Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรประถมศึกษา2564

หลักสูตรประถมศึกษา2564

Published by apanchanok2507, 2022-01-10 12:16:35

Description: หลักสูตรประถมศึกษา2564

Search

Read the Text Version

คำนำ ด้วยคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 ลว. 7 สิงหาคม 2560 เรื่อง ให้ใช้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขโครงสร้างเวลาเรียน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และเกณฑ์การจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหเ้ หมาะสมกับบริบทและจุดเน้นของสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานจึงให้มีการแก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษา ตามความละเอียดแจ้งให้ ทราบแล้วนั้น กลุ่มงานบริหารงานวิชาการจึงได้กำหนดโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการ เรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวัดใหเ้ ป็นไปตามทก่ี ำหนดและดำเนินการจดั ทำและปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษาเพ่ือใช้ใน การดำเนินการบริหารหลักสูตรตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นมา และในปีการศึกษา 2564 โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ได้มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาเนื่องจากการปรับแก้คำอธิบาย รายวิชาบางรายวชิ าให้สมบรู ณย์ ิง่ ขน้ึ และประกาศใชห้ ลักสูตรฯ ต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา 2564 เป็นตน้ ไป โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ขอขอบพระคุณคณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการ จัดทำหลักสูตร ตลอดจนทุกฝ่าย ทุกคนไว้ ณ โอกาสนี้ ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดทำเอกสาร หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2561) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน สำเร็จลุล่วงเป็นไปอย่างดี หวังว่าเอกสารหลักสูตรฉบับนี้คงจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการเรียนรู้ตามเจตนารมณ์ของ โรงเรียนต้นแบบการใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ตอ่ ไป โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน

สารบัญ หน้า คำนำ 1 ประกาศโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮอ่ งสอน เรื่อง ให้ใชห้ ลักสตู รโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ 2 แม่ฮ่องสอน พุทธศักราช 2564 ลงวันท่ี 14 พฤษภาคม 2564 3 ความนำ 4 วสิ ยั ทัศน์ 5 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 6 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างเวลาเรยี น 9 โครงสรา้ งหลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 16 คำอธิบายรายวชิ า 23 31 - ภาษาไทย 56 - คณิตศาสตร์ 63 - วทิ ยาศาสตร์ 72 - สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 79 - สุขศกึ ษาและพลศึกษา 86 - ศิลปะ 91 - การงานอาชีพและเทคโนโลยี - ภาษาต่างประเทศ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น เกณฑจ์ บการศึกษา ภาคผนวก

1 ด้วยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2561) ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับสภาพความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจรญิ ก้าวหน้าทางวทิ ยาการ เป็นการสรา้ ง กลยทุ ธใ์ หมใ่ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาใหส้ ามารถตอบสนองความต้องการของบคุ คล สังคมไทย ผู้เรียนมี ศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกความเป็นไทย มี ระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข เป็นไปตามเจตนารมณ์มาตรา 80 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 โดยกำหนด จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มี ปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทรี ะดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) พร้อมกันนี้ได้ปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่าง เท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐาน จิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน กำหนดโครงสร้าง เวลาเรียน กระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดง หลกั ฐานทางการศึกษาใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ และมีความชดั เจนตอ่ การนำไปปฏบิ ัติ อนุสนธิคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 สั่ง ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2560 เรื่อง ให้ใช้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน จึงนำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไปสกู่ ารปฏิบัติได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และบรหิ ารจดั การหลักสูตรให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดกับผู้เรียน จึงได้จัดทำเอกสารหลักสูตร ขน้ึ สำหรบั ครูนำไปจัดการเรยี นการสอนเพอ่ื พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานให้มี คุณภาพด้านความรู้ และทกั ษะทีจ่ ำเป็นสำหรบั การดำรงชวี ติ ในสังคมที่มีการเปล่ยี นแปลง และแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อนึ่งจากการใช้หลักสูตร 1 ปีการศึกษาที่ผ่านมายังต้องมีการ ปรับเปลี่ยนในสาระเทคโนโลยี ในสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีไปเป็นสาระในสาระของสาระ วิทยาศาสตร์จึงจำเป็นต้องปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2564 ขึ้นอีกครั้งเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายของ หลักสตู รแกนกลาง

2 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนพุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาศักยภาพผู้เรียนเให้มีความรู้ ทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชีวติ ทักษะวชิ าชีพ และคณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนพุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มหี ลกั การที่สำคญั ดังน้ี 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเปน็ ไทย สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 โลกศตวรรษที่ 21 และทัดเทยี มกบั นานาชาติ 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคณุ ภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาท่ีมีโครงสร้างยดื หยุน่ ทง้ั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้ 5. เป็นหลกั สตู รการศึกษาทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ หลักสูตรโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนพุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ม่งุ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศกึ ษาช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ดงั น้ี 1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เหน็ คณุ ค่าของตนเอง มีวนิ ัยและปฏิบัตติ นตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ดำรงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3 2. เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริมสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและคุณลักษณะของ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มีความสามารถในการพึ่งตนเอง และปรับตัวต่อเป็น พลเมืองและพลโลกที่ดี 3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนสิ ยั และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวถิ ีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 5. มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่ม่งุ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ท่ดี ีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนพุทธศักราช 2564 มุ่งเน้น พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รบั ข้อมูลขา่ วสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลือกใช้วิธีการส่ือสาร ทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีมตี อ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือการตดั สินใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญได้ อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจ ความสัมพันธแ์ ละการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคม และสงิ่ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื

4 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม หลักสูตรโรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนพุทธศกั ราช 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2561) ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อนื่ ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมืองประเทศไทย 4.0 และโลก ศตวรรษท่ี 21 ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซือ่ สตั ย์สุจรติ 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 6. ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ

5 โครงสร้างเวลาเรียน หลักสตู รโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน พทุ ธศกั ราช 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2561) สดั ส่วนเวลาเรียน(ช่วั โมง/ป)ี กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดับประถมศกึ ษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 1.รายวชิ าพ้ืนฐาน 1.1 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 1.2 คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 1.3 วทิ ยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 1.4 ภาษาต่างประเทศ 200 200 200 80 80 80 1.5 สงั คมศกึ ษา ศาสนาแลวฒั นธรรม - สงั คมศึกษา 80 80 80 80 80 80 - ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 1.6 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80 80 1.7 ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 1,000 1,000 1,000 800 800 800 2. รายวชิ าเพ่ิมเตมิ - หน้าที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 รวมเวลาเรียนรายวชิ าเพ่มิ เตมิ 40 40 40 40 40 40 3.กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น - กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40 - ลกู เสือ-เนตรนารี 40 40 40 40 40 40 - ชมุ นมุ ชมรม 30 30 30 30 30 30 - กจิ กรรมเพื่อสังคมและ 10 10 10 10 10 10 สาธารณะประโยชน์ รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 1,160 1,160 1,160 960 960 960

6 โครงสรา้ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวิชาพ้นื ฐาน ท11101 ภาษาไทย จำนวน 200 ชั่วโมง รายวิชาเพมิ่ เติม ท12101 ภาษาไทย จำนวน 200 ช่วั โมง ท13101 ภาษาไทย จำนวน 200 ชว่ั โมง ท14101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชั่วโมง ท15101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชว่ั โมง ท16101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชว่ั โมง ไมม่ ี รายวชิ าพื้นฐาน โครงสรา้ งกลุ่มสาระการเรยี นรู้ จำนวน 200 ชัว่ โมง รายวิชาเพ่ิมเติม คณิตศาสตร์ จำนวน 200 ชั่วโมง จำนวน 200 ช่วั โมง ค11101 คณติ ศาสตร์ จำนวน 160 ช่ัวโมง ค12101 คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ชว่ั โมง ค13101 คณติ ศาสตร์ จำนวน 160 ชว่ั โมง ค14101 คณิตศาสตร์ ค15101 คณิตศาสตร์ ค16101 คณติ ศาสตร์ ไม่มี

7 โครงสรา้ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาพนื้ ฐาน จำนวน 80 ช่ัวโมง ว11101 วิทยาศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ว12101 วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 80 ชัว่ โมง ว13101 วิทยาศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ว14101 วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 80 ชั่วโมง ว15101 วิทยาศาสตร์ จำนวน 80 ชวั่ โมง ว16101 วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าเพิ่มเติม ไมม่ ี โครงสร้างกลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาพ้นื ฐาน ส 11101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 80 ชั่วโมง ส 12101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน 80 ชว่ั โมง ส 13101 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน 80 ช่วั โมง ส 14101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน 80 ชว่ั โมง ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จำนวน 80 ช่ัวโมง ส 16101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 80 ชั่วโมง ส 11102 ประวตั ิศาสตร์ จำนวน 40 ชั่วโมง ส 12102 ประวตั ิศาสตร์ จำนวน 40 ชั่วโมง ส 13102 ประวตั ิศาสตร์ จำนวน 40 ชว่ั โมง ส 14102 ประวัติศาสตร์ จำนวน 40 ชวั่ โมง ส 15102 ประวัติศาสตร์ จำนวน 40 ชวั่ โมง ส 16102 ประวัติศาสตร์ จำนวน 40 ชัว่ โมง

8 รายวชิ าเพิม่ เติม จำนวน 40 ชวั่ โมง ส 11201 หนา้ ที่พลเมอื ง จำนวน 40 ชว่ั โมง ส 12201 หนา้ ทีพ่ ลเมือง จำนวน 40 ช่วั โมง ส 13201 หน้าทพ่ี ลเมอื ง จำนวน 40 ชว่ั โมง ส 14201 หนา้ ทีพ่ ลเมือง จำนวน 40 ชว่ั โมง ส 15201 หน้าทพี่ ลเมือง จำนวน 40 ชัว่ โมง ส 16201 หนา้ ที่พลเมือง รายวิชาพื้นฐาน โครงสรา้ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา จำนวน 80 ชั่วโมง พ 11101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา จำนวน 80 ช่วั โมง พ 12101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน 80 ชั่วโมง พ 13101 สุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 80 ชว่ั โมง พ 14101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา จำนวน 80 ช่วั โมง พ 15101 สุขศึกษาและพลศึกษา จำนวน 80 ชั่วโมง พ 16101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา รายวิชาเพม่ิ เติม ไม่มี โครงสรา้ งกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ รายวิชาพื้นฐาน ศ 11101 ศลิ ปะ จำนวน 80 ชว่ั โมง รายวิชาเพมิ่ เติม ศ 12101 ศิลปะ จำนวน 80 ชว่ั โมง ศ 13101 ศลิ ปะ จำนวน 80 ชั่วโมง ศ 14101 ศิลปะ จำนวน 80 ชั่วโมง ศ 15101 ศลิ ปะ จำนวน 80 ชั่วโมง ศ 16101 ศิลปะ จำนวน 80 ชั่วโมง ไมม่ ี

9 โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวชิ าพ้ืนฐาน ง 11101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 40 ชัว่ โมง รายวิชาเพ่มิ เติม ง 12101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 40 ช่วั โมง ง 13101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 40 ช่วั โมง ง 14101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 40 ชว่ั โมง ง 15101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 40 ชั่วโมง ง 16101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี จำนวน 40 ช่วั โมง ไม่มี โครงสรา้ งกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาอังกฤษ รายวชิ าพ้นื ฐาน อ 11101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 200 ชวั่ โมง อ 12101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 200 ชัว่ โมง อ 13101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 200 ชวั่ โมง อ 14101 ภาษาอังกฤษ จำนวน 80 ชวั่ โมง อ 15101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 80 ชว่ั โมง อ 16101 ภาษาองั กฤษ จำนวน 80 ช่วั โมง

ประกาศโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แมฮ่ ่องสอน เรือ่ ง ให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน พทุ ธศักราช 2564 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2561) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 __________________________________ ตามทที่ างโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอนได้จัดทำหลกั สตู รสถานศึกษา พุทธศกั ราช 2561 ตามคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. 1239/2560 ลว. 7 สงิ หาคม 2560 เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้การจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานสอดคล้องกับสภาพความเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว เป็นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคนของชาติใหส้ ามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขันของ ประเทศการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับ ประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและการ ดำรงชวี ิตอย่างสรา้ งสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาจึงได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชีว้ ัด กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 แทน มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และจากการใช้หลักสูตรสถานศึกษาท่ีผ่านมายังต้องมีการปรับหลักสูตรเพ่ิมเติมตามเงื่อนไขและ ระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมจึงจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช 2564 ให้เป็นไปดังน้ี 1. โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน เป็นโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรตามรายชื่อที่ กระทรวงศกึ ษาธิการไดป้ ระกาศแลว้ 1.1 ปีการศึกษา 2561 ให้ใช้ในชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 และ 4 1.2 ปกี ารศึกษา 2562 ให้ใชใ้ นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 2 4 และ 5 1.3 ต้ังแต่ปีการศึกษา 2563 เปน็ ต้นไป ใหใ้ ชใ้ นทกุ ชน้ั เรียน

ทั้งน้ีหลักสูตรโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่ฮ่องสอน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการ สถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน เมอื่ วนั ที่ 10 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จึงประกาศให้ใช้หลักสตู รโรงเรียนศกึ ษา สงเคราะหแ์ ม่ฮ่องสอน ตง้ั แตบ่ ดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ....................................................... .......................................................... ( นายปัญญา จนี าคำ ) ( นางศรัญญา ทับน้อย) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นศึกษาสงเคราะหแ์ ม่ฮอ่ งสอน

9 คำอธิบายรายวิชา คำอธิบายรายวชิ า ประกอบดว้ ย รหัสวิชา ช่อื รายวชิ า กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ชัน้ ปี จำนวนเวลา เรียนที่สอนตลอดปี การเขียนคำอธิบายรายวิชา เขียนเป็นความเรียง องค์ประกอบของคำอธิบายรายวิชา ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นภาพรวมที่ต้องการให้เกิดกับ ผู้เรียนและสะท้อนตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น ๆ ซึ่งจำแนกตามรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ดังนี้ รายวิชาพ้นื ฐานและเพมิ่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ประถมศึกษา รายวชิ าพน้ื ฐาน ท11101 ภาษาไทย จำนวน 200 ช่วั โมง จำนวน 5.0 หนว่ ยกติ ท12101 ภาษาไทย จำนวน 200 ชัว่ โมง จำนวน 5.0 หน่วยกติ ท13101 ภาษาไทย จำนวน 200 ชว่ั โมง จำนวน 5.0 หนว่ ยกติ ท14101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชัว่ โมง จำนวน 4.0 หนว่ ยกิต ท15101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชัว่ โมง จำนวน 4.0 หน่วยกติ ท16101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชวั่ โมง จำนวน 4.0 หน่วยกิต

10 คำอธบิ ายรายวิชา ท 11101 วชิ าภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 เวลา 200 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จำนวน 5.0 หนว่ ยกติ ................................................................................................................................................................... . ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ การอ่านเครอ่ื งหมายสญั ลกั ษณ์ บอกความหมายของคำ ขอ้ ความที่อา่ น และ เครื่องหมายสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน การตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ และคาดคะเน เหตุการณ์จากเร่ืองที่อ่าน หลักการคัดลายมือตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย การเขียนสือ่ สารด้วยคำและ ประโยคง่าย ๆ การฟังและปฏิบัติการตามคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆการจับใจความสิ่งที่ฟัง การพูดแสดงความ คิดเห็น ความรู้สึกจากเร่ืองท่ีฟังและดู การพูดส่ือสารในชีวิตประจำวันหลักการอ่านและเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคำ การอ่านและเขียนคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา และไม่ตรงตาม มาตรา การผันคำ การบอกความหมายของคำ การแต่งประโยค การต่อคำคล้องจอง การบอกข้อคิดที่ได้ จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรม ร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก การท่องจำบทอาขยานและบทร้อย กรองตามความสนใจ และการบรู ณาการวิถเี กษตรกรรมสอดแทรกหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้กระบวนการ อ่าน เขียน ฟัง ดู และ พูด เพื่อให้สามารถอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ อ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ อ่านหนังสือตามความสนใจ อ่านเครื่องหมายสัญลักษณ์ บอกความหมายของคำ ข้อความที่อ่าน และเครื่องหมายสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน ตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ และคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งทีอ่ ่าน คัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ การเขยี นตัวอกั ษรไทย เขียนสือ่ สารดว้ ยคำและประโยคงา่ ยๆ ฟังและปฏบิ ตั ิการตามคำแนะนำ คำสัง่ ง่ายๆจับ ใจความสิ่งที่ฟัง พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกจากเรื่องทีฟ่ ังและดู พูดสื่อสารในชวี ิตประจำวัน บอกและ เขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคำ อ่านและเขียนคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา ผันคำ บอกความหมายของคำ แต่งประโยค ต่อคำคล้องจองบอกข้อคิดที่ได้จากการ อา่ นหรือการฟงั วรรณกรรม รอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองสำหรบั เด็ก ท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรองตามความ สนใจมีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รัก ความเป็นไทย เพื่อเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

11 ตัวชว้ี ัด ท 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ป.1/6 ป.1/7 ป.1/8 ท 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 , ท 5.1 ป.1/1 ป.1/2 รวมท้ังสน้ิ 22 ตวั ชว้ี ดั

12 คำอธบิ ายรายวชิ า ท 12101 วิชาภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 200 ช่ัวโมง/ภาคเรียน จำนวน 5.0 หนว่ ยกติ ............................................................................................................................. .............................................................................................. .................................................................................... ศึกษาหลักการอ่านออกเสียง การบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ บทร้อย กรองต่างๆ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย เขียนเรื่องส้ันเกี่ยวกบั ประสบการณ์ และ ตามจินตนาการ ฟัง ปฏบิ ัติตามคำแนะนำ คำสงั่ ทซ่ี บั ซอ้ น การจับใจความ พูดแสดงความคดิ เห็น ความรู้สึก จากเร่อื งทีฟ่ งั และดู พดู สื่อสารในชีวิตประจำวนั บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ เลขไทย สะกดคำ แจกลูก อ่านเป็นคำ อ่านและเขียนมาตราตัวสะกดตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา ผันอักษรกลาง อกั ษรสงู อักษรต่ำ คำทีม่ ตี วั การันต์ คำทมี่ พี ยัญชนะควบกลำ้ คำท่มี ีอักษรนำ คำที่มคี วามหมายตรงข้าม คำ ท่มี ี รร แต่งประโยค การเรยี บเรียงประโยคเปน็ ข้อความส้ัน ๆ บอกลกั ษณะคำคลอ้ งจอง เลอื กใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ภาษาถิ่น ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก ร้องบทร้องเล่นสำหรับ เด็กในทอ้ งถิน่ และบทรอ้ งเล่นในการละเล่นของเด็กไทย ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองท่ี มคี ณุ คา่ ตามความสนใจ และการบรู ณาการวิถีเกษตรกรรมสอดแทรกหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้กระบวนการอ่านออกเสียง บอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความ บทร้อย กรองต่างๆ อ่านหนังสือตามความสนใจ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย การอ่านจับใจความจากสื่อต่างคัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย เขียนเรือ่ งส้ันเกี่ยวกับประสบการณ์ และตาม จินตนาการ การฟัง ปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ คำส่งั ท่ซี บั ซอ้ น การจับใจความ พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทย สะกด คำ แจกลูก อ่านเป็นคำ อ่านและเขียนมาตราตัวสะกดตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา ผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ คำท่ีมตี ัวการันต์ คำที่มีพยญั ชนะควบกล้ำ คำทมี่ อี ักษรนำ คำทม่ี คี วามหมายตรงข้าม คำ ที่มี ร หัน การแต่งประโยค การเรียบเรียงประโยคเป็นข้อความสั้นๆ บอกลักษณะคำคล้องจอง เลือกใช้ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถนิ่ ระบุขอ้ คิดที่ไดจ้ ากการอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรมสำหรับเด็ก ร้องบทรอ้ งเล่น สำหรับเดก็ ในท้องถิน่ และบทรอ้ งเลน่ ในการละเลน่ ของเด็กไทย ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย กรองที่มคี ณุ ค่าตามความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟัง การดู และการพดู มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน รักความเป็นไทย มีวินยั รกั การอา่ น เพอื่ เหน็ คณุ คา่ ของการนำความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

13 ตวั ชีว้ ดั ท 1.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6 ป.2/7 ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6 ท 4.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 รวมท้ังสิ้น 26 ตัวชี้วดั

14 คำอธิบายรายวชิ า ท 13101 วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 200 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 5.0 หนว่ ยกติ ............................................................................................................................. ............................................... ศกึ ษาหลักการอ่านออกเสียง บอกความหมายของคำ คำคล้องจอง ขอ้ ความ บทรอ้ ยกรอง อา่ นคำ ที่มีตัวการันต์ คำที่มี รร คำที่มีพยัญชนะ และสระไม่ออกเสียง คำพ้อง คำพิเศษ การจับใจความจากส่ือ อ่านนิทาน เรื่องสั้น บทเพลง บทร้อยกรอง ข่าวและเหตุการณ์ชีวิตประจำวันในท้องถิ่น ในชุมชน เลือก หนังสือตามความสนใจ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่ง หรือข้อแนะนำ อ่านข้อมูลจาก แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เขียนบันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทใน การเขียน เขียนสะกดคำ บอกความหมายของคำ การผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ คำที่มีพยัญชนะ ควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่ประวิสรรชนีย์ ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค การแต่งคำคล้องจอง คำ ขวัญ การใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดี และวรรณกรรมพื้นบ้าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี ท่องบทอาขยานตามที่กำหนดและ ความสนใจ และการบูรณาการวถิ เี กษตรกรรมสอดแทรกหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยอ่านได้คล่องและเร็ว บอกความหมายของคำ อ่านคำคล้องจอง และบทร้อยกรอง อ่านจับ ใจความสำคัญ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย คัดลายมือตัวบรรจงตามรูปแบบ เขียนบรรยายลักษณะของคน สัตว์ สิ่งของ เขียนบันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตาม จินตนาการ มีมารยาทในการเขียน เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู จับใจความสำคัญจากการฟัง และการดู ตั้งคำถาม ตอบคำถาม จากเรื่องที่ฟังและดู พูดและแสดงความคิดเห็นเล่ารายละเอียด จับ ใจความสำคัญ ต้ังคำถามและตอบคำถามแสดงความคิดเห็นจากเรือ่ งที่ฟังและดู มีมารยาทในการฟัง ดูและ พูด บอกชนิดและหน้าท่ีของคำในประโยค แตง่ ประโยค แต่งคำคล้องจอง ใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษา ถน่ิ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั วรรณคดที ี่อ่าน ท่องบทอาขยาน บทรอ้ ยกรอง ตามทกี่ ำหนด ใช้กระบวนการ อ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ และสามารถนำไปใช้ใน ชีวติ ประจำวนั เพื่อเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

15 ตวั ช้ีวัด ท 1.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 ป3/7 ป3/8 ป3/9 ท 2.1 ป3/1 ป3/2 ป3/5 ป3/6 ท 3.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 ท 4.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 ป3/5 ป3/6 ท 5.1 ป3/1 ป3/2 ป3/3 ป3/4 รวมทั้งส้ิน 31 ตัวชีว้ ัด

16 คำอธบิ ายรายวชิ า ท 14101 วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 160 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จำนวน 4.0 หนว่ ยกติ .................................................................................................................................................................. ศกึ ษาหลกั การอธิบาย และฝกึ ปฏบิ ัติ การอ่านออกเสียง การบอกความหมายของบทร้อยแก้ว บทร้อย กรอง การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ การอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อ การอ่านหนังสือตามความ สนใจ การคัดลายมือ การเขียนสื่อสาร การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด การเขียนย่อความ การเขียนจดหมาย การเขียนบันทึก การเขียนรายงาน การเขียนเรื่องตามจิตนาการ การจำแนกข้อเท็จจริง และข้อคดิ เห็น การพดู สรปุ ความ การพูดแสดงความรู้ความคิดเหน็ การตั้งคำถามและตอบคำถาม การรายงาน การสะกดคำและบอกความหมายของคำ ชนิดของคำ การใช้พจนานุกรม การแต่งประโยค แต่งบทร้อยกรอง และคำขวัญ ความหมายของสำนวน การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น วรรณคดีและ วรรณกรรม เพลงพื้นบ้าน บทอาขยาน สนใจ และการบูรณาการวิถีเกษตรกรรมสอดแทรกหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใช้ทักษะกระบวนการ ฝึกปฏิบตั ิการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูดเพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถและมมี ารยาทในการการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู และการพูด รกั ความเป็นไทย และเห็นคณุ คา่ ของภาษาไทย วรรณกรรมไทย วรรณคดไี ทย ใชแ้ ละอนรุ กั ษภ์ าษาไทยได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม เพื่อเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ท 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ท 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป4/4 ป.4/5 ป.4/6 ท 4.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ท 5.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป4/4 รวมท้ังสิน้ 33 ตัวชวี้ ัด

17 คำอธิบายรายวิชา ท 15101 วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 160 ช่ัวโมง/ภาคเรียน จำนวน 4.0 หน่วยกิต ...................................................................................................................... .................................................... ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยค ข้อความที่เป็นการบรรยาย พรรณนา และความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็น คณุ ค่าสงิ่ ทีอ่ ่าน มที กั ษะในการคัดลายมือด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่งึ บรรทดั เขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคำ ชดั เจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพ่อื ใชพ้ ัฒนางานเขยี น โดยเขียนย่อความ จดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ กรอกแบบรายการต่างๆ เขียนแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา เขียนเรื่องตามจินตนาการ และมีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึก จากเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากการฟัง การดู การสนทนา รวมทั้งมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด บอกหน้าที่ และชนิดของคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน และภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศพั ท์ คำสภุ าพ สำนวน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แตง่ บทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี 11 และการบูรณาการวิถีเกษตรกรรมสอดแทรกหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจ และเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านนิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน นำข้อคิดเห็น จากเรอื่ งทอี่ า่ นไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ และทอ่ งจำบทอาขยานตามความสนใจ และตามท่ีกำหนดได้ เพื่อเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตวั ชว้ี ดั ท 1.1 ป5/1 ป5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ท 2.1 ป.5/1 ป5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ป.5/9 ท.3/1 ป.5/1 ป5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ท 4.1 ป.5/1 ป5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ท 5.1 ป.5/1 ป5/2 ป.5/3 ป.5/4 รวมทั้งส้นิ 33 ตัวช้วี ัด

18 คำอธบิ ายรายวชิ า ท 16101 วิชาภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เวลา 160 ชวั่ โมง/ภาคเรียน จำนวน 4.0 หน่วยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง เป็นทำนองเสนาะ อธิบายความหมายของ คำ ประโยค ข้อความที่เปน็ โวหาร การเปรียบเทียบ การจับใจความสำคัญ แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ และ นำความรู้ ความคิดจากเรื่องที่อ่าน ไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และเห็นคุณค่าสิ่งที่อ่าน มีทักษะในการคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึง่ บรรทัด เขียนสื่อสารโดย ใชถ้ ้อยคำชดั เจนเหมาะสม ใช้แผนภาพโครงเรือ่ ง และแผนภาพความคดิ เพือ่ พฒั นางานเขยี น โดยเขียนเรยี งความ ย่อความ จดหมายสว่ นตัว กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขยี นเร่อื งตาม จินตนาการ อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละมีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ของเรื่องท่ี ฟังและดู ตั้งคำถามตอบคำถาม จากเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดู ส่ือ โฆษณาอยา่ งมีเหตุผล พดู ตามลำดับข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน พดู โนม้ น้าวอยา่ งมเี หตุผลและน่าเชื่อถือ รวมทั้ง มีมารยาทในการฟงั ดู และพดู วเิ คราะหห์ นา้ ท่ีและชนดิ ของคำในประโยค สำนวนเปน็ คำพังเพยและสุภาษิต คำภาษาถ่นิ และภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์ คำสุภาพ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ระบุลักษณะของ ประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ และการบูรณาการวิถีเกษตรกรรมสอดแทรกหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง เขา้ ใจและเห็นคุณค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น เล่านิทานพน้ื บ้านของท้องถิ่นตนเอง และนิทานพื้นบ้านท้องถิ่นอื่น นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน นำข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจำวนั และท่องจำบทอาขยาน บทร้อยกรองตามทีก่ ำหนดได้ เพื่อเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตวั ช้ีวัด ท 1.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9 ท 2.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9 ท 3/1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ท 4.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ท 5.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 รวมทั้งสน้ิ 34 ตัวชี้วดั

19 รายวิชาพ้ืนฐานและเพมิ่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน 200 ชั่วโมง ค11101 คณิตศาสตร์ จำนวน 200 ชั่วโมง ค12101 คณิตศาสตร์ จำนวน 200 ชั่วโมง ค13101 คณติ ศาสตร์ จำนวน 160 ชว่ั โมง ค14101 คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ชวั่ โมง ค15101 คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ชัว่ โมง ค16101 คณิตศาสตร์

20 คำอธิบายรายวชิ า ค11101 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา 200 ชัว่ โมง/ปี จำนวน 5.0 หน่วยกติ ................................................................................................................................................................... ศึกษา การบอกจำนวนของส่ิงต่างๆ แสดงส่งิ ต่างๆ ตามจำนวนที่กำหนด อา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอา รบิก ตัวเลขไทย แสดงจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 โดยใช้ เครื่องหมาย =  > < เรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 ตั้งแต่ 3 ถึง 5 จำนวน หาค่าของ ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก และโจทย์ปญั หาการลบของจำนวนนับไม่เกนิ 100 และ 0 ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 และระบุรูปท่ี หายไปในแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณติ และรปู อื่นๆ ทีส่ มาชิกในแตล่ ะชุดท่ีซ้ำมี 2 รปู วดั และเปรียบเทียบความ ยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด จำแนกรูปสามเหลี่ยม รูป สี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพใน การหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา เมอื่ กำหนดรปู 1 รูป แทน 1 หนว่ ย โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ เน้นทกั ษะทีจ่ ำเปน็ คอื การแกป้ ัญหา ทำความเขา้ ใจปัญหา คิดวเิ คราะห์ วางแผน แก้ปัญหา และ เลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง การ สื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ใช้รูปภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร ส่ือ ความหมาย สรุปผล และนำเสนอไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง การเชอื่ มโยง สามารถใช้ความรทู้ างคณิตศาสตรเ์ ปน็ เครื่องมือ ในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่างๆ หรือศาสตร์อื่นๆ และนำไปใช้ในชีวิตจริง การให้เหตุผล รับฟังและให้ เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งเพื่อนำไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ การคิดสร้างสรรค์ การขยายแนวคดิ ทมี่ ีอยู่เดมิ หรือสร้างแนวคิดใหม่ เพื่อปรับปรุง พฒั นาองคค์ วามรู้ การวัดและประเมินผลใช้วิธกี ารท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงใหส้ อดคล้องกบั เนื้อหาและทักษะ ทต่ี ้องการวัด รหสั ตวั ชี้วัด ค 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ค 1.2 ป.1/1 ค 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ค 2.2 ป.1/1 ค 3.1 ป.1/1 รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด

21 คำอธิบายรายวิชา ค12101 คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลา 200 ชั่วโมง /ปี จำนวน 5.0 หน่วยกิต ................................................................................................................................................................... ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ 1 ถึง 1,000 และ 0 บอกและแสดง จำนวนสิ่งต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่า ของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใชเ้ ครื่องหมาย = ≠ > < เรยี งลำดับจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ตัง้ แต่ 3 ถงึ 5 จำนวน และหาค่า ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของ จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน 1 หลักกับจำนวนไม่เกิน 2 หลัก และประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารทีต่ ัวตั้งไม่เกิน 2 หลัก ตัวหาร 1 หลัก โดย ที่ผลหารมี 1 หลัก ทั้งหารลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกนิ 1,000 และ 0 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 แสดงวิธีหา คำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาทีม่ ีหน่วย 2 เดี่ยวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็น เมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีการ หาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเกี่ยวกับนำ้ หนักทีม่ ีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขดี วัด และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้ ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกำหนดรูป 1 รูปแทน 2 หน่วย 5 หน่วยหรือ 10 หน่วย โดยใช้ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในการเรียนรู้สิ่ง ต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ทักษะและกระบวนการ ทางคณติ ศาสตร์ เนน้ ทักษะที่จำเป็น คอื การแกป้ ัญหา ทำความเข้าใจปัญหา คิดวเิ คราะห์ วางแผน แก้ปัญหา และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ใช้รูปภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง การเชื่อมโยง สามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็น เครอ่ื งมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาตา่ งๆ หรอื ศาสตร์อื่นๆ และนำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ การใหเ้ หตุผล รับฟัง และให้เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งเพื่อนำไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ การคิด สร้างสรรค์ การขยายแนวคิดที่มอี ยเู่ ดิม หรอื สร้างแนวคดิ ใหม่ เพือ่ ปรบั ปรุง พัฒนาองคค์ วามรู้ การวัดและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและ ทักษะทต่ี ้องการวัด

22 มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ค 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6 ค 2.2 ป.21 ค 3.1 ป.2/1 รวม 16 ตัวชี้วัด

23 คำอธิบายรายวชิ า ค13101 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 200 ชั่วโมง /ปี จำนวน 2.5 หน่วยกติ ................................................................................................................................................................... . อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน เศษส่วนที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกำหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษ เท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก และการลบของจำนวนนับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณ ของจำนวน 1 หลักกับจำนวนไม่เกิน 4 หลักและจำนวน 2 หลักกับจำนวน 2 หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หาร ระคนและแสดงวิธกี ารหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 2 ขนั้ ตอนของจำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 หาผลบวก และแสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษสว่ นที่มตี วั ส่วนเท่ากนั และผลบวกไมเ่ กนิ 1 และหาผล ลบพรอ้ มทงั้ แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหารการลบของเสษสว่ นที่มตี ัวส่วนเท่ากนั ระบุจำนวนที่หายไปใน แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใชเ้ คร่ืองมือความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เปน็ เซนติเมตรและ มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระหว่างเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับ เมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัม และกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้ เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหา คำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ โจทยป์ ญั หา เขยี นตารางทางเดียวจากขอ้ มูลที่เปน็ จำนวนนบั และใช้ข้อมลู จากตารางทางเดียวในการหาคำตอบ ของโจทย์ปัญหา

24 มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10 , ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10 , ป.3/11 ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตัวชี้วดั

25 คำอธิบายรายวชิ า ค14101 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 160 ชวั่ โมง /ปี จำนวน 4.0 หน่วยกิต ............................................................................................................................................................. ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนบั ที่มากกว่า 100,000 และ 0 หลัก ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูป กระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนที่มากกว่า 100,000 ค่าประมาณของจำนวนนับ การใช้ เครื่องหมาย ≈ การบวก การลบ การคูณ การหาร การประมาณผลลัพธ์ การหาตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหาร แบบรูปของจำนวนที่เกิดจากการคูณ การหาร ดว้ ยจำนวนเดียวกนั เส้นตรง สว่ นของเสน้ ตรง สว่ นประกอบของมุม ชนดิ ของมุม การวัดและการสร้างมมุ ชนิด และสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความหมาย การอ่านและเขียนเศษสว่ นและจำนวนคละที่ตวั สว่ นตัวหนึ่งเปน็ พหุคูณของอีกตวั หนงึ่ ความหมาย การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่กินสามตำแหน่ง หลัก ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก ของ ทศนิยม การเขยี นทศนยิ มในรปู กระจาย การเปรียบเทียบและเรยี งลำดับทศนยิ ม การบวก การลบเศษส่วนและ จำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก การลบทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง โจทย์ปัญการบวก การลบทศนิยม การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอ่าน ตารางเวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การก็บข้อมูลและการจำแนกข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิแทง่ (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่านตารางสองทาง โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ เน้นทักษะทีจ่ ำเป็น คือ การแก้ปัญหา ทำความเขา้ ใจปญั หา คดิ วิเคราะห์ วางแผน แก้ปัญหา และ เลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง การ สื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ใช้รูปภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร ส่ือ ความหมาย สรปุ ผล และนำเสนอไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง การเชือ่ มโยง สามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นเคร่ืองมือ ในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่างๆ หรือศาสตร์อื่นๆ และนำไปใช้ในชีวิตจริง การให้เหตุผล รับฟังและให้ เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งเพื่อนำไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ การคิดสร้างสรรค์ การขยายแนวคิดที่มีอยู่เดมิ หรือสรา้ งแนวคดิ ใหม่ เพอ่ื ปรับปรุง พฒั นาองค์ความรู้ การวัดและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและ ทักษะท่ตี อ้ งการวดั

26 มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.6/6 ค 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ค 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ค 3.1 ป.4/1 รวม 22 ตัวชวี้ ดั

27 คำอธิบายรายวิชา ค15101 คณติ ศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 160 ชั่วโมง/ปี จำนวน 4.0 หนว่ ยกิต ............................................................................................................................................................. ศึกษา คน้ ควา้ ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการเก่ียวกับเร่ืองการเขียนเศษสว่ นที่มีตวั สว่ นเป็นตัวประกอบของ 10 หรือ 100 หรอื 1,000 ในรปู ทศนยิ ม แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หาโดยใชบ้ ญั ญตั ไิ ตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การ คณู การหารเศษสว่ น 2 ขน้ั ตอน หาผลคูณของทศนิยม ทผ่ี ลคณู เปน็ ทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่ง หาผลหารที่ตัว ตั้งเป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง และตัวหารเป็นจำนวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม 2 ขั้นตอน และแสดง วิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไม่เกิน 2 ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปล่ียนหน่วยและเขียนในรปู ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของ ทรงสเ่ี หลีย่ มมมุ ฉากและความจุของภาชนะทรงสีเ่ หล่ียมมมุ ฉาก ความยาวรอบรปู ของรปู ส่ีเหลี่ยมและพ้ืนที่ของ รูปส่เี หล่ียมด้านขนานและรูปส่เี หลี่ยมขนมเปยี กปูน สรา้ งเส้นตรงหรอื สว่ นของเสน้ ตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือ ส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้ จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยงมุม และบอกลักษณะ ของปริซึมใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการ หาคำตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็น จำนวนนับ โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ เน้นทักษะทจ่ี ำเป็น คอื การแกป้ ญั หา ทำความเขา้ ใจปญั หา คิดวิเคราะห์ วางแผน แกป้ ัญหา และ เลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ใช้รูปภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง การเชื่อมโยง สามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็น เครอ่ื งมือในการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ เนื้อหาต่างๆ หรือศาสตร์อ่นื ๆ และนำไปใช้ในชวี ิตจรงิ การให้เหตุผล รับฟัง และให้เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งเพื่อนำไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ การคิด สรา้ งสรรค์ การขยายแนวคดิ ท่มี ีอยู่เดิม หรอื สร้างแนวคิดใหม่ เพ่อื ปรับปรุง พฒั นาองค์ความรู้ การวัดและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและ ทกั ษะทตี่ ้องการวดั

28 มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9 ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2 รวม 19 ตัวช้วี ัด

29 คำอธบิ ายรายวิชา ค16101 คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลา 160 ช่ัวโมง/ปี จำนวน 4.0 หน่วยกติ ............................................................................................................................................................ ศึกษาการเปรียบเทยี บ เรยี งลำดบั เศษส่วนและจำนวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขยี นอัตราส่วนแสดง การเปรียบเทียบปริมาณ 2 ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจำนวนนับ หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไม่เกิน 3 จำนวน แสดงวิธี หาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ 2-3 ขั้นตอน หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม 3 ข้นั ตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาอัตราสว่ น ปัญหาร้อย ละ 2-3 ขั้นตอน แสดงวิธีคิดและหาคำตอบของปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ่ีประกอบด้วยทรงสเ่ี หลีย่ มมุมฉาก และแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม จำแนก รูปสามเหล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรปู สามเหลี่ยมเม่ือกำหนดความยาวของด้านและขนาดของ มุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจากรูปคลี่และระบุ รปู คลีข่ องรูปเรขาคณิตสามมติ ใิ ชข้ อ้ มลู จากแผนภมู ิรูปวงกลมในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ เน้นทักษะทจี่ ำเปน็ คอื การแก้ปัญหา ทำความเขา้ ใจปัญหา คิดวเิ คราะห์ วางแผน แกป้ ัญหา และ เลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง การ สื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ ใช้รูปภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อ ความหมาย สรุปผล และนำเสนอไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง การเช่อื มโยง สามารถใช้ความรทู้ างคณติ ศาสตรเ์ ปน็ เคร่ืองมือ ในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เนื้อหาต่างๆ หรือศาสตร์อื่นๆ และนำไปใช้ในชีวิตจริง การให้เหตุผล รับฟังแล ะให้ เหตุผลสนับสนุน หรือโต้แย้งเพื่อนำไปสู่การสรุป โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ การคิดสร้างสรรค์ การขยายแนวคดิ ทมี่ ีอยู่เดมิ หรือสร้างแนวคิดใหม่ เพ่ือปรบั ปรงุ พฒั นาองคค์ วามรู้ การวัดและประเมินผลใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้ อหาและ ทกั ษะทตี่ ้องการวัด

30 มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9,ป.6/10, ป.6/11 ค 1.2 ป.6/1 ค 2.1 ป.6/1,ป.6/2, ป.6/3 ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ค 3.1 ป.6/1 รวม 20 ตวั ช้ีวัด

31 รายวชิ าพ้ืนฐานและเพ่มิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน 80 ชว่ั โมง ว11101 วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 80 ชั่วโมง ว12101 วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 80 ชั่วโมง ว13101 วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ว14101 วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 80 ชั่วโมง ว15101 วิทยาศาสตร์ จำนวน 80 ชัว่ โมง ว16101 วิทยาศาสตร์

32 คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว11101 วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 80 ช่ัวโมง/ปี จำนวน 2.0 หน่วยกติ ........................................................................................................... ................................................................ ศึกษา วิเคราะห์ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต ของสัตว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่ หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช การทำหน้าที่ร่วมกันของ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ การจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติ การเกิดเสียงและทิศทาง การเคลื่อนที่ของเสียง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน ลักษณะภายนอกของหิน แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การ ลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ คอมพิวเตอร์รว่ มกนั ดแู ลรักษาอปุ กรณเ์ บอื้ งต้น ใชง้ านอย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ เข้าใจ สามารถสื่อสารสิง่ ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชวี ติ ประจำวนั มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม รหสั ตัวช้ีวัด ว 1.1 ป.1/1 , ป.1/2 ว 1.2 ป.1/1 , ป.1/2 ว 2.1 ป.1/1 , ป.1/2 ว 2.3 ป.1/1 ว 3.1 ป.1/1 , ป.1/2 ว 3.1 ป.1/1 ว 4.2 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ป.1/5 รวม 15 ตัวชี้วัด

25 คำอธิบายรายวิชา ว12101 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลา 80 ชวั่ โมง/ปี จำนวน 2.0 หน่วยกิต ............................................................................................................................... ....................................... ศกึ ษา วิเคราะห์ ความต้องการแสงและน้ำเพ่ือการเจริญเติบโตของพืช วฏั จกั รชีวติ ของพืชดอก ลักษณะ ของส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สมบัติของวัสดุ การนำสมบัติของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทำวัตถุในชีวิตประจำวัน ประโยชน์ของการนำวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ การเคล่ือนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง การมองเห็นวัตถุโดย เสนอแนะแนวทางการป้องกนั อนั ตราย สว่ นประกอบของดนิ การจำแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเน้ือดนิ และการ จับตัวเป็นเกณฑ์ การใช้ประโยชน์จากดิน แสดงลำดับข้ันตอนการทำงาน หรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือและตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้างจัดหมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภยั ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงในการใชค้ อมพวิ เตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษาอปุ กรณเ์ บ้อื งตน้ ใช้งานอยา่ งเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ เปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์และการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ ส่ือสารสิ่งท่ีเรยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มี จติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม รหัสตัวช้ีวัด ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3 ว 1.3 ป.2/1 ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 ว 2.3 ป.2/1 , ป.2/2 ว 3.2 ป.2/1 , ป.2/2 ว 4.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 รวม 16 ตัวชว้ี ดั

26 คำอธิบายรายวชิ า ว13101 วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต ............................................................................................................................................................. ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่สู่ลูกหลาน ส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์สิ่งแวดล้อมในท้องถ่ินท่ีเหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตที่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์มาจน ถึงปัจจุบัน วิธกี ารใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีกอ่ ให้เกดิ ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มและการใช้วัสดุ และการจำแนกวัสดุ การนำวัสดุ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ผลของการออกแรงกระทำต่อวัตถุ แรงที่โลกกระทำต่อวัตถุการเคล่ือนที่ของวัสดุ ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักและแรงดึงดูดของโลก แหล่งพลังงานธรรมชาติท่ีใช้ผลิตไฟฟ้า ความสำคัญ ของพลังงานไฟฟ้า และการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย ประโยชน์ของดิน อากาศและอิทธิพล ของอากาศทีม่ ตี ่อสภาพแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ นำเสนอ สอ่ื สารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม รหัสตัวชี้วดั ว 1.2 ป.3/1, ป.3/2 ว 1.2 ป.3/3, ป.3/4 ว 2.1 ป.3/1 ว 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ว 3.1 ป.3/1, ป.3/2 ว 3.2 ป.3/1, ป.3/2 ว 4.1 ป.3/1, ป.3/2 ว 5.1 ป.3/1 ว 6.1 ป.3/1 ว 7.1 ป.3/1 ว 8.1 ป.3/1 ป.3/2, ป.3/3 , ป.3/4, ป.3/5 ป.3/6, ป.3/7 , ป.3/8 รวม 25 ตัวชี้วัด

27 คำอธบิ ายรายวชิ า ว14101 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 80 ชว่ั โมง/ปี จำนวน 2.0 หน่วยกติ .............................................................................................................................................................. ศึกษาวิเคราะห์ หน้าท่ีของราก ลำต้น ใบ และดอกของพืชดอก ส่วนประกอบของพืชดอก ความ แตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็น กลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์ จำแนกพืช ออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสตั วเ์ ลีย้ งลูกด้วยนม ตัวอย่างของสัตว์ในแต่ละกลุ่ม สมบัติทางกายภาพของวัสดุจากการ ทดลองและระบุการน ำสมบัติของวัสดุไป ใช้ในชีวิตประจำวันโด ยผ่าน กระบ วน การออกแบ บช้ิน งาน แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่างด้านความแข็ง สภาพความยืดหยุ่น การนำความร้อน การนำไฟฟ้า ของวัสดุ สมบัติของสสารท้ัง 3 สถานะ การสังเกต มวล การต้องการท่ีอยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร เครื่องมือที่ใช้วัดมวล และปริมาตรของสสาร ทั้ง 3 สถานะ ผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุ การใช้เครื่องชงั่ สปรงิ ในการวดั น้ำหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ วัตถุที่เป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง ลกั ษณะการมองเห็นผา่ นวัตถุ แบบรปู เสน้ ทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ แบบจำลองอธบิ ายแบบรปู การ เปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ แบบจำลองแสดง องค์ประกอบของระบบสรุ ิยะ และเปรยี บเทยี บคาบ การโคจรของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจำลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหา อย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและ แก้ไขใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี ของตน เคารพในสิทธขิ องผ้อู ื่น แจง้ ผเู้ ก่ียวข้องเม่ือพบขอ้ มลู หรือบคุ คลท่ีไมเ่ หมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตรม์ จี ริยธรรม คุณธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

28 รหสั ตวั ช้ีวัด ว 1.2 ป.4/1 ว 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ว 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ว 2.3 ป.4/1 ว 3.1 ป.4/1 , ป.4/2, ป.4/3 ว 4.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5 รวม 21 ตัวชี้วัด

29 คำอธบิ ายรายวชิ า ว15101 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 80 ชัว่ โมง/ปี จำนวน 2.0 หน่วยกติ ........................................................................................................................... ..................................... ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีวิต ซ่ึงเป็น ผลมาจากการปรับ และความสมั พันธ์ของส่ิงมชี ีวิตทเ่ี หมาะสมกับการดำรงชวี ติ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการปรบั ตัว ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิต เพ่ือประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต โซ่อาหารและบทบาทหน้าท่ีของสิ่งมีชีวิตที่เป็น ผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร คุณค่าของสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต โดยมีส่วนร่วมใน การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์ ลักษณะทค่ี ล้ายคลึงกนั ของตนเองกับพ่อแม่ การเปลี่ยนสถานะของสสารเม่ือทำให้สสารร้อนข้นึ หรือเยน็ ลง การละลายของสารในน้ำ การเปลีย่ นแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงท่ีผัน กลับได้และการเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับไม่ได้ วิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันท่ีกระทำ ตอ่ วัตถุอยู่นง่ิ แผนภาพแสดงแรงที่กระทำตอ่ วัตถทุ ี่อยใู่ นแนวเดียวกันและแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวตั ถุ การใช้ เคร่ืองช่ังสปริงในการวัดแรงที่กระทำต่อวัตถุ ผลของแรงเสียดทานท่ีมตี ่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่อื นท่ีของ วัตถุ การเขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงท่ีอยู่ในแนวเดียวกันท่ีกระทำต่อวัตถุ การได้ยินเสียง ผ่านตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิด เสียงดัง เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เครอื่ งมอื วัดระดับเสยี ง แนวทางในการหลีกเล่ยี งและลดมลพิษ ทางเสียง ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง การใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและ เส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บน ทอ้ งฟ้าในรอบปี ปรมิ าณน้ำในแต่ละแหลง่ ปริมาณนำ้ ทม่ี นุษยส์ ามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ แนวทางการใช้ น้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้ำ แบบจำลองการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และน้ำค้างแข็ง จากแบบจำลอง และกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ ใช้เหตุผลเชิง ตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ต คน้ หาข้อมลู ติดตอ่ สือ่ สารและทำงานร่วมกันประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ของขอ้ มูล รวบรวม ประเมนิ นำเสนอ ข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเตอร์เน็ตที่หลากหลาย เพ่ือ แก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย มมี ารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าทข่ี องตน เคารพในสิทธิของผอู้ ่ืน แจ้งผู้เก่ยี วข้องเม่อื พบข้อมลู หรอื บคุ คลท่ีไม่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูลการเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่อื สารส่ิงทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวนั มี จิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม

30 รหสั ตัวช้ีวัด ว1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ว1.3 ป.5/1, ป.5/2 ว2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ว2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 ว2.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ว3.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 4.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 รวม 31 ตวั ชว้ี ัด

31 คำอธิบายรายวชิ า ว16101 วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ ...................................................................................................................................................................... ศึกษาวิเคราะห์การเจริญเติบโตของมนุษย์ ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ระบบหมุนเวียน เลือด สารอาหาร ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละท้องถ่ิน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติภัยพิบัติจากธรรมชาติ และการกระทำของมนุษย์ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสมบัติชองสาร การจำแนก สารสาร การแยกสาร สารต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การเลือกใช้สารแต่ละประเภทอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย การเปลี่ยนแปลงของสารและผลท่ีเกิดต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตัวนำ ไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้าการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า และการนำไปใช้ประโยชน์ การต่อหลอดไฟฟ้า และ การนำไปใช้ประโยชน์แม่เหล็กไฟฟ้า และการนำไปใช้ประโยชน์ การจำแนกประเภทชองหินและการ นำไปใช้ประโยชน์ การเปล่ียนแปลงของหิน ธรณีพิบัติที่มีผลต่อมนุษยแ์ ละสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น การเกิด ฤดู ข้างขึ้นข้างแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา และ การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ความก้าวหน้าและ ผลประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสมารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรูไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ คา่ นิยมที่เหมาะสม รหสั ตัวชี้วัด ว1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ว2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/1, ป.6/2 ว2.2 ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/1 ว3.1 ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/1 ว3.2 ป.6/2, ป.6/3 ว5.1 ป.6/1, ป.6/2, ป./3, ป.6/4, ป.6/5 ว6.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ว7.1 ป.6/1, ป.6/1 ว8.1 ป.6/1 ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8 รวม 37 ตัวชี้วดั

32 รายวิชาพนื้ ฐานและเพิม่ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับประถมศึกษา รายวชิ าพนื้ ฐาน จำนวน 80 ชั่วโมง ส11101 สงั คมศกึ ษา จำนวน 40 ชว่ั โมง ส11102 ประวตั ิศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ส12101 สงั คมศกึ ษา จำนวน 40 ชว่ั โมง ส12102 ประวตั ิศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ส13101 สงั คมศึกษา จำนวน 40 ชั่วโมง ส13102 ประวตั ิศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ส14101 สงั คมศึกษา จำนวน 40 ชั่วโมง ส14102 ประวัติศาสตร์ จำนวน 80 ชัว่ โมง ส15101 สังคมศกึ ษา จำนวน 40 ชว่ั โมง ส15102 ประวัติศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง ส16101 สงั คมศกึ ษา จำนวน 40 ช่ัวโมง ส16102 ประวัติศาสตร์ จำนวน 40 ชว่ั โมง รายวิชาเพ่ิมเติม จำนวน 40 ชว่ั โมง ส11201 หนา้ ที่พลเมือง 1 จำนวน 40 ชั่วโมง ส12202 หน้าท่ีพลเมือง 2 จำนวน 40 ชว่ั โมง ส13203 หนา้ ที่พลเมือง 3 จำนวน 40 ชั่วโมง ส14204 หนา้ ที่พลเมือง 4 จำนวน 40 ชั่วโมง ส15205 หนา้ ที่พลเมือง 5 ส16206 หน้าท่ีพลเมือง 6

33 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ส11101 สงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา 80 ชว่ั โมง/ปี จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ศึกษาพุทธประวัติของพระพุทธศาสนา คริสต์ และอิสลาม พระพุทธเจ้า ศาสดา และสาวกของ ศาสนาท่ีตนนับถือ พุทธสาวก พุทธสาวิกา หลักธรรมพุทธศาสนาพ้ืนฐาน พุทธสุภาษิต การบริหารจิต เจริญปัญญา หน้าที่ของชาวพุทธ ศาสนพิธี พิธีกรรมทางพระพุทธศาสน า และวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3ใน พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกำหนดเห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ตามทีก่ ำหนด ศึกษาหน้าที่ของพลเมืองดี ในระบอบประชาธิปไตย สิทธิเสรีภาพของตนเองในครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชน ประเพณี วฒั นธรรมของครอบครัว โรงเรยี น การอนรุ ักษ์ วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน บทบาท หน้าที่ของตนเอง ครอบครวั และโรงเรยี น ศึกษาการบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต การบริโภคที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การออม การ วางแผนการใชจ้ า่ ย ความหมาย ความสำคญั ของการทำงานอย่างสจุ ริตปฏบิ ตั ิตนตามเศรษฐกจิ พอเพียง ศึกษาส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละมนุษย์สร้างขนึ้ ตำแหน่ง ระยะทิศทางของส่ิงต่าง ๆ แผนผังใน ห้องเรียน สภาพอากาศ ภูมิประเทศที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการสืบค้น การคิดวิเคราะห์ การอภิปราย การนำเสนอ การสังเกต การ เปรียบเทียบ การยกตัวอย่าง เห็นคุณค่านำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตอยู่ในสงั คม รว่ มกันอยา่ งสันตสิ ขุ รหสั ตวั ช้ีวัด ส 1.1 ป1/1, ป1/2, ป1/3, ป1/4 ส 1.2 ป1/1, ป1/2, ป1/3 ส 2.1 ป1/1, ป1/2, ส 2.2 ป1/1, ป1/2, ป1/3 ส 3.1 ป1/1, ป1/2, ป1/3 ส 3.2 ป1/1 ส 5.1 ป1/1, ป1/2, ป1/3, ป1/4, ป1/5 ส 5.2 ป1/1, ป1/2, ป1/3 รวม 24 ตัวชี้วดั

34 คำอธิบายรายวชิ าประวัติศาสตร์ 1 ส 11102 ประวัตศิ าสตร์ 1 กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง/ปี จำนวน 1.0 หน่วยกติ ............................................................................................................................................................. ศึกษาวิธีการนับช่วงเวลาตามปฏิทิน ท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจำวัน วิธีการสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวศึกษาสภาพแวดล้อมในครอบครัวของอดีตกับ ปจั จุบัน บอกความหมาย ความสำคัญของสัญลักษณข์ องชาตไิ ทย บอกแหล่งวฒั นธรรม ในชุมชนตนเอง โดยใช้กระบวนการสืบค้น การคิดวิเคราะห์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ ทักษะการศึกษา ค้นคว้า การสำรวจตรวจสอบการนำเสนอ การสรุปความ แยกแยะ เห็นคุณค่านำความรู้ท่ีได้รับไปใช้ใน ชีวติ ประจำวัน การดำรงชวี ติ อยใู่ นสังคมรว่ มกันอย่างสันติสขุ รหัสตัวชี้วดั ส 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3 ส 4.2 ป.1/1, ป.1/2 ส 4.3 ป.1/1, ป1/2, ป.1/3 รวม 8 ตัวช้วี ัด

35 คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ส12101 สังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลา 80 ช่ัวโมง/ปี จำนวน 2.0 หนว่ ยกิต .............................................................................................................................................................. ......... ศึกษา ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ประสตู ิ ประวัติพุทธสาวก พุทธ สาวิกา และชาดก ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพระไตรปิฎก และหลักธรรมโอวาท 3 พุทธศาสนสุภาษิตและ บุคคลตัวอย่างในการทำความดี ฝึกปฏิบัติมารยาทของชาวพุทธ การเข้าร่วมกิจกรรมเก่ียวกับศาสนพิธี พิธีกรรม วันสำคัญทางศาสนา เร่ืองการบูชาพระรัตนตรัย ฝึกบริหารจิต เพื่อให้การดำเนินชีวิตของ มนุษย์ การอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม นำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการ พัฒนาตนเอง เปน็ พลเมอื งดี มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม เกิดความภาคภูมิใจใน การกระทำความดขี องตนเองและผู้อ่นื ศึกษาความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยของตนเองและผู้อื่นในสังคมปัจจุบัน การยอมรับ กฎกติกา กฎระเบียบ หน้าท่ีความแตกต่างและความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยม สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และการช่วยเหลือการเข้า ร่วมกิจกรรมของชุมชน ศกึ ษาการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่าทั้งท่ีบ้านและโรงเรียนให้เกิดประโยชน์ สูงสุด รายรับรายจ่ายของตนเอง การทำงานท่ีก่อให้เกิดรายได้ ในการผลิตการชื้อขายสินค้า วิเคราะห์ อภปิ รายและจำแนกขอ้ ดี ขอ้ เสีย การใช้จ่ายการช้ือขายแลกเปล่ียน การบรโิ ภคสินคา้ และการบริการ อย่าง มีประสิทธภิ าพ ในการดำเนินชีวิตอย่างมีดลุ ภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ศึกษาค้นคว้า สรุป สิ่งต่าง ๆ ท่ีเป็นธรรมชาติกับท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ซ่ึงปรากฏระหว่างโรงเรียนกับ บ้าน ลักษณะของโลกทางกายภาพ การใช้แผนท่ี แผนผัง และภาพถ่าย เช่นภูเขา ท่ีราบ แม่น้ำ ต้นไม้ อากาศ และทะเล ความสมั พันธ์ของปรากฏการณ์ระหวา่ งโลก ดวงอาทติ ย์และดวงจนั ทร์ โดยใช้กระบวนฝึกปฏิบัติ การฟัง การคิดหาเหตุและผล ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอ สือ่ สารสง่ิ ทเี่ รยี นรู้ มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความรักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้ทม่ี คี ุณภาพ

36 รหสั ตัวชี้วดั ส 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป2/4, ป 2/5, ป 2/6, ป 2/7, ส 1.2 ป.2/1, ป.2/2 ส 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป2/4 ส 2.2 ป.2/1, ป.2/2 ส 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป2/4 ส 3.2 ป.2/1, ป.2/2 ส 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 ส 5.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 รวม 28 ตัวช้ีวดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook