Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดทำวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา 2561

คู่มือการจัดทำวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา 2561

Published by nirut_g, 2019-06-22 04:45:14

Description: โดยสำนักบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการจัดทาวิทยานพิ นธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา จดั ทาโดย สานกั บณั ฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

คำนำ คู่มือวิทยานิพนธ์เล่มน้ี ได้รวบรวมและจัดทาขึ้นโดยสานักบัณฑิตศึกษา โดยได้ผ่านการ พิจารณาจากคณะกรรมการจดั ทาคมู่ ือดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอสิ ระ ระดับบัณฑติ ศึกษา เพ่ือกล่ันกรองข้อมูลและเนื้อหา และได้รับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เพ่ือให้นักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการทาดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ และการค้นควา้ อิสระ การทาคู่มือวิทยานิพนธค์ รั้งน้ี ได้ปรบั ปรุงและรวบรวมข้ึนใหม่ สาหรับทดลองใช้กับนักศึกษา ที่แจ้งสาเร็จการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป หากมีข้อแนะนาเพื่อให้ ปรบั ปรงุ แก้ไขในโอกาสต่อไป สามารถแจ้งได้ทีบ่ ัณฑิตวิทยาลัยโดยตรง ซ่ึงสานกั บัณฑติ ศึกษายินดีนามา พิจารณาเพอ่ื ปรับปรงุ แกไ้ ขให้เหมาะสมสมบรู ณย์ ิ่งขน้ึ ต่อไป คณะกรรมการจดั ทาคู่มือดษุ ฎนี พิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และการคน้ คว้าอิสระ กุมภาพันธ์ 2562

สารบัญ หนา้ คานา ............................................................................................................................................... (1) สารบญั ............................................................................................................................................ (2) บทท่ี 1 ความสาคัญของการทาวิทยานิพนธ์.................................................................................... 1 บทที่ 2 การเขยี นเค้าโครงวิทยานิพนธ์............................................................................................ 3 บทท่ี 3 ส่วนประกอบของวทิ ยานพิ นธแ์ ละการคน้ คว้าอิสระ ........................................................... 13 บทท่ี 4 หลักเกณฑแ์ ละรูปแบบการพิมพ์วทิ ยานิพนธแ์ ละการค้นคว้าอิสระ..................................... 21 บทที่ 5 หลักเกณฑ์การอ้างอิง......................................................................................................... 29 บทที่ 6 หลกั การเขยี นรายการอา้ งอิงและบรรณานกุ รม.................................................................. 45 ภาคผนวก....................................................................................................................................... 90 ภาคผนวก ก จรรยาบรรณในการจดั ทาวิทยานิพนธ์ ...................................................................... 91 ภาคผนวก ข ใบคารอ้ งเกี่ยวกบั การจัดทาวทิ ยานพิ นธ/์ การคน้ ควา้ อสิ ระ ....................................... 95 ภาคผนวก ค วิธีพิมพร์ ายนามอาจารยใ์ นวิทยานพิ นธ์.................................................................... 104 ภาคผนวก ง หน้าปกหัวข้อและเค้าโครงวทิ ยานพิ นธ์/การค้นคว้าอสิ ระ ......................................... 106 ภาคผนวก จ ตัวอยา่ งการพิมพแ์ ละจัดวางเนอ้ื หาทั่วไป วิทยานพิ นธ์ ............................................. 108 ภาคผนวก ฉ ตัวอย่างการพิมพ์และจดั วางเนอื้ หาทั่วไป ดุษฎนี พิ นธ์ .............................................. 189 ภาคผนวก ช คาแนะนาในการจดั ส่งวทิ ยานิพนธ์........................................................................... 261

บทท่ี 1 ความสาคัญของการทาวิทยานพิ นธ์ วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ นับเป็นผลงานทางวิชาการท่ีจะสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การค้นคว้าอิสระเป็นรายงานทางวิชาการท่ีครอบคลุม สัมพันธ์กับ เน้ือหาท้ังหมดของสาขาที่เรียน หรอื อาจเกย่ี วข้องกับปัญหาสาคัญด้านใดด้านหน่ึงท่ียังไม่ได้เรียน หรือมี เวลาเรียนน้อยไม่สามารถศึกษาได้ละเอียดลึกซ้ึง แต่นักศึกษาประสงค์ที่จะศึกษาให้ละเอียดลึกซึ้งย่ิงข้ึน สาหรับวทิ ยานิพนธ์นั้นเป็นผลงานการวิจัยที่มีสาระแสดงความริเร่ิมสร้างสรรค์เป็นเอกลักษณ์ของผู้วิจัย ผู้วิจัยต้องตระหนักอย่างย่ิงในการเลือกหัวข้อ กาหนดขอบข่ายของงานที่ศึกษาค้นคว้าให้ลึกซ้ึงกว่าท่ี จะต้องกระทาในระดับการค้นคว้าอิสระ วิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกย่อม ตอ้ งการคุณภาพที่แตกต่างกนั ตามลาดับด้วย ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่า ด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2561 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม กาหนดไว้ว่าหลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก1 และ ก2 ต้องทาวิทยานิพนธ์ และแผน ข ต้องทาการค้นคว้าอิสระ เช่นเดียวกับ หลักสูตรปริญญาเอก แบบ 1 และ แบบ 2 ต้องทาวิทยานิพนธ์ ดังน้ันนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจึง จาเป็นต้องศึกษาถึงกรอบแนวปิิบัติที่มหาวิทยาลัยกาหนด รายละเอียดสาคัญท่ีจะต้องดาเนินการใน การทา อาทิเช่น เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ส่วนประกอบของวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ รูปแบบการ เขียน การพมิ พ์ ขอ้ บังคับ ระเบียบและประกาศทเ่ี กีย่ วขอ้ ง รวมท้งั แบบฟอร์มทจี่ าเปน็ เป็นต้น ลักษณะของวทิ ยานิพนธ์และการค้นคว้าอสิ ระทีม่ คี ณุ ภาพ วิทยานิพนธแ์ ละการค้นควา้ อิสระทม่ี ีคณุ ภาพ ควรมีลกั ษณะ ดังนี้ 1. รูปเล่มวทิ ยานพิ นธ์ รูปเล่มวิทยานิพนธ์ ควรมีลักษณะท่ีแสดงถึงความคงทน กระดาษแข็งหรือวัสดุท่ีใช้ทาปก นอก ของเล่มวิทยานพิ นธม์ ีคณุ ภาพดี มคี วามประณตี ในการเข้าเล่ม ไม่มบี างส่วนของหน้าในวทิ ยานิพนธ์ หลุดออกจากตัวเล่ม การตัดกระดาษบริเวณขอบของเนื้อในวิทยานิพนธ์มีความเรียบร้อย กระดาษท่ีใช้ ในการพิมพ์ต้องมีคณุ ภาพดตี รงตามข้อกาหนดหรือเป็นกระดาษที่ดีกวา่ 2. ความยาวและความหนา วิทยานิพนธ์ท่ีดีควรมีความยาวของข้อความทั้งหมดเหมาะสม ซ่ึงแสดงถึงความสามารถ ของผู้เขียนในการใช้ภาษาที่กะทัดรัด สามารถทาให้ผู้อ่านมีความเข้าใจได้ดี โดยความยาวของเนื้อหาไม่ มากหรอื น้อยเกินไปโดยไม่จาเป็น

-2- 3. ความสมดุลของสว่ นประกอบ วทิ ยานพิ นธท์ มี่ ีคณุ ภาพต้องมีความสมดุลในส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของวทิ ยานพิ นธ์ โดยปกติ ส่วนเน้ือหาของวิทยานิพนธ์ควรเป็นส่วนท่ีมีความยาวมากท่ีสุด และภาคผนวกไม่ควรจะมีความหนา มากกว่าส่วนเนื้อหา สาหรับเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ควรมีความสมดุลในบทต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบ ได้แก่ บทนา ไม่ควรจะมีความยาวมากกว่าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อสรุปควรมีความกะทัดรัด และมีความยาวสมกับการสรุป การอ้างอิงในบทเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรมีความสั้นกระชับ แตย่ ังคงสาระไว้ มีใจความสาคัญแทนการอา้ งโดยการคดั ลอกจากบทความเกินความจาเปน็ เปน็ ต้น วัตถุประสงค์ของการทาวิทยานพิ นธ์และการค้นคว้าอิสระ เพ่ือให้เป็นไปตามเง่ือนไขของหลักสูตรปริญญาเอกและหลักสูตรปริญญาโท ท่ีกาหนดให้ นักศึกษาจะต้องทาวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระตามแต่กรณีแล้ว การทาวิทยานิพนธ์ระดับ บัณฑติ ศกึ ษา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี มีวัตถุประสงค์หลักทส่ี าคญั ดังตอ่ ไปน้ี 1. เพ่อื ใหน้ ักศึกษาสามารถศึกษาค้นควา้ วจิ ัยได้ด้วยตนเอง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดอยา่ งมรี ะบบ สามารถประมวลขอ้ มูลและสรุปผลตามหลักฐาน ข้อมูลที่เปน็ ความจรงิ จากการศึกษาคน้ คว้าวจิ ยั 3. เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการเรียบเรียงความคิดได้อย่างเป็นระบบ สามารถเขียน และส่อื สารใหผ้ ้อู ่านเขา้ ใจได้ 4. เพ่ือให้นักศกึ ษามีนสิ ัยในการศึกษา คน้ คว้าและการวจิ ัย

บทท่ี 2 การเขยี นเค้าโครงวิทยานิพนธ์ เค้าโครงวิทยานิพนธ์ (Proposal) เป็นเอกสารแสดงรายละเอียดของการวางแผนการวิจัยที่ นักศึกษาได้กระทาภายใต้คาปรึกษาและการควบคุมดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ การเขียน เค้าโครงวิทยานิพนธ์มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการทาวิทยานิพนธ์ เพราะทาให้นักศึกษาสรุป รวบรวมแนวคิด ข้ันตอน วิธีการดาเนินการวิจัยอย่างรอบคอบ ละเอียดและรัดกุม เค้าโครงวิทยานิพนธ์ จะเป็นแบบควบคุมการวิจัยว่ามีขั้นตอนการดาเนินการไปอย่างไร มีตัวแปรอะไรบ้าง จะวัดตัวแปร อย่างไร ใครคือประชากรเป้าหมาย มีขั้นตอนในการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างไร และมีวิธีการเก็บรวบรวม ขอ้ มลู อย่างไร เปน็ ต้น นอกเหนือจากความสาคัญที่มีต่อนักศึกษาผู้จะทาวิทยานิพนธ์ตามท่ีกล่าวข้างต้นแล้ว เค้าโครงวิทยานิพนธ์ยังใช้เป็นเอกสารเสนอขอคาอนุมัติหรือคาสนับสนุนให้ดาเนินการวิจัย โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในระบบการลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีกาหนดให้ นักศึกษาสามารถแบ่งหน่วยกิตวิทยานิพนธ์เป็นส่วนย่อย ๆ ไม่จาเป็นต้องลงทะเบียนพร้อมกันหมดทั้ง 12 หน่วยกิต (เช่น นักศึกษาระดับปริญญาโทลงทะเบียนวิทยานิพนธ์คร้ังแรกจานวน 3 หน่วยกิต หรือ 6 หน่วยกิต ตามแผนการเรียนท่ีหลักสูตรกาหนด) เอกสารเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ยังเป็นส่ิงท่ีอาจารย์ท่ี ปรึกษาใช้ตรวจสอบความสาคัญ ความเป็นประโยชน์ และความเหมาะสมกับระดับและสาขาท่ีศึกษา ตลอดจนใชเ้ ป็นสง่ิ ยืนยันว่านักศกึ ษาได้ศึกษาความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ งมากพอท่จี ะ ดาเนินการวิจัยในหัวข้อท่ีเสนอน้ันให้สาเร็จลุล่วงได้ และเอกสารเค้าโครงวิทยานิพนธ์ประกอบกับ กระบวนการนาเสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์เป็นหลักฐานผลงานของนักศึกษาเพ่ือได้รับการประเมินผ่าน/ ไม่ผ่าน นอกจากนี้เค้าโครงวิทยานิพนธ์ที่มีความละเอียดชัดเจน ยังจะช่วยสื่อให้ผู้สนใจท่ัวไปได้ทราบ รายละเอยี ดของลกั ษณะงานวิจัยนน้ั ๆ สาหรบั การตดั สนิ ใจติดตามเพื่อใช้ประโยชนใ์ นโอกาสตอ่ ไป ลกั ษณะของเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์ท่ีดี 1. มหี ัวข้อครบถว้ นตามหัวข้อเค้าโครงวทิ ยานพิ นธข์ องคู่มือวิทยานพิ นธ์ฉบบั น้ี 2. มีความสอดคล้องระหว่างหัวข้อต่าง ๆ เช่น ช่ือเร่ือง วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย สมมติฐานการ วจิ ยั ขอบเขตการวจิ ยั วธิ ีดาเนินการวจิ ยั เป็นต้น 3. เขียนรายละเอยี ดในหัวข้อต่าง ๆ ในเค้าโครงวิทยานิพนธไ์ ด้ถกู ต้องตามหลักการ 4. เขยี นข้อความทชี่ ดั เจน ส่อื ความหมายตรงกนั ระหวา่ งผู้เขียนและผ้อู ่าน 5. มกี ารออกแบบการวิจัย ตามหลักการออกแบบการวิจัยทด่ี ี 6. สามารถหาคาตอบได้ และเป็นเร่อื งใหม่ 7. ชื่อเรื่องอยู่ในขอบเขตของสาขาที่ศึกษาอยู่

-4- ส่วนประกอบของเค้าโครงวิทยานพิ นธ์ การเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ จะต้องมีเน้ือหาสาระเพียงพอท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะใช้เป็นเอกสารในการพิจารณา สาหรับส่วนประกอบของเค้าโครง วทิ ยานพิ นธ์ มดี ังน้ี  ส่วนหน้า ประกอบด้วย ปกเค้าโครงวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ ซึ่งมีรายละเอียด เก่ียวกับชื่อผู้เสนอ คณะ หลักสูตร สาขาวิชา ช่ือเร่ืองภาษาไทย ช่ือเรื่องภาษาอังกฤษ คารับรองของ อาจารย์ทป่ี รึกษาวทิ ยานิพนธ์ (ตวั อย่างภาคผนวก ง)  ส่วนเนื้อหา แยกออกเป็นสายสังคมศาสตร์และสายวิทยาศาสตร์ สามารถเขียนเนื้อหา เป็น 3 บท หรือเขียนเน้ือหาแต่ละส่วนต่อ ๆ กันไปก็ได้ ถ้าเขียนเป็น 3 บท จะประกอบด้วยบทต่าง ๆ ดงั นี้ สายสงั คมศาสตร์ บทท่ี 1 บทนา (Introduction) 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (Background and Statement of the Problems) 1.2 วตั ถุประสงค์การวจิ ัย (Purpose of the Study) 1.3 สมมตฐิ านการวิจัย (Hypotheses) (ถา้ มี) 1.4 ขอบเขตของการวิจัย (Scope of Study) 1.5 ขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น (Basic Assumption) (ถา้ มี) 1.6 ข้อจากัดของการวจิ ัย (Limitation of Study) (ถ้ามี) 1.7 นิยามศพั ท์เฉพาะ (Definition of Terms) (ถ้าม)ี 1.8 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย (Conceptual Framework) 1.9 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับ (Contribution to Knowledge) บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง (Review of the Literature) 2.1 เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง (Related Literature) 2.2 งานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง (Related Research) บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การวิจยั (Research Methodology) 3.1 ประชากร (Population) 3.2 กลุ่มตวั อย่าง (Samples) 3.3 เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั (Research Instruments) 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล (Data Collection) 3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู (Data Analysis)

-5- แนวทางในการเขยี นรายละเอยี ดในสว่ นประกอบของเค้าโครงวิทยานพิ นธ์สายสังคมศาสตร์ เพ่ือให้เค้าโครงวิทยานิพนธ์มีรายละเอียดเพียงพอ มีคุณภาพ และลดความขัดแย้งที่อาจ เกิดขึ้นระหว่างคณะกรรมการพิจารณาประเมินเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ตลอดจนเพื่อให้นักศึกษามี กรอบ แนวทางท่ีชัดเจน จึงกาหนดรายละเอียดการเขียนและเกณฑ์มาตรฐานการทาเค้าโครง วิทยานิพนธ์ แต่ละหวั ข้อไว้ดังน้ี ช่ือเรื่อง (The Title) การกาหนดชอ่ื เรอื่ ง มหี ลักดงั นี้ 1. สอดคล้องกบั ปัญหาการวจิ ัย 2. ต้งั ใหส้ ้ัน กะทัดรัด ไดใ้ จความสาคัญวา่ จะดาเนินการวจิ ัยเรื่องอะไร ดว้ ยวธิ ีการใด และดาเนนิ การวิจยั กบั ใครเป็นสาคัญ 3. มคี าที่ระบุตัวแปรท่ีศกึ ษา ประชากร และลกั ษณะการศึกษาอยดู่ ้วย 4. ประกอบดว้ ยช่อื เรอื่ งทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา (Background and Statement of the Problem) การเขียนความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา มหี ลกั ดังนี้ 1. เขียนใหท้ ราบว่าปัญหาของการวิจัยคืออะไร ท่มี าของปัญหาการวิจัย ความสาคญั ของ การวจิ ัย เหตผุ ลที่ผ้วู จิ ยั เลอื กปัญหาการวิจยั น้ี 2. เสนอแนวความคิดเห็นอย่างต่อเน่ือง สมเหตุสมผลอ้างอิงทฤษฎี หลักการหรือ ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อเน้นให้เห็นความสาคัญของประเด็นปัญหาการวิจัยท่ีต้องการจะศึกษาค้นหา คาตอบ วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั (Purpose of the Study) ในการกาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยทด่ี ี ควรมลี ักษณะดังนี้ 1. Specific หมายถึง ระบุหรือกาหนดให้ชัดเจนถึงสิ่งท่ีต้องการมุ่งศึกษาหรือหาคาตอบ โดยกาหนดความตอ้ งการวา่ จะศกึ ษาอะไร ของใคร ในด้านใด 2. Measurable หมายถึงเขียนให้มีทิศทางหรือแนวทางที่จะศึกษาท่ีสามารถวดั และเก็บ ข้อมูลได้ ซ่ึงอาจจะกาหนดในลักษณะของการศึกษาหรือเพ่ือเปรียบเทียบ (Comparison) หรือเพ่ือหา ความสมั พันธ์ (Relationship) 3. Achievable หมายถงึ มคี วามเป็นไปไดแ้ ละสามารถหาคาตอบได้ 4. Reasonable หมายถงึ เขียนให้อยใู่ นขอบเขตของปัญหาการวิจัยและมคี วามสมเหตุสมผล 5. Time หมายถงึ ต้องมขี อบเขตของเวลาทแี่ นน่ อน โดยต้องระบุเวลาที่เรมิ่ ต้นและเวลา ส้นิ สุดที่ชดั เจน (โดยระบไุ ว้ในขอบเขตการวิจยั ) 6. ถา้ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยมีหลายข้อ ใหเ้ รยี งลาดบั ตามความสาคัญ

-6- สมมตฐิ านการวจิ ยั (Hypotheses) สมมติฐานของการวิจัย (ถ้ามี) เป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหาการวิจัยไว้ล่วงหน้าอย่าง สมเหตุสมผล โดยมหี ลกั การเขียนที่สาคญั ดงั นี้ 1. สอดคลอ้ งกับปญั หาการวจิ ัยและวัตถุประสงคข์ องการวิจัย 2. สมเหตุสมผล โดยมีทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เก่ียวข้องเป็นหลักในการกาหนดสมมติฐาน ของการวจิ ัย 3. สามารถหาขอ้ มลู มาทดแทนได้ 4. บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวแปร ขอบเขตของการวิจยั (Scope of Study) เป็นการระบุวา่ การศึกษานั้น จะทาในเร่ืองอะไร ในส่วนไหน ในการกาหนดขอบเขตของการ วจิ ัย มหี ลกั ดังนี้ 1. เป็นการกาหนดขอบเขตเน้ือหา ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรท่ีศึกษา ซึ่งใน การวจิ ัยบางเรอ่ื งตอ้ งกาหนดตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย 2. ต้องสอดคลอ้ งกับชือ่ เร่อื ง วตั ถุประสงค์การวจิ ัย และสมมตฐิ านการวิจัย 3. ในกรณที ่เี ป็นการวิจัยเชงิ ทดลอง ควรกาหนดระยะเวลาในการทดลองดว้ ย ข้อตกลงเบ้ืองต้น (Basic Assumption) ในการกาหนดขอ้ ตกลงเบือ้ งตน้ ของการวจิ ัย มีหลกั ดังนี้ 1. เป็นการกาหนดเงือ่ นไขทจี่ าเป็นภายใต้การศึกษาวิจยั ในเรือ่ งที่กาหนด 2. เปน็ ขอ้ ความรูค้ วามจริงทย่ี อมรบั ไดโ้ ดยไม่ต้องพสิ จู น์ ข้อจากดั ของการวจิ ัย (Limitation of Study) ในหัวข้อนี้จะเป็นการกาหนดถึงข้อจากัดในกระบวนการวิจัยหรือไม่สมบูรณ์ของการวิจัยและ ข้อจากัดในการนาผลการวิจัยไปใช้ ซึ่งในการวิจัยบางเร่ืองอาจจะไม่มีหัวข้อนี้ สาหรับข้อจากัดของการ วจิ ัยอาจพิจารณาในเร่ืองต่าง ๆ เช่น เวลาที่ใชใ้ นการวิจยั สถานทใ่ี นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ขอบเขตของ การศึกษา วิธีการส่มุ ตัวอย่าง เป็นต้น

-7- นิยามศัพท์เฉพาะ (Definition of Terms) ในหัวข้อน้ี ผู้วิจัยจะกาหนดความหมายของคา กลุ่มคา หรือวลีต่าง ๆ ท่ีใช้ในการวิจัย เช่น คาท่ีเป็นตัวแปร ให้มีความหมายที่ชัดเจนข้ึน ทาให้ผู้อ่านเค้าโครงวิทยานิพนธ์มีความเข้าใจใน ความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ ท่ีใช้ในการวิจัย สาหรับการให้คานิยามศัพท์เฉพาะ จะให้ความหมาย ในลักษณะของนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั (Conceptual Framework) ในหัวข้อน้ีเป็นผลสรุปจากการศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาการวิจัย ซ่ึงผู้เสนอเค้าโครงวิทยานิพนธ์ได้สรุปเป็นแนวความคิดของตนเองสาหรับการดาเนินการวิจัยของตน ก่อนการกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ผู้วจิ ัยต้องศกึ ษากอ่ นการกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั ผู้วิจัย ต้องศึกษาทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องให้มากพอว่า มีใครเคยทาวิจัยเก่ียวกับเร่ืองน้ีไว้บ้าง ทาอย่างไร และมีข้อค้นพบอะไรบ้าง แล้วนามาประกอบการวางแผนการวิจัยของตน โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงการกาหนดกรอบในเชิงเนื้อหาสาระซ่ึงประกอบด้วย ตัวแปร และการระบุความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร สาหรับการวิจัยเชงิ พรรณนา (Descriptive Research) กรอบแนวคิดในการวิจัยอาจมเี พียงการ ระบุเฉพาะตัวแปรว่ามีตัวแปรอะไรบ้าง ที่จะนามาศึกษา กรอบความคิดดังกล่าวจึงเปรี ยบเสมือน ขอบเขตทางด้านเน้ือหาสาระของการวิจัย ส่วนการวิจัยเชิงอธิบาย (Explanatory Research) จะมีการ ระบุความสัมพนั ธร์ ะหว่างตวั แปรไว้ในกรอบแนวคดิ ในการวิจยั ด้วย การเสนอกรอบแนวคิดในการวิจัยอาจเสนอได้หลายวิธี ได้แก่ เสนอเป็นคาพรรณนา เสนอเป็น แบบจาลองหรือสัญลักษณ์และสมการ เสนอเป็นแผนภาพและเสนอเป็นแบบผสมผสาน ซ่ึงแนวทางการเขียน สรปุ ได้ ดังนี้ 1. ตัวแปรแต่ละตัวที่เลือกมาศึกษาต้องมีพื้นฐานเชิงทฤษฎีว่ามีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้อง กบั สง่ิ ท่ีตอ้ งการศกึ ษา มิใช่เป็นการเลอื กตามความพอใจของตนเอง 2. มีความตรงประเด็นในด้านเน้ือหาสาระ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านตัวแปรอิสระหรือ ตัวแปรท่ใี ช้ควบคุม 3. มรี ปู แบบสอดคลอ้ งกับความสนใจและวตั ถปุ ระสงค์ในการวจิ ยั 4. ระบุรายละเอียดของตัวแปรและ/หรือสามารถแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรได้ชัดเจ น ด้วยสญั ลกั ษณห์ รือแผนภาพ

-8- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั (Contribution to Knowledge) ในหัวข้อนี้ จะแสดงให้ทราบถึงคุณค่าและความสาคัญของเรื่องที่ทาการวิจัย โดยทั่วไป ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับจากการวจิ ัย จะมี 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1. เกิดองค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาวิชาต่าง ๆ ซึ่งอาจจะนาไปสู่การต้ังทฤษฎี สูตร กฎตา่ ง ๆ 2. ทาให้ได้รับความรู้ และสามารถนาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางานด้าน ต่าง ๆ เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้อง (Purpose of the Study) การนาเสนอเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง จะเป็นการแสดงผลของการค้นคว้าเอกสาร เก่ียวกับหลักการแนวคิดหรือทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องท่ีทาการวิจัย ตลอดจนผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ประกอบดว้ ย 2 ส่วนใหญ่ คือ ส่วนท่ี 1 เอกสารท่เี กย่ี วข้อง ส่วนที่ 2 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง สาหรบั หลกั การเขียนเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง มีดงั น้ี 1. มีการเขียนนาในตอนแรกว่า ในส่วนนี้ประกอบด้วยจานวนก่ีตอน และรายละเอียด ของแตล่ ะตอน 2. ส่ิงที่นาเสนอควรสอดคล้องกับเร่ืองท่ีทาการวิจัย หรือตามลักษณะของตัวแปรท่ี ทาการศกึ ษา 3. ควรเขียนสรุปแตล่ ะตอนในเนอื้ เร่ืองให้มคี วามสมั พนั ธก์ นั 4. ควรเสนอหลักการหรือทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองที่ทาการวิจัยก่อน แล้วจึงนาเสนอ รายงานการวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง โดยเขียนแบบสังเคราะห์ ซ่ึงเป็นลักษณะของการวิจารณ์งานวิจัย (Literature Review) ไม่ใชน่ าขอ้ เสนอหรอื ผลงานวจิ ัยแตล่ ะเรือ่ งมาเรียงตอ่ กัน 5. ในการเขียนงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง ควรเขียนให้นาไปสู่ประเด็นการกาหนดปัญหา การวจิ ยั วธิ ดี าเนินการวจิ ยั (Research Methodology) ในการนาเสนอวธิ ีดาเนินการวิจัยส่วนมากจะนาเสนอเก่ียวกบั เรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 1. ประชากร โดยระบขุ อบเขตและคุณสมบตั ิของประชากรให้ชดั เจน 2. กลมุ่ ตัวอย่าง เป็นการกาหนดสง่ิ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 2.1 กาหนดกลุ่มตัวอย่าง จานวนตัวอย่าง ช่วงเวลาท่ีเก็บตัวอย่างและวิธีการ กาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2.2 การสุม่ ตวั อย่างและข้นั ตอนการสุ่มตัวอย่าง 2.3 ตารางแสดงจานวนกลุ่มตัวอย่าง

-9- 3. เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจัย โดยระบุเกีย่ วกบั สิง่ ต่อไปน้ี 3.1 ประเภทของเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 3.2 ตวั อย่างเคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวิจยั 3.3 วิธีการสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ัยและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือท่ี ใชใ้ นการวิจัย 4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ในหัวข้อนี้จะเป็นการอธิบายวิธีและขั้นตอนของการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู เหตุผลท่เี ลอื กใช้วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล และวธิ ีการตรวจสอบควบคุมคุณภาพข้อมลู 5. วธิ ีการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ในหัวข้อน้ีเป็นการบอกถงึ วธิ ีการทผี่ ู้วิจัยนาข้อมูลมาวิเคราะห์ รวมท้ังสถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เชน่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉล่ีย การทดสอบสมมติฐานโดย ใช้ T-test หรอื F-test เปน็ ตน้ สายวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทท่ี 1 บทนา (Introduction) 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (Background and Statement of the Problems) 1.1 วตั ถุประสงค์การวจิ ยั (Purpose of the Study) 1.2 สมมตฐิ านการวจิ ยั (Hypotheses) (ถา้ ม)ี 1.3 ขอบเขตของการวิจยั (Scope of Study) 1.4 ขั้นตอนการวิจยั / กรอบแนวคิดในการวจิ ยั (Research Process / Conceptual Framework) 1.5 ขอ้ จากัดของการวจิ ัย (Limitation of Terms) (ถ้ามี) 1.6 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั (Contribution to Knowledge) บทท่ี 2 วรรณกรรมหรอื งานวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง (Review of the Literature) บทที่ 3 วธิ ีดาเนินการวิจัย (Research Methodology)

- 10 - แนวทางในการเขียนรายละเอียดในส่วนประกอบของเค้าโครงวิทยานิพนธ์ สายวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี บทท่ี 1 บทนา (Introduction) บทนาควรจะเป็นบทที่ 1 ของวิทยานิพนธ์และควรมีเพียงบทเดียวซึ่งควรจะมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (Background and Statement of the Problem) กล่าวถึงท่ีมาและสาเหตุของเร่ืองที่จะที่จะทาวิจัย รวมถึงประโยชน์ท่ีจะได้ รับสาหรับ งานวจิ ัยชนิ้ นี้ การเขียนความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา มีหลักดงั น้ี 1.1.1 เขียนให้ทราบว่าปัญหาของการวิจัยคืออะไร ที่มาของปัญหาการวิจัย ความสาคัญ ของการวจิ ยั เหตผุ ลที่ผูว้ ิจยั เลือกปัญหาวิจยั นี้ 1.1.2 เสนอแนวความคิดเห็นอย่างต่อเนื่อง สมเหตุผลอ้างอิงทฤษฎี หลักการหรือ ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อเน้นให้เห็นความสาคัญของประเด็นปัญหาการวิจัยท่ีต้องการจะศึกษาค้นหา คาตอบ 1.1.3 กรอบแนวความคดิ ในการวิจยั (Conceptual Framework) 1.2. วัตถุประสงค์ (Purpose of the Study) ระบุถึงความหมายและวัตถุประสงค์ของการ ศึกษาวิจัยว่าต้องการพิสูจน์หรือต้องการรู้เรื่องอะไร ในการกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัยท่ีดี ควรมี ลักษณะดังน้ี 1.2.1 Specific หมายถึง ระบุหรือกาหนดให้ชัดเจนถึงสิ่งท่ีต้องการมุ่งศึกษาหรือหา คาตอบ โดยกาหนดความต้องการว่าจะศกึ ษาอะไร ของใคร ในดา้ นใด 1.2.2 Measurable หมายถึงเขียนให้มีทิศทางหรือแนวทางท่ีจะศึกษาที่สามารถวัดและ เก็บข้อมูลได้ ซึ่งอาจจะกาหนดในลักษณะของการศึกษาหรือเพื่อเปรียบเทียบ (Comparison) หรือเพื่อ หาความสมั พันธ์ (Relationship) 1.2.3 Achievable หมายถึง มีความเป็นไปไดแ้ ละสามารถหาคาตอบได้ 1.2.4 Reasonable หมายถึง เขียนให้อยู่ในขอบเขตของปัญหาการวิจัยและมีความ สมเหตุสมผล 1.2.5 Time หมายถึง ต้องมีขอบเขตของเวลาที่แน่นอน โดยต้องระบุเวลาที่เริ่มต้นและ เวลาที่สน้ิ สดุ ทชี่ ดั เจน (โดยระบุไว้ในขอบเขตการวิจัย) 1.2.6 ถ้าวัตถุประสงค์ของการวิจัยมหี ลายข้อ ให้เรียงลาดับความสาคญั

- 11 - 1.3 สมมุติฐานของการวิจัย (Hypotheses) (ถ้ามี) เป็นการตอบคาถามล่วงหน้าจากวัตถุประสงค์ ของการศึกษาทีต่ ัง้ ไว้ โดยการอ้างองิ หลักการ ทฤษฎีทเี่ ก่ยี วขอ้ ง โดยมีหลักการเขยี นที่สาคัญ ดังน้ี 1.3.1 สอดคลอ้ งกบั ปัญหาการวิจยั และวัตถุประสงคข์ องการวิจยั 1.3.2 สมเหตุสมผล โดยมีทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เก่ียวข้องเป็นหลักในการกาหนด สมมตฐิ านของการวจิ ยั 1.3.3 สามารถหาขอ้ มูลมาทดแทนได้ 1.3.4 บอกความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปร 1.4. ขอบเขตของการวิจัย (Scope of Study) เป็นการระบุว่าการศึกษาน้ันจะทาในเร่ือง อะไร ในสว่ นไหน ในการกาหนดขอบเขตของการวจิ ัย มหี ลักดังนี้ 1.4.1 เป็นการกาหนดขอบเขตเนื้อหา ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรที่ศึกษา ซ่งึ ในการวิจยั บางเรอื่ งตอ้ งกาหนดตัวแปรอสิ ระและตวั แปรตามด้วย 1.4.2 ตอ้ งสอดคล้องกับชอื่ เรื่อง วตั ถุประสงค์การวจิ ัย และสมมตฐิ านการวจิ ัย 1.4.3 ในกรณีท่ีเป็นการวจิ ัยเชิงทดลอง ควรกาหนดระยะเวลาในการทดลองดว้ ย 1.5 ขั้นตอนการวิจัย / กรอบแนวคิดในการวิจัย (Research Process / Conceptual Framework) เปน็ การระบวุ ่ามขี ้ันตอนในการทาวิจัยอยา่ งไรบ้างโดยสรปุ 1.6 ข้อจากัดของการศึกษา (Limitation of Study) (ถ้ามี) ระบุถึงกรณีหรือตัวแปรท่ี ควบคุมไมไ่ ด้ เชน่ ข้อจากัดของระยะเวลาหรอื งบประมาณ หรอื ตัวแปรอน่ื ๆ การกาหนดขอ้ จากัดของการศึกษา ของการวจิ ยั มีหลักดงั นี้ 1.6.1 เป็นการกาหนดเงื่อนไขที่จาเปน็ ภายใต้การศึกษาวจิ ยั ในเร่อื งทก่ี าหนด 1.6.2 เปน็ ข้อความรู้ความจรงิ ทย่ี อมรบั ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งพิสูจน์ 1.7 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ (Contribution to Knowledge) ในหัวข้อน้ีจะแสดงให้ทราบถึงคุณค่าและความสาคัญของเร่ืองที่ทาการวิจัย โดยทั่วไป ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั จากการวิจัย จะมี 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1.6.1 ช่วยเพิ่มพูนความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ ซ่ึงอาจจะนาไปสู่การต้ังทฤษฎี สตู ร กฎต่าง ๆ 1.6.2 ทาใหไ้ ดค้ วามรู้ ในการนาประยุกต์ในการแกป้ ญั หาหรือพัฒนางานดา้ นต่าง ๆ

- 12 - บทที่ 2 วรรณกรรมหรอื งานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง (Review of the Literature) บทท่ีต่อจากบทนาควรจะเป็นบทท่ีกล่าวถึงสาระถึงแนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรมหรือ ผลงานวิจัยท่ีมีผู้ทามาแล้ว โดยที่จะต้องมีความสาคัญและเก่ียวข้องกับงานวิจัยท่ีผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ดาเนนิ การ โดยเนื้อหาจะเป็นการบ่งช้ีหรือนาเขา้ สู่กระบวนการวจิ ัยของผู้เขยี น การเขียนเน้อื หาในส่วนนี้ สามารถเขียนได้มากกวา่ หนึง่ บท บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ การวิจัย (Research Methodology) บทท่ีต่อจากของวรรณกรรมหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรจะเป็นบทท่ีกล่าวถึงลักษณะข้อมูล และขนั้ ตอนการทาวิจยั อย่างละเอยี ด ซึ่งจะประกอบด้วยสงิ่ ตอ่ ไปนี้ 1. วิธีทใ่ี ช้ศกึ ษา ค้นคว้าและวิจัย 2. ลักษณะข้อมลู การเลอื กข้อมลู และเหตผุ ลในการคดั เลือก 3. เครอื่ งมือและวิธกี าร 4. ขน้ั ตอนในการรวบรวมข้อมูล 5. วิธวี เิ คราะห์ข้อมูล  ส่วนอ้างอิง ประกอบด้วย 1. บรรณานกุ รม ไมค่ วรนอ้ ยกวา่ 20 รายการ 2. ภาคผนวกเป็นส่วนที่ผู้วิจัยเพ่ิมเติมเพื่อใช้ประกอบการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจมากขึ้น เช่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลจากบริษัทตัวอย่าง ตาราง มาตรฐานท่ีใช้ในการคานวณ กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง เปน็ ต้น สว่ นที่เปน็ ภาคผนวกนอ้ี าจมีหรอื ไม่มีก็ได้

บทท่ี 3 สว่ นประกอบของวทิ ยานพิ นธแ์ ละการคน้ คว้าอิสระ วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ มีส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน ได้แก่ส่วนนา ส่วนเน้ือหา และสว่ นท้าย สาหรบั รายละเอียดของแต่ละสว่ นประกอบ มีดังน้ี ส่วนนา (Preliminaries) สว่ นนาของวิทยานพิ นธ์ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เรียงลาดับตั้งแต่ปกนอกจนถึงสว่ นประกอบ สดุ ท้ายกอ่ นถงึ สว่ นเนอ้ื หา สาหรบั รายละเอยี ดของแตล่ ะส่วน มดี ังน้ี 1. ปกนอก (Front Cover) เป็นส่วนที่ใช้หุ้มวิทยานิพนธ์ โดยนักศึกษาจะต้องดาเนินการ เย็บเลม่ และทาปก เม่อื วทิ ยานิพนธ์ได้รับอนุมัตแิ ล้ว โดยมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1.1 ลักษณะของปกเป็นปกแข็งหุ้มแลคซีน ขนาด A4 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ใช้สีน้าเงนิ กรมท่า และระดับปริญญาโทใชส้ ีดา ตัวอักษรบนปกให้พิมพ์ด้วยอักษร สที อง แบบปั๊ม ลงบน เนื้อกระดาษ 1.2 ขอ้ ความบนแผ่นปกนอกของวิทยานพิ นธ์ ตอ้ งมรี ายละเอียดดงั น้ี 1.2.1 ช่ือเรื่องของวทิ ยานิพนธ์ ให้ระบุชอื่ เร่ืองของวิทยานิพนธ์ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ สาหรับภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ท้ังหมด โดยให้พิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษ กรณีท่มี ีความยาวเกนิ กวา่ 1 บรรทัด บรรทดั ถัดไปใหพ้ ิมพ์เป็นรูปหน้าจั่วกลับหัว (ดูตัวอย่างภาคผนวก จ และ ฉ) ท้ังนี้ควรพจิ ารณาตดั คาใหม้ คี วามเหมาะสมดว้ ย 1.2.2 ช่ือผู้วิจัย ให้ระบุเป็นช่ือ ชื่อสกุล โดยไม่ต้องใส่คานาหน้านาม ยกเว้นกรณี มียศ บรรดาศักด์ิ ฐานันดรศักดิ์ สมณศักดิ์ ราชทินนาม ก็ให้ระบุไว้ โดยพิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษ กรณวี ทิ ยานิพนธ์ฉบับภาษาองั กฤษ ใหใ้ ชต้ วั อกั ษรตัวพิมพ์ใหญ่ 1.2.3 ระบุข้อความวิทยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรใด ตามดว้ ยชือ่ ปริญญาสาขาวชิ า และคณะใด 1.2.4 ชือ่ มหาวทิ ยาลยั ให้ระบวุ า่ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 1.2.5 ปีการศกึ ษา ให้ระบุปีการศึกษาทสี่ าเรจ็ การศึกษา 1.2.6 ระบุคาว่า ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2. สันปก (Spine) ขอบสันปกวทิ ยานพิ นธ์ ใหพ้ มิ พด์ ังตอ่ ไปนี้ 2.1 ชอื่ เร่อื งวทิ ยานพิ นธ์ 2.2 ช่ือและสกุลของนักศึกษา โดยไม่ต้องมีคานาหน้าช่ือ ยกเว้นกรณีมียศ บรรดาศักดิ์ ฐานนั ดรศกั ดิ์ สมณศักดิ์ ราชทนิ นาม 2.3 ปีการศกึ ษาท่สี าเรจ็ การศึกษา โดยไมต่ ้องพิมพ์คาวา่ ปกี ารศึกษา 2.4 สาหรับวทิ ยานพิ นธ์ฉบบั ภาษาองั กฤษ ให้ใชต้ ัวอกั ษรตวั พมิ พใ์ หญท่ ัง้ หมด 3. ใบรองปก (Blank Page) เป็นกระดาษปอนด์อย่างหนาสีขาว ถัดจากปกแข็งด้านหน้า และปกแข็งด้านหลงั ด้านละ 1 แผน่ 4. หน้าปกใน (Title Page) ให้พิมพ์ข้อความต่าง ๆ เช่นเดียวกบั ปกนอก แต่ไมต่ ้องพิมพ์ชื่อ เรอ่ื งวิทยานิพนธเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษ

- 14 - 5. หน้าอนุมัติ (Approval Page) เป็นเอกสารรับรองว่าวิทยานิพนธ์ฉบับน้ี ได้ผ่านการ พิจารณาและอนุมัติโดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์แล้ว และควรใช้ปากกาหมึกซึมสีดาในการลงนาม ข้อความประกอบหน้าอนุมัติประกอบด้วย หัวข้อวิทยานิพนธ์ภาษาไทย หัวข้อวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ สาหรับหัวข้อวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ ให้ใช้ตัวอกั ษรตัวพิมพ์ใหญ่ในอักษรตัวแรกของคาทุกคาเสมอ ยกเว้น คาบุพบท หรือคาสันธาน เว้นแต่บุพบทหรอื สันธานดังกล่าวจะเป็นคาแรกของช่ือให้ใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ชื่อ-นามสกุลผู้เขียน สาขาวิชา/วิชาเอก อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ปีการศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษา และ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ โดยองค์ประกอบเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย (ดูตัวอย่างภาคผนวก จ และ ฉ 6. หน้าบทคัดย่อ (Abstract) เป็นการสรุปเนื้อความของวิทยานิพนธ์ท่ีกระชับ ชัดเจน ทาให้ ผอู้ ่านทราบถงึ เน้ือหาของวทิ ยานิพนธ์ได้อย่างรวดเรว็ ถูกต้อง การเขียนบทคัดยอ่ ท่ีดี ควรเขียนให้ต่อเน่ืองกัน ในลักษณะความเรียง โดยครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์และขอบเขตการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย โดยสังเขป และต้องไม่เกินหนึ่งหน้ากระดาษ A4 ผลการวิจัยให้เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาไทยก่อน ส่วนหน้า ถดั ไปเปน็ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ในการจัดทาบทคดั ย่อ ประกอบด้วย 3 สว่ น ไดแ้ ก่ 6.1 ส่วนท่ีเก่ียวข้องกับผู้จัดทาวิทยานิพนธ์ ได้แก่ ช่ือเร่ืองวิทยานิพนธ์ ชื่อ-สกุลของ นกั ศึกษา สาขาวชิ า/วชิ าเอก อาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ และปกี ารศึกษาที่สาเร็จการศึกษา 6.2 ส่วนบทคัดย่อ เป็นส่วนที่กล่าวถึงสาระสาคัญของวิทยานิพนธ์ ให้แบ่งออกเป็น 3 ยอ่ หน้า ได้แก่ ย่อหน้าท่ี 1 ประกอบด้วยท่ีมา ความสาคัญ ปัญหา หรือหลักการและเหตุผล วตั ถุประสงค์ จุดม่งุ หมาย และขอบเขตการวจิ ัย ย่อหน้าท่ี 2 ประกอบด้วย วิธีการวิจัย ครอบคลุมลักษณะและจานวนของกลุ่มที่ ทาการศึกษา เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั และวธิ กี ารเกบ็ ข้อมลู และสถติ ิ ยอ่ หน้าที่ 3 เปน็ ผลการวิจัย 6.3 คาสาคัญ (Keywords) หมายถึงวลีหลักท่ีปรากฏอยู่ในช่ือเร่ืองวิทยานิพนธ์ สาหรับ ใชส้ ืบค้นข้อมูลจากฐานขอ้ มลู วิทยานิพนธ์ โดยให้ระบุจานวนคาไม่นอ้ ยกว่า 3 คาสาคัญ แต่ไมค่ วรเกิน 5 คาสาคัญ สาหรับรูปแบบบทคัดย่อภาษาไทย ภาษาอังกฤษ แสดงดังภาคผนวก จ และ ฉ และ รูปแบบการจดั พิมพ์รายนามอาจารยใ์ นวิทยานพิ นธ์ แสดงดงั ภาคผนวก ค 7. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) เป็นส่วนท่ีผู้วิจัยแสดงความขอบคุณ ผู้ช่วยเหลือ สนับสนุนและให้ความร่วมมือด้านต่าง ๆ ในการทาวิทยานิพนธ์ ขอบคุณมหาวิทยาลัยและ องค์กรท่ีให้ความช่วยเหลือด้านข้อมูล ให้ลงชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์โดยไม่ต้องระบุคานาหน้านามไว้ท้าย ขอ้ ความ โดยพิมพเ์ ยอื้ งไปทางขวามือของข้อความ (ดูตวั อย่างภาคผนวก จ)

- 15 - 8. สารบัญ (Table of Contents) เป็นส่วนที่แสดงให้ทราบถึงลาดับหน้าของหัวข้อเร่ือง ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์แต่ละบท แต่ละเร่ืองเร่ิมต้นจากหน้าใด ช่วยให้ความสะดวกในการค้นหา เรอื่ งหรือบทที่ต้องการ (ดตู ัวอย่างภาคผนวก จ และ ฉ) 9. สารบัญตาราง (List of Tables) เป็นส่วนท่ีแสดงลาดับหน้าของตารางทั้งหมดท่ีมีอยู่ใน วทิ ยานิพนธ์ รวมท้ังตารางในภาคผนวกดว้ ย (ดตู วั อย่างภาคผนวก จ และ ฉ) 10. สารบัญภาพ (List of Figures) ในกรณีท่ีวิทยานิพนธ์มีภาพ ส่วนน้ีจะเป็นส่วนท่ีแสดง ลาดับหน้าของภาพประกอบซึ่งมีหลายประเภท ได้แก่ รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ ที่มีอยู่ ทั้งหมดในวิทยานิพนธ์น้ันว่าอยู่ท่ีหน้าใด ลาดับท่ีของภาพประกอบและช่ือของภาพประกอบจะต้องตรง กับทีใ่ หไ้ วใ้ นเนอื้ หา (ดูตวั อยา่ งภาคผนวก จ และ ฉ) 11. คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (List of Abbreviations) เป็นส่วนท่ีอธบิ ายความหมาย ของสัญลักษณ์และคาย่อต่าง ๆ ท่ีใช้ในวิทยานิพนธ์ ซ่ึงจะมีหรือไม่มีก็ได้ แล้วแต่ความจาเป็น เพ่ือให้ ผู้อ่านเข้าใจถึงความหมายของสัญลักษณ์หรือคาย่อ โดยให้พิมพ์เรียงตามลาดับตัวอักษรไทย – อังกฤษ โดยใชภ้ าษาไทยข้ึนกอ่ น (ดูตวั อย่างภาคผนวก จ และ ฉ) สว่ นเนือ้ หา (Text) สายสงั คมศาสตร์ ส่วนนี้เป็นส่วนท่ีสาคัญท่ีสุดของวิทยานิพนธ์ มีทั้งหมด 5 บท ประกอบด้วย บทนา เอกสาร และงานวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ ง วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลหรือผลการวิจัย สรุปผลการวิจยั การ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สาหรับรายละเอียดแต่ละส่วน มดี งั น้ี บทท่ี 1 บทนา (Introduction) การเขียนบทนา จะมีหัวข้อที่เขียนตามเค้าโครง วิทยานิพนธ์ ซึ่งมีรายละเอียดเหมือนกับหลักการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ เพียงแต่ผู้เขียนรายงาน วทิ ยานิพนธน์ าหวั ขอ้ ต่าง ๆ ในบทนา มาเขยี นให้มคี วามสมบูรณ์มากยงิ่ ข้นึ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง (Literature Reviews) ในส่วนนี้จะนาเอกสาร และงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ งทเ่ี ขียนไวใ้ นเค้าโครงวิทยานพิ นธ์มาเขียนข้นึ ใหม่ให้ดีข้นึ โดยการค้นคว้าเพ่มิ เติม บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจัย (Research Methodology) สาหรับวิธีดาเนินการวิจัยได้ กาหนดไวแ้ ล้วในเค้าโครงการวิจยั ดังน้นั การเขยี นวธิ ีดาเนนิ การวิจัย ก็ทาโดยการนาวธิ ดี าเนนิ การวจิ ัยที่ เขียนไว้ในเค้าโครงวิทยานิพนธ์มาเขียนเพ่ิมเติมให้มคี วามสมบูรณ์มากข้นึ ตามวิธีดาเนินการวิจัยจริง เช่น ผลการตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ข้อมูลกลับคืนมา เปน็ ต้น บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (Research Result) ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูลโดยทว่ั ไปจะประกอบด้วย สว่ นท่ี 1 ขน้ั ตอนในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู สว่ นท่ี 2 การนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ส่วนที่ 3 การแปลผลหรอื การตีความหมายของผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

- 16 - สาหรับหลกั ในการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู มดี งั นี้ 1. จดั ลาดบั ขัน้ ตอนในการนาเสนอเป็นตอน ๆ โดยยดึ วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั เป็น หลัก โดยท่ัวไปจะนาเสนอตอนที่ 1 เป็นข้อมูลพ้ืนฐานของกลุ่มตัวอย่าง ตอนต่อไปก็จาเนกตาม วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 2. นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามข้ันตอนท่ีกาหนดไว้ในข้อ 1 โดยสามารถ นาเสนอได้หลายลกั ษณะ ได้แก่ 2.1 เสนอเป็นบทความหรือบรรยาย การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลมักใช้กับ ข้อมูลทมี่ ตี ัวเลขไมม่ ากนัก 2.2 เสนอเป็นแบบบรรยายกึ่งตาราง วิธีน้ีจะคล้ายกับการเสนอเป็นบทความ เพยี งแต่มตี วั เลขไม่มากนัก 2.3 การเสนอแบบตาราง วธิ ีนี้จะนาเสนอด้วยตารางและการบรรยายใตต้ าราง ลักษณะของตาราง ประกอบดว้ ย 2.3.1 หมายเลขตารางและช่อื ตาราง 2.3.2 ขอ้ มูลในตาราง บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ (Conclusion, Discussion and Recommendations) ในส่วนนี้เป็นส่วนที่ผู้ทาการวิจัยสรุปการทาวิจัยเริ่มแรกตั้งแต่ต้นจนจบ โดยมุ่งให้ ผอู้ า่ นทราบอย่างนอ้ ย 4 ประเดน็ ได้แก่ 1. สรุปวัตถุประสงค์ของการวิจัยและวิธีดาเนินการวิจัย ในส่วนน้ีจะเป็นการสรุป เก่ียวกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย โดยเขียนเป็นข้อความ ตอ่ เนอ่ื งกนั 2. สรุปผลการวิจัย ในส่วนน้ีเป็นการสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยโดยนา ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลในบทท่ี 4 มาสรุป 3. การอภิปรายผล ในส่วนนี้จะเป็นการนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลหรือผลการวิจัย มาอภิปรายว่าเป็นไปตามสมมติฐานของการวจิ ัยท่ีกาหนดไว้หรือไม่ โดยนาทฤษฎี เอกสาร ผลงานวิจัยท่ี เก่ยี วข้องมาอภิปรายประกอบ ซงึ่ บางครง้ั อาจใช้ความเหน็ เชิงเหตุผลของผวู้ จิ ยั มาอภปิ รายประกอบด้วย อย่างมหี ลกั การ การอภิปรายผลน้เี ปน็ การนาเสนอข้อมลู สนับสนุนเพื่อทาใหผ้ ลการวจิ ยั ชดั เจนขึน้ 4. ขอ้ เสนอแนะ ประกอบด้วย 2 สว่ น ได้แก่ 4.1 ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ ในส่วนน้ีจะมีความเก่ียวข้อง กับหัวข้อหรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยในบทที่ 1 โดยนาเสนอในลักษณะที่ว่าผู้เก่ียวข้อง จะนาขอ้ คน้ พบจากการวจิ ัยไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งไรบา้ ง 4.2 ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยในครั้งต่อไป ในส่วนน้จี ะเปน็ การเสนอวา่ ผู้ท่ีศกึ ษา เพิม่ เติมตอ่ ในเรอ่ื งทวี่ จิ ัย ควรศกึ ษาเพ่มิ เตมิ ในดา้ นใดบ้าง ควรขยายขอบเขตของการวจิ ัยออกไปอย่างไร

- 17 - ส่วนท้าย ในสว่ นนจี้ ะประกอบดว้ ย 1. บรรณานุกรม (Bibliography) การเขียนบรรณานกุ รม ใหศ้ ึกษาจากรายละเอียดในบทท่ี 6 2. ภาคผนวก (Appendix) เป็นส่วนท่ีอยู่ต่อบรรณานุกรม โดยเป็นแหล่งใหข้ ้อมูลเพ่ือแสดง วา่ วิทยานิพนธ์มคี ณุ ภาพ เชน่ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยั ข้อมูลที่แสดงผลการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ รายช่ือผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ นอกจากนี้อาจเป็นตารางต่าง ๆที่ไม่ได้ไส่ไว้ใน บทท่ี 4 โดยพิมพ์คาว่า “ภาคผนวก” ไว้กลางหน้ากระดาษ พร้อมช่ือเรื่อง หากภาคผนวกมีหลายเรื่อง ควรเรียงและจัดลาดบั ตามตวั อกั ษร เชน่ ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข พรอ้ มช่ือเรือ่ งนน้ั ๆ เปน็ ตน้ 3. ประวตั ผิ ู้เขยี น (Biography) เป็นการเสนอประวตั ิโดยย่อของผวู้ ิจัย โดยมีข้อความดังน้ี 3.1 ชื่อ – นามสกุล 3.2 วนั เดอื น ปเี กิด 3.3 ทอี่ ยหู่ รือสถานทีต่ ดิ ต่อ 3.4 ประวัติการศึกษาตั้งแต่ระดับปรญิ ญาตรี โดยระบุช่ือสถานศึกษาและปีการศึกษาที่ สาเรจ็ การศกึ ษาในแต่ละระดับดว้ ย 3.5 ประวัติการทางาน ให้ระบุประสบการณ์การทางานในปัจจุบัน โดยระบุปี พ.ศ. ต้งั แตเ่ ร่มิ ทางานจนถงึ ปัจจบุ ัน ตาแหน่งและสถานทที่ างาน สว่ นเนือ้ หา (สายวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ในส่วนของเนื้อหาจะหมายถึงบทท่ี 1 จนถึงบทสุดท้ายของวิทยานิพนธ์ แต่จะไม่รวมถึง เอกสารอ้างอิง ภาคผนวกและประวตั ิเขียนซงึ่ จะอยู่ในส่วนอ้างองิ องคป์ ระกอบหลักของส่วนเน้ือหาควร จะประกอบอย่างน้อย 5 บทคือ บทนา วรรณกรรมหรืองานวิจัยที่เก่ียงข้อง วิธีดาเนินการวิจัย ผลการ ทดลอง การวจิ ารณ์หรือวเิ คราะหแ์ ละสรุปผลการทดลอง บทท่ี 1 บทนา (Introduction) การเขียนบทนา จะมีหัวข้อท่ีเขียนตามเค้าโครง วิทยานิพนธ์ ซ่ึงมีรายละเอียดเหมือนกับหลักการเขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์ เพียงแต่ผู้เขียนรายงาน วิทยานพิ นธน์ าหวั ขอ้ ต่าง ๆ ในบทนา มาเขียนใหม้ ีความสมบูรณ์มากย่ิงขน้ึ บทท่ี 2 วรรณกรรมหรืองานวิจัยที่เก่ียวข้อง (Literature Reviews) บทที่ต่อจากบทนา ควรจะเป็นบทที่กล่าวถงึ สาระถงึ แนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรมหรือผลงานวิจัยที่มีผทู้ ามาแล้ว โดยทีจ่ ะตอ้ ง มีความสาคัญและเกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่ผู้เขียนวิทยานิพนธ์ดาเนินการ โดยเนื้อหาจะเป็นการบ่งชี้หรือ นาเขา้ สู่กระบวนการวิจัยของผ้เู ขยี น การเขยี นเน้อื หาในส่วนนี้สามารถเขียนได้มากกวา่ หนงึ่ บท บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย (Research Methodology) บทที่ต่อจากของวรรณกรรมหรือ งานวิจัยที่เก่ียวข้องควรจะเป็นบทที่กล่าวถึงลักษณะข้อมูลและข้ันตอนการทาวิจัยอย่างละเอียด ซึ่งจะ ประกอบด้วยสิง่ ตอ่ ไปนี้

- 18 - 1. วิธที ีใ่ ช้ศึกษา คน้ คว้าและวิจัย 2. ลักษณะข้อมูล การเลอื กข้อมลู และเหตุผลในการคดั เลือก 3. เครื่องมือและวธิ ีการ 4. ขั้นตอนในการรวบรวมข้อมลู 5. วิธีวเิ คราะหข์ อ้ มูล การเขยี นเน้ือหาในส่วนนท้ี งั้ หมดสามารถเขยี นได้มากกวา่ หนึ่งบท บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิจารณ์หรือการวิเคราะห์ (Research Result) บทที่ต่อ จากบทของวิธีการดาเนินการวิจัยควรจะเป็นบทท่ีนาผลท่ีได้จากการศึกษาคน้ คว้า วิจัยข้อมูลมานาเสนอ โดยละเอียด ซึ่งอาจประกอบด้วยตารางภาพประกอบหรือกราฟ การเขียนเนื้อหาในส่วนนี้ท้ังหมด สามารถเขยี นไดม้ ากกวา่ หน่งึ บท บทท่ี 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ (Conclusion and Recommendations) การเขียนเนื้อหาในส่วนน้ีท้ังหมดควรมีเพียงบทเดียว เป็นการเขียนในเชิงวิจารณ์ผลการทดลองโดยมี จุดหมายดงั นี้ 1. เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นเห็นคลอ้ ยถึงหลกั การทีแ่ สดงออกมา 2. เพื่อสนบั สนนุ หรอื คดั คา้ นทฤษฎีทม่ี ผี ู้เสนอมาก่อน 3. เพ่ือเปรียบเทยี บกับผลการทดลองหรือการตีความหมายของผ้อู นื่ 4. เพ่ือสรุปสาระสาคัญและประจักษ์พยานของผลการทดลอง ผู้เขียนควรพยายาม เน้นถึงปัญหาหรือข้อโตแ้ ย้งในสาระสาคญั ของเรอ่ื งทีกาลังกล่าวถงึ ตลอดจนข้อเสนอแนะเพ่ือการทาวจิ ัย ในอนาคต หมายเหตุ การตั้งช่อื บท จานวนบท และการเรยี บเรียงสว่ นของเน้ือหาข้ึนอยูก่ ับความเหมาะสมของ ผลการวจิ ยั ส่วนทา้ ย ใหจ้ ดั ทารปู แบบเช่นเดยี วกันกับการทาวทิ ยานิพนธ์สายสงั คมศาสตร์ สว่ นประกอบของการค้นคว้าอสิ ระในรปู ของแผนธรุ กิจ สาหรบั ส่วนประกอบของการคน้ คว้าอสิ ระในรูปของแผนธรุ กิจ สรปุ ไดด้ ังน้ี ส่วนนา (Preliminaries) ใหจ้ ดั ทารปู แบบเช่นเดยี วกนั กบั การทาวิทยานพิ นธ์และการค้นควา้ อิสระ

- 19 - ส่วนเน้อื หา (Text) อาจจะประกอบดว้ ย ดังนี้ บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคญั ของธรุ กิจ วตั ถปุ ระสงค์ วสิ ัยทัศน์และพันธกิจ เป้าหมายของธุรกิจ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มของธุรกิจ (SWOT) บทที่ 2 การศึกษาด้านการตลาด สภาพทางการแข่งขัน การวเิ คราะห์สภาพการแข่งขัน แผนการทาวิจัยตลาด ผลการวจิ ัย การนาผลการวจิ ัยมาใช้ในการวางแผนการตลาด การแบ่งส่วนตลาดและการกาหนดตลาดเป้าหมาย การวางตาแหนง่ ผลิตภณั ฑ์ กลยทุ ธส์ ว่ นผสมทางการตลาด บทที่ 3 การศึกษาดา้ นการผลติ กลยทุ ธ์และแผนการผลติ กรรมวธิ กี ารผลติ การควบคมุ คุณภาพ ขอ้ บังคับทางกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง บทท่ี 4 การศกึ ษาดา้ นการจัดการ โครงสรา้ งองค์กร ระเบียบปฏิบัตงิ านขององค์กร บทที่ 5 การศกึ ษาด้านการเงิน นโยบายการเงนิ แหล่งเงินทนุ สมมตฐิ าน และการประมาณการทางการเงนิ การประเมินการควบคุม การประมาณรายได้ สรปุ ผลการวิเคราะห์ทางการเงิน

- 20 - บทที่ 6 สรุปผลและแผนฉกุ เฉิน สรุปผลการศึกษา แผนฉุกเฉนิ ส่วนทา้ ย ให้จัดทารปู แบบเช่นเดียวกันกับการทาวทิ ยานิพนธแ์ ละการคน้ ควา้ อสิ ระ

บทท่ี 4 หลกั เกณฑแ์ ละรูปแบบการพมิ พ์วิทยานพิ นธแ์ ละการคน้ คว้าอิสระ หลักเกณฑ์และรูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระมี 2 ส่วน คือ หลักเกณฑ์ ท่ัวไป และหลักเกณฑ์เฉพาะส่วนประกอบแต่ละส่วน ซึ่งรายละเอียดทั้งหมด จะนาเสนอเป็นข้อ ๆ ตามลาดบั ดังน้ี หลกั เกณฑท์ วั่ ไป หลักเกณฑท์ วั่ ไปสาหรับการพมิ พ์วิทยานิพนธ์และการค้นควา้ อิสระ มดี งั นี้ 1. กระดาษท่ีใช้พิมพ์ อัดสาเนาหรือถ่ายเอกสาร ใช้กระดาษคุณภาพดีสีขาวเหมือนกัน ทุกแผ่น ขนาดกว้าง 8.5 น้ิว ยาว 11.5 นิ้ว หรือขนาด A4 ความหนาไม่ต่ากว่า 80 แกรม ใช้พิมพ์เพียง หน้าเดียว หากวิทยานิพนธห์ รือการค้นคว้าอิสระมคี วามหนาเกิน 250 หน้า อนุโลมให้จดั พิมพ์หน้า-หลัง เฉพาะในส่วนของเนือ้ หา 2. การเว้นขอบกระดาษ ให้เว้นขอบกระดาษอยู่ในแนวเดียวกันทุกหน้า ไม่ต้องตีกรอบ โดยเวน้ ระยะหา่ ง ดังนี้ 2.1 หนา้ ปกนอก 2.1.1 หวั กระดาษให้เว้น 4.5 เซนติเมตร 2.1.2 ขอบขวามือและขอบซ้ายมือให้เวน้ 2.5 เซนติเมตร 2.1.3 ขอบล่างให้เวน้ 3.5 เซนตเิ มตร 2.2 หนา้ ปกใน 2.2.1 หวั กระดาษใหเ้ ว้น 4.5 เซนตเิ มตร 2.2.2 ขอบขวามอื ใหเ้ ว้น 2.5 เซนตเิ มตร 2.2.3 ขอบซ้ายมือและขอบล่างให้เวน้ 3.5 เซนติเมตร 2.3 บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ ช่ือบท บรรณานกุ รม ประวตั ผิ ู้เขียน 2.3.1 หวั กระดาษใหเ้ ว้น 3.5 เซนตเิ มตร 2.3.2 ขอบขวามอื ให้เว้น 2.5 เซนตเิ มตร 2.3.3 ขอบซ้ายมือและขอบลา่ งใหเ้ ว้น 3.5 เซนติเมตร 3. การเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบรรทัด 3.1 กรณีท่เี ปน็ วิทยานิพนธ์ภาษาไทย ให้กาหนดระยะห่างระหวา่ งบรรทัดเป็นแบบระยะ พิมพ์เดี่ยว (Single Space) ส่วนกรณีท่ีเป็นวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษซ่ึงใช้ตัวพิมพ์ชนิด Times New Roman ให้กาหนดระยะหา่ งระหว่างบรรทดั เปน็ 1.5 เท่า

- 22 - 3.2 ระยะห่างระหว่างช่ือบทกับหัวข้อแรกหรือบรรทัดแรกของเน้ือเรื่องให้เว้นว่าง 2 บรรทัด 3.3 เม่ือข้ึนหัวข้อใหม่ ระยะห่างระหว่างบรรทัดสุดท้ายของหัวข้อเดิมกับหัวข้อใหม่ ให้ เว้นวา่ ง 1 บรรทัด 4. การยอ่ หน้า ใหเ้ วน้ ระยะจากขอบซ้ายมอื 1.6 เซนติเมตร 5. ตวั อกั ษรทใี่ ชใ้ นการพมิ พ์ 5.1 วิทยานิพนธ์ที่พิมพ์เป็นภาษาไทยและมีภาษาอังกฤษแทรก ให้ใช้ชนิดตัวพิมพ์แบบ TH Sarabun PSK ตลอดทัง้ เลม่ สาหรบั ขนาดและรูปแบบตัวอกั ษร กาหนดดังนี้ 5.1.1 ส่วนเนื้อเร่ืองและรายละเอียดของส่วนต่าง ๆ โดยทั่วไปภายในเล่ม ให้ใช้ ขนาด 16 พอยด์ ตัวพิมพธ์ รรมดา 5.1.2 หวั ขอ้ ใหญ่ในส่วนของเน้ือเร่อื ง ให้ใช้ขนาด 18 พอยด์ ตัวพมิ พห์ นา 5.1.3 ช่ือบท ชื่อส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น กิตติกรรมประกาศ สารบัญ ให้ใช้ขนาด 20 พอยด์ ตวั พิมพห์ นา 5.2 วิทยานิพนธ์ที่พิมพ์เป็นภาษาอังกฤษทั้งเล่ม ให้ใช้ชนิดตัวพิมพ์แบบ Times New Roman สาหรบั ขนาดและรปู แบบตัวอกั ษร กาหนดดงั น้ี 5.2.1 ส่วนเน้ือเรื่องและรายละเอียดส่วนต่าง ๆ โดยทั่วไปภายในเล่ม ให้ใช้ขนาด 12 พอยด์ ตัวพิมพ์ธรรมดา 5.2.2 หวั ขอ้ ใหญใ่ นสว่ นของเน้ือเรือ่ ง ให้ใช้ขนาด 12 พอยด์ ตวั พิมพห์ นา 5.2.3 ช่ือบท ชื่อส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น กิตติกรรมประกาศ สารบัญ ให้ใช้ขนาด 12 พอยด์ ตวั พมิ พ์หนา 6. เลขกากับหน้าและการนับหน้า แบ่งออกเป็น 6.1 ส่วนนา ให้ใช้ตัวเลขอารบิก โดยใส่ไว้ในวงเล็บ เร่ิมนับต้ังแต่หน้าปกในเป็นต้นไป จนจบหน้าสุดท้ายของส่วนนา แต่จะไม่พิมพ์ลาดับหน้าในหน้าปกใน ให้เร่ิมพิมพ์ลาดับหน้าจากหน้า บทคัดย่อเป็นต้นไป เช่น (3), (4), (5), ...... ตามลาดับ การพิมพ์ลาดับหน้าให้พิมพ์ไว้ท่ีก่ึงกลาง หนา้ กระดาษดา้ นลา่ งห่างจากขอบกระดาษข้นึ มา 2 เซนติเมตร 6.2 ส่วนเนื้อหาและส่วนท้าย ให้ใส่ตัวเลขอารบิก นับต่อจากส่วนนา เช่น 10, 11, 12, ... ตามลาดับ โดยพิมพ์ไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษงห่างจากขอบล่าง 2 เซนติเมตร สาหรับหน้าแรก ของบท หน้าแรกของบรรณานุกรม หน้าแรกของภาคผนวกและภาคผนวกย่อย ให้นับลาดับหน้า แต่ไม่ ตอ้ งพมิ พ์ตัวเลขทหี่ น้าน้นั 7. การจัดลาดับตาแหน่งข้อความในหน้ากระดาษ การพิมพ์รายละเอียดในส่วนเนื้อหา โดยทั่วไปควรจัดตาแหน่งข้อความในหน้ากระดาษเป็นแบบชิดขอบ เพ่ือความสวยงาม ทั้งน้ีให้คานึงถึง ความถูกต้องเหมาะสมทางด้านภาษา ไมค่ วรพิมพ์แยกคา เช่น คาว่า “ข้อมลู ” ไมค่ วรพิมพ์คาว่า “ข้อ” อยบู่ รรทดั หนึง่ และคาวา่ “มูล” อยู่อกี บรรทัดหน่ึง

- 23 - 8. การพิมพ์ช่ือบท เม่ือข้ึนบทใหม่ต้องขึ้นหน้าใหม่เสมอ และให้มเี ลขประจาบทโดยใช้เลข อารบิก โดยให้พิมพ์คาว่า “บทที่” สาหรบั วทิ ยานพิ นธภ์ าษาอังกฤษ พิมพ์คาวา่ “CHAPTER” ไวบ้ รรทัด แรกของหน้าและจัดให้อยู่กงึ่ กลางหน้ากระดาษ ส่วนช่อื เร่อื งของบทใหพ้ ิมพ์ไว้บรรทัดถัดลงมาและจัดให้ อยู่ก่ึงกลางหน้ากระดาษเช่นเดียวกัน ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัด ให้แบ่งเป็น 2-3 บรรทัดตาม ความเหมาะสม โดยพิมพ์เรียงลงมาเป็นลกั ษณะสามเหล่ียมกลบั หัว 9. การพมิ พ์หัวข้อในบท 9.1 การแบ่งหวั ขอ้ ในแตล่ ะบท ใหแ้ บ่งออกเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวขอ้ ยอ่ ยตามลาดบั 9.2 การพิมพ์หัวข้อใหญ่ภาษาอังกฤษ ให้พิมพ์อักษรตัวแรกของคาแรกและคาสาคัญ ทุกคาดว้ ยตวั พมิ พ์ใหญ่เสมอ 9.3 หัวข้อท่ียาวเกิน 1 บรรทัด ให้แบ่งพิมพ์เป็น 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม ไมพ่ ิมพแ์ ยกคาเช่น กรงุ เทพมหานคร ไม่พิมพแ์ ยกเปน็ กรงุ เทพ-มหานคร เปน็ ตน้ 9.4 เม่ือจะขึ้นหัวข้อใหม่ในส่วนท้ายกระดาษ แต่มีที่ว่างสาหรับพิมพ์ข้อความภายใต้ หวั ขอ้ น้นั ไดอ้ กี ไมเ่ กิน 1 บรรทดั ให้ข้ึนหวั ข้อใหม่ในหนา้ ถดั ไป 9.5 ไม่ใช้สัญลักษณ์ เช่น ☺ ♣ ♦ ○ ฯลฯ แสดงหัวข้อย่อย เนื่องจาก วิทยานิพนธเ์ ป็นเอกสารทางวชิ าการ การใชส้ ญั ลักษณด์ ังกล่าวจึงไมเ่ หมาะสม 9.6 การพิมพ์หวั ข้อใหญ่ ให้เรมิ่ พิมพ์ที่แนวชิดขอบด้านซ้ายของหน้า เวน้ จากขอ้ ความใน ย่อหน้าก่อน 1 บรรทัด การเร่ิมต้นพิมพ์หัวข้อใหญ่ให้ใช้ตัวเลขของบทที่เป็นหลัก เช่น หัวข้อใหญ่ใน บทท่ี 1 ให้ขนึ้ ต้นดว้ ยตัวเลข 1 ตามดว้ ยมหัพภาคเพื่อใช้เป็นจุดทศนิยม และตามด้วยตัวเลขลาดับหัวข้อ ใหญ่ (หัวข้อใหญ่ให้มีจุดทศนิยม 1 จุด) ดังนั้นหัวข้อใหญ่หัวข้อแรกของบทท่ี 1 จึงใช้เลข 1.1 กากับ เช่น “1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา” เป็นต้น หัวข้อใหญ่หัวข้อที่ 2 3 4 ก็ให้ใช้ตัวเลข 1.2 1.3 1.4 กากับตามลาดับหัวข้อในบทอ่ืน ๆ ให้ถือปฏิบัติในแนวเดียวกัน เช่น ในบทท่ี 2 ขึ้นต้นด้วย ตัวเลข 2 บทที่ 3 ข้นึ ต้นดว้ ยตัวเลข 3 เปน็ ตน้ การพิมพ์หัวขอ้ ใหญใ่ ห้เว้น 1 บรรทดั 9.7 หัวขอ้ ยอ่ ย ให้พิมพ์ย่อหน้าโดยเว้นระยะ 1.6 เซนติเมตร โดยใช้หมายเลขของหวั ข้อ ใหญ่ กากับลงมาตามลาดับ เช่น ถ้าหัวข้อใหญ่ให้เป็น 3.4 (บทท่ี 3 หัวข้อใหญ่ท่ี 4) หัวข้อย่อยลาดับท่ี 1 ให้ใช้เลข 3.4.1 กากับ เป็นต้น หัวข้อย่อยลาดับถัดไปให้เว้นระยะตรงกับตัวอักษรตัวแรกของข้อความ หัวข้อย่อยลาดับที่ 1และให้ใช้เลข 3.4.2 3.4.3 กากับตามลาดับ การพิมพ์หัวข้อย่อยไม่ต้อง เว้นบรรทดั 9.8 การแบ่งหัวขอ้ ใหญ่และหัวข้อยอ่ ยในแต่ละบท ให้ใช้ตัวเลขและ/หรือตัวอกั ษรกากับ หวั ขอ้ อย่างชดั เจน กรณที ีใ่ ชต้ ัวเลขอย่างเดยี ว ไม่ควรแบ่งยอ่ ยโดยใชต้ ัวเลขมากกวา่ 4 ตวั เชน่ 1.1.1.1.1 แตค่ วรใช้ตัวอักษรหรือใช้เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ช่วยในการแบง่ ย่อย และถา้ เลือกใช้ระบบใดแล้ว ใหใ้ ช้ แบบเดียวกนั ตลอดท้ังเล่ม 9.9 ในกรณีที่มีประเด็นย่อยลงไป (จากระดับที่ใช้วงเล็บปิดกากับ) ให้พยายามเขียนเป็น ความเรยี งเบ็ดเสร็จ ภายในหัวขอ้ ย่อยในระดับทีม่ วี งเล็บปดิ กากับน้ัน แต่ถา้ หากประเด็นย่อยดังกลา่ ว

- 24 - มีหลายประเด็นและแต่ละประเด็นมีความยาวมาก หากเขียนเป็นความเรียงอาจทาให้เสียความ กรณีเช่นนี้ ผ้วู ิจัยสามารถจัดหัวข้อยอ่ ยเหล่านั้นไว้ในย่อหน้าถัดเข้าไปได้ (เป็นระดบั สุดท้ายที่มีตัวเลขกากับ) และให้ใช้ เลข (1) (2) (3) ซ่ึงเป็นเลขในวงเล็บ กากับประเด็นย่อยน้ัน ๆ หากจาเป็นต้องย่อหน้าเข้าไปลึกกว่าน้ี อาจจัดเปน็ ยอ่ หนา้ ได้ แตต่ ้องไมใ่ ชห้ มายเลขหรืออักษรใด ๆ กากบั 9.10 ในกรณกี ารเรยี งลาดับหมายเลขหวั ขอ้ ตามแบบต้นฉบับเดมิ เช่น กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ ใหเ้ ขยี นหัวข้อเรียงตามรูปแบบเดิมไดโ้ ดยอนโุ ลม 9.11 ในกรณีจาเป็นต้องนาข้อมูลท่ีมีตัวเลขกากับหัวขอ้ มาเรียงไว้ใน ย่อหน้าเดียวกันใน ลกั ษณะความเรียง ให้เขียนหมายเลขเรียงลาดับต่อเนื่องกันไปและให้ใช้เคร่ืองหมายวงเล็บปิดกากับเลข ลาดับหัวข้อนั้น ๆ เช่น 1)...2)....3).... หรืออาจเขียนหัวข้อเรียงลงมาตามลาดับ โดยกากับตัวเลขด้วย เคร่ืองหมายมหัพภาค ( . ) เชน่ 1. ..... 2. .... ตัวอยา่ งการพิมพห์ ัวข้อในบท การแบง่ หัวข้อใหญแ่ ละหัวขอ้ ย่อย ดูที่ภาคผนวก จ 10. การพิมพ์ตาราง 10.1 ตาราง 1 ตาราง ประกอบด้วย ลาดับท่ีและชื่อของตารางอยู่ส่วนบน ตามด้วย ตัวตาราง และอาจมีการอ้างอิงทม่ี าของตาราง และหมายเหตุคาอธบิ ายเพิม่ เตมิ ในสว่ นทา้ ย 10.2 การพิมพ์ลาดับท่ีและชื่อของตาราง ให้พิมพ์ไว้เหนือตารางน้ัน ๆ โดยพิมพ์คาว่า “ตารางท่ี…” วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ พิมพ์คาว่า “Table…” ชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษแล้วระบุ ลาดับที่ของตารางโดยใช้ตัวเลขอารบิก เช่น “ตารางท่ี 4.1” หรือ “Table 4.1” และกาหนดรูปแบบ ตวั อกั ษรเป็นแบบตัวหนา จากนน้ั ให้เว้น 2 ช่วงตัวอักษรแล้วพิมพช์ อ่ื ตารางโดยใชต้ ัวอักษรแบบธรรมดา หากชื่อตารางยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้แบ่งเป็น 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม โดยให้อักษรตัวแรก ของขอ้ ความในบรรทัดที่ 2 หรือ 3 ตรงกบั อกั ษรตัวแรกของชอื่ ตารางในบรรทดั แรก 10.3 การพิมพ์ตารางโดยท่ัวไปประกอบด้วย ส่วนหัวของตาราง และส่วนของข้อความ ในตาราง ใหจ้ ัดวางตารางชดิ ขอบซา้ ยของหน้ากระดาษหรือจัดวางใหเ้ หมาะสมสวยงาม และไม่ควรมีเส้น แบ่งสดมภ์ (Column) กรณีตารางอยู่ในหน้าเดียวกับเนื้อหาวิทยานิพนธใ์ ห้เว้นระยะบรรทัดด้านบนของ ตารางกับเนอ้ื หาวิทยานพิ นธ์ 1 บรรทัด 10.4 การตีเส้นตาราง ใหต้ ีเสน้ ตารางเฉพาะสว่ นหวั ตารางและสว่ นทา้ ยตารางเทา่ น้นั 10.5 ตารางที่มีความยาวมาก ไม่สามารถพิมพ์ให้สิ้นสุดในหน้าเดียวได้ ให้พิมพ์ส่วนที่ เหลือในหน้าถัดไป ทั้งน้ีจะต้องมีลาดับที่และช่ือตารางทุกหน้า และพิมพ์คาว่า (ต่อ) หรือ (Cont.) ไว้ใน วงเล็บตอ่ ทา้ ยชือ่ ของตารางดว้ ย สาหรับตวั ตารางต้องมสี ่วนหัวของตารางทกุ หนา้ เช่นกัน 10.6 การพิมพ์คาอธิบายตาราง ให้พิมพ์บรรทัดถัดไปต่อจากตาราง โดยเว้น 1 ระยะ บรรทดั ใหพ้ ิมพ์ย่อหนา้ โดยเวน้ ระยะ 1.6 เซนตเิ มตร

- 25 - 10.7 ตารางที่มีความกว้างเกินกว่าที่จะบรรจุในหน้ากระดาษเดียวได้ อาจย่อส่วนลงได้ แต่ให้มขี นาดท่ีสามารถอ่านไดช้ ัดเจน 10.8 การพิมพ์อ้างอิงแหล่งที่มาของตาราง ให้เลือกใช้ตามรายละเอียดวิธีการอ้างอิงใน บทท่ี 5 หรือบทที่ 6 โดยพิมพ์ไว้ท้ายสุดในบรรทัดถัดจากตัวตาราง และพิมพ์ให้ตรงกับขอบซ้ายของ ตาราง 10.9 กรณีที่ต้องการพิมพ์ตารางในแนวขวางของกระดาษ ให้จัดวางส่วนบนของตาราง หันเข้าหาขอบซ้ายของหนา้ กระดาษ และวางขอบซา้ ยของตวั ตารางให้ชิดขอบล่างของหน้ากระดาษ ส่วน เลขหน้าให้ใส่ไวท้ ม่ี มุ บนขวาตามปกติ ตวั อย่างการพมิ พต์ ารางดทู ีภ่ าคผนวก จ 11. การพิมพ์ภาพ (สายสังคมศาสตร)์ / การพิมพร์ ูป (สายวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย)ี 11.1 ภาพ/รูป หมายถึงรูปภาพ ภาพถ่าย แผนภูมิ แผนท่ี แผนภาพ และกราฟ ซ่ึงจะตอ้ งจัดพมิ พ์หรือทาสาเนาใหม้ ีความชดั เจน หากเปน็ ภาพต้นฉบบั ทต่ี ้องการผนกึ ลงในวทิ ยานิพนธ์ที่ เป็นต้นฉบับ ต้องผนึกให้เรียบร้อยอยู่ในสภาพคงทนและถาวร ภาพประกอบท่ีเป็นภาพสี จะต้องพิมพ์ ภาพเปน็ ภาพสี 11.2 ภาพ/รปู 1 ภาพ/รูป ประกอบด้วยตวั ภาพ/รูป คาอธิบายภาพ/รปู และอาจมีการ อ้างองิ ทม่ี าของภาพ/รปู 11.3 ให้จัดวางภาพ/รปู แทรกไว้ในส่วนเนื้อหาท่ีระบุถึงภาพ/รูป น้ัน โดยจัดไว้ก่ึงกลาง หน้ากระดาษ ยกเว้นภาพ/รูป ท่ีมีความจาเป็นน้อยหรือไม่มีความสัมพันธต์ ่อการอธิบายเนื้อหาโดยตรง ใหร้ วมไวใ้ นภาพผนวก 11.4 การพิมพ์คาอธิบายภาพ/รูป ให้พิมพ์ไว้ใต้ภาพ/รูป น้ัน ๆ ชิดริมขอบซ้ายมือ โดย พิมพ์คาว่า “ภาพที่/รูปท่ี...” วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ พิมพ์คาว่า “Figure…” แล้วระบุลาดับของ ภาพ/รูป โดยใช้ตัวเลขอารบิก เช่น “ภาพที่/รูปที่ 2.1” หรือ “Figure 2.1” และกาหนดรูปแบบ ตัวอักษรเป็นแบบตัวหนา จากน้ันให้เว้น 2 ช่วงตัวอักษรแล้วพิมพ์ชื่อภาพ/รูป หรือคาอธิบาย โดยใช้ ตัวอักษรแบบธรรมดา หากช่ือภาพ/รูป ยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้แบ่งเป็น 2-3 บรรทัดตามความ เหมาะสม โดยให้อักษรตัวแรกของข้อความในบรรทัดท่ี 2 หรือ 3 ตรงกับอักษรตัวแรกของชื่อภาพ/รูป ในบรรทดั แรก  หมายเหตุ ภาพที่/รูปท่ี 2.1 หมายถงึ รูปที่ 1 ของบทท่ี 2 11.5 กรณีภาพ/รูป ต่อเน่ืองหรือภาพ/รูป ท่ีไม่สามารถจัดพิมพ์ใหส้ ิ้นสุดในหน้าเดียวได้ ใหพ้ ิมพ์ส่วนที่เหลือในหน้าถัดไป ทงั้ น้ีจะต้องมีลาดบั ภาพและชอ่ื ภาพ/รูป ทกุ หน้า และพิมพค์ าวา่ (ต่อ) หรือ (Cont.) ไว้ในวงเล็บต่อทา้ ยช่อื ภาพดว้ ย

- 26 - 11.6 การพิมพ์อ้างอิงแหล่งที่มาของภาพ/รูป ให้เลือกใช้ตามรายละเอียดวิธีการอ้างอิง ในบทที่ 5 หรือบทที่ 6 โดยพิมพ์ไวท้ ้ายสดุ ในบรรทัดถัดจากคาอธิบายภาพ และพิมพ์ให้ตรงกับขอบซ้าย ของภาพ/รปู หรือคาอธบิ ายภาพนน้ั ๆ 12. การพิมพช์ ่อื วิทยาศาสตร์ 12.1 การพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ของจุลชีพ พืช หรือสัตว์ ให้ใช้ตามประมวลนามศาสตร์ สากล (International Code of Nomenclature) คือ ทาให้เด่นชัดแตกต่างจากการพิมพ์ข้อความอื่น ๆ โดยการขดี เสน้ ใตห้ รือพมิ พด์ ้วยตวั เอน 12.2 การเขียนช่ือวิทยาศาสตร์ ให้เป็นไปตาม Binomial System คือประกอบด้วย 2 คา คาแรกเป็น Genus ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ คาหลังเป็น Species เขียนห่างจากคาแรก 1 ช่วง ตัวอักษร และขึ้นต้นด้วยตัวอักษรตัวเล็กท้ายชื่อวิทยาศาสตร์มักมีชื่อสกุลของบุคคลแรกที่กาหนดช่ือน้ัน ๆ กากับอยู่ ถ้าเป็นชื่อสกุลท่ีรู้จักกันแพร่หลายแล้ว อาจใส่ชื่อย่อ เช่น Linnaeus ย่อเป็น Linn. หรือ L. กรณที ม่ี ีผ้กู าหนดชื่อถึง 2 คน กใ็ ห้ใสท่ ัง้ 2 ชื่อ ดังตัวอย่าง ชอื่ จุลชพี เชน่ Escherichia coli หรือ Escherichia coli พืช เช่น Oryza sativa L. หรือ Oryza sativa L. สตั ว์ เช่น Lycosa pseudoannulata Rosenber and Strandr หรือ Lycosa pseudoannulata Rosenber and Strandr 12.3 การเขียนช่ือวิทยาศาสตร์ จะใช้ช่ือเต็มตามข้อ 12.2 เฉพาะเม่ือกล่าวถึงคร้ังแรก เท่านั้น การเขียนช่ือในครัง้ ต่อ ๆ ไป ให้ใช้ชื่อ Genus เป็นตัวย่อโดยใช้อักษรตัวใหญ่ ส่วนช่ือ Species ให้ใช้ชอื่ เต็มตามเดมิ และไมต่ อ้ งมีชื่อบคุ คลต่อท้ายอีก ดังตวั อย่าง ครั้งแรกเขียน Escherichia coli ครง้ั ต่อ ๆ ไป เขียน E. Coli ครง้ั แรกเขยี น Oryza sativa L. ครัง้ ตอ่ ๆ ไป เขียน O. sativa ครั้งแรกเขยี น Lycosa pseudoannulata Rosenber and Strandr คร้ังตอ่ ๆ ไป เขยี น L. pseudoannulata 13. การพิมพ์สมการ สมการแต่ละสมการจะต้องมีเลขท่ีของสมการ โดยพิมพ์เรียงลาดับ หมายเลขของสมการตามบทจาก 1 ไปจนจบบท สมการที่ปรากฏในภาคผนวกให้พิมพ์ในลักษณะเดียวกัน ให้พิมพ์ตัวอักษร ธรรมดา (Normal) เช่น สมการท่ี 1 อยู่ในบทที่ 1 ให้พิมพ์ (1.1) สมการท่ี 2 อยู่ใน บทที่ 2 ใหพ้ มิ พ์ (2.2) สมการที่ 3 อยใู่ นภาคผนวก ก ใหพ้ ิมพ์ (ก.3) ตัวอยา่ งสมการ y = ax + b (2.1) ข้อแนะนาเรอื่ งการใชภ้ าษา เนื่องจากวิทยานิพนธ์เป็นงานเขียนทางวิชาการ ผู้เขียนต้องใช้ภาษาท่ีกระชับ กะทัดรัด ชัดเจน แม้บทนิพนธ์จะเป็นเร่ืองวิชาการเฉพาะแขนง ผู้เขียนก็ควรพยายามอย่างย่ิงท่ีจะทาให้ผู้อ่านจานวนมากที่สุด เขา้ ใจได้ ทัง้ นเ้ี พอ่ื ให้งานนิพนธ์มีประโยชน์อยา่ งกว้างขวาง หลักในการใช้ภาษาในการเขียน มีดังนี้

- 27 - 1. ใช้ภาษามาตรฐาน กลา่ วคอื เป็นภาษาทเ่ี ข้าใจรว่ มกนั โดยท่ัวไป ไม่ใช้ภาษาถิน่ หรือภาษา ชนกลมุ่ นอ้ ย ยกเว้น การบนั ทกึ ข้อมูลภาคสนาม 2. ใช้ภาษาระดับทางการ ไม่นาภาษาพูดมาใชใ้ นภาษาเขียน เชน่ ใช้คาว่า ชุมชนแออัด แทน การใชค้ าวา่ สลัม เปน็ ต้น 3. การใช้คา 3.1 สะกดการันต์ถูกต้องตามหลักภาษา การสะกดการันต์คาภาษาไทย ควรใช้พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับพิมพ์ครั้งหลังสุด เป็นแบบฉบับ สาหรับภาษาต่างประเทศควรเลือกใช้ พจนานุกรมฉบับทเี่ ชอ่ื ถอื ได้มากที่สดุ 3.2 ใช้คาให้ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล โดยเฉพาะการใช้คาราชาศัพท์ต้องใช้ให้ถูกระเบียบ แบบแผน และความนยิ มกันในปัจจุบัน 3.3 ควรใช้คาเต็ม ในส่วนที่เป็นคาอธิบายโดยท่ัว ๆ ไป ไม่ควรใช้อักษรย่อ เช่น อ. แทน อาจารย์ พ.ร.บ. แทน พระราชบัญญัติ ยกเว้นคาย่อท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น พ.ศ. (พุทธศักราช) รศ. (รองศาสตราจารย)์ เป็นต้น 3.4 การเขียนคาทเี่ ป็นชือ่ เฉพาะ ใหเ้ ขียนสะกดการันต์ตามของเดิม จะถืออักขระวธิ ี ชือ่ ที่ เปน็ ภาษาต่างประเทศ ใหเ้ ขียนเป็นภาษาไทย โดยวงเล็บภาษาเดมิ ไว้ในการเขยี นครงั้ แรกเท่านัน้ 3.5 ใช้คาง่าย ๆ ในการอธิบาย หรือบรรยาย ส่วนที่ไม่เป็นเร่ืองเฉพาะวิชา ควรใช้คา ธรรมดามากกวา่ คาศัพท์ 3.6 การใช้ศัพท์ท่ีแปลมาจากภาษาต่างประเทศยังไม่รู้จักอย่างแพร่หลาย ต้องเขียนภาษา เดิมกากับไว้ในวงเล็บทันทีหลังศัพท์ และวงเล็บครั้งเดียวเท่าน้ัน โดยตัวอักษรตัวแรกของคาแต่ละคาใช้ ตัวพิมพใ์ หญ่ ตัวถัด ๆ ไป ใชต้ วั พิมพเ์ ล็ก 3.7 การใช้ศัพท์สาคัญภาษาต่างประเทศท่ียังไม่มีผู้แปลเป็นภาษาไทย และใช้คาแปลน้ัน อย่างแพร่หลาย ให้ใช้คาภาษาไทยท่ีถอดเสียงอ่านภาษาเดิม แล้ววงเล็บภาษาเดิมกากับ เช่น เมตาคอกนิช่ัน (Metacognition) 3.8 อย่าคิดศัพท์ข้ึนใช้เอง การผูกศัพท์หรือสร้างศัพท์ใหม่ขึ้นใช้เองไม่ควรทา แต่ถ้า จาเป็นต้องใช้ให้เลือกใช้คาที่มีความหมายตรงกับความต้องการ และเห็นว่าผู้อ่านน่าจะเข้าใจได้ตรงกับท่ีตน ต้องการ ในกรณีท่ีต้องใช้ศัพท์เฉพาะวิชา ผู้เขียนต้องใช้ศัพท์ซ่ึงเป็นท่ีรับรองใช้กันแล้วในแขนงวิชานั้น ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งศัพท์ซงึ่ คณะกรรมการบัญญตั ิศัพทภ์ าษาไทยของราชบัณฑติ ยสถานไดบ้ ัญญัติไว้แล้ว 3.9 อย่าใช้คากากวม ไม่ควรใช้ข้อความท่ีมีความหมายได้หลายแง่ หรือมีความหมาย คลมุ เครือไมช่ ัดเจน 3.10 อย่าใช้คาหรือสานวนซ้าซาก ผู้เขียนไม่ควรใช้คาหรือสานวนเดียวกันบ่อย ๆ ในที่ ใกล้ ๆ กัน คาบางคา สานวนบางสานวน อาจใช้แทนกันได้ แต่ต้องไม่ลืมว่า คาหรือสานวนหน่ึง ๆ ย่อมเหมาะกบั บริบทหน่ึง เมอ่ื เปล่ียนคาหรือสานวนก็ต้องเปลีย่ นบริบท หรอื คาแวดลอ้ มด้วย

- 28 - 4. การใช้ประโยค การทาประโยคให้สมบูรณ์ ต้องมีประธาน กริยา กรรม หรือส่วนขยาย เมอ่ื อา่ นแล้วเข้าใจได้ทนั ที 5. การถอดความมาจากภาษาอื่น ผู้เขียนจะต้องไม่แปลแบบคาต่อคา แต่ต้องถอดเป็น ถ้อยคาสานวนภาษาไทย โดยคงความหมายใหต้ รง หรือใกลเ้ คยี งทส่ี ุดกบั ความเดิม 6. การลาดับความ 6.1 นาความคิดความรู้มาจัดลาดับวิทยานิพนธ์ โดยมากเป็นผลการศึกษาค้นคว้าและ รวบรวม ผู้เขียนวิทยานิพนธ์จะต้องนาความคิดที่ได้มานั้นจัดทาให้เหมาะ กล่าวคือ สามารถนาผู้อ่าน ไปสกู่ ารคล่คี ลายปญั หาท่ตี งั้ ไว้ 6.2 การลาดับความท่ีดีในการเขยี นอธบิ าย ผ้เู ขยี นจะต้องลาดับความสัมพนั ธ์ตอ่ เนื่องกนั 7. การยอ่ หน้า 7.1 แต่ละย่อหน้าหน่ึงมีใจความสาคัญประการเดียว ย่อหน้าแต่ละย่อหน้าจะต้องมี ใจความสาคญั ประการเดยี ว ถา้ เปลีย่ นใจความสาคัญ ตอ้ งข้ึนยอ่ หนา้ ใหม่ 7.2 ส่วนประกอบของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า จะมีประโยคใจความสาคัญ และประโยค ขยาย การเรยี งประโยคในการความสาคัญและประโยคขยายจะต้องสมั พนั ธก์ นั 7.3 การเรียงลาดับย่อหน้า ข้อความในแต่ละย่อหน้าจะต้องสัมพันธ์กัน และเมื่อนา ยอ่ หน้าแต่ละย่อหน้ามาเรียงลาดับจะต้องลาดบั ให้สัมพันธ์สืบเน่ืองกนั

บทท่ี 5 หลักเกณฑก์ ารอ้างองิ ในการจัดทาวิทยานิพนธ์ ผู้เขียนจาเป็นต้องนาข้อความ แนวคิด ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงจาก เอกสารอื่น ๆ มาใช้ ดังนั้น จึงมีการอ้างอิงจากสารสนเทศประเภทต่าง ๆ เพ่ือแจ้งให้ผู้อ่านทราบ แหล่งท่ีมาของสารสนเทศเหล่าน้ันและเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของสารสนเทศนั้น การเขียนอ้างอิงใน ส่วนเนือ้ หาของวทิ ยานิพนธ์ ผู้เขยี นตอ้ งระบแุ หล่งทีม่ าเมือ่ มีการอ้างถึงสารสนเทศจากงานเขียนของผอู้ ื่น ในรูปแบบที่อาจจะคัดลอกข้อความใช้โดยตรงหรืออาจจะอ้างถึงโดยการสรุปเนื้อหาหรือแนวความคิด วธิ ีการเขียนอา้ งองิ มี 2 รปู แบบ คือ 1. การเขยี นอา้ งอิงแบบแทรกในเน้อื หา (In-Text Citation) 1.1. การอ้างอิงระบบนามปีโดยอาศัยหลักเกณฑ์ของ American Psychological Association (APA) ฉบบั พมิ พค์ ร้งั ที่ 6 1.2. ระบบตวั เลข (วทิ ยานิพนธ์สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ใชแ้ บบระบบตัวเลข) 2. การเขยี นอ้างอิงแบบเชงิ อรรถ (Citation Footnote) ท้งั นรี้ ายละเอียดวิธีการเขยี นอ้างองิ ท้งั หมดมีดงั ต่อไปนี้ 1. การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา (In-Text Citation) ระบบนามปี เป็นแบบแผน การ อ้างอิงโดยท่ัวไป ประกอบด้วยชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์และหรือเลขหน้าท่ีอ้างอิง (ชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์, และ/หรือ เลขหน้า) ในเคร่ืองหมายวงเล็บ ( ) สาหรับการอ้างอิงสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือจะระบุเลขหน้าหรือไม่นั้นมี หลักในการพิจารณาคือ หากมีการอ้างงานผู้อ่ืนโดยการสรุปเน้ือหาและแนวความคิดจากงานชิ้นน้ันท้ังเล่ม จะไม่มีการระบุเลขหน้า แต่หากเป็นการคัดลอกข้อความหรือความหมายของผู้อื่นหรือนาเนื้อหาเพียง บางสว่ นบางหน้า ไมใ่ ช้เนื้อหาจากทัง้ เลม่ มาเรยี บเรยี บเป็นสานวนของตนเองใหม่ตอ้ งมกี ารระบเุ ลขหนา้ ด้วย แบบแผนการอ้างอิงจะมีลักษณะการเขียนแตกต่างกันไปตามตาแหน่งของการอ้างอิง มีรูปแบบการเขียน ดงั นี้ 1.1 การระบุแทรกไว้ท้ายข้อความ จะใช้แบบแผนการอา้ งอิงแทรกหลังของข้อความหรือ แนวคิดท่ีนามาอา้ งอิง โดยใชร้ ปู แบบ (ผู้แต่ง, ปพี ิมพ,์ เลขหน้า) ดังตัวอยา่ ง ตัวอยา่ ง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการเมืองญ่ีปุ่นจะมีการพัฒนาการทางด้านรูปแบบและเนื้อหาที่ แตกต่างกันไปจากเดิม แต่ปัญหาบางประการของระบบการเมืองญ่ีปุ่นก็ยังคงมีอยู่ (ศิริพร วัชชวัลคุ, 2549, น. 80)

- 30 - 1.2 การระบชุ ื่อผแู้ ต่งในเนอ้ื หา ผู้เขยี นตอ้ งการอ้างชอ่ื ผู้แตง่ เอกสารมากกว่าเน้อื หาหรือ ให้ความสาคัญกับผู้แต่งมากกวา่ เน้ือหา จะใชแ้ บบแผนการอ้างองิ ที่จะระบุชอื่ ผู้แต่งไวใ้ นเนอื้ หาหรือก่อน เน้ือหา แล้วตามด้วยปีท่ีพิมพ์และเลขหน้าไว้ในเคร่ืองหมายวงเล็บ ( ) และตามด้วยข้อความที่ต้องการ อ้างองิ โดยใชร้ ูปแบบ ผูแ้ ต่ง (ปพี ิมพ,์ เลขหนา้ ) ดงั ตวั อยา่ ง ตัวอย่าง ลานนา ดวงสิงห์ (2548, น. 12) กล่าวว่าสังคมสารสนเทศหรือสังคมแห่งขา่ วสารเป็นสังคมท่ีมีการใช้ สารสนเทศรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจ… 1.3 กรณีมีการระบุปีพิมพ์และผู้แต่งในเน้ือหาแล้ว (ปีพิมพ์และผู้แต่งสามารถสลับที่กัน ได้) ให้ระบุเฉพาะเลขหน้าที่อ้างองิ ในวงเล็บเท่านั้น โดยใช้รูปแบบ ปีพิมพ์ ผู้แต่ง ……………….(เลขหน้า) ดงั ตวั อย่าง ตัวอยา่ ง ในปี 2548 ลานนา ดวงสงิ ห์ ไดศ้ กึ ษาเกี่ยวกับสงั คมสารสนเทศหรอื สังคม………..(น. 12) ท้ังนี้ รายการที่ระบุควรเป็นรายการเดียวกับท่ีปรากฏในบรรณนุกรมในส่วนประกอบท้าย เร่ือง ยกตัวอยา่ ง เชน่ ตัวอย่างรายการอ้างองิ หรอื บรรณานกุ รม ส่วนประกอบท้ายเรือ่ ง ลานนา ดวงสิงห,์ ผู้แปล. (2548). Computer: เทคโนโลยสี ารสนเทศในสงั คมแหง่ ภูมปิ ัญญา. กรงุ เทพฯ: เพยี รสัน เอ็ดดูเคช่ัน อนิ โดไชน่า. ศิรพิ ร วชั ชวลั คุ. (2549). ญ่ีป่นุ : ประเทศทีก่ าลงั เปล่ยี นแปลง. กรงุ เทพฯ: บพธิ การพิมพ์ จากัด. Dochartaigh, E. (2002). Internet use for studying. Retrieved from: http://www.ddd.ac.th สาหรับหลักเกณฑ์สาคญั ของการอ้างอิงในเนื้อหาท่ผี ู้เขียนควรทราบ มีรายละเอียดดงั น้ี 1. การอา้ งถึงเอกสาร 1 เร่อื ง โดยมผี ู้แต่งเปน็ บคุ คลเพียงคนเดียว 1.1 กรณีผู้แต่งชาวไทย ให้ใส่เรียงตามลาดับตามช่ือ-ชื่อสกุลท่ีปรากฏ หากเป็นงานเขียนที่ เป็นภาษาไทย โดยไม่ต้องมีเคร่ืองหมายใด ๆ ทั้งสิ้น หากเป็นงานเขียนท่ีเป็นภาษาต่างประเทศ จัดพิมพ์ ในประเทศไทยหรือตา่ งประเทศ กใ็ ห้ใช้เฉพาะชื่อสกุลเทา่ นั้น ส่วนคานาหน้าช่อื อ่ืน ๆ ให้ ตัดออก ไมว่ ่า จะเป็นตาแหน่งวชิ าการ เชน่ ศาสตราจารย์ หรอื คาเรยี กทางวิชาชพี เช่น นายแพทย์ ทนั ตแพทย์ เปน็ ต้น (เปล้ือง ณ นคร, 2511, น. 160) (จรัส เดชกญุ ชร, 2522 น. 82-83) (วิภา เสนานาญ กงกะนันท์, 2540, น. 19)

- 31 - (Jitsanguan, 2003) (Suwanagul, 1962, p. 35) 1.2 กรณีผู้แต่งมีฐานันดรศกั ดิ์ บรรดาศักดิ์ และสมณศักดใ์ิ หร้ ะบุด้วย ส่วนยศให้ใส่เฉพาะ ยศ สุดท้ายเท่าน้ัน โดยใส่ชื่อ-ช่ือสกุล คั่นด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) ตามด้วยฐานันดรศักด์ิ บรรดาศักด์ิ หรอื สมณศกั ดิ์ (สุรสวัสด์ิ สุขสวัสด์,ิ ม.ล., 2535, น. 130) (สุขุมพนั ธ์ บริพตั ร, ม.ร.ว., 2539, น. 7) (พระองคเ์ จ้าจุลจกั รพงษ์, พระเจา้ วรวงศ์เธอ, 2540, น. 500) (เปรม ติณสูลานนท์, พลเอก, 2539, น. 10) (พระธรรมปิฎก, 2540, น. 8) (Sirindhorn, Her Royal Highness Princess, 1983, p. 11) 1.3 กรณี ผู้แต่งชาวต่างประเทศ ใส่เฉพาะช่ือสกุลเท่าน้ัน ไม่ว่างานเขียนจะเป็น ภาษาตา่ งประเทศหรอื ภาษาไทย (Anderson, 1992, p. 19) (Fontana, 1985, p. 91) (เวนเกอร์, เอเตยี น, 2547, น. 6) 1.4 กรณีผแู้ ตง่ ใชน้ ามแฝง ให้ใส่นามแฝงนัน้ (ไพลิน รุ้งรัตน์, 2539, น. 12) (หยก บรู พา, 2520, น. 47-53) (Twain, 1962, pp. 15-22) 1.5 หากอา้ งองิ เอกสารเรื่องเดยี วเขียนโดยผแู้ ต่งคนเดียว แตม่ หี ลายเลม่ จบใหร้ ะบุหมายเลข ของเลม่ ท่ีอ้างถึงดว้ ย เช่น (ปราณี ธรรมรักษ์, 2530, เลม่ 2, น.47) (Willmarth, 1980, vol. 3, p. 61) 1.6 ในกรณีท่ีต้องอ้างผู้แต่งคนเดียวกัน 2 คร้ังในย่อหน้าเดียวกัน ในการอ้างครั้งแรกให้ระบุท้ัง ช่ือผู้แต่งและปีพิมพ์ ส่วนการอ้างคร้ังท่ีสองให้ระบุเฉพาะชื่อผู้แต่งเพียงอย่างเดียว ยกเว้นในย่อหน้าเดียวกัน นั้นมีการอ้างถึงผู้แต่งคนอื่นด้วย และมีการอ้างผู้แต่งคนเดิมอีกคร้ัง กรณีน้ีให้ระบุชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์ด้วย รวมทั้งในกรณที ่ีการอ้างครัง้ ทสี่ องในย่อหนา้ ใหม่ให้ระบุเหมือนกับการอา้ งคร้งั แรก เชน่ ล. เสถียรสตุ (2544, น. 60) กล่าวว่า จนี เป็นชาติที่มีความรักและใชต้ ัวหนงั สือมากที่สุด วัฒนธรรมท่ีเก่ียวข้องกับตัวหนังสือของจีนจึงมีมากมายไม่ว่า พู่กัน กระดาษ แท่นฝนหมกึ … มโี รงพมิ พห์ ลวงในราชสานัก (ล. เสถยี รสุต) … Fisher (1999) administered a questionnaire … Fisher revealed

- 32 - [การอา้ งคร้งั ท่ีสองในย่อหนา้ ใหม่] … The questionnaire administered by Fisher (1999) was used by In a recent study of reaction times, Walker (2000) found no interaction amongst variables in the cross-sectional data. Walker’s research supports the work of others studying similar variables (James & King, 2004; Salinger, 1999). However, interactions among variables were indentified in the longitudinal data (Walker, 2000). 2. การอ้างถึงเอกสาร 1 เรอ่ื ง แต่มีผู้แต่ง 2 คน 2.1 ให้ระบุช่ือผู้แต่งทั้งสองคนทุกคร้ังที่มีการอ้าง โดยใช้คาว่า “และ” สาหรับเอกสาร ภาษาไทย หรือเครอื่ งหมาย “&” สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษ เช่ือมระหวา่ งคนที่ 1 และ 2 ในกรณีที่มี การอ้างถึงชื่อผู้แต่งในเครือ่ งหมายวงเล็บ ( ) เท่านัน้ และใช้คาวา่ “and” เชอ่ื มชอื่ ผู้แต่งในประโยค เช่น (กรภทั ร์ สุทธิดารา และ จิราวธุ วารินทร์, 2543) (Anderson & Kennedy, 1998, p. 18) ชแลชเชอร์ และทอมพส์ นั (Schlacher & Thompson, 1974) ศึกษาวธิ ีวิจัยท่ีใชใ้ นวิทยานิพนธพ์ บวา่ ... หรอื ...จากการวเิ คราะห์วิธวี จิ ัยท่ีใชใ้ นวทิ ยานิพนธท์ างบรรณารกั ษศาสตร์ พบว่า วิธีวจิ ยั เชิงสารวจมีผนู้ ิยมใช้กันแพร่หลายและคงจะเป็นวิธีวิจัยท่จี ะนิยม ต่อไป (Schlacher & Thompson, 1974, p. 18) Madden and Hogan (1997) … หรือ “… to achieve consistency” (Madden & Hogan, 1997, p. 45) 2.2 ในกรณีที่อ้างผู้แต่ง 2 คนท่ีมีช่ือสกุลเหมือนกัน แต่จัดพิมพ์คนละปีกัน ในกรณีนี้เพ่ือ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดความสับสน ใหร้ ะบชุ อ่ื ต้นเขา้ ไปในการอา้ งคร้ังนน้ั ด้วย โดยไมต่ อ้ งกลบั ตามหลัก เช่น P. Baldwin (2001) and M. L. Baldwin (1999) … 3. การอา้ งถึงเอกสาร 1 เรอ่ื ง แต่มีผแู้ ตง่ 3-5 คน 3.1 เอกสารท่ีมีผู้แต่ง 3-5 คน ในการอ้างครั้งแรก หากผู้แต่งเป็นคนไทยให้ระบุชื่อเต็มและ นามสกุลของทุกคน ให้ค่ันด้วยเครื่องหมายจุลภาพ (,) ยกเว้นผู้แต่งคนสุดท้าย ใช้คาว่า “และ” ค่ัน สาหรับเอกสารภาษาไทย หากผู้แต่งเป็นชาวต่างประเทศ ให้ระบุเฉพาะชื่อสกุลของผู้แต่งทุกคน และให้ ค่ันด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) ยกเว้นผู้แต่งคนสุดท้ายให้ใช้เคร่ืองหมาย “&” สาหรับเอกสาร ภาษาองั กฤษ เช่น (นวลจนั ทร์ รตั นากร , ชุตมิ า สจั จานันท์ และ มารศรี ศวิ รักษ,์ 2529 น. 10) (พภิ พ ปราบณรงค,์ เดชา นนั ทพชิ ยั , สุธรี ะ ทองขาว, เจนจิรา แกว้ รัตน,์

- 33 - ธรี ะพนั ธ์ จฬุ ากาญจน์ และ ชยั ยะ ฉัตรเวชศริ ิกุล, 2546, น. 15) (Annderson, Kennedy, & Fox, 1997, p. 20) Sorensen, Compbell & Poss (1975, pp. 8-10) stated that … (Gazda, Balzer, Childers, Nealy, Phelps, & Walters, 2005) 3.2 หากเป็นการอา้ งอิงถึงครัง้ ถัดไป ให้ระบุเฉพาะผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคาว่า “และคณะฯ หรือ “และคนอ่ืน ๆ” สาหรบั เอกสารภาษาไทย หากเปน็ เอกสารภาษาองั กฤษ ใหใ้ ชค้ าว่า “et al.” หรือ “and others” เช่น อ้างครง้ั แรก Case, Borgman and Meadow (1986, p. 31) stated … อา้ งครงั้ ต่อมา Writing is one way of making meaning from experience for ourselves and for others (Case et al., 1986, p. 31) … 3.3 แต่หากอ้างคร้งั ต่อมา เม่ือเขียนย่อโดยใช้ et al. แล้วพบว่าทาให้มีรายการที่อ้างปรากฏ คล้ายกนั เชน่ อ้างครงั้ แรก (Bradley, Ramires, & Soo (1973) … (Bradley, Soo, & Brown (1973) … อ้างครงั้ ตอ่ มา (Bradley et al,. 1973) จะเห็นว่าเม่ือเขียนย่อจะได้รายการอ้างอิงเหมือนกัน ในกรณีนี้เพื่อป้องกันมิให้ผู้อ่าน สับสน จงึ ควรระบชุ ่ือผแู้ ตง่ ในลาดบั ถัดไปเพ่อื ให้เกดิ ความแตกต่างของรายการ เชน่ (Bradley, Ramires et al,. 1973) (Bradley, Soo et al., 1973) ในการระบุคาวา่ “และคณะ” หรือ “และคนอนื่ ๆ” หรอื “et al.” หรือ “and others” น้ัน ใหเ้ ลือกใชอ้ ยา่ งใดอย่างหนึ่งเปน็ แบบแผนเดยี วกันตลอดทง้ั เล่ม 4. การอ้างถึงเอกสาร 1 เรอ่ื ง แต่มีผแู้ ต่ง 6 คนข้นึ ไป ในการอ้างถึงทกุ คร้ัง ในกรณีท่ีมีผู้แต่ง 6 คนข้ึนไป ให้ระบเุ ฉพาะผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคาว่า “และคณะ” หรือ “และคนอื่น ๆ” สาหรับเอกสารภาษาไทย และใช้คาว่า “et al.” สาหรับเอกสาร ภาษาอังกฤษ เชน่ (นพรัตน์ เศรษฐกุล และคณะ, 2552) (Watson et al., 2003, pp. 201-225)

- 34 - 5. การอา้ งถึงเอกสารท่มี ผี ู้แต่งเปน็ สถาบนั การอ้างถึงเอกสารท่ีแต่งโดยสถาบัน ต้องระบุชื่อของสถาบันอย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้ผู้อ่าน สบั สนกับสถาบันอน่ื ๆ ท่อี าจมชี ื่อคลา้ ย ๆ กนั โดยมีหลักการดังน้ี 5.1 ใหร้ ะบุชื่อสถาบันตามทป่ี รากฏ (ชมรมพัฒนาไมด้ อกไมป้ ระดับ, 2539) (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ, 2539) (University of Pittsburgh, 1993) 5.2 หากเป็นหน่วยงานของรัฐ ให้เร่ิมต้นจากหน่วยงานใหญ่ไปหน่วยงานย่อย โดยเร่ิมจาก ระดับกรมกอ่ นเสมอ ยกเว้นหน่วยงานท่มี ผี ลงานเปน็ ท่รี จู้ กั อาจลงจากหนว่ ยงานยอ่ ยได้เลย (มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์, 2542, น. 1) (กรมการฝกึ หดั ครู กองการเจา้ หนา้ ท,ี่ 2540, น. 189) การอ้างหน่วยงานของรัฐ อย่างน้อยควรอ้างถึงระดับกรมหรือเทียบเท่า โดยเขียนอ้าง ระดับสูงลงมากอ่ นทลี ะลาดับ ทั้งนี้หากจาเปน็ อาจจะระบชุ ื่อกระทรวงเพื่อความชัดเจนยงิ่ ขึ้นเพื่อปอ้ งกัน การอา้ งซ้าหรอื ไมเ่ ปน็ ทีร่ จู้ ักโดยทว่ั ไป เชน่ (กระทรวงมหาดไทย สานกั นโยบายและแผน, 2538, น. 13) (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมวิชาการ, 2542, น. 6) ยกเว้น สถาบันที่มผี ลงานมากหรือเปน็ สถาบนั ระดับชาติ ใหใ้ ส่ช่ือเฉพาะนน้ั ได้ (หอรษั ฎากรพิพฒั น,์ 2528, น. 254) หากเป็นหน่วยงานของรัฐท่ีมีช่อื ย่อ การอา้ งคร้งั แรกให้ระบชุ ่ือเต็ม หากมีชื่อย่อใหร้ ะบุชื่อ ย่อในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียม [ ] ไว้ด้วย เพ่ือนาไปใช้อ้างคร้ังต่อมา ในกรณีท่ีไม่มีช่ือย่อ การอ้าง จะตอ้ งระบุชื่อเต็มของสถาบนั นัน้ ทกุ ครัง้ เช่น อา้ งครั้งแรก (องคก์ ารรับส่งสนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์ [ร.ส.พ.], 2519, น. 25) (National Institution of Mental Health [NIMH], 1999) อา้ งคร้งั ต่อมา (ร.ส.พ., 2519, น. 25) (NIMH, 1999) 5.3 หากเป็นหนว่ ยงานอสิ ระให้ระบชุ ือ่ หน่วยงานหรอื สถาบันนัน้ ได้เลย เชน่ (ศาลรฐั ธรรมนญู , 2549, น. 165) (สานกั งบประมาณ, 2547, น. 258) (สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ, 2540, น. 81-86) หรอื เปน็ หน่วยงานทีเ่ ปน็ รจู้ ักกันดีในระดับชาติ หรือเปน็ ชอื่ เฉพาะ เช่น (การท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย, 2548, น. 117)

- 35 - 5.4 หากคณะกรรมการทมี่ ีสานักงานเป็นอิสระหรอื มกี ารบริหารงานในลกั ษณะของนิติบุคคล ใหล้ งนามคณะกรรมการนนั้ ไดเ้ ลย เช่น (คณะกรรมการ..., 2547, น. 189) หากเป็นคณะกรรมการท่ีได้รับการจัดต้ังโดยสถาบันเพื่อทาหน้าท่ีเฉพาะกิจ ให้ถือเป็น ส่วนหน่ึงของสถาบันนน้ั จึงต้องลงนามสถาบันก่อนแล้วจึงจะระบชุ ื่อคณะกรรมการตามมา เชน่ (สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย คณะกรรมการพฒั นามาตรฐานฯ, 2539) 5.5 การลงช่ือผู้แต่งท่ีเป็นสถาบัน หากช่ือสถาบันน้ันใช้อักษรย่อของสถาบันท่ีเป็นทางการ หรือเป็นท่ียอมรับกันแพร่หลาย ให้ใช้อักษรย่อของสถาบันได้เม่ือไม่ให้ข้อความในวงเล็บยาวเกินไป แต่ การอา้ งคร้งั แรกควรใชช้ ่ือเตม็ ก่อนเสมอ เชน่ อ้างครง้ั แรก (การทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย [ททท.], 2536, น. 70) (สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยไี ทย-ญปี่ ุ่น [สสท.], น. 100) อ้างครงั้ ตอ่ มา (ททท., 2536, น. 73) (สสท., 2540, น. 126) 6. การอ้างถึงเอกสารหลายเรอ่ื งโดยผแู้ ตง่ คนเดียวกนั 6.1 ในกรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันเขียนเอกสารหลายเล่ม แต่ปีพิมพ์ต่าง ๆ หากต้องการอ้างให้ ระบุชอื่ ผู้แต่งเพียงครั้งเดียว แล้วระบุปีพิมพ์ตามลาดับ โดยใช้เคร่ืองหมายอัฒภาค (;) คนั่ ระหว่างปีพิมพ์ โดยไม่ต้องระบชุ อ่ื ผู้แตง่ ซ้า และเรียงลาดบั จากนอ้ ยไปหามาก เชน่ (วิจติ ร ศรสี อา้ น, 2532, น. 74; 2534, น. 40-42; 2542, น. 15) (Rennis, 1961, p. 238; 1967, p. 78) 6.2 หากอ้างเอกสารหลายเรื่อง เขียนโดยผู้แต่งคนเดียวกันและปีพิมพ์ซ้ากันให้เรียงลาดับที่ ของเล่มที่อ้างไว้หลังปีพิมพ์ด้วย โดยใช้ตัวอักษร a b c d ตามลาดับ สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และอกั ษร ก ข ค ง ตามลาดบั สาหรบั เอกสารภาษาไทย เช่น (Read, 1972a, p. 16-18; 1972b; p. 45) (แม้นมาส ชวลิต, 2539ก, น. 15-18) (แม้นมาส ชวลติ , 2539ข, น. 5) (อสิ รา อมันตกุล, 2539ก, น. 102) (อิสรา อมนั ตกุล, 2539ข, น. 103) (ชุติมา สจั จานันท,์ 2537ก, น. 5) (ชตุ มิ า สัจจานันท์, 2537ข, น. 7) ท้ังนค้ี วรใช้อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ตอ่ เนอื่ งเหมือนกันตลอดทง้ั เลม่

- 36 - 6.3 ในกรณีผู้แต่งคนเดียวกัน แต่หนังสือมีหลายเล่มจบ (หนังสอื เรื่องเดียวกันแต่มีหลายเล่ม จบ) หากอ้างอิงให้ระบุเล่มทอ่ี ้างดว้ ย โดยระบกุ อ่ นหนา้ ท่อี า้ ง เช่น (สงวน อ้ันคง, 2530, เล่ม 2, น. 11-40) (Nicklaus, 1998, vol.3, p. 134) 7. การอ้างถงึ เอกสารหลายเร่อื งโดยผแู้ ต่งหลายคน ในบางครั้งจาเป็นท่ีต้องอ้างเร่ืองที่เขียนโดยผู้แต่งต่าง ๆ กันพร้อมกัน เพ่ือแสดงแนวคิดและ ผลการศกึ ษาท่ีคลา้ ยคลงึ กนั ทาได้ 2 วิธี คือ 7.1 ใหเ้ รยี งรายการที่อ้างตามท่ีปรากฏในรายการอ้างองิ ท้ายเล่ม โดยคั่นเอกสารแตล่ ะเร่ืองท่ี อ้างถงึ ด้วยเคร่อื งหมายอัฒภาค (;) เช่น (เจือ สตะเวทิน, 2516, น. 143; ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และ ประภาศรี สีหอาไพ, 2519, น. 98-100; ทองสุข นาคโรจน,์ 2519, น. 83) (Hrook, et al., 1970, p. 107; Seidenfaden, 1958, p. 177) Several researchers (Greenberg, Domitrovich, & Bumbarger, 2000; Yawn et al., 2000) … 7.2 ให้เรียงตามปีพิมพ์จากน้อยไปหามาก โดยใช้เคร่ืองหมายอัฒภาค (;) คั่นระหว่าง เอกสารท่ีอ้างแต่ละเร่ือง เพอ่ื แสดงวิวฒั นานาการของเรือ่ งท่ศี กึ ษา เช่น (Woodward, 1965, pp. 77-88; Fiedler, 1967, p. 15; Thompson, 1969, p 125) The need for more effective prevention of mental illness in children has been the focus of many reports (e.g. National Institute of Mental Health, 1998; US Public Health Service, 2000; Weist, 2001) … 8. การอา้ งถึงเอกสารกรณีที่ไม่ปรากฏนามผูแ้ ตง่ 8.1 หากมีบรรณาธิการ หรือผู้รวบรวม ให้ระบุแทนชื่อผู้แต่ง โดยระบุไว้ในเคร่ืองหมาย วงเลบ็ (.....) เสมอ เช่น (ชตุ มิ า สจั จานันท์ (บรรณาธิการ), 2536, น. 10-12) (ศรสี ภุ างค์ พลู ทรัพย์ (ผู้รวบรวม), 2539, น. 376) (Almend & Goleman (Eds.), 1960, p. 17) (Anderson (Ed.), 1950, p. 143)

- 37 - 8.2 หากไม่มีทั้งบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ให้ใส่ช่ือเร่ืองแทน โดยใส่ไว้ในเคร่ืองหมาย อัญประกาศคู่ (“........”) สาหรับชื่อเร่ืองของบทความ แต่หากเป็นช่ือเร่ืองของหนังสือหรือเอกสารใด ๆ ใหเ้ ปน็ ตัวหนา เสมอ เช่น (“Mad cow”, 2001) (ลลิ ิตพระลอ, 2500, น. 15-19) (Marriam-Webster’s Collegiate Dictionary, 1993) On free care (“Study Fines”, 1982) 9. การอ้างหนงั สือแปล 9.1 ใหล้ งชอ่ื เจา้ ของเรือ่ งเดมิ เสมอ โดยลงตามที่ปรากฏในเอกสารที่อ้าง (กอร์แมน, 2539, น. 16) 9.2 หากไมป่ รากฏชื่อเจ้าของเดิม ใหล้ งชื่อผแู้ ปล โดยระบวุ า่ เปน็ ผแู้ ปลต่อท้าย (อนัญญา สทิ ธิอานวย (ผูแ้ ปล), 2554, น. 19) (Handersons & Parson (Trans.), 1966, p. 340) 10. การอา้ งเอกสารที่เปน็ บทวจิ ารณ์ ให้ลงช่ือผู้เขียนบทวิจารณ์ โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับการลงช่ือผู้แต่งหนังสือ ในกรณีที่ไม่ ปรากฏนามผ้เู ขยี นบทวิจารณ์ ใหน้ าช่ือบทวิจารณม์ าไว้แทนที่ เช่น (วีรพงษ์ รามางกรู , 2528, น. 406) (เกศนิ ี หงสนันท์, 2517, น. 379) (Dokecki, 1972, p. 18) 11. การอา้ งถงึ เอกสารอันดบั รองหรอื เอกสารทตุ ิยภมู ิ หากต้องการอ้างเอกสารท่ีมีผู้กล่าวไว้แล้วในหนังสืออีกเล่มหน่ึง การอ้างเช่นนี้ถือว่ามิได้เป็น การอ้างถึงเอกสารน้ันโดยตรง ให้ระบุรายการเอกสารท้ัง 2 รายการ โดยข้ึนต้นด้วยนามผู้แต่งของ เอกสารอันดับแรก ตามด้วยคาว่าง อ้างถึงใน หรือ as cited in แล้วระบุนามผู้แต่งของเอกสารอันรอง และปีพิมพ์ โดยใส่ไว้ในเคร่ืองหมายวงเล็บ (.........) ส่วนการลงรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม ให้ลง รายการของผ้แู ตง่ อันดบั รอง สนทิ ตัง้ ทวี ได้ศกึ ษา (อา้ งถึงใน กหุ ลาบ มัลลิกะมาส, 2525) (Seidenberg and McClelland’s study (as cited in Colheart, Curtis, Atkins, & Haller, 1987)

- 38 - 12. การอ้างถึงเอกสารทีเ่ ป็นสว่ นหนึ่งของหนังสือรวมบทความ การอ้างถึงส่วนหน่ึงของหนังสือซึ่งเป็นส่ิงพิมพ์รวมบทความ หรือผลงานของผู้เขียนหลายคน และมีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมหรือทาหน้าท่ีเป็นบรรณาธิการ ให้ระบุเฉพาะชื่อผู้เขียนบทความ ใน กรณีท่ีไม่ปรากฏนามผู้เขียนบทความ ให้ใช้วิธีการอา้ งแบบเดียวกับการอ้างอิงถึงเอกสารทไี่ มป่ รากฏนาม ผู้แต่ง 13. การอ้างถึงเอกสารทัง้ เลม่ เป็นการอ้างถึงทฤษฎี ผลการสารวจหรือผลการวิจัยในลักษณะท่ีเป็นการสรุปแนวคิดจาก เอกสารท้งั เลม่ หรอื จากเอกสารหลาย ๆ เล่ม ให้ระบุชอ่ื ผ้แู ตง่ และปพี ิมพ์ โดยไมต่ อ้ งระบเุ ลขหน้า เชน่ กมล ร่งุ เจริญไพศาล และ สุวรรณ สุวรรณเวโช (2538) ไดส้ ารวจ......... (มณมี ยั รตั นมณี และ อนนั ต์ เกตวุ งศ์, 2526; สทุ ธลิ กั ษณ์ ธรรมโหร, 2531) 14. การอา้ งถึงเอกสารพิเศษ การอ้างเอกสารพิเศษ เช่น จดหมาย ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ ปาฐกถา บรรยาย รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ สไลด์ ฟิล์มสตริป เทป แผนท่ี บทภาพยนตร์ และส่ือไม่ตีพิมพ์อ่นื ๆ ควร จะต้องระบุลักษณะพิเศษของวัสดุน้ันด้วย เนื่องจากในรายการอ้างอิงน้ันบางครั้งจะแยกรายการเหล่านี้ ไวต้ ่างหาก การระบุลกั ษณะพิเศษจะทาให้ทราบว่าจะไปดูรายละเอียดในส่วนใดของรายการอ้างอิง และ เพ่ือให้ทราบวา่ เอกสารที่อา้ งถึงน้ีเป็นเอกสารพเิ ศษและมีลักษณะพิเศษแตกตา่ งจากเอกสารอืน่ เชน่ ต้นฉบับตัวเขียนและจดหมายเหตุ (สมเด็จพระบรมราชปิตุลาธิบดี เจ้าฟา้ มหาวชิรุณหศิ , จดหมายเหตรุ ายวนั , พิมพ์เป็น บรรณาการ ในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจา้ อไุ รวรรณ ทองใหญ่ ลง วันท่ี 7 มถิ ุนายน 2520) (กรมศิลปากร, 2500 (แผน่ เสยี ง) 33 รอบต่อนาที สองหน้า “บทเห่เรือ”) (เอราวณั ภาพยนตร,์ 2500 (ภาพยนตร์) 16 มม. ขาว-ดา, เสียง 25 นาที “เชอื้ เพลงิ ใหม่”) (F.O.371/1221, General Report on Siam for 1910) ปาฐกถา บรรยาย (พุทธทาสภิกข,ุ บรรยาย) (Maxton, Lecture) เทปบันทกึ เสยี ง (ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, เทปตลบั , 2540) (ภาษาองั กฤษอย่างง่าย ๆ สไตล์พาเท่ียว, เทปตลับ, 2542)

- 39 - ซดี ี-รอม (สนทนาภาษาจีนกลางยคุ ใหม่, ซีดี-รอม, 2546) ฟลิ ์ม วซี ีดี (VCD) ดีวดี ี (DVD) (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, ฟิลม์ ) (ตานานสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช, ภาพยนตร)์ รายการวทิ ยุ-โทรทศั น์ (มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ,์ โทรทศั น์ “เวทเี มืองคอน”) (มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ,์ บทวิทยุ “การเปดิ รับนกั ศกึ ษาปีการศกึ ษา 2554”) การอ้างเอกสารพิเศษเหล่านี้ หากหัวข้อใดก็ตามท่ีมีนามซ้ากันให้ใช้อักษร ก ข ค ง หรือ a b c d กากบั ไวห้ ลังช่อื เชน่ กัน (พุทธเลิศหล้านภาลยั ก. สมุดไทยดา อกั ษรไทย เส้นรงค,์ น. 42-43) (พุทธเลศิ หล้านภาลยั ข. สมดุ ไทยดา อกั ษรไทย, น. 47-48) ภาพในหนงั สอื (ฮอลล์, 2549, น. 92) Donatello’s David, a bronze rendering of … (Bargello Museum, 2009) 15. การอา้ งถงึ การส่ือสารระหว่างบุคคล การส่ือสารระหว่างบุคคล ได้แก่ จดหมาย บันทึก สัมภาษณ์ การสนทนาทางโทรศัพท์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลเหลา่ นี้เป็นข้อมูลที่ไมส่ ามารถเอาคนื มาได้ การส่ือสารระหว่างบคุ คล จึง ไม่รวมไว้ในรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมหรือรายการอ้างอิง แตจ่ ะระบุไวเ้ ฉพาะการอ้างถึงที่แทรกไว้ ในเน้ือหาเท่าน้ัน แต่หากเป็นการสื่อสารกับบุคคลจานวนมาก เช่น กลุ่มข่าว (Newsgroup) การแสดง ความคิดเห็นหรืออภิปรายผ่านทางออนไลน์ (Discussion Group) การติดต่อส่อื สารไปยังบุคคลจานวน มาก (Electronic Mailing List) สามารถลงรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมได้ แต่เนื้อหาต้องเป็น วิชาการและสามารถสืบค้นได้ 15.1 หากต้องการอ้างบทสัมภาษณ์ การบรรยายทางวิชาการหรือการอภิปรายทางวิชาการ ใหใ้ สช่ ่อื ผู้บรรยาย ผู้ให้สมั ภาษณ์ โดยระบุใหท้ ราบหลงั ชอ่ื วา่ เปน็ การบรรยายหรือสัมภาษณ์ เชน่ (อานนั ท์ ปนั ยารชุน, บรรยาย) (วจิ ิตร ศรีสอ้าน นายกสภามหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ,์ สมั ภาษณ์) 15.2 หากเป็นเอกสารลักษณะพิเศษ ประเภทจดหมาย บันทึก การสนทนา การสัมภาษณ์ ฯลฯ ใหร้ ะบชุ ่ือผเู้ ขียน พรอ้ มกับวนั ท่ี (ถ้าม)ี เชน่ (กระมล ทองธรรมชาติ, สัมภาษณ์, 5 กันยายน 2529) (คุณหญิงกลุ ทรัพย์ เกษแม่นกจิ , สัมภาษณ์, 22 เมษายน 2535) (Penn, Interview, March 7, 1965)

- 40 - จดหมาย (สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ, พระราชหัตถเลขาถึง ม.จ.หญงิ พนู พิสมัย ดิศกุล) (Key, Letter to John Benton) (ทวี บุณยเกียรติ, จดหมาย) 16. การอา้ งถงึ เอกสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การอ้างถึงเอกสารหรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสืบค้นจากฐานข้อมูลออนไลน์หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้กฎเกณฑ์เดียวกับ เอกสารที่เป็นรูปเล่ม โดยระบุชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์ จะไม่ระบุเลขหน้า ยกเว้นต้นฉบับมีหมายเลขกากับ เชน่ (ธรี ะศักด์ิ อรุ จั นานนท,์ 2546) (Rowe, 2001) แต่อาจจะมีรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ได้ดงั นี้ 16.1 หากต้องการอ้างอิงข้อมูลบางส่วนในเนื้อเร่ืองจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ให้ระบุ หมายเลขประจาบทที่ใชอ้ ้างอิงได้ หรือตารางในตาแหน่งท่ีเหมาะสม ทั้งน้ีให้ใช้คาย่อสาหรับคาว่า page หรือ chapter เช่น (Shimamura, 1989, chap. 3) 16.2 ให้ใช้เลขของย่อหน้าแทน เอกสารภาษาไทยให้ใช้คาว่า ย่อหน้าที่ แล้วตามด้วย หมายเลขยอ่ หนา้ เอกสารทีเ่ ป็นภาษาองั กฤษใหใ้ ช้คายอ่ ว่า para. แทนคาวา่ paragraph เชน่ (Beautker, 2000, Conclusion section, para. 1) Basu and Jones (2007) went so far as to suggest the need for a new “intellectual framework in which to consider the nature and form of regulation in cyberspace” (para. 4) 16.3 ต้องการอา้ งขอ้ มูลจากเว็บไซตท์ ัง้ เว็บไซต์ การอ้างอิงไมจ่ าเปน็ ต้องระบรุ ายการนไ้ี ว้ใน รายการอ้างองิ ท้ายเลม่ การอ้างทีอ่ ยู่ของเว็บไซต์ (URL) แทน เชน่ ศนู ย์บรรณสารและส่ือการศึกษา มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ (http://clm.wu.ac.th) The University of Wisconsin’s Writing Center Web Site is excellent sources of information on writing (http:www.wisc.ed/writing)

- 41 - 17. การอ้างถงึ สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์อน่ื ๆ เป็นสารสนเทศประเภทสื่อมัลติมีเดียออนไลน์ ได้แก่ สารสนเทศบนเว็บไซต์ประเภทข่าว ประชาสัมพั นธ์ (Press Release) รายงานประจาปี (Annual Report) เอกสารประเภ ทไฟ ล์ PowerPoint (PowerPoint Slides) การแสดงความคิดเห็นบนบล็อก (Blog post) วิดีโอออนไลน์ (Online Video) หรอื รปู แบบการบนั ทกึ โปรแกรมรายการวทิ ยุหรอื ใกลเ้ คยี งกันในรปู แบบดิจิทัล (Audio Podcast) วิกิ (Wiki) การแสดงความคิดเห็นบน facebook (facebook post) การแสดงความคิดเห็น บน Twitter (Twitter post) เป็นต้น มีรูปแบบการอ้างถึงเหมือนกับรูปแบบเอกสารแต่ไม่ต้องระบุ เลขหน้า เชน่ President Obama announced the launch of the American Graduation Initiative (Barack Obama, 2009a). (Wadard, 2009) 2. การอ้างอิงแบบแทรกในเน้ือหา (In-Text Citation) ระบบตัวเลข (วิทยานิพนธ์สาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้ใช้แบบระบบตัวเลข) เป็นการระบุแหล่งข้อมูลท่ีใช้อ้างอิงในเน้ือหา วิทยานิพนธ์เป็นหมายเลขเรียงลาดับต่อเนื่องกันโดยตลอดตั้งแต่ บทแรกจนจบบทสุดท้าย โดยใช้ วธิ ีการดังน้ี 2.1 ใส่ตัวเลขกากับไว้ในวงเล็บ [ ] ท้ายข้อความหรือช่ือบุคคลที่อ้างอิง โดยให้ ตวั เลขอยู่ในระดบั บรรทัดเดยี วกันกบั เนือ้ หา เชน่ [1], [2], [3] 2.2 ให้ใสต่ ัวเลขอา้ งองิ เรียงลาดบั ตั้งแต่เลข 1 เป็นตน้ ไปตอ่ เนือ่ งกันทกุ บทจนจบเล่ม 2.3 ในกรณีทีม่ กี ารอ้างองิ ซ้าให้ใชต้ ัวเลขเดิมที่เคยใชอ้ ้างมาก่อนแลว้ 2.4 แหล่งท่ีใช้อ้างอิงท้ังหมดนั้น จะไปปรากฏอยู่ใน รายการอ้างอิง (References) ทา้ ยเลม่ โดยการเรยี งลาดับตามหมายเลข และพิมพห์ มายเลขอยู่ในเคร่ืองหมายวงเลบ็ [ ] 2.5 กรณีท่ีอ้างอิงเอกสารหลายรายการในคราวเดียวกัน ให้ใส่หมายเลขของเอกสาร ทอี่ ้างเรยี งลาดบั โดยใส่เคร่ืองหมายจลุ ภาค (,) ค่นั แตล่ ะรายการ 2.6 ในกรณีท่ีมีการอ้างอิงแบบเสริมความ ให้ดูรายละเอียดในหัวข้อ “การอ้างอิงแบบ เชงิ อรรถเสริมความ” ข้อ 3.3 3. การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote Citation) ซึ่งในปัจจุบันการเขียนอ้างอิงแบบ เชิงอรรถไม่เป็นท่ีนิยม เน่ืองจากเน้ือหาส่วนที่อ้างอิงและรายการอ้างอิงจะต้องอยู่ในหน้าเดียวกัน เมื่อมี การปรับเน้ือหาจะเกิดความยุง่ ยาก การเขียนอ้างอิงแบบเชงิ อรรถ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือเชิงอรรถ อา้ งองิ เชงิ อรรถโยง และเชงิ อรรถเสริมความ ดังนี้ 3.1 เชิงอรรถอ้างอิง (Reference Footnote หรือ Citation Footnote) เป็นการระบุ แหล่งที่มาของข้อมูลท่ีใช้ในการอ้างอิงเน้ือหาส่วนน้ัน ๆ ต้องเขียนรูปแบบและรายละเอียดของแหล่ง อ้างอิงให้ถูกต้องตามประเภทของข้อมูลที่จะนามาอ้างอิง โดยต้องเขียนให้อยู่ในหน้าเดียวกันกับเนื้อหา ส่วนน้ัน ๆ ซึ่งมีความซับซ้อนและยุ่งยาก และต้องระมัดระวังในการเขียนอ้างอิงมาก ดังนั้น การเขียน

- 42 - วิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีฉบับนี้ จะไม่แนะนาให้ใช้การเขียนอ้างอิงแบบ เชิงอรรถ แตใ่ ห้ใช้การเขียนอ้างอิงแบบแทรกในเนอื้ หานามปีแทน 3.2 เชิงอรรถโยง (Cross-reference Footnote) ใช้ในกรณีท่ีต้องการโยงข้อความท่ี ปรากฏในที่หนึ่งไปยงั อีกที่หนง่ึ การเขียนสามารถระบไุ ว้ในส่วนลา่ งของหน้าเหมอื นกบั การเขียนเชงิ อรรถ อ้างอิง ผู้เขียนวิทยานิพนธ์สามารถประยุกต์ใช้การลงรายการแบบแทรกในเน้ือหา โดยใส่ข้อความโยง แทนทรี่ ายการอ้างอิงได้ แตอ่ ย่างไรกต็ าม หากในวงเล็บเดียวกันอาจจะมีทั้งการอา้ งองิ และรายการโยงได้ โดยค่นั ดว้ ยเครอื่ งหมายอฒั ภาค (;) 3.3 เชิงอรรถเสริมความ (Content Note) จะทาในกรณีที่ผู้เขียนต้องการอธิบาย รายละเอียดของคา ข้อความหรือแนวคิดเพ่ิมเติมคาอธิบายท่ีปรากฏในเชิงอรรถน้ีผู้เขียนไม่ได้เขียนขึ้น เองแต่จะเป็นการอ้างมาจากท่ีอ่ืน การพิมพ์มกั จะพมิ พห์ น้าเดยี วกับคาหรอื ขอ้ ความทีต่ ้องการขยายความ เพ่ิมเติม โดยรายละเอียดที่ปรากฏด้านล่างของหน้ากระดาษและให้แยกจากเน้ือหา มีเส้นค่ันระหว่าง เน้ือหาและเชิงอรรถ และพิมพ์เชิงอรรถใต้เส้นโดยให้บรรทัดสุดท้ายของเชิงอรรถอยู่ห่างจาก ขอบกระดาษด้านลา่ ง 3.5 เซนตเิ มตร ในการพิมพ์เชิงอรรถ บรรทัดแรกให้ย่อหน้า 1.6 เซนติเมตร แล้วจึงพิมพ์ตัวอักษรตัวแรก หากรายการใดยาวเกนิ 1 บรรทัด บรรทัดต่อมาให้พมิ พช์ ิดขอบดา้ นซา้ ยมือทุกบรรทัดจนจบรายการนัน้ การลงรายละเอียดเชิงอรรถ ใช้สัญลักษณ์ตัวเลขกากับ เพ่ือเช่ือมโยงเน้ือหาและส่วนที่ได้ อ้างอิง หากในหน้าหนึ่งมีการเสริมความมากกว่า 1 ครั้ง ให้เขียนหมายเลขเรียงลาดับการอ้างอิงด้วย เช่น (1,2,3) เพื่อไม่ให้ผู้อ่านเกิดความสับสน เคร่ืองหมายหรือหมายเลขจะอยู่ในบรรทัดแรกของรายการ เชงิ อรรถแต่ละเชิงอรรถ การเรียงลาดับของเชิงอรรถ ให้เร่ิมใช้ตัวเลขกากับท่ีเน้ือหาและท่ีเชิงอรรถให้ตรงกัน โดยเริ่ม เชงิ อรรถแรกของแตล่ ะหน้าดว้ ยเลข 1 เสมอ

- 43 - ตัวอย่างเชงิ อรรถเสริมความ คร้ันเพลาค่าก็ให้ตกแต่งทัพเสร็จสรรพ แล้วประมาณเด็กนอนหลับพระยาเชลียงก็ยกโยธา ทหารท้ังช้างม้าเข้าเมืองได้ ส่วนหม่ืนหนองขวางนั้น เอาพระยาข่ีช้างตัวหน่ึงออกมากลางโยธาทหาร ทั้งหลาย จึงถูกบรรดาโยธาทหารรุมเอาและจับตัวได้ ส่วนหมื่นคาคอนทัพเจ้าไกรกาแพงได้ช้างและตัว หม่ืนหนองขวางพร้อมเคร่ืองพก1 มาสาหรับหน่ึง เอามาให้เจ้าศรีวภักดี ท่านมอบเงินทองแก้วแหนอัน เป็นเครื่องพกนั้นแก่ภรรยาหมื่นดาวทองไว้ ด้านหม่ืนคาคอนขาวเข้าไกรกาแพงได้ช้างพลายมาให้แก่เจ้า ศรวี ภกั ดี สว่ นพระยาพฤทธิ์รณ2 เจ้าเมืองเอาดาบโล่ ขวานแหกออกไปรอดพน้ ภัย 1เครื่องพกเป็นคาโบราณ หมายถึง ส่ิงท่ีพกพาบรรดาแก้วแหวนเงินทองของมีค่าท่ีประดับหรือ พกพาได้ ความหมายของคานาหน้าด้วย “เครื่อง” จะมีลักษณะคล้าย ๆ กัน เช่น เครื่องแต่งคือสาหรับ แต่งตัวทั้งปวง เคร่ืองหอ หมายถึงส่ิงของที่ผัวเมียแรกอยู่ด้วยกันมีไว้ เช่น ท่ีนอนหมอนมุ้ง เคร่ืองใช้ใน ห้อง เป็นตน้ 2ในต้นฉบับเขียนไว้วา “พฤปรณ” สันนิษฐานว่าคนไทยสมัยต้นอยุธยาเอก หลักการเขียนจาก ภาษาเขมรเม่ือถ่ายทอดภาษาสันสฤตมาใช้ โดยแปลงตัว “ห” ทา้ ยศัพท์เป็นสระ อะ เช่น คฤห เป็นคฤะ ส่วนไทยไดน้ ามาปรับใช้โดยใสต่ วั สะกดตามสาเนยี ง และ “พฤทธ์ิรณ” ซึ่งเท่ากับ “พฤปรณ” หลักการเขียนอัญประภาษ หรอื อญั พจน์ (Quotations) อัญประภาษหรืออัญพจน์ คือข้อความหรือคาพูดที่ผู้เขียนคัดลอกมาโดยตรงจากหนังสือหรือ สิ่งพิมพ์ใด ๆ เพื่อใช้ประกอบเนื้อหาในวิทยานิพนธ์ ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเขียนรายการอ้างอิง ประกอบข้อความน้ันทันทีเพื่อเป็นการบอกถึงแหล่งที่มาของข้อความนั้น ๆ และเป็นการให้เกียรติแก่ผู้ เป็นเจา้ ของความคดิ การเขียนอญั ประภาษในเน้ือหารายงาน มหี ลักการเขียนดงั นี้ 1. อัญประภาษต้องเหมือนต้นฉบับเดิมทุกประการ กรณีที่เป็นความเรียงและมีความยาวไม่ เกิน 4 บรรทัดหรือเป็นร้อยกรองท่ีมีความไม่เกิน 3 บรรทัด ให้เขียนหรือพิมพ์ต่อจากข้อความใน วิทยานิพนธ์ได้ โดยไม่ต้องข้ึนบรรทดั ใหม่ และตอ้ งใส่เครอื่ งหมายอญั ประกาศคู่ (“............”) ไว้ดว้ ย เช่น “……………………………….” ตัวอย่าง กล่าวได้ว่า จีนเป็นชาติชั้นนาชาติหนึ่งในเร่ืองของอาหาร ด้วยเหตุท่ีมีพ้ืนท่ีกว้างใหญ่ ไพศาล มีความหลากหลายทางชวี ภาพสูงกับภูมิปัญญาจากผู้คนหลากหลายเผ่าพันธุ์ ทาให้จนี ได้ชื่อว่า มีวฒั นธรรมด้านอาหารยิ่งใหญ่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก กล่าวกันว่า “อาหารจีนทางภาคใต้ โดยเฉพาะใน แถบมณฑลกวางตุ้งเป็นอาหารที่ดีท่ีสุดในโลก อาหารของผู้คนแถบที่กล่าวถึงนี้มีความหลากหลายใน ดา้ นคุณภาพและคุณสมบัติทางด้านโภชนาการโดยกาเนิดตามธรรมชาติที่มิไดใ้ ช้กลไกทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมเขา้ ชว่ ยในการผลติ ” (พชิ ยั วาสนาสง่ , 2544, น. 90) 2. กรณีท่ีต้องการเว้นข้อความที่คัดลอกมาบางส่วน ให้พิมพ์เครื่องหมายจุดสามครั้ง โดย พิมพ์เว้นระยะห่างกัน 1 ตัวอักษรระหว่างจุด (…) แต่หากว่าต้องการจะพิมพ์เติมข้อความของผู้เขียน

- 44 - วิทยานิพนธ์ลงไปในขอ้ ความท่คี ดั ลอกมาก็ให้ใช้เครื่องหมายวงเลบ็ เหลี่ยม [ ] กากับ เพ่ือให้แตกต่างจาก เครื่องหมายวงเล็บ ( ) ซึง่ อาจปรากฏในขอ้ ความทอ่ี า้ งองิ หรือคดั ลอกมาโดยตรงน้นั ตวั อยา่ ง . . . เรืองอไุ ร ศรีนิลทา (2535, น.70) ไดก้ ล่าวถงึ จรรยาบรรณในการวจิ ัยของนักวจิ ัยไวด้ งั น้ี ….. 3. กรณีข้อความเกินกว่า 40 คา หรือประมาณ 3 บรรทัด ไม่ต้องใส่เครื่องหมาย อัญประภาษกากับ ให้ขึ้นบรรทัดใหม่โดยพิมพ์ย่อหน้าเข้ามาโดยเว้น 1 tab key ทุกบรรทัด และหากมี ย่อหน้าในขอ้ ความท่ีอ้างอิงกใ็ ห้เพ่ิมย่อหนา้ เข้ามาอีก 5 ตวั อักษรจากย่อหน้าเดิมของข้อความที่ อา้ งองิ มา ตัวอย่าง นอกจากน้ี งานเขียนของสืบแสง พรหมบุญ (2525) ยังให้ความหมายเพิ่มเติมในเรื่อง ระบบบรรณาการนี้ ที่ย้าถึงบทบาทและหน้าท่ีตามสถานภาพแห่งการเป็นพ่ีและน้อง ทุก ๆ คนมี สถานะของตนเองในสังคมและร้หู น้าทข่ี องตนเอง ตลอดจนทาในสิ่งที่ถูกตอ้ งเสมอ ๆ โลกนี้ก็จะมีความ สงบสุขและมีความสามัคคีปรองดองกัน ความประพฤติท่ีมีระเบียบแบบแผนเป็นกฎเกณฑ์ที่จาเป็นท่ี จะผูกมัดชีวิตของสังคมเข้าด้วยกัน โดยไม่จาเป็นต้องอาศัยสัญญาหรือใช้กาลังบังคับ แต่อาศัย ความรู้สึก “ละอาย” และ “อัปยศ อดสู” จีนในฐานะเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมโลกจะต้อง ประพฤติตนเป็นตัวอย่างเพ่ือให้ชาติอ่ืน ๆ ปฏิบัติตามจักรพรรดิจีนซ่ึงได้รับ “อาณัติจากสวรรค์” ให้ ลงมาปกครองจะต้องเป็นผู้มีคุณธรรมและเป็นแบบฉบับที่ดีของมวลมนุษย์ (สืบแสง พรหมบุญ, 2525, น. 4)

บทที่ 6 หลักเกณฑก์ ารเขียนรายการอา้ งองิ และบรรณานุกรม รายการอ้างอิงและบรรณานุกรมเป็นข้อมูลที่มีความสาคัญและมีประโยชน์มาก เพราะเป็น แหล่งข้อมูลท่ีช่วยให้ผู้อ่านสามารถค้นควา้ และติดตามสารสนเทศต่าง ๆ ที่อา้ งในวิทยานิพนธ์ได้ รวมทั้ง แสดงถึงคุณค่าของงานเขียนและสร้างความน่าเชื่อถือในงานเขียนชิน้ นั้น ๆ มากย่ิงขึ้น ดังน้ันงานเขียนที่ ดี จึงควรมีการอ้างอิงในเน้ือหาพร้อมกับรายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมตรงกันเสมอ เรียกว่า “รายการอ้างอิง” หรือ “บรรณานุกรม” โดยใช้คาว่า “รายการอ้างอิง” หรือ “References” เมื่อ รายการท่ีมีแต่ละรายการนนั้ จะต้องมีการอ้างองิ ในเน้ือหาทุกรายการ และใช้คาว่า “บรรณานุกรม” หรือ “Bibliography” เม่ือรายการที่มีน้ันไม่จาเป็นต้องปรากฏหรือมีการอ้างองิ ในเนอื้ หาเสมอไป แต่อาจเป็น การแสดงรายการเอกสารที่ผเู้ ขียนได้รวบรวมและใช้อา่ นประกอบเทา่ นน้ั ดังนั้น เพ่ือให้รายการอ้างอิงและบรรณานุกรมสอดคล้องกับการเขียนอ้างอิงในส่วนเนื้อหา ของวทิ ยานิพนธ์ จึงได้นาเสนอหลักเกณฑ์การเขยี นรายการอา้ งอิงและบรรณานุกรม ดงั นี้ ระบบนามปี จะกลา่ วถึงการอา้ งองิ ในสว่ นของเน้ือหาของวทิ ยานิพนธ์ ประเภท 1) หนงั สอื ทวั่ ไป 2) หนังสอื พิมพเ์ นอื่ งในโอกาสพเิ ศษ 3) หนังสือแปล 4) หนังสอื ในกรณตี า่ ง ๆ 5) บทความในหนงั สอื 6) บทความในวารสาร นติ ยสาร หนังสือพิมพแ์ ละสารานกุ รม 7) วิทยานพิ นธ์ 8) รายงานการประชุม 9) สอ่ื โสตทศั น์และสื่ออื่น ๆ 10) สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์ 11) สิง่ พิมพป์ ระเภทอื่น ๆ 12) หลกั เกณฑ์การพิมพ์รายการอา้ งองิ และบรรณานุกรม 13) การเรียงลาดบั รายการอา้ งองิ 14) การใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอนในรายการอ้างองิ 15) การพิมพ์เครื่องหมายวรรคตอนสาหรบั การอ้างอิง 16) การใชค้ าย่อในการเขียนรายการอ้างอิง ซ่งึ มรี ายละเอียดดังนี้

- 46 - 1. การเขียนรายการอา้ งอิงสาหรบั หนงั สือทัว่ ไป รูปแบบรายการอ้างอิงท่ีนาเสนอนี้ จะใช้รูปแบบท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานของ APA Style ฉบบั พมิ พ์ครั้งที่ 6 ซึ่งเปน็ ฉบับพมิ พ์ลา่ สดุ และเป็นวธิ กี ารท่นี ยิ มอย่างแพรห่ ลาย รวมท้งั ไดม้ ีการพจิ ารณา ถึงความทันสมัยของเรื่องที่อ้างอิงเป็นสาคัญ อีกท้ังยังเป็นรูปแบบที่สอดคล้องกับการอ้างอิงในเนื้อหา ดว้ ย หากรปู แบบการอา้ งอิงส่ิงพิมพ์ประเภทใดไมไ่ ด้กล่าวถึงในบทน้ี ให้ใชร้ ปู แบบรายการอ้างอิงสาหรับ หนังสอื ท่วั ไปเปน็ แนวทางในการอา้ งอิงได้โดยอนุโลม รปู แบบ ชือ่ ผ้แู ต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ช่อื เร่ือง/คร้ังท่ีพิมพ์ (พมิ พ์คร้ังท่ี 2 เป็นต้นไป)./สถานทพี่ ิมพ์:/สานักพมิ พ์. ตัวอย่าง Gibaldi, J. (1988). The MILA handbook for writers of research paper (3rd ed). New York, NY: Modern Language Association of America. Sodsi Thaithong and Geoffrey, B. (1982). Malaria parasites. Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University. ข้อสังเกต บรรทัดท่ีสองเป็นต้นไปของรายการอ้างอิงแต่ละรายการจะต้องย่อหน้า เขา้ ไป 1.6 เซนติเมตร ข้อมูลของรายการอ้างอิงมีหลายส่วน ได้แก่ ช่ือผู้แต่ง (Author’s Name) ช่ือเรื่อง (Title of Publication) คร้งั ทพี่ ิมพ์ (Edition) สถานท่ีพิมพ์ (Place) สานักพิมพ์ (Publisher) และปีที่พิมพ์ (Date of Publication) เพื่อให้เกิดความเข้าใจในแบบแผนของการเขียนมากขึ้น จึงควรทาความเข้าใจใน หลกั เกณฑ์ของการเขยี นในแต่ละส่วน ดังน้ี 1.1 ช่ือผู้แตง่ หลักเกณฑใ์ นการลงรายการช่ือผแู้ ตง่ มดี ังนี้ ก. ผู้แต่ง 1 คน หากเป็นชาวไทยให้ใส่ชื่อและนามสกุลโดยไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ ไม่ ว่าเอกสารจะเป็นภาษาไทยหรือต่างประเทศ ยกเว้นราชทินนาม ฐานันดรศกั ด์ิ ให้นาไปใส่ท้ายชื่อโดยใช้ เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นระหว่างช่ือกับราชทินนามและฐานันดรศักดิ์ ส่วนสมณศักด์ิให้คงรูปตามเดิม เช่น เปรมปรี ณ สงขลา. (2548). ภัยคุกคามและสตู รผ่าทางตัน เพ่อื ชาวสวนยคุ โลกไร้ พรมแดน. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท โบนัส พรเี พรส จากดั . ธร ธารงนาวาสวัสด.ิ์ (2548). ใตท้ ะเลมคี วามรกั ภาคสาม: หลังคลน่ื อันดามัน. กรุงเทพฯ: บ้านพระอาทิตย.์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook