) โดย ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และศูนย์ เครอื ขา่ ยการเรียนรู้เพ่อื ภมู ิภาค จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย  คลินิกแผนที่ โดย ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย  โครงการป่าชุมชน เยาวชนรักษ์ป่า โอแคร์ร่วมพัฒนา ประชาสุขใจ : การ ปลูกป่าในใจเยาวชน ปีที่ 2 โดย สํานักวิชาทรัพยากรการเกษตร จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย  จังหวดั ทหารบกนา่ น  การบริหารจัดการป่าต้นนํ้าแบบชุมชนมีส่วนร่วม : บ้านห้วยลอย โดย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา นา่ น  สรา้ งเมอื งน่านนา่ อยู่คู่ป่าตน้ นาํ้ โดย จังหวัดน่าน 0845 – 0930 น. เสดจ็ ฯ ยงั หอประชุม นายบัณฑรู ล่ําซํา ประธานกรรมการธนาคารกสกิ รไทย กราบบงั คมทลู ถวายรายงาน พระราชทานพระราชดาํ รัสเปดิ การประชุมสัมมนา ทรงบรรยาย เรอื่ ง “การจดั การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตปิ ่าไม้” 0930 – 0945 น. พัก 0945 – 1010 น. การบรรยาย เรื่อง “รู้รกั ษ์ป่า รู้รักษน์ ้ํา” โดย นายบณั ฑูร ล่ําซาํ 1010 – 1130 น. การเสวนาเรอื่ ง “รักษป์ ่า สรา้ งอาชีพ ปลกู จติ สํานกึ ”  รักษ์ปา่ โดย พล.ต.วิจักขฐ์ สริ บิ รรสพ ผบ.มทบ.32 และ นายอุกริช พ่ึงโสภา ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั นา่ น  สร้างอาชีพ โดย นายบุญทวี ทะนันไชย ประธานกลุ่มพัฒนาอาชีพแปรรูปชา ชมุ ชนศรนี าป่าน  ปลูกจิตสํานึก โดย ศ. นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย ดําเนินรายการโดย น.ส.ภิญญาพัชญ์ ด่านอตุ รา

สารบัญ บทพระราชนิพนธส์ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี I เรอ่ื ง การจดั การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติปา่ ไม้ นิทรรศการ 1  ชดุ บทเรยี น รกั ษน์ ้ํา รกั ษป์ ่า รักษ์นา่ น : การเรยี นรู้ คืนสรู่ ากเหง้า ชาติพันธุน์ า่ นศึกษา โดย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 56 10  การบูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : รักษป์ ่าตน้ นา้ํ นา่ น โดย โรงเรยี นบา้ นห้วยฟอง 15  หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ “ปา่ อย…ู่ ต๋าวย่งั ยืน” โดย โรงเรียนบา้ นสบมาง 18  การจดั คา่ ยการเรียนรบู้ รู ณาการ โดย โรงเรียนพระปริยัตธิ รรมวดั นิโครธาราม 22  อนุรักษป์ า่ พฒั นาบ้านเกิด : โรงเรียนบา้ นบอ่ หยวก 26  แนวปอ้ งกนั ไฟป่า โดย โรงเรยี นตํารวจตระเวนชายแดนเฉลมิ ฉลองครบรอบ 100 ปี ฯ 32  ฝายชะลอน้ํา โดย โรงเรยี นตํารวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ 3 40  การเล้ียงกบ : เสรมิ รายได้ – สร้างอาชพี โดย ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ และศูนยเ์ ครอื ขา่ ยการเรยี นรู้เพือ่ ภมู ภิ าค จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 45  เรยี น – รู้ – รักษน์ ก (พ.ศ. 2557 – 2558) โดย ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ และศูนย์เครือขา่ ยการเรียนรู้เพื่อภมู ภิ าค จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 51  คลินิกแผนที่ โดย ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 57  โครงการปา่ ชมุ ชน เยาวชนรักษ์ปา่ โอแคร์ร่วมพัฒนา ประชาสขุ ใจ : การปลูกป่าในใจ เยาวชน ปที ่ี 2 โดย สํานกั วชิ าทรพั ยากรการเกษตร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 66  การบริหารจัดการปา่ ตน้ น้ําแบบชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม : บา้ นหว้ ยลอย ตําบลภูฟ้า อาํ เภอบอ่ เกลอื จงั หวดั น่าน โดย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา น่าน การเสวนา 72  สรา้ งเมอื งนา่ นน่าอยู่คปู่ ่าตน้ น้าํ ปี 2 โดย นายอุกรชิ พึง่ โสภา 80  สร้างปา่ สรา้ งรายได้ : ชาเมยี่ งบ้านศรนี าป่าน – ตาแวน โดย นายบุญทวี ทะนนั ชยั บทความ 86  กจิ กรรมการเรยี นรู้อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มเพอื่ ชวี ติ ท่ียงั่ ยืน โดย โรงเรยี นบา้ นดา่ น 89  การศกึ ษาพืชสมนุ ไพรบ้านหนองผกุ โดย โรงเรียนบา้ นหนองผุก 91  การใชเ้ อกสารประกอบการจดั กจิ กรรมการอนุรกั ษป์ า่ ไมใ้ นชมุ ชน โดย โรงเรียนบา้ นไร่ 94  รักษป์ า่ ชมุ ชน โดย โรงเรยี นบา้ นนาํ้ ออ้ 96  โครงงานศกึ ษาภมู ปิ ัญญาอนุรกั ษ์ปา่ โดย โรงเรยี นบา้ นนํา้ ยาว



สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อปท่ีแลวไดกลาวถึงการสรางสํานึกใหเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะอยางยิ่งปาไม ในปน้ีจะกลาวถึงเร่ืองการอนุรักษ ทรัพยากรโดยทว่ั ไป แตกจ็ ะเนน หนักเร่ืองปาไมอยางเดมิ เพอื่ จะไดเ ห็นวา ใครกต็ าม ไมวาเปนเด็กหรือผูใหญ เม่ือมีความรูไดศึกษาธรรมชาติแลวจะเห็นคุณคา รักและ ไมท ําลาย ในสมัยโบราณเรื่องการอนุรักษปาไมอาจจะไมไดเปนเร่ืองท่ีมีความสําคัญ อยางยิง่ ยวดเหมือนในปจจุบันนี้ เน่ืองจากสมัยกอนนี้พ้ืนท่ีปายังมีมาก ประชากรยัง มีนอ ย การเดนิ ทางเขาไปในปา เปน อันตราย มีสัตวรายตาง ๆ ในหนังสือบันทึกการ เดินทางของนักสํารวจ เชน พระวิภาคภูวดล (James Fitzroy McCarthy) ที่เขา มาทําแผนท่ีประเทศไทย และเปนเจากรมแผนที่คนแรกของประเทศไทย ไดเลาไว วามปี ญหาคือ ลูกหาบถูกเสือคาบไป ส่ิงท่ีนาสะพรึงกลัวอีกอยางหนึ่งคือ โรคไขปา หรือปจจุบันน้ีเรียกวาโรคมาเลเรีย ซึ่งคราชีวิตผูท่ีจําเปนตองเดินทางไปในปาเปน จํานวนมาก แมในปจจุบันถือไดวามาเลเรียเปนโรครายที่ผูปฏิบัติงานดาน สาธารณสุขยังตองคํานึงอยูมาก จนมีคนพูดวาวิธีการกําจัดมาเลเรียใหไดผลนาจะ เปนการตัดปาหรือเผาปาใหหมด เห็นจะเปนการพูดเลน เพราะไมมีใครคิดแบบนี้ จริง ๆ ในวรรณคดีพูดถึงปามีทั้งที่กลาววาปาสวยงาม และปานากลัว มีผีปา ผีกองกอยดูดเลือด เมื่อโปรดเกลาใหแตงบทดุษฎีสังเวยกลอมชาง อาจารยแนะนํา วา ใหแตงในขนบแบบแผนคือ บอกชางวาอยูในปานากลัว ลําบาก มาอยูในเมือง สบาย ๆ ดีกวา พอถึงเวลาจรงิ ๆ กลับแตงชมความงามของปา วา งดงามนา อยู แต ตอ งออกมาเพอ่ื สนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ผูท่ีคิดเรื่องการอนุรักษปาไมในสมัยกอน อาจจะถือไดวาพระพุทธเจาเปน ผูเริ่มตนในพระวินัย การท่ีพระภิกษุตัดไมเพื่อมากอสราง พระพุทธเจาทรงบัญญัติ วา การพรากของเขียว หรอื การตดั ไมเ ปนอาบัติ เรยี กวา อาบตั ิปาจิตตีย แตกอนเราถือวาการหักรางถางพงและเพาะปลูกเปนเรื่องท่ีดีที่คนขยัน พึงทํา ปจจุบันการเพาะปลูกตองระวังไมใหลํ้าเขตปา ใชวิธีการทํานาข้ันบันได การ ปลูกพืชหมนุ เวียนเพ่ือรกั ษาหนา ดิน บทพระราชนิพนธ I

พระวภิ าคภวู ดล หนังสอื บันทกึ การเดินทาง (Mr. James Fitzroy McCarthy) ของนักสํารวจ Dr. A Kerr หมอมเจา ลกั ษณากร เกษมสนั ต (พ.ศ. 2454 - 2520) พระยาวินจิ วนันดร (โต โกเมศ) ศ. ดร.เต็ม สมิตินันท (พ.ศ. 2433 - 2498) (พ.ศ. 2463 - 2538) II บทพระราชนิพนธ

โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช ต้ังแตโบราณมีผลงานของ ดร.คารหรือ เคอร (Dr. A Kerr) ที่รวบรวมพันธุพืชในประเทศไทย นักพฤกษศาสตรไทยอ่ืน ๆ ศึกษาระบบนิเวศ และอนุกรมวิธาน (taxonomy) รวมมือกับตางประเทศ เชน สวน พฤกษศาสตรคิว และที่อื่น ๆ ทําหนังสือพืชในประเทศไทยหรือ Flora of Thailand งานของโครงการของเรามีการสงนักพฤกษศาสตรไปสํารวจพื้นท่ีตาง ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงบริเวณท่ีจะตองกลายเปนอางเก็บนํ้า จะตองวางสายไฟแรงสูง ตอมาถายทอดความรูใหชุมชนและโรงเรียนสํารวจพ้ืนท่ี สรางสวนพฤกษศาสตร และหอพันธุไมในโรงเรียน และสวนพฤกษศาสตรชุมชน ในบางพ้ืนท่ีเราจะศึกษา ไมเฉพาะแตพืช จะศึกษาลมฟาอากาศ ดิน หิน และสัตวตาง ๆ ปจจุบันเรามี เทคโนโลยีใหม ๆ จึงไมไดศึกษาเฉพาะลักษณะ เชน ใบ ดอก เมล็ด สามารถทํา DNA finger print ทาํ ใหจ ัดหมวดหมูใหล ะเอียด ตัวอยางการอนุรักษปาไมในประเทศไทย เชน โครงการพัฒนาปาชุมชน บา นอา งเอด็ ของมลู นิธิชยั พฒั นา ใหน กั เรยี นชั้นโตสอนนักเรียนช้นั เล็ก โครงการอนุรกั ษปาไม (นา น) การปลกู ปาโดยใชพ ืชไมปาพ้ืนเมอื ง เพราะ พืชไมปาพื้นเมืองเหลาน้ันมีระบบรากที่แข็งแรง สามารถยึดดินและหินเอาไวไมให พงั ลงมาเปนอันตรายตอทรัพยากรธรรมชาตอิ น่ื ๆ ชีวิตและทรัพยสินของคน มีการ ปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน กาแฟ หวาย ไผ สมุนไพร และเครื่องเทศ หัดใหแปรรูป จัดการตลาด หรือสงใหบริษัทใหญรวมแปรรูปจําหนาย เปนการประกันรายไดของ ชมุ ชน โครงการศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร พ.ศ. 2525 การพัฒนาปา สามอยาง ไมเชื้อเพลิง ไมใชสอย ไมกินได ประโยชน 4 อยาง รวมประโยชนใน การรกั ษาธรรมชาตเิ อาไว สรางเข่ือนเลก็ ดกั ตะกอน check dams มีการจัดการดิน และพืช อางเก็บน้ํา คลองไสไก นอกจากจะพัฒนาอาชีพของคนในชุมชน ความ มน่ั คงดานอาหาร ระเบิดจากภายใน ยังพัฒนาปาดวย สภาพของศูนยตางจากเม่ือ 30 ปมาแลวมาก มีปาทึบเขียวขจี จากปาเต็งรังเปนปาไมเบญจพรรณ มีพรรณไม เพ่ิมขึ้นและอุณหภูมิลดลง มีสัตวปามาอยูอาศัยมาก การปลูกปาแบบไมตอง เขาแถว ปลูกปาในใจคน หรือวาการที่เราไมไปรังแกปา ปาก็จะฟนตัวขึ้นมาเอง เรื่องนี้นอกจากเปนพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวแลว ยังเปนแนวคิด ในการอบรมครภู ูมศิ าสตรที่องั กฤษ อุทยานแหงชาติแกงกระจาน เปนท่ีนาสนใจเพราะพืชจากทางเหนือ และใตมาบรรจบกัน เขียนเร่ือง “สัปดาหสบาย ๆ ใกลชายหาด” พ.ศ. 2537 เขา สูงทส่ี ุดชอ่ื เขาพะเนนิ ทุงไดท ราบวากรมแผนที่ไดท ําหมุดความสงู ไว บทพระราชนิพนธ III

การอนุรักษปาไมในตางประเทศ วิธีการอนุรักษท่ีสําคัญคือ การสราง อุทยานแหงชาติ บุคคลสําคัญท่ีควรกลาวถึงคือ ทีโอดอร รูสเวลท ค.ศ. 1853 – 1919 เปนประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนท่ี 26 เปนผูจัดตั้งอุทยานแหงชาติ เพื่อ รักษาธรรมชาติไว Temburong ของบรไู น เม่ือตนปพ.ศ. 2534 มีโอกาสไปที่ Royal Geogra- phical Society หรือที่อาจจะเรียกวาเปนภาษาไทยไดวา ราชสมาคมภูมิศาสตร ไดทราบเร่ืองโครงการศึกษาปาดิบเมืองรอนที่บรูไนจึงเดินทางไปดูงานคณะ นกั ภมู ศิ าสตรอ งั กฤษและบรไู น และไดเขยี นหนังสอื ชอื่ “ปา สงู นํา้ ใส” Gunung Mulu National Park ในซาราวัค ของมาเลเซีย เคยไปในพ.ศ. 2537 และไดเ ขยี นเปนหนงั สอื ช่ือ “ลยุ ปา ฝา ฝน” งานที่กําลังทําคือ การสรางปา สรางรายได ทําที่จังหวัดตาง ๆ เปน การนํารองที่ ตาก นาน เลย เชียงใหม แมฮองสอน รวมมือกันคือ โครงการสํานัก พระราชวัง กรมปาไม กรมการปกครอง กศน. เอกชน คนในทองที่ เทาท่ีทํามา ถือวาเร่มิ ตน ไดอ ยา งดี ในอุทยานแหงชาติมีคนอาศัยอยู บางพวกอยูมากอนตั้งอุทยาน บางพวก มาทีหลัง เราก็ชวนใหศึกษาลักษณะของปา ประโยชนของปา และมารวมกันปลูก ปาไมยืนตน และไมท่ีข้ึนอยูใตตนไมใหญท่ีเปนไมเศรษฐกิจท่ีสามารถสรางรายได เชน มะขามปอม กาแฟ พืชท่ีใชท ําหตั ถกรรมทจ่ี ําหนา ยได เชน ยานลิเพา การที่จะชวยใหคนอยูได สมัยน้ีที่จําเปน หรือเสนทางเดินทาง ไฟและน้ํา ใหทางอุทยานทําถนนขนาดเล็ก จัดแผง Solar cell สามารถศึกษาหาความรู ไป รักษาพยาบาลได สรุป การอนุรักษท รพั ยากรปาไม 1. ตองทําพรอ มกับการอนรุ กั ษท รพั ยากรอื่น ๆ 2. ตองสรา งความเปน อยูท ่ีดใี หป ระชาชน 3. สรางความรูแกเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปวาสรรพส่ิงตาง ๆ ลวน เกี่ยวพันกัน ความรูเร่ืองโลกและชีวิตในโลก เปนเรื่องนาสนใจนาศึกษา เชน ศึกษา ภมู ิศาสตร สตั วศาสตร พฤกษศาสตร ศกึ ษาภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น จึงจะรกั และไมท าํ ลาย 4. การทองเท่ียวเชิงนิเวศชวยสรางสํานึกแกนักทองเท่ียว ตามอุทยาน แหง ชาติเด๋ยี วนจี้ ะมศี ูนยบรกิ ารนักทองเที่ยวซ่งึ ใหค วามรูเกย่ี วกบั พนื้ ที่ 5. แบง พน้ื ทใ่ี หชัดเจนวาทีไ่ หนควรปฏิบตั ิอยางไร เชน เขตอนรุ ักษ เขตท่ีให คนเขาไปได เขตท่ีอนุญาตใหเ พาะปลูก 6. สมัยกอนแมแตคร้ังที่มีสัมปทานปาไม มีกฎวาถาตัดตนไมหน่ึงตน ตอง ปลกู ใช 2 – 3 ตน IV บทพระราชนิพนธ

Kuala Belalong Field Centre, Temburong, บรไู น จากหนังสือพระราชนิพนธ “ปา สงู น้ําใส” บทพระราชนิพนธ Gunung Mulu National Park, ซาราวคั , มาเลเซีย จากหนงั สือพระราชนิพนธ “ลุยปา ฝาฝน” V



ชุดบทเรียน รกั ษน์ ้ํา รักษ์ปา่ รักษ์น่าน : การเรียนรู้ คนื สรู่ ากเหงา้ ชาตพิ ันธ์นุ ่านศกึ ษา นายยุทธภูมิ สปุ ระการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 56 จังหวดั น่าน ความเปน็ มา ปัญหาสําคัญของเมืองน่านคือ ป่าแหล่งต้นกําเนิดของแม่น้ําน่านตกอยู่ในภาวะการถูกบุกรุก ทําลาย มีสภาพเสื่อมโทรม ดังน้ันโจทย์สําคัญของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของน่านให้ย่ังยืนคือ การ สร้างจิตสํานึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้กับเด็กและเยาวชน สามารถขยายพลังเยาวชนให้ คนเมืองน่านรักษ์ป่า อยู่กับป่าโดยไม่ตัดไม้หรือขยายพื้นท่ีรุกล้ําพื้นที่ป่าอีกต่อไป กระบวนการสร้าง จิตสํานึกให้กับเด็กเยาวชน จําเป็นต้องมีรูปแบบสร้างสรรค์ท่ีหลากหลายและประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ท้องถ่ินของคนน่าน ต้นทุนท้ังทรัพยากรคนและความรู้ท่ีมีอยู่มาบูรณาการเป็นบทเรียนให้กับเยาวชน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 56 ไดจ้ ัดทําชุดบทเรียน รักษ์นํ้า รักษ์ป่า รักษ์น่าน เป็นหน่วยบูรณาการ ในการเรียนการสอนในโรงเรียนทุกมิติทั้ง 8 สาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบ ต่าง ๆ ขนึ้ ในปกี ารศกึ ษา 2557 เปน็ การต่อเน่ืองจากการนําเสนอ “การใชก้ ระบวนการทางศลิ ปะเพ่ือ ปลูกฝังจิตสํานึกเยาวชนให้ตระหนักรักษาป่าต้นน้ํา” ในการประชุมสัมมนารักษ์ป่าน่านเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2557 สําหรับบทความท่ีนําเสนอในครั้งน้ีเป็นส่วนหนึ่งของชุดบทเรียนดังกล่าว ซ่ึงเป็น ปฐมบทของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 56 จํานวน 8 ชาติพันธุ์ ที่เข้าไปศึกษา 8 ชุมชน ตามภูมลิ าํ เนาของตนเอง แนวคดิ ในการจัดการเรียนรู้ 1. พระราชดําริ รักษ์นํ้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแนวทางและโครงการ พระราชดําริจาํ นวนมากทเี่ กยี่ วเน่ืองจากการจัดการทรัพยากรธรรมชาตโิ ดยเฉพาะเรือ่ งน้ําท่ีเป็นหัวใจ ของเกษตรกร ตลอดถึงการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันของคน ไทยทั้งชาติ เช่น “นํ้าคือชีวิต” ดังพระราชดํารัส ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2529 ความตอนหน่ึงว่า “...หลักสําคัญว่าต้องมีน้ําบริโภค นํ้าใช้ นํ้าเพื่อการเพาะปลูก เพราะวา่ ชวี ิตอยู่ท่นี ่ัน ถ้ามนี า้ํ คนอยไู่ ด้ ถา้ ไมม่ ีนํา้ คนอยไู่ ม่ได้ ไมม่ ไี ฟฟา้ คนอยไู่ มไ่ ด้ แต่ถ้ามไี ฟฟ้าไมม่ ี น้ําคนอย่ไู ม่ได้...” รักษ์ป่า สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงเป็นห่วงปัญหาการตัดไม้ทําลายป่า มพี ระราชดําริใหด้ ําเนนิ โครงการเพอ่ื อนรุ ักษ์ปา่ ตน้ นํา้ พรรณไม้พระราชทาน บ้านเล็กในป่าใหญ่ การ อยู่ร่วมกันระหว่างคนกับป่า ดังพระราชดํารัส ณ บ้านถํ้าต้ิว อําเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร วันที่ 20 ธันวาคม 2525 ว่า \"...พระเจ้าอยู่หัวเป็นนํ้า ฉันจะเป็นป่า ป่าท่ีถวายความจงรักภักดีต่อนํ้า ... พระเจ้าอยหู่ วั สรา้ งอา่ งเกบ็ นํา้ ฉันจะสรา้ งปา่ ...\" นทิ รรศการ   1  

รักษ์น่าน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ว่า \"...การรักษาป่าและทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ มีหลากหลายวิธี วิธีการหนึ่งท่ีจะนําไปสู่ความย่ังยืน นั่นคือ การให้โอกาสเด็กและเยาวชนของเราได้เรียนรู้จากธรรมชาติรอบตัวของเขา มีความรู้ ความ เข้าใจ เกิดความรัก ความผูกพัน และหวงแหนในทรัพยากรของตน โดยการจัดกิจกรรมที่เน้นให้เด็ก และเยาวชนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เรียนรู้จากวิถีการดํารงชีวิตของชุมชน ท่ีพยายามปรับตัวให้ อย่รู ่วมกับป่าด้วยการผสมผสานความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่และภูมิปัญญาดั้งเดิมของชุมชนอย่าง สมดุล...\" จากพระราชดํารัสและพระราชนิพนธ์ข้างต้น นําไปสู่แรงบันดาลใจในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ สร้างจิตสํานึกเยาวชน บูรณาการสู่หลักสูตรแกนกลาง 8 สาระการเรียนรู้ และกิจกรรม พฒั นาผู้เรียน ท้ังน้ีในส่วนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้จัดรูปแบบการเรียนรู้บูรณาการ เพื่อเป็นบทเรียน ใหน้ กั เรยี นสามารถสร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปโครงงานศกึ ษา โดยใช้ชมุ ชนเป็นฐานในการเรียนรู้ 2. กระบวนการ (process) การใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ (Community-based Learning) เป็นกระบวนทัศน์ (Paradigm) หน่ึง ที่ให้เยาวชนสามารถคิดเป็น ต้ังอยู่บนฐานการมองโลกตามความเป็นจริง เกิด ทัศนะพ้ืนฐานที่เป็นตัวกําหนดวิธีคิด วิธีปฏิบัติ วิธีให้คุณค่าและวิถีชีวิตท้ังหมดของเยาวชนได้ระดับ หน่ึง ปลายทางของกระบวนการอาจมองไปไกลถึงการพัฒนายั่งยืน (Sustainable Development) ที่จะเกิดกับตัวเด็กสู่ชุมชน การพัฒนาย่ังยืนเป็นอะไรที่ไกลกว่าเพียงการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เป็นการ เปล่ียนโครงสร้างระบบเศรษฐกิจและสังคมเพื่อลดการบริโภคทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมลงไปใน ระดบั ทย่ี งั รกั ษาความสมดุลที่ดี ทําให้คนอยู่ร่วมกับธรรมชาติโดยไม่ทําลายล้างอย่างที่ผ่านมา ให้อยู่ ร่วมกนั เปน็ ชมุ ชนอยู่ดีกินดีและอยู่เย็นเป็นสุขท้ังหมดในชั้นกระบวนการศึกษาคร้ังน้ียังไม่ถึง ณ จุดน้ัน สิง่ ท่ไี ด้ยังคงเป็นเพยี งชดุ ประสบการณ์ผ่านกระบวนการเรยี นรู้ท่มี คี วามหมายในระดบั หนึ่งเท่าน้ัน การเสริมสร้างความเข้มแข็งเพิ่มขีดความสามารถในการเลือกทาง และทางเลือกให้ผู้คน ได้เป็นอิสระจากความหิว จากส่ิงที่พวกเขาขาดแคลน และให้พวกเขามีส่วนร่วมในการตัดสินใจใน เรื่องท่ีมีผลกระทบต่อชีวิตของพวกเขา การแสวงหาหนทางความร่วมมือ ผู้คนสัมพันธ์กันช่วยเหลือ เก้อื กลู กัน ความเท่าเทียม คนมีโอกาสเข้าถึงทรัพยากร การศึกษา การดูแลสุขภาพ การจัดการชีวิต และทรัพยากรชุมชนของตนเอง นําไปสู่ความย่ังยืน (Sustainability) การพัฒนาในคนรุ่นต่อไป นําไปส่กู ารไมท่ าํ ลายทรัพยากร และสร้างหลักประกันให้คนในอนาคตพ้นจากความยากจน และได้ใช้ ความสามารถข้ันพื้นฐานของตัวเองอย่างย่ังยืน การพ่ึงตนเองให้ได้ ถือว่าเป็นหัวใจของการนําพาให้ คนรุ่นใหม่ ให้มองเห็นคุณค่าของชุมชนของตนเอง อันจะเป็นต้นทุนในการพัฒนาในมิติท่ีร่วมยุคสมัย และการปรับสภาพให้เป็นไปตามกระแสหลักโดยยังยืนหยัดแห่งวิถี ขุมพลังชีวิตและภูมิปัญญาของ พหุวฒั นธรรมของพนื้ แผ่นดินน่าน ทนุ ทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ท่ีสูงค่า คุณค่าและค่านิยม ของสังคมท่ีแสดงออกทางจารีตประเพณี วิถีชุมชนที่มีรากฐานจากความรู้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมถึง ความรแู้ ละภูมหิ ลงั ของบคุ คล ซงึ่ เป็นท่ีมาจากตระกูล เผา่ พันธ์ุ สถานภาพทางสงั คม การมีตัวตนเป็น ทยี่ อมรับ 2 นิทรรศการ    

โครงงานศึกษาแบบสํารวจ เป็นกระบวนการสอนที่ให้นักเรียนเป็นหมู่ แบ่งฐานชุมชนตาม ชาติพันธ์ุนับว่าเป็นการสอนท่ีสอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง เด็กจะทํางานด้วยการตั้งปัญหา ดําเนินการแก้ปัญหาด้วยการลงมือทําจริง ในรูปกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลักษณะ สภาชาติพันธุ์ นักเรียน ผ่านกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการคน้ คว้าหาคาํ ตอบในสง่ิ ท่ีผเู้ รยี นอยากรู้หรือสงสัย ด้วยวิธีการต่าง ๆ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเองหรือกลุ่มเป็น การตัดสินใจร่วมกัน จนได้เข้าใจฐานข้อมูลชุมชนตนเองท่ีสามารถนําผลการศึกษาไปใช้ได้ในชีวิตจริง การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ท่ีใช้เทคนิคหลากหลาย การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาคําตอบด้วยตนเอง เป็นการเรียนที่มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู้เบ้ืองหน้าโดยใช้ชุมชนของตนเองเป็นฐาน เรียนรู้ สามารถสรปุ ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง สรปุ องคป์ ระกอบของการจดั กระบวนการเรียนรู้นําไปสู่การพัฒนาชมุ ชนอย่างยั่งยนื ชมุ ชนพฒั นายัง่ ยนื เปล่ยี นเดก็ ศลี ธรรม 1. การเรยี นรู้อยา่ งลึกซ้ึง 2. การเรียนรู้จากการลงมือ 3. การเรยี นร้จู ากการสอ่ื สาร การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ ปฏิบัติการเรียนรู้กับชุมชน การฟงั อย่างลกึ ซงึ้ (โครงงาน โครงการวิจัย) การทํางานของวยั  การส่ือสารอย่างเท่าเทียม  การเรียนรูก้ ับชุมชน เคารพความเป็นมนษุ ย์  จิตตปัญญาศึกษาและ ฝึกเจริญสติสัมปชัญญะเพ่ือรู้จัก  การเรียนรู้กับบ้าน  การสื่อสารอย่างสร้าง- ตนเอง ครอบครวั สรรค์  ธรรมชาตวิ ิจกั ขณ์  การเรียนรู้จากาการ  สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ แกไ้ ขปญั หา  การคิดอยา่ งเป็นระบบ  สรา้ งพ้นื ท่เี รยี นรู้ (องค์กร - การคดิ จิตอาสา  การเรียนจากกิจกรรม แห่งการเรียนรู้) - ระบบการศึกษาแนว และกิจวัตรประจําวนั (บวร) มานษุ ยวทิ ยา  การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ - การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง  การเรยี นรู้จากกลุ่ม  สนุ ทรียสนทนา (Dialogue) นทิ รรศการ   3  

วธิ ีการศกึ ษาชมุ ชน ในการศึกษาคร้ังน้ีได้มอบหมายนักเรียนให้เป็นการสํารวจชุมชนของตนเอง โดยใช้วิธีการ ผสมผสานทหี่ ลากหลาย เชน่ สังเกต การสมั ภาษณ์ การสนทนากลมุ่ และการใชข้ อ้ มลู เอกสาร ชมุ ชนท่ีเป็นกรณีศกึ ษาการเรียนรู้ ในคร้งั น้ี มี 8 ชมุ ชน 8 ชาติพนั ธ์ุ ดงั น้ี 1. ชาติพันธไุ์ ทลือ้ บา้ นหนองบวั อ.ท่าวังผา 2. ชาติพันธล์ุ วั ะ บา้ นสะกาด อ.ปัว 3. ชาติพนั ธมุ์ ้ง บา้ นขนุ สถาน 4. ชาตพิ นั ธไ์ุ ทยวน บา้ นหัวนา อ.เวยี งสา และหว้ ยเลา อ.นานอ้ ย 5. ชาติพนั ธ์ุถิ่น บา้ นสะปนั อ.บ่อเกลือ 6. ชาติพนั ธม์ุ ลาบรี บา้ นหว้ ยหยวก ภเู คง็ 7. ชาติพนั ธุข์ มุ บ้านห้วยเลา อ.สองแคว 8. ชาตพิ ันธเุ์ ม่ยี น บา้ นสันเจริญ อ.ท่าวงั ผา ประเด็นศกึ ษา ประกอบด้วย 1. ภูมศิ าสตร์ของหมู่บา้ นและบริเวณโดยรอบหมู่บา้ น 2. ประวตั ศิ าสตร์ความเป็นมาของหมูบ่ ้าน 3. วัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญา และผรู้ ใู้ นหม่บู า้ น 4. สภาพเศรษฐกิจ ผลกระทบในประเด็นมติ ิต่าง ๆ ของหมบู่ า้ น ผลการศึกษา : กรณชี ุมชนไทยวน บ้านหัวนา การดําเนินงาน นักเรียนจากชุมชนไทยวน ที่มีภูมิลําเนาอยู่ในหมู่บ้านได้กําหนดเวลาลงพ้ืนที่ ในช่วงมกราคมถึงกุมภาพันธ์ 2557 โดยมีการวางแผนประสานงานในพื้นท่ีอย่างเป็นทางการ เน้น การมีส่วนร่วมของชุมชน คน ภูมิปัญญาในท้องถ่ินในการศึกษา มีการให้ความรู้พ้ืนฐานด้านวิชาการ แก่นักเรียน ครูที่รับผิดชอบ จัดกระบวนการเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กันหลายมิติ บูรณาการกลุ่มนักเรียน ศิลปะมาปฏิบัติการสร้างสรรค์งานศิลปะในพ้ืนท่ีสะท้อนความงามและคุณค่าของคนในชุมชน มีการ นําเสนอผลงาน เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคนในชุมชนพร้อมคืนความรู้ ถอดบทเรียนแก่ชุมชนและ สงั คม มีผลการศึกษาโดยสรปุ ดังน้ี บรบิ ทของชมุ ชน บ้านหัวนา ตั้งอยู่หมู่ท่ี 1 ตําบลแม่ขะนิง อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากท่ีว่าการ อําเภอเวียงสาไปทางทิศตะวันตก ระยะทาง 35 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดน่าน ประมาณ 60 กโิ ลเมตร ประวัติความเป็นมา เล่ากันว่าหลายร้อยปีก่อนหน้าน้ี เป็นหมู่บ้านหน้าด่านคอยสังเกตการณ์ ข้าศึกท่ีจะมารุกรานเวียงป้อ โดยท่ีในพ้ืนท่ีของหมู่บ้านมีการค้นพบก้อนอิฐหัก ถ้วยชามเก่าแตกอยู่ ท่ัวไป ต่อมาเม่ือประมาณพุทธศักราช 2461 ได้มีครอบครัวสองครอบครัว คือ ครอบครัวนายเฮิม – นางเก๋ียง กุลผล และครอบครัวนายเขียน – นางปอน สิงห์ใจ ได้มาสร้างบ้านเรือนต้ังรกรากทํามา 4 นิทรรศการ    

หากินริมนํ้าแม่ขะนิง ขุดดินสร้างเป็นทุ่งนาปลูกข้าว และสามารถทํานาได้ปีละสองครั้ง ต่อมามีคน ต่างถิ่นเขา้ มาอยูร่ ่วม ทําใหส้ รา้ งบ้านเรือนหลายสิบหลังคา จึงได้ตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้นในที่สุด โดยใช้ชื่อ บา้ นหวั นา ข้ึนกับหมูท่ ่ี 4 ตาํ บลยาบหัวนา อาํ เภอสา จงั หวัดน่าน ตอนน้ันมีนายพรมมา สิงห์ใจ เป็น ผ้ใู หญ่บ้านคนแรก ต่อมามกี ารเปลี่ยนแปลงเขตปกครอง เมอื่ พทุ ธศกั ราช 2526 บา้ นหัวนา มาขน้ึ กับ ตําบลแม่ขะนิง สภาพภมู ิศาสตร์ ของบา้ นหัวนา ทิศเหนอื ติดตอ่ กบั บ้านยาบนาเลิม หมู่ท่ี 2 ตาํ บลแม่ขะนงิ ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั ตาํ บลแม่สา ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ ตําบลทุง่ ศรีทอง และตาํ บลปงสนุก ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับ ตําบลยาบหวั นา พื้นที่หมู่บ้านหัวนามีปริมาณพ้ืนที่ 35,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศร้อยละ 90 เป็นภูเขาสูงชัน และมีป่าปกคลุม ท่ีราบมีน้อย ลําห้วยแม่ขะนิงไหลผ่านทางด้านทิศตะวันตกของหมู่บ้าน ด้านทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือมีลําห้วยยาไหลผ่าน และถือเป็นต้นน้ําสําคัญในการใช้อุปโภคบริโภค นอกจาก ลาํ หว้ ยทีถ่ ือเปน็ ปา่ ต้นนํ้าของแมน่ ํ้าสา ท่เี ป็นแมน่ ้าํ สาขาของแม่นาํ้ นา่ นแล้ว ยังมีป่าไม้โดยรอบ มีสัตว์ ปา่ ท่นี บั วันจะถกู ใชแ้ ละทาํ ลาย มกี ารบุกรุกพืน้ ที่ปา่ ทาํ ไร่ข้าวโพดและสวนยาง การคมนาคม ไม่มีเส้นทางสายหลัก มีถนนลูกรังสร้างโดย รพช. ตัดเชื่อมจากตําบลแม่สา ถงึ บ้านหวั นา ระยะทาง 22 กิโลเมตร การคมนาคมลําบาก โดยเฉพาะฤดฝู น รถยนต์ไม่สามารถเข้า ออกได้ ไม่มีถนนเชื่อมต่อหมู่บ้านหรือตําบลแม่ขะนิง ต้องอาศัยทางเท้าที่ชาวบ้านเคยเดินไปยัง หม่บู า้ นยาบนาเลิม แตภ่ ายในหม่บู า้ นมถี นนลาดยางยาว 100 เมตร และถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่ 50 เมตร ท้งั หมู่บา้ นไม่มีรถยนตโ์ ดยสารประจาํ ทาง บ้านหัวนา มีโทรศัพท์สาธารณะขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยติดต้ังในหมู่บ้าน ถ่ายทอดสัญญาณดาวเทียม 1 แห่ง ไม่มีที่ทําการไปรษณีย์ในหมู่บ้าน ต้องออกไปใช้บริการที่ตําบล แม่สา หรือไม่ก็ไปท่ีทําการไปรษณีย์โทรเลขอําเภอเวียงสา มีการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีประปาภูเขาซ่ึง ใชไ้ ด้เฉพาะฤดฝู น ฤดแู ลง้ จะประสบปญั หาขาดแคลนนํา้ เปน็ อย่างมาก มีความพยายามไปขุดเจาะน้ํา ริมน้ําห้วยแม่ขะนิง ซึ่งอยู่ห่างจากหมู่บ้าน 1 กิโลเมตรแต่ก็ไม่เพียงพอ แม้จะมีการทําระบบประปา หมู่บ้านโดยการผลิตจากหว้ ยแม่ขะนิงแตก่ เ็ ปน็ นํา้ ท่ีมีคุณภาพตํ่าทม่ี สี ารพิษปนเปอื้ นจากการทําเกษตร พ้นื ทส่ี งู บริเวณตน้ นํ้า ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนพ้ืนเมืองน่าน (ไทยวน) มีประชากรทั้งหมด 263 คน ชาย 142 คน หญิง 121 คน จํานวนครัวเรือน 76 ครัวเรือน มีการอพยพของประชากรส่วนมากไปทํางาน ก่อสร้างและรับจ้างในตัวเมืองใหญ่ ประชากรยากจน ส่วนใหญ่ทําการเกษตร เช่น การปลูกพืชไร่ ขา้ วโพด ขา้ วไร่ มีพนื้ ทล่ี ่มุ นํา้ ในการทํานาอยบู่ า้ งแต่นอ้ ย รายได้ไมแ่ นน่ อน โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวอยู่ ท่ี 4,000 – 5,000 บาทตอ่ ปี นทิ รรศการ   5  

พื้นท่ีทําการเกษตรไม่มีโฉนด (เอกสารสิทธ์ิ) มีพืชเศรษฐกิจหลายตัวท่ีชาวบ้านนิยมปลูก พืช ท่ีปลูกมากท่ีสุดคือ ข้าวโพด ร้อยละ 80% ของการทําการเกษตรทั้งหมด ที่เหลือนั้นมีการปลูกพืช สวนจําพวก มะขาม มะม่วง ละหุ่งน้ํามัน พืชท่ีชาวบ้านเร่ิมปลูกคือ ยางพารา ในอดีตการใช้พื้นท่ี เกษตรจะต้องเสียภาษีดอกหญ้า แต่ภายหลังมีการยกเลิกไป อีกท้ังมีการขยายพื้นที่ป่าอย่างต่อเน่ือง ในการบกุ ปรับพนื้ ที่ป่าให้กลายเป็นพื้นทป่ี ่าข้าวโพด ชมุ ชนนน้ั สามารถที่จะปลูกข้าวเป็นนาปีโดยใช้นํ้าฝน ในหน่ึงฤดูสามารถปลูกได้หนึ่งครั้ง และ ส่วนใหญ่เป็นการปลูกข้าวเหนียวเพ่ือใช้ในการบริโภคเป็นปี ๆ ไป โดยได้สอบถามกลุ่มตัวอย่างคนใน ชุมชนพบว่า การปลูกข้าวบางปีไม่พอกินต้องซ้ือข้าวเพิ่มตอนปลายปี พื้นที่เพาะปลูกข้าวทั้งหมู่บ้าน โดยเฉล่ียมีท้ังหมด 100 ไร่ ซึ่งเป็นพ้ืนที่ร่องเขาตลอดแนว ลุ่มน้ําสองสาย คือ ห้วยแม่ขะนิง และ ห้วยยาไหล มาบรรจบกันท่ีบริเวณลุ่มน้ําของชุมชนบ้านหัวนาพอดี และถือเป็นพื้นท่ีชุ่มนํ้า ในอดีต สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นท่ีมาของช่ือหมู่บ้าน “บ้านหัวนา” หมายถึง นาที่มีอยู่น้อยตามร่องเขาตลอด แนวสายน้ํา จากการสงั เกตและพากันศกึ ษาพ้นื ท่นี าปลูกข้าว เราพบผู้ท่ีถือครองสิทธิ์เป็นเจ้าของและ ทํานาอยู่ทั้งหมด 20 ครอบครัว ดังนั้นจึงอธิบายได้ว่ายังมีอีก 56 ครอบครัวที่ไม่มีท่ีทํานา จาก การศึกษาการอพยพย้ายถิ่นฐานอาจอธิบายได้อีกว่า กลุ่มครอบครัวท่ีเหลือท่ียังไม่มีท่ีทํากินน้ัน พึ่ง ยา้ ยเข้ามาอาศัยได้ไมน่ าน จงึ ทาํ ใหพ้ น้ื ทเ่ี พาะปลูกทมี่ อี ยจู่ ํากดั ไมพ่ อให้คนกลมุ่ ใหม่ทาํ กนิ ประชาชนทั้งหมู่บ้านนับถือศาสนาพุทธ แต่ยังมีความเช่ือในเรื่องป่า ผีไร่ ไสยศาสตร์ ซ่ึงจะ เห็นได้จากการจัดพิธีสงเคราะห์ การปัดเป่าเม่ือมีคนเจ็บป่วย มีการแต่งงานตามสภาพของคน พ้ืนเมืองท่ัวไป มีการผสมผสานพิธีสู่ขวัญหรือพิธีไข้ผีปู่ผียาย ตามความเช่ือดังเดิม นอกจากนี้ยังมี การร่วมแรง (เอามือ การลงแขก) เวลาทํางานยังเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน รับประทานข้าวเหนียวเปน็ อาหารหลัก และใช้ภาษาคําเมืองภาษาถ่ินนา่ นในการส่ือสารภายในชุมชน ป่าชมุ ชน บ้านหัวนามีพื้นท่ีป่าชุมชนประมาณร้อยกว่าไร่ ติดกับเขตป่าสงวนและเป็นแหล่งต้นนํ้า ห้วยแม่ยา โดยนักเรียนได้ดําเนินการศึกษาพื้นท่ีเฉพาะเขตป่าซีกตะวันออกและชนิดพันธ์ุพืชศึกษาคือ ไผ่ ซึ่งเป็นพันธ์ุไม้หลักและให้คุณค่าแก่ชุมชนทั้งเป็นแหล่งอาหาร รายได้ และใช้สอย ซึ่งนักเรียนมี การศกึ ษาเพ่มิ เตมิ ดังน้ี ไผ่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์ Gramineae เช่นเดียวกับหญ้า แต่เป็นพืชตระกูลหญ้าที่สูง ที่สุดในโลก เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลในวงศ์หญ้า Poaceae (เดิมคือ Gramineae) วงศ์ ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ขึ้นเป็นกอ ลําต้นเป็นปล้อง ๆ และเป็นพืชเมืองร้อน ไม้ไผ่ใช้ ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการก่อสร้างไม้น่ังร้านทาสีฉาบปูน ใช้จักสานภาชนะต่าง ๆ ใช้ทําเคร่ืองดนตรี ใช้เป็นเย่ือกระดาษในอุตสาหกรรมทํากระดาษ ทําเคร่ืองกีฬา ใช้เป็นอาวุธ เช่น คันธนู หอก หลาว ใช้เป็นเครื่องอุปกรณ์การประมง เช่น ทําเสาโป๊ะ ทําเครื่องมือในการเกษตร นอกจากน้ันใบยังใช้ห่อขนม ผลผลิตจากไผ่ที่สําคัญคือ “หน่อไม้” ซึ่งเป็นอาหารสําคัญของคนไทย นิยมทานกนั มากในเกอื บทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนอื และอีสาน นอกจากน้ีไม้ไผ่ยังมี 6 นิทรรศการ    

คุณสมบัติพิเศษท้ังด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นท่ีเหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยัง ได้รบั ความนยิ มในการทําเครื่องมอื เครอ่ื งใชห้ ลายประเภท ชนิดของไม้ไผ่ท่ีพบในเขตป่าชุมชนบ้านหัวนาส่วนใหญ่เป็นไผ่ใช้ในการก่อสร้างได้ ประกอบด้วย 1) ไผ่ตง (D.asper) เป็นไผ่ในสกุล Dendrocalamus เป็นไผ่ขนาดใหญ่ ลําต้นมีเส้น ผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 – 12 เซนติเมตร ไม่มีหนาม ปล้องยาวประมาณ 20 เซนติเมตร โคนต้น มีลายขาวสลับเทา มีขนเล็ก ๆ อยู่ท่ัวไปของลํา มีหลายพันธุ์ หน่อใช้รับประทานได้ ลําต้นใช้สร้าง อาคาร เช่น เป็นเสา โครงหลังคา เพราะแข็งแรงดี ไผ่ตงมีต้นกําเนิดจากประเทศจีน ชาวจีนนํามา ปลูกในประเทศไทยประมาณปี พ.ศ. 2450 ปลูกครั้งแรกท่ีตําบลพระราม จังหวัดปราจีนบุรี ไม่ สามารถระบุได้ว่าในเขตป่าชุมชนบ้านหัวนาใครเป็นผู้นํามาปลูก 2) ไผ่สีสุก (B.flaxuosa) อยู่ในสกุล Bambusa ลําต้นเขียวสด เป็นไผ่ขนาดสูงใหญ่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นประมาณ 7 – 10 เซนติเมตร ปล้องยาวประมาณ 4 – 10 เซนติเมตร บริเวณข้อมีกิ่งเหมือนหนาม ลําต้นเน้ือหนา ทนทานดี ใช้ทําน่ังร้านในการก่อสร้าง เช่น นั่งร้านทาสี น่ังร้านฉาบปูน 3) ไผ่ป่าหรือไผ่หนาม (B.arumdinacea) อยใู่ นสกุล Bambusa ต้นแกม่ สี ีเขยี วเหลือง เป็นไผ่ขนาดใหญ่ มีหนาม และแขนง ปล้องขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 – 15 เซนติเมตร ใช้ทําโครงบ้าน ใช้ทําน่ังร้าน 4) ไผ่เฮียะ (C.Virgatum) อยู่ในสกุล Cephalastachyum ลําต้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 – 10 เซนติเมตร ปล้องยาวขนาด 50 – 70 เซนตเิ มตร ขอ้ เรียบ มีก่ิงก้านเล็กน้อย เนื้อหนา 1 – 2 เซนติเมตร ลําต้น สูงประมาณ 10 – 18 เมตร ลําต้นใช้ทําโครงสร้างอาคาร เช่น เสา โครงหลังคา คาน 5) ไผ่รวก (T. siamensis) อยู่ในสกุล Thyrsostachys มีลําต้นเล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.7 เซนติเมตร สงู ประมาณ 5 – 10 เมตร ลักษณะเปน็ กอ ลาํ ต้นใช้ทํารว้ั ทาํ เยื่อกระดาษ ในอดีตชุมชนบ้านหัวนา ใช้ไม้ไผ่มาก่อสร้างบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัยเป็นหลัก ประกอบด้วยไผ่ ต้ังแต่เสาเรือน (กระท่อมไม้ไผ่) พื้นบ้าน ฝาบ้าน ส่วนประกอบของบ้านเรือนเกือบทั้งหมดก็ทํามา จากไม้ไผ่ และของใช้ในชีวิตประจําวันทั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น กระจาด กระดง้ ตะกร้า กระบุง ที่นึ่ง ข้าว ฯลฯ อีกมากมายที่แปรรปู จากไมไ้ ผ่ทงั้ สิน้ ปจั จุบันถึงแมว้ ถิ ีชวี ติ ของคนจะเปลีย่ นไปบ้าง แต่ไม้ไผ่ ก็ยังมีความสําคัญต่อคนบ้านหัวนา เร่ิมต้นตั้งแต่หน่อไผ่จะนํามาขาย และทําเป็นอาหาร ลําต้นที่ยัง ไม่แก่จะใช้ทําเป็นตอกมัดสิ่งของ เช่น มัดหอม มัดกระเทียม มัดข้าว มัดผักและสานเป็นของใช้ เช่น ตะกร้า ชะลอม สุ่มไก่ กระบุง เป็นต้น ลําต้นแก่ก็ใช้ทําไม้ค้ําต้นลําไยและทําร้ัวไม้ไผ่ ทําที่อยู่อาศัย ของใช้เครื่องครัว จากประโยชน์ของไม้ไผ่ที่ชุมชนได้รับนั้นมาจากการร่วมกันอนุรักษ์ป่าชุมชนของ ตนเอง และชาวบา้ นสว่ นหนึ่งก็มีอาชพี ขายไม้ไผ่ การเรยี นรชู้ ุมชน : ปฐมบทของการรกั นํ้า รักป่า โครงงานศึกษาสํารวจชุมชนบ้านหัวนาเป็นส่วนหน่ึงของชุดการเรียนรู้ รักษ์ป่า รักษ์นํ้า รักษ์ น่าน ที่มุ่งให้นักเรียนได้รู้จักชุมชนของตนเองอย่างลึกซ้ึงทั้งในแง่ของภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาของชุมชน รวมทั้งสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยครูต้องสร้างทักษะ ท้ังการ คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ รวมทั้งกระบวนทางวิทยาศาสตร์ให้เกิดกับนักเรียน ได้แก่ การหาปัญหา การแสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริง การสรุปประมวลผล การนําเสนอ เป็นต้น โดยใช้เคร่ืองมืออย่าง นิทรรศการ   7  

บูรณาการกันทั้งวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา ศิลปะ สังคมศึกษา การงานพ้ืนฐานอาชีพและ เทคโนโลยี การศึกษาชุมชนดังกล่าวช่วยทําให้นักเรียนได้เรียนรู้ว่า “ชุมชนบ้านหัวนาต้องอาศัยป่าใน การดํารงชีวิต ท้ังเป็นแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัย เป็นรายได้ จากไม้ที่มีอยู่ เช่น ไม้ไผ่ รวมทั้งป่ายัง เป็นต้นนํ้า ที่ชุมชนไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภค รวมทั้งในการเกษตร ในขณะเดียวกันชุมชนก็ประสบ ปัญหาพ้ืนท่ีป่าลดน้อยลง จากการบุกรุกพื้นที่ปลูกข้าวโพด ปลูกยางพารา รวมทั้งการตัดไม้ไผ่และ อ่ืน ๆ เกินกว่ากําลังฟ้ืนตัวตามธรรมชาติ ซ่ึงถ้าปล่อยให้สถานการณ์เป็นอย่างน้ี ชุมชนของเขาต้อง ประสบปัญหาตามมาอย่างแนน่ อน” ในการลงพ้ืนท่ีศึกษาในรูปโครงงานคร้ังแรกนี้ เยาวชนมีการตอบรับเป็นอย่างดี เห็นได้จาก ส่ิงท่ีเยาวชนนําเสนอในการระดมความคิดในหัวข้อ \"อนาคตของป่าชุมชน\" ได้ช่วยกระตุ้นให้เยาวชน รู้จักคิด รู้จักสังเกตป่าชุมชนของตนและป่าชุมชนที่ไปศึกษา นําประสบการณ์และส่ิงท่ีพบเห็นมาต่อ ยอดวางแผนป่าชุมชนของตนในอนาคตข้างหน้า ผู้เขียนเชื่อม่ันว่า กระบวนการนี้จะสามารถกระตุ้น ความคิดและจิตสํานึกของเยาวชนให้ตระหนักในเร่ืองของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าในชุมชน เพิม่ มากยิง่ ขึ้น” เอกสารอ้างอิง http://th.wikipedia.org ยุทธภูมิ สปุ ระการ. (2555) บวร ดอนไชย. (23 – 24) กรงุ เทพฯ. สนั ติศริ กิ ารพมิ พ์. 8 นทิ รรศการ    

แผนผังหมู่บ้านหัวนา นิทรรศการ   9  

การบรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ : “รักษ์ป่าตน้ นา้ํ น่าน” นายอภิรณุ คาํ ตั๋น และนางสาวพิลาวรรณ หอระดี โรงเรยี นบ้านหว้ ยฟอง หลักการและเหตผุ ล หลักสูตรการศึกษาในปัจจุบันประสบปัญหาความรู้และข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว มี เร่ืองทจ่ี าํ เปน็ ตอ้ งเรียนรู้เพ่ิมข้ึนจํานวนมากมาย การเพ่ิมขน้ึ อยา่ งมากมายและรวดเร็วของความรู้และ ขอ้ มลู ต่าง ๆ น้ี ทาํ ใหก้ ารเรียนแบบสัมพนั ธ์วิชามคี วามสาํ คัญมากกว่า เพราะต่างวิชาต่างเพิ่มเนื้อหา เข้าไปในหลักสูตรของตน ในวิถีชีวิตจริงของคนเรามีเร่ืองราวต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ไมไ่ ดแ้ ยกออกจากกันเป็นเรือ่ ง ๆ เราจะเรียนรไู้ ด้ดขี ้นึ และเรียนร้อู ยา่ งมคี วามหมาย เมื่อมีการบูรณาการ เขา้ กับชวี ิตจรงิ โดยเรยี นรูใ้ นสง่ิ ที่ใกล้ตวั แล้วขยายกว้างไกลตัวออกไป ดังน้ันการขยายตัวของความรู้ ในปัจจุบันจึงจําเป็นท่ีจะต้องเลือกสาระที่สําคัญ และสอดแทรกในเวลาเรียนท่ีเท่าเดิม ซึ่งไม่มี หลกั สตู รวชิ าใดเพยี งวชิ าเดียวทีส่ าํ เรจ็ รปู และสามารถนําไปใช้แก้ปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ได้ เน้ือหาวิชาต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกันหรือเก่ียวข้องกันจึงนํามาเช่ือมโยงกัน เพื่อให้ผู้เรียนรู้อย่างมี ความหมาย เนื่องด้วยบริบทโรงเรียนบ้านห้วยฟอง ตําบลขุนน่าน อําเภอเฉลิมพระเกียรติ สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2 ได้จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงมัธยมศึกษาตอนต้น โดยที่นักเรียนมีภูมิลําเนาอยู่ในเขตบริการ ประกอบด้วย บ้านห้วยฟอง บ้านสะจุก บ้านสะเกี้ยง ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณพื้นท่ีป่าต้นน้ําน่าน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าลัวะ ประกอบอาชีพทําไร่ ปลกู ข้าว ข้าวโพด จึงมีการตัดไม้ เผาป่า เพื่อใช้พ้ืนที่ในการเพาะปลูก ส่งผลให้ เกิดปัญหาความแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ําในฤดูแล้ง น้ําป่าไหลหลากในฤดูฝน มีหมอกควันปกคลุม จากการเผาหลังการเก็บเกี่ยว ทางโรงเรียนจึงเล็งเห็นผลกระทบดังกล่าวจึงได้นําหลักการจัดการ เรียนการสอน แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้ชุดการเรียน “รักษ์ป่าต้นน้ําน่าน” เพ่ือให้ นักเรียนเกิดความตระหนักถึงปัญหาที่เกิดข้ึนในท้องถ่ินของตนเอง มีจิตสํานึก รัก และหวงแหนใน ทรพั ยากรธรรมชาติ ร่วมฟนื้ ฟูป่าตน้ นํา้ นา่ นอยา่ งยั่งยนื แนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ บูรณาการกลุม่ สาระการเรยี นรู้ การจัดการเรียนการสอนบูรณาการสาระการเรียนรู้ ในรูปแบบชุดการเรียน “รักษ์ป่าต้นนํ้า น่าน” โดยได้นําหลักการการบูรณาการการเรียนรู้มาใช้ ซึ่งเป็นการผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ ทีเ่ ช่อื มโยงศาสตร์ หรอื เนื้อหาสาขาวชิ าท่มี ีความสมั พนั ธเ์ กีย่ วข้องเข้าดว้ ยกนั เนอ่ื งจากส่งิ ทีเ่ กิดขน้ึ ใน ชีวติ จรงิ ไมไ่ ด้จาํ กัดวา่ จะเก่ียวขอ้ งกับสาขาวิชาใดสาขาวชิ าหนงึ่ เราจาํ เป็นจะตอ้ งใชค้ วามรู้และทกั ษะ จากหลาย ๆ สาขาวิชามาร่วมกันแก้ปัญหา เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยง ระหว่างความคิดรวบยอดใน ศาสตร์ต่าง ๆ ทําให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย เกิดการถ่ายโอนความรู้ การเชื่อมโยงส่ิงที่เรียน เข้ากับชีวิตจริงได้ และในทางกลับกันก็จะสามารถเชื่อมโยงเรื่องของชีวิตจริงภายนอกห้องเรียนเข้า กับส่ิงท่ีเรียน ทําให้ผู้เรียนเข้าใจว่า สิ่งที่ตนเรียนมีประโยชน์หรือนําไปใช้จริงได้ การเรียนการสอน 10 นทิ รรศการ    

แบบบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมเป็นการตอบสนองต่อความสามารถของผู้เรียนซ่ึงมีหลายด้าน เช่น ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ความเคลื่อนไหวของร่างกาย การมีสุนทรียภาพด้านดนตรี สังคม หรือมนุษยสัมพันธ์ และความรู้และความเข้าใจตนเอง ซ่ึงรวมเรียกว่า “พหุปัญญา” ตอบสนองต่อ ความสามารถท่ีจะแสดงออก และตอบสนองทางอารมณ์ไปพร้อม ๆ กัน เพ่ือให้เกิดความรู้ที่มี ความหมาย มีความหลากหลาย และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจําวัน รวมท้ัง ปลูกฝังจิตสํานึก คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการอนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้บรเิ วณพนื้ ท่ปี า่ ต้นนา้ํ น่านอนั เปน็ บรบิ ทของตนเองเปน็ แหล่งเรียนรู้ โดยชุดการเรียน “รักษ์ป่าต้นนํ้าน่าน” ได้แบ่งออกเป็น 4 เล่มการเรียน แยกตามระดับช้ัน ตั้งแตป่ ฐมวัย ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 นักเรียน จะได้ศึกษาเน้ือหาในแต่ละเร่ือง มีส่ือประกอบการเรียน ทําแบบฝึกหัด และแบบทดสอบก่อนและ หลงั เรียน โดยมรี ายละเอียดดังน้ี ชุดการเรยี น “รักษป์ ่าตน้ นา้ํ นา่ น” เลม่ ที่ 1 ต้นไม้ของฉนั (ระดบั ชัน้ ปฐมวัย) เร่ืองท่ี 1 สว่ นประกอบของต้นไม้ เร่อื งที่ 2 ต้นไม้กับระบบรา่ งกายมนุษย์ เร่อื งท่ี 3 การปลกู และดูแลต้นไม้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับต้นไม้ว่าประกอบด้วยอะไรบ้าง เช่น ราก ลําต้น ใบ โดยใช้รูปภาพ บัตรคํา เป็นสื่อประกอบการเรียน ฝึกให้สะกดพยัญชนะ สระ เขียน และอ่านออกเสียง เมื่อนักเรียน รู้จักส่วนประกอบของพืชแล้ว ก็นํามาเปรียบเทียบกับอวัยวะในร่างกายของตนเองว่ามีหน้าท่ีเหมือนกัน อย่างไร เช่น รากมีหน้าที่ดูดสารอาหาร หรือกินเหมือนปากของเรา รวมท้ังวิธีการปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ให้เจรญิ เตบิ โต จะทําใหน้ กั เรียนเข้าใจการดํารงชวี ิตของตน้ ไมก้ บั คนเราไปพร้อม ๆ กัน เลม่ ที่ 2 จากตน้ เป็นป่า (ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3) เรอื่ งที่ 1 พรรณไม้ในป่าต้นนาํ้ น่าน เรอ่ื งท่ี 2 ความสัมพนั ธข์ องสรรพส่งิ ในปา่ ตน้ นํา้ นา่ น เร่อื งท่ี 3 ทศิ และแผนผงั บริเวณป่าตน้ นาํ้ น่าน เป็นการศึกษาเก่ียวกับต้นไม้ท่ีเจริญเติบโตในป่าต้นนํ้าน่าน ให้รู้จักช่ือพ้ืนบ้าน ชื่อสามัญ และ ชื่อวิทยาศาสตร์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีรูปภาพหนังสือเล่มเล็กประกอบการเรียน จากนั้น นาํ ข้อมูลทศ่ี ึกษามาเรียงร้อยถึงความสัมพนั ธข์ องสรรพส่ิงท่พี บในรปู แบบบทกลอน ทาํ ให้นักเรียนเกิด จินตนาการอยากสัมผัสต้นไม้เหล่าน้ัน โดยสามารถสํารวจและวาดแผนผังแสดงพื้นที่ป่าต้นนํ้าน่าน ระบุทศิ ของสงิ่ ทีพ่ บ นําไปส่กู ารเดินทางไปสมั ผัสสงิ่ นนั้ ได้จริง ตามบทกลอนที่นักเรียนไดย้ ินมา นทิ รรศการ   11  

เลม่ ท่ี 3 ป่าไม้คือชวี ิต (ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ ่ี 4 – 6) เร่อื งท่ี 1 พชื ผู้สร้าง ผผู้ ลติ เรอ่ื งที่ 2 สมนุ ไพรในต้นน้าํ นา่ น เร่ืองที่ 3 ระบบนิเวศป่าตน้ น้ํานา่ น เป็นการศึกษาเก่ียวกับความสัมพันธ์ของป่าไม้กับระบบนิเวศในพ้ืนที่ป่าต้นนํ้าน่าน โดยเรียนรู้ กระบวนการสร้างอาหารของพืชผู้ผลิตให้แก่ส่ิงมีชีวิต มีแบบจําลองกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นส่ือประกอบ และการนําพืชท่ีพบในท้องถ่ินมาใช้ประโยชน์ในด้านสมุนไพร รวมท้ังเข้าใจ ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศในป่าต้นน้ําน่าน เช่น ทรัพยากรธรรมชาติกับส่ิงมีชีวิต หรือมนุษย์ท่ีมี ความเก้อื กูลซ่ึงกนั และกัน เล่มที่ 4 วิถีคนกับป่าไม้ (ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3) เรอื่ งที่ 1 พรรณไม้กบั ประเพณี ความเชอื่ และความเป็นอยู่ เรือ่ งที่ 2 เสยี งดนตรจี ากขนุ เขา เรอ่ื งที่ 3 พรรณไม้สรา้ งอาชีพ เป็นการศึกษาเกย่ี วกบั การดาํ รงชีวติ ท่ีสัมพนั ธ์กับปา่ ไม้ เช่น ความเชื่อ ประเพณีของท้องถน่ิ ที่ นาํ ต้นไมม้ าเกีย่ วขอ้ งกบั พิธกี รรม การสร้างบา้ นเรอื น และการเกิดภมู ิปัญญาด้านเสียงดนตรีท่ีทําจาก ไม้ไผ่ หรือเรียกว่า “พิ” สามารถสร้างความสนุกสนานในชีวิตชนเผ่า รวมท้ังการนําดอกญู หรือดอกก๋ง มาประดษิ ฐ์เป็นไม้กวาดดอกหญ้าใชป้ ระโยชน์ และอาชีพสรา้ งรายได้ในชมุ ชน สอื่ ประกอบการเรยี น ตัวอย่างสื่อประกอบการเรียน ชุดการเรียน “รักษ์ป่าต้นนํ้าน่าน” เล่มท่ี 3 ป่าไม้คือชีวิต เร่ือง พืชผู้สร้าง ผู้ผลิต ใช้ประกอบการเรียนซ่ึงอธิบายถึงปัจจัยที่มีต่อกระบวนการสร้างอาหารของ พืช ความลับของกระบวนการข้างในใบพืช และผลผลิตท่ีได้ แล้วมีประโยชน์ต่อเราอย่างไร นักเรียน จะได้เกดิ กระบวนการคิดตามแบบจําลองนี้ ผลการจดั กจิ กรรม การจัดการเรียนการสอนบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ โดยใช้ชุดการเรียน “รักษ์ป่าต้นนํ้า น่าน” เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยสอดแทรกเน้ือหาด้านส่ิงแวดล้อมของพ้ืนที่ป่าต้นน้ําน่านเข้ากับ รายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร เน้นการเรียนจากแหล่งเรียนรู้ท่ีมีในบริเวณโรงเรียนและชุมชน การประเมินผลในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนส่วนใหญ่ มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ทํา แบบฝึกหัดและแบบทดสอบได้ร้อยละ 78 นักเรียนร้อยละ 90 มีความสุขกับการเรียนรู้ เน่ืองจาก นักเรียนได้ลงมือศึกษาและปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ใกล้ตัวที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึง เป็นการ สอดแทรกความรู้ และตอบสนองต่อความสามารถในหลาย ๆ ด้านของผู้เรียน ช่วยสร้างความรู้ ทักษะและเจตคติ และนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ จะส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ 12 นิทรรศการ    

ความเข้าใจ มีจิตสํานึก เกิดความตระหนัก รัก และหวงแหนทรัพยากรป่าต้นนํ้าน่านของตนเองมาก ยิง่ ข้นึ ปญั หาที่พบ การจัดการเรียนการสอนด้านสิ่งแวดล้อมบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ โดยใช้ชุดการเรียน “รักษ์ป่าต้นนํ้าน่าน” เป็นการศึกษาเกี่ยวกับบริบทในท้องถ่ิน ซึ่งมีข้อมูลอีกจํานวนมากที่ยังต้องศึกษา ค้นคว้าลงสู่บทเรียน จําเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการเพ่ิมเติมข้อมูลใหม่ ๆ อย่างต่อเน่ือง อีกทั้ง ครูผ้สู อนส่วนใหญ่ไม่ใชค่ นในพนื้ ทจี่ งึ ตอ้ งศกึ ษาข้อมูลทาํ ความเขา้ ใจใหม้ ากย่ิงข้ึน ข้อเสนอแนะ ทางโรงเรียนมีแนวทางในการจัดการเรียนการสอน บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ จากชุด การเรียน “รักษ์ป่าต้นน้ําน่าน” ให้ครอบคลุมนักเรียน โดยจัดการเรียนรู้ต่อเนื่องทุกปีการศึกษา เพ่ิม ความหลากหลายของส่ือประกอบการเรียนให้มากข้ึน และเชิญผู้รู้ในท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้านเข้า มามีส่วนร่วมถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างสนุกสนานใกล้ชิดกับแหล่ง เรยี นรู้ ควบคูก่ ับการมีจติ สํานึก และตระหนกั ในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรป่าตน้ นาํ้ นา่ นในลําดับต่อไป เอกสารอา้ งองิ กฤตภพ ศรีใหญ่. 2547. การพัฒนาแผนการเรียนรู้และบทเรียนสําเร็จรูปเรื่อง พลังงานกับชีวิต และสิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 1. การค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอนบัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยสารคาม. กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ. (อินเทอร์เน็ต ออนไลน)์ www.deqp.go.th. (29/8/2557) วินัย วีระวัฒนานนท์. 2546. ส่งิ แวดล้อมศึกษา. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์ นิทรรศการ   13  

หนา้ ปกชุดการเรยี น แผนภมู ิลําดบั ข้ันการเรยี น เนื้อหาของบทเรียน ตวั อย่างชุดการเรยี น “รกั ษ์ป่าต้นน้ํานา่ น” แบบจาํ ลองกระบวนการสร้างอาหารของพชื นทิ รรศการ   14  

หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์เรอ่ื ง “ปา่ อยู่…ต๋าวยั่งยนื ” นายประภาส จันทรา นางสบูรัตน์ จนั ทรา และนางลําดวน ศรีชัย โรงเรียนบา้ นสบมาง โรงเรียนบ้านสบมางตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีป่าท่ีเป็นต้นกําเนิดของลํานํ้าสายเล็ก ๆ เช่น ลํานํ้าว้า ลํานํ้ามาง และลําธารสายเล็ก ๆ อ่ืน ๆ อีกเป็นจํานวนมากซึ่งรวมกันเป็น “แม่นํ้าน่าน” พ้ืนที่ป่า โดยรอบมีลักษณะเป็นป่าดิบเขา มีทั้งต้นไม้ขนาดใหญ่ไปจนถึงต้นไม้ขนาดเล็กและไม้ไผ่ ส่วนไม้พ้ืน ล่างเป็นพวกเฟิร์น กล้วยไม้ดิน มอสต่าง ๆ และกล้วยป่าชนิดต่าง ๆ สภาพนิเวศดังกล่าวเหมาะกับ การเจรญิ เตบิ โตของพชื พรรณนานาชนิด ทส่ี ําคัญชนดิ หน่งึ คอื ตา๋ ว ต๋าวเป็นไม้ป่าจัดอยู่ในตระกูลปาล์มเช่นเดียวกับมะพร้าวและตาล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arenga westerhoutii Griff. (Pongsattayapipat and Barfod, 2005) มักขึ้นตามธรรมชาติใน ป่าดิบช้ืน ต๋าวเป็นพืชที่ออกดอกเพียงครั้งเดียว เม่ือออกดอกและติดผลแล้วต้นก็จะตายลงทันทีที่ เมล็ดของต๋าวในทะลายสุดท้ายแก่หมด ซึ่งใช้ระยะเวลาต้ังแต่งอกออกจากเมล็ดจนถึงออกดอกออก ผลคร้ังแรกประมาณ 15 – 20 ปี ส่วนของต๋าวท่ีเป็นที่ต้องการของโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปคือ เมล็ด ที่เราเรียกว่า “ลูกชิด” (Sugar Palm Seed) ซ่ึงเป็นของหวานที่ได้รับความนิยมบริโภคทั้งใน ประเทศและประเทศเพ่ือนบ้าน ทําให้ชาวบ้านหันมาเก็บลูกต๋าวขายเป็นจํานวนมาก จนเกิดการ ขาดแคลนลูกต๋าวในไทย ต้องนําเข้าจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทั้งน้ีเพราะวิธีการ เกบ็ ตา๋ วที่ทํากันมาแต่ดัง้ เดิมคือ การโค่นทง้ั ตน้ เพอ่ื หวังแค่เก็บผลของตา๋ ว อีกทั้งเมอ่ื มคี นเข้าไปตัดกัน มากขึ้น จึงตัดเอาลูกต๋าวท่ียังไม่แก่จัด ผลท่ีตามมาคือ ทําให้ต้นต๋าวที่จะเกิดในธรรมชาติมีน้อยลง เนื่องจากลูกท่ีร่วงลงพื้นเพ่ืองอกเป็นต้นใหม่นั้นจะต้องมีอายุเกินหนึ่งปีข้ึนไป ประกอบกับมีการบุกรุก ปา่ เพื่อทาํ ไร่เล่ือนลอย หรือปลูกข้าวโพด ทําให้ต้นต๋าวถูกตัดทิ้ง พื้นที่ป่าหายไป สัตว์ป่าหลายชนิดท่ี กินลูกต๋าวเป็นอาหารก็สูญพันธุ์ น่ันคือสาเหตุในการทําลายวงจรชีวติ ของต้นต๋าว ทําให้ไม่สามารถ ขยายพันธไ์ุ ดต้ ามธรรมชาติ จนทําให้หลายฝ่ายวติ กกงั วลวา่ ตน้ ตา๋ วอาจจะสญู พนั ธ์ุไปจากป่านา่ นได้ คณะครูและกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านสบมาง ได้ตระหนักถึงปัญหาและ ผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนกับการดํารงชีวิตของคนในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้น จึงได้น้อมนําเอาพระราชดําริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มาดําเนินการเพื่อปลูกฝังจิตสํานึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ให้แก่เด็กนักเรียน แต่ก็ประสบปัญหาในเรื่องของสื่อการเรียนรู้ เก่ียวกับเรอ่ื งต๋าวของน่าน จากการค้นคว้าเอกสารที่เก่ียวข้องพบว่า มีนักวิจัยและนักวิชาการได้ทําการศึกษาค้นคว้า เก่ียวกับเร่ืองของต๋าวในจังหวัดน่านไว้พอสมควร ดังเช่น วิลาศลักษณ์ ว่องไว และนิพัฒน์ สุขวิบูลย์ (สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 1 จ. เชียงใหม่) ศึกษาเร่ือง การผลิตต๋าวของเกษตรกรใน จังหวัดน่าน พันธ์สิริ สุทธิลักษณ์ (สํานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง) ศึกษา เร่อื ง ลูกชิด : คุณค่าทางโภชนาการและการพฒั นาผลิตภัณฑ์ลูกชิดให้มีคุณภาพและปลอดภัย อนุชา จันทรบูรณ์ (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตน่าน) ศึกษาเรื่อง การสํารวจพันธุกรรมพืชชิด นทิ รรศการ   15  

(Arenga pinnata.) ในจังหวัดน่าน สุนทร ตรีนันทวัน (ผู้เช่ียวชาญสาขาเทคโนโลยีการศึกษา สสวท.) ศกึ ษาเร่อื ง มะต๋าว ฯลฯ อย่างไรก็ตามองค์ความรู้เหล่าน้ีกระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ยากต่อการที่เด็ก นักเรียนจะเข้าถึง อีกทั้งเน้ือหายังยากเกินไปสําหรับเด็กนักเรียน ดังน้ันคณะครูและกรรมการ สถานศกึ ษาของโรงเรียนบ้านสบมาง จงึ จัดทาํ โครงการพัฒนาสอื่ การเรียนรู้ “ป่าอยู่…ตา๋ วย่ังยืน” ข้นึ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับเร่ืองต๋าว โดยการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีได้มี การศึกษาค้นคว้ามาแล้วมาจัดทําอยู่ในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e – book) ท่ีเด็กนักเรียน สามารถเข้าถึงได้ง่าย โดยใชโ้ ปรแกรมสําเรจ็ รปู Flip Album ตวั อยา่ งเนอ้ื หาของ E – book 16 นทิ รรศการ    

ผลการดาํ เนนิ งาน จากผลการดาํ เนนิ งานประสบความสาํ เร็จเป็นท่ีน่าพอใจในการให้ความรู้แก่นักเรียนเร่ืองของ ต๋าว ทัง้ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ นิเวศวทิ ยา การเกบ็ เกี่ยว การขยายพันธ์ุ ตลอดจนสามารถสร้าง ความตระหนักในการอนุรักษ์ต๋าวกับพรรณไม้อ่ืน ๆ ไปพร้อม ๆ กัน ขณะเดียวกันก็สามารถถ่ายทอด ความรู้ให้กับผู้ปกครองและร่วมกันดูแลรักษาป่าโดยรอบชุมชน ทําให้เกิดป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ กลับคืนมาอีกคร้ัง และน่นั คือการเกดิ ป่าต้นนํา้ อยา่ งยง่ั ยนื ในอนาคต นิทรรศการ   17  

พระปลดั คงศลิ ป ภททฺ ราวุโธ (เขอ่ื นอน) โรงเรยี นพระปริยัติธรรมวดั นิโครธาราราม ความเปน มา จากสภาพพ้ืนท่ีปาในบริเวณฐานการเรียนรูปานิโรธชัยมุข กอนการดําเนินโครงการน้ี พ้ืนที่ มักถูกไฟปาเผาไหมอยูเปนประจํา สภาพพ้ืนท่ีตนไมพื้นถิ่นตนเล็ก ๆ ไมมีโอกาสไดเจริญเติบโต หลังจากที่ทางโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดนิโครธาราม ตําบลปาคา อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน ได ดําเนินโครงการปลูกฝงจิตสํานึกในการอนุรักษดิน น้ํา ปาไม มาตั้งแตป 2556 ที่ผานมา ซึ่งในการ จัดกิจกรรมน้ันทางโรงเรียนไดเนนการจัดกิจกรรมเรียนรูแบบบูรณาการใหกับสามเณรนักเรียนเปน การจัดประสบการณและการปฏิบัติจริงในสถานการณตาง ๆ ตามสถานภาพการเปนสามเณร ดวย วิธีการฝกหัด ขัดเกลาฝกฝนดวยกิจวัตรประจําวันของสามเณรตามแนวทางพุทธประเพณีในทองถิ่น ซึ่งมีเอกลักษณที่โดดเดนเปนพ้ืนฐานท่ีสงผลใหการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เชน กิจรรมการสํารวจ ตนไม การสรางฝายชะลอน้ํา การทําแนวกันไฟ การขยายพื้นท่ีปาไม รักษาความสมดุลของ ทรัพยากรน้ํา ดิน และปาไม กิจกรรมเรียนรูเรื่องน้ําและดิน ตลอดจนการดําเนินกิจกรรมการเรียนรู ในฐานการเรียนรู ซึ่งครูไดสอดแทรกแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ อันจะเปนการ เช่ือมโยงปลุกเราคุณธรรมใหเกิดข้ึนในตัวของผูเขารวมกิจกรรม ท้ังยังปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาตใิ หเ กิดขึน้ ดว ยวธิ กี ารเรยี นรแู ละสมั ผสั กับสถานการณใ นพ้นื ทจ่ี รงิ ทั้งน้ีการดําเนิน กิจกรรมการเรียนรูสามารถเช่ือมโยงเนื้อหาสาระของกลุมสาระตาง ๆ ตามหลักสูตรข้ันพื้นฐานของ สถานศึกษา พ.ศ. 2551 ดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยผานการปฏิบัติอันเปนการพัฒนาจิตวิญญาณ ของความเปนมนุษยท่ีสมบูรณอยางแทจริง จากการถวายรายงานการดําเนินโครงการในวันจันทรที่ 10 มีนาคม 2557 ที่ผานมา ณ ศูนยการเรียนรูและบริการวิชาการ เครือขายแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ตําบลผาสิงห อําเภอเมือง จังหวัดนาน โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดนิโครธาราม ไดจัดนทิ รรศการ “แนวทางการปลูกจติ สํานึกในการอนุรักษดิน น้ํา ปาไม : โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา” เชื่อมโยงกับการเทศนมหาชาติท่ีสอดแทรกแนวทางการอนุรักษดิน น้ํา และ ปาไม ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไดมีพระราชกระแสวา “...เปนการ จัดการเรียนรูท ีก่ า วหนา ในเนื้อหาการเทศนม หาชาติมีเนื้อหาท่ีเก่ียวของกับปาไม เชน ในกัณฑจุลพน และกัณฑมหาพน...” ตอมาในวันที่ 11 มีนาคม 2557 ณ โรงสีขาวพระราชทาน อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน ไดมีพระราชกระแสเพิ่มเติมเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของโรงเรียน พระปริยัติธรรมวา “เปนการจัดการเรียนการสอนท่ีดี ถาอยูในสมณะเพศก็จะเปนศาสนทายาทท่ีดี ลาสิกขาก็เปนฆราวาสท่ดี ี” ในปก ารศึกษา 2557 น้ี โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรมวัดนิโครธาราม ตําบลปาคา อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน ซึ่งเปนโรงเรียนในโครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม- บรมราชกุมารี จึงไดดําเนินการจัดคายการเรียนรูบูรณาการใหกับสามเณรนักเรียนตอเน่ือง จากปท่ี 18 นิทรรศการ

ผ่านมาอันเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้มีสุขภาพและโภชนาการที่ดี จากการทําการเกษตรปลอด สารพิษ ขยายผลการพฒั นาในพ้นื ท่จี ากการดําเนินการในปี 2556 ที่ผา่ นมา เปน็ ตน้ แบบในการสรา้ ง สื่อการสอนท่ีเป็นรูปธรรมเชิงพ้ืนท่ีจริง ใช้สอนสอดแทรกในการเรียนการสอนและใช้ผลการ ดําเนินงานเป็นสื่อในการเทศนาธรรมปรับทัศนคติให้กับศรัทธาญาติโยมในชุมชน และอบรมสามเณร นกั เรียนเพือ่ เปน็ แนวทางอนรุ กั ษ์รักษาความสมดลุ ของทรพั ยากรและลดการบกุ รุกทาํ ลายปา่ ไมต้ ่อไป พืน้ ท่โี ครงการ  สวนป่านโิ รธชัยมุข บา้ นฝายมลู ตําบลป่าคา อําเภอทา่ วงั ผา จงั หวดั น่าน  พน้ื ท่ีสาธารณะของหมู่บ้านหนองบัว ตําบลป่าคา อําเภอท่าวังผา จงั หวดั นา่ น  พ้ืนท่ีบ้านผาหลัก ตําบลยอด อําเภอสองแคว พื้นที่ของโยมพ่อของสามเณรพลรัตน์ รักษา สามเณรนักเรียนของโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดนิโครธาราม ตําบลป่าคา อําเภอ ท่าวังผา จังหวัดนา่ น การดําเนนิ งาน สวนป่านิโรธชัยมุข บ้านฝายมูล ในปีการศึกษา 2557 มีการดําเนินการต่อจากปีการศึกษา 2556 พัฒนาเป็นกิจกรรมการเรียนรู้เวียนฐานบูรณาการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น การดําเนิน กิจกรรมการเรียนรู้การทําแนวกันไฟ กิจกรรมสร้างฝายชะลอน้ํา กิจกรรมปลูกต้นไม้เสริมในพ้ืนท่ี และกิจกรรมดับไฟปา่ กิจกรรมเพ่ือพฒั นาในฐานการเรยี นรู้สวนป่านิโรธชัยมุข พัฒนาพ้ืนที่บริเวณหมู่บ้านผาหลัก ตําบลยอด อําเภอสองแคว จังหวัดน่าน ได้ดําเนินการ ถอดบทเรียนท่ีได้เรียนรู้ในพ้ืนที่ของสามเณรนักเรียน โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดนิโครธาราม (สามเณรพลรัตน์ รักษา) ท่ีได้ขออนุญาตใช้พื้นที่ดินจากโยมพ่อเพ่ือใช้เป็นพื้นท่ีศึกษา ซึ่งเป็นต้นแบบ ของการเปลี่ยนแปลงของสามเณรนักเรียน จากเดิมพ้ืนที่ปลูกปาล์มน้ํามันและยางพารา ในปี การศึกษา 2556 ได้มีการปลูกต้นยางนา เพ่ิมเติมในพ้ืนที่จํานวน 200 ต้น ปลูกต้นกล้วย และใช้ พ้ืนทบ่ี างส่วนเป็นสอ่ื การเรยี นรูก้ ารปลูกขา้ วไร่สําหรับสามเณร ในปีการศึกษา 2557 ได้มีการพัฒนา ปรับพื้นที่ปลูกข้าวไร่และปรับพื้นที่ทําเป็นนาข้ันบันได พร้อมกันนั้นสามเณรนักเรียนและชาวบ้านผา หลกั ไดร้ ่วมกนั สรา้ งฝายชะลอนา้ํ เพิ่มความชุ่มชนื้ ใหก้ ับพืน้ ที่อีกด้วย ในการพัฒนาพืน้ ทเี่ พม่ิ เติมในปี 2557 มีการปลูกต้นยางนาเพ่ิมเติมอีก 200 ต้น ปลูกมะนาว ต้นตะไคร้ ต้นชะอม และต้นขนุน ลงในพ้ืนท่ีอีกจํานวนหนึ่ง เพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีให้เป็นพื้นที่ตัวอย่าง ที่ สามารถเป็นสื่อต้นแบบในพ้ืนที่จริงท่ีสามารถมองเห็นเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจน ในการจัดรูปแบบ วนเกษตรแบบพอเพยี งพ่งึ ตนเองได้ นิทรรศการ   19  

ผลการดําเนนิ งาน 1. พื้นท่ีฐานการเรียนรู้ป่านิโรธชัยมุข หลังจากการดําเนินการของโครงการท่ีผ่านมาพบว่า ในพ้ืนที่มีต้นไม้พ้ืนถิ่นเจริญเติบโตข้ึนมาเองเป็นจํานวนมากอย่างเห็นได้ชัดเจน เช่น ต้นมะค่าโมง ต้น ต้ิวแดง ต้นเด่ือ ต้นมะกอกป่า ต้นไผ่บง ต้นเปา และพบว่าต้นไม้ทั้งที่เคยถูกไฟเผาไหม้เหลือแต่ตอ ในปกี อ่ นดาํ เนนิ โครงการเติบใหญ่ข้ึนมาอีกครง้ั ต้นไผ่บงในพันธ์พุ ชื ประจําถิ่น จากเดิมถูกไฟเผาจนโล่งเตียน ปัจจุบันพบว่ามีการเจริญเติบโต ไดเ้ ป็นอย่างดี เป็นที่พึ่งพิงชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียง สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น นําไม้ไผ่มา ทําตอก (ท่ีมัดต้นกล้าในการทํานาในฤดูกาลท่ีผ่านมา) และสามารถขุดหาหน่อไม้นํามาทําเป็นอาหาร ไดใ้ นครวั เรือน ส่วนต้นยางนา ต้นพะยูง ท่ีนําเข้าไปปลูกเสริมเพิ่มเติมในพื้นท่ีฐานการเรียนรู้ พบว่าต้นไม้มี การเจรญิ เตบิ โตช้ากว่าตน้ ไม้ที่เกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ ตน้ ไมท้ ่ปี ลูกบางตน้ ก็ตาย กิจกรรมการสร้างฝายและซ่อมแซมฝายชะลอนํา้ ในปีท่ีผ่านมา พบว่าฝายสามารถเก็บกักน้ํา ไว้ไดเ้ ตม็ ฝายเกอื บทกุ ฝาย ในพนื้ ทป่ี ่านิโรธชยั มขุ หลงั ดาํ เนินโครงการ 2. พ้ืนที่บริเวณหมู่บ้านผาหลัก ตําบลยอด อําเภอสองแคว จังหวัดน่าน สามเณรพลรัตน์ รักษา ได้พัฒนาปรับพื้นที่ของโยมพ่อโยมแม่ท่ีใช้พ้ืนท่ีปลูกพ้ืนเชิงเดี่ยวจากปีท่ีผ่านมา เปลี่ยนมาเป็น การปลูกพืชผสมผสาน ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง และทําฝาย ได้มีการปลูกต้นยางนา ปลูกต้นกล้วย ปลูกมะนาว และต้นขนุนอีกจํานวนหนึ่งในพื้นท่ีของตนเอง ถือได้ว่าเป็นต้นแบบท่ีดีใน การบริหารจัดการพ้ืนท่ีให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ย่ังยืนได้อีก แนวทางหนึ่ง ในกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างน้ีก็เหมือนดังว่า ได้ร่วมเรียนรู้จากสื่อการสอนที่เป็น รูปธรรมไปในตัวโดยอัตโนมตั ิ ในอนาคตอันใกล้นี้คาดว่าสามเณรนักเรียนท่ีผ่านกิจกรรมปลูกจิตสํานึก ในการอนุรักษ์ดิน นํ้า ป่าไม้ จะหันมาพัฒนาพ้ืนท่ีของตนเองอย่างเหมาะสม เพ่ือสร้างเสริมความ สมดลุ ในพน้ื ที่ของตนเองในอนาคต 3. สามเณรทีไ่ ดม้ โี อกาสรับคดั เลือกเป็นสามเณรนักเทศน์มหาชาติของโรงเรียน บางรูปได้นํา ประสบการณ์ท่ีได้เรียนรู้จากค่ายการเรียนรู้เก่ียวกับแนวทางปฏิบัติที่ดีในการอนุรักษ์ดิน นํ้า ป่าไม้ พร้อมทั้งสื่อพื้นท่ีจริงในแหล่งเรียนรู้ต้นแบบของโรงเรียน เข้าสอดแทรกในการเทศน์มหาชาติหรือ บรรยายธรรมเพ่ือเป็นการรณรงคแ์ ละขยายผลในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้ย่งั ยืนสืบไป กิตตกิ รรมประกาศ ขออนุโมทนาขอบคุณ กรรมการผู้บริหารธนาคารกสิกรไทย ผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณ โครงการปลูกฝังจิตสํานึกในการอนุรักษ์ดิน น้ํา ป่าไม้ : โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา “รักษ์ป่าน่าน ปี 2” คุณชัยยงค์ จึงวัฒนา และชาวบ้านหนองบัว ตําบลป่าคา อําเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ท่ีอนุญาตให้ใช้พ้ืนที่ในการดําเนินกิจกรรมโครงการด้วยดีเสมอมา ขอขอบคุณ สามเณร พลรัตน์ รักษา ท่ีได้ขอพื้นที่จากโยมพ่อเพื่อใช้เป็นพื้นที่ศึกษาขยายผล ขอขอบคุณชาวบ้านผาหลัก 20 นิทรรศการ    

ตําบลยอด อําเภอสองแคว จังหวัดน่าน ท่ีให้การสนับสนุนแรงงานในการสร้างฝายร่วมกับสามเณร นักเรียน ขอขอบคุณมูลนิธิพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยและพัฒนาพ้ืนท่ีสูง (องค์การมหาชน) ท่ีให้การสนับสนุนในการสร้างฝาย ตลอดจนโรงเรือนปลูกผักในโครงการน้ีด้วยทํา ใหก้ ิจกรรมการดาํ เนินงานเสร็จสมบรู ณแ์ ละมีแนวทางในการพฒั นาต่อเนอ่ื งต่อไปอยา่ งย่ังยืน กิจกรรมการเรียนร้ฐู านการเรียนรสู้ วนป่านโิ รธชัยมุข ตน้ ไผบ่ งที่เคยถูกเผาจนเตยี น พบว่ามี ฝายสามารถเก็บกักน้าํ ไว้ได้ พื้นทีน่ าขั้นบนั ไดเพอื่ การเรียนรู้ การเจรญิ เตบิ โตได้เปน็ อยา่ งดี เตม็ ฝาย เกือบทุกฝาย สามเณรนักเทศน์มหาชาติ 21 นทิ รรศการ    

อนรุ กั ษป์ ่า พฒั นาบ้านเกดิ : โรงเรียนบา้ นบ่อหยวก นางสาวศริ ิพร เขื่อนอ้น โรงเรียนบา้ นบ่อหยวก ความเป็นมา โรงเรียนบา้ นบ่อหยวก ตัง้ อยูท่ ต่ี ําบลบ่อเกลือเหนอื อําเภอบ่อเกลอื สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2 เป็นโรงเรียนในโครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพ- รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โรงเรียนต้ังอยู่ในภูมิประเทศท่ีเป็นพื้นท่ีป่าไม้และภูเขา สลับซับซ้อน เป็นแหล่งต้นกําเนิดแม่น้ําที่สําคัญคือ แม่น้ําน่านและแม่นํ้าว้า ในอดีตเป็นพ้ืนที่ท่ีมีความ อุดมสมบูรณ์และมีความหลากหลายทางธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันพ้ืนที่ป่าไม้ท่ีอยู่บริเวณโดยรอบถูก ทําลาย รวมถึงบ้านน้ําจูน บ้านห้วยป๋อ บ้านน้ําว้า บ้านน้ําแคะ บ้านห้วยขาบ บ้านบ่อหยวกกลาง บ้าน บ่อหยวกใต้ และบ้านสะเละ ซ่ึงเป็นเขตบริการของโรงเรียน โรงเรียนบ้านบ่อหยวกตระหนักในปัญหา ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรป่าไม้ จึงได้จัดทําโครงการ “อนุรักษ์ป่า พัฒนาบ้านเกิด” มีลักษณะ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์สภาพปัญหาของชุมชนตนเอง รวมท้ังหาวิธีในการแก้ปัญหา ปลูกฝังให้เยาวชนเป็นผู้นําการเปล่ียนแปลงในการฟื้นฟูและอนุรักษ์ ทรพั ยากรปา่ ไมใ้ หก้ ับชมุ ชนต่อไป ในการดําเนินงานมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้การอนุรักษ์สภาพป่า ฟื้นฟูป่าที่ถูก ทําลายและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้อย่างคุ้มค่า ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสามารถนําความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากกิจกรรมมาปรับใช้ ในชุมชนบ้านเกิดของนักเรียน โดยใช้โรงเรียนบ้านบ่อหยวก และหมู่บ้านในเขตบริการ เป็นสถานที่ ดําเนินกิจกรรมในโครงการ การดําเนินโครงการมี 4 กิจกรรมย่อย โดยแต่ละกิจกรรมเป็นกิจกรรม การเรียนรู้นอกห้องเรียนท่ีเชื่อมโยงกัน โดยใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียน และคาบบําเพ็ญประโยชน์ของ นักเรียนตลอดปีการศึกษา 2556 – 2557 โดยเน้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 การจดั กจิ กรรม การจัดกิจกรรมโครงการอนุรักษ์ป่าพัฒนาบ้านเกิด เริ่มต้นจากให้นักเรียนดูรูปภาพป่าไม้ บริเวณโรงเรียนบ้านบ่อหยวกจากอดีตถึงปัจจุบัน ให้นักเรียนสังเกตแล้ววิเคราะห์ถึงปัญหาที่ส่งผล ทําให้สภาพป่าไม้เปล่ียนแปลงไป โดยคณะครูและตัวแทนนักเรียนแต่ละหมู่บ้านในเขตบริการของ โรงเรียนศึกษาข้อมูลและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรป่าไม้ กําหนดเป้าหมายกิจกรรม วางแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สร้างจิตสํานึกความรับผิดชอบ และสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียนผ่าน กจิ กรรมการเรยี นร้นู อกหอ้ งเรียนโดยให้นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะกระบวนการจากการปฏิบัติจรงิ กิจกรรมนักสืบธรรมชาติบ้านเรา เป็นกิจกรรมท่ีนักเรียนตัวแทนแต่ละหมู่บ้านท่ีใกล้เคียง กันรวมกลุ่มระดมความคิดเกี่ยวกับปัญหาในชุมชน จัดลําดับความสําคัญของปัญหา และเสนอ 22 นทิ รรศการ    

แนวทางในการแก้ปัญหา สะท้อนปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน เช่น ปัญหาป่าไม้ถูกทําลายจากไฟป่า ปัญหาการลักลอบตัดไม้ทําลายป่า ปัญหาการบุกรุกป่าท่ีทํากิน และปัญหาการใช้ประโยชน์จากพ้ืนที่ ป่าไม่คุ้มค่า ซึ่งแต่ละปัญหาล้วนเก่ียวข้องกับทรัพยากรป่าไม้ กิจกรรมนักสืบธรรมชาติ เป็นกิจกรรม ที่ให้นักเรียนสํารวจและเห็นสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริง แล้วเกิดความตระหนักถึงปัญหา และเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับคณะครู จากปัญหาท่ีเกิดขึ้นคณะครูจึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือ แก้ไขปญั หา กิจกรรมการทําแนวกันไฟ โดยให้นักเรียนศึกษาความหมายของการทําแนวกันไฟว่าเป็น กิจกรรมที่มีความสําคัญในงานควบคุมไฟป่าท่ีมุ่งเน้นในเรื่องของการป้องกันการลุกลามของไฟ โดยท่ัวไปแล้ว นักเรียนลงมือปฏิบัติทําแนวกันไฟในพ้ืนท่ีป่าในบริเวณโรงเรียน แล้วนักเรียนสามารถ นําไปทําที่ชมุ ชนเพือ่ แก้ปัญหาไฟป่าที่เกิดขึ้น นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในการมีส่วนร่วมกับชุมชนใน การแก้ปญั หาไฟป่า กิจกรรมบวชป่า สืบเนื่องจากปัญหาการลกั ลอบตัดไม้ทําลายป่า และปัญหาการบุกรุกป่า ที่ทํากิน คณะครูได้หากิจกรรมท่ีปลูกฝังจิตสํานึก โดยอาศัยความเชื่อทางศาสนามาประยุกต์ใช้ใน การดูแลรักษาป่า ซ่ึงขั้นตอนและวิธีการบวชต้นไม้ นิยมทํากันเหมือนงานบุญทั่วไป โดยทางโรงเรียน เชิญชวนชุมชนให้มีส่วนร่วมในการทําพิธี เริ่มโดยใช้สายสิญจน์ล้อมอาณาบริเวณที่จะบวชต้นไม้ แล้ว นิมนตพ์ ระสงฆ์มาสวดมนต์ เพื่อเป็นสริ มิ งคลต่อนักเรียน ชาวบ้าน คณะครู และต้นไม้ท่ีจะทําพิธีการ บวช สามารถบวชได้ต้ังแต่ต้นไม้ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ แต่ส่วนมากจะเน้นต้นไม้ที่ขนาดใหญ่ มีความสําคัญต่อการดํารงชีพของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม แม้กระท่ังต้นไม้ในป่าที่ผ่านการ รุกทําลาย เพราะจะสามารถฟ้ืนคืนสภาพเป็นป่าสมบูรณ์ได้ในเวลาเพียงไม่กี่ปี ถ้าไม่ถูกรบกวนอีกซ่ึง กิจกรรมการบวชป่าน้ี สามารถสร้างความเชื่อให้กับนักเรียนและชุมชนว่า ผืนป่าท่ีผ่านพิธีบวช เป็น เสมือนดินแดนอันศักด์ิสิทธิ์ ไม่ว่าผู้ใดก็ไม่อาจเข้าไปทําลายได้ ทําให้ต้นไม้มีโอกาสคืนความชุ่มชื้นแก่ แผ่นดินได้เตม็ ที่ และสายนา้ํ ลาํ ธารท่ีเกดิ จากป่าต้นนา้ํ ดงั กลา่ ว ก็จะฟน้ื คนื ชวี ิตอกี ครั้งหน่งึ กิจกรรมเยาวชนปลูกป่า เป็นกิจกรรมที่คณะครูได้หากิจกรรมเพิ่มเติมเพื่อสร้างจิตสํานึก และความรับผิดชอบต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ โดยเร่ิมต้นจากทางโรงเรียนเชิญวิทยากรจาก กรมป่าไม้มาให้ความรู้เก่ียวกับชนิดพันธุ์ไม้ที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ และประโยชน์ของพันธุ์ไม้นั้น ๆ จากนั้นคณะครูพานักเรียนออกสํารวจบริเวณป่าไม้ท่ีถูกทําลายพร้อมแบ่งเขตรับผิดชอบ แล้วเลือก พันธ์ุไม้ที่เหมาะสมกับพื้นที่บริเวณน้ัน โดยขอความอนุเคราะห์พันธุ์ไม้จากกรมป่าไม้ นักเรียนและ ผู้ปกครองลงมือปลูกต้นไม้ โดยนักเรียนทําบันทึกการเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยการสังเกตขนาด ความสูง จาํ นวนใบ และบันทึกผลเดือนละคร้ัง โดยให้นักเรียนรับผิดชอบต้นไม้ที่นักเรียนปลูก พร้อม ดแู ลรกั ษา แลว้ สง่ ต่อใหก้ บั รุน่ น้องเมื่อจบการศกึ ษา กิจกรรมจัดทําแปลงสาธิตวนเกษตร สืบเน่ืองจากปัญหาการใช้ประโยชน์พื้นท่ีป่าไม่คุ้มค่า กิจกรรมที่จะทําให้นักเรียนได้เห็นถึงประโยชน์ของพ้ืนท่ีป่าอย่างคุ้มค่า โดยครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เรื่องวนเกษตร ว่าเป็นเกษตรกรรมท่ีนําเอาหลักการความยั่งยืนถาวรของระบบป่าธรรมชาติ มาเป็น แนวทางในการทําการเกษตร ให้ความสําคัญเป็นอย่างสูงกับการปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผล และไม้ใช้สอย ตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ องค์ประกอบหลกั ของไรน่ า ผสมผสานกบั การปลกู พืชชัน้ ล่างที่ไมต่ ้องการแสงแดดมาก นทิ รรศการ   23  

หรือได้อาศัยร่มเงา และความชื้นจากการท่ีมีพืชช้ันบนข้ึนปกคลุม รวมทั้งการจัดองค์ประกอบการ ผลิตทางการเกษตรให้มีความหลากหลายชนิดของพืชและสัตว์ ซ่ึงหลักการของระบบวนเกษตร หมายถึง การทําการเกษตรในพื้นท่ีป่า เช่น การปลูกพืชเกษตรแซมในพื้นท่ีป่าธรรมชาติ การนําสัตว์ ไปเลี้ยงในป่า การเก็บผลผลิตจากป่ามาใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน และการใช้พ้ืนท่ีป่าทําการเพาะปลูก ในบางช่วงเวลาสลับกับการปล่อยให้ฟ้ืนคืนสภาพกลับไปเป็นป่า รวมถึงการสร้างระบบเกษตรให้มี ลักษณะเลียนแบบระบบนิเวศป่าธรรมชาติ คือ มีไม้ยืนต้นหนาแน่นเป็นส่วนใหญ่ ทําให้ระบบมีร่มไม้ ปกคลุม และมีความชุ่มช่ืนสูง บางพื้นท่ีมีชื่อเรียกเฉพาะ ตามลักษณะความโดดเด่นของระบบนั้น ๆ การเกษตรรูปแบบน้ีส่วนใหญ่พบในชุมชนที่อยู่ใกล้ชิดกับพ้ืนที่ป่าธรรมชาติ เกษตรกรจะทําการผลิต โดยไม่ให้กระทบต่อพืน้ ที่ปา่ เดิม ดังนั้นทางคณะครูจึงใช้กิจกรรมจัดทําแปลงสาธิตวนเกษตร เพ่ือสาธิตการปลูกพืชเศรษฐกิจ แซมในพชื ป่าในโรงเรยี น พชื เศรษฐกจิ ท่เี ลือกใหน้ ักเรียนปลูก คอื ต้นกาแฟและไผ่ตง โดยปีการศึกษา 2556 ทางโรงเรียนบ้านบ่อหยวกได้ปลูกกาแฟแทรกบริเวณป่าไม้ หน้าและหลังอาคารพระราชทาน จํานวน 2 ไร่ ส่วนไผ่ตง ปลูกตามแนวร้ัวโรงเรียนเป็นระยะทางท้ังหมดประมาณ 1 กิโลเมตร นักเรียนศึกษาค้นคว้าถึงการปลูกและดูแลรักษาต้นกาแฟและไผ่ตง นอกจากการสังเกตและบันทึก การเจริญเติบโตแล้วนักเรียนสามารถบอกได้ว่าปลูกกาแฟเพื่อเก็บเมล็ดกาแฟขาย สามารถสร้าง อาชีพจากต้นกาแฟได้ ส่วนไผ่ตงท่ีปลูกเพื่อเป็นวัสดุในการประดิษฐ์เป็นเฟอร์นิเจอร์ส่งเสริมอาชีพ ให้กับนักเรียน และชุมชนในอนาคต ต่อมาในปีการศึกษา 2557 น้ีทางโรงเรียนให้นักเรียนปลูกหวาย และหญ้าแฝก พร้อมศึกษาถึงประโยชน์ของพืชที่ปลูกด้วย ดังนั้นการบันทึกการเจริญเติบโตต้อง เป็นไปอยา่ งตอ่ เนื่องโดยการถา่ ยทอดจากรนุ่ พี่สูร่ นุ่ น้อง 24 นทิ รรศการ    

นิทรรศการ   25  

ดาบตาํ รวจ วีรยุทธ วันควร โรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดนเฉลมิ ฉลองครบรอบ 100 ป ฯ ความเปน มา โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ป วันคลายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 21 ตุลาคม 2543 ต้ังอยูที่บานสะไล ตําบลบอเกลือเหนือ อําเภอบอเกลือ จังหวัดนาน เปนชุมชนชาวลัวะ พ้ืนท่ีปาไมบริเวณรอบ ๆ โรงเรียนและหมูบาน มี ปริมาณลดนอยลงและเสื่อมโทรมลงอยางตอเน่ือง เน่ืองจากมีการบุกรุกแผวถางพื้นท่ีปาเพื่อขยาย พื้นท่ีทํากิน ในชวงเดือนมกราคมถึงเมษายนของทุกป เม่ือมีการจุดไฟเผาเศษวัชพืชไรของชาวบาน ทาํ ใหเกิดปญหาไฟไหมท กุ ครง้ั สรางความเสยี หายตอ ชมุ ชนและพน้ื ท่ปี าชมุ ชน แลวยังลุกลามทําลาย ปาตนน้ําลําธารในเขตปาอนุรักษบริเวณรอบ ๆ หมูบานดวย สงผลกระทบตอคนในชุมชนเพราะยัง พึ่งพิงทรัพยากรปาไมในการดํารงชีวิต ทั้งเปนแหลงอาหาร ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค โรงเรียน ตํารวจตระเวนชายแดนเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ป ฯ ตระหนักตอปญหาดังกลาว และเปนการ ตอเนื่องกับหลักสูตรการเรียนรูอนุรักษทรัพยากรปาไม ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพ- รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีโรงเรียนดําเนินการอยู รวมท้ังสืบตอโครงการรักษปานานป 2557 จึงไดจัดกิจกรรมทําแนวกันไฟบริเวณโดยรอบปาของชุมชนที่เปนเขตบริการการศึกษาของ โรงเรยี น แนวคดิ แนวกันไฟ (Fire Brake) หมายถึง แนวกีดขวางตามธรรมชาติหรือที่มนุษยสรางขึ้นเพ่ือ หยดุ ยั้งไฟปา หรอื เพือ่ เปน แนวตรวจการณไฟ หรือเปน แนวตง้ั รับในการดับไฟปา แนวกนั ไฟโดยทัว่ ไป คือแนวที่มีการกําจัดเชื้อเพลิงที่จะทําใหเกิดไฟปาออกไป โดยอาจจะกําจัดเชื้อเพลิงออกไปท้ังหมด จนถึงช้ันดินแท (Mineral Soil) หรืออาจจะกําจัดเฉพาะเช้ือเพลิงท่ีติดไฟงาย เชน ใบไม หญา ออกไปเทาน้ันก็ได แนวคิดในการทําแนวกันไฟก็เพ่ือตัดชวงความตอเน่ืองของเชื้อเพลิง เปนการ ปองกันไมใหไฟลุกลามเขาไปในพื้นที่ท่ีจะคุมครอง หรือปองกันไมใหไฟลุกลามออกมาจากพื้นที่ ๆ กําหนด การสรางแนวกันไฟโดยทั่วไปจะประกอบดวยแนว 2 ช้ัน คือชั้นนอกเปนแนวกวางท่ีกําจัดไม พุมและไมพ้ืนลางออกจนหมด และชั้นในซึ่งเปนแนวท่ีแคบลงอยูภายในแนวแรกอีกทีหน่ึง ซึ่งจะกําจัด เชื้อเพลงิ ออกทั้งหมดจนถึงชนั้ ผวิ หนา ดิน แนวกนั ไฟสามารถสรางได 6 วธิ ี คือ 1. ใชวิธีกล เปนการใชแรงงานคนหรือเคร่ืองจักรกล สวนใหญแลวแนวกันไฟจะสรางดวย วิธีน้ี ในเขตอบอุนซึ่งเกิดไฟเรือนยอดท่ีมีความรุนแรงสูง การสรางแนวกันไฟจะตองกวาง และกําจัด ตนไมท้ังนอยใหญออกจากแนว ดังน้ันจึงจําเปนตองใชเคร่ืองจักรกลหนัก เชน รถแทรคเตอร และ รถบูลโดเซอร มาใชในการไถทําแนวกันไฟ แตสําหรับประเทศไทย ซ่ึงไฟสวนใหญเปนไฟผิวดิน 26 นิทรรศการ

ดังน้ันการทําแนวกันไฟส่วนใหญ่จึงเพียงแต่กําจัดเช้ือเพลิงบนพื้นป่าจําพวกใบไม้ กิ่งไม้แห้ง หญ้า และไม้พ้ืนล่างเล็ก ๆ ออกก็เพียงพอ ไม่จําเป็นต้องตัดไม้ยืนต้นท้ิง ดังนั้นจึงไม่จําเป็นต้องใช้ เคร่ืองจักรกลหนัก หากแต่ใช้แรงงานคนและเครื่องมือเกษตร เช่น จอบ คราด มีด หรือขวาน ซ่ึงเปน็ อปุ กรณท์ ่ีประดษิ ฐ์ขึ้นเพื่อใช้ในการทําแนวกนั ไฟโดยเฉพาะก็เพยี งพอ 2. ใช้สารเคมี ในเขตอบอุ่นมีการใช้ยากําจัดวัชพืชเพ่ือทําแนวกันไฟกันอย่างกว้างขวาง เช่น โซเดียม อเซไนท์ แตย่ ากาํ จัดวัชพืชสว่ นใหญ่มีผลตกค้างในดินและมีอันตรายต่อสัตว์ป่า นอกจากนี้ยังมี การใช้สารหนว่ งการไหมไ้ ฟ เช่น ไดแอมโมเนยี มฟอสเฟต และโมโนแอมโมเนียมฟอสเฟต โดยการฉดี พ่นสารดังกล่าวลงบนเชื้อเพลิงพวกหญ้าหรือเช้ือเพลิงเบาอื่น ๆ สารดังกล่าวจะจับตัวเป็นช้ันบาง ๆ ปกคลุมเชื้อเพลิง ทาํ ใหเ้ ชอื้ เพลิงไมต่ ิดไฟหรอื ติดไฟยากขึ้น สารหน่วงการไหม้ไฟน้ีจะคงคุณสมบัติอยู่ ตราบเท่าท่ีเชื้อเพลิงยังแห้ง แตเ่ ม่ือถึงฤดูฝนนํ้าฝนจะชะล้างสารดังกล่าวออกไป ซ่ึงอาจจะไปตกค้าง ในดินหรือชะล้างลงแหล่งน้ํา ก่อให้เกิดปัญหาดินและน้ํามีพิษตกค้างได้ ดังน้ันในช่วงทศวรรษที่ ผ่านมา จึงมีผู้พยายามคิดค้นสารหน่วงการไหม้ไฟท่ีไม่มีพิษตกค้างต่อส่ิงแวดล้อม ได้แก่ โฟมที่สกัด จากโปรตีน เช่น Class A Foam ซ่ึงเริ่มใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศอยู่ในขณะนี้ เช่น อเมรกิ า แคนาดา ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ อย่างไรกต็ ามโฟมดังกลา่ วยงั มีราคาค่อนข้างสงู อยู่ 3. ใช้พืชที่เขียวอยู่ตลอดปี โดยการปลูกพืชท่ีเขียวชอุ่มอยู่ตลอดทั้งปีเป็นแนว เรียกว่า Green Belt แนวกันไฟจากพืชน้ีจะคงประสิทธิภาพอยู่ตราบเท่าที่พืชท่ีปลูกยังคงความชุ่มช้ืนและ เขยี วขจีอยู่ พนั ธไ์ุ มท้ ี่เลือกมาปลกู ในแนวกันไฟนี้ จะต้องไมผ่ ลดั ใบในฤดูแลง้ มีความอวบนาํ้ สงู มเี รือน ยอดแนน่ ทึบปกคลุมดนิ เพ่อื ให้แสงสอ่ งถึงพนื้ ดินได้นอ้ ย ทําให้มีวัชพชื ขน้ึ น้อยตามไปดว้ ย การทาํ แนว กันไฟชนิดนี้จะได้ผลดีถ้ามีการชลประทานช่วยให้นํ้าแก่พืชท่ีปลูกอยู่ตลอดเวลา เพ่ือให้แนวกันไฟคง ความเขียวชอุ่มชุ่มชื้นอยู่เสมอ สําหรับประเทศไทยได้เคยทดลองประยุกต์ใช้วิธีน้ีมาบ้างในบางพ้ืนท่ี โดยตน้ ไมท้ นี่ าํ มาทดลองปลูก ได้แก่ สะเดาช้าง ตน้ แสยก และกลว้ ยป่า 4. ใช้การให้นํ้า วิธีนี้คล้าย ๆ กับวิธีใช้พืช เพียงแต่ไม่จําเป็นต้องปลูกพืชข้ึนใหม่หากแต่เป็น การใหน้ ํา้ แก่พืชท่ีมีอยู่แล้วตามธรรมชาติ เพ่ือให้พืชท่ีปกคลุมแนวดังกล่าวคงความเขียวชอุ่มชุ่มช้ืนอยู่ ตลอดเวลา ทั้งนี้อาจทําโดยการจัดระบบชลประทานให้มีนํ้าไหลผ่านแนวกันไฟน้ีตลอดเวลา หรือใช้ ระบบวางท่อนํ้าตามแนวกันไฟแล้วติดตั้งสปริงเกอร์สําหรับให้นํ้าเป็นช่วง ๆ หรือเจาะรูท่ีท่อน้ําเป็น ช่วง ๆ เพ่ือให้นํ้าไหลซึมออกมาหล่อเล้ียงพื้นท่ีอย่างสมํ่าเสมอ แนวกันไฟที่สร้างโดยวิธีนี้ เรียกว่า แนวกันไฟเปียก (Wet Firebreaks) ซ่ึงมปี ระสทิ ธิภาพในการยับยั้งไฟป่าได้ผลดีมาก แต่ราคาในการ ลงทุนสร้างก็สูงมากด้วยเช่นกัน ในประเทศไทยได้มีการทดลองทําแนวกันไฟเปียกดังกล่าวท่ี ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไครต้ ามพระราชดาํ ริ จงั หวดั เชียงใหม่ 5. ใช้การเผา เป็นการเผาพ้ืนท่ีเป็นแนวเพื่อกําจัดวัชพืช และเป็นการกระตุ้นการงอกของ พชื ใหม่และหญ้าสดซงึ่ ไม่ติดไฟ การทาํ แนวกนั ไฟด้วยวิธีน้ีใช้กันมานานและแพร่หลายมาก ในแทบทุก ภูมิภาคของโลก เนื่องจากเสียค่าใช้จ่ายและแรงงานน้อยที่สุด แต่ได้แนวกันไฟที่มีประสิทธิภาพสูง ในประเทศไทยเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้การเผาเพ่ือทําแนวกันไฟป้องกันบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นา หากแต่การใชว้ ิธีน้จี ะต้องมีมาตรการควบคมุ เป็นอย่างดี มิเช่นน้ันแล้วไฟอาจลกุ ลามออกไปนอกพ้ืนท่ีได้ นทิ รรศการ   27  

6. ใช้แนวธรรมชาติ ในหลาย ๆ โอกาส สามารถจะใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีมีอยู่แล้วตาม ธรรมชาติ เช่น ลําห้วย แนวผาหิน หรือที่มนุษย์สร้างข้ึน เช่น ถนน ทางรถไฟ แนวสายไฟฟ้าแรงสูง มาปรบั ปรุงและดดั แปลงใหเ้ ป็นแนวกนั ไฟได้ โดยไม่ตอ้ งสร้างแนวกันไฟขนึ้ ใหมแ่ ตอ่ ยา่ งใด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดําริเกี่ยวกับการทําแนวกันไฟ “ป่าเปียก” โดยใช้ วธิ ีการหลากหลายประกอบกนั เชน่ ทาํ ระบบปอ้ งกันไฟไหมป้ า่ โดยใช้แนวคลองส่งนํ้าและแนวพืชชนิด ต่าง ๆ ปลูกตามแนวคลองน้ี สร้างระบบการควบคุมไฟป่าด้วยแนวป้องกันไฟป่าเปียกโดยอาศัย น้ําชลประทานและนํ้าฝน โดยการปลูกต้นไมโ้ ตเรว็ คลมุ แนวรอ่ งนา้ํ เพื่อใหค้ วามชุม่ ช้นื ค่อย ๆ ทวีขึ้นและแผ่ขยายออกไป ท้งั สองรอ่ งน้าํ ซงึ่ จะทําใหต้ น้ ไมง้ อกงามและมสี ่วนชว่ ยป้องกนั ไฟป่า เพราะไฟปา่ จะเกิดข้ึนง่ายหากป่า ขาดความชุ่มชื้น การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น หรือท่ีเรียกว่า Check Dam ขึ้นเพื่อปิดก้ันร่องน้ํา หรือลําธารขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ เพ่ือใช้เก็บกักนํ้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้ําท่ีเก็บไว้จะซึมเข้า ไปสะสมในดินทําให้ความชุ่มช้ืนแผ่ขยายเข้าไปทั้งสองด้านจนกลายเป็น “ป่าเปียก” การสูบน้ําเข้าไป ในระดับท่ีสูงที่สุดเท่าท่ีจะทําได้แล้วปล่อยนํ้าลงมาทีละน้อยให้ค่อย ๆ ไหลซึมดินเพื่อช่วยเสริมการ ปลูกปา่ บนพน้ื ท่ีสงู ในรูป “ภูเขาป่า” ให้กลายเป็น “ป่าเปียก” ซึ่งสามารถป้องกันไฟป่าได้อีกด้วย การ ปลูกต้นกล้วยในพ้ืนที่ ๆ กําหนดใหเ้ ป็นชอ่ งว่างของปา่ ประมาณ 2 เมตร หากเกิดไฟไหมป้ ่ากจ็ ะปะทะ ต้นกล้วยซึ่งอุ้มนํ้าไว้ได้มากกว่าพืชอ่ืน ทําให้ลดการสูญเสียนํ้าลงไปได้มาก แนวพระราชดําริ “ป่าเปียก” จึงนับเป็นแนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้โดยใช้ความชุ่มช้ืนเป็นหลักสําคัญที่จะช่วยให้ป่า มีความชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา ไฟป่าจึงเกิดได้ยาก การฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีป่าไม้สามารถทําได้ง่ายและได้ผลดี ยิ่งขึ้น แผนการดําเนินงาน เดิมชุมชนบ้านสะไล ชาวบา้ นไดม้ แี นวกันไฟเดมิ อยู่บา้ งแลว้ โดยมีจดุ ประสงค์เป็นการป้องกัน ไฟไม่ให้ไหม้ขยายเข้ามาในชุมชน ซ่ึงจะมีการเผาพื้นท่ีเพื่อทําการปลูกข้าวไร่เป็นประจําทุกปี ใน ระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคม จนทําให้บ้านเรือนเสียหาย เพื่อเป็นการป้องกันไฟป่าเข้าทําลาย พ้ืนท่ีต้นนํ้าและฟ้ืนฟูป่าไม้ของชุมชน โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี ฯ จึงได้ประชุมหารือกับผู้นําชุมชน เพื่อวางแผนการดําเนินงานในช่วงปีที่ผ่านมา ครอบคลุมพื้นที่บ้าน สะไลหลวง บา้ นสะไลนอ้ ย และบา้ นหว้ ยลึก โดยกาํ หนดแนวทางการดาํ เนนิ งานกว้าง ๆ ไวด้ ังน้ี ปีแรก ดําเนินการปรับปรุงซ่อมแซมแนวกันไฟเดิมที่ชุมชนทําไว้ให้ถูกหลักวิชาการ และขยาย พื้นที่ให้เชื่อมโยงกันทั้ง 3 หมู่บ้าน ป้องกันไฟไม่ให้เข้าไปในพื้นที่ป่าต้นนํ้าได้ ทั้งน้ีในปีแรกน้ีจะใช้ วิธีการแผ้วถางใบไมแ้ ห้ง กิง่ ไม้ ต้นไมเ้ ลก็ ท่จี ะเปน็ เชือ้ เพลิงออก รวมท้งั ขยายแนวให้กว้าง 2 - 3 เมตร ปีต่อ ๆ ไป เป็นการสํารวจศึกษาพื้นท่ี เพื่อวางแผนนําพระราชดําริพระบาทสมเด็จพระ- เจา้ อย่หู ัว มาประยุกตท์ ํา “ปา่ เปียก” ในพ้ืนท่ี ซ่งึ จะทยอยดาํ เนินการต่อเน่ืองตามศักยภาพของชุมชน และโรงเรียน โดยจะนําวิธีการท้ังฝายชะลอความชุ่มช้ืน ทําร่องน้ํา การปลูกไม้โตเร็ว รวมท้ังการ ปลกู ต้นกล้วย มาประยุกต์ใชต้ ามความเหมาะสมของพื้นที่ตอ่ ไป 28 นิทรรศการ    

การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี ฯ จัดกระบวนการเรียนรู้ อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ให้แก่นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เป็นเวลารวม 40 ช่ัวโมง ใน กลุม่ สาระการเรียนรู้เพิม่ เตมิ เพอ่ื เปน็ การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลูกจิตสาํ นึกในการอนรุ กั ษ์ ป่าไม้ ซ่ึงประกอบไปด้วยกิจกรรมการเรียนรู้หลัก 10 เร่ือง ได้แก่ ป่าไม้สําคัญไฉน ป่าไม้บ้านเรา สายใยสายสัมพันธ์ กว่าจะมาเป็นป่าใหญ่ เม่ือโลกน้ีไม่มีป่าไม้ ภูมิปัญญาอนุรักษ์ป่า สร้างสรรค์งาน ศลิ ปจ์ ากปา่ ป่านค้ี อื ละคร เรารกั ทรพั ยากร และร่วมแรง ร่วมใจ จติ อาสารกั ษป์ ่า ซึ่งในหัวข้อ ร่วมแรง ร่วมใจ จิตอาสารักษ์ป่าน้ันมีจุดประสงค์ให้นักเรียนนําความรู้ที่ได้รับ มาปฏิบัติจริง ในการทํากิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ของชุมชน โดยให้นักเรียนท้ังโรงเรียนมา ร่วมกันจัดกิจกรรมการทําแนวกันไฟ และจะดําเนินการต่อเนื่องไปเป็นประจําทุกปี ทั้งน้ีโรงเรียนได้ สร้างกระบวนการเพ่อื ใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นรู้ ดังนี้ 1. การสร้างความตระหนัก (Awareness) โดยการก่อนทํากิจกรรมให้นักเรียนได้ระดม ความคิดร่วมกันว่าปัญหาความเสื่อมโทรมของพ้ืนท่ีป่าบ้านสะไล มีปัญหามาจากอะไร และส่งผล กระทบอย่างไรตอ่ ชุมชน ครัวเรอื น และตัวนกั เรยี นเอง ซึง่ นกั เรียนสว่ นใหญส่ ามารถตอบได้ว่า ไฟป่า เป็นส่วนสําคัญ ทําให้เกิดหมอกควัน ทําลายต้นนํ้า ขาดน้ํา ทําลายสัตว์เล็ก ๆ ที่อยู่ในป่า รวมทั้ง แหล่งอาหารดว้ ย 2. การสร้างความรู้ (Knowledge) โดยการมอบหมายให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีเรียนตามคู่มือการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เป็นผู้นําเสนอถึงวิธีการป้องกันไฟป่า ซึ่งนักเรียนจะ ค้นคว้าจากเอกสารในห้องสมุด เอกสารของหน่วยราชการ และจากอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีอยู่หลาย แนวทาง โดยครูพยายามสรุปให้ได้ว่าการทําแนวกันไฟท่ีถูกวิธี เป็นความเร่งด่วนของชุมชน ท่ีทุกคน ต้องช่วยกันทํา และคอยสอดส่องดูแล พร้อมทั้งช้ีแจงแผนการทําแนวกันไฟของชุมชนในพื้นท่ี ปฏิบตั งิ านจรงิ ๆ ให้นักเรียนได้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจดว้ ย 3. การสร้างทักษะ (Skill) โดยการให้นักเรียนร่วมกันคิดก่อนว่าอุปกรณ์ท่ีจําเป็นในการทํา แนวกันไฟ มีอะไร วิธีใช้อย่างไร รวมท้ังเชิญเจ้าหน้าท่ีป่าไม้มาสาธิตและให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการทํา แนวกันไฟ การดับไฟเมื่อเกิดไฟป่าด้วย หลังจากนั้นครูได้มอบหมายนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 5 - 10 คน รับผิดชอบพ้ืนที่ทําแนวกันไฟป่ารอบ ๆ โรงเรียน ร่วมกับชุมชน ซ่ึงใช้เวลา 1 วัน โดยครูทั้ง โรงเรียนต้องช่วยกนั ดเู ด็กและลงมอื ปฏบิ ตั ิไปพร้อมกบั นกั เรยี น การติดตามและประเมินผล ภายหลังจากเสร็จงานครูจะให้ผู้แทนนักเรียนมานําเสนอผลการ ดําเนินงานของกลุ่มตนเอง ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ รวมทั้งแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น นอกจากนี้ ครูได้มอบหมายให้นักเรียนช่วยกันเฝ้าระวังไฟป่า และให้แนวปฏิบัติเม่ือนักเรียนพบไฟป่า จะต้องทําอย่างไรบ้าง เช่น ต้องแจ้งครูหรืออาสาสมัครป้องกันไฟป่าของชุมชน เป็นลําดับแรก บทบาทของนกั เรียนในการสนบั สนุนการดบั ไฟปา่ รวมท้งั การปอ้ งกันอบุ ตั ิภัยที่อาจเกดิ ขึน้ ได้ นิทรรศการ   29  

ผลการดําเนนิ งาน ในปแี รกนี้ ไดม้ ีการทาํ แนวกันไฟ ในเขตหมู่บ้าน ปา่ ชุมชน และโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน ฉลองครบรอบ 100 ปี ฯ ทั้งหมด 4 แห่ง รวมความยาวประมาณ 6,000 เมตร โดยมีแนวกันไฟ กว้าง 4 – 6 เมตร ดังน้ี บ้านสะไลหลวง ยาว 3,000 เมตร บ้านสะไลน้อย ยาว 1,000 เมตร บ้าน หว้ ยลกึ ยาว 1,200 เมตร และโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนเฉลองครบรอบ 100 ปี ฯ ยาว 800 เมตร นอกจากน้ี ชุมชนและนักเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น โดยได้ช่วยกันทําแนวป้องกัน ไฟป่าในพื้นที่ป่าชุมชน และท่ีอยู่อาศัยของชาวบ้านให้ปลอดภัยแล้ว รวมทั้งดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ของป่าไม้ มีการกําหนดเขตป่าชุมชนของหมู่บ้าน มีกฎระเบียบร่วมกันในการดูแลรักษาป่า และ ตงั้ คณะกรรมการรกั ษาปา่ ชมุ ชนขน้ึ มาด้วย ปัญหาและอุปสรรค 1. เก่ียวกับการทําแนวกันไฟ เนื่องจากในสภาพพื้นท่ีจริงมีความหลากหลายแตกต่างกัน ทําให้การทําแนวกันไฟต้องมีขนาดที่แตกต่างกันไปด้วย ทําให้ต้องใช้แรงงานมาก ชาวบ้านและ นักเรียนทําไม่ไหว จึงไม่ได้ทําตามหลักวิชาการ เพราะถ้าทําให้ถูกต้อง ๆ ใช้เวลาหลายวัน ชาวบ้าน ไมม่ ีเวลา และนักเรยี นต้องเรียนหนังสือ ท้ังนี้มีประเดน็ ในการทําแนวกันไฟท่สี าํ คัญคอื  ลักษณะของเชื้อเพลงิ สภาพภูมิประเทศ ตลอดจนลกั ษณะอากาศโดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ทิศทาง และความรุนแรงของลมในพ้ืนท่ี ในป่าเต็งรังท่ีมีไฟไหม้ทุกปี แนวกันไฟกว้างเพียง 2 - 3 เมตร กอ็ าจเพียงพอ แตใ่ นป่าไผ่หรือทุ่งหญา้ แนวกนั ไฟจะต้องกวา้ งกว่าน้นั มาก  แนวกันไฟในพนื้ ท่ลี าดชัน ตอ้ งกวา้ งกว่าแนวกนั ไฟในพืน้ ที่ราบ  ถา้ ปริมาณและความหนาของชนั้ เชื้อเพลงิ ยง่ิ มาก แนวกนั ไฟกต็ อ้ งยิ่งกว้างมาก  ในพื้นท่ีโล่ง มีลมแรง แนวกันไฟจะต้องทํากว้างมาก เพื่อป้องกันการปลิวของลูกไฟ และการพาความร้อน โดยลมขา้ มแนวกนั ไฟ  การทําแนวกันไฟในที่ลาดชัน จะต้องขุดร่องตลอดขอบแนวกันไฟด้านล่าง เพ่ือดัก ไมใ่ หเ้ ชอ้ื เพลงิ จําพวกขอนไมต้ ดิ ไฟกลิง้ ลงมาตามความลาดชัน สามารถกล้ิงผ่านแนวกนั ไฟไปได้  หากสภาพภูมปิ ระเทศอาํ นวย ให้ทาํ แนวกนั ไฟใหต้ รงท่ีสุดเทา่ ท่ีจะทาํ ได้ เพ่ือใหค้ วาม ยาวของแนวกนั ไฟสนั้ ทีส่ ุด ทง้ั นเ้ี พอื่ ประหยดั เวลาและงบประมาณ  จุดเร่ิมต้นและจุดสิ้นสุดของแนวกันไฟจะต้องชนกับแนวใด ๆ ท่ีทําหน้าท่ีเป็นแนว กันไฟด้วย เช่น เริ่มต้นทําแนวกันไฟจากขอบถนน โดยให้แนวกันไฟต้ังฉากกับแนวถนน และไปสิ้นสุด แนวกันไฟที่ริมห้วย ในลักษณะเช่นนี้ ไฟท่ีไหม้เข้ามาหาแนวกันไฟจะไม่สามารถไหม้อ้อมแนวออก ทางซา้ ยหรอื ขวาได้ เนอ่ื งจากติดแนวถนนและแนวหว้ ย  เช้ือเพลิงที่กําจัดออกจากแนวกันไฟ สามารถนํามารวมกองเป็นแนวตรงกลางแนว กนั ไฟแล้วเผาท้ิงหรือนําออกไปทิ้งท่อี น่ื กรณีท่ีต้องทิ้งเชื้อเพลิงเอาไว้ในพ้ืนท่ี จะต้องไม่ท้ิงเชื้อเพลิงไว้ ท่ีขอบแนวกันไฟทางด้านท่ีคาดว่าไฟจะลามเข้ามา มิเช่นน้ันเม่ือไฟลามเข้ามาใกล้ขอบแนวดังกล่าว 30 นิทรรศการ    

ซ่ึงมีเชื้อเพลิงอยู่เป็นจํานวนมาก จะทําให้ไฟเพ่ิมความรุนแรงข้ึนกว่าเดิมจนสามารถลุกลามข้ามแนว กันไฟไปได้ 2. เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียน การทําให้นักเรียนเข้าใจสาเหตุ และการป้องกัน ไฟป่าน้นั จาํ เปน็ ต้องอาศยั ความรูห้ ลากหลายสาขา ท้ังด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ เช่ือมโยงกัน รวมท้ังทักษะในการอ่านแสวงหาความรู้เพ่ิมเติม ซ่ึงนักเรียนส่วนใหญ่อ่านหนังสือช้า ทําให้เสียเวลา ในการศึกษาค้นคว้ามาก การสรุป และจับใจความสําคัญ ยังเป็นข้อจํากัดในการจัดกิจกรรม นอกจากนี้ นักเรียนมีอายุ วัย ท่ีแตกต่างกัน ควรมีการจัดกิจกรรมและการใช้เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม เพียงพอตอ่ นกั เรียนด้วย ข้อเสนอแนะ นอกจากการทําแนวป้องกันไฟป่าแล้ว ยังควรจัดสร้างหอดูไฟ มีอาสาสมัครป้องกันไฟป่า มากขึน้ เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการป้องกนั ไฟปา่ และการตรวจปา่ โดยชาวบ้าน เป็นการเฝ้าระวังไฟ ป่าของชุมชน และผู้บุกรุกที่มาลักลอบตัดต้นไม้ในป่า มีการจัดตั้งกองทุนค่าใช้จ่ายในการจัดการป่า ชุมชนของหมบู่ ้าน เช่น ค่าอาหารในการเขา้ ไปทาํ แนวกนั ไฟซึง่ ต้องใช้เวลาทั้งวันและค่าอุปกรณ์ในการ ดําเนนิ การ รวมท้งั การจัดอบรมเพม่ิ พนู ความรู้และปลูกจติ สํานกึ ของชมุ ชนอย่างสม่ําเสมอ เอกสารอ้างองิ www.dnp.go.th/forestfire www.forest.go.th/ www.lampang.go.th/db_lap/km/54/ นทิ รรศการ   31  

สบิ ตาํ รวจเอกชมุ พล ยอดออน โรงเรยี นตาํ รวจตระเวนชายแดนพรี ะยานุเคราะห 3 ความเปนมา โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห 3 ตั้งอยูที่บานสวาง ตําบลหนองแดง อําเภอแมจ รมิ จงั หวดั นาน เปนชุมชนชาวลวั ะ ที่อพยพมาจากบานสบมาง (บอ เกลอื ใต) อาํ เภอบอ เกลือ แตเดิมวิถีชีวิตของกลุมชาติพันธุลัวะอยูในปาทึบมีวิถีชีวิตท่ีเรียบงาย ทําไร ทําสวน ทํานา มีความ ผูกพันอยูกับธรรมชาติ จึงทําใหกลุมชาติพันธุลัวะมีความเช่ือในเรื่องการนับถือผี เชน ผีใสไรใสสวน ผีตนน้ํา ผีปา นับถือพระศาสนาพุทธ มีสํานักสงฆบานสวางเปนวัดประจําหมูบาน ในปจจุบันพ้ืนท่ี ดังกลาวมีการบุกรุกทําไรขาวโพด ทําใหพ้ืนท่ีปาของชุมชนเส่ือมโทรม ปริมาณน้ําในลําหวยใกล โรงเรียนลดนอยลง ในปการศึกษา 2556 โรงเรียนเขารวมประชุมสัมมนารักษปานาน พรอมทั้งได รวมนําเสนอแนวปฏิบัติที่ดีเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษปาไม หลังจากน้ันโรงเรียนไดดําเนิน กิจกรรมการอนุรักษปาอยางตอเนื่อง ท้ังหลักสูตรการเรียนรูอนุรักษทรัพยากรปาไม ตาม พระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือสืบตอโครงการรักษปานาน ในปการศึกษา 2557 โรงเรียนรวมกับชุมชนบานสวางไดจัดกิจกรรมทํา “ฝายชะลอนํ้า” บริเวณ โดยรอบปาของชมุ ชนทอ่ี ยูใกลก บั บริเวณโรงเรยี น แนวคิด ฝาย (Check Dam) เปนโครงสรางทางชลประทานมีลักษณะเปนเข่ือนนํ้าลนใชสําหรับการ เปลีย่ นขนาดและรูปแบบการไหลของแมน ํ้า ประโยชนของฝายมักจะถูกใชในการปองกันนํ้าทวม เก็บนํ้า บริเวณตนน้ํา และบริหารทรัพยากรนํ้า เม่ือน้ําบริเวณตนน้ํามีปริมาณความสูงนอยกวาความสูงของ ฝาย นํ้าจะถูกกักเก็บไว แตเม่ือระดับน้ําเพิ่มสูงขึ้น นํ้าจะไหลขามฝายไปยังทายนํ้า นอกจากนี้ยังมี ฝายในลกั ษณะทีเ่ ปน ภมู ิปญญาทองถ่ินเรียกวา “ฝายแมว” มีวัตถุประสงคในการทดน้ําหรือเก็บกักนํ้า มาทําเกษตรกรรมหรือใชส อยบนพื้นท่ีตนนา้ํ ฝายแมวหรือฝายชะลอความชุมชื้น เปนสิ่งกอสรางขวางหรือกั้นทางนํ้า ซึ่งปกติมักจะกั้น ลําหวย ลําธารขนาดเล็กในบริเวณที่เปนตนน้ํา หรือพ้ืนท่ี ๆ มีความลาดชันสูงใหสามารถเก็บกักน้ํา อยูได โดยท่ัวไปชาวบานจะใชกักเก็บนํ้าไวเปนแหลงนํ้าสําหรับการอุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม ของชมุ ชน พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัวมีพระราชดาํ ริ ใหน ําหลกั การของฝายแมว มาเปนเครื่องมือ ในการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติบนพ้ืนท่ีสูง ท้ังดิน น้ํา และปาไม เพราะในชวงที่นํ้าไหลแรง ฝายก็สามารถชะลอการไหลของนํ้าใหชาลง นอกจากน้ีฝายยังสามารถกักเก็บตะกอนไมใหไหลลงไป ทับถมลาํ นา้ํ ตอนลา งดวย ซ่ึงเปน วธิ กี ารอนุรักษดินและนา้ํ ทด่ี ีวิธกี ารหนึง่ สามารถลดความรุนแรงของ กระแสน้ําในลําหวยในชวงฤดูฝนท่ีมีปริมาณฝนตกหนัก ชวยลดการพังทลายของดิน สวนในชวง 32 นิทรรศการ

ฤดูแล้ง ฝายจะช่วยชะลอการไหลของนํ้า ทําให้นํ้าค่อย ๆ ไหล คงความชุ่มช้ืนให้คงอยู่นานข้ึน เป็น ประโยชนต์ อ่ พืชพันธ์ุ แมลง และสตั ว์ปา่ ที่อาศยั อยูใ่ นปา่ ไดอ้ าศัยความชุ่มชนื้ ดว้ ย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชดํารัสเม่ือวันท่ี 1 มีนาคม 2521 ณ อําเภอแม่ลา น้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนว่า “ให้พิจารณาดําเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุราคาถูก และหาง่ายในท้องถิ่น เช่น แบบหินท้ิงคลุมด้วยตาข่าย ปิดก้ันร่องน้ํากับลําธารขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ เพื่อใช้เก็บกักน้ําและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน้ําที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินทําให้ความชุ่มชื้น แผ่ขยายออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ป้องกันไฟ พันธ์ุไม้โตเร็ว และพันธ์ุไม้ไม่ท้ิงใบ เพ่ือฟื้นฟูพ้ืนท่ีต้นนํ้าลําธารให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้น เป็นลําดับ...” และ “ให้ดําเนินการสํารวจหาทําเล สร้างฝายต้นนํ้าลําธารในระดับท่ีสูง ท่ีใกล้บริเวณยอดเขามากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ลักษณะของ ฝายดังกล่าวจําเป็นจะต้องออกแบบใหม่ เพ่ือให้สามารถเก็บกักน้ําไว้ได้ ปริมาณนํ้าหล่อเล้ียงและ ประคับประคองกล้าไม้พันธ์ุที่แข็งแรงและโตเร็วท่ีใช้ปลูกแซมในป่าแห้งแล้งอย่างสมํ่าเสมอต่อเน่ือง โดยการจ่ายน้ําออกไปรอบ ๆ ตัวฝายจนสามารถต้ังตัวได้...” ต่อมาในวันที่ 11 มีนาคม 2532 ได้มี พระราชดาํ รเิ พิ่มเติม ณ ดอยอ่างขาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ว่า “…สําหรับต้นนํ้า ไม้ท่ีข้ึนอยู่ ในบริเวณสองข้างลําห้วยจําเป็นต้องรักษาไว้ให้ดี เพราะจะช่วยเก็บรักษาความชุ่มชื้นไว้ ส่วนตาม ร่องน้ํา และบริเวณที่นํ้าซับ ก็ควรสร้างฝายขนาดเล็กก้ันน้ําไว้ในลักษณะฝายชุ่มช้ืน แม้จะมีจํานวน น้อยก็ตาม สําหรับแหล่งน้ําที่มีปริมาณนํ้ามาก จึงสร้างฝายเพ่ือผันนํ้าลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก...” และ “…ควรสร้างฝายตน้ นาํ้ ลําธาร ตามร่องน้ําเพ่ือช่วยชะลอกระแสน้ําและเก็บกักนํ้า สําหรับสร้าง ความชมุ่ ชื้นให้กับบรเิ วณตน้ นาํ้ …” ตอ่ มาส่วนราชการ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้นําพระราชดําริเกี่ยวกับฝายชะลอความชุ่มช้ืนเป็นแนวทางหลักในการฟ้ืนฟูอนุรักษ์ พื้นท่ีป่าไม้ของประเทศ โดยมีการส่งเสริมให้มีการทําฝายในลักษณะต่าง ๆ กัน ตามความแตกต่าง ของภมู ิประเทศและวิธีการก่อสรา้ ง ดงั น้ี แบบท่ี 1 ฝายแบบผสมผสานหรือแบบท้องถิ่น เป็นฝายอย่างง่ายท่ีสร้างข้ึนเพ่ือขวาง ทางเดินของนํา้ ในลาํ ธารหรือร่องน้ํา โดยอาศัยรปู แบบของฝายแมว้ ตามแนวพระราชดาํ ริ ทใ่ี ชว้ สั ดหุ า ง่ายในท้องถิ่นมาพัฒนาใช้ อายุของการใช้งานของฝายต้นน้ําแบบน้ี ข้ึนอยู่กับวัสดุท่ีใช้เป็นสําคัญ โดยทั่วไปมีอายุการใช้งานประมาณ 3 – 5 ปี เป็นโครงสร้างที่สามารถทําได้อย่างรวดเร็ว ใช้วัสดุท่ี มอี ยู่ในทอ้ งที่ ได้แก่ กง่ิ ไม้ ใบไม้ เสาไม้ กอ้ นหนิ กระสอบทรายผสมซีเมนต์ หรือวัสดุท่ีคล้ายคลึงกัน โครงสร้างมาตรฐาน คือ ความสูงฝายประมาณ 0.6 – 1 เมตร ฐานฝายกว้างประมาณ 3 – 4 เท่า ของความสูง อาจมีชื่อเรียกตามวัสดุที่ใช้หรือลักษณะที่สร้าง เช่น ฝายผสมผสานแบบไม้ไผ่ ฝาย ผสมผสานแบบคอกหมู ฝายผสมผสานแบบกระสอบ ฝายผสมผสานแบบหนิ ท้งิ ฝายผสมผสานแบบ กลอ่ งลวดตาข่าย เปน็ ตน้ แบบที่ 2 ฝายแบบก่ึงถาวร ซึ่งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ได้กําหนดไว้ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ขนาดไม่เกิน 3 เมตร สร้างท่ีลําธารกว้างไม่เกิน 3 เมตร และแบบท่ี 2 ขนาด ไม่เกิน 5 เมตร สร้างท่ีลําธารกว้างกว่า 3 เมตร แต่ไม่เกิน 5 เมตร ลักษณะเป็นฝายที่สร้างด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก หรือก่ออิฐถือปูน เป็นการพัฒนารูปแบบให้มีความแข็งแรง เหมาะสมกับขนาด ของลําธารท่ีมีปริมาณนํ้าไหลมารวมตัวกันมากข้ึน ลดหล่ันมาจากฝายผสมผสาน ควรสร้างบริเวณ นทิ รรศการ   33  

ตอนล่างของลําธารหรือร่องน้ํา ซ่ึงจะสามารถดักตะกอนขนาดเล็กและตะกอนแขวนลอยได้ และเก็บ กักนํ้าไดบ้ างสว่ น มีแบบแปลนมาตรฐานในการก่อสรา้ ง แบบท่ี 3 ฝายแบบถาวร ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดไม่เกิน 5 เมตร สร้างท่ี ลําธารกว้างไม่เกิน 5 เมตร เน่ืองมาจากขนาดของลําธารกว้างข้ึน และปริมาณน้ําที่ไหลมากและ รุนแรงข้ึนเป็นลําดับ จึงพัฒนารูปแบบฝายให้มีความแข็งแรงมากขึ้น เพ่ือให้สามารถชะลอความ รนุ แรงและเก็บกกั นํ้าได้ปริมาณมากและนานข้ึน โดยสามารถดักตะกอนแขวนลอย และเป็นแหล่งเก็บ กกั นา้ํ ใชข้ องชมุ ชนได้อกี ทางหน่ึงดว้ ย มแี บบแปลนมาตรฐานในการก่อสรา้ ง ขอ้ พจิ ารณาในการก่อสร้างฝาย ขึ้นอยู่กบั เง่อื นไขหลายประการ ไดแ้ ก่ 1. ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น เพื่อกักเก็บตะกอน โดยพื้นที่ ๆ ต้องการสร้างฝาย มีการชะล้างพังทลายของดินสูง เช่น มีการทําการเกษตร หรือเกิดไฟป่าซํ้าซาก ควรจะสร้างฝาย แบบผสมผสาน เป็นต้น ถ้าต้องการชะลอการไหลของน้ํา ลดความรุนแรงของการกัดเซาะริมตลิ่ง มิให้ร่องนํ้าขยายกว้างข้ึน ควรสร้างฝายแบบหินทิ้งหรือแบบกึ่งถาวร เน้นแบบที่มีความทนทานต่อ กระแสน้ํา ถ้าต้องการกักเก็บน้ําหรือยกระดับน้ํา ต้องการนํานํ้าไปใช้ประโยชน์ท้ังเพื่อการอุปโภค บริโภค การเกษตร ควรพจิ ารณาสร้างฝายแบบกึ่งถาวร หรอื แบบถาวร หรอื แบบภูมิปัญญาชาวบ้าน เปน็ ต้น 2. ตามขนาดของลํานํ้า ได้แก่ ร่องนํ้าไหลมีขนาดเล็ก กว้างไม่เกิน 3 เมตร เป็นห้วยแห้งใน ฤดูแล้ง ควรสร้างฝายแบบผสมผสาน เน้นการกักตะกอนและชะลอการไหล เป็นต้น ถ้าลํานํ้ามีขนาด เล็ก มีน้ําไหลหรือนํ้าซับ กว้างประมาณ 3 – 5 เมตร ควรสร้างฝายแบบกึ่งถาวร ที่เน้นการใช้ ประโยชน์จากน้ําด้วยบ้าง ถ้าลําธารมีขนาดใหญ่และกว้างข้ึน มีปริมาณน้ํามากขึ้น ต้องเน้นให้เกิด ความแข็งแรง ทนทาน ตอ่ พลงั งานการไหลของนํ้า ควรสร้างฝายแบบถาวร 3. ตามลักษณะภูมิประเทศ ถ้าพื้นท่ีมีความลาดชันสูง ความถ่ีของฝายจะมากขึ้น หรือ ระยะห่างของฝายสั้นลง นอกจากนี้ทิศด้านลาด โดยเฉพาะด้านใต้ และตะวันตก ชนิดป่า พืชพรรณ ดิน และความชื้น มคี วามแตกตา่ งจากทิศดา้ นลาด ด้านเหนอื และตะวนั ออก 4. ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ถ้ามีการทําเกษตรกรรม เกิดการชะล้างพังทลายของ ดินสูง มตี ะกอนถกู พัดพาส่ลู าํ หว้ ย การกอ่ สรา้ งฝายในบริเวณเหลา่ นี้ จะให้ความสําคัญไว้ในระดบั สูง ต้องเน้นทั้งความทนทาน ความถี่สูง เพื่อให้เพียงพอต่อการกักตะกอนท่ีจะเกิดข้ึน และชะลอการไหล ของนํ้ามิให้ร่องนํ้าขนาดเล็กขยายกว้างข้ึน บางแห่งต้องสร้างฝายถาวรเพ่ือกักเก็บนํ้าเพื่อการเกษตร บ้างตามความต้องการของชาวบ้าน ในพื้นท่ีป่าเส่ือมโทรม เกิดไฟป่าซํ้าซาก ต้องเน้นท้ังการกัก ตะกอน ชะลอการไหลของนํ้า เพ่ือให้เกิดความชุ่มชื้น ให้ป่าฟื้นตัวโดยเร็ว จัดลําดับความสําคัญของ พ้ืนที่ไว้ในระดับรองลงมา และในพ้ืนที่ป่าสมบูรณ์ สามารถชะลอนํ้าได้ด้วยตัวเองอยู่บ้างแล้ว จึงไม่ จําเป็นต้องสร้างฝายเพื่อกักตะกอน และชะลอการไหลของน้ําในพื้นที่เหล่าน้ี แต่ต้องป้องกันรักษาให้ คงความยัง่ ยนื เอาไว้ 34 นิทรรศการ    

แผนการดําเนินงาน ชุมชนบ้านสว่างตั้งอยู่ในหุบเขาห่างไกลออกไปทางตะวันออกใกล้ชายแดนไทย – ลาว พื้นท่ี โดยรอบเป็นเทือกเขาสูง มีพ้ืนที่ป่าเหลืออยู่พอสมควร แต่มีการบุกรุกเพื่อใช้ในการเกษตรเพิ่มขึ้น มี การทําไร่ข้าวโพดตามที่ลาดเชิงเขาอยู่ท่ัวไป ในอดีตยังไม่มีการเกิดดินถล่ม จนทําให้เกิดความ เสยี หายแกป่ ระชาชนในพืน้ ท่ี พบิ ตั ภิ ัยทเ่ี กิดขึน้ ในพื้นที่เป็นประจาํ ได้แก่น้ําป่าไหลหลาก เนื่องจากห้วย นา้ํ ปายและน้ําสาขามีความลาดชันค่อนข้างมาก ประกอบกับถ้ามีปริมาณนํ้ามากในฤดูฝน พื้นท่ีริมน้ํา จะถูกน้ําท่วมเป็นประจํา ส่วนใหญ่จะทําให้เกิดความเสียหายแก่พื้นท่ีการเกษตรเป็นหลัก บ้านเรือน ประชาชนส่วนใหญ่จะต้ังอยู่บนที่สูงกว่าระดับที่ราบนํ้าท่วมถึง จึงไม่ค่อยได้รับความเสียหาย จาก การศึกษาของกรมทรัพยากรธรณี พบว่าในตําบลหนองแดงหมู่บ้านสว่าง จัดอยู่ในพ้ืนที่เสี่ยงภัยดิน ถลม่ และน้ําป่าไหลหลาก เนื่องจากหมู่บ้านต้ังบ้านเรือนอยู่ในหุบเขาแคบ รูปตัววี ที่มีความลาดชันสงู หากมีฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันอาจทําให้เกิดดินถล่มและน้ําป่าไหลหลากในบริเวณที่ต้ังของ บ้านเรอื นของประชาชนได้ โรงเรียนและชุมชนตระหนักว่าอาจจะเกิดภัยพิบัติขึ้นในอนาคตท้ังจากน้ําท่วม ดินถล่ม รวมทงั้ การขาดน้ําสําหรับการอุปโภคบริโภค จึงได้ปรึกษากับผู้นําชุมชนจัดทําเป็นโครงการฟื้นฟูพ้ืนที่ ปา่ ไมใ้ หค้ ืนความสมบรู ณ์ขึ้น ทั้งนีบ้ ริเวณป่ารอบโรงเรียนมีรอ่ งนํ้าเล็ก ๆ ความลกึ ของนา้ํ ประมาณ 10 – 20 เซนตเิ มตร กวา้ งประมาณ 1 เมตร และน้าํ จะแหง้ ในชว่ งเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ส่งผล ให้พื้นที่สองข้างฝั่งน้ําแห้งแล้ง ต้นไม้ไม่เจริญเติบโต พืชท่ีขึ้นสองฝ่ังจะเป็นป่าหญ้าตองก๋ง ต้นแขม เป็นต้น และมีต้นไม้อ่ืน ๆ เพียงเล็กน้อย ถ้ามีการก่อสร้างฝายชะลอนํ้าให้พื้นท่ีรอบ ๆ มีความชุ่มช้ืน ขึ้น จะทําให้ต้นไม้มีความเจริญเติบโตข้ึนเองตามธรรมชาติ ซ่ึงเป็นไปตามพระราชดําริของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั เกี่ยวกบั “ฝายชะลอนํา้ ” จึงได้กําหนดแผนงานรว่ มกันข้ึนดงั น้ี แผนงานปี 2557 ก่อสร้างฝายบริเวณทิศใต้ของโรงเรียน ตามร่องนํ้าเป็นระยะทางยาว 800 เมตร จํานวน 4 ฝาย เป็นฝายแบบผสมผสานภูมิปัญญาของชุมชน 3 ฝาย ซ่ึงมีลักษณะเป็น ฝายไม้ไผ่แบบคอกหมู และเปน็ ฝายคอนกรีตแบบกงึ่ ถาวรอกี 1 ฝาย แผนงานปี 2558 ก่อสร้างฝายบริเวณทิศเหนือของโรงเรียน ตามร่องนํ้าเป็นระยะทาง 900 เมตร และซอ่ มบาํ รุงฝายปี 2557 ท่ชี ํารดุ แผนงานปีต่อ ๆ ไป จะขยายพน้ื ท่แี ละสํารวจพื้นที่ตามรอ่ งน้ําสาขา แลว้ ทําฝายเพ่ิมขึน้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ปกติโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ 3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้อนุรักษ์ ทรพั ยากรป่าไม้ ให้แกน่ กั เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เป็นเวลารวม 40 ชั่วโมง ในกลุ่มสาระ การเรยี นรูเ้ พ่มิ เตมิ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ์ป่าไม้ ซึ่ง ประกอบไปด้วยกิจกรรมการเรียนรู้หลัก 10 เรื่อง ได้แก่ ป่าไม้สําคัญไฉน ป่าไม้บ้านเรา สายใยสาย สัมพันธ์ กว่าจะมาเป็นป่าใหญ่ เม่ือโลกน้ีไม่มีป่าไม้ ภูมิปัญญาอนุรักษ์ป่า สร้างสรรค์งานศิลปจ์ ากป่า ปา่ นีค้ อื ละคร เรารกั ทรพั ยากร และร่วมแรง รว่ มใจ จติ อาสารกั ษป์ า่ นทิ รรศการ   35  

ซ่ึงในหัวขอ้ ร่วมแรง ร่วมใจ จิตอาสารักษ์ป่านั้นมีจุดประสงค์ให้นักเรียนนําความรู้ที่ได้รับมา ปฏิบัติจริง ในการทํากิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่าไม้ของชุมชน โดยให้นักเรียนท้ังโรงเรียนมา ร่วมกันจดั กจิ กรรมการทาํ ฝายชะลอนา้ํ และจะดาํ เนนิ การต่อเนอ่ื งไปเปน็ ประจาํ ทุกปี ท้ังน้โี รงเรยี นได้ สรา้ งกระบวนการเพ่ือให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้ ดังน้ี 1. การสร้างความตระหนัก (Awareness) โดยการก่อนทํากิจกรรมให้นักเรียนได้ระดม ความคิดร่วมกันว่าปัญหาความเสื่อมโทรมของพื้นท่ีป่าบ้านสว่าง มีปัญหามาจากอะไร และส่งผล กระทบอย่างไรต่อชุมชน ครัวเรือน และตัวนักเรียนเอง ซ่ึงนักเรียนส่วนใหญ่สามารถตอบได้ว่า ฝนตก น้ําท่วม ดินถล่ม น้ําในลําห้วยมีไม่ตลอดปี ไฟป่า ทําให้ชุมชนขาดนํ้าใช้ในฤดูแล้ง รวมทั้ง ระดมข้อคดิ เห็นเกย่ี วกบั การแก้ไขปัญหา 2. การสร้างความรู้ (Knowledge) โดยการมอบหมายให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีเรียนตามคู่มือการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เป็นผู้นําเสนอถึงวิธีการทําฝายชะลอนํ้า ซ่ึงนักเรียนจะ ค้นคว้าจากเอกสารในห้องสมุด เอกสารของหน่วยราชการ และจากอินเตอร์เน็ต ซ่ึงมีอยู่หลาย แนวทาง โดยครูพยายามสรปุ ใหไ้ ดว้ ่าการทาํ ฝายชะลอนํ้าท่เี หมาะสมเป็นอย่างไร การมีส่วนร่วมของ นักเรียนและชุมชนเป็นอย่างไร พร้อมทั้งชี้แจงแผนการทําฝายชะลอน้ําของชุมชนในพ้ืนที่ปฏิบัติงาน จริง ๆ ให้นกั เรยี นไดม้ คี วามรู้ความเข้าใจด้วย 3. การสรา้ งทกั ษะ (Skill) โดยการให้นักเรยี นรว่ มกันคดิ กอ่ นวา่ วสั ดอุ ุปกรณ์ท่ีจําเปน็ ในการ ทําฝายชะลอน้ํา มีอะไร วิธีใช้อย่างไร รวมทั้งเชิญเจ้าหน้าท่ีป่าไม้มาสาธิต และให้นักเรียนฝึก ปฏิบัติการ หลังจากน้ันครูได้มอบหมายนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 5 – 10 คน รับผิดชอบพ้ืนท่ีทําฝาย ชะลอนํ้ารอบ ๆ โรงเรียน ร่วมกับชุมชน ซ่ึงใช้เวลา 1 วัน โดยครูทั้งโรงเรียนต้องช่วยกันดูเด็ก และ ลงมอื ปฏิบัตไิ ปพรอ้ มกับนักเรยี น โรงเรียนได้ขอความอนุเคราะห์หน่วยงานใกล้เคียงเพ่ือช่วยในการสร้างฝายชะลอนํ้า ได้แก่ ฐานปฏิบัติการตํารวจตระเวนชายแดน เจ้าหน้าที่อุทยานและป่าไม้ ท้ังนี้ฝายที่นักเรียนช่วยกันทํา เป็นฝายแบบผสมผสาน นักเรียนต้องช่วยชาวบ้านในการไปเตรียมไม้ไผ่จากป่า เก็บทราย หิน กรวด จากลําห้วยมาบรรจุกระสอบปุ๋ย เพ่ือนําไปก่อสร้างฝาย ส่วนฝายคอนกรีตแบบก่ึงถาวรนั้นอาศัย ปูนซีเมนต์และวัสดุอื่น ๆ ที่มีเอกชนมาบริจาคไว้ให้ท่ีโรงเรียน นอกจากน้ีในการติดตามและ ประเมินผล ภายหลังจากเสร็จงานครูจะให้ผู้แทนนักเรียนมานําเสนอผลการดําเนินงานของกลุ่ม ตนเอง ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ รวมท้ังแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ครูได้ มอบหมายให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความชํารุดของฝายท่ีสร้างข้ึน และให้แนวปฏิบัติเม่ือนักเรียน พบฝายชํารดุ ต้องทาํ อยา่ งไร รวมทัง้ การพบไฟปา่ และการปอ้ งกนั อบุ ตั ภิ ัยท่อี าจเกดิ ขน้ึ ได้ ผลการดาํ เนนิ งาน การทําฝายชะลอน้ํา นักเรียนและชุมชนได้ช่วยกันทําฝายแบบผสมผสานใช้ไม้ไผ่ จํานวน 3 ฝาย โดยแต่ละฝายมีขนาดกว้าง 1 – 2 เมตร ความสูงประมาณ 1 เมตร และฝายคอนกรีตแบบกึ่ง ถาวรอีก 1 ฝาย ผลจากโครงการดังกล่าว ในปีท่ีผ่านมา บริเวณร่องน้ําท่ีกั้นฝายมีปริมาณนํ้าสูงข้ึน ความชุ่มช้ืนบริเวณที่สร้างฝายตลอดระยะ 800 เมตร มีมากขึ้น โดยสังเกตได้จากที่สองข้างฝ่ัง 36 นิทรรศการ    


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook