Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครู หลักภาษาฯ ม.6

คู่มือครู หลักภาษาฯ ม.6

Published by pearyzaa, 2021-05-18 02:40:38

Description: คู่มือครู หลักภาษาฯ ม.6

Search

Read the Text Version

อา นขอ ความทกี่ ําหนด แลวตอบคําถามขอ 19. - 20. อานขอ ความทีก่ าํ หนด แลวตอบคาํ ถามขอ 23. ● ผทู เ่ี ชญิ กระแสพระบรมราชโองการไปยงั ผใู ด ไมต อ ง “ในเดอื นกมุ ภาพนั ธข องทกุ ปส หกรณอ อมทรพั ย ใชค ําลงทา ยในหนังสอื นัน้ ครูกําหนดประชุมตามขอบังคับ เพ่ือพิจารณากฎ ● คาํ ท่ีใชใ นหนงั สอื ถงึ พระราชวงศ และพระภกิ ษใุ หใ ช ระเบยี บตา งๆ แจง ผลการดาํ เนนิ งาน โดยมเี รอื่ งท่จี ะ คาํ ราชาศพั ทห รอื ถอ ยคาํ สภุ าพ ซงึ่ เปน ไปตามขนบ- ประชมุ หลายเรอื่ ง และประธานจะเรยี กประชมุ พเิ ศษ ธรรมเนยี มประเพณี หรอื ตามทที่ างราชการกาํ หนด อกี ครง้ั หนึ่งเฉพาะคณะกรรมการดาํ เนนิ การ” ● ในกรณีท่ีมีหนังสือถึงผูรับระบุเฉพาะตําแหนงใหใช คาํ ขนึ้ ตน คาํ สรรพนาม คาํ ลงทา ยในหนงั สอื ราชการ 23. คาํ ทขี่ ดี เสน ใตส ามารถใชศ พั ทใ นการประชมุ ไดต รงกบั ขอ ใด และคาํ ทใ่ี ชใ นการจา หนา ซองตามตาํ แหนง C 1. ประชมุ สามัญ, วาระ, ประชมุ ปฏิบตั ิการ 19. ขอความดงั กลา วมกี ลวธิ ีการเขยี นสอดคลอ งกับขอใด 2. ประชุมวิสามัญ, ระเบยี บวาระ, ประชุมลับ D 1. การเขยี นเชิงโวหาร 2. การเขยี นอธบิ าย 3. ประชมุ วิสามัญ, วาระ, ประชมุ ปรกึ ษาหารอื 4. ประชมุ สามญั , ระเบยี บวาระ, ประชมุ วิสามัญ 3. การเขียนเชิงพรรณนา 4. การเขียนเชงิ อปุ มา อา นขอความท่กี าํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 24. 20. สาระสําคัญของขอความทก่ี าํ หนดใหอานตรงกบั ขอ ใด โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D 1. การเขียนจดหมายราชการ ก) “ประธานฝา ยหาทนุ การศกึ ษาไดแ จง มายงั ดฉิ นั วา ปว ยจงึ ขอลาประชุมในวนั น้”ี 2. การใชส รรพนามในหนังสอื ทัว่ ไป 3. การใชคําราชาศัพทใหเ หมาะสมแกบ ุคคล ข) “กรรมการทา นใดจะขอแกไ ขรายงานการประชมุ 4. การปฏบิ ัติตนเพอื่ การเขียนเชิงสรา งสรรค คร้งั น้ี เชญิ ไดค ะ ” 21. ขอใด ไมใช การเขียนเชิงพรรณนา D 1. หาดทรายสขี าวเปน แนวยาวสุดลกู หลู ูกตา ตดั กบั ค) “ขอใหประธานคณะกรรมการแตละฝายรายงาน ผลการดาํ เนินการในไตรมาสของป 2556” น้ําทะเลสีเขยี ว 2. ในทะเลสว นที่เปน แนวปะการงั ลวนเปน ทีอ่ าศยั ของ ง) “วาระตอ ไปเปน การเสนอคณะกรรมการคดั เลอื ก ผทู ี่ไดร บั ทนุ การศกึ ษาประจาํ ป 2556” ฝูงปลาหลากหลายสสี นั สวยงาม 3. นกั ประดานาํ้ พากันวา ยหรอื บางทกี ล็ อยตัวนงิ่ ๆ 24. ขอ ใดเรียงลาํ ดับคํากลาวของประธานตามระเบียบ D วาระการประชมุ ไดถูกตอ ง วา ยชมปะการังที่ไหวใตน า้ํ ตามแรงคล่นื อยางช่นื ชม 1. ก), ค), ง), ข) 2. ค), ก), ง), ข) 4. เรือทองเท่ียวหลายลาํ ทน่ี าํ นักดํานาํ้ มาชมปะการัง 3. ก), ข), ค), ง) 4. ก), ข), ง), ค) ตางจอดคอยลกู คา ของตนเพื่อพากลบั ยงั ชายฝง อา นขอความทก่ี ําหนด แลวตอบคําถามขอ 25. อานขอ ความที่กาํ หนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 22. ทีก่ ลา ววา “ความรกั ทาํ ใหคนตาบอด” คาํ กลา ว “จะเลือกใครก็ควรเลือกแบบระบบยกทั้งพรรค ทาํ นองนเี้ ปน คาํ เตอื นเราที่ไดย นิ กนั อยบู อ ยๆ ประหนงึ่ จะดีจะเลวก็รูกันในสมัยเดียว จริงอยูคําบอกกลาว เปน การชี้ใหเห็นโทษของความรัก อันท่จี ริง ทุกสิง่ มี ดังน้ี คงจะไมสามารถเปลี่ยนทัศนคติของกลุมคน ทัง้ คุณและโทษ ความรกั ก็มีคณุ ประโยชน เพราะเปน บางพ้นื ท่ี ท่ยี งั รักใคร ชอบใครกเ็ ลอื กคนน้ันได” สง่ิ ที่ทาํ ใหจ ติ ใจแชมชน่ื มีความสุข โดยเฉพาะเมือ่ รกั สมหวัง แตก ม็ โี ทษมากเชน กัน 25. สามารถสรปุ สาระจากเรอ่ื งท่ีฟง ไดส อดคลองกับขอ ใด D 1. การเลือกผูแ ทนฯ ควรเลือกทัง้ พรรค 22. ขอความทกี่ ําหนดใหอ า นมีกลวิธีการเขียนตรงกบั ขอใด D 1. อุปมาโวหาร 2. บรรยายโวหาร 2. ควรเลอื กผูแทนฯ เฉพาะคนทตี่ นเองชอบ 3. เทศนาโวหาร 4. สาธกโวหาร 3. ผแู ทนฯ จะดหี รอื เลวยอมรูกันในสมยั เดียว 4. การเปล่ียนทศั นคตขิ องประชาชนในการเลือกผูแทนฯ โครงการวัดและประเมินผล (6)

26. “บทบาทลลี าแตกตางกนั ไป ถึงสูงเพยี งใดตางจบลงไป 29. นกั เรยี นสามารถสรปุ สาระสาํ คญั ทไ่ี ดจ ากการฟง วา อยา งไร โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D เหมอื นกนั ” ขอ ความในบทเพลงที่ยกมาน้ี มคี วามหมาย D 1. หมกึ พิมพมสี ารประกอบแคดเมียม สอดคลอ งกบั ขอ ใด 2. แคดเมียมเม่ือเจอความรอ นจะแปรสภาพ 1. มขี ึน้ ก็ตอ งมีลง 2. มเี ปดก็ตอ งมปี ด 3. แคดเมยี มเปนสารระเหยทเี่ ปนพษิ ตอรางกาย 3. เกิดมาตัง้ อยดู บั ไป 4. งานเลยี้ งตอ งมีวันเลกิ รา 4. หมึกพมิ พป ระกอบดว ยสารแคดเมยี ม ซง่ึ เปน พิษตอ อา นขอความท่กี ําหนด แลว ตอบคําถามขอ 27. รา งกาย “เหตทุ น่ี าํ้ ในอา งเกบ็ นา้ํ ของเขอ่ื นภมู พิ ลมจี าํ นวน อานขอความท่ีกําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 30. นอยลง สาเหตุหน่งึ เกดิ จากมีทรายและตะกอนจาก ท่ีสูงรอบอางเก็บนํ้าพัดพาลงไปอยูในอางเก็บนํ้า วิทยากรบรรยายวา “…เม่ือพบเห็นเด็กหรือ มากข้ึนนั่นเอง ถาไมแกไขอีกหนอยในอางเก็บนํ้า ผใู หญท ถ่ี ูกไฟฟา ดดู ข้ันแรกคือ ตองปดสวิตชต ดั ไฟ ของเขอื่ นกจ็ ะตนื้ จนกกั เกบ็ นา้ํ ไดน อ ยลงเรอื่ ยๆ เมอื่ ทมี่ ายงั จดุ นนั้ กอ น แผงไฟใหญในบา นสามารถตดั ไฟ ถงึ จุดนเ้ี ขือ่ นก็จะหมดความหมาย” ทกุ จดุ ของบา น ถา ไมแ นใจควรใชไ มเ ขย่ี ผเู คราะหร า ย จากไฟฟา อาจใชเชือกหรือผาคลองตัวออกมาก็ได 27. สาระสําคญั ของบทพูดน้ีตรงกบั ขอ ใด ทั้งผาและไมต อ งแหง…” D 1. นา้ํ ในเขอ่ื นภมู พิ ลนอ ยเพราะมที รายและตะกอนในอา ง 30. ขอ ความขา งตน กลา วถึงวธิ ีการในขอ ใด 2. อา งเกบ็ นํ้าเขอ่ื นภูมพิ ลเกบ็ นา้ํ ไดจ ํานวนนอยมาก D 1. การนําตัวผูถกู ไฟฟา ดดู ออกจากไฟฟา 3. เข่อื นจะหมดความหมายถา ไมม ีนา้ํ 4. อางเกบ็ นํ้าเขอื่ นภมู พิ ลเกบ็ นํ้าไมอ ยู 2. การปดสวติ ชต ัดไฟแผงไฟใหญในบา น อานขอ ความท่ีกาํ หนด แลวตอบคําถามขอ 28. 3. การใชอ ปุ กรณชวยเหลอื ผูทีถ่ ูกไฟฟาดูด 4. การตัดไฟฟา ภายในบานเมือ่ มีผูถ กู ไฟฟาดดู “ทกุ วนั นขี้ นมของเดก็ มกั จะเปน ขนมกรอบๆ ทมี่ ี อานขอความทกี่ ําหนด แลวตอบคําถามขอ 31. ตนตอการผลิตมาจากตางชาติ ไมวาจะเปนมันฝรั่ง เผอื ก กจ็ ะตอ งผา นขน้ั ตอนการผลติ ทมี่ าจากกรรมวธิ ี “ในสภาพปจจุบันท่ีสังคมกําลังกาวสูยุคแหง อันทันสมัย ตัง้ ชื่อใหแ ปลก หรๆู เพอื่ จงู ใจ แตไมม ี ขา วสาร หรอื ทเ่ี รยี กวา ‘โลกาภวิ ตั น’ ขา วสาร ความรู คุณคาอาหารตอรางกาย แมแตตางชาติเองก็ยัง หลากหลายไดท ะลกั เขา มาอยา งรวดเรว็ และฉาบฉวย ตอตา น ไมน ิยมสง เสริมใหเ ดก็ ในชาติของตนเองกนิ มลี กั ษณะในทางธรุ กจิ การคา ครอบงาํ ทางวฒั นธรรม ขนมแบบนี้ ถึงขนาดตั้งสมญาวา ‘อาหารขยะ’ ” ผูที่ขาดการรับรูขาวสารความเคล่ือนไหวทางสังคม อยางเปนระบบ อาจตกเปนเหยื่อของกลไกทางการ 28. บคุ คลใดพดู สรปุ ความเรอื่ งทฟ่ี ง ไดอ ยา งมมี ารยาทมากทสี่ ดุ ตลาดไดง ายดาย” D 1. ชิดกลา ววา เราตองตอ ตานพวกตา งชาติ 31. ขอความน้ีผพู ดู มงุ ใหผูฟง ตระหนักในเรอ่ื งใด 2. ชยั กลาววา บริษัทขนมเอาเปรยี บผูบริโภค F 1. การรจู ักเลอื กรับขอ มลู ขา วสาร 3. ช่ืนกลา ววา บริษทั ขนมหลอกลวงผบู ริโภค 4. ชอบกลาววา ขนมเดก็ สวนใหญไ มม ีคณุ คาทางอาหาร 2. สภาพปจ จบุ ันของสังคมยคุ โลกาภวิ ัตน อานขอความทก่ี ําหนด แลวตอบคําถามขอ 29. 3. ความจาํ เปน ในการแลกเปล่ยี นขอมลู ขาวสาร 4. การแพรกระจายขอ มูลขา วสารยคุ โลกาภวิ ัตน นกั สง่ิ แวดลอ มทา นหนง่ึ กลา ววา “…หมกึ พมิ พ 32. ขอใดใชภาษาระดับเดยี วกนั ท้ังประโยค ประกอบดวยโลหะหนักชนิดหนึ่ง ก็คือ แคดเมียม D 1. พอ แมอ ยากใหผ มเปน หมอ แตผ มอยากเปน ครบู า นนอก หากเจอกบั ความรอ น จะแปรเปน สารระเหยเขาไป 2. แมอ ยากใหก ระผมคา ขาย แตบิดาอยากใหเ ปนแพทย เจือปนในอากาศ และมีผลเปน อันตรายตอ รางกาย 3. ดิฉนั ขอเรียนวาดิฉนั ไมไ ดเกโรงเรยี น มารดาของ อยางมาก…” ดฉิ ันไมส บายเม่ือวานนี้ ดิฉนั เลยตอ งหยดุ เรยี น 4. หนังสอื เลมน้ีมหี วงั ขายดแี นๆ หมดเกลี้ยง เพราะ รวบรวมวาทะสาํ คญั ๆ ของผทู ม่ี ีชอ่ื เสียงไวหลายคน (7) โครงการวัดและประเมินผล

อา นขอ ความทก่ี ําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 33. 38. ขอ ใดแสดงอทิ ธพิ ลของภาษาอังกฤษท่สี ง ผลตอ ระเบยี บ D วธิ ีเขียนในภาษาไทย “เรยี นทา นประธานทเ่ี คารพ ดฉิ นั นางยวุ ดี แสนดี ผอู าํ นวยการโรงเรยี นอรณุ ศกึ ษา ขอกราบเรยี นถามวา 1. ฟรี เบรก ครีม การจัดหนังสือเพิ่มเติมใหนักเรียนน้ัน จะสงให 2. พลาสตกิ ฟรี ครีม นักเรียนในชนบทในภาคเรียนใด…” 3. โพรโมชนั เบรก ฟรี 4. ฟอรม สตารต วอลกเอาต 33. ขอความทก่ี ําหนดใหอา นใชภ าษาระดบั ใดเพือ่ สื่อความ อา นขอ ความทีก่ ําหนด แลวตอบคําถามขอ 39. D 1. ระดบั พิธกี าร สบื สานภาษาไทยคอื ไทยแท 2. ระดบั ทางการ ถนิ่ เดิมแนว ัฒนธรรมตามคําสอน 3. ระดบั กึ่งทางการ ศลิ ปกรรมนําไทยใหส ถาวร 4. ระดับไมเ ปน ทางการ มารยาทนาฏยส ุนทรขจรไกล 34. คําในขอใดแสดงอิทธพิ ลของภาษาตางประเทศทม่ี ตี อ 39. คาํ ประพนั ธท ยี่ กมานมี้ คี าํ ทยี่ มื มาจากภาษาตา งประเทศกคี่ าํ D ระบบเสยี งพยัญชนะไทยทง้ั สองคาํ 1. ฝรัง่ เศส ครมี D 1. 5 คาํ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 2. บรอดเวย แฟรงค 2. 6 คํา 3. 7 คาํ 4. 8 คาํ 3. พลาสตกิ โพรโมชนั 4. อเิ ควเตอร ดรัมเมเยอร 40. ขอ ใดมีฉันทลักษณส อดคลอ งกบั บทรอยกรองท่กี าํ หนด D “ไหวค ุณองคพระสุคตอนาวรณญาณ 35. ขอ ใดปรากฏคาํ คร-ุ ลหเุ หมือนบทรอยกรองทก่ี าํ หนด ยอดศาสดาจารย มน”ี C “อาหัตถก็หัตถส ุขมุ ชวน มนะหวนฤดดี าล” 1. ผอิ ยเู หยาสอิ รชร ฤทยั ออ นระทวยองค 1. เอออุเหมน ะมงึ ชิชา งกระไร ททุ าสสกุลฉะน้ีไฉน กม็ าเปน 2. แลหลังละลามโล- หิตโอเ ลอะหล่งั ไป 2. พรอมเบญจางคประดิษฐส ฤษฎิสดดุ ี 3. รอบดา นตระหงา นจตุรมขุ พิศสกุ อรามใส 4. คร้ันทวอิ งค ทรงสติฟน กายจติ วจีไตร ทวาร 3. ภบู ดีสดับอุปายะตาม ณ วาทวสั สการพราหม ณ บงั อาจ 36. ขอ ใดปรากฏคาํ คร-ุ ลหุเหมอื นบทรอยกรองท่ีกําหนด 4. วากษตั รยิ วัชชบี รรดา บดสี ีมา D “บารมี ธ มากลน” เกษตรประเทศทกุ องค 1. คนจะดีเพราะนาํ้ ใจ 2. ฤๅรอจะตอ รอน 3. ฟา สนี ํา้ นาํ้ สฟี า 4. กายจิตวจไี ตร 37. ขอใดใชภาษาระดับทางการ D 1. สายนา้ํ ท่ีเคยเงียบเฉยี บซบเซา 2. วิถชี ีวิตรมิ ฝง นา้ํ กลับมาคกึ คกั อกี ครั้ง 3. พอคา แมคาตา งพายเรือมารอทา ลกู คา จากเมืองกรงุ 4. ไดร ับการดแู ลอีกคร้ังโดยนโยบายจากกระทรวง การทองเทย่ี ว โครงการวัดและประเมินผล (8)

2ตอนที่ ตอบคาํ ถามใหถ กู ตอ ง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·èÕ ä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 10 ใชขอ ความที่กาํ หนด ตอบคําถามขอ 1. - 2. “นักสูบที่ตายแลว ไมมีประโยชนตอบริษัทบุหรี่อีกตอไป นี่คือความจริงท่ีบริษัทบุหร่ีท่ัวโลกรับรูและไมปฏิเสธ เพราะฉะน้ันบริษัทเหลาน้ีจึงตองพยายามทุกวิถีทาง เพ่ือสรรหาลูกคารายใหมๆ เขามา เพ่ือทดแทนนักสูบรายเกาๆ ที่กําลังทยอยกันเดินทางไปสูหลุมฝงศพ เปาหมายของบริษัทเหลาน้ีคือกลุมวัยรุนและผูหญิงรุนใหม ดังน้ันจึงมีบุหรี่ รสชาติใหมๆ กล่นิ หอมหวนออกมาสทู องตลาดมากมายหลายยี่หอ ทัง้ บหุ รีก่ ลน่ิ ผลไม กล่ินช็อกโกแลต กล่ินสมุนไพร และแมจะมีพระราชบัญญัติควบคุมยาสูบ (พ.ศ. 2535) ท่ีหามไมใหมีการโฆษณาในส่ือตางๆ แตบรรดาครีเอทีฟ สมองใส ตางก็คิดคนกลเม็ดเด็ดพรายตางๆ ออกมาย่ัวยวนนักสูบ เชน จางพริตตี้สาวสวยออกมาถือซองบุหรี่ หรือ เมื่อมีงานบันเทิงในตางจังหวัดก็จะมีพริตต้ีสาวแตงตัวเซ็กซ่ีแสดงสัญลักษณบริษัทบุหร่ีออกมาแดนซกระจาย ดึงดูด สายตาผคู นเปนการโฆษณาทางออม เพื่อไมใหแ บรนดข องสนิ คาหลุดหายไปจากทอ งตลาด” 1. ขอ ความนี้ ปรากฏคําทีย่ มื มาจากภาษาตา งประเทศภาษาใดบาง ใหร ะบุอยา งนอยจํานวน 10 คํา (5 คะแนน) โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ใหนักเรยี นเขยี นวิเคราะห วิจารณแนวทางการใชภาษาของขอ ความท่กี าํ หนดใหอ าน (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ใหนักเรียนเขียนขยายความและตีความจากขอความ “…มีลูกท่ีไมเฉลียวฉลาดและไมอยูในทางธรรมจรรยาไดรับผลเปน คณุ ประโยชนอ ะไรเลา เปรยี บเหมอื นมตี าแตพ กิ ารมดื มัว ซึง่ มีไวใ หรําคาญเทาน้ันเอง” (3 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (9) โครงการวัดและประเมินผล

แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภาษา 1ภาคเร�ยนท่ี ¤Ðá¹¹·èÕ ä´Œ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 ชดุ ท่ี 2 ¤Ðá5¹0¹ÃÇÁ ช่ือ นามสกลุ…………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ โรงเรียน……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. สอบวนั ที่ เดอื น พ.ศ.…………………….. ………………………………………………… ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด 1ตอนท่ี 1. แบบทดสอบฉบับน�้มที ั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·èÕ ä´Œ 2. ใหน กั เรียนเลอื กคาํ ตอบทถี่ ูกที่สดุ เพยี งขอ เดยี ว ¤Ðá¹¹àµÁç 40 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 1. ขอ ใดแบง จงั หวะการอา นออกเสียงบทรอยกรองประเภท 3. บคุ คลใดควรไดร บั การยกยอ งวา เปน ผมู มี ารยาทในการอา น C กลอนสุภาพไดถูกตองและเหมาะสมมากท่สี ุด D 1. อนุศกั ดห์ิ ยิบบันทึกของเพ่อื นมาอา นเพอื่ ใหรจู กั กนั 1. โอเจดีย/ ทส่ี รางยงั /ราง/รัก 2. อนุพงษบ รรจงฉีกหนาหนังสือของหองสมดุ ท่ีตองการ เสยี ดายนัก/นึกนานา้ํ ตา/กระเดน็ 3. อนุชัยพบั มุมหนงั สอื ของหองสมดุ นําไปใหเ จาหนา ท่ี 2. เปนผดู มี /ี มากแลว /ยากเย็น ถา ยสําเนา คดิ กเ็ ห็น/อนจิ จังเสีย/ทั้งนั้น 4. อนุชิตหยิบหนังสือพิมพเฉพาะฉบับที่ตนเองตองการ 3. กระนหี้ รอื /ช่อื เสยี ง/เกียรติยศ แลวนําไปอานที่โตะ จะมิหมด/ลวงหนา/ทันตาเหน็ พิจารณาแผนผงั ความคดิ ท่กี ําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 4. 4. ทงั้ องค/ ฐานรานรา วถงึ /เกา แฉก ลกั ษณะของเพลงไทย การอนรุ ักษเ พลงไทย เผยอแยกยอด/ทรุดก/็ หลุดหกั ลกู ทุง (3) ลูกทุง (1) อา นบทรอยกรองท่ีกาํ หนด แลวตอบคําถามขอ 2. เพลงไทยลกู ทงุ ไมพูดเลยเฉยไวก็ไมรูเรอื่ ง บทบาทของเพลงไทย ความเปนมาของ ยิ่งพูดมากยง่ิ ดูเหมอื นมากเรอ่ื ง ลกู ทุง (4) เพลงไทยลูกทุง (2) ครน้ั พูดนอ ยพลอยพาลราํ คาญเคือง คํามันเยอื้ งยักความไปตามคน 4. ขอ ใดเรียงลาํ ดบั โครงเร่อื งจากแผนผังความคิดทีก่ ําหนด D ใหไ ดเ หมาะสมมากท่ีสุด เนาวรตั น พงษไพบลู ย 1. (2), (3), (4), (1) 2. นยั สาํ คญั ของการพูดทผ่ี ูเขียนนําเสนอสอดคลองกบั ขอใด 2. (1), (2), (3), (4) E 1. คาํ พดู ยอมแปรผันได 3. (4), (3), (2), (1) 4. (3), (4), (1), (2) 2. ไมค วรพูดใหมากความ 3. หากไมพ ดู ก็จะสือ่ สารกันไดไ มเ ขาใจ 4. พูดนอ ยเปนการพดู ท่ีไมเ กิดประโยชน ความรู ความจาํ ความเขา ใจ การนําไปใช การวเิ คราะห การสังเคราะห การประเมนิ คา A B C D E F โครงการวัดและประเมินผล (10)

อา นขอความท่ีกําหนด แลว ตอบคําถามขอ 5. 6. การคาดคะเนในขอใดถกู ตอ งมากท่ีสดุ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D 1. โลกมนษุ ยจะไมร อนอกี ตอ ไป คนเรายอ มมเี กดิ แก เจบ็ ตาย และพบกบั ความ เปล่ียนแปลงตลอดชวงชีวิต ดังนั้น จึงตองพ่ึงพา 2. โลกมนุษยจ ะยงั คงรอ นตอไป อาศัยกัน คนมีเงนิ ก็อาจตอ งพึ่งแรงพึ่งสมองของคน 3. ธาตุกมั มนั ตรงั สจี ะสลายตวั ลงในไมชา ที่มีความรู คนจนตองอาศัยคนมี สรุปรวมลงไดวา 4. นักวิทยาศาสตรจะหยุดพลงั งานความรอ นได คนเราตอ งพง่ึ พาอาศยั กันนเ่ี องจงึ ตองคบมิตร 7. จากขอความทกี่ าํ หนดใหอ านขอ ใดถูกตอง D 1. ปจจบุ นั โลกไดเยน็ ลงจนอุณหภมู ิคงที่แลว 5. ขอ ใดคอื สาระสําคญั ของขอ ความท่กี ําหนดใหอ าน 2. การชนและการอดั ตัวของอนภุ าคทําใหเ กิดความรอ น D 1. รวยมากมาย เอาไปไมไดส กั อยาง 3. นักวิทยาศาสตรพ ยายามสาํ รวจพลังงานความรอ น คนอยหู ลงั เขาแบงแยง กนั วนุ วาย เพือ่ นําไปใชประโยชน 2. จนหรือมีไมเปน ท่สี าํ คญั 4. นกั วทิ ยาศาสตรท ราบวา โลกมพี ลงั งานมหาศาลซอ นอยู แมรักกันพ่งึ พาอยา ไปตัดไมตรี ดวยการบินสาํ รวจทางอากาศ 3. คนจนคนรวยไมช าก็มวยมรณา อานขอความทกี่ ําหนด แลวตอบคําถามขอ 8. คนดคี นบาไมชากม็ รณงั …กจิ การทกุ อยา งรวมทง้ั การดาํ รงชวี ติ ทดี่ ี จะตอ ง 4. เกดิ เปน คนอยาเหน็ แกตนแหละดี ปรับปรุงตัวตลอดเวลาและการปรับปรุงนี่จะตองมี ความเพียรและความอดทนเปนท่ีต้ัง ถาคนเราไมมี ถงึ จะมรี ่าํ รวยสุขสนั ต ความเพยี ร ไมมคี วามอดทนกอ็ าจจะทอใจไปโดยงาย อา นขอ ความทีก่ ําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 6. - 7. เมอื่ ทอ ใจไปแลว ไมม ที างทจี่ ะมชี วี ติ เจรญิ รงุ เรอื งแนๆ นอกจากเปน คนทเี่ คราะหดเี หลอื เกิน หรอื อยางท่ีเขา พลังงานความรอนใตพ ิภพ วา กนั วา คนนเ้ี ขาฟน ฝา อปุ สรรคมาไดด ว ยดี เขาไมได โลกมีพลังงานมหาศาล นักวิทยาศาสตรไดขุด ทําอะไรเลย เขากินบญุ เกา เราทาํ บญุ มาถงึ มชี วี ติ ขึ้น หลมุ ลงไปวดั อณุ หภมู ิใตพ ภิ พกวา 20,000 จดุ ทว่ั โลก มาได มีกินมีอยู มีทางท่ีจะไดศึกษาเลาเรียนโดยดี และพบวาโลกของเราปลดปลอยพลังงานดวยอัตรา เรากนิ บญุ เกา เราจะตอ งสรา งตอ ไปเพอื่ ทจี่ ะไมใหบ ญุ 44 ลานลานวัตตในรูปของความรอน ความรอน ที่กินน่ีหมดไป เพราะวาคนเราถาไมสรางบุญตอไป ใตพิภพมีที่มาจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี คอื ทําความดี ยอ มหมดเชนเดยี วกับเราสะสมอาหาร และความรอนท่ีหลงเหลือมาตั้งแตยุคบรรพกาล เอาไวสําหรับไมใหอด แตวาถาเราไมหากินตอไป เมอื่ ครง้ั โลกเรม่ิ กอ ตวั โดยโลกกอ ตวั ขน้ึ เมอื่ ประมาณ ไมหาอาหารมา อาหารท่ีสะสมเอาไวก็ยอมหมดไป 4.5 พนั ลา นปท แ่ี ลว เมอ่ื ฝุนผงในอากาศรวมตัวกนั แลวเราก็ผอมโซและอดตาย ฉะนนั้ ความรหู รือความ เขา เปน ดาวเคราะห การชนและการอดั ตวั ของอนภุ าค สามารถ ความดีทง้ั หลายเราตอ งสะสม และเพม่ิ เตมิ ทาํ ใหเ กดิ ความรอ นขนึ้ แมโ ลกจะคอ ยๆ เยน็ ตวั ลง โดย อยเู รอ่ื ยๆ ถงึ จะสามารถทจ่ี ะมชี วี ติ ดาํ รงอยูได ถา ขาด ตลอด (ประมาณ 100 องศาเซลเซยี ส/1,000 ลา นป) อาหารเรากผ็ อมลง หวิ เปน ทกุ ข ถา ทาํ ดี ทาํ สง่ิ ทส่ี จุ รติ แตปจจุบันโลกก็ยังไมเย็นสนิท อยางไรก็ตามความ ดว ยความสามารถ ดว ยความอดทนพากเพยี ร เราอาจ รอนสวนใหญของโลก (ประมาณ 24 ลานลานวัตต) จะไมผ อมโซ เพราะวา คนทท่ี าํ บญุ ทาํ ดนี น้ั งานในชวี ติ เกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีตาม มันงายขึ้น คนท่ีกินบุญเกากลับไมมีความสามารถที่ ธรรมชาติ เม่ือไฮโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุตางๆ จะทาํ มาหากิน ในที่สุดถามบี ุญมากแลวกนิ บญุ ก็ยังดี เชน ยูเรเนยี ม ธอเรียม และโพแทสเซียม สลายตวั มีสะสมเอาไว แตวาวนั หนึ่งก็หมด… มนั จะใหพ ลังงานออกมาในรูปความรอน พระราชดํารสั ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช Science illustrated july No.25/2013 (11) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 8. บคุ คลใดนาํ ความรู ความเขา ใจ ขอ คดิ ทไ่ี ดร บั จากพระราช- 11. ในตราสารประชุมของบริษัทกลาววา “การประชุมจะ F ดํารสั ท่กี ําหนดมาพฒั นาตนไดเ หมาะสมมากท่ีสุด C ดําเนินการไดก็ตอเมื่อกรรมการบริษัทจํานวนไมนอยกวา 1. พชั รนันทเ ปด โอกาสใหต นเองไดเ รียนรปู ระสบการณ 9 คน เขา ประชมุ ” อภชิ ยั เปนหนึ่งในกรรมการ จําเปน ตอ ง ใหมๆ อยูเสมอ ไปโรงพยาบาล จงึ เหลอื ผเู ขา รว มประชมุ 8 คน การประชมุ ตอ งยุติลงดวยเหตุผลในขอใด 2. วชั รพลทาํ งานหามรุงหามคา่ํ เกบ็ สะสมรายได 1. อภิชัยเปน บคุ คลสําคญั ที่สุดในทป่ี ระชุม เพ่ือนาํ ไปซ้ือส่งิ ของทต่ี องการ 2. ไมม ีบุคคลเสนอวาระการประชมุ 3. ไมเปนไปตามกําหนดการ 3. อนนั ตทําบุญและถวายสงั ฆทานทุกวันพระ 4. ไมครบองคป ระชุม เพ่อื ใหตนเองสบายในชาตหิ นา อา นขอความทีก่ าํ หนด แลวตอบคาํ ถามขอ 12. 4. ปฐมพงษทาํ งานหามรงุ หามคํ่าเกบ็ สะสมรายได ดอกจันทนก ะพอ รวงพรู แตมิไดห ลนลงสูพื้นดิน เพอ่ื ไมใหต นเองลําบากในอนาคต ทีเดียว เกสรเล็กๆ แดงเรื่อแกมเหลืองลอยวอน กระจดั พลดั พรายอยใู นอากาศทโี่ ปรง สะอาดหนอ ยหนงึ่ อา นขอความท่ีกําหนด แลวตอบคําถามขอ 9. เหมือนลวดลายของตาขายท่ีคลุมไตรพระ กลีบและ เกสรอาจจะตกลงถูกเหยียบเปนผยุ ผงไป แมบานบางคนขาดการรูจักประมาณตน เห็น ญาตมิ ติ รเพอ่ื นฝงู ทาํ อยา งไรกม็ กี เิ ลส ความอยากทาํ แผนดินของเรา : แมอนงค ตามเขาเหลานนั้ โดยไมไดม องดฐู านะของตน เชน เพื่อนมีรถใหมก ย็ อมเปนหนเ้ี ปนสนิ ไปซื้อใหมบา ง 9. สาระสําคญั ของขอ ความทก่ี ําหนดใหอา นสอดคลองกบั 12. ขอ ความใดมกี ลวธิ กี ารเขยี นสอดคลอ งกบั ขอ ความเงอ่ื นไข D สาํ นวนใด D 1. เขาพูดกบั ตุกตาทงั้ หลายที่มอี ยูประมาณยีส่ บิ ตวั มสี ิงโตทองเหลืองท่ีเขาเกบ็ ไดในถงั ขยะระหวาง 1. เห็นข้ีดกี วาไส เดินทางไปโรงเรียน ลาทาํ จากงาชา งท่ีพอ แม… 2. เห็นชา งเทา หมู 2. ชา งยกขาหนา ใหควาญชางเหยยี บข้ึนน่งั บนคอ ตวั มนั 3. เหน็ หนา เหน็ หลงั สูงใหญ ใบหูไหวพะเยบิ หญงิ บนเรือนลงบนั ไดมา 4. เห็นเขาข้นึ คานหาม เอามอื ประสานกน เธอชแู ขนยืน่ ผา ขาวมา และขาวหอ ใบตองข้นึ ไป… อานบทรอ ยกรองทก่ี ําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 10. อยา เอ้ือมเดด็ ดอกฟา มาถนอม 3. ศาลาฮอยเขามลี ักษณะโครงสรางคลา ยโบสถแบบ สูงสุดมือมักตรอม อกไข มาตรฐานของกรมศาสนาอยูบาง แตกวาง เต้ยี และ โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร แปน กวา ไมด รู ุงรังท้ังท่มี ีลวดลายไมฉลุประดับ… 10. ขอ ใดสอดคลองกบั บทรอยกรองที่กําหนด 4. พรายพาดมาศมขุ ลวน หลัน่ ลด D 1. หากดินนาํ พา ไมส อยลงมาดอกฟา จนใจ ใบระกากา ยขนด นาคสะดงุ หนา บันแยงกานขด หมวดเทพ ดอกฟาเมอื งบน อยูส งู เกินคนไหนจะหลนโรยลง บษุ บกสามฉตั รคุง ครอบไวกลางวง 2. แตปวงดอกฟา เปนของเทวาชาวฟา พอใจ 13. ขอใดไมใช ลักษณะของงานเขยี นประเภทเรอื่ งสน้ั ความรักอาลัย ดอกฟา เต็มใจรักจะใหดนิ ชม B 1. สรา งจินตนาการใหผอู านเหน็ คลอยตาม 3. ดอกเอยดอกฟา ดอกไมเ ทวาดอกฟา งามครัน 2. มวี ิธกี ารผูกเคาโครงเรอื่ งใหผ อู านเกดิ ความฉงน 3. มโี ครงเรอ่ื งเดยี ว ซงึ่ งา ย และไมมีความซับซอ น ดอกฟา ลาวณั ย ชาวฟาพากันตา งฝนฝก ใฝ 4. ปรากฏชดุ เหตุการณห ลายชดุ ซอนกนั ภายในเร่ือง 4. แตเกียรติดอกฟา อยสู งู เกินกวายอมพรา ตัวตรม ดินชมจะสม ควรเพยี งสอยชมอยา ขม เกยี รตหิ มน โครงการวัดและประเมินผล (12)

14. พรรณนาโวหารมคี วามแตกตา งจากบรรยายโวหารอยา งไร 17. แนวคดิ หลกั ของขอ ความท่กี าํ หนดใหอ านตรงกับขอใด โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ B 1. พรรณนาโวหารตอ งการใหผ อู า นสนกุ สนานไปกับ D 1. ปญ หาสิ่งแวดลอ มเกิดขึ้นเพราะความมักงาย แนวคิดของเรื่อง สว นบรรยายโวหารตอ งการใหผูอา น 2. แมน า้ํ เปรยี บเสมอื นเสนเลอื ดทีห่ ลอเล้ยี งชีวติ เกิดความรูส กึ คลอยตามไปกบั แนวคิดของผูเขยี น 3. บริเวณรมิ นํ้ามชี มุ ชนแออัดเพิ่มจํานวนขน้ึ เรอ่ื ยๆ 2. พรรณนาโวหารจะสอดแทรกอารมณความรูสึก เจตนา 4. ความมกั งา ยเหน็ แกต ัวของผูคนที่ไมเ ห็นความสําคญั ใหผ อู า นเกดิ ภาพพจนท แ่ี จม ชดั สว นบรรยายโวหารใช ภาษาสอื่ สารเพื่อใหท ราบวา เปนเรื่องของใคร ทาํ อะไร ของสว นรวม กับใคร ท่ีไหน อยางไร และทําไม 18. ขอ ใดกลา วถกู ตอ งเกยี่ วกบั ขอ ความที่กาํ หนดใหอาน 3. พรรณนาโวหารใชภาษาเพอ่ื ชกั จูงใหผ ูอ า นเกดิ ความ D 1. กลวิธีการเลาเรอื่ งไมซบั ซอ น ทําใหผอู านเขา ใจได รสู กึ คลอยตาม สว นบรรยายโวหารเปนการเขียน แสดงความรูส กึ 2. กลวิธีการเลาเรอ่ื งเปนเหตเุ ปนผลซง่ึ กนั และกัน 4. พรรณนาโวหารเปนการเขยี นเปรียบเทียบส่งิ ของ 3. ภาษาที่ใชเ รียบเรียงเปน ภาษาระดับสนทนา ที่เหมือนกันเพอ่ื โยงความคิดไปสูอีกสิง่ หน่ึง สว นบรรยายโวหารเปนการเขยี นเพอ่ื โนมนาวให เพอ่ื ความเปนกนั เองกบั ผูรบั สาร ผูอานคลอยตาม 4. ทรรศนะของผเู ขยี นไมช ัดเจน 15. “ความเทย่ี งตรง” มีความสาํ คญั ตอการเขยี นรายงาน 19. ความขดั แยง ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ตวั ละครภายในเรอ่ื ง ซงึ่ เปน ความ D การประชุมอยางไร D ขัดแยงภายในจติ ใจกอใหเ กดิ ผลอยางไร 1. ทาํ ใหทราบผลการประชุมตามขอ เท็จจริง 1. เร่ืองซบั ซอน มีเงอ่ื นงํา ชวนใหนา ตดิ ตาม 2. ทําใหทราบวา การประชุมครง้ั ที่ผานมาใครท่ีไมม ี 2. แกน หรอื แนวคิดหลกั ของเรือ่ งจะเปลย่ี นแปลง สวนรวมในทปี่ ระชุม 3. กลวธิ ีการเลา เร่อื งและการดําเนินเรือ่ งจะซับซอ น 3. ทําใหทราบวาการประชุมครั้งที่ผานมาดําเนินไปตาม 4. ตัวละครจะแสดงพฤตกิ รรมที่สงผลตอ การดําเนินเรอื่ ง ลําดบั เวลาหรอื ไม 20. ขอความใดมีกลวิธกี ารเขยี นแตกตา งจากขอ ความอ่ืน 4. ทาํ ใหท ราบวา การประชมุ ครงั้ ทผี่ า นมาสมาชกิ คนใดบา ง D 1. เมอ่ื เรว็ ๆ นเ้ี อง ตอนตนฤดฝู น หญา ในปาแตกระบัดใบ ที่แสดงความคิดเห็นซ่ึงเปนมติของทีป่ ระชมุ 16. ขอใดใชภาษาเหมาะสมกบั การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ สัตวป า ทผี่ อมโซ อดๆ อยากๆ มันออกกินหญา D 1. ภยั ธรรมชาตทิ ่ีอบุ ัตขิ นึ้ บนโลกมนษุ ยเ ปนผลพวง ผมก็เขาไปลา สตั วเ พื่อยิงมันเสียใหตายหมดๆ ไป ทเ่ี กิดขึน้ จากน้ํามือของมนษุ ย 2. เขามองดผู มต้ังแตหวั ตลอดตีน แลวนัง่ คิดอยูน าน 2. ในอนาคตอุทกภัยอาจรุนแรงมากขึ้น หากผูเก่ียวของ แตในทสี่ ุดกเ็ ช่ือวา ผมไมไ ดม าหาเสยี งสมัครผแู ทน ไมห าทางแกไขปญ หาท่ีตนเหตุ 3. แมจะมาเที่ยวเชียงรายเปนคร้ังท่ีหน่ึงรอย แตทุกครั้ง 3. เหตกุ ารณนา้ํ ทว มท่จี ังหวดั ปราจนี บรุ ี เปน เหตกุ ารณ ทมี่ าเยือน ทน่ี ี่ก็ยงั เปน เมอื งท่ีใหความรสู กึ ดเี ชน เดิม ธรรมดาๆ ของธรรมชาตทิ ี่ไมม ีใครคาดถึง 4. น่ี พอ …พอ จา…บา นนเี้ ขาเรยี กวา บานอะไรจะ 4. ผลพวงที่เราขุดเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช ลิดรอน “บานลานเท” เขาตอบหว นๆ ทรพั ยากรปา ไมท าํ ใหหนาดินเกิดการชะลางพงั ทลาย อา นขอ ความทกี่ าํ หนด แลวตอบคําถามขอ 21. อานขอความทีก่ ําหนด แลวตอบคําถามขอ 17. - 18. ในชนั้ เรยี นครูใหน ักเรยี นฟง บทเพลง ทอ นหน่งึ พอ คอ ยๆ วาดพายลงในผนื นา้ํ ใจกค็ ดิ ไปวา สภาพ มีความวา “วมิ านนอย ลอยริมฝง ถึงอางวา งเหลอื ใจ น้ําใสไหลเย็นอยางนี้ จะยังคงอยูตอไปไดอีกสักก่ีป รําพัน หิวหรืออิ่มก็ยิ้มพอกัน ชีวิตกลางน้ําสุขสันต ในขณะทบ่ี า นเรอื นรมิ นาํ้ เรมิ่ หนาแนน ขน้ึ พรอ มๆ กบั โอสวรรคในเรือนแพ” จากน้ันครูสุมเรียกช่ือนักเรียน ความมักงายเห็นแกตัวของผูคนที่เห็นแมนํ้าเปนที่ท้ิง สรุปแนวคดิ ของบทเพลง ขยะและระบายสง่ิ โสโครก ทง้ั ๆ ทแ่ี มน า้ํ เปรยี บเสมอื น เสนเลือดที่หลอเล้ียงชีวิตทุกชีวิตที่อาศัยอยู ไมวาจะ 21. บคุ คลใดสรปุ แนวคดิ ของบทเพลงไดถ กู ตอง เปน ในแมน าํ้ หรอื รมิ ฝง ก็ตาม D 1. นนุ กลา ววา มนษุ ยมีชวี ติ อยไู ปวนั ๆ 2. นชุ กลา ววา ชวี ติ ของมนุษยส ําคญั ท่ีใจสู 3. นวลกลา ววา ความสขุ ของมนษุ ยอ ยทู ีค่ วามพอใจ 4. นกึ กลาววา ชวี ติ มนุษยต องการเพียงกนิ อม่ิ นอนหลบั (13) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ อานบทเพลงท่กี าํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 22. - 23. 25. บุคคลใดพูดแสดงความคดิ เหน็ ไมถกู ตอง ตามหลักการ B 1. พเิ ภกกลา วสรปุ ทา ยกอ นจบการพดู แสดงความคดิ เหน็ โลกนี้คอื ละคร โลกน้ีนดี่ ู ย่ิงดูยอกยอ น เปรียบเหมอื นละคร 2. นติ ยามีความรู ความเขา ใจเก่ียวกับเรือ่ งท่พี ูดนาํ เสนอ ถงึ บทเม่อื ตอนเรา ใจ บทบาทลลี าแตกตางกนั ไป 3. ประสิทธ์ิใชข อมลู ขอ เท็จจรงิ ประกอบการพูด ถึงสูงเพียงใดตา งจบลงไปเหมอื นกนั 4. อทุ ยั พดู โดยสอดแทรกอารมณสว นตน เกิดมาตอ งตาย รางกายผพุ งั 26. บุคคลใดประพฤติตนเหมาะสมเมอ่ื มีจดุ มงุ หมายการพูด ผคู นเขาชัง คิดยิง่ ระวังไหวหวั่น C เพือ่ โนมนา วใจผฟู ง ตา งเกิดกนั มารว มโลกเดยี วกัน 1. วลั ยาเตรยี มขอมลู เพ่อื กลา วพาดพิงฝายตรงขา ม ถอื ผิวชังพรรณ บา งเหยียดหยามกันเหลอื เกนิ 2. วราภรณใชถ อ ยคาํ ในลกั ษณะยว่ั ยเุ พอ่ื สรา งบรรยากาศ โลกนี้คือละคร บทบาทบางตอน 3. วลพี รพูดบิดเบือนขอ เทจ็ จริงบางสว นเพอ่ื ประโยชน ชีวติ ยอกยอ น ยบั เยนิ ชวี ติ บางคนรุงเรืองจาํ เรญิ แสนเพลนิ การพูดของตน เหมือนเดนิ อยูบ นหนทางวิมาน 4. นารรี ตั นพ ดู ดว ยขอ มลู ขอ เทจ็ จรงิ เพอื่ ใหผ ฟู ง ประจกั ษ โลกนนี้ ดี่ ู ยง่ิ ดูเศราใจ ชั่วชีวติ วยั หมนุ เปลยี่ นผนั ไปเหมือนมา น ในความจรงิ ดวยตนเอง เปดฉากเรืองรองผุดผองตระการ 27. พฤตกิ รรมการพดู โตแ ยงของบุคคลใดเหมาะสมมากท่ีสุด ครั้นแลว ไมนาน ปด มานเปน ความเศรา ใจ D 1. นพิ นธกลา ววา สิ่งทคี่ ณุ บังอรเสนอมายงั ไมเปน โลกน้นี ี่ดู ยง่ิ ดเู ศรา ใจ ชัว่ ชีวติ วัย หมนุ เปล่ียนผันไปเหมอื นมาน รูปธรรมเทาท่คี วร เปดฉากเรอื งรองผดุ ผองตระการ 2. พิธานกลาววา ถาจะแกปญหาตามที่คุณบังอรเสนอ ครั้นแลว ไมน าน ปด มานเปนความเศรา ใจ รบั รองวาพงั ไมเ ปนทา เนื้อรองโดย ไพบลู ย บุตรขนั 3. บังอรกลาววา ดิฉนั เหน็ วา ไมมีใครท่จี ะจริงใจ จรงิ จัง 22. ขอ ความใดสอดคลอ งกบั แนวคดิ ของบทเพลงขางตน ที่จะเสนอความคดิ เหน็ C 1. ถึงจะจนจะมี อยา ไปสรา งเวรกรรม 4. นกั รบกลาววา ในประเด็นน้ีผมมคี วามคดิ เหน็ 2. เกิดเปนคน อยา เห็นแกตนแหละดี ทแี่ ตกตางออกไป อยากจะเสนอตอ ท่ปี ระชุม 3. กา ยหนา ผาก หกั ใจหวังไดหลับนอน อา นบทพูดที่กาํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 28. 4. คนจนคนรวย ไมชา ก็มว ยมรณา คนดคี นบา ไมชา “ขาพเจาใครขอกลาวกับผูฟงทุกทานที่มา กม็ รณงั รวมตวั กนั ณ ทแ่ี หง นว้ี า การทาํ นบุ าํ รงุ ประเทศชาติ 23. จากแนวคดิ หลกั ของบทเพลง “โลกนคี้ อื ละคร” สามารถนาํ มิใชเ ปน หนา ทขี่ องผหู นง่ึ ผใู ดโดยเฉพาะ มิใชห นา ที่ F มาประยุกตใชใหเ กิดประโยชนใ นชวี ติ ประจาํ วันไดอยา งไร ของทหาร ตาํ รวจ ครู หรอื ขา ราชการทงั้ หลาย หาก แตเ ปน ภาระความรบั ผดิ ชอบของคนไทยทกุ ทา น ท่ี 1. ปลอยวางและพึงพอใจกบั ชีวิตของตนเอง จะตองขวนขวายกระทําหนาที่ของตนอยางดีท่ีสุด 2. ขวนขวายสิง่ ท่ีดีที่สุดใหแ กช ีวติ ของตนเอง เพอ่ื ธํารงรักษาชาตบิ า นเมอื งใหเ จรญิ มนั่ คง ผาสุก 3. ศกึ ษาพระธรรมเพือ่ ความสขุ สงบทางจติ ใจ รมเย็น สถาวรช่วั ลกู สืบหลาน” 4. แสวงหาความสุขกาย สบายใจในชว งเวลาทย่ี งั มชี ีวติ 24. ขอใดสอดคลอ งกบั “ฟง และดูอยา งมวี ิจารณญาณ” 28. บทพดู ท่ีกาํ หนดใหอา นผพู ูดมีจุดมงุ หมายอยา งไร C 1. ฟง แลวคิด พิจารณา ไตรตรอง D 1. สรา งความผอ นคลายใหแกผ ูรบั สาร 2. ฟง แลวนาํ ไปเลาตอ ไดโ ดยสมบูรณ 3. ฟงแลว สามารถจับใจความสาระสาํ คัญของเร่ืองได 2. เรา ใหผูรับสารเกิดความรูสกึ คลอ ยตาม 4. ฟง แลว สามารถอธบิ ายไดว า เรอื่ งมอี งคป ระกอบใดบา ง 3. ชีแ้ จงสถานการณป จจุบนั ของสังคมไทย 4. อธบิ ายใหเห็นโทษของการแตกความสามคั คี โครงการวัดและประเมินผล (14)

29. พฤตกิ รรมของบุคคลใดเปน ผูขาดมารยาทในการฟง 34. ขอใดใชภ าษาเหมาะสมกบั สัมพนั ธภาพระหวา งบคุ คล D 1. ขณะวิทยากรกําลังอภิปรายในหัวขอ ท่ีเตรียมมา C 1. ถา แมจ ะใหหนูไปเรียนกวดวิชา ตองจายเงนิ ใหหนู วายตุ ้งั ขอ ซกั ถามตลอดเวลา วันน้ีนะ (ลกู พูดกับแม) 2. พริ ุณปรบมอื เมื่อผูดําเนินการอภิปรายกลา วแนะนํา 2. หนเู อาการบา นของเพอื่ นๆ หอ ง ม.6/1 ไปสง ไวบ นโตะ ผรู ว มอภิปราย แลว แตตอนนนั้ ครูไมอ ยูน่ีคะ (นกั เรียนพูดกบั คร)ู 3. คิมหันตต้ังใจฟงวทิ ยากรบรรยายตงั้ แตตนจนจบ 3. ถากลับไปอยูบาน ทํานาแลวลําบาก ก็กลับมาอยูกับ 4. อัคนจี ดบันทกึ ขณะฟง การอภิปราย ฉนั นะ (นายจา งพูดกบั ลูกจา ง) 30. มารยาทการพูดแสดงความคิดเหน็ มคี วามสาํ คัญอยา งไร 4. นา สงสารคณุ ยายจังเลย ตอ งอยูเฝา บา นคนเดียว B 1. การสอื่ สารดว ยวธิ กี ารพดู ตอ งกาํ หนดขอบเขตใหช ดั เจน (หลานพดู กับคณุ ยาย) 2. สงั คมมคี า นยิ มยกยองผพู ดู ทีม่ ีคุณธรรมและจริยธรรม อา นบทรอ ยกรองท่ีกําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 35. 3. ทกุ คนมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพแสดงออกทางความคดิ เห็น 4. การแสดงความคดิ เหน็ อาจเกดิ ประโยชนและโทษ อาองคป ฐมบรมขัต ตยิ รฐั ………………. เกรกิ อานุภาพนฤบดนิ ทร สรุ เดชพิเศษสรรพ 31. ถา จะกราบบงั คมทูลสมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถจะใชคาํ A สรรพนามบุรุษที่ 2 วาอยางไร ฐะปะนีย นาครทรรพ 1. ฝา พระบาท 35. ควรใชค าํ ใดเตมิ ลงในชอ งวา งจึงจะไดค วามและถกู ตอง โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 2. ใตฝ า พระบาท C ตามฉันทลกั ษณ 3. ใตฝ า ละอองพระบาท 4. ใตฝา ละอองธุลีพระบาท 1. ภมู นิ ทร 2. ปฐพนิ ทร 32. สรุ ยี ไดร บั มอบหมายใหแตงฉันทสดดุ ีสมเด็จพระเจา อยูห ัว 3. อมรนิ ทร B เนอ่ื งในมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สุรยี ตอง 4. สยามนิ ทร ใชค าํ ลงทายบทรอยกรองทีแ่ ตง วาอยา งไร จึงจะถกู ตอ ง 36. คาํ ทข่ี ดี เสน ใตใ นขอใดมที ี่มาตรงกับคําที่ขดี เสน ใต เหมาะสม D ในขอ ความท่กี ําหนด “นวนยิ ายเร่ืองนีด้ าํ เนนิ เรื่อง 1. ดว ยเกลา ดวยกระหมอ มขอเดชะ 2. ดว ยเดชะพระบารมีปกเกลาปกกระหมอ ม ไดก ระชับ” 3. พระพุทธเจา ขา ขอรับใสเกลา ใสก ระหมอม 1. อนั ของสงู แมป องตอ งจิต 4. ควรมิควรแลว แตจ ะทรงพระกรุณาโปรดเกลา 2. ศลิ ปกรรมนาํ ใจใหสรา งโศก 3. เบิกทรพั ยวนั ละบาทซื้อมงั สา โปรดกระหมอม 4. เราตองสาํ รวจตรวจดูความเรียบรอ ยกอน 33. คําในขอใดแสดงอทิ ธพิ ลของคํายืมภาษาอังกฤษที่มีตอ 37. คาํ ในขอ ใดสนบั สนนุ คาํ กลา วทว่ี า “เมอื่ คาํ ภาษาตา งประเทศ D ระบบเสยี งในภาษาไทยทัง้ สองคาํ D เขา มาปะปนในภาษาไทย จงึ ทาํ ใหม คี าํ ศพั ทท มี่ คี วามหมาย 1. พลาสติก ครมี เหมือนกันเพ่ิมขึ้น ซ่ึงสะดวกและสามารถเลือกใชคําให 2. บรอกโคลี ดราฟต เหมาะสมกบั ความตองการ” 3. ฝรงั่ เศส ไอศกรีม 1. สตรี นารี อติ ถี กัญญา 4. อิเควเตอร โพรโมชัน 2. เทนนิส กอลฟ ฟตุ บอล ฟุตซอล 3. มารดา มาตรา สามารถ ศาสตรา 4. ครีม ดรมั เมเยอร เอ็นทรานซ แทรกเตอร (15) โครงการวัดและประเมินผล

อานขอความทกี่ าํ หนด แลวตอบคาํ ถามขอ 38. อา นบทเพลงที่กาํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 40. 1) รวมเร่ืองสัน้ จากเหลา นกั เขยี นชัน้ ยอด อยา ง มโนมอบพระผู สถิตอยยู อดสวรรค แดนอรญั แสงทอง, ปราบดา หยนุ , เดอื นวาด พมิ วนา, แขนถวายใหท รงธรรม พระผานเผา เจา ชวี า นิวัต พุทธประสาท 2) ประเด็นของหนังสือเซตน้ี ดวงใจใหข วญั จติ ยอดชีวิตและมารดา หยบิ ปญ หาในสงั คมไทยทย่ี งั คงเกดิ ขนึ้ ซาํ้ ซากมาเลา เกยี รตศิ ักด์ิรักของขา ชาตชิ ายแทแ กต นเอง ใหเ ราเหน็ อยา งชดั เจน 3) นักอานคนไหนอยากเสพ เรือ่ งเขม ขนลองหยิบมาอานกนั ดู 4) รบั รองไดคุณ 40. จากเนอ้ื เพลง “เกียรตศิ กั ดทิ์ หารเสือ” คาํ ศพั ทคูใดมที ม่ี า อาจมองปญหาสงั คมไทยลึกซ้งึ ขึ้น D ตางกัน 1. สวรรค-ธรรม 2. ภรรยา-ศกั ดิ์ 38. สว นใดของขอความทีก่ าํ หนดใหอานปรากฏคําทีย่ มื 3. ถวาย-ขวัญ 4. จติ -สถติ D มาจากภาษาองั กฤษ 1. สวนที่ 1 2. สวนท่ี 2 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 3. สวนที่ 3 4. สว นที่ 4 อา นบทรอยกรองท่กี าํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 39. ขนุ มารสหัสสพหพุ า สวุ ชิ าวชิ ติ ขลัง ขี่ครี เิ มขะละประทัง คชเหีย้ มกระเหิมหาญ 39. ขอใดปรากฏคําครุ-ลหุ ตําแหนงเดียวกับบทรอยกรองที่ B กําหนดให 1. ราชาพระม่ิงขวัญ สุนริ นั ดรประเสรฐิ ศรี ไพรฟาประดามี มนช่ืนสราญใจ 2. ถลนั จวงทลวงจาํ้ บรุ ษุ นาํ อนงคห นุน บุรษุ รุกอนงครุน ประจญรว มประจญั บาน 3. เชิงบทั มพระบัญชรเขบจ็ มขุ เด็จกพ็ ราวพลอย เพดารก็ดารกพะพรอย พศิ เพียงนภาพลาม 4. พราหมณครูรูส ังเกต ตระหนักเหตถุ นัดครนั ราชาวัชชีสรร พจกั สูพนิ าศสม โครงการวัดและประเมินผล (16)

2ตอนท่ี ตอบคําถามใหถ ูกตอง จาํ นวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ ¤Ðá¹¹àµÁç 10 1. ใหนกั เรยี นเขียนขยายความและตคี วามจากขอ ความท่กี ําหนดตอไปน้ี (3 คะแนน) “…ไมม ลี กู มแี ตต ายแลว และมลี กู ทยี่ งั มชี วี ติ อยแู ตเ ปน ลกู ที่โงท อื่ ในลกู สามชนดิ นคี้ วรเลอื กเอาอยา งทห่ี นง่ึ กบั ทสี่ อง ดกี วา เพราะลูกอยางทีห่ นึง่ กับท่สี องใหค วามโทมนสั เดอื ดรอนเพียงครง้ั เดียว แตอยางทส่ี ามตอ งใหโ ทมนัสตลอดกาล” ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ใหนักเรียนเขยี นอธบิ ายเหตผุ ลท่ที าํ ใหค ําในภาษาตา งประเทศเขามาปะปนในภาษาไทย (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ใหนักเรียนใชความสามารถดานภาษาเขียนพรรณนาสถานท่ีทองเที่ยวในความทรงจําหรือความประทับใจของนักเรียน ความยาวไมต่ํากวา 5 บรรทดั (5 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (17) โครงการวัดและประเมินผล

1เฉลยแบบทดสอบ ภาคเร�ยนท่ี ชดุ ที่ 1 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตอนท่ี 1 1. ตอบ ขอ 4. คาํ วา “เปลอ้ื งหน”้ี ตามทรรศนะของผเู ขยี นหมายรวมทง้ั การเลย้ี งรา งกายและนาํ้ ใจของพอ แม ไมท าํ ใหท า น ชา้ํ ใจ เสยี ใจ เชอื่ ฟง คาํ สงั่ สอน ดงั นน้ั บคุ คลทเี่ ปลอ้ื งหนพี้ อ แมไ ดส อดคลอ งกบั ทรรศนะของผเู ขยี นมากทสี่ ดุ คอื “พิมพา” เพราะใหก ารเล้ยี งดูทางรางกาย ไมท อดทงิ้ และเล้ยี งดูทางจติ ใจดว ยการใหความเคารพ เชื่อฟง 2. ตอบ ขอ 3. การเลี้ยงนํา้ ใจพอ แม เชน การเชือ่ ฟงคําแนะนาํ คําสงั่ สอน ออนนอม มีสมั มาคารวะทั้งตอหนา และลับหลงั จะทําใหท า นเกิดความสบายใจ คลายความกงั วล นาํ ความแชมชน่ื เบิกบานใจและความพอใจมาสทู าน 3. ตอบ ขอ 2. จุดมุงหมายของผูเขียน คือ โนมนาวใหผูรับสารเกิดความสํานึกในพระคุณของพอแม หาทางตอบแทน หรอื กตญั ตู อทา นดวยการเล้ียงดูแลทั้งรา งกายและจติ ใจ 4. ตอบ ขอ 4. พระสวุ รรณสามชาดก หนง่ึ ในทศชาตหิ รอื พระเจา สบิ ชาตกิ อ นทพ่ี ระองคจ ะอบุ ตั มิ าเปน พระสมั มาสมั พทุ ธเจา พระองคบ าํ เพญ็ บารมีเฉพาะขอ ใดขอ หน่ึง ดังน้ี 1. พระเตมยี  ทรงบําเพญ็ เนกขมั มบารมี คอื การถอื บวช 2. พระมหาชนก ทรงบําเพ็ญวิริยบารมี คือ ความเพียร 3. พระสุวรรณสาม ทรงบําเพ็ญเมตตาบารมี คอื ความรกั ความปรารถนาใหผอู ่นื เปนสขุ 4. พระเนมริ าช ทรงบําเพญ็ อธิษฐานบารมี คอื ความตง้ั ใจอัน แนว แน 5. พระมโหสถ ทรงบําเพ็ญปญญาบารมี คือ รอบรู 6. พระภูริทัต ทรงบําเพญ็ ศลี บารมี คอื สํารวม กาย วาจา ใจ 7. พระจันทกมุ าร ทรงบาํ เพญ็ ขันติบารมี คือ ความอดทน 9. พระวิทรู บัณฑิต ทรงบาํ เพญ็ สจั จบารมี คอื การรกั ษาความสตั ย และความซอ่ื ตรง 10. พระเวสสนั ดร ทรงบาํ เพ็ญทานบารมี 5. ตอบ ขอ 1. เปนการขยายความใหทราบถึงความเปนรัตนชาติหรือแกวที่มีคา มีความแข็งแกรงมากท่ีสุด ผูใดมีไว ประดบั ยอมมีอํานาจ วาสนา และบารมี สว นขอ อนื่ ๆ เปนการกลา วถึงความสดใสของอัญมณชี นิดนนั้ ๆ 6. ตอบ ขอ 1. “มีแตทุกขใจเจ็บดังเหน็บหนาม” เพราะมีการเปรียบเทียบแบบอุปมาโวหารปรากฏคําแสดงความหมาย เชน เดียวกับคําวา เสมอื น ดจุ ประดุจ ด่งั กล ปูน เพียง ราว ในขอความนค้ี ือคาํ วา “ดงั ” 7. ตอบ ขอ 4. “แตเมอ่ื มาสมัครเปนตวั แทนจาํ หนา ยเคร่อื งสําอาง ทําใหมรี ายไดเ พมิ่ มากข้นึ จนสงลกู เรยี นจบปรญิ ญาตร”ี ขยายความไดความสมบูรณ สว นขอ 1., 2. และ 3. เปน ขอความทบี่ อกใหท ราบ 8. ตอบ ขอ 3. “ตัดไฟตนลม” หมายถึง ตัดตนเหตุ เพื่อไมใหเหตุการณลุกลาม สวนขอ 1. ตัดรากถอนโคน หมายถึง ตดั ไมใหเหลือแมแตราก ขอ 2. ตัดญาติขาดมิตร หมายถงึ ตัดขาดจากกัน ขอ 4. ตัดพอ ตดั ลกู สาํ นวนน้ี ใชก บั ลูกท่ีไมเ ชอ่ื ฟงพอ แม 9. ตอบ ขอ 3. วรรณคดีเรอื่ งสามกก ปรากฏคุณคาดา นวรรณศิลปและเนื้อหาสะทอนใหเห็นพฤติกรรม ความคิดของบคุ คล การอานวรรณคดีเรื่องน้ีจึงเทากับเรียนรูวิธีการอานคน รวมถึงวิธีการปฏิบัติตนตอผูอื่น ดังน้ัน “ศุวัฒน” จงึ เปนผูทีแ่ สวงหาความรูแ ละความเพลดิ เพลนิ จากการอา นไดคมุ คามากท่สี ุด 10. ตอบ ขอ 4. พระองคทรงสอนใหเตรียมตัวที่จะดํารงชีวิตในอนาคต เพื่อประโยชนตอครอบครัว ตนเอง และสังคม การเรียนการศกึ ษาจงึ มิใชการเรียนเพ่ือเอาคะแนน แตเปนการเรยี นเพอ่ื ทจี่ ะเตรยี มตวั ใชชีวิต 11. ตอบ ขอ 2. โดยเนอ้ื ความบง บอกวา พระพนั วษาทรงประเมนิ การกระทาํ ของขนุ ชา งวา เปน การกระทาํ ทผ่ี ดิ ไปจากประเพณี ซงึ่ ตอ งมีบทลงโทษตามสมควร สว นขอ 1., 3. และ 4. เนือ้ ความเปนการบรรยายเพื่อดาํ เนนิ เรอ่ื ง โครงการวัดและประเมินผล (18)

12. ตอบ ขอ 1. จมนื่ ไวยตดั สนิ ใจแกป ญ หาความขดั แยง ของครอบครวั ดว ยตนเอง ไมน าํ ความขนึ้ กราบบงั คมทลู พระพนั วษา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ พระองคจงึ ประเมินพฤติกรรมนี้ของจมืน่ ไวยวา “ทําการหมิน่ พระองค” 13. ตอบ ขอ 1. ตัวเลือกขอ 2., 3. และ 4. เน้ือความกลาวถึงเหตุการณชวงเวลาที่วันทองและขุนแผนยังอยูรวมกัน แตเ น้ือความในขอ 1. กลาวถงึ เหตกุ ารณต ามทอ งเรอ่ื งเมื่อนางพิมใชช วี ติ รว มกบั ขุนชา งในฐานะภรรยา 14. ตอบ ขอ 2. การอา นวรรณคดไี ทย ผอู า นจะสามารถเขา ใจเรอ่ื งราวของตวั ละครภายในเรอ่ื งไดจ ากการบรรยายของผเู ขยี น รวมถงึ การคดิ คํานึงของตัวละคร ซึง่ จะทาํ ใหผอู า นทราบตนสายปลายเหตุและเชอ่ื มโยงเรื่องราวได 15. ตอบ ขอ 4. “ชัชวาลหยิบหนังสือมาพับหนาท่ีตนตองการแลวแอบฉีกพับใสกระเปาเสื้อของตน” การขูด ลบ ขีด ฆา ทําลายหนงั สือของหอ งสมุดซง่ึ เปน สาธารณสมบัตทิ ต่ี อ งใชรว มกนั เปนพฤติกรรมที่ไมเ หมาะสม 16. ตอบ ขอ 1. “วิธขี จดั ความอิจฉา” เหมาะสมทจ่ี ะใชเ ปนชอื่ ของผังมโนภาพ เพราะการขจัดความรูสกึ อจิ ฉาใหห มดสนิ้ ไป จากจิตใจตองเรมิ่ จากพอใจ ความเช่อื มัน่ ในตนเอง ยดึ มนั่ ในความถูกตอง และต้งั ใจทําหนาท่ีของตนอยา งดี ท่สี ดุ 17. ตอบ ขอ 4. ความอิจฉาเปนความรูสึกท่ีมีผลทําใหเจ็บปวดทรมาน ไมมีความสุข มักมองเห็นผูอ่ืนมีสิ่งซ่ึงดีกวาตน ไมพอใจในสิ่งทตี่ นเองมอี ยู ในทสี่ ุดความรสู ึกเชนนั้นจะยอ นกลบั มาทาํ ลายตน ทาํ ลายความสําเร็จในชีวติ 18. ตอบ ขอ 4. มารยาทการอาน หรอื การใชห องสมดุ ซึ่งเปนสาธารณสมบตั ิรว มกบั ผอู น่ื บุคคลไมควรแสดงพฤติกรรมท่จี ะ สรา งความเดือดรอ นราํ คาญ ลดิ รอนสิทธเิ สรีภาพของผูอืน่ รวมถึงไมท ําลายสาธารณสมบัติท่ตี อ งใชร ว มกัน 19. ตอบ ขอ 2. การเขียนอธิบาย หมายถึง การเขียนท่ีทําใหบุคคลอ่ืนเขาใจ ประจักษในความจริง ความสัมพันธ หรือ ปรากฏการณตางๆ ท้ังส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้น และเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ดังนั้น การสื่อความของ ขอ ความที่กาํ หนดใหอ า นจงึ สอดคลองกับคํานิยามของการเขียนอธิบาย 20. ตอบ ขอ 1. ขอความท่ีกําหนดใหอานอธิบายเกี่ยวกับวิธีการเขียนหนังสือหรือจดหมายราชการไปยังบุคคลตางๆ ให เหมาะสมกับสถานภาพของบคุ คล 21. ตอบ ขอ 4. “เรือทองเท่ียวหลายลําท่ีนํานักดําน้ํามาชมปะการังตางจอดคอยลูกคาของตนเพื่อพากลับยังชายฝง” ไมใช การเขียนแบบพรรณนา เพราะไมปรากฏถอยคําท่ีสรางใหผูอานเกิดความซาบซึ้ง ประทับใจ คลอยตาม ไปกับผูเขียน แตเปนการใชถอยคําเพื่อบรรยายบอกเลาเหตุการณไปตามขอเท็จจริง ซ่ึงเปนลักษณะของ บรรยายโวหาร 22. ตอบ ขอ 3. เนื้อความของขอความที่กําหนดใหอานมีลักษณะในเชิงอธิบาย ช้ีแจงใหผูอานเขาใจ เห็นประโยชนหรือ โทษของเรื่องที่กลาวถึง ชักจูงใหคลอยตาม เห็นดวย และสั่งสอน จึงสอดคลองกับกลวิธีการเขียนแบบ เทศนาโวหาร 23. ตอบ ขอ 4. การประชุมสามัญเปนการประชุมตามปกติซึ่งกระทําเปนประจําตามขอบังคับของแตละองคกร สวนการ ประชุมวิสามญั จัดขน้ึ เปน พิเศษ ในกรณมี ีเรอ่ื งสําคัญท่ีตอ งประชมุ พิจารณาขอความเห็นจากคณะกรรมการ นอกเหนอื จากการประชมุ สามัญ โดยแตละเรื่องที่ประชมุ เรียกวา ระเบยี บวาระ 24. ตอบ ขอ 3. ระเบียบวาระการประชมุ จะเร่มิ จาก “วาระท่ี 1 เรื่องท่ปี ระธานแจง ใหทป่ี ระชมุ ทราบ” “วาระท่ี 2 เรอ่ื งรบั รอง รายงานการประชุมคร้งั ทแ่ี ลว ” “วาระที่ 3 เรือ่ งเสนอเพื่อพจิ ารณา” และ “วาระท่ี 4 เรอ่ื งอ่นื ๆ” 25. ตอบ ขอ 1. สาระสําคัญของขอความท่ีกําหนดใหอานปรากฏบริเวณชวงตนของขอความ คือ จะเลือกใครก็ควรเลือก แบบระบบยกทง้ั พรรค สว นขอความอ่นื ๆ เปน พลความทขี่ ยายใจความสําคญั (19) โครงการวัดและประเมินผล

26. ตอบ ขอ 3. “เกดิ มาตั้งอยูดับไป” เปน อนจิ จงั หรือความไมเทยี่ งเปล่ยี นแปลงอยูเสมอ จากขอความ “ถงึ สูงเพียงใดตา ง จบลงไปเหมอื นกนั ” แสดงใหเห็นไมวาจะรํ่ารวยมียศสูงเพียงใดก็ตองตายเหมอื นกันทุกคน 27. ตอบ ขอ 3. ขอความท่ีกําหนดใหอานปรากฏใจความสําคัญในชวงทายท่ีวา “…กักเก็บนํ้าไดนอยลงเร่ือยๆ เม่ือถึงจุดนี้ เขือ่ นกจ็ ะหมดความหมาย” สว นขอความอื่นเปนพลความช้ีใหเ หน็ สาเหตทุ ที่ าํ ใหเขื่อนเกบ็ น้ําไดนอยลง ถา ไมรีบแกไขทีเ่ หตนุ ้ี ในอนาคตเขื่อนกจ็ ะหมดความหมาย 28. ตอบ ขอ 4. ขอความน้ีสรุปไดวา “ขนมเด็กสวนใหญไมมีคุณคาอาหารตอรางกาย” ขอ 2. และขอ 3. เปนการแสดง ความคดิ เหน็ ท่ีไมม หี ลกั ฐานยนื ยนั ชดั เจน สว นขอ 1. เปน การสรุปความท่ีไมถูกตอง 29. ตอบ ขอ 4. หมึกพิมพมีสารประกอบแคดเมยี มซ่ึงเปนพิษตอรา งกาย เปน สาระสําคญั ท่ีครอบคลมุ ขอ ความทกี่ ําหนดให อา นมากท่สี ุด สว นขอ 1., 2. และ 3. เปนสาระสาํ คัญของสารประกอบแคดเมียม โดยไมไ ดช ี้ใหเหน็ นัยสําคญั วา สารประกอบน้ีเปน อนั ตรายตอรา งกายดว ย 30. ตอบ ขอ 1. ประเด็นสําคัญของขอความน้ี คือ การนําตัวผูถูกไฟฟาดูดออกจากไฟฟาดวยวิธีการตางๆ เร่ิมตั้งแตการ ปดสวติ ชเพอ่ื ตดั ไฟ อุปกรณที่ใช และวธิ กี ารชวยเหลอื เพื่อนาํ ตัวออกมา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 31. ตอบ ขอ 1. ผูพูดมีจุดมุงหมายเพ่ือใหผูรับสารเกิดความตระหนักในการเลือกรับขอมูลขาวสาร โดยแสดงขอเท็จจริง ใหผูฟงประจักษวา “ขาวสารความรูหลากหลายไดทะลักเขามาอยางรวดเร็วและฉาบฉวย มีลักษณะใน ทางธุรกิจการคาครอบงําทางวัฒนธรรม” และแสดงผลของการขาดความตระหนักในการเลือกรับขอมูล ขา วสารวา “อาจตกเปนเหยอ่ื ของกลไกทางการตลาดไดงายดาย” 32. ตอบ ขอ 1. “พอแมอ ยากใหผมเปนหมอ แตผมอยากเปนครูบา นนอก” คาํ ท่ขี ดี เสนใตเปน คาํ ทอี่ ยูในระดับเดยี วกัน คือ ภาษาพูดระหวางคนใกลช ิดในครอบครัวหรือภาษาระดับสนทนา ถอ ยคาํ ในประโยคจงึ มรี ะดับเสมอกนั สวน ขอ 2. แม, กระผม, บดิ า, อยาก, แพทย ถอ ยคาํ ในประโยคมีระดับไมเสมอกัน ขอ 3. ดฉิ นั , เกโรงเรียน, มารดา, ไมสบาย, เม่อื วานนี้ ถอยคําในประโยคมรี ะดับไมเ สมอกนั ขอ 4. มีหวงั ขายดีแนๆ , หมดเกลย้ี ง, วาทะ ถอ ยคําในประโยคมีระดับไมเ สมอกนั 33. ตอบ ขอ 2. ใชภาษาระดบั ทางการ สัมพันธภาพระหวา งผสู ง สารกบั ผูร บั สารมตี อกันอยา งเปนทางการ 34. ตอบ ขอ 2. อิทธิพลของภาษาตางประเทศท่ีมีตอระบบเสียงในภาษาไทย คือ การรับบางเสียงซ่ึงไมมีใชในภาษาไทย แตมีในภาษาทย่ี ืมเขามาใช เชน พยญั ชนะควบกล้าํ บางตัว ไดแก /ทร/ /บร/ /บล/ /ฟร/ /ฟล/ และ /ดร/ 35. ตอบ ขอ 3. บทรอยกรองทก่ี าํ หนดใหม ลี กั ษณะฉันทลกั ษณตรงกบั วสันตดลิ กฉันท พจิ ารณาดงั น้ี อา หัตถก ็หัตถสุขุมชวน มนะหวนฤดดี าล ั ั ุั ุุุ ั ุ ุ ั ุั ั ขอ 1. ผิอยูเ หยา สอิ รชร ฤทัยออ นระทวยองค (ภชุ งคประยาตฉันท) ุ ั ั ุั ั ุััุั ั ขอ 2. แลหลงั ละลามโล- หิตโอเลอะหล่ังไป (อนิ ทรวิเชยี รฉันท) ัั ุัั ุุั ุ ั ั ขอ 3. รอบดานตระหงานจตุรมขุ พศิ สุกอรามใส (วสันตดิลกฉนั ท) ั ั ุ ั ุ ุ ุั ุ ุั ุ ั ั ขอ 4. ครนั้ ทวอิ งค ทรงสติฟน (มาณวกฉันท) ั ุุ ั ั ุุั โครงการวัดและประเมินผล (20)

36. ตอบ ขอ 1. บบาทรรมอ ียธกรมอางกทล่ีกนาํ ห( นัดใุ หัป รุ าักฏั )คเาํ มคอื่รพ-ุ ลจิ หาุรดณังานต้ี ัวเลอื กในแตล ะขอ พบวา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ขอ 1. คนจะดีเพราะนํา้ ใจ ัุัุ ัั ขอ 2. ฤๅรอจะตอรอน ััุัั ขอ 3. ฟา สนี ้ําน้าํ สฟี า ัััััั ขอ 4. กายจิตวจไี ตร ััุัั 37. ตอบ ขอ 4. ระดับของภาษาอาจแบงไดหลายระดับ โดยอาจแบงเปนภาษาระดับทางการ ก่ึงทางการ และภาษาปาก หรืออาจแบงเปนภาษาระดับพิธีการ ทางการ ก่ึงทางการ สนทนา และภาษาปาก ซึ่งภาษาแตละระดับ จะปรากฏถอยคํา ลักษณะทางไวยากรณที่บงบอกความสุภาพ สัมพันธภาพระหวางผูสื่อสารตางกัน ขอความในขอ 1., 2. และ 3. ปรากฏการใชถ อ ยคําในระดับที่ไมเ ปนทางการ ไดแก ซบเซา, คึกคัก, รอทา (ตามลําดบั ) ดงั นั้น ขอ ความในขอ 4. จงึ ใชภ าษาระดบั ทางการ 38. ตอบ ขอ 4. ระเบียบวิธีเขียนในท่ีนี้ หมายถึง การเขียนถายทอดเสียงคําท่ียืมมาจากภาษาเดิมมาเปนภาษาไทย โดย ใหมีเสียงใกลเคียงกับคําเดิมมากที่สุด คําท่ีปรากฏในตัวเลือกขอ 1., 2. และ 3. แสดงอิทธิพลของภาษา ตางประเทศท่ีมีตอภาษาไทยชัดเจนในเร่ืองระบบเสียง ดังน้ัน คําที่ปรากฏในตัวเลือกขอ 4. จึงแสดง อิทธิพลของภาษาตางประเทศท่ีมีตอภาษาไทยในประเด็นวิธีเขียน คือ การใชเครื่องหมายทัณฑฆาต หรือการันตกํากับบนพยัญชนะท่ีไมตองออกเสียง หรือคําที่มีตัวสะกดเปนพยัญชนะหลายตัว โดยใหใสบน พยญั ชนะที่ไมต องออกเสียงตวั สดุ ทา ย 39. ตอบ ขอ 4. คาํ ยืมภาษาตางประเทศทปี่ รากฏ ไดแ ก คาํ ท่ียมื มาจากภาษาบาลี คาํ ทย่ี ืมมาจากภาษาสนั สกฤต และคําท่ี ยมื มาจากภาษาเขมร ไดแ ก ภาษา วัฒนธรรม ศลิ ปกรรม สถาวร มารยาท นาฏย สนุ ทร และขจร 40. ตอบ ขอ 2. บทรอยกรองที่กําหนดมีลักษณะฉันทลักษณตรงกับสัททุลวิกกีฬตฉันท 19 ซึ่งมีลีลาโออา สงางาม ทว งทาํ นองประดจุ สงิ โตคะนอง มกั ใชก บั เนอื้ ความในบทประณามพจน บทนมสั การสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ บทอาศริ วาท บทสรรเสรญิ ยอพระเกยี รติ หรอื ตองการใหเ นอ้ื ความทีป่ ระพนั ธม คี วามขลังและศกั ดิส์ ิทธ์ิ (21) โครงการวัดและประเมินผล

ตอนที่ 2 คํายืมภาษาตางประเทศทป่ี รากฏในขอ ความ เชน ศพ (คําท่ียมื มาจากภาษาสันสกฤต) ช็อกโกแลต (คําทยี่ มื มาจากภาษาองั กฤษ) ไพร (คําทยี่ ืมมาจากภาษาเขมร) บัญญตั ิ (คําทย่ี มื มาจากภาษาบาล)ี โฆษณา (คําท่ี 1. ตอบ ยมื มาจากภาษาสนั สกฤต) บรรดา (คาํ ทย่ี มื มาจากภาษาเขมร) พริตตี้ (คาํ ทีย่ ืมมาจากภาษาองั กฤษ) เซ็กซ่ี (คําท่ยี มื มาจากภาษาอังกฤษ) แดนซ (คาํ ทยี่ ืมมาจากภาษาองั กฤษ) แบรนด (คาํ ทยี่ มื มาจากภาษาองั กฤษ) 2. ตอบ นักเรียนตองใชความสามารถเชงิ วิเคราะห เพื่อพิจารณาวาภาษาท่ีใชใ นขอ ความท่กี ําหนดใหอานมลี ักษณะ 3. ตอบ อยา งไร โดยคําตอบของนกั เรียนจะตองสอ่ื สารเกีย่ วกบั ส่ิงตอไปนี้ 1. ระดบั ภาษาท่ีใชในการสอื่ ความ (ภาษาระดับทางการ ก่งึ ทางการ ไมเปน ทางการ) โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 2. ลักษณะของถอ ยคําที่ใช (การใชคาํ ยมื ภาษาตางประเทศในรูปแบบคําทบั ศัพท) 3. ความเครง ครดั ในไวยากรณ ขยายความไดว า “การมลี กู ท่ีไมเฉลียวฉลาด มีความประพฤติไมดีจะไมเ กดิ ประโยชนตอพอ แม ซ่ึงการมีไว กจ็ ะสรา งความเดือดรอนรําคาญใจ เปรยี บไดกบั การมดี วงตาแตพิการ ไมสามารถมองเหน็ ส่ิงใดได การมไี ว ก็จะสรางความเศราเสียใจ และความรําคาญ” ขอความที่กําหนดใหอานสามารถตีความไดวา “มีลูกไมดี ไมมีเลยจะเปน การดกี วา หรือการมีสง่ิ ของท่ีไมเกดิ ประโยชน กจ็ ะเปน การเปลาเปลอื งท้ังเวลาและทรพั ยสนิ หากสิง่ ของนัน้ ตองลงทนุ ลงแรงหามา” โครงการวัดและประเมินผล (22)

เฉลยแบบทดสอบ 1ภาคเร�ยนท่ี ชดุ ที่ 2 ตอนที่ 1 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 1. ตอบ ขอ 3. บทรอ ยกรองประเภทกลอนสุภาพทมี่ ีจํานวนคําภายในวรรค 8 คํา จะแบงจงั หวะการอานเปน 3/2/3, 2/3/3 หรือ 3/3/2 ทัง้ นข้ี น้ึ อยกู ับความหมายของคาํ เปน หลัก และตองไมเ ปน การอานทีฉ่ กี แยกคาํ ออกจากกัน 2. ตอบ ขอ 1. การพูดส่ือสารในชีวิตประจําวันของมนุษย หรือเม่ือบุคคลหน่ึงสื่อสารถึงอีกบุคคล ผูรับสารยอมแปลความ ตคี วาม สิง่ ท่ีไดย นิ ไดฟ ง ไปตามความรู ความเขา ใจ ประสบการณ รวมถงึ อารมณค วามรสู ึกของตน สุดทาย อาจทาํ ใหความหมายท่ีแทจริงคลาดเคลือ่ น หรอื เปล่ยี นแปลงไปจากเจตนาเดิมของผูส งสาร 3. ตอบ ขอ 4. มารยาท คือ กรอบกําหนดพฤติกรรมของบุคคลเพื่อไมใหเกิดการลวงละเมิดสิทธิ เสรีภาพ หรือกอความ เดอื ดรอ นราํ คาญใจใหแ กผ อู น่ื การกระทาํ ของอนชุ ติ จงึ สมควรไดร บั การยกยอ งวา เปน ผมู มี ารยาทในการอา น 4. ตอบ ขอ 1. โดยสามารถเรยี งลาํ ดบั โครงเรอ่ื งของหวั ขอ “เพลงไทยลกู ทงุ ” จากแผนผงั ความคดิ ทก่ี าํ หนดได ไดแ ก ประวตั ิ ความเปน มา, ลกั ษณะของเพลงไทยลูกทงุ , บทบาทของเพลงไทยลูกทงุ , การอนุรักษเ พลงไทยลูกทุง 5. ตอบ ขอ 2. สาระสําคัญของขอความที่กําหนดใหอาน คือ สาเหตุที่มนุษยตองคบมิตรเพราะตางตองพึ่งพาอาศัยกัน ดงั นั้น ขอความที่วา “จนหรือมไี มเปน ที่สําคัญ แมร ักกนั พง่ึ พาอยาไปตดั ไมตรี” จงึ สอดคลองกบั ขอ ความ ที่กําหนดใหอา นมากท่สี ุด 6. ตอบ ขอ 2. จากขอความท่ีกําหนดใหอานสรุปความไดวา “โลกของเรามีพลังงานความรอนอยูใตพิภพที่หลงเหลือมา ตั้งแตยุคบรรพกาลและยังรวมถึงธาตุกัมมันตรังสีที่เม่ือสลายตัวจะใหพลังงานออกมาในรูปความรอน” ทั้งความรอนที่สะสมอยแู ละการสลายตวั ของธาตกุ ัมมนั ตรงั สียอ มคาดการณไดว า โลกจะยงั คงรอนตอไป 7. ตอบ ขอ 2. นักวิทยาศาสตรทราบวาโลกมีพลังงานความรอนโดยการขุดหลุมลงไปวัดอุณหภูมิ โดยขณะน้ีโลกยังเย็น ตัวลงไมสนิท และนักวทิ ยาศาสตรก็ไมไ ดม ีความพยายามทีจ่ ะนาํ พลังงานความรอ นเหลาน้ีไปใชประโยชน 8. ตอบ ขอ 1. สาระสําคัญของพระราชดํารัสท่ีกําหนดใหอาน คือ “ความรู ความสามารถ และความดีทั้งหลาย เราตอง สะสมและเพิ่มพนู ใหมากข้ึน” ดงั น้ัน บุคคลท่ีมีแนวทางการนําขอ คิดที่ไดรับมาใชไ ดเ หมาะสม คือ พัชรนนั ท เพราะการเปดโอกาสใหตนเองไดเรียนรูประสบการณใหมๆ ยอมเปนเสมือนการเพ่ิมพูน สะสมความรูให แกตนเอง สว นการทํางานหามรงุ หามค่าํ อาจทําใหตนเองตองเจ็บปวย การทํางานควรอยูบนพ้นื ฐานของ ความพอดี บรหิ ารระหวา งการทาํ งานกบั ชวี ติ สว นตวั ดา นอนื่ การนาํ เงนิ ทเี่ กบ็ สะสมไวท ง้ั หมดไปซอื้ สงิ่ ของที่ ตองการ โดยไมใชสิง่ จาํ เปน นัน้ ไมใชแ นวทางที่เหมาะสม รวมทั้งการทาํ บญุ เฉพาะวันพระ เพราะการทาํ บญุ ทําความดี ควรกระทําทุกวนั 9. ตอบ ขอ 4. สาํ นวน “เห็นเขาขน้ึ คานหาม เอามอื ประสานกน ” หมายถงึ ทําเลียนแบบคนใหญ คนโต หรือคนม่ังมี ทงั้ ท่ี ตนเองไมมีกาํ ลงั ทรัพยห รือความสามารถมากพอท่จี ะกระทําหรอื มีสิ่งนน้ั ได 10. ตอบ ขอ 1. บทรอ ยกรองขอ 2. ตคี วามไดว า “ดอกฟา เปนดอกไมทีล่ ้ําคา เปน สมบัตขิ องเทวดา เหมาะสมกับชาวฟา ท่ี เต็มใจใหด ินชม” ขอ 3. ตีความไดว า “ดอกฟา ท่งี ดงามลา้ํ เลิศนน้ั ควรเปนสมบัติของเทวดาซึง่ เปน ชาวฟา ดว ยกัน” ขอ 4. ตคี วามไดวา “ดอกฟา คอื หญิงสาวสวยท่รี ่ํารวย มเี กยี รติ มคี วามรู ชาวดินไมส มควรสอย ลงมาชมเลน เพราะเปนการหยามเกียรติ” ขอ 1. ตีความไดวา “ดอกฟาควรมีเกียรติคูประดับฟา อยูสูง เบื้องบน ไมม โี อกาสจะหลนลงมาใหช าวดนิ ไดชนื่ ชม” ดังน้ันจงึ สอดคลองกบั บทรอยกรองทีก่ าํ หนด (23) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 11. ตอบ ขอ 4. การประชมุ ของหนว ยงานตอ งยตุ ิลงดว ยเหตุท่ีวา “ไมค รบองคประชุม” องคประชุม คอื จํานวนผูเ ขาประชมุ ตามขอ บงั คบั วา ตอ งมอี ยา งนอ ยกค่ี น จงึ จะดาํ เนนิ การประชมุ และลงมตไิ ด ถา ไมม ขี อ บงั คบั กาํ หนดเปน พเิ ศษ มกั จะถอื กนั วา มผี เู ขา รว มประชมุ ไมต าํ่ กวา กงึ่ หนงึ่ ของจาํ นวนสมาชกิ ทงั้ หมดจงึ จะครบองคป ระชมุ แตห นว ย งานนี้กาํ หนดไวว าจะดําเนินการประชุมไดเมื่อมกี รรมการบริษัทไมน อยกวา 9 คน 12. ตอบ ขอ 4. ขอความท่ีกําหนดใชพรรณนาโวหารเพื่อเรียบเรียง ลักษณะเดนของพรรณนาโวหาร คือ การเขียนที่ สอดแทรกอารมณ ความรูส ึกของผูเ ขยี นเพื่อใหผ อู านเกิดความซาบซงึ้ ประทับใจ เกิดจินตภาพคลอ ยตาม สวนขอความในขอ 1., 2. และ 3. ใชบรรยายโวหารเพ่ือเรียบเรียง ลักษณะเดนของบรรยายโวหาร คือ การใชถ อ ยคาํ แบบตรงไปตรงมา เพอื่ บอกเลา สง่ิ ตา งๆ ตามทเ่ี ปน ไป หรอื เพอ่ื ใหท ราบวา ใครทาํ อะไร กบั ใคร ท่ีไหน อยา งไร เมอ่ื ไร และทาํ ไม 13. ตอบ ขอ 4. โครงเรื่องของงานบันเทิงคดีประเภทเร่ืองสั้นแตกตางจากของโครงเร่ืองของงานบันเทิงคดีประเภทนิยาย เพราะเรอื่ งส้ันจะมีเพยี งโครงเร่ืองเดียว ในขณะท่นี ิยายจะมโี ครงเร่ือง หรือชดุ เหตุการณหลายชดุ ซอ นกันอยู ภายในเร่ือง โครงเรอื่ งของงานบนั เทงิ คดีประเภทเรือ่ งส้ัน นอกจากมเี พยี งโครงเรอ่ื งเดยี วแลวยังไมมีความ ซับซอน เพราะมีขอ จํากัดเกีย่ วกับความยาว ทง้ั น้ีโครงเรือ่ งที่ดีจะตอ งประกอบดวยขอ ขดั แยง อุปสรรค และ การตอสูของตัวละคร 14. ตอบ ขอ 2. การเขยี นพรรณนาโวหารจะสอดแทรกอารมณค วามรสู กึ ของผเู ขยี น เจตนาเพอ่ื ใหผ อู า นเกดิ จนิ ตภาพทช่ี ดั เจน เกี่ยวกบั สิ่งที่ผเู ขียนกลาวถงึ สว นการเขียนบรรยายโวหารจะใชภาษาส่อื สารใหเ ขา ใจงาย 15. ตอบ ขอ 1. การเขียนรายงานการประชมุ ท่ีดี ผูบันทกึ ตอ งคํานึงถึงความถูกตอง คือ เขยี นสรุปเก่ียวกับเร่อื งที่เปนวาระ การประชมุ เพอ่ื ใหท ราบวา เปนเรอ่ื งเกยี่ วกับอะไร ท่ปี ระชมุ พจิ ารณาอยางไร ความเทย่ี งตรง ผูบ นั ทกึ จะตอง บนั ทกึ ความคดิ เหน็ ของผเู ขา รว มประชมุ ตามทเ่ี ปน จรงิ ปราศจากอคติ เพอื่ ใหร ายงานการประชมุ นนั้ ถกู ตอ ง ตรงกบั ความเปน จรงิ และความชดั เจน เพอื่ ใหร ายงานการประชมุ นนั้ ใชเ ปน หลกั ฐานอา งองิ ยนื ยนั ตรวจสอบ ติดตามงาน หรอื ประเมินผลการปฏิบัตงิ านได 16. ตอบ ขอ 2. ภาษาท่ีเหมาะสมสําหรบั การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ ควรเปนภาษาระดบั ทางการ ส่ือความชดั เจน ตรงไป ตรงมา ขอ 1. อุบตั ขิ ึน้ , ผลพวง, นํ้ามือ ขอ 3. ไมม ีใครคาดถึง ขอ 4. ผลพวง, ลิดรอน เปน ถอยคาํ ภาษา ในระดับไมเ ปนทางการ ซึ่งไมเ หมาะสมสาํ หรบั การเขยี นรายงานเชิงวิชาการ 17. ตอบ ขอ 1. แนวคดิ หลักของขอความที่กําหนดใหอาน คอื ปญหาส่งิ แวดลอมท่นี ับวนั จะขยายตัวข้ึนเร่ือยๆ นัน้ เกิดขึ้น จากความมักงาย เห็นแกตัวของมนุษย เพราะผูเขียนชี้ใหเห็นภาพของแมนํ้าที่ใสสะอาด แตในอนาคต อาจไมเ ปน เชน น้ี เพราะความมกั งายของผูค น 18. ตอบ ขอ 2. กลวิธีการเลาเร่ืองของขอความท่ีกําหนดใหอานที่โดดเดนมากท่ีสุด คือ ชุดเหตุการณอันเปนเหตุเปนผล ซง่ึ กนั และกนั จากผืนนาํ้ ที่ใสสะอาด เมอื่ ชุมชนขยายตวั ประชากรเพ่มิ มากขน้ึ ประชากรทีม่ กั งาย ไมเ หน็ ความสาํ คัญของแมนํา้ ทเ่ี ปรียบเสมอื นเสน เลือดทีห่ ลอเลีย้ งชีวิต ไดทง้ิ ขยะลงแมน ํ้าลําคลอง และอีกไมนาน เสนเลอื ดสายนีก้ อ็ าจหยดุ หลอเลี้ยงชวี ติ 19. ตอบ ขอ 4. ความขดั แยง ของตวั ละคร เปน สงิ่ ทผี่ เู ขยี นสรา งขน้ึ เพอื่ ใหเ กดิ กบั ตวั ละคร โดยอาจเปน ความขดั แยง ภายนอก ซ่ึงเกดิ ขนึ้ ระหวางตวั ละครดว ยกนั เอง ตัวละครกับธรรมชาติ ตวั ละครกับความอยุติธรรม และความขดั แยง ซ่ึงเกิดข้ึนภายในจิตใจของตัวละครเอง ความขัดแยงท้ังภายในและภายนอกของตัวละครจะเปนตัวเราให ตัวละครแสดงพฤติกรรมตางๆ เพื่อแกไขขอขัดแยงน้ัน พฤติกรรมที่ตัวละครแสดงออกจะสงผลใหเรื่อง ดําเนินไป หรือมีความคืบหนา ขอขัดแยงจึงเปนเสมือนสิ่งท่ีทําใหผูอานเช่ือ เขาใจตัวละคร ทําใหเรื่องมี ความนา เชอ่ื ถอื และเปนเหตผุ ลรองรบั พฤติกรรมของตวั ละคร โครงการวัดและประเมินผล (24)

20. ตอบ ขอ 3. เปนลกั ษณะการเขยี นสือ่ สารในรูปแบบบทความ เพราะปรากฏขอ คดิ ขอ วเิ คราะหของผเู ขยี นแทรกอยดู วย โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ สวนขอ 1., 2. และ 4. เปน รปู แบบการเขยี นทีพ่ บในงานบันเทงิ คดีประเภทเร่อื งส้นั 21. ตอบ ขอ 3. “ความสขุ ของมนษุ ยอ ยทู คี่ วามพอใจ” กลา วคอื ถา พอใจในสง่ิ ทต่ี นมี ตนเปน หรอื ตนหามาได บา นหลงั นอ ยๆ กส็ ามารถกลายเปน วิมานข้นึ มาไดดงั บทเพลง 22. ตอบ ขอ 4. แนวคิดหลักของบทเพลง “โลกน้ีคือละคร” ชีวิตมนุษยหมุนเวียนเปลี่ยนผัน โลดแลนไปตามครรลองของ แตล ะคน สดุ ทา ยชวี ติ ของมนษุ ยจ ะจบลงดว ยฉากเดยี วกนั คอื ความตาย ดงั นนั้ ขอ ความในตวั เลอื กทม่ี คี วาม สอดคลอ งกบั แนวคดิ หลกั ของบทเพลงมากทส่ี ดุ คอื คนจนคนรวย ไมช า กม็ ว ยมรณา คนดคี นบา ไมช า กม็ รณงั 23. ตอบ ขอ 1. ชวี ติ ของมนษุ ยถ า รูจักเพยี งพอและพงึ พอใจกบั สง่ิ ทต่ี นเองมีอยู หรอื เปนอยู กย็ อมมคี วามสขุ กาย สบายใจ ไมตอ งเหนด็ เหนอ่ื ยอยากได อยากมี หรอื อยากเปน เชน คนอ่ืน 24. ตอบ ขอ 1. การฟงและดอู ยา งมีวจิ ารณญาณ หมายถงึ การฟงและดูโดยใชสติปญญาเพอื่ คดิ ไตรต รอง ใครครวญสาร ท่ีไดร ับจากสอื่ ตา งๆ อยางรอบคอบ มีเหตุผล กอ นตดั สินใจเชื่อ หรอื นาํ ไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจาํ วนั 25. ตอบ ขอ 4. ผพู ูดแสดงความคดิ เห็นท่ีดีจะตอ งมคี วามรู ความเขาใจ ความรอบรูใ นเรือ่ งทตี่ นแสดงความคิดเห็น โดยใช ขอ มลู ขอ เทจ็ จรงิ ประกอบการพดู มมี ารยาท รกั ษากฎขอ ตกลงของการพดู แสดงความคดิ เหน็ ไมใชอ ารมณ รวมท้งั อคตเิ ปน สวนหนงึ่ ของการพูด 26. ตอบ ขอ 4. การพูดโนมนาวใจ คือ การพูดที่ผูพูดมีวัตถุประสงคใหผูรับสารกระทําตามจุดมุงหมายของตน การพูด โนมนาวใจมีจุดมุงหมาย 3 ประการ ไดแก โนมนาวใหกระทํา โนมนาวใหเลิกกระทํา และโนมนาวให กระทําตอ ซงึ่ การพดู โนมนา วใจใหป ระสบผลสําเร็จ นอกจากขอ มูล ขอเทจ็ จรงิ แลว ผูพดู จะตองมคี วามรู เกีย่ วกบั หลักจติ วทิ ยานาํ มาใชป ระกอบอยา งเหมาะสม การพูดโนมนาวใจทีด่ ผี พู ูดควรเสนอขอเท็จจริงอยา ง ตรงไปตรงมา เพอ่ื ใหผูฟงประจักษในความจรงิ ดว ยตนเอง ซึง่ จะชวยใหเ กดิ ความศรัทธา และเปนไปไดงาย ทผ่ี ูฟงจะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของตนเองใหส อดคลองกับจุดมุง หมายท่ีผูพดู กาํ หนดไว 27. ตอบ ขอ 4. นักรบ เปน บคุ คลท่แี สดงพฤตกิ รรมการพูดเพอ่ื โตแยง ไดเ หมาะสมมากที่สุด เพราะใชภาษาส่ือแสดงใหเ ห็น วาตนเองเคารพและใหเกียรติแกสมาชิกผูเขารวมประชุม สวนบุคคลอ่ืนพูดปฏิเสธโจมตีความคิดเห็นของ ผูเขา รว มประชุมทานอ่นื ดวยถอยคําท่ีคอนขางรนุ แรง 28. ตอบ ขอ 2. เปนบทพูดโนมนาวใจที่กําหนดใหอานผูพูดมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูรับสารเกิดอารมณความรูสึกคลอยตาม คือ เกิดความตระหนกั ตอหนา ทีข่ องตนเองในฐานะคนไทยคนหนึ่ง 29. ตอบ ขอ 1. มารยาทการฟง คือ พฤติกรรมอันควรปฏิบัติเมื่อตองฟงรวมกับผูอื่นในท่ีสาธารณะ เพื่อไมใหกระทํา พฤตกิ รรมอันเปน การละเมิดสทิ ธิเสรภี าพ หรอื สรางความเดอื ดรอน ราํ คาญ รบกวนผูอ่นื ดังนน้ั ผูทขี่ าด มารยาทการฟง เมอื่ ตอ งฟง รว มกบั ผอู นื่ ในทส่ี าธารณะ คอื วายุ เพราะการตง้ั คาํ ถามตลอดชว งของการบรรยาย อาจเปน อุปสรรคตอการฟงของผอู ื่น 30. ตอบ ขอ 4. การพดู แสดงความคดิ เหน็ ในเร่ืองใดเร่อื งหน่งึ ยอ มมีทัง้ ผูทพี่ รอ มจะเหน็ ดว ย เนอื่ งจากมีความคดิ เหน็ หรอื รสู ึกเชนเดียวกัน แตก อ็ าจมีผทู ่ีไมพ รอ มจะเห็นดว ย เนือ่ งเพราะมองเรื่องนนั้ ๆ ในมุมท่ตี างออกไป ดังนนั้ การพูดแสดงความคิดเห็นจึงควรแสดงขอมูลบนพ้ืนฐานของความเปนจริง ใชถอยคําท่ีชัดเจน ส่ือความ ตรงประเด็น ไมก อ ใหเ กดิ การตีความท่ีผิดพลาด ลอลวงใหหลงเชอื่ คลอยตามดว ยการนาํ เสนอขอเท็จจรงิ เพียงบางสวน ความคิดเห็นท่ีดีและเปนประโยชนตองใชแกปญหาไดจริง แตการแสดงความคิดเห็นท่ีไมมี หลักฐานยนื ยัน ชดั เจน อาจกอใหเ กดิ ความเดือดรอนตอตนเองได 31. ตอบ ขอ 4. หากกราบบงั คมทูลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ จะตองใชคาํ สรรพนามบรุ ษุ ที่ 2 วา “ใตฝาละอองธุลพี ระบาท” จงึ จะถูกตอ งและเหมาะสม (25) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 32. ตอบ ขอ 1. คําลงทายวา “ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ” ใชเม่ือกราบบังคมทูลความเห็นของตน ซ่ึงมีความ เหมาะสมทจี่ ะใชเ ปน คําลงทา ยบทรอยกรองท่เี รียบเรยี งขึ้น โดยนบั เปน การสื่อสารความคดิ เหน็ ความรสู กึ ของผแู ตง 33. ตอบ ขอ 2. เสยี งพยญั ชนะควบกลาํ้ ในภาษาองั กฤษท่ีไมม ีใชใ นระบบเสยี งภาษาไทย ไดแ ก /ทร/ /บร/ /บล/ /ฟร/ /ฟล/ และ /ดร/ 34. ตอบ ขอ 3. ประโยควา “ถากลบั ไปอยูบา น ทํานาแลว ลําบาก ก็กลบั มาอยูกบั ฉนั นะ” ใชภาษาเหมาะสมกับสัมพนั ธภาพ ระหวางบุคคล สวนขออ่ืนๆ ผูพูดใชภาษาไมเหมาะสมกับสัมพันธภาพที่มีระหวางกัน เพราะผูพูดมีอาวุโส นอ ยกวา ผูฟ ง 35. ตอบ ขอ 4. คาํ วา สยามนิ ทร มคี วามเหมาะสมทจ่ี ะเตมิ ลงในชอ งวา ง เพราะความหมายมคี วามสอดคลอ งกบั เนอื้ หาของ บทรอ ยกรองทก่ี าํ หนดใหแ ละถกู ตอ งตามฉนั ทลกั ษณ 36. ตอบ ขอ 4. คํายืมในตัวเลือกขอ 4. ไดแก สํารวจ ตรวจ เปนคําท่ียืมมาจากภาษาเขมรเชนเดียวกับคําท่ีขีดเสนใต ในขอความเงอื่ นไข 37. ตอบ ขอ 1. คาํ ทั้ง 4 มีความหมายเดียวกัน หมายถงึ ผูหญิง เรยี กคาํ ทม่ี ีลักษณะเชนนี้วา คําไวพจน ซึง่ ทําใหภาษาไทย มีคําใชเพิ่มมากขึ้นสําหรับการแตงบทรอยกรอง เรียกวา วิธีการหลากคํา หรือเลือกใชคําไมซ้ําเพ่ือสื่อ ความหมายเดียวกนั 38. ตอบ ขอ 2. ขอความที่กาํ หนดใหอา นปรากฏคาํ ยมื ภาษาตางประเทศ คอื คําท่ยี มื มาจากภาษาองั กฤษ ในสวนท่ี 2 คือ คําวา เซต (set) หมายถงึ หมวดหมู 39. ตอบ ขอ 3. บทรอ ยกรองที่กําหนดใหอาน มลี ักษณะฉันทลกั ษณต รงกบั วสนั ตดิลกฉนั ท ดังน้ี ขุนมารสหสั สพหพุ า สุวิชาวชิ ติ ขลงั ขคี่ รี ิเมขะละประทัง คชเหย้ี มกระเหิมหาญ ุุัุัั ััุัุุุั ุุัุัั ััุัุุุั ขอ 1. ราชาพระมิ่งขวญั สนุ ริ ันดรประเสรฐิ ศรี ไพรฟาประดามี มนช่นื สราญใจ ััุัั ุุัุัั ััุัั ุุัุัั บรุ ุษนาํ อนงคห นุน ขอ 2. ถลันจวงทลวงจํ้า ประจญรวมประจญั บาน บุรุษรกุ อนงคร ุน ุััุัั ุััุัั ุััุัั ุััุัั มขุ เดจ็ กพ็ ราวพลอย พศิ เพียงนภาพลาม ขอ 3. เชิงบทั มพระบัญชรเขบ็จ ุุัุัั เพดารก็ดารกพะพรอย ุุัุัั ััุัุุุั ััุัุุุั โครงการวัดและประเมินผล (26)

ขอ 4. พราหมณครูรสู ังเกต ตระหนกั เหตถุ นดั ครัน ราชาวชั ชสี รร พจกั สพู ินาศสม ััััั ุััุัั ััััั ุััุัั 40. ตอบ ขอ 4. คาํ วา จิต-สถติ มที ี่มาแตกตางกนั กลา วคือ จิต เปน คําท่ียืมมาจากภาษาบาลี สวนคาํ วา สถติ เปนคาํ ทย่ี มื มาจากภาษาสันสกฤต คําในตวั เลอื กขอ 1. เปนคําทีย่ ืมมาจากภาษาสันสกฤต ขอ 2. เปนคาํ ที่ยืมมาจาก ภาษาสนั สกฤต และขอ 3. เปนคําที่ยืมมาจากภาษาเขมร ตอนท่ี 2 ขยายความไดวา “พอแมท่ีไมมีลูก มีลูกแตลูกน้ันตายไป และมีลูกที่ยังมีชีวิตอยูแตเปนลูกท่ีโงเขลา ไม โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ เฉลยี วฉลาด ในลูกทงั้ สามประเภทน้ี พอแมค วรเลอื กไมมลี ูก หรือมีแตตายไปแลว เพราะลกู ทัง้ สองประเภท 1. ตอบ ขางตนอาจทําใหพอแมเสียใจเพียงครั้งเดียว สวนลูกประเภทที่โงเขลา จะสรางความเดือดรอน รําคาญใจ ไมสบายใจ เสียใจไปจนตลอด” ขอความท่ีกําหนดใหอานสามารถตีความไดวา “ลูกที่โงเขลาจะสรางแต 2. ตอบ ความเดอื ดรอ น ราํ คาญใจ ไมส บายใจใหแกพ อ แมข องตน โดยความโงเขลาในท่นี ้ีไมไดห มายเฉพาะโงเขลา ในการศึกษาเลา เรยี น แตหมายรวมถึงความโงเ ขลาในการดํารงชีวติ การรูเทา ทนั ผูอื่น และรเู ทา ทันตนเอง” 3. ตอบ สาเหตทุ ี่ทําใหเ กิดการรับหรือยืมคําจากภาษาหน่งึ เขา มาใชย ังอกี ภาษาหนึง่ ไดแ ก 1. การติดตอส่อื สารในดา นตา งๆ เชน สังคม วัฒนธรรม การคา เทคโนโลยี เปน ตน 2. การถา ยทอดทางวัฒนธรรมและเผยแผศ าสนา 3. ความสมั พันธด านประวตั ศิ าสตร 4. ความสมั พนั ธท างเชือ้ ชาติ นกั เรยี นจะตอ งใชค วามสามารถดา นการเขยี น เรยี บเรยี งถอ ยคาํ เพอื่ ใหผ อู า นเกดิ อารมณค วามรสู กึ คลอ ยตาม เกดิ จนิ ตภาพถงึ สถานที่ในความทรงจาํ หรอื ความประทบั ใจทต่ี อ งการถา ยทอด โดยผลงานของนกั เรยี นควรมี ลักษณะ ดงั น้ี 1. ปรากฏประเดน็ หลกั หรือสถานทที่ ีจ่ ะเขียนถึงมีความชัดเจน 2. ถอ ยคาํ ท่ีเลือกใชส ่อื ความหมาย อารมณ ความรูสกึ ลกึ ซ้งึ 3. ใจความของขอเขยี นเนน ใหผูอานเกิดภาพพจนเกย่ี วกับสถานท่ี 4. ใชอ ปุ มาโวหารประกอบ เพอ่ื ใหผูอา นเกิดความรสู กึ หรือจนิ ตนาการตามไดโดยงาย (27) โครงการวัดและประเมินผล

ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรยี นที่ 2 ตารางวิเคราะหระดับพฤตกิ รรมการคดิ ตารางวิเคราะหมาตรฐานตวั ช้ีวัด พกฤราตะริกดคับริดรม ขอของแบบทดสอบทีส่ ัมพนั ธก ับ รวม ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั ขอ ของแบบทดสอบท่ีสมั พนั ธกับตวั ชีว้ ัด ระดบั พฤตกิ รรมการคิด 2 4 2 1, 2, 3 A ความรู ความจํา 34 - 35 4 44 B ความเขาใจ 11, 16, 36, 38 26 C การนําไปใช 13, 15, 17, 37 1 ท 1.1 6 5, 6, 7, 9, 11 D การวเิ คราะห 1 - 3, 5 - 10, 12, 14, 18 - 26, 28 - 31, 3 39 - 40 7 12 E การสงั เคราะห 32 8 8, 10 F การประเมินคา 4, 27, 33 1 13, 14, 15, 16, 17, 18 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ A ความรู ความจํา 17, 31 - 33 4 1 ท 2.1 4* - B ความเขา ใจ 19 - 20, 37 3 5 19, 20, 21, 22 C การนําไปใช 16, 34 2 1 23 D การวิเคราะห 1 - 5, 7, 9 - 15, 18, 22 - 24, 26 - 30, 27 2 24, 26 1 ท 3.1 3 25, 27, 28 35 - 36, 38 - 40 3 5 29, 30, 31 6 32 E การสังเคราะห 8 3 33, 34, 35, 37 F การประเมนิ คา 6, 21, 25 ท 4.1 4 36 5 38, 39, 40 19 2 1, 2, 3 44 ท 1.1 6 5, 7 78 86 9 10 2 1 11, 12, 13, 14, 15, 16 ท 2.1 4* - 5 17, 18, 19, 20, 21, 22 1 23, 24 2 25 ท 3.1 3 26, 27 5 28, 29 6 30 3 31, 32, 33, 34, 35, 36 ท 4.1 4 37, 38 5 39, 40 *หมายเหตุ ตวั ช้วี ัดบางตวั ปรากฏอยูในขอ สอบท่ีเปน อัตนยั โครงการวัดและประเมินผล (28)

แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภาษา 2ภาคเรย� นที่ ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 6 ชดุ ท่ี 1 ¤Ðá5¹0¹ÃÇÁ ช่ือ นามสกลุ…………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ โรงเรยี น……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. สอบวันท่ี เดือน พ.ศ.…………………….. ………………………………………………… ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด 1ตอนที่ 1. แบบทดสอบฉบบั นม้� ที ัง้ หมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ 2. ใหนักเรยี นเลือกคําตอบทถ่ี ูกท่ีสุดเพียงขอ เดียว ¤Ðá¹¹àµçÁ 40 อา นบทรอ ยกรองทก่ี ําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 1. - 4. จงเรืองแสงฉายสองในหองหาว โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ใชเรือ่ งรอนปวดรา วถา เราเปน ถา จะรกั เปนดาวในหาวหอง ยอมบางแหง บางหนมคี นเห็น ใครทุกหนอาจมเิ ห็นเราเปนดาว ดาวคอื ดาวและจะเปนอยเู ชนนั้น ถา ใจรักศักด์ิศรีการมแี สง อันศักดสิ์ ทิ ธส์ิ องแสงแรงมหนั ต ถงึ เพ็ญลบดาวเลอื นเม่ือเดอื นเพญ็ มอิ าจเลอื นดาวอนั นริ ันดร ตอ ใหแสงแรงกลา แหง อาทติ ย มิใชห มายเขมกลาหรอื ลา ออน มอิ าจเลือนดาวอับนับนิรันดร กลา สอ งซอ นสแู รงแสงตะวัน ความเปน ดาวยอมแสดงโดยแสงฉาย โคจรดาวอยา ชะงกั อยาหักหนั แตกลาตา นตอแสงอนั แรงรอน อยาไดหว่ันหวาดสลัวทรี่ วั ราง มวิ า อยหู วงใดในหนหาว อาจมเิ บกิ ฟาใหไสวสวา ง แมน เรืองแสงแหงหอมข้นึ พรอ มกัน ใครจะจางนวลแจรงของแสงดาว เหมอื นนวลแสงสขี าวแหง ดาวฤกษ หากโคจรดาวเดน คงเสน ทาง ซอยเดยี วกนั : วาณชิ จรงุ กิจอนันต 1. จากบทรอ ยกรองทกี่ ําหนดใหอ าน ขอ ใด ไมใช คณุ สมบัติ 2. ขอใดสรุปสาระสําคัญของบทรอ ยกรองท่กี าํ หนดใหอา นได D ของผทู ่จี ะเปนดาว D ถกู ตอ งมากท่สี ุด 1. ถาใจรักศักดิ์ศรีการมแี สง 1. โคจรดาวอยา ชะงักอยา หักหัน 2. กลา สองซอ นสแู รงแสงตะวัน 2. ดาวคอื ดาวและจะเปน อยเู ชน นั้น 3. อยา ไดห ว่ันหวาดสลัวทรี่ วั ราง 3. แมนเรืองแสงแหงหอมขึน้ พรอ มกนั 4. อนั ศกั ด์ิสิทธ์ิสอ งแสงแรงมหันต 4. ความเปนดาวยอมแสดงโดยแสงฉาย ความรู ความจาํ ความเขา ใจ การนาํ ไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมนิ คา A B C D E F (29) โครงการวัดและประเมินผล

3. ขอความใดสอดคลองกบั ทรรศนะของผูเ ขยี นมากท่สี ดุ D 1. เปด ขนั ประชนั ไก 2. งานหลวงไมข าด งานราษฎรไมเสยี 3. แขงเรือแขงพายแขง ได แขงบุญแขงวาสนาแขง ไมได 4. จงรักษาความดดี จุ เกลือรักษาความเคม็ 4. บุคคลใดควรไดรบั การยกยอ งวาเปนดาวตามทรรศนะของผูเขยี น F 1. สมาน เรยี นเกง เปน คนฉลาดมไี หวพรบิ ดี คลอ งแคลว สอบแขง ขนั ไดร บั รางวลั เหรยี ญทอง และสรา งชอื่ เสยี งใหแ กโ รงเรยี น 2. ดวงเนตร ชว งพักกลางวันตองกลบั ไปดูแลแมท่ตี าพกิ ารจึงไดรับยกยอ งวาเปนลูกกตญั ู 3. ประไพ อยูในครอบครัวยากจนชว ยพอแมทํางานหารายไดเลีย้ งครอบครัว และขยนั เรียน 4. นุกูลเปน คนมจี ิตใจเออ้ื เฟอ ชอบชวยเหลือเพอื่ นจึงไดร บั ความรักจากเพ่อื นทกุ คน อานเรือ่ งท่กี ําหนด แลวตอบคําถามขอ 5. - 10. โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ขยะในแหลง ทองเที่ยว พระอาทติ ยท อแสงสสี ม กระทบผวิ นาํ้ ยามเยน็ สะทอ นเปน ประกายระยบิ ระยบั ดจุ ประกายของเพชรยามตอ งแสงไฟ ในราตรี ลมทะเลพัดโชยเร่ือยๆ ออยอิ่งเหมือนกบั ไมอ ยากจะละจากพนื้ ผวิ ทอ งน้าํ หมูนกนางนวลบินฉวัดเฉวียนหากิน เหนอื ผวิ นาํ้ อยา งรา เรงิ โดยไมอ าทรตอ แสงอาทติ ยท ก่ี าํ ลงั จะลบั หายไปกบั ทะเลอนั กวา งใหญไพศาลและจะละทงิ้ สรรพสง่ิ ทัง้ มวลไวเ บือ้ งหลงั พรอมกบั เสียงคลื่นกระทบหาดแผว เบา น่ีเปนเพียงฉากหน่ึงของธรรมชาติอันแสนจะบริสุทธ์ิ ท่ีไดบรรจงแตมและมอบไวใหแกมวลมนุษยชาติ เพื่อเปน เครื่องจรรโลงหลอเล้ียงความงามและสุนทรียะทางดานจิตใจสืบไป แตเหตุไฉนผูคนท่ีไดไปสัมผัสกับความงดงาม แหงธรรมชาติเหลานั้น กลับเอาความมักงาย ความเห็นแกความสะดวกสบายสวนตัวเขาไปดวย เลยทําใหความงาม ในธรรมชาติสว นน้ันลดดอ ยลงอยางนาเสยี ดาย “ขยะ” คือ ผลของความมกั งา ย ในวันหยุดสดุ สปั ดาห ผูค นพยายามหนีความแออดั จากส่งิ แวดลอม และมลภาวะท่ีเปน พษิ ภายในตวั เมืองทีค่ นอยู อาศยั เพ่อื ไปตักตวงหาความสุขสบายทั้งกายและใจ ตามสถานที่ใกลบ าง ไกลบา ง ตามแตกําลังทรัพย บางคนไปกัน เปนหมคู ณะ บางคนไปแบบครอบครัว บางคนไปแบบสนุกสนานไมส นใจไยดีอะไรทง้ั ส้นิ กนิ เหลา เมายารองรําทาํ เพลง เสียงฆองเสียงกลองดงั สนนั่ หวัน่ ไหวไปหมด แทบจะไมไดดูความสวยงามของธรรมชาตทิ อี่ ยรู อบตัวเลย หลงั จากกนิ อาหารแลว บางทแี ทนทจี่ ะชว ยกนั เกบ็ กวาด รวบรวมถงุ กระดาษ พลาสตกิ เศษอาหาร ขวดเหลา ขวด เบียร เอาไปท้ิงยังท่ีควรจะทิง้ หรือบรเิ วณที่เจา หนา ทเ่ี ขาไดจดั เตรยี มไวใ ห เปลาเลย เสร็จเรื่องเสร็จธุระก็เปนอันเสร็จกัน ไมสนใจวามันจะปลิวไปตามลมหรือวาหมามันจะคุยเศษอาหาร กระจัดกระจายเกลื่อน ทําใหบริเวณน้ันดูสกปรก และทําใหสภาพธรรมชาติท่ีแสนจะบริสุทธ์ิและงดงามดอยคุณคาไป ถนัดตาเลยทีเดียว เศษอาหาร เปลือกผลไม ยังมโี อกาสสลายตัวไปตามธรรมชาติ แตเศษถงุ พลาสตกิ หรือขวดเหลา ขวดเบียร กระปอ งน้ําอดั ลม พวกน้จี ะไมสลายตวั เลยนับเปนสิบๆ ป แถมเมอื่ ขวดเหลา ขวดเบียรแตก ยงั ทาํ ใหผ คู น ท่ีมาทองเทยี่ วทีหลงั เหยียบเอาบาดเจ็บ ธรรมชาติ สถานที่ทองเท่ียวของบานเราหลายแหง เปนทช่ี ืน่ ชอบของนกั ทอ งเทย่ี วชาวตางชาติ บางแหงมชี ่ือตดิ อันดับโลกดวยซา้ํ เม่ือเขาไดส มั ผสั ตางกอ็ อกปากชมวา มีความสวยงามและความสมบูรณไมแพแหง อ่นื ในหลายประเทศท่เี ขาเคย ไปสัมผสั มา แตเ ขาจะตดิ อยนู ดิ หน่ึงวา ขยะ มากเกนิ ไป บางคนถงึ กบั ถอื ถงุ ลงมอื เกบ็ ขยะเอง ทง้ั ๆ ทเ่ี ขาเปน นกั ทอ งเทย่ี วทผี่ า นเขา มาเทย่ี วในเมอื งไทยเราชว่ั ครง้ั ชวั่ คราว เทาน้ัน เราเปนเจาของบานเจาของสถานที่เสียอีกกลับไมสนใจไยดีเหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น เราจะทําอยางไรที่จะให ทุกคนเกิดความสํานึก เกิดความรักหวงแหนในธรรมชาติท่ีสวยงามและบริสุทธิ์ สถานท่ีทองเท่ียวหลายแหงไมวา จะเปน ชายทะเลพทั ยา เกาะพีพี หมูเกาะสรุ ินทร เกาะสมิ สิ ัน หรือแมก ระทั่งในวนอทุ ยานภเู ขยี ว หวยขาแขง เขาใหญ ไปดเู ถอะ ตา งอุดมไปดว ยขยะ โครงการวัดและประเมินผล (30)

ขณะทเ่ี ราเรยี กรอ งอยากไดส ถานทที่ อ งเทย่ี วทสี่ วยงามไวเ ปน แหลง ทาํ มาหากนิ ดดู เงนิ ตราจากกระเปา นกั ทอ งเทยี่ ว มาเลี้ยงปากเลย้ี งทองคนในชาติ เมอื่ เราไดมาแลวไมช ว ยกันรกั ษา นบั วันสถานที่ทอ งเทีย่ วเหลา นี้จะถูกทําลายไปดว ย นา้ํ มือของเราเอง ทําอยางไรจงึ จะปลกู ฝง ใหคนในชาตริ ักความสะอาด ไมเ ปนคนมกั งายกินที่ไหนทิง้ ท่นี ัน่ อีก ทานทงั้ หลายลองหลบั ตานึกภาพดูเถอะครับ ในขณะทดี่ อกไมป าที่แสนจะหายากกําลงั ออกดอกอยางสวยงาม มี เหลาแมลงปอ ผเี สอื้ บนิ มาจับกลีบดอกในยามเชา มหี ยดนา้ํ คางเกาะคลายดังอัญมณที ่ีตองแสงแดด ชวนใหถ า ยภาพ นาํ ไปเปน ท่รี ะลกึ หรือนาํ ไปเผยแพร ชักชวนใหม าทอ งเทีย่ วที่เมืองไทย หากนาํ ภาพท่ีถา ยน้นั ไปลา งออกมา แทนทน่ี อกจากเราจะเห็นความงามของดอกไม หยดน้ําคาง ผเี สื้อท่ีวานี้แลว ยงั มภี าพของถุงพลาสติกพาดหอ ยอยูบนก่ิงดวย จะเศราใจขนาดไหน เพยี งแคภ าพนภ้ี าพเดียว ถา หากฝร่ังนกั ทองเทีย่ วเขานาํ ไปเผยแพรใหก ันดู เราจะอบั อายขนาดไหน เรามาชว ยกนั ปลกู ฝง สํานกึ ใหม จะไปไหน เราลองเอาถงุ พลาสติกใสกระเปาไปดว ย เม่อื กินอะไรเสร็จแทนท่ีจะท้งิ ไปเรื่อย ก็เอาใสถุงพลาสตกิ ซะ หรอื ตง้ั แคมปไฟกินเหลา เมายาแลว เราเกบ็ กวาดใหเรยี บรอย นําไปท้งิ ในถังขยะหรือที่ ท่ีควรจะทิ้ง ผมวามันไมนา ลําบาก หรือทําใหเสยี เวลามากมายนะครบั มลู นิธิคุมครองสัตวป าแหงประเทศไทย 5. จากเรอื่ ง “ขยะในแหลง ทอ งเทยี่ ว” เพราะเหตใุ ดในยอ หนา 8. ขอ ใดเปนวธิ กี ารแกไ ขปญ หาขยะในแหลง ทอ งเทยี่ วอยาง โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D แรกผูเขยี นจงึ กลาวถงึ ความสวยงามของธรรมชาติ D ย่งั ยืน 1. สถานที่ทองเที่ยวทส่ี วยงามมักมีขยะหลายชนิด 1. เจาหนาทีป่ ระชาสมั พนั ธชวยกนั ดูแลสอดสอง อบรม 2. เพราะแหลงทองเที่ยวมีสถานที่สวยงาม โนมนาวให และตกั เตอื นนกั ทอ งเทย่ี วทีเ่ ขาชมสถานทีท่ องเทีย่ ว ตา งๆ เกดิ ความรูสกึ คลอ ยตาม 3. ผูคนที่ไปทองเที่ยวมักทิง้ ขยะในแหลง ทองเท่ียว 2. เจา หนาที่คอยสอดสอ งดแู ลพบผูท ่ที ้งิ ขยะ ดําเนนิ การ 4. เพราะตอ งการใหผ อู า นเหน็ ความงดงามของธรรมชาติ ปรับตามท่ีรางบทบัญญัตไิ ว กอนทจี่ ะถกู ทาํ ลายลงดว ยความมักงา ยของมนุษย 3. สมาชิกในครอบครัวชวยกันปลูกฝงใหสมาชิกแตละรุน 6. เครื่องจรรโลงหลอ เลี้ยงสนุ ทรยี ะทางจติ ใจของมนษุ ยชาติ เกิดความรักและหวงแหนในธรรมชาติ D สอดคลอ งกับขอ ใด 4. หนวยงานรัฐบาลควรจัดเจาหนาท่ีคอยบริการเก็บขยะ 1. ความงดงามของแสงอาทติ ยยามกระทบผวิ น้ํา หลงั จากนักทอ งเท่ยี วเดินทางกลบั แลว 2. หมนู กนางนวลบนิ ฉวัดเฉวียนเหนอื ผิวนํ้า 3. ความงดงามของธรรมชาติ 9. ผเู ขยี นแสดงความรสู ึกไมพอใจตอ พฤตกิ รรมใด 4. ความงดงามแหง ทอ งทะเล D 1. การทาํ ลายสิ่งแวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง 7. เรอื่ ง “ขยะในแหลง ทองเท่ียว” ขอ ความใดทาํ ใหผูอาน D ตระหนกั และสํานกึ ในหนาท่ีของตนเองมากทส่ี ดุ นกั ทองเทยี่ วทัง้ หลาย 1. เมื่อเขาไดส มั ผสั ตา งก็ออกปากชมวา มคี วามสวยงาม 2. จํานวนของนักทอ งเทยี่ วทัง้ ชาวไทยและชาวตา ง- และความสมบรู ณไมแ พแ หง อน่ื ในหลายประเทศทเ่ี ขา ประเทศที่เพม่ิ ข้นึ อยางตอ เน่ือง เคยไปสมั ผสั 3. ความเหน็ แกค วามสะดวกสบายสวนตวั และความ 2. เราเปน เจา ของสถานทเ่ี สยี อกี กลบั ไมส นใจไยดเี หมอื น ไมมอี ะไรเกดิ ข้ึน มกั งา ยของนกั ทองเทย่ี ว 3. บางคนถงึ กบั ถือถุงลงมอื เกบ็ ขยะเอง ท้ังๆ ทีเ่ ขาเปน 4. การกนิ เหลา เมายารอ งราํ ทําเพลงในสถานที่ทองเที่ยว นกั ทอ งเทยี่ ว 10. ขอ ใด ไมใช แนวทางการแกไ ขปญ หาขยะในแหลง ทอ งเทย่ี ว 4. สถานท่ีทองเที่ยวหลายแหงไปดูเถอะตางอุดมไปดวย D อยา งยง่ั ยนื ขยะ 1. การลงโทษตามกฎหมาย 2. การปลกู ฝง จติ สาํ นึกรกั ความสะอาด 3. การปลกู ฝงจิตสาํ นึกความรบั ผิดชอบ 4. การทงิ้ ขยะในถังขยะหรอื ในท่ีควรจะทง้ิ (31) โครงการวัดและประเมินผล

อานเรอื่ งท่กี ําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 11. อา นขอ ความที่กาํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 13. ทุมโมง “รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดขอให จะเลยเลา แถมถงึ ประเพณตี บี อกเวลาในเมอื งพมา ผูบริหารมหาวิทยาลัยทั้งหลายตระหนัก…ปญหา ซ่งึ ฉนั ไดไปรูเมือ่ พ.ศ. 2478 ตอ ไป เพราะไดเ คาที่ การบริหารหนวยงานตางๆ ทงั้ ในดานบุคคล วสั ดุ เหมือนกับไทยอีกอยางหน่ึง ท่ีในพระราชวังเมือง อุปกรณ…บรรดาเงินและสินทรัพยตางๆ…เครื่อง มัณฑเลมีหอนาฬกาหลังหนึ่งเปนหอสูง ขางลางมี คอมพิวเตอรที่จะอํานวยประโยชน…ตอการเรียน หอ งสาํ หรบั ไวน าฬก า ขา งบนเปน หอโถงสาํ หรบั แขวน การสอนนิสติ นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั ” กลองกบั ฆอ งทตี่ บี อกเวลา เขาวา เคยมหี อกลองเชน - โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ นนั้ ทกุ ราชธานีในเมอื งพมา แตก อ นมา ฉนั ถามเขาวา 13. ควรเลอื กคาํ ในขอ ใดเติมลงในชอ งวางจงึ จะไดใ จความ ฆองกับกลองที่แขวนไวบนหอนั้น ตีตางกันอยางไร C เหมาะสม ไมมีใครบอกอธิบายได เพราะเลิกราชประเพณีพมา มาเสียหลายสิบปแลว ฉันนึกจับหลักไดวา ฆอง 1. ถึง, ตลอดจน, เพ่อื , นานัปการ สําหรับตีกลางวัน กลองสําหรับตีกลางคืน หลักน้ัน 2. ตอ, ตลอดถึง, เพ่อื , นานัปการ อยูในคําพูดของไทยเราเองที่เรียกเวลาตอนกลางวัน 3. ถึง, ตลอดจน, เพราะ, นานัปการ วา “โมง” เชน วา 4 โมง 5 โมง แตตอนเวลากลางคนื 4. ตอ , ตลอดถงึ , เพราะ, นานัปการ เรียกวา “ทุม” เชนวา 4 ทุม 5 ทมุ คําโมงกับทุมมา อานขอ ความที่กําหนด แลวตอบคําถามขอ 14. แตเ สยี งฆอ งและกลองนนั่ เอง ในเมอื งไทยแตโบราณ กเ็ หน็ จะใชฆองและกลองตีบอกเวลาอยางเดยี ว ต้ังแตจําความไดสิ่งท่ีผมเห็นจนเจนตาในหอง พอก็คอื กระบี่ยาวเลม หน่งึ ฝก ทําดวยเงนิ เดิมเคย 11. “หอนาฬกาหลังหน่ึงเปนหอสูง ขางลางมีหองสําหรับไว มีปลอกกาํ มะหย่ีสีแดงหมุ อยู แตตอนหลังเม่อื ถูกตวั B นาฬกา ขางบนเปนหอโถงสําหรับแขวนกลองกับฆอง” สามงามกินจนพรุน พอก็ถอดผาหุมท้ิงเหลือแตฝก เงินเกลี้ยงๆ…ดามกระบ่ีนี้มีกระบังสลักลวดลายติด ขอความท่ีขดี เสนใตม ปี ระโยชนตรงกับขอใด ตราอารมแผนดนิ ตรงหัวเปนรูปหัวชา งสวยงาม 1. ไวต ีกอนจะยกทพั 2. ไวต ีเพือ่ ระดมพล ประภัสสร เสวิกุล 3. ไวต ีเพ่ือบอกเวลา 4. ไวตีเมอ่ื แสดงธรรมพระเทศนา 14. ขอ ความทกี่ ําหนดใหอ านเขยี นดว ยโวหารประเภทใด 12. ขอใดเรยี งลําดบั หัวขอ ยอยจากแผนผงั ความคิดทก่ี าํ หนด D 1. บรรยายโวหาร 2. พรรณนาโวหาร D ใหไ ดเ หมาะสมมากทส่ี ุด 3. เทศนาโวหาร 4. อุปมาโวหาร ปญ หามลพิษดานตา งๆ (2) วธิ ีปองกันและแกไข (1) 15. บคุ คลใดใชศพั ทส ําหรบั จดบนั ทึกการประชมุ ไมถ ูกตอ ง C ตามหลกั การเขียน 1. ปรีดาบนั ทกึ วา เรื่องนที้ ี่ประชมุ ลงมตดิ ว ยคะแนนเสียง ขา งมาก 2. อนันตบันทึกวา คณุ อนงค คุณสมพร เปนกรรมการ ปญ หามลพษิ ในกรงุ เทพมหานคร ไดอภิปรายเรอ่ื งน้อี ยา งกวา งขวาง สาเหตุของปญหา (3) ผลกระทบทจี่ ะไดรบั (4) 3. สมพรบันทึกวา ที่ประชุมมีญัตติใหทุนการศึกษาแก 1. (2), (3), (4), (1) 2. (1), (2), (3), (4) นักเรยี นท่ีขาดแคลนทุนทรพั ย 3. (4), (2), (1), (3) 4. (3), (1), (2), (4) 4. ดุลยาบันทึกวา คุณบดินทรประธานในที่ประชุมกลาว ปด การประชุม โครงการวัดและประเมินผล (32)

อา นขอ ความท่ีกําหนด แลว ตอบคําถามขอ 16. 18. ขอ ความที่กําหนดเขยี นดวยโวหารประเภทใด D 1. บรรยายโวหาร 2. พรรณนาโวหาร ประธานกลา วในทปี่ ระชมุ วา “ผมในฐานะประธาน 3. เทศนาโวหาร 4. สาธกโวหาร กรรมการตองเรียนวา การประชุมคร้ังน้ีจะพิจารณา ตามเร่ืองท่ีเสนอที่ประชุม ถามีคณะกรรมการผูเขา อา นบทรอ ยกรองที่กาํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 19. ประชุมเห็นพองตองกันทุกคน หรือมีผูเขาประชุม สวนใหญเห็นดวย คณะกรรมการดําเนินการจะ เจาลืมนอนซอนพมุ กระทุม ตํ่า พยายามฟน ฝา อปุ สรรคตา งๆ เพือ่ ใหสหกรณของเรา เด็ดใบบอนชอ นนา้ํ ในไรฝาย ไปใหถงึ จดุ หมาย” พเ่ี คย้ี วหมากเจา อยากพ่ียังคาย แขนซายคอดแลว เพราะหนนุ นอน 16. คําที่ขีดเสน ใตใ นขอความที่กําหนดใหอ า นตรงกบั คาํ ศัพท B ท่ใี ชบันทึกรายงานการประชมุ ในขอใด บทเสภาขนุ ชา งขุนแผน 1. ญตั ต,ิ มติโดยเสยี งขางมาก, มตโิ ดยเอกฉนั ท 19. เนอ้ื ความของบทรอ ยกรองทกี่ าํ หนดใหอ า นสอื่ สารเกยี่ วกบั โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 2. ญัตติ, มตโิ ดยเอกฉันท, มติโดยเสียงขา งมาก D สิ่งใด 3. ระเบยี บวาระ, มตโิ ดยเอกฉันท, มตโิ ดยเสียงขางมาก 4. ระเบยี บวาระ, มติโดยเสียงขางมาก, มติโดยเอกฉนั ท 1. วถิ ีชวี ิตของชาวชนบท อา นขอ ความทกี่ าํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 17. 2. ความเปนอยขู องคนไทยสมัยอดตี 3. การแสดงความรกั ระหวางชายหญิง หลังจากคณะกรรมการมาครบ…………………..แลว 4. ความสมบูรณข องสภาพแวดลอ มในอดตี ประธานกลา ววา “ขอใหท่ปี ระชุม พจิ ารณา………………. 20. ขอ ใดมีกลวธิ กี ารเขียนเรยี บเรียงตา งจากขอ อน่ื ครงั้ ทแี่ ลว เมอ่ื ไมม กี ารแกไ ขทป่ี ระชมุ จะมมี ตริ บั รอง” D 1. เขียวเหลืองเรอื งรอง ขา วรวงสีทอง มองไสวชชู อ 2. เมอ่ื ยามฝนตก หวั อกย่ิงคลมุ คล่ัง ดจุ ดงั ฉันหลง่ั นา้ํ ตา 17. ควรเติมคาํ ใดลงในชองวางจงึ จะถูกตอ งตามหลกั การ 3. ตน ขา วออ นพลวิ้ ชยู อดรวิ้ เรยี งราย เดอื นกห็ งายพอกนั C เขียนรายงานการประชุม 4. หอมเอย หอมดอกกระถนิ รวยระรนิ เคลา กลนิ่ กองฟาง อา นบทรอ ยกรองทกี่ าํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 21. 1. จํานวน, เอกสารการประชมุ 2. องคประชุม, หัวขอ การประชมุ อาอรณุ แอรม ระเร่ือรจุ ี ประดุจมโนภริ มยรตี ณ 3. องคประชุม, รายงานการประชุม แรกรัก แสงอรุณวิโรจนนภาประจักษ แฉลมเฉลา 4. ตามรายชอ่ื , ระเบยี บวาระการประชุม และโศภนิ ัก นะฉนั ใดหญงิ ชาย ณ ยามรตอี ุทัย สวาง อานขอ ความทีก่ ําหนด แลว ตอบคําถามขอ 18. ณ กลางกมลละไม กฉ็ ันนนั้ ถาหากวา เหงื่อและน้ําตา ตลอดจนชีวิตของ มทั นะพาธา : พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยูหวั ฯ มนุษยที่ถูกเกณฑเอามาสรางนครวัดนี้ สามารถ ตักตวงเอาไวได เหงื่อ น้ําตา และชีวิตนั้นก็คงจะ 21. ขอใดมีกลวิธีการประพันธสอดคลองกับบทรอยกรองท่ี ทวมทนคูที่ลอมรอบนครวัดนี้อยู เสียงลมท่ีพัดเขา D กาํ หนด มาทางชองทวารศิลา และแลนไปตามระเบียงมืด 1. เคยเห็น ณ เพญ็ พระรศมี รชนีถนดั เนา ดังเหมือนเสียงสะทอนของเสียงโหยหวนดวยความ เหนือนั่นแนะพลนั จะสละเงา กลเงนิ อรา มงาม เจบ็ ปวด เมอ่ื พันปมาแลว 2. ยังเหลา ลดาวลั ย สวุ คันธบปุ ผา เผยคล่ผี ลคิ ลายมา- ลยะแยมพเยยี สยาย ถกเขมร : ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช 3. และทุกล้ินจะเปรยปราย ประกาศถอ ยปฏิญญา พจีวา จะรักยดื บจางจืดสิเนหา 4. มนสั ไทยประณตไท นรนิ ทรไทยมทิ อ ถอน มิผูกรักมิภักดบ์ิ ร มพิ ง่ึ บารมบี ุญ (33) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ อานขอ ความท่ีกาํ หนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 22. 25. บุคคลใดประเมนิ คาบทเพลง “รางวัลแดค นชา งฝน ” D สอดคลองกบั หลักเกณฑการประเมินมากทสี่ ดุ มีผูกลาวไววา “หากผิดพลาดไปแลว ก็ไมควร ดื้อดึง ดันทุรัง หรือหาเหตุมาแกตัวดวยประการ 1. กนกอรกลาววา บทเพลงรางวัลแดคนชางฝนเปน ตา งๆ ควรจะยอมรบั ผดิ แตโดยดี เพราะการทาํ ผดิ แลว บทเพลงทมี่ คี ุณคา เพราะรอ งโดยนกั รอ งคณุ ภาพ ไมยอมรับผิดมิใชวิสัยของบัณฑิต แมวาจะหาทาง แกต วั รอดไปได ก็เชอื่ วา ไปไดไ มนาน” 2. กรภพกลาววา บทเพลงรางวัลแดคนชางฝนเปน บทเพลงที่ชวยจรรโลงใจ ดวยแนวคิดท่สี รางสรรค 22. ขอ ความใดสอดคลอ งกับทรรศนะของผเู ขียนมากท่ีสดุ D 1. คนที่ไมยอมรับผดิ ไมใชบณั ฑิต 3. กุลยากลาววา บทเพลงรางวัลแดคนชางฝนเปน บทเพลงทเ่ี ขา ใจไดยากตอ งใชทักษะการตคี วาม 2. การแกตวั เชอื่ วา จะไปไมไ ดนาน 3. การสารภาพยอ มดกี วา การหาขอแกตัว 4. กาํ ธรกลา ววา บทเพลงรางวลั แดค นชา งฝน เปน บทเพลง 4. การแกตวั เมอื่ ทาํ ผดิ มิใชว ิสัยของบณั ฑติ ทอ่ี ยูในใจเขามาตลอด เพราะแมเปด ฟงอยบู อยๆ อา นบทเพลงทก่ี าํ หนด แลวตอบคําถามขอ 23. - 25. อา นขอความที่กําหนด แลว ตอบคําถามขอ 26. รางวลั แดค นชา งฝน “การใชจายใหพอดีงบหรือใหเหลือไดนั้น ยอม อยา กลบั คนื คาํ เมอ่ื เธอยาํ้ สญั ญา อยา เปลยี่ นวาจา จะทาํ ใหไ มเ ปน หนส้ี นิ ชว ยใหค รอบครวั ไมม ที กุ ข เพราะ เม่ือเวลาแปรเปลี่ยนไป ใหเธอหมายมั่นคงแลวอยา การมีหน้ีสิน ครอบครัวใดท่ีแมบานพอบานใชจาย หลงไปเชอ่ื ใคร เดินทางไปอยาหว่ันไหวใครขวางกั้น เกนิ ตวั แลว จะทําความลาํ บากใหแกครอบครวั มาก” มดี วงตะวนั สอ งเปน แสงสที อง กระจา งครรลองให ใฝป องและสรา งสรรค เมอ่ื ดอกไมแ ยม บานใหค นหาญ 26. ขอความขา งตน สือ่ แนวคดิ สอดคลอ งกับขอใดมากที่สดุ สไู มห ว่ัน คอื รางวลั แดค วามฝน อนั ย่งิ ใหญใหเธอ… D 1. ตองรูจักใชเ งิน เนอื้ รอ งโดย จรัล มโนเพช็ ร 2. การมีครอบครัวทําใหลาํ บาก 3. ครอบครัวที่ไมมีความทุกขคอื ครอบครัวท่ีมเี งนิ 23. สามารถอนุมานแนวคิดของบทเพลงจากชวงท่ีกาํ หนดให 4. ครอบครัวลําบากเพราะใชจายเงนิ ไมเกดิ ประโยชน D อา นไดสอดคลองกับขอใด อานโอวาทท่ีกําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 27. 1. เปน มนษุ ยตอ งรกั ษาสญั ญา 2. ใหเ ชือ่ มัน่ ในส่ิงทต่ี นเองกาํ ลงั ทาํ อนั ความไมป ระมาทนัน้ เปนคณุ อดุ หนุนความ 3. ไมค วรหลงเชอ่ื คํายุยงของบคุ คลใด ดงี ามใหม น่ั คงและเจริญ บุคคลจะบําเพ็ญประโยชน 4. เปนมนุษยต องมคี วามเขมแขง็ เหมือนดวงตะวนั ของตนและประโยชนของผูอ่ืนใหสําเร็จบริบูรณได กด็ ว ยความไมป ระมาท 24. บทเพลง “รางวัลแดคนชางฝน” มงุ ถายทอดเรื่องใด D เปนสาํ คญั 27. ขอ ใดคือแนวทางการนาํ สิ่งท่ีไดฟ งไปประยกุ ตใชเ พอ่ื การ F ดําเนนิ ชีวิตประจาํ วันไดเ หมาะสมทสี่ ดุ 1. ย้ําใหไ มล ืมเลอื นสญั ญา 2. ใหเ ดินทางโดยปลอดภยั 1. ตั้งใจทําความดีละเวน ความชั่ว 3. ใหมคี วามมนั่ คงไมแ ปรเปล่ยี น 2. คาํ นงึ ถึงสว นรวมมากกวา ผลประโยชนสว นตน 4. ใหมกี าํ ลงั ใจท่ีจะไปใหถ งึ จุดหมาย 3. แสวงหาผลประโยชนสวนตนเพอื่ ประโยชนส วนรวม 4. ความไมป ระมาทจะชว ยใหก จิ การสว นตนและสว นรวม สําเรจ็ ลงได โครงการวัดและประเมินผล (34)

28. ขอใดเปนการฟงที่อนุมานไดว า “ผฟู ง มีวิจารณญาณ” 32. เพ่ือนของนักเรียนชวนใหไปรับประทานอาหารประเภท โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D 1. ทกุ ครงั้ ท่ีฟงพิพฒั นย ดึ หลักกาลามสูตรชว ยในการ E มันทอด ไกทอด ขนมปง ท่ีหางสรรพสินคาแหงหน่ึง ตดั สินใจ นักเรียนไมชอบรับประทานและไมอยากไป จะมีวิธีการ 2. พรอ มพงษฟ ง โฆษณาสนิ คา แลว ตดั สนิ ใจซอ้ื ผลติ ภณั ฑ ปฏเิ สธอยา งไร จงึ จะทําใหเ พ่ือนลมเลิกความคิด 1. ขอบคุณทชี่ วน แตฉ ันมีนดั แลว มาใช เพราะพรเี ซนเตอรเ ปน ดาราท่ชี ่นื ชอบ 2. ขอบคณุ ทชี่ วน แตฉันเพงิ่ ดูสารคดเี ก่ียวกับโรคอวนวา 3. หลังฟงการหาเสียงพรอมพรตัดสินใจลงคะแนนใหแก มีสาเหตจุ ากการรับประทานอาหารที่เธอชวนน่แี หละ นกั การเมอื งทอ งถน่ิ รายหนงึ่ เพราะเปน ญาตกิ บั คณุ พอ 3. ฉนั ตองขอตัวกอนเพราะคุณแมบอกใหร บี กลับบา น 4. เพียงเพญ็ ตัดสินใจซอื้ รถมือสองคณุ ภาพดี พรอ มใช ไกทอด มนั ทอด กินบอยๆ เล่ยี นจะตาย จากพนกั งานขายเพราะเห็นวาเอาใจใสด แู ลลกู คา 4. ในชั่วโมงสุขศึกษาอาจารยอธิบายถึงโรคอวนวา มี 29. การใชภ าษาโนมนาวใจในขอ ใด ไมมี ความสมเหตสุ มผล สาเหตจุ ากการรบั ประทานอาหารประเภทยา งๆ ทอดๆ D 1. สัมผสั บรรยากาศสไตลรีสอรตไดท ี่ “ลาํ เนาไพรรสี อรต” เราอยา เพ่งิ ไปวันนี้เลยนะ 33. ขอใดใชภาษา ไม เหมาะสมกับกาลเทศะและสัมพันธภาพ 2. ยางรถยนตค ณุ ภาพดยี ดึ เกาะถนนดว ยนาโนเทคโนโลยี F ระหวางบุคคล 3. “โภชนารส” อาหารสด สะอาด อรอ ย ราคาไมแ พง 1. “อาจารยอ ยทู ีห่ องพักหรอื เปลาครับ เด๋ยี วผมจะไปพบ ครับ” (นักศกึ ษาพูดกบั อาจารย) เปดแลววันนี้ที่เพชรเกษม 16 2. “หยุดทีเถอะลูก มะเฟองหมดไปเยอะแลว เด๋ียวก็ได 4. สระวา ยนา้ํ ระบบนา้ํ หมนุ เวยี น ชว ยรกั ษาโรคทม่ี สี าเหตุ ทอ งรว งกนั บา งหรอก” (แมพดู กบั ลกู ) 3. “ระยะนคี้ นเปน โรคเกย่ี วกบั ทางเดนิ อาหารกนั มาก คณุ จากตอมไรท อทาํ งานผดิ ปกติ สุภาพสตรีตองระวังไมควรรับประทานอาหารรสจัด” (นกั จัดรายการวิทยุพดู กับผฟู ง) อา นขอความท่ีกําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 30. - 31. 4. “เปนไง วนั นี้ไปเทีย่ วท่ีไหนมา” (เพ่ือนพดู กับเพือ่ น) อา นขอ ความที่กําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 34. ขนบธรรมเนยี มประเพณีของแตละทองถิ่น เปน เครอ่ื งแสดงอตั ลกั ษณห รอื ตวั ตนของทอ งถนิ่ นน้ั และ สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนหวงประชาชน ยังส่ือสะทอนใหเห็นเสนสายทางการสะสม ส่ังสม ชาวไทย พระราชทาน …………………………………………………. สบื สานจากรนุ สรู นุ ขนบธรรมเนยี มประเพณที อ งถน่ิ ใหผ วู า ราชการจงั หวดั ทป่ี ระสบปญ หาอทุ กภยั ………….. จงึ เปน สงิ่ สาํ คญั ทพี่ วกเราพงึ อนรุ กั ษไว มิใหผ ดิ เพย้ี น ………………………. ถวายรายงานการบรรเทาทุกขใหแก บิดเบ้ยี ว หรอื เส่อื มสูญ ประชาชนผปู ระสบภยั ทง้ั นพี้ ระองคท รงซกั ถามทกุ ข สุขของประชาชนดวยน้ําพระราชหฤทัยที่เปยมดวย 30. ขอความท่ีกําหนดใหสามารถอนุมานถึงท่ีมาของทรรศนะ พระเมตตาอยางหาทส่ี ุดมไิ ด D ของผูเขยี นไดตรงกบั ขอใด 34. จากขอ ความท่ีกําหนดใหอ าน ควรเติมคาํ ใดลงในชองวาง 1. การขยายตวั ของเขตเมอื ง A จงึ จะถูกตอง 2. ความหลัง่ ไหลทางวัฒนธรรม 3. ปรมิ าณการเติบโตทางเศรษฐกจิ 1. พระราชวโรกาส, เขาเฝา ทูลละอองธุลีพระบาท 4. ความเจริญกา วหนา ทางเทคโนโลยี 2. พระราชวโรกาส, เขาเฝาทลู ละอองพระบาท 3. พระบรมราชวโรกาส, เขาเฝา ทลู ละอองพระบาท 31. ขอความใดคือขอสรุปเก่ยี วกับทรรศนะของผเู ขียน 4. พระบรมราชวโรกาส, เขา เฝาทลู ละอองธุลีพระบาท D 1. ขนบธรรมเนยี มเปนเครอ่ื งแสดงอัตลักษณ 2. ขนบธรรมเนยี มเปน เสนสายรายทางของชวี ิต 3. ขนบธรรมเนยี มประเพณที อ งถนิ่ เปน สงิ่ อนั ควรอนรุ กั ษ 4. ขนบธรรมเนียมคงอยไู ดด วยการสะสม สั่งสม สบื สาน (35) โครงการวัดและประเมินผล

อานขอ ความท่ีกําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 35. 37. ขอ ใดใชระดับภาษาเหมาะสมกับการเขียนรายงานเชงิ C วิชาการ 1) สมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระบรม- ราชวโรกาส 2) ใหประธานาธิบดีแหงสหรัฐอเมริกา 1. ความรกั เปน ยอดปรารถนาของหัวใจ เปน สงิ่ ประจาํ ตวั และภรยิ าเขา เฝา ทลู ละอองธลุ พี ระบาท 3) ในโอกาส มนษุ ยทกุ รปู ทกุ นาม ทกุ คนมสี ทิ ธิท์ ีจ่ ะรัก เยือนประเทศไทยอยางเปนทางการ 4) ในฐานะ ……………………………………… ในสมเด็จพระเจาอยูหวั 2. วฒั นธรรมทางจติ ใจของชาวไทยทสี่ าํ คญั คอื วฒั นธรรม เกยี่ วกบั ความคดิ ความเชอื่ และความศรทั ธาในศาสนา 35. จากขอความที่กาํ หนดใหอ า น ควรเติมคําใดลงในชองวา ง A จึงจะถูกตอ ง 3. สมัยนี้ของแพงทุกอยางเพราะสภาวะเศรษฐกิจกําลัง ตกตํา่ อยางถึงทส่ี ุดและอาจหมดทางปฏริ ปู 1. อาคันตกุ ะ 2. พระอาคันตุกะ 4. ฝนไดโปรยปรายลงมาใหความปรานีแกชีวิตสัตวใน 3. พระราชอาคันตุกะ 4. พระบรมราชอาคันตกุ ะ ทะเลทราย ซง่ึ แหง แลงอยางแสนสาหัส อา นบทรอยกรองทีก่ ําหนด แลว ตอบคําถามขอ 36. 38. ขอ ใดเขยี นถา ยทอดเสยี งจากภาษาเดมิ มาเปน ภาษาไทยได B ถูกตองทุกคํา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ หากรักสดุ ใส กอปรใจ มัน่ คง คงฟา ดินดาล 1. คลนิ ิค ออฟฟศ …………………………… 2. แฟลต ไอศกรีม …………………………… 3. โควต า ช็อกโกแลต ไดรว มชีวติ 4. อเิ ลก็ ทรอนกิ ส วาสว เอิบอมิ่ สุขปาน ใครเปรียบไปม ี ขออาํ นาจรกั เปย มภักดซิ์ าบซง้ึ 39. คาํ ท่ีขีดเสนใตในขอใดสอดคลอ งกบั คําท่ีขีดเสน ใตใน ฟุงฟา ธาตรี D ขอ ความ “พอฟา คลุมพมุ พฤกษดคู รึกคร้ืน” …………………………… ไปพนพาที จวบโลกทาํ ลาย 1. จ่งึ ต้ังจิตพษิ ฐานดว ยสจั จา ชนใดยินยล 2. ผจญคนมกั โกรธดว ยไมตรี วันเพ็ญ เซน็ ตระกูล 3. เคยี ดฆา คนอนันต หนกั แท …………………………… 4. อัญขญมบรมนเรศรเรอื้ ง รามวงศ 36. ขอ ใดเรยี งลาํ ดบั หมายเลขของขอ ความทกี่ าํ หนดไดถ กู ตอ ง 40. คําในขอ ใดมลี กั ษณะการยืมรูปแบบเดียวกนั ทกุ คาํ B เมื่อเตมิ ลงในชองวา ง D 1. เทอม จุดยนื (1) ขอรักดาํ รง (2) เชยชิดชืน่ บาน 2. กิจกรรม เทนนิส 3. วัฒนธรรม กจิ กรรม (3) สรรเสรญิ เราน้ี (4) ยั้งอยตู ราตรึง 4. วันสุดสปั ดาห ทกั ษะ 1. (2), (1), (3), (4) 2. (3), (2), (1), (4) 3. (4), (3), (2), (1) 4. (1), (2), (4), (3) โครงการวัดและประเมินผล (36)

2ตอนที่ ตอบคําถามใหถ กู ตอ ง จาํ นวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·èÕ ä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 10 1. ขอ ความทีก่ าํ หนดใหอานตอ ไปน้ี มกี ลวธิ กี ารใชภาษาอยา งไร (2 คะแนน) บรรดาของมีคาทั้งหลาย จะหาสิ่งใดมีคาเกินกวาวิชานั้นหาไดไม ทรัพยอื่นๆ อาจถูกขโมยลักหรือลดนอยลงไป ดวยการจับจาย แตวิชาน้ันไมมีความตาย แลย่ิงจายมากก็ยิ่งเพ่ิมมากขึ้น วิชาน้ีจะแบงใหแกใครใหเปลืองไปก็ไมได และขโมยจะลักก็ลกั ไมได จดหมายจางวางหรํา่ : พระราชวรวงศเ ธอ กรมหมน่ื พิทยาลงกรณ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ใหน ักเรียนเขยี นตีความจากบทรอ ยกรองทก่ี าํ หนดโดยใชภ าษาทถ่ี กู ตอ ง เหมาะสม (3 คะแนน) อันพดู น้ันไมยาก ปานใด เพ่ือนเอย โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ใครที่มีลน้ิ อาจ พูดได สําคัญแตในคาํ ทพ่ี ดู นน่ั เอง อาจจะทําใหชอบ และชงั ดสุ ติ สมติ : พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยูหวั ฯ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ใหน ักเรียนวิเคราะหกลวธิ ีการสรางสรรคข องงานเขียนทีก่ าํ หนด พรอมแสดงความคดิ เหน็ ของตนประกอบ (5 คะแนน) > คาเลา เรียน จอม จันดร ถูกใหออกจากโรงเรยี น เพราะพอ ของเขา ไมไดไ ปจา ยคาเลาเรียนเม่ือวานนี้… พอ ของเขาทาํ เงินคาเลาเรียนหายไป ระหวางทางไปโรงเรยี น วนิ ทร เลียววารณิ , 2549, น. 112 - 113. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (37) โครงการวัดและประเมินผล

แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย หลกั ภาษาและการใชภาษา 2ภาคเรย� นท่ี ¤Ðá¹¹·èÕ ä´Œ ชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 6 ชดุ ท่ี 2 ¤Ðá5¹0¹ÃÇÁ ชือ่ นามสกลุ…………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. เลขประจาํ ตวั สอบ โรงเรยี น……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ เดอื น พ.ศ.…………………….. ………………………………………………… ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด 1ตอนท่ี 1. แบบทดสอบฉบับนม้� ีท้งั หมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ 2. ใหนักเรียนเลอื กคําตอบท่ถี กู ทสี่ ุดเพียงขอ เดยี ว ¤Ðá¹¹àµçÁ 40 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ อานเร่อื งที่กําหนด แลวตอบคําถามขอ 1. - 8. …แซม หลานจะไดพ บกับคนหวงั ดมี ากมายทีค่ ดิ วาตัวเองรูวธิ ที าํ ใหหลานสามารถเยยี วยาความเจ็บปวดไดเรว็ กวา และรูสึกเจ็บปวดนอยกวา พวกเขาอาจจะอยากแนะนาํ วิธเี หลา นน้ั และถึงข้ันยืนกรานวามีหลายสิ่งทห่ี ลาน “ควรจะทาํ ” แนน อนพวกเขาหวงั ดี และสว นใหญก แ็ สดงออกถงึ ความหว งใยอนั บรสิ ทุ ธ์ิใจ แตก อ นทห่ี ลานจะรบั ฟง คาํ แนะนาํ เหลา นน้ั ขอใหจ าํ ไวว า สง่ิ ทบี่ าดแผลทางรา งกายตอ งใชใ นการเยยี วยาอยูในรา งกายของเราอยแู ลว ทง้ั ออกซเิ จน เลอื ด สารอาหาร ลวนอยูในนนั้ เตรยี มพรอมทจ่ี ะทําหนาทข่ี องตัวเอง และเมอ่ื ใดทหี่ ลานบาดเจบ็ การเยยี วยาก็จะเร่ิมตน ขน้ึ เชนเดียวกับบาดแผลทางอารมณ บางคร้ังบาดแผลเหลาน้ีก็ไมไดรับการเยียวยาเพราะถูกจิตใจครอบงําและพูด ทํานองวา “ฉนั ควรจะทาํ อยา งน้ีจะไดร ูสึกดีข้ึน” หรอื “บางทีฉันอาจจะทําอยางนนั้ เพือ่ ซอมแซมความเสยี หาย” หรือ “ฉนั กาํ ลงั เจ็บปวดจากสิ่งทคี่ นอนื่ กระทาํ และเมอื่ พวกเขาแกไ ขเรียบรอยแลว ฉนั ก็จะรสู กึ ดขี ึ้นเอง” คําพูดของจิตใจท้ังหมดน้ีเขามาขัดขวางขั้นตอนการเยียวยาตามธรรมชาติ เวลาที่หลานรูสึกเจ็บปวดเหลือแสน หลานมที กุ ส่งิ ที่จาํ เปน ตองใชใ นการซอมแซมความเสียหายในตัวอยแู ลว หลานตองการความเห็นใจ ความเขา ใจ และ ความเอาใจใสเพ่ือเยียวยา แตเหนอื สิง่ อ่ืนใด หลานตอ งใชเวลา เวลาที่ตาอยูในอุโมงคมืดมิด ตาอยากอยูกับคนท่ีรักตามากพอท่ีจะน่ังอยูในความมืดดวยกัน ไมใชคนที่ยืนอยู ขางนอก คอยบอกวธิ ีออกจากอโุ มงคใหตาฟง ตาคดิ วา นนั่ คอื ส่ิงทเ่ี ราทกุ คนตองการ เวลาทหี่ ลานเจบ็ ปวด จงไปอยูใกลๆ คนทรี่ กั หลานและสามารถทนอยกู บั ความเจบ็ ปวดของหลานไดโ ดยไมต ดั สนิ หรอื ใหคาํ แนะนาํ ใดๆ เมือ่ เวลาผานไป หลานจะโหยหาสง่ิ ที่เคยมีในอดตี นอยลง และเรียนรถู งึ สงิ่ ที่มอี ยูในปจจบุ ันมากข้นึ ดวงตาของคนทีเ่ รารัก : ธิดารัตน เจรญิ ชยั ชนะ (แปล) 1. ขอความใดสอดคลอ งกับสาระสาํ คญั ของเรอื่ งทก่ี าํ หนด 2. “เมอื่ เวลาผา นไป หลานจะโหยหาสง่ิ ทเ่ี คยมีในอดตี นอ ยลง D 1. คาํ พูดของจิตใจมักจะเขามาขัดขวางกระบวนการ D และเรยี นรถู งึ สงิ่ ทมี่ ีในปจ จบุ นั มากขนึ้ ” แนวคดิ ใดสอดคลอ ง เยยี วยาความรูสกึ กบั ขอ ความขางตน มากทีส่ ดุ 2. ในชีวิตของมนุษยต อ งการใครสกั คนท่ีไวใจได 1. มนษุ ยเรียนรูชีวิตจากอดตี 3. เราไมค วรไวใ จบคุ คลใดนอกจากตนเอง 2. มนุษยค วรอยกู ับเวลาทเ่ี ปน ปจ จบุ ัน 4. เวลาจะชว ยเยยี วยาทกุ ส่งิ ทกุ อยา ง 3. ความทุกขจ ะอยูกับเราไมนานอยา เสยี เวลาแกไ ข 4. ทกุ สงิ่ ในชวี ิตของมนุษยเปลีย่ นแปลงไปตลอดเวลา ความรู ความจํา ความเขา ใจ การนาํ ไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F โครงการวัดและประเมินผล (38)

3. จากขอ ความ “…เวลาทต่ี าอยูในอโุ มงคม ดื มดิ ตาอยากอยู 8. ขอใดเหมาะสมและเกิดประโยชนถาจะใชเปนประเด็นหลัก โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D กับคนทีร่ กั ตามากพอทจี่ ะนัง่ อยูในความมดื ดว ยกัน ไมใช E การเขยี นแผนผงั ความคดิ ทไ่ี ดจ ากการอา นจดหมายของตา คนทีย่ ืนอยขู า งนอก คอยบอกวธิ ีออกจากอโุ มงคใหตาฟง 1. เพ่อื นนัน้ สําคญั ไฉน ตาคดิ วา นน่ั คอื สง่ิ ทเี่ ราทกุ คนตอ งการ” ตคี วามไดส อดคลอ ง 2. ใครบา งไมเคยมีทุกข กับขอใด 3. พบมิตรแทไดอ ยางไร 1. ในยามท่มี ีปญ หาเราไมต องการใครนอกจากตนเอง 4. มนษุ ยล วงทุกขไดอยา งไร 2. เมอ่ื มปี ญ หา อยา ลงั เลทจี่ ะขอความชว ยเหลอื จากผอู นื่ 9. คาํ ประพนั ธใ นขอ ใดใชน า้ํ เสยี งเพอ่ื ถา ยทอดอารมณต า งจาก 3. ตัวเราเองจะเปนผูท่ีแกไขปญหาไดดีที่สุด เพราะผูอ่ืน D ขอ อ่นื 1. เหน็ ทหารไมเชอ่ื กเ็ หลือกลั้น จะไมมวี นั เขาใจ 4. ชีวิตมนุษยตองการใครสักคนท่ีเขาใจและพรอมจะอยู ชกั ดาบไลฟนทงั้ ซา ยขวา 2. อยามัวพูดเสยี เวลาฆา ฉันเถดิ เคียงขา งในยามทม่ี ีปญหา 4. ขอความทต่ี าเขียนถึงแซมสามารถคาดคะเนไดว า อยา งไร ขอใหเ กิดเปน ชายไดส ักหน D 1. ในอนาคตแซมจะพบคนทคี่ อยชที้ างออกให 3. พศิ ดสู าวนอยนวลหงส 2. ในอนาคตแซมจะพบคนทพ่ี รอมจะอยเู คยี งขา ง รูปทรงงามเลิศเฉิดเฉลา 3. ในอนาคตแซมจะตอ งรกั ษาบาดแผลดวยตนเอง 4. ในชาตินี้มสิ มัครรกั พมา 4. ในอนาคตแซมอาจตองพบกบั ปญ หาและอุปสรรค 5. ตาของแซมกลาววา มนษุ ยม สี ่ิงใดอยูใ นรางกาย เชญิ ทานฆา ใหด บั ลบั ชพี หาย D 1. ความทกุ ขแ ละความสุข 10. การกระทําในขอใดเรียกไดวาเปนผูมีมารยาทในการอาน 2. ความเขมแข็งและออ นแอ D มากท่ีสุด 3. ความสามารถในการเยียวยา 4. ออกซิเจน เลือด และสารอาหาร 1. ดนัยหยิบโทรศัพทขึ้นมาเลนเกมขณะน่ังรวมโตะกับ 6. นกั เรยี นเหน็ ดว ยหรอื ไมท จ่ี ะนาํ ขอ คดิ ทไี่ ดร บั จากจดหมาย เพอื่ นสนทิ ทีก่ ําลงั อา นหนังสอื ในหองสมุด F ของตามาปรับใชในชวี ติ ประจําวนั 1. ไมเหน็ ดว ย เพราะเปน เรื่องของคนตางวฒั นธรรม 2. สมโชคหยิบสมุดบันทึกสวนตัวของนุจรีมาอานเพ่ือ 2. เห็นดว ย เพราะเปนเรอื่ งท่มี นษุ ยท ุกคนตอ งเผชญิ ตองการทําความรจู ักนุจรมี ากย่งิ ข้นึ 3. ไมเ ห็นดวย เพราะยงั ไมเ หมาะสมกับชวงวยั ศึกษา 3. พรรณทิพาอา นหนังสอื เสร็จแลววางทงิ้ ไวบ นโตะ เพ่ือ เลาเรียน เพ่ือนๆ จะไดไมตองเสยี เวลาคนหา 4. เห็นดว ย เพราะเปน การรูเทาทนั วาเราจะสามารถ 4. พรรณลดาเขียนหมายเลขหนาท่ีตองการลงในเศษ ผา นปญ หาและอปุ สรรคไปได กระดาษคนั่ ไวใ นหนังสือแลว นาํ ไปถา ยสําเนา 7. จากขอความ “…ฉันกําลังเจ็บปวดจากสิ่งท่ีคนอ่ืนกระทํา D และเม่ือพวกเขาแกไ ขเรยี บรอ ยแลว ฉันก็จะรสู ึกดีขน้ึ เอง” อานขอ ความท่กี ําหนด แลวตอบคาํ ถามขอ 11. เปน คาํ พดู ของจติ ใจทขี่ ดั ขวางขน้ั ตอนการเยยี วยาบาดแผล …ท่ีนาสนใจและพบมากบริเวณน้ําตกตาดขาม ทางอารมณอ ยางไร เห็นจะเปนประดับหินใบขาวที่มีดอกสีขาวและกลีบ 1. เพราะทําใหป ด กั้นตนเอง กระทงั่ ไมม ีบคุ คลชว ยเหลือ ดอกเปนแฉกรูปดาว กอนหินบางกอนจะมีพันธุไม 2. เพราะทาํ ใหบ าดแผลทางจติ ใจรกั ษาไมห ายขาด กระทงั่ ชนิดนี้ขึ้นท่ัวทั้งกอน เปนเหมือนผืนพรมสีเขียวที่ แตม ประดบั ดว ยเกลด็ ดาวขาวสะอาด กลายเปนคนเศรา หมองตลอดเวลา 3. เพราะเปนการกลา วโทษวาเปนความผดิ ของผูอ่ืน 11. ขอความที่กําหนดใหอานมีลักษณะการใชภาษาสอดคลอง D กบั ขอ ใด กระทงั่ มองไมเห็นความผิดของตนเอง 4. เพราะทาํ ใหบ าดแผลทางรา งกายไมห ายไปดว ย กระทง่ั 1. เขียนแบบอธิบาย 2. เขียนแบบพรรณนา เกดิ ผลกระทบตอ ความแขง็ แรงของรา งกาย 3. เขยี นแบบช้แี จงรายละเอียด 4. เขียนโดยแสดงความเปน เหตเุ ปนผลเชื่อมโยง (39) โครงการวัดและประเมินผล

12. ขอใดปรากฏการใชคําท่ีมีความสอดคลองกับคําเง่ือนไข อา นขอ ความทีก่ าํ หนด แลวตอบคาํ ถามขอ 17. D “โพยม” ลกั ษณะสาํ คญั ของการเขยี นเรอื่ งสน้ั จะมแี นวคดิ 1. ฝนตกลงมากวาดความแหงแลงบนผนื ดิน สาํ คญั เพยี งจดุ เดยี วทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ ในเรอ่ื ง นาํ เสนอโดย 2. นกเปนรอ ยๆ เรมิ่ รองเพลงอยูตามยอดไม บอกตรงๆ บอกผา นตวั ละคร หรอื อาจใหตีความเอง 3. การเกิดใหมของมวลหมพู รรณพฤกษาทําใหโลกนี้ เร่อื งสั้นท่ีดจี ะตองใหผ อู า นตีความเอง ประดุจสรวง 17. องคป ระกอบใดของเร่อื งสัน้ สอดคลองคํานยิ ามขางตน 4. เจากระแตนอ ยตกใจกระโดดโหยงๆ ลกู ไมปา หลน รว ง A 1. โครงเรือ่ ง 2. แกนเรื่อง 3. ฉาก 4. เน้ือเรอื่ ง กราวพน้ื 13. ขอใดปรากฏถอ ยคําที่สือ่ แสดงใหเ ห็นปรมิ าณ 18. ขอความใดสอดคลองกบั การสรา งสรรคง านบันเทิงคดี D 1. ผหู ญงิ ที่ใสเ สือ้ สีแดงจงใจเปด ประตูทง้ิ ไวอ ยา งนัน้ D ประเภทเร่อื งสั้น 1. มีโครงเรอื่ งที่หลากหลายและซับซอน 2. แมลงลมื กินใบไมห รอื อยางไรรวงกราวออกอยางนี้ 2. ตวั ละครเปน องคประกอบที่สาํ คัญท่ีสุด 3. ประตูโบสถท่ลี งรกั ปด ทองงดงามราวประตูของสวรรค 3. มีโครงเรอ่ื งเดยี วดวยขอ จาํ กดั ของความยาว โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 4. แมอ มุ ผมชว่ั ครู แลว วางผมเดนิ เดินไปบนทางขรุขระ 4. มงุ ใหความรู ความเขาใจแกผอู านเปน สาํ คญั 14. หากตองการประสบผลสําเร็จในการโนมนาวใจผูบริโภค D ควรเลอื กใชภ าษาลักษณะเดียวกับขอความใด พจิ ารณาขอความท่กี าํ หนด แลว ตอบคําถามขอ 19. 1. ขายรถมอื สอง สภาพดี 2. ทน่ี รี่ บั เชาพระเครอื่ งทุกรุน ก) อา นเรื่องโดยละเอียด 3. จําหนาย ดิน ปุย ขุย กาบ ข) วิเคราะหผ ูแ ตง 4. มาถงึ แลว กระเปา หนังแทจากสหรัฐอเมริกา ค) วเิ คราะหเน้อื เร่อื งและสว นประกอบ 15. ขอ ความใดเปนการแสดงทรรศนะ ง) วิเคราะหประเภทและจุดมุงหมายของผแู ตง D 1. พฤตกิ รรมการใชค อมพวิ เตอรน านๆ มผี ลตอ กลา มเนอ้ื จ) วิเคราะหก ลวธิ กี ารเขียน 2. การทาํ ฟารม แบบปด สง ผลใหส ตั วป ลอดภยั จากเชอ้ื โรค 3. นักเรียนควรคาํ นงึ ถงึ ผลท่ีจะเกิดขนึ้ เปนลําดับแรก 19. ขอใดเรยี งลําดบั ขน้ั ตอนการวเิ คราะห วจิ ารณ ประเมนิ คา 4. ระบบกลามเนอื้ และการหายใจทาํ งานรว มกันอยาง B งานเขียนประเภทสารคดีไดถูกตอง 1. ก), ข), ค), ง), จ) 2. ก), ง), จ), ข), ค) สมบรู ณ 3. ก), ง), ค), จ), ข) 4. ก), ง), ข), จ), ค) อานขอ ความท่กี าํ หนด แลวตอบคาํ ถามขอ 16. 20. การประเมินคุณคางานเขียนเปนขนั้ ตอนสืบเนอ่ื งจาก ….จึงเรียนเชิญทานเปนวิทยากรบรรยายเรื่อง B ข้ันตอนใด “อนาคตของภาษาไทย” แกน ักเรียนช้ันมัธยมศึกษา 1. การแยกแยะ 2. การพิจารณา ปที่ 6 ฟง… 3. การสบื สาเหตุ 4. การวิเคราะห วิจารณ 16. ขอใดกลาวถึงลักษณะเนอ้ื ความของจดหมายกิจธุระฉบับ 21. จากเรอ่ื งทก่ี ําหนดใหอ านในหนา (38) มกี ลวิธีการเขยี นที่ C ดงั กลาวไดถ กู ตอ ง F โดดเดน อยางไร 1. ใชถอยคาํ สอื่ สารชัดเจน ตรงไปตรงมา 1. เรียนปรึกษา 2. ใชถ อยคําเพ่อื โนม นา วจิตใจของผรู บั สาร 2. ขอความรวมมือ 3. ใชถอยคําเพือ่ สรา งจินตภาพใหแกผรู ับสาร 3. สง ขา วเหตุการณ 4. ใชว ิธีการเปรียบเทียบเพ่ือใหผูร บั สารประจกั ษแ จง 4. รกั ษาสมั พนั ธภาพระหวางกนั โครงการวัดและประเมินผล (40)

22. จากเรือ่ งท่ีกาํ หนดใหอ า นในหนา (38) แซมเปน ตัวแทน 24. ขอ ใดคอื สาระสําคญั ของบทพดู ดังกลา ว โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ D ของใคร D 1. โนม นา วใหผ รู ับสารออกกําลังกาย 1. เด็กท่ีมคี รอบครัวไมสมบรู ณ 2. โตแ ยง วิธีการออกกําลงั กายในปจ จบุ ัน 2. ผูทม่ี ีความบกพรอ งทางจิตใจ 3. เตอื นภยั ของการออกกําลังกายท่ีมากจนเกินไป 3. เดก็ ผูชายที่มคี วามเปน ตัวเองสูง 4. อธบิ ายเกย่ี วกบั วธิ คี ลายกลา มเนอ้ื หลังออกกําลังกาย 4. ผูท ี่ยงั ขาดประสบการณในการใชชวี ิต 25. นักเรยี นคิดวาสาระของบทพดู ขางตน มคี วามนาเชือ่ ถือ อา นขอความทก่ี ําหนด แลว ตอบคําถามขอ 23. F หรือไม เพราะเหตใุ ด 1. นา เชอื่ ถือ เพราะใชภาษาในระดับทางการ เพ่ือนคนหนึ่งพูดรายงานหนาชั้นเรียนเกี่ยวกับ 2. ไมน าเชอ่ื ถอื เพราะบทพูดมีขนาดสนั้ เกนิ ไป คา นยิ มในเรื่อง มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม ทั รี วา 3. ไมนาเชอ่ื ถอื เพราะไมส ามารถอา งองิ ผพู ูดได “เปน คา นยิ มของอรยิ บคุ คลทปี่ รารถนาในพทุ ธภมู ิ คอื 4. นาเช่ือถือ เพราะในชวงเวลาท่ีออกกําลังกายหัวใจจะ พระเวสสันดร ซ่ึงทรงเห็นวาการบําเพ็ญทานบารมี หรือบําเพ็ญคุณงามความดีเปนส่ิงสําคัญ เปนส่ิงที่ ทํางานหนกั ข้ึนดวยการสบู ฉีดโลหิต มีคาสําหรับพระองค เพราะเปนส่ิงท่ีนําพระองคไป 26. จากบทพูดดังกลาว นักเรียนคิดวาผูฟงจะไดรับประโยชน สูความรูแจงเห็นจริง (พระโพธิญาณ) อันจะทําให D สอดคลอ งกับขอใด พระองคท รงชท้ี างนพิ พานชว ยสรรพสตั วท ง้ั หลายได” 1. วธิ ผี อนคลายกลามเนอื้ หลังออกกําลงั กาย 23. ถา เพื่อนต้งั คําถามกับนักเรยี นเกี่ยวกับขอ สรุปการบรจิ าค 2. การเดนิ เร็วๆ อาจทาํ ใหรางกายสญู เสยี เหงอ่ื D ทานของพระเวสสันดร ขอใดถูกตอ ง 3. ออกกําลงั กายมากเกนิ ไปทําใหห วั ใจทํางานหนัก 4. การออกกาํ ลงั เปน ประโยชนเ พราะทาํ ใหร า งกายแขง็ แรง 1. พระองคเ ปน ตวั อยา งของการบรจิ าคทาน เปน ตวั อยา ง 27. ขอใดเปน การฟง เพอ่ื รบั ความรูอยา งเดน ชัดทส่ี ดุ ของการเสียสละ D 1. สุรพลฟงละครวทิ ยุเรือ่ ง “อกธรณี” 2. สมุ ิตราฟงธรรมเทศนาในหวั ขอ “พระคณุ แม” 2. จะไดน าํ พระองคไปสคู วามรแู จง เหน็ จรงิ เปนตัวอยา ง 3. สุนยั ฟงรายการสนทนาเร่ือง “ร่นื รมยในเรอื สาํ ราญ” แกมนุษยทัง้ หลาย 4. สนุ ันทฟง ภัณฑารักษอ ธิบายเร่ือง “ประวตั ศิ าสตร 3. เมื่อพระองคส าํ เรจ็ พระโพธญิ าณแลว จะไดช ้ีทาง ผา ไทย” นิพพาน ชวยสรรพสตั วท้งั หลายใหพนทกุ ข 28. ความจริงใจของผูพ ดู สง ผลอยา งไรตอการพดู โนม นา วใจ D 1. ทําใหเรอ่ื งทพ่ี ดู มคี วามนา สนใจ 4. สรรพสัตวท้ังหลายยอมสลายไปตามกาลเวลา จึงควร บรจิ าคใหผ อู ื่นมีความสขุ 2. กระตนุ ใหผูฟงเกิดความคิดเหน็ คลอ ยตาม 3. ทําใหผฟู ง ศรทั ธา เชื่อม่นั และคลอ ยตาม อานขอความทก่ี าํ หนด แลวตอบคาํ ถามขอ 24. - 26. 4. กระตุนใหผ ูฟง ตองการท่ีจะฟง ตอ ไปจนจบ 29. การพดู โนม นา วใจในขอใดมคี วามสมเหตสุ มผลมากที่สดุ “การคอ ยๆ ลดหรอื ผอ นการออกกาํ ลงั กายใหเ บา D 1. มาเถอะพวกเรา พอแมพ ่ีนอง มารวมกันตอ สู ลงทลี ะนอ ย จนกระทงั่ หายเหนอื่ ย ทง้ั นเ้ี พอื่ กลา มเนอื้ 2. ใครที่ไมร วมน่ันแปลวา เขาไมเหน็ แกสวนรวม และหวั ใจทีท่ ํางานหนักขณะออกกาํ ลังกาย ไดคอยๆ 3. เราจงรว มกนั ตอ ตา นความไมช อบธรรมทงั้ หลายทงั้ ปวง ทาํ งานนอ ยลงเรอื่ ยๆ จนกระทงั่ กลบั สรู ะดบั ปกติ เชน 4. หากเราอยากใหลูกหลานของเราเจริญเติบโตเปนคน ถา ออกกําลังกายโดยการวง่ิ การผอนคลายกลา มเนือ้ กห็ มายถึง การลดความเร็วลงเรอ่ื ยๆ จนเปนเดนิ เรว็ ที่มีความฉลาดก็จงหม่ันจัดหาหนังสือดีๆ ใหพวกเขา และเดินชาจนกระท่ังหยุด หลังจากนั้นอาจทําการ เพราะเดก็ ทฉ่ี ลาดยอ มสง ผลดตี อ ประเทศชาติ บริหารยืดกลามเนือ้ ตอ อกี 3-5 นาที” (41) โครงการวัดและประเมินผล

30. ขอ ใดเปนแนวทางการเลือกหวั ขอ สนทนาท่ีเหมาะสม 36. ขอใดใชภ าษาตา งระดับจากขออ่ืน D มากทสี่ ุด D 1. ศตั รูสาํ คัญของขาว เชน แมลงจําพวกหนอน เพล้ยี 1. เลือกหัวขอ ท่เี ปนเร่ืองสว นตวั ของผอู ื่น 2. เลือกหวั ขอ ทผ่ี อู าวโุ สในวงสนทนาชอบมากที่สดุ 2. เห็ดขอนถึงจะเปน เห็ดในสกลุ ของเห็ดหอมแตรูปราง 3. เลอื กหวั ขอ โดยคาํ นึงถึงเพศ อายุ นสิ ยั ของผูส นทนา หนาตาเหมอื นเห็ดนางรม 4. เลือกหัวขอท่ีผูอาวุโสนอยท่ีสุดในวงสนทนาใหความ สนใจ 3. เหด็ ขอนมดี อกมากในสภาพอากาศรอน สว นเหด็ นางรม และเหด็ นางฟาออกดอกไดด ีที่ในอากาศเยน็ 31. ขอใดเปนคําราชาศัพทของคําวา “จดหมายท่ีพระมหา- A กษัตรยิ เ ขยี นเพื่อเจรญิ สมั พนั ธไมตรีกบั ตา งประเทศ” 4. การวิเคราะหส ถานการณก ารแพรร ะบาดของสาร- 1. พระราชสาสน 2. พระราชหตั ถเลขา เสพตดิ ควรคาํ นึงทุกๆ ดา น พิจารณาบทรอยกรองท่กี ําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 37. 3. ลายพระราชหัตถ 4. ลายพระหัตถ ก) อิลราชจรลา ข) ลสุ ลานศวิ แปลง อานขอ ความท่ีกําหนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 32. ค) มฤคาบมิแคลง ง) ดนุแปลกนยนา สมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทอดพระเนตรผลการดาํ เนนิ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ งานโครงการในพระราชดาํ ริ และ …………………………….. 37. ขอใดเรียงลําดับบทรอยกรองท่ีกําหนดใหไดถูกตองตาม กับราษฎรท่มี ารอเฝารับเสด็จ B ฉันทลกั ษณ 32. จากขอ ความทก่ี าํ หนดใหอ า นควรเตมิ คาํ ใดลงในชอ งวา งจงึ 1. ก), ข), ค), ง) 2. ก), ค), ง), ข) A จะถกู ตอง 1. ทรงมีพระราชปฏิสันถาร 3. ก), ง), ข), ค) 4. ก), ค), ข), ง) 2. ทรงพระราชปฏสิ นั ถาร อานบทรอ ยกรองทก่ี าํ หนด แลว ตอบคาํ ถามขอ 38. 3. ทรงมพี ระปฏิสันถาร 4. ทรงพระปฏิสนั ถาร แรมทางกลางเถอ่ื น หางเพอ่ื นหาผู หนงึ่ ใดนึกดู เห็นใครไปม ี 33. คําในขอ ใดสามารถใช “ทรง” ประกอบขางหนา ไดทกุ คํา A 1. กรว้ิ , สรง 2. สรง, ดนตรี สามัคคีเภทคาํ ฉนั ท : ชิต บุรทตั 3. โปรด, ประทบั 4. ถาม, ดนตรี 38. บทรอ ยกรองทก่ี ําหนดมลี ักษณะฉนั ทลกั ษณตรงกับขอ ใด 34. ขอ ใดใชค าํ ราชาศพั ทไ ดถ กู ตองตามหลักการประกอบคาํ D 1. รา ยยาว 2. อนิ ทรวเิ ชยี รฉันท C 1. ทรงมพี ระบรมราชโองการ 3. วิชชมุ มาลาฉนั ท 4. กาพยย านี 11 2. มพี ระบรมราชโองการ 3. ทรงมพี ระราชปฏสิ นั ถาร 39. ขอ ความใดแสดงใหเห็นอทิ ธพิ ลของภาษาตา งประเทศ 4. ทรงปฏิสันถาร D 1. ศัตรูสาํ คัญของขา ว เชน แมลงจาํ พวกหนอน เพลี้ย 2. พระภิกษุ 2 รูป ออกบณิ ฑบาตตอนเชาตรู 35. ขอใดใชภาษาระดับทางการ 3. ทมยนั ตสี รางสรรคนวนิยายเรื่องทวิภพ D 1. เมอ่ื การแสดงคอนเสริ ตใหญคร้งั นป้ี ดฉากลง 4. ประกาศปด หา สบิ สาม ไฟแนนซ 2. กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกฬี าจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การ 40. ขอใด ไมใช ลกั ษณะของอทิ ธิพลภาษาตางประเทศทม่ี ีตอ ทองเที่ยว D ภาษาไทย 3. วิถีชีวิตของชุมชนริมฝงน้ํากลับมาคึกคักอีกครั้งเพราะ ตลาดนํา้ แหงใหม 1. โครงสรา งประโยคเปล่ียนแปลง 2. คําไทยแทถกู กลืนหาย 4. เมอ่ื รวมกนั เปน ประชาคมอาเซยี นถนนทกุ สายของการ 3. มีคําควบกล้ําใชม ากขึ้น ลงทุนจะพงุ มาทป่ี ระเทศไทย 4. มีคําไวพจนใชมากขน้ึ โครงการวัดและประเมินผล (42)

2ตอนที่ ตอบคําถามใหถ กู ตอ ง จาํ นวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ ¤Ðá¹¹àµÁç 10 1. ใหนกั เรยี นเขยี นตคี วามจากบทรอ ยกรองทีก่ าํ หนดให (3 คะแนน) ความรักเหมือนโรคา บนั ดาลตาใหม ดื มน ไมยนิ และไมยล อปุ สรรคใดใด ความรกั เหมือนโคถกึ กาํ ลงั คึกผขิ ังไว ก็โลดจากคอกไป บยอมอยู ณ ทขี่ ัง ถงึ หากจะผกู ไว กด็ งึ ไปดวยกาํ ลงั ย่ิงหามกย็ ง่ิ คลงั่ บหวนคดิ ถงึ เจ็บกาย มัทนะพาธา : พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจาอยูหวั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ใหนักเรยี นเขียนวิเคราะหวจิ ารณกลวธิ กี ารใชภ าษาของขอความทก่ี าํ หนดใหต ามแนวทางทถ่ี ูกตอ ง (2 คะแนน) ขณะพระองคเสด็จมาใกลเบญจคีรีนครคือราชคฤหเปนเวลาจวนสิ้นทิวาวาร แดดในยามเย็นกําลังออนลงสูสมัย ใกลวิกาล ทอแสงแผซานไปยังสาลีเกษตร แลละลิ่วเห็นเปนทางสวางไปท่ัวประเทศสุดสายตา ดูประหน่ึงมีหัตถทิพย มาปกแผอํานวยสวัสดี เบ้ืองบนมีกลุมเมฆเปนคลื่นซอนซับสลับกันเปนทิวแถวตองแสงแดดจับเปนสีระยับวะวับแวว ประหนึง่ เอาทรายทองไปโปรยปรายเลือ่ นลอยลว่ิ ๆ เรยี่ ๆ รายลงจดขอบฟา … กามนติ : เสฐียรโกเศศและนาคะประทปี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ใหน กั เรยี นศกึ ษากลวธิ กี ารสรา งสรรคง านเขยี นทกี่ าํ หนดให จากนน้ั ใชค วามสามารถดา นการเขยี นสรา งสรรคผ ลงานของตนเอง จากงานตน แบบความยาวไมต ่าํ กวา 5 บรรทดั (5 คะแนน) ทาํ ไมฉนั มาปรากฏกายทนี่ ่ี ทําไมมีผูคนมากมายเหลือเกิน ทําไมคนเราตองเดินทาง ทาํ ไมหลายใบหนา เศราจงั ทําไมมีคนรองไห ทําไมมีคนกอดกันเพื่อจากกันหรือกอดกันท่ีไดพบกัน ทําไมมีคนโบกมือ โบกมือท่ีไดพบกันหรือที่ ตองแยกทางกัน ทําไมพวกเขารอ งไห ทําไมพวกเขาหัวเราะ ทาํ ไมฉันมาท่ีน่ี ทําไมฉันตอ งเดนิ ทาง… วินทร เลียววารณิ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (43) โครงการวัดและประเมินผล

เฉลยแบบทดสอบ 2ภาคเร�ยนที่ ชดุ ท่ี 1 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตอนที่ 1 1. ตอบ ขอ 4. “อันศักด์สิ ิทธ์ิสอ งแสงแรงมหนั ต” ไมใชค ุณสมบตั ขิ องผูท่จี ะเปนดาว เพราะเนอ้ื ความสือ่ สารถึงแสงแรงกลา ของดวงอาทิตย ขณะท่ีขออื่นๆ สื่อสารถึงคุณสมบัติของผูที่จะเปนดาว ไดแก รักศักดิ์ศรี กลาหาญ และไมห วาดหว่นั 2. ตอบ ขอ 2. “ดาวคอื ดาวและจะเปน อยเู ชน นนั้ ” คอื สาระสาํ คญั ทสี่ รปุ คณุ สมบตั ทิ งั้ หมดของความเปน ดาว เชน รกั ศกั ดศิ์ รี ไมว า ใครจะเห็นหรือไมเ หน็ คุณคา กย็ งั คงทาํ สง่ิ ที่ดอี ยูเชนน้ันและสักวนั จะมีผูเ ห็นคุณคา 3. ตอบ ขอ 4. “จงรักษาความดีดุจเกลือรักษาความเค็ม” เปนขอความท่ีสอดคลองกับทรรศนะของผูเขียนมากท่ีสุด ซึ่ง ปรากฏในขอ ความที่วา “ดาวคือดาวและจะเปน อยเู ชน น้ัน” และ “หากโคจรดาวเดน คงเสน ทาง ใครจะจาง นวลแจรงของแสงดาว” 4. ตอบ ขอ 3. ประไพอยูในครอบครัวยากจนชวยพอแมทํางานหารายไดเล้ียงครอบครัวและขยันเรียนเปนพฤติกรรมที่ สอดคลองกบั คาํ วา “ดาว” ตามทรรศนะของผูเ ขียน เพราะถงึ แมประไพจะเกิดมาในครอบครวั ทีย่ ากจน ซึง่ ความจนอาจทําใหขาดโอกาสในเร่ืองตางๆ แตประไพก็ไมยอทอชวยพอแมหารายไดและใฝดีดวยการตั้งใจ ศกึ ษาเลา เรยี น 5. ตอบ ขอ 4. สาเหตทุ ผี่ เู ขยี นตอ งถา ยทอดภาพความสวยงามของธรรมชาตกิ อ น กเ็ พอื่ ใหผ อู า นเหน็ คณุ คา ความงดงามของ ธรรมชาตทิ มี่ อบไวแ กม วลมนษุ ยชาติ เพอ่ื เปน เครอื่ งจรรโลงหลอ เลยี้ งความสนุ ทรยี ะทางจติ ใจ แตเ หตกุ ารณ หลงั จากนเ้ี ปน เรอื่ งของการทาํ ลายธรรมชาตดิ ว ยความมกั งา ยของมนษุ ย ผเู ขยี นตอ งการสอ่ื ใหเ หน็ วา มนษุ ย เปน ผูท าํ ลายความสวยงามที่ธรรมชาตมิ อบใหดว ยการกระทาํ และความคดิ ของตนเอง 6. ตอบ ขอ 3. “ความงดงามของธรรมชาต”ิ เปน เสมอื นเคร่ืองจรรโลงและหลอ เล้ียงจิตใจของมนษุ ยชาติ เปน ความอิ่มเอม ทางจติ ใจท่ีซอื้ หาดว ยเงนิ ทองไมไ ด 7. ตอบ ขอ 2. จากเร่อื ง “ขยะในแหลง ทอ งเทยี่ ว” ขอ ความทที่ ําใหผ ูอานเกิดความตระหนกั และสาํ นกึ ในหนาทีข่ องตน คอื “บางคนถงึ กบั ถือถงุ ลงมือเกบ็ ขยะเอง ทงั้ ๆ ท่ีเขาเปนนักทอ งเที่ยวทีผ่ า นเขามาเทย่ี วในเมอื งไทยเราช่ัวคร้งั ชวั่ คราวเทา นน้ั ” เพราะขอ ความนก้ี ระตนุ ใหผรู บั สารยอ นกลับมาสํารวจตนเองในฐานะเจา บาน เมอ่ื เกดิ การ ยอนมองตนเอง จะทําใหไ ดส ตินําไปสคู วามตระหนักในบทบาทหนา ทีข่ องตนที่มตี อ ทรัพยากรธรรมชาติหรอื แหลง ทองเทยี่ ว 8. ตอบ ขอ 3. ไมมีวิธีการใดแกปญหาขยะในแหลงทองเที่ยวได ถาทุกคนไมชวยกันปลูกฝงจิตสํานึกท่ีดีลงในใจตนและ คนรอบขางใหรักหวงแหนธรรมชาติที่สวยงามและบริสุทธิ์ เพื่อใหเปนเคร่ืองหลอเล้ียงและจรรโลงจิตใจไป ตราบนานเทา นาน 9. ตอบ ขอ 3. จากเรอ่ื ง “ขยะในแหลง ทอ งเทย่ี ว” ผเู ขยี นแสดงความรสู กึ ไมพ อใจตอ ความเหน็ แกค วามสะดวกสบายสว นตน ของนกั ทอ งเทย่ี วบางคนบางกลมุ ทมี่ าแสวงหาความสขุ ทางจติ ใจจากธรรมชาติ แตท าํ ลายธรรมชาตดิ ว ยการ ทิ้งขยะไมเลอื กที่ ซ่งึ สุดทายผเู ขียนไดเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาการท้ิงขยะไมถ กู ท่ีไวอ ีกดว ย 10. ตอบ ขอ 1. จากเรอื่ ง “ขยะในแหลง ทอ งเทยี่ ว” ผเู ขยี นไมไ ดเ สนอแนวทางการแกไ ขปญ หาขยะในแหลง ทอ งเทย่ี วดว ยการ ลงโทษผกู ระทําผิดตามกฎหมาย แตแ นวทางท่นี ําเสนอ คือ “ชว ยกนั ปลูกฝงจิตสํานึกใหม” โครงการวัดและประเมินผล (44)

11. ตอบ ขอ 3. กลองกบั ฆอ งทแ่ี ขวนไวบ นหอโถงใชส าํ หรบั ตเี พอ่ื บอกเวลา จากขอ ความ “…ฉนั นกึ จบั หลกั ไดว า ฆอ งสาํ หรบั โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตีกลางวัน กลองสําหรับตีกลางคืน หลักน้ันอยูในคําพูดของไทยเราเองท่ีเรียกเวลาตอนกลางวันวา โมง… เวลากลางคืนวา ทุม…” 12. ตอบ ขอ 1. โดยสามารถเรียงลําดับโครงเร่ืองจากแผนผังความคดิ ที่กําหนดใหไ ด ดงั นี้ ปญหามลพิษในกรงุ เทพมหานคร - ปญ หามลพษิ ดา นตา งๆ - สาเหตขุ องปญ หา - ผลกระทบที่จะไดรบั - วธิ ีการปองกันและแกไ ข 13. ตอบ ขอ 3. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดขอใหผูบริหารมหาวิทยาลัยทั้งหลายตระหนักถึงปญหาการบริหาร หนวยงานตางๆ ทั้งในดานบุคคล วัสดุอุปกรณ ตลอดจนบรรดาเงินและสินทรัพยตางๆ เพราะเครื่อง คอมพิวเตอรท จ่ี ะอาํ นวยประโยชนน านัปการตอ การเรยี นการสอนนสิ ติ นกั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัย 14. ตอบ ขอ 1. บรรยายโวหาร เพราะลักษณะการส่ือความของผูเขียนเปนไปเพื่ออธิบายหรือบรรยายเหตุการณท่ีเปน ขอเท็จจริงตามลาํ ดับเหตกุ ารณ เขยี นตรงไปตรงมา มงุ ความชดั เจนเพอ่ื ใหผ อู า นไดร ับความรู ความเขา ใจ ใชภ าษากะทัดรัด เขา ใจงา ย 15. ตอบ ขอ 3. “สมพรบันทึกวา ท่ีประชุมมีญัตติใหทุนการศึกษาแกนักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย” ใชศัพทสําหรับบันทึก การประชมุ ไมถูกตอ ง เพราะความคดิ ท่สี อดคลอ งตรงกันของสมาชิกในทป่ี ระชมุ ศพั ทท ถ่ี ูกตอ งใชวา “มมี ต”ิ 16. ตอบ ขอ 3. คาํ ศพั ทในการประชุม “เรือ่ งที่เสนอท่ปี ระชุม” ใชวา “ระเบียบวาระ” “ผเู ขา ประชมุ เห็นพอ งตอ งกันทุกคน” ใชว า “มตโิ ดยเอกฉันท” “ผเู ขา ประชมุ สวนใหญเ ห็นดวย” ใชว า “มติโดยเสียงขา งมาก” 17. ตอบ ขอ 3. ตามหลกั การเขยี นรายงานการประชมุ ผบู นั ทกึ จะตอ งยดึ ความถกู ตอ ง ความเทยี่ งตรง และความชดั เจน ทง้ั นี้ จะตอ งใชค ําศัพทสําหรบั บันทกึ การประชมุ ใหถูกตอ งเหมาะสม จากขอความท่ีกําหนดให คาํ ศัพทท ี่ควรเติม ลงในชอ งวาง ไดแก องคป ระชุมและรายงานการประชมุ เพราะองคประชมุ หมายถงึ จํานวนกรรมการท่ีมา ประชุมตามกฎทกี่ ําหนดไว สว นคําวา รายงานการประชุม หมายถึง รายละเอยี ดหรือสาระของการประชุม ที่จดบันทึกไวเปนทางการ ในที่น้ีคือวาระท่ี 1 ของการประชุม ซ่ึงท่ีประชุมจะตองมีมติรับรองรายงานการ ประชมุ ครงั้ กอน 18. ตอบ ขอ 2. พรรณนาโวหาร เพราะลกั ษณะการสือ่ ความของผูเขยี นเปนไปเพื่อสอดแทรกอารมณความรสู ึกใหผูอา นเกดิ อารมณความซาบซึ้ง คลอยตาม จากขอความผูเขียนพรรณนาถึงอารมณความรูสึกเศรา สลด สังเวชใจ กบั ชีวติ ทส่ี ูญเสยี ไปกับการสรา งสถานทีแ่ หงน้ี โดยเลอื กใชถอ ยคําท่ีทําใหผรู บั สารเกดิ ภาพพจนไดง าย เชน “…เหงือ่ นา้ํ ตา และชวี ิตนนั้ กค็ งจะทวมทนคทู ล่ี อมรอบนครวดั น้ีอย…ู ” 19. ตอบ ขอ 3. บทรอยกรองท่กี ําหนดใหอานเนื้อความสื่อสารเกี่ยวกับวิธีการแสดงความรักระหวางชายหญิง โดยวิเคราะห จากวรรคที่วา “พ่เี คย้ี วหมากเจาอยากพย่ี งั คาย แขนซายคอดแลว เพราะหนนุ นอน” 20. ตอบ ขอ 2. “เม่ือยามฝนตก หัวอกยิ่งคลุมคล่ัง ดุจดังฉันหล่ังน้ําตา” ใชอุปมาโวหารเปรียบเทียบวา “เม่ือยามที่ฝนตก ลงมาน้นั เหมอื นกับเวลาที่ฉันกําลังรองไห” เมื่อวเิ คราะหขอ ความในตวั เลอื กอ่นื ๆ พบวา ขอ 1. เขยี วเหลืองเรอื งรอง ขา วรวงสที อง มองไสวชูชอ ใชภาษาเชิงพรรณนาใหเห็นภาพ ขอ 3. ตน ขา วออ นพลิว้ ชูยอดริ้วเรยี งราย เดอื นกห็ งายพอกนั ใชภ าษาเชงิ พรรณนาใหเ หน็ ภาพ ขอ 4. หอมเอย หอมดอกกระถนิ รวยระริน เคลากลิน่ กองฟาง ใชภาษาเชงิ พรรณนาใหเ หน็ ภาพ ดังน้ัน ขอ 2. จึงมีกลวิธีการเขียนเรียบเรียงใหเห็นภาพโดยใชอุปมาโวหารหรือการเขียนเชิงเปรียบเทียบ แตกตา งจากขอ ความอ่ืนๆ (45) โครงการวัดและประเมินผล

21. ตอบ ขอ 1. “เคยเหน็ ณ เพ็ญพระรศมี รชนีถนดั เนา เหนอื นัน่ แนะ พลนั จะสละเงา กลเงนิ อรา มงาม” บทรอ ยกรองนี้ปรากฏถอยคําที่ใหความหมายในเชิงเปรยี บเทียบเชนเดียวกบั คําวา “ดจุ ” “ดงั ” “ด่ัง” เปน ตน ซงึ่ ในทนี่ คี้ อื คาํ วา “กล” ใชอ ปุ มาโวหารเพอ่ื สรา งภาพพจนห รอื จนิ ตภาพใหแ กผ อู า น คอื ภาพของดวงจนั ทร ท่ีมสี ีเงิน (โลหะชนิดหนง่ึ ) งดงามอรามตา 22. ตอบ ขอ 3. “การสารภาพยอมดีกวาการหาขอแกตัว” เพราะวาการหาทางแกตัวอาจทําใหพนจากความผิดไปไดไมนาน สักวันยอมมีผูรับรูความผิดน้ัน การสารภาพผิดเสียตั้งแตตน แลวหาทางแกไขยอมจะไดรับความเห็นใจ จากผอู น่ื มากกวา การพยายามโกหกเพ่อื ปกปด ความผิดของตน 23. ตอบ ขอ 2. แนวคิดของบทเพลงตองการใหกําลังใจทุกคนที่มีความฝนหรือมีอุดมการณ ความมุงม่ันตอส่ิงหน่ึงส่ิงใดให พยายามทําฝน นัน้ ตอไปดวยจติ ใจท่มี ั่นคง ดอกไมท ีแ่ ยม บานจงึ เปรียบเสมือนความสําเร็จท่เี ปนผลอนั เนื่อง มาจากความเพยี รพยายาม นยั สาํ คญั ตอ งการบอกวา “ใหพ ยายามตอ ไป มงุ มน่ั เชอ่ื มนั่ ในสง่ิ ทท่ี าํ แลว สกั วนั จะประสบผลสาํ เรจ็ ” โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 24. ตอบ ขอ 4. “ใหมีกําลังใจท่ีจะไปใหถึงจุดหมาย” แมวาจะมีอุปสรรค (…เดินทางไปอยาหวั่นไหวใครขวางก้ัน…) ก็จง เชือ่ มน่ั ในสง่ิ ที่ตนเองกาํ ลงั ทาํ แลว สกั วันจะประสบผลสําเรจ็ เปน รางวลั แดความฝน ความพยายามของชีิวิต 25. ตอบ ขอ 2. กรภพ เพราะสามารถระบลุ ักษณะ องคป ระกอบ วิเคราะหจุดมุง หมายของบทเพลง และแสดงความคิดเห็น ประกอบ มีเหตุผลสนบั สนุน โดยกลา ววา เปน เพลงทช่ี วยจรรโลงใจ ดว ยแนวคิดทสี่ รา งสรรค 26. ตอบ ขอ 1. แนวคิดสําคัญของขอความท่ีกําหนดใหอาน คือ ตองรูจักใชเงิน เพราะการไมรูจักใชจายจะนํามาซึ่งความ ทุกข ทาํ ใหค รอบครวั ไดรบั ความเดือดรอ น 27. ตอบ ขอ 4. “ความไมป ระมาทจะชว ยใหก จิ การสว นตนและสว นรวมสาํ เรจ็ ลงได” เพราะเมอ่ื ไมป ระมาท ยอ มปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ดวยความรอบคอบ มีสติ การมสี ตจิ ะทาํ ใหไ มเกดิ ขอผิดพลาด หรือหากเกดิ กน็ อยที่สุด เม่อื ไมมีขอ ผิดพลาด ก็ยอ มประสบผลไดด วยดี 28. ตอบ ขอ 1. หลกั กาลามสูตร 10 ประการ เปนคําสอนเน่ืองในพระพทุ ธศาสนาทม่ี ีความสอดคลองกับหลักการฟง และดู อยา งมวี จิ ารณญาณ คอื ใชร ะบบการคิด ใครค รวญ ไตรต รองกอนตัดสนิ ใจเชื่อ เห็นดว ย คลอยตาม หรอื จะ เชอ่ื อะไรแคไหนน้นั จะตองพสิ จู นด ว ยตนเอง โดยอาศยั สตปิ ญ ญาและเหตุผล แตอ ยาเชื่อโดยวิธตี อไปน้ี 1. อยาปลงใจเช่ือเพียงเพราะการฟง ตามกันมา 2. อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการถอื สบื ๆ กันมา 3. อยาปลงใจเชื่อเพยี งเพราะการเลาลือ 4. อยา ปลงใจเชอื่ เพียงเพราะการอา งคัมภีร 5. อยาปลงใจเช่อื เพียงเพราะนึกคิดเอาเอง 6. อยา ปลงใจเชื่อเพยี งเพราะการคาดคะเนเอา 7. อยา ปลงใจเชอ่ื เพยี งเพราะการตรกึ ตรอง 8. อยา ปลงใจเชอ่ื เพยี งเพราะตรงกบั ความเหน็ ของตน 9. อยา ปลงใจเช่ือเพียงเพราะรปู ลักษณะนาเชอ่ื 10. อยาปลงใจเชอ่ื เพยี งเพราะทานเปน ครขู องเรา 29. ตอบ ขอ 4. การใชภาษาเพ่ือโนมนาวใจ สําหรับการโฆษณาขายสินคาและบริการ สงผลอยางมากตอการกระตุนความ รูสึกสนใจและความตองการของผรู ับสารหรอื ลกู คา แตค วรอยบู นพ้ืนฐานของความเปน ไปได สมเหตสุ มผล ไมเขาขายโฆษณาเกินจริง ซึ่งมีความผิดฐานหลอกลวงผูบริโภค ขอความที่ไมมีความสมเหตุสมผล คือ “สระวายนํ้าระบบนํ้าหมุนเวียน ชวยรักษาโรคท่ีมีสาเหตุจากตอมไรทอทํางานผิดปกติ” เพราะการวายน้ํา ไมใชว ธิ ีการรกั ษาโรค 30. ตอบ ขอ 2. จากทรรศนะของผูเขียนที่สรุปวา “ขนบธรรมเนียมประเพณีทองถ่ินจึงเปนส่ิงสําคัญท่ีพวกเราพึงอนุรักษไว มิใหผิดเพ้ยี น บดิ เบยี้ ว หรอื เสื่อมสูญ” จึงสามารถอนุมานไดว า ทีม่ าของทรรศนะท่ผี เู ขียนแสดง คอื “ความ หล่ังไหลทางวัฒนธรรม” เพราะความหล่ังไหลทางวัฒนธรรมอาจสงผลกระทบตอขนบธรรมเนียมประเพณี ทองถนิ่ ซ่ึงเปนรากฐานวัฒนธรรมเดิมได โครงการวัดและประเมินผล (46)

31. ตอบ ขอ 3. การแสดงทรรศนะ ประกอบดวยโครงสรา ง 3 สวน ไดแ ก ท่ีมา ขอสนบั สนุน และขอสรุป ซ่ึงขอ สรปุ เกี่ยวกับ ทรรศนะของผเู ขียน คือ ใหผ รู บั สารเกิดความตระหนักและอนรุ กั ษขนบธรรมเนียมประเพณีทอ งถน่ิ 32. ตอบ ขอ 4. “ในช่ัวโมงสุขศึกษาอาจารยอธิบายถึงโรคอวนวา มีสาเหตุจากการรับประทานอาหารประเภทยางๆ ทอดๆ เราอยาเพิ่งไปวันนี้เลยนะ” เปนวิธีการปฏิเสธท่ีสอดคลองกับจุดมุงหมายที่จะทําใหเพื่อนลมเลิกความคิด จะไปรบั ประทานอาหารดังกลา ว แตย งั คงรักษาสัมพนั ธภาพระหวา งกนั ไวได 33. ตอบ ขอ 1. “อาจารยอ ยทู ห่ี อ งพกั หรอื เปลา ครบั เดย๋ี วผมจะไปพบครบั ” ใชภ าษาไมเ หมาะสมกบั กาลเทศะและสมั พนั ธภาพ ระหวา งบุคคล เพราะผพู ดู มีอาวโุ สนอยกวา ผฟู ง ถอ ยคาํ ท่ีใชค วรมีลักษณะนอบนอม เชน “อาจารยจ ะสะดวก หรือไมค รบั ถา ผมจะขออนุญาตเขาพบ” เปน ตน 34. ตอบ ขอ 4. จากขอความท่กี ําหนดใหอา นจะตองเตมิ คําวา “พระบรมราชวโรกาส” และ “เขา เฝาทูลละอองธุลพี ระบาท” สวนขอ อน่ื ๆ ประกอบคาํ ไมถูกตอ ง 35. ตอบ ขอ 3. จากขอความที่กาํ หนดใหอานจะตองเติมคําวา “พระราชอาคันตุกะ” สวนขอ อนื่ ๆ ประกอบคําไมถ ูกตอ ง 36. ตอบ ขอ 4. การเลือกวรรคเพ่ือใหสอดคลองกับบทรอยกรองที่กําหนดใหจะตองคํานึงถึงความหมายและถูกตองตาม ฉันทลักษณ ดังนี้ หากรักสุดใส กอปรใจ ม่ันคง โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ขอรักดํารง คงฟา ดินดาล ไดรว มชวี ติ เชยชิดชื่นบาน ขออํานาจรัก เปยมภักด์ิซาบซึ้ง ยง้ั อยตู ราตรึง ฟุง ฟา ธาตรี ชนใดยนิ ยล ไปพ นพาที สรรเสริญเรานี้ จวบโลกทาํ ลาย 37. ตอบ ขอ 2. “วัฒนธรรมทางจิตใจของชาวไทยท่ีสําคัญ คือ วัฒนธรรมเก่ียวกับความคิด ความเชื่อ และความศรัทธา ในศาสนา” ใชภาษาระดบั ทางการเพอื่ อธิบาย บรรยาย ชแี้ จง อยางตรงไปตรงมา แตกตางจากขอ อ่นื 38. ตอบ ขอ 2. “แฟลต ไอศกรมี ” ขอ 1. คาํ วา “คลนิ คิ ” ทีถ่ ูกตองเขียนวา “คลินิก” ขอ 3. คาํ วา “โควต า” ท่ีถูกตองเขียนวา “โควตา” ขอ 4. คําวา “วาสว ” ทีถ่ กู ตองเขียนวา “วาลว” 39. ตอบ ขอ 2. “ผจญคนมักโกรธดวยไมตร”ี คําวา “ไมตรี” เปนคําทีย่ มื มาจากภาษาสนั สกฤตเชน เดยี วกับคําวา “พฤกษ” 40. ตอบ ขอ 3. การยืมคําจากภาษาหน่งึ เขามาใชใ นอกี ภาษาหน่ึงกระทําได 3 ลกั ษณะ - การทบั ศัพท เปน วธิ กี ารยืมคําจากภาษาหน่งึ เขา มาใชในอีกภาษาหนึ่ง โดยไมมีการเปล่ยี นแปลงรปู เชน เทนนิส (tennis), เทอม (term) เปนตน - การแปลศพั ทคํายืม เปนการยืมความหมายของอีกภาษาหนง่ึ มาใช โดยการแปลความหมายของคาํ ศัพท ชนิดคําตอ คํา ไมใหความสาํ คัญในเรอ่ื งเสยี ง ซง่ึ การแปลศพั ทม ักแปลคําประสมหรอื สํานวนการพดู เชน จุดยืน (stand point), วันสดุ สัปดาห (weekend) เปนตน - การยืมความหมาย เปนการยมื ความหมายซ่งึ เดมิ ไมมีใชในภาษาเขา มาใช และบัญญัติศพั ทข ึ้นมาใชใ หมี ความหมายตรงกับคาํ เดิม เรยี กวธิ นี ว้ี า “การบญั ญัติศพั ท” เรยี กคําท่ีเกิดขน้ึ ใหมน วี้ า “ศัพทบ ัญญัต”ิ เชน “กจิ กรรม” บญั ญตั ิแทนคําวา “activity” “ทกั ษะ” บัญญัติแทนคาํ วา “skill” “วัฒนธรรม” บญั ญตั แิ ทนคาํ วา “culture” (47) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตอนที่ 2 นักเรียนตองใชความสามารถเชิงวิเคราะห พิจารณาวาขอความท่ีกําหนดใหอานมีกลวิธีการใชภาษา เพื่อ ใหบรรลุวตั ถุประสงคทก่ี าํ หนดไวอ ยา งไร โดยคาํ ตอบของนกั เรียนจะตอ งสือ่ สารเกีย่ วกับส่งิ ตอไปนี้ 1. ตอบ 1. วัตถุประสงคหลักของขอความที่กําหนดใหอาน คือ “คําสอนใหเห็นคุณคาความสําคัญของการศึกษา 2. ตอบ หาความรู” 3. ตอบ 2. ประเภทของโวหารท่ีใช คอื “เทศนาโวหาร” 3. ลกั ษณะสาํ คญั ของเทศนาโวหาร คอื “โวหารทมี่ งุ ใหผ รู บั สารเกดิ ความรสู กึ เชอ่ื ถอื เหน็ ดว ย และปฏบิ ตั ติ าม โดยสวนมากมักจะใชนาํ เสนอเน้ือหาทีม่ ีความเกี่ยวขอ งกบั การแนะนํา ส่งั สอน ใหค ตชิ วี ิต” ตวั อยางคําตอบ “ขอ ความทกี่ าํ หนดใหอ า น ผเู ขยี นมวี ตั ถปุ ระสงคห ลกั เพอ่ื ใหผ รู บั สารตระหนกั ในคณุ คา และความสาํ คญั ของการศกึ ษาเลา เรยี น โดยใชเทศนาโวหารเพอ่ื แจกแจงใหเห็นความสาํ คญั ของการศึกษา ไดแ ก ‘ไมม ี ใครขโมยไปได’ ‘ยิ่งใชย ิ่งเพิ่มพนู ’ ‘เปนสมบัติเฉพาะตน แบงใครไมได’ เทศนาโวหารเปนโวหารท่มี งุ ใหผ ู รับสารเกิดความรูสึกเชื่อถือ เห็นดวย และปฏิบัติตาม จึงนับวาผูเขียนเลือกใชกลวิธีการใชภาษาได เหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงคท่กี าํ หนดไว” นักเรียนตองใชความสามารถดานการอานเพื่อตีความบทรอยกรองที่กําหนดให โดยคําตอบของนักเรียน ตองสอ่ื สารเกีย่ วกับเนื้อหา ใจความสาํ คญั ของบทรอ ยกรอง และส่งิ ที่สงั เคราะหห รอื ตคี วามได ตวั อยางคําตอบ “จากบทรอยกรองขางตนเปนโคลงสุภาษิต จากหนังสือดุสิตสมิต พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวฯ ซึ่งมีเน้ือหากลาวถึงเรื่องการสื่อสารโดยใชวัจนภาษาหรือภาษาถอยคํา โดยมี ใจความวา อันการตดิ ตอสื่อสารโดยใชก ารพดู นน้ั ไมว าใครก็อาจกระทําได แตสง่ิ ทสี่ ําคญั กวา การพดู คือ วธิ ี การเรยี งรอ ยถอ ยคาํ ใหถ กู ตอ งเหมาะสมกบั กาลเทศะและสถานภาพของบคุ คล ซงึ่ สงิ่ เหลา นจี้ ะสามารถทาํ ให การพดู สัมฤทธิ์ผล” นักเรียนตองใชความสามารถเชิงวิเคราะห พิจารณาวางานเขียนท่ีกําหนดใหมีกลวิธีการสรางสรรคอยางไร และแสดงความคิดเห็นของตนท่ีมีตอกลวิธีที่วิเคราะหได โดยคําตอบของนักเรียนจะตองสื่อสารเก่ียวกับ ส่งิ ตอ ไปน้ี 1. กลวธิ ีการสรา งสรรคข องผเู ขียน 2. ความเหมาะสมระหวางวิธกี ารทีเ่ ลือกใชก ับส่งิ ท่ีตอ งการสอ่ื สาร 3. ความคิดเห็นสว นตนที่มตี อ กลวธิ ีน้นั โดยใหเ หตุผลประกอบท่ีสมเหตสุ มผล เปน ไปได และนาเช่ือถือ ตวั อยา งคาํ ตอบ “งานท่ีกําหนดใหอ านเปนผลงานของคณุ วินทร เลยี ววารณิ เปน งานเขยี นสรางสรรคด านรูปแบบ กลาวคือ ผเู ขยี นไดค ดิ คน วธิ กี ารนาํ เสนอสาร แกน ของเรอ่ื ง หรอื สงิ่ ทต่ี อ งการสอื่ สารกบั ผอู า นผา นรปู แบบหรอื วธิ กี ารใหม การใชภาพลูกเตาซ่ึงเปนสัญลักษณสากล ส่ือความถึงการพนัน ทําใหผูรับสารแปลความไดวาเงินคาเทอม ของจอม จนั ดร นนั้ หายไปไดอยางไร หรอื หายไปกบั อะไร โดยผูเขียนไมจ ําเปนตองบอกกบั ผูอ านโดยตรง ผูอา นสามารถแปลความไดจากสัญลกั ษณท ่ีผเู ขยี นเลอื กใช ซึ่งเปนวิธีการที่ไดผ ลเพราะทาํ ใหผ อู า นสามารถ แปลความไดดวยตนเอง นอกจากน้ีผูเขียนยังใชประโยคเพียง 2 ประโยคประกอบสัญลักษณ โดยประโยค แรกเปนผลของประโยคที่สอง ในประโยคท่ีสองน้ีผูเขียนเลือกที่จะใชถอยคําสื่อความใหดูเหมือนวา สิ่งท่ี เกดิ ขนึ้ นน้ั เปน เพยี งการทาํ เงนิ หายไป แตเ มอ่ื นาํ มาประกอบกบั ภาพลกู เตา กลบั ทาํ ใหเ กดิ พลงั ของการสอื่ สาร ทีก่ ระทบความรสู กึ ของผูอ า นวา ‘มนั ไมใชเ พียงการทาํ เงนิ หายไป’ ” โครงการวัดและประเมินผล (48)

เฉลยแบบทดสอบ 2ภาคเรย� นท่ี ชุดท่ี 2 ตอนท่ี 1 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 1. ตอบ ขอ 4. จดหมายฉบบั นเ้ี ปน จดหมายทค่ี ณุ ตาเขยี นถงึ หลานชายซง่ึ มอี าการออทสิ ตกิ โดยตดั ตอนมาจากหนงั สอื เรอ่ื ง “ดวงตาของคนทเ่ี รารกั ” สาระสาํ คญั ของจดหมายฉบบั น้ี คอื “เวลาจะชว ยเยยี วยาทกุ สงิ่ ทกุ อยา ง” ทง้ั บาดแผล ทางรางกายและบาดแผลทางจิตใจ โดยสังเกตจากประโยคท่วี า “เมอ่ื เวลาผานไป หลานจะโหยหาสิ่งทีเ่ คยมี ในอดีตนอ ยลง และเรียนรถู ึงส่งิ ทมี่ อี ยูในปจจบุ นั มากขนึ้ ” 2. ตอบ ขอ 2. มนุษยทุกคนตองผานชวงเวลาท่ีเจ็บปวด มากบาง นอยบาง แตกตางกันไป สาเหตุแหงทุกขของมนุษย เกิดข้ึนไดมากมาย เชน ความไมจีรังของทุกส่ิงแตมนุษยกลับยึดมั่นถือม่ัน ทุกขอยูไมนาน และอดีตเปน ครู แตส งิ่ สาํ คญั ทีส่ ดุ คือ มนุษยต องอยูก บั เวลาท่เี ปนปจจุบนั เพราะหากยงั โหยหาอดตี ทผี่ า นไปแลว ชีวติ จะไมมกี าวตอ ไป 3. ตอบ ขอ 4. อุโมงคท่มี ดื มิด ตคี วามไดถงึ ปญหา อุปสรรคตา งๆ ทอี่ าจเกดิ ข้ึนในชวี ิตของมนุษยแ ตล ะคน ดังนั้น เมือ่ เกิด ปญหา เราอาจไมไดตองการแคคนชี้ทางหรือบอกทาง แตตองการคนที่เขาใจและพรอมท่ีจะเดินเคียงขาง กนั ไป สอดคลอ งกบั ขอ ความในจดหมายทว่ี า “ตาอยากอยกู บั คนทร่ี กั ตามากพอทจี่ ะนงั่ อยูในความมดื ดว ยกนั ไมใชค นทีย่ ืนอยขู า งนอก คอยบอกวธิ ีออกจากอุโมงคใหตาฟง ตาคิดวานน่ั คือ ส่งิ ทเี่ ราทกุ คนตอ งการ” 4. ตอบ ขอ 4. จากขอ ความทั้งหมดที่ปรากฏในจดหมายท่ตี าเขียนถึงแซมสามารถคาดคะเนไดวา ในอนาคตแซมอาจตอง พบกับอุปสรรคตางๆ ในระหวางการดําเนินชีวิต ถอยคําในจดหมายของตา จึงเปนเสมือนถอยคําที่เตือน แซมลวงหนา ใหเรียนรู ยอมรับ และเขา ใจเมอื่ ตองพบกบั ปญ หาและอปุ สรรค 5. ตอบ ขอ 3. ถอยคําในจดหมายของตาส่ือสารกับแซมวา มนุษยทุกคนมีความสามารถที่จะเยียวยารักษาบาดแผลของ ตนเอง ถารางกายมีสิ่งจําเปนสําหรับการรักษาบาดแผลทางกาย จิตใจก็มีส่ิงจําเปนในการรักษาบาดแผล ทางจิตใจเชน กนั ดงั น้นั ความสามารถในการเยยี วยาตนเองจงึ มอี ยูในมนุษยท กุ คน 6. ตอบ ขอ 4. ขอคิดที่ไดรับจากจดหมายท่ีตาเขียนถึงแซมทําใหรูวา มนุษยทุกคนมีความสามารถท่ีจะเยียวยาและรักษา ตนเอง แตท กุ สงิ่ ทกุ อยา งตอ งใชเ วลา เวลาจะเปน ตวั ชว ยใหแ ผลสมานไดเ รว็ ขน้ึ และสกั วนั ผนู นั้ จะผา นอปุ สรรค ปญ หาตา งๆ ไปได ดงั นน้ั จดหมายของตาจงึ ใหขอ คิดวา ทุกคนมปี ญ หาและจะสามารถผา นไปได 7. ตอบ ขอ 3. จากขอ ความที่วา “ฉนั กาํ ลังเจ็บปวดจากสง่ิ ทค่ี นอน่ื กระทาํ …” สือ่ สารใหเหน็ วา ในบางครัง้ มนษุ ยอ าจกลาว โทษวา ความเจบ็ ปวดทางจิตใจทีเ่ กิดขึ้นกับตนเองนัน้ เปน ผลจากการกระทาํ ของผูอื่น ซงึ่ นั่นเทากบั เปนการ กลา วโทษผอู นื่ โดยไมค ดิ พจิ ารณาสาเหตแุ หง ทกุ ข สาเหตแุ หง ความเจบ็ ปวดของตนเองใหด เี สยี กอ นวา ตนเอง เปนตนเหตุหรอื ไม การกลา วโทษผูอืน่ จะทาํ ใหม องไมเห็นความผิดของตนเอง ซ่ึงอาจเปนอุปสรรคของการ แกไ ขปญ หา 8. ตอบ ขอ 4. “มนุษยลวงทกุ ขไดอ ยา งไร” เหมาะสมท่จี ะเปนประเดน็ หลกั ของการเขยี นแผนผังความคิดที่ไดจากการอา น จดหมายของตาท่ีเขียนถึงแซม และเกิดประโยชนในทางท่ีจะทําใหผูอื่นไดรับรูเกี่ยวกับวิธีตางๆ ท่ีจะทําให พนทกุ ข ซ่งึ เปนประเด็นรองหรือกา นที่จะแตกออกไปจากประเดน็ หลักดังกลาว 9. ตอบ ขอ 3. บทรอยกรองในตัวเลือกที่ 1., 2., และ 4. ผูอ านออกเสยี งควรใชน ํ้าเสียงท่ขี ึงขัง กระชับ สัน้ และหว น เพอ่ื ส่อื แสดงอารมณข ึงขงั เคยี ดแคน สว นขอ 3. ผูอ านออกเสยี งควรใชน า้ํ เสยี งที่เนบิ ชา ออ นหวาน เพ่ือชน่ื ชม ความสวยงามของหญงิ สาว (49) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 10. ตอบ ขอ 4. พฤติกรรมของพรรณลดามีความเหมาะสมหรือเปนผูมีมารยาทในการอานมากที่สุด เพราะเปนพฤติกรรม ท่ีไมเปนการลวงละเมิดสิทธิ เสรีภาพ หรือสรางความเดือดรอนรําคาญใจใหแกบุคคลอื่น เมื่อตองใช สาธารณสมบัตริ วมกนั 11. ตอบ ขอ 2. ขอความท่ีกําหนดใหอานปรากฏกลวิธีการเขียนเรียบเรียงท่ีโดดเดน คือ การใชถอยคําเพื่อสรางจินตภาพ หรอื ภาพพจน ความรูส ึกใหเ กิดขึน้ กับผูอา น เรยี กกลวธิ กี ารเขียนน้วี า การเขยี นแบบพรรณนา 12. ตอบ ขอ 3. คาํ ทกี่ าํ หนดใหเ ปน คาํ เงอื่ นไข คอื “โพยม” ซง่ึ ไมใชค าํ ที่ใชพ ดู หรอื เขยี นสอื่ สารในชวี ติ ประจาํ วนั แตใชส อื่ สาร ในงานเขียนทีต่ องการความสวยงามและลึกซง้ึ ของภาษา เชน บทรอยกรอง เปน ตน เมือ่ วิเคราะหต ัวเลือก ในแตล ะขอพบวา “พฤกษา” หมายถึง พืช ตนไม “สรวง” หมายถึง สวรรค โดยทงั้ สองคาํ ไมใชค ําท่ีใชส อ่ื สาร ในชีวิตประจําวัน แตเปนถอยคําที่โดยมากพบในบทรอยกรอง สวนคําอื่นๆ พบใชสื่อสารโดยท่ัวไปในชีวิต ประจาํ วนั 13. ตอบ ขอ 2. “แมลงลมื กนิ ใบไมห รอื อยา งไรรว งกราวออกอยา งน”ี้ ปรากฏคาํ ซงึ่ สอื่ แสดงใหเ หน็ จาํ นวนหรอื ปรมิ าณของใบไม ท่รี วงหลน ลงสพู ้นื เปน จํานวนมาก คือ คาํ วา “กราว” ขอ 1. และขอ 3. ไมปรากฏคาํ แสดงปรมิ าณ แตใชค าํ เพ่ือสรา งจนิ ตภาพหรือภาพพจน สว นขอ 4. คําวา เดนิ เดนิ ไมไ ดบ อกจํานวน แตแสดงภาพการเคล่อื นไหว 14. ตอบ ขอ 4. “มาถึงแลวกระเปาหนงั แทจากสหรัฐอเมรกิ า” ปรากฏภาษาในเชิงจิตวิทยา ซ่ึงจะสง ผลตอการโนม นา วจติ ใจ ของผูรับสาร โดยกระตุนใหเกิดความตองการในสินคา สวนขออ่ืนใชภาษาสื่อสารกับผูรับสารอยางตรงไป ตรงมา ไมแ สดงเจตนาโนมนาวใหเ กิดความตองการในสนิ คา หรือบรกิ าร 15. ตอบ ขอ 3. ภาษาท่ีใชสําหรับการแสดงทรรศนะหรอื การแสดงความคดิ เห็นควรเปนถอ ยคาํ กะทัดรัด ปรากฏความหมาย แจมชัด เรียงลําดับเน้ือความไมสับสน การสังเกตวาขอความใดเปนการแสดงทรรศนะหรือไม ใหสังเกต คําหรือกลุมคํากริยาทช่ี ว ยสรปุ ทรรศนะ เชนคาํ วา “นา” “นา จะ” “คง” “ควรจะตอ ง” ดงั นน้ั ขอ 3. จึงเปน ขอ ความท่ีแสดงทรรศนะแตกตา งจากขอ อ่ืนๆ ที่เปนเพยี งการส่อื สารขอ เท็จจรงิ 16. ตอบ ขอ 2. จากขอ ความในจดหมายทร่ี ะบใุ ห อนมุ านไดว า ผเู ขยี นมจี ดุ มงุ หมายเพอ่ื ขอความรว มมอื หรอื ขอความอนเุ คราะห จากหนวยงานหรอื บุคคลเพ่ือใหเกยี รตมิ าเปนวทิ ยากรบรรยายใหความรแู กนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 17. ตอบ ขอ 2. การเขยี นเร่อื งบนั เทิงคดีท้งั เรอ่ื งสั้นและนวนิยาย แนวคิด แกน เรือ่ งเปนแกนหรอื สารหลกั ทผ่ี เู ขยี นตองการ สอื่ สารไปสผู อู า น ลกั ษณะสาํ คญั ของเรอื่ งสน้ั คอื มแี นวคดิ หรอื แกน เรอ่ื งเดยี ว ผเู ขยี นจะกาํ หนดแนวคดิ กอ น เปน ลาํ ดับแรก สว นผูอานจะทราบแนวคิดกต็ อ เมอ่ื อานจนจบเรื่อง 18. ตอบ ขอ 3. การสรา งสรรคง านเขยี นบนั เทงิ คดปี ระเภทเรอ่ื งสน้ั ผเู ขยี นจะกาํ หนดแกน เรอื่ ง หรอื แนวคดิ หลกั ของเรอื่ งขน้ึ เปนลําดับแรก วา ตอ งการสื่อสารส่งิ ใดกับผอู า น จากนน้ั จึงวางโครงเร่ืองและบรรจงสรา งสรรคอ งคป ระกอบ อ่ืนๆ เชน ตัวละคร ฉาก บรรยากาศ บทสนทนาของตัวละคร เปนตน เพือ่ ทาํ หนา ท่ีถา ยทอดแนวคิด ซง่ึ การสรา งสรรคง านเขยี นบนั เทงิ คดปี ระเภทเรอื่ งสนั้ จะมโี ครงเรอ่ื งเดยี ว ไมม คี วามซบั ซอ น ดว ยขอ จาํ กดั เรอ่ื ง ความยาว ซ่ึงแตกตางจากโครงเรื่องของงานเขียนบนั เทิงคดปี ระเภทนยิ าย 19. ตอบ ขอ 3. ข้นั ตอนการวิเคราะห วิจารณ ตัดสินประเมนิ คา สารคดีควรเรมิ่ จากอา นเร่อื งอยา งละเอยี ด วิเคราะหประเภท และจุดมงุ หมายของผูแตง วเิ คราะหเ นื้อเรอ่ื งและสว นประกอบตางๆ ของงาน เชน ช่อื เร่อื ง ขอ มูลที่ปรากฏ สาํ นวนภาษา เปนตน วเิ คราะหกลวธิ กี ารเขยี นและผแู ตง 20. ตอบ ขอ 4. การประเมนิ คณุ คา งานเขียน คือ การตดั สินวา เรื่องน้นั ๆ มีคณุ คาอยางไร ทงั้ คุณคาดา นการแตง ดา นเนอ้ื หา ที่ใหแนวคิด ซึ่งเปนประโยชนตอผูอานและสังคมสวนรวม การประเมินคุณคางานเขียนไดน้ัน ตองผาน ขัน้ ตอนการวิเคราะห วิจารณ โดยปราศจากอคติ โครงการวัดและประเมินผล (50)

21. ตอบ ขอ 4. กลวธิ ีการเขยี นท่ีโดดเดน ของจดหมายที่ตาเขยี นถงึ แซม คือ การใชภาษาเปรียบเทียบเพอื่ ใหผูอา นประจักษ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ แจงในความจริง กระท่ังเกิดความคลอยตาม โดยเปรียบเทียบใหเห็นวา ในรางกายมีส่ิงจําเปนสําหรับการ รักษาบาดแผลทางรางกาย เชนเดียวกันหัวใจของมนุษยก็ยอมมีส่ิงจําเปนสําหรับการเยียวยารักษาความ เจ็บปวดหรือบาดแผลทางจิตใจ นอกจากน้ียังเปรียบเทียบชวงชีวิตในยามที่มีปญหาวาเหมือนการน่ังอยูใน อโุ มงคท่มี ืดมดิ 22. ตอบ ขอ 4. จดหมายที่ตาเขียนถึงแซม มีลักษณะในเชิงบอกกลาว ตักเตือน ใหเตรียมพรอมรับมือกับทุกสถานการณ ทจี่ ะตอ งพบในอนาคต ดงั นน้ั แซม จงึ เปน เสมอื นตัวแทน หรือเปนตัวกลางการสงสารของตาไปยังบุคคล ท้งั หลายทีย่ ังขาดประสบการณในการใชช ีวิต 23. ตอบ ขอ 3. “เมอ่ื พระองคสาํ เรจ็ พระโพธญิ าณแลว จะไดช ี้ทางนพิ พาน ชว ยสรรพสตั วท ง้ั หลายใหพนทุกข” เปน ขอสรุป และช้แี จงท่มี ีความสมเหตสุ มผล เปน ไปไดแตกตา งจากขอ อ่ืนๆ ทขี่ อ สนับสนนุ ไมช ดั เจน 24. ตอบ ขอ 4. จากบทพดู ดงั กลา ว สามารถอนมุ านหรอื คาดการณไดว า ผพู ดู มจี ดุ ประสงคเ พอ่ื อธบิ ายเกย่ี วกบั วธิ ผี อ นคลาย กลา มเนอื้ หลงั ออกกาํ ลงั กาย เพราะถอ ยคาํ ภาษาทปี่ รากฏใชไ มม ลี กั ษณะเชญิ ชวนใหม าออกกาํ ลงั กาย โตแ ยง เกย่ี วกบั วธิ กี ารออกกําลังกาย หรอื เตอื นภยั เกย่ี วกบั การออกกําลังกายท่มี ากเกนิ ไป 25. ตอบ ขอ 4. โจทยถามถึงความนาเชื่อถือในดานเนื้อหา ไมไดถามถึงความนาเช่ือถือในตัวของผูพูด จึงควรพิจารณาใน สวนเนื้อหาของบทพูดเพียงประการเดียว จากเนื้อหาพอจะอนุมานไดวา บทพูดดังกลาวมีความนาเช่ือถือ เพราะจากการศกึ ษาทางการแพทยพบวา เม่อื มนษุ ยอ อกกาํ ลงั กาย หัวใจจะทาํ งานหนักขน้ึ ดวยการสูบฉีด โลหติ ไปเล้ยี งสวนตางๆ ของรางกาย กลามเน้ือทาํ งานเรว็ กวา ปกติ ดังน้นั การผอนคลายกลามเน้อื หลงั การ ออกกาํ ลังกายจึงมคี วามสอดคลองกับขอ เท็จจรงิ ทางการแพทย 26. ตอบ ขอ 1. “วธิ ีผอ นคลายกลามเน้ือหลงั ออกกําลงั กาย” เพราะขอ มลู ทป่ี รากฏอธิบายใหเหน็ วิธกี ารท่ีจะทาํ ใหกลามเน้ือ คอ ยๆ ผอ นคลายลงจนอยูในภาวะปกติ 27. ตอบ ขอ 4. การฟงเพ่ือแสวงหาความรู คือ การฟงเพ่ือใหตนเองเกิดความรู ความเขาใจในส่ิงท่ีไดฟงมากยิ่งข้ึน หรือ เปนการฟงเพอ่ื เพม่ิ พูนความรู โดยการฟง นัน้ อาจเปน การฟงสงิ่ ใหม หรือฟง ในส่ิงเดมิ เพอ่ื ขยายความรขู อง ตนเองใหกวา งขวางออกไป ดังนั้น การฟงของสุนันทจึงเปน การฟงเพอ่ื แสวงหาความรเู ดน ชัดที่สดุ 28. ตอบ ขอ 3. ความจรงิ ใจของผพู ดู ทแ่ี สดงผา นถอ ยคาํ สาํ นวน ภาษาที่ใชเ พอื่ การพดู โนม นา วใจ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคก ารพดู แตกตา งกนั ผฟู งจะสามารถจับความจริงใจของผพู ูดผา นถอยคาํ นํ้าเสียง แววตา บคุ ลิกภาพ ทั้งหมดน้ีจะ ถกู ผูฟ ง ประเมิน และแปรผลการประเมินนัน้ เปนความเช่ือมนั่ เชอ่ื ถอื ความศรทั ธาในผพู ูด โดยความศรทั ธา สงผลอยางมากตอความสําเร็จของการพูดโนมนาวใจ เม่ือเช่ือมั่นอยางแรงกลา ยอมทําใหเกิดความรูสึก คลอยตามไดโ ดยงาย 29. ตอบ ขอ 4. เพราะถอ ยคาํ ภาษาทเ่ี รยี บเรยี งมคี วามสมเหตสุ มผลนา เชอื่ ถอื อยบู นพนื้ ฐานของประโยชนส ว นรวม ประโยชน ของประเทศชาติ ไมใชก ารพูดเพือ่ เอือ้ ประโยชนใหแกผหู นง่ึ ผใู ด หรือกลมุ บคุ คลใด ผูพ ูดใชวิธกี ารใหผฟู ง คลอ ยตาม ประจกั ษในความจรงิ ดว ยตนเอง และสดุ ทา ยจะเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมใหส อดคลอ งกบั จดุ มงุ หมาย ของผพู ดู ซึง่ บทพูดนี้ คอื การจดั หาหนงั สือดีๆ ใหเยาวชนไดอ า น 30. ตอบ ขอ 3. การสนทนาในชวี ิตประจาํ วัน แมเปน สงิ่ ท่ีเกดิ ขน้ึ อยา งสมาํ่ เสมอ แตค วรใหความสาํ คัญ เพราะการสนทนาที่ ดีสรา งมิตรแท มติ รทย่ี ่งั ยนื เชน เดียวกับการสนทนาท่ีไมคาํ นึงถึงและไมใสใจผูร ว มสนทนา ก็อาจสรางศัตรู ขน้ึ ไดโ ดยไมร ตู วั การเลอื กหวั ขอ สนทนาในชวี ติ ประจาํ วนั ใหเ หมาะสมควรพจิ ารณาในดา นเพศ อายุ และนสิ ยั ของคสู นทนาเปน สาํ คัญ เพราะสง่ิ เหลานเี้ ปน สง่ิ ทส่ี ะทอ นใหเ หน็ ความสนใจของผูร ว มสนทนา สง ผลตอการ เลือกหวั ขอสนทนาไดสอดคลองหรือตรงกบั ความสนใจ (51) โครงการวัดและประเมินผล

31. ตอบ ขอ 1. “พระราชสาสน” เปนคําราชาศัพทของจดหมายท่ีพระมหากษัตริยเขียนเพ่ือเจริญสัมพันธไมตรี ขอ 2. พระราชหัตถเลขา เปน คําราชาศัพทของคําวา จดหมาย บัญญตั ิใชแก พระมหากษัตรยิ  ขอ 3. ลายพระราช- หตั ถ เปน คาํ ราชาศัพทของคําวา จดหมาย บัญญัติใชแก สมเด็จพระบรมราชินนี าถ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเด็จพระบรมราชชนก สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ขอ 4. ลายพระหตั ถ เปน คาํ ราชาศพั ท ของคําวา จดหมาย บัญญัติใชแ กพระราชวงศต ั้งแตส มเดจ็ เจา ฟา ถึงหมอ มเจา 32. ตอบ ขอ 2. จากขอความทก่ี ําหนดใหอานจะตองเตมิ คําวา “ทรงพระราชปฏิสนั ถาร” ดวยเหตทุ ีว่ า จะไมใช “ทรง” นาํ หนา คาํ กรยิ าสามญั ทมี่ นี ามราชาศพั ทต อ ทา ย โดยอาจใชว า “ทรงพระราชปฏสิ นั ถาร” หรอื “มพี ระราชปฏสิ นั ถาร” ไดท ้งั สองคํา 33. ตอบ ขอ 4. สามารถใชท รงเปนกรยิ านุเคราะห นาํ หนากรยิ าสามัญเพื่อใหเปน กรยิ าราชาศพั ทได แตจะไมใชทรงนําหนา กริยาทเ่ี ปนราชาศพั ทอยูแ ลวเปนอนั ขาด เชน บรรทม, ทอดพระเนตร, เสวย, ประทบั , สรง, ตรสั , ดํารัส, กริ้ว, โปรด, ประชวร เปนตน โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 34. ตอบ ขอ 2. จะไมใช “ทรง” ประกอบหนา คาํ กรยิ าสามญั ทม่ี นี ามราชาศพั ทต อ ทา ย ขอ 1. ประกอบคาํ ผดิ โดยใชท รงประกอบ หนาคาํ กรยิ าสามญั ซึง่ มีนามราชาศัพทต อ ทา ย ขอ 3. กรณเี ชน เดยี วกับขอ 1. สว นขอ 4. ใชค าํ ราชาศพั ทไม ถูกตอ ง 35. ตอบ ขอ 2. “กระทรวงการทองเทยี่ วและกีฬาจัดกิจกรรมสง เสรมิ การทองเท่ียว” ใชภ าษาระดับทางการ ชดั เจน มคี วาม สุภาพ ขณะท่ีขออ่ืนๆ ใชภาษาระดับก่ึงทางการและไมเปนทางการในการส่ือสาร ไดแก ขอ 1. ปดฉาก ขอ 3. คกึ คกั และขอ 4. พุง 36. ตอบ ขอ 2. “เห็ดขอนถึงจะเปนเห็ดในสกุลของเห็ดหอมแตรูปรางหนาตาเหมือนเห็ดนางรม” ใชภาษาระดับไมเปน ทางการส่อื สารกบั ผอู า น โดยปรากฏคาํ วา “ถงึ จะเปน” “รปู รา งหนา ตา” สว นในขออ่นื ใชภาษาระดับทางการ เพือ่ การสื่อความ 37. ตอบ ขอ 4. พจิ ารณาเรียงลาํ ดบั บทรอ ยกรองใหม ีความสอดคลองกบั ฉันทลกั ษณได ดังน้ี อิลราชจรลา มฤคาบมแิ คลง ลุสลานศวิ แปลง ดนุแปลกนยนา 38. ตอบ ขอ 3. บทรอยกรองทีก่ ําหนดใหมลี กั ษณะฉนั ทลกั ษณต รงกบั วชิ ชุมมาลาฉนั ท ดงั นี้ แรมทางกลางเถอื่ น หางเพือ่ นหาผู หนงึ่ ใดนกึ ดู เหน็ ใครไปม ี ั ั ัั ัั ั ั ัั ัั ัั ัั 39. ตอบ ขอ 4. มีลกั ษณะการวางรปู ประโยคผิด ดว ยการนําคาํ ทเี่ ปน จํานวนนบั มาอยหู นาคาํ นาม ท่ีถูกตองใชว า “ประกาศ ปดไฟแนนซหาสิบสามแหง” ซึ่งวิธีการเรียบเรียงประโยคในตัวเลือกเปนการเขียนอยางสํานวนตางประเทศ โดยมากมักพบในภาษาขา ว หนงั สอื พมิ พ การเขียนพาดหวั ขาว 40. ตอบ ขอ 2. การยมื คาํ ภาษาตา งประเทศเขา มาใชในภาษาไทย นอกจากจะทําใหภาษาไทยมีคาํ ใชเ พ่ิมมากขึ้นแลว การ ยมื คาํ ยังสงผลตอสว นตางๆ ของภาษาไทย ท้งั ในสว นของเสียง คํา ประโยค หรอื โครงสรางไวยากรณ เชน ทําใหม เี สียงควบกล้าํ ใชมากขน้ึ ซ่งึ เปนอทิ ธพิ ลของภาษาอังกฤษ ทาํ ใหม คี ําไวพจน หรือคาํ ทม่ี ีความหมาย เดยี วกนั เลอื กใชใ หเ หมาะสมกบั รปู แบบการเขยี นและความถกู ตอ ง ดงั นนั้ การเขา มาของคาํ ภาษาตา งประเทศ จงึ ไมใชเ หตุผลหลกั ท่ีทาํ ใหค าํ ไทยแทถ ูกกลนื หาย โครงการวัดและประเมินผล (52)

ตอนที่ 2 นักเรียนตองใชความสามารถดานการอานเพื่อตีความบทรอยกรองท่ีตัดตอนมาจากวรรณคดีเร่ือง “มัทนะ- โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ พาธา” โดยคาํ ตอบของนกั เรียนจะตอ งสื่อสารเก่ยี วกบั แนวคิดและส่งิ ที่ไดรบั หรือส่ิงทส่ี ังเคราะหได 1. ตอบ ตัวอยา งคาํ ตอบ 2. ตอบ “บทประพนั ธข า งตน มาจากวรรณคดเี รอ่ื ง มทั นะพาธา พระราชนพิ นธในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยูหัว ซ่ึงเปนวรรณคดีที่มีเน้ือหาเก่ียวกับความรักท่ีไมสมหวัง โดยคําวา “มัทนะพาธา” มาจากภาษา 3. ตอบ สันสกฤตที่มีความหมายวา “ความเจ็บหรอื ความเดอื ดรอนแหงความรกั ” จากบทประพันธน ้ีไดแสดงแนวคดิ หรือแงมุมท่ีนาสนใจเกี่ยวกับความรักไววา เมื่อเร่ิมรักกัน แมอีกฝายจะมีขอเสียหรือทําผิดอยางไร เราก็ สามารถยอมรับและใหอภัยได อีกทั้งความรักยังเปนแรงผลักดันใหเรายอมกระทําทุกสิ่งทุกอยาง แมวาสิ่ง น้ันจะไมถูกตอ งเหมาะสมก็ตาม เราจงึ ควรพิจารณาความรักใหเ ขา ใจอยางลกึ ซึ้งถอ งแท ซึง่ จะเปน หนทาง ในการปองกนั ความเจ็บหรือความเดือดรอ นอันเกิดจากความรัก” นักเรียนตองใชความสามารถเชิงวิเคราะหพิจารณาวาขอความท่ีกําหนดใหมีกลวิธีการใชภาษาเพ่ือใหบรรลุ วตั ถปุ ระสงคอ ยา งไร โดยคาํ ตอบของนกั เรยี นจะตองสื่อสารเกีย่ วกบั สง่ิ ตอไปนี้ 1. วัตถุประสงคหลักของขอความท่ีกําหนด คือ “พรรณนาใหเห็นภาพขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา ซ่ึง เสด็จมายงั เมืองราชคฤหในเวลายามเยน็ ” 2. ประเภทของโวหารทผี่ ูเขียนเลือกใชค อื “พรรณนาโวหาร” 3. ลกั ษณะสาํ คญั ของพรรณนาโวหาร คอื “โวหารทมี่ งุ สรา งจนิ ตนาการหรอื ภาพพจนใหแ กผ อู า น ดว ยถอ ยคาํ ที่สรา งอารมณ ความรูสกึ เหน็ ภาพของสง่ิ ท่ผี เู ขยี นกลาวถงึ ไดช ดั เจนยิ่งขึน้ ” ตัวอยางคาํ ตอบ “ขอ ความทก่ี าํ หนดใหอ า น ผเู ขยี นมวี ตั ถปุ ระสงคห ลกั เพอื่ ใหผ รู บั สารเกดิ ภาพพจน หรอื จนิ ตภาพถงึ ความ อศั จรรยเ มอ่ื พระพทุ ธองคเสดจ็ มายังเมืองราชคฤหในเวลายามเย็น เรยี กกลวิธีนี้วา “พรรณนาโวหาร” โดย เลือกใชถ อ ยคําทีส่ รางจนิ ตภาพประกอบใชก ับอปุ มาโวหาร หรือการเขยี นในเชงิ เปรยี บเทียบ เพือ่ สรางภาพ ใหชัดเจนยง่ิ ข้นึ ดังความวา “เบอื้ งบนมีกลมุ เมฆเปน คลนื่ ซอนซับสลับกันเปน ทวิ แถวตอ งแสงแดดจบั เปนสี ระยบั วะวับแววประหนึง่ เอาทรายทองไปโปรยปรายเลือ่ นลอยลิ่วๆ เร่ยี ๆ รายลงจดขอบฟา…” นักเรียนใชความสามารถดานการวิเคราะหเพ่ือใหทราบเก่ียวกับกลวิธีการสรางสรรคของผูเขียน จากนั้น จงึ ใชความสามารถดานการเขยี นสรางสรรคผ ลงานของตน โดยควรมลี ักษณะ ดังน้ี 1. มแี นวคดิ ที่ตองการสอ่ื สารชดั เจน 2. มแี นวทางการสรางสรรคสอดคลองกบั งานเขยี นท่ีกาํ หนดให คอื “การสรางสรรคเชิงภาษาดว ยการใชคาํ คําเดิมซํ้ากันเมื่อขึ้นประโยคใหม เปนการซํ้าคําเพื่อยํ้าและเพิ่มน้ําหนักของความ และเกิดประโยคเชิง คาํ ถามทีส่ ง ผลตอการตง้ั คาํ ถามกบั ตนเองของผอู าน” 3. ถอ ยคําภาษาที่เลอื กใชม ีความเหมาะสม กลา วคือ สมคํา สมความกับแนวคดิ ท่ตี องการสื่อสาร (53) โครงการวัดและประเมินผล

สรา้ งอนาคตเดก็ ไทย ดว้ ยนวตั กรรมการเรยี นรรู้ ะดบั โลก Shape the FUTURE >> ราคาเลม่ นกั เรยี นโปรดดจู ากใบสง่ั ซอ้ื ของ อจท. คูมือครู บร.ภาษาไทย หลักภาษาฯ ม.6 บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั 8 8 5 8 6 4 9 1 2310604 6.- 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200 โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) ราคาน้ี เปน็ ของฉบบั คมู่ อื ครเู ทา่ นน้ั www.aksorn.com Aksorn ACT


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook