๑๖๙ ราชอาณาจักรไทยท่ีแมจะไดกาํ หนดใหรฐั จะตองใหความเปน& อสิ ระแก#องค*กรปกครองส#วนทองถิ่นตามหลักแห#ง การปกครองตนเองตามเจตนารมณ*ของประชาชนในทองถิ่น หากแต#รัฐธรรมนูญยังไดใหความสําคัญกับการ ตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายของการกระทําของทองถ่นิ ดงั เดิม โดยกําหนดใหองค*กรปกครองส#วนทองถิ่น อยู#ภายใต “การกํากับดูแลจากราชการบริหารส&วนกลาง” โดยตอง “ทําเท&าที่จําเป4น” ภายใตหลักเกณฑ* วิธีการ และเง่ือนไขท่ีชัดเจน สอดคลองและเหมาะสมกับรูปแบบขององค*กรปกครองส#วนทองถ่ินน้ันๆ ท้ังน้ี ภายใตวตั ถปุ ระสงค*เพ่อื การคมุ ครองประโยชน*ของประชาชนในทองถนิ่ หรอื ประโยชนข* องประเทศเปน& สว# นรวม สําหรับขอเสนออื่นที่เกี่ยวกับการปรับระบบการบริหารจัดการสถานศึกษานิติบุคคลไปเป&นองค*การ มหาชนตามพระราชบัญญัติองค*การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ กับการจัดการสถานศึกษานิติบุคคลใหมีความ คล#องตัวในลักษณะเดียวกับมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐนั้น แมการจัดการศึกษาในสองรูปแบบดังกล#าวจะไม# กระทบต#อโครงสรางการบริหารราชการแผ#นดินก็ตาม หากแต#กฎหมายยังคงกําหนดใหสถานศึกษาอย#ูภายใต “การกาํ กบั ดูแล” จากรัฐซึ่งในที่น้ีคือ “รัฐมนตรีว&าการกระทรวงศึกษาธิการ” ดังเดิม ซ่ึงผูวิจัยเห็นว#าภายใต อํานาจในการกํากับดูแลน้ัน มิไดหมายความว#าสถานศึกษาจะมีความคล#องตัวและเป&นอิสระจนปราศจากการ ตรวจสอบแต#อย#างใด ตรงกันขามสถานศึกษากลับยังคงตองอยู#ภายใตการกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต “เกณฑ9มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของชาติ” ท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนดดังเดิม ซ่ึงการ ปรับเปล่ียนท้ังสองรูปแบบน้ี เรียกรอง “ความพรอม” ของสถานศึกษาในทั้งสี่ดานเป&นหลัก ซึ่งผูวิจัยเห็นว&า สถานศึกษาท่ีมีความพรอมดังกล&าวจึงมีแต&เพียงสถานศึกษาขนาดใหญ&ท่ีมีผูเรียนต้ังแต& ๑,๕๐๐-๒,๔๙๙ คนหรือขนาดใหญ&พิเศษท่ีมีผูเรียนตั้งแต& ๒,๕๐๐ คนข้ึนไปเท&านั้น ทั้งนี้ การพิจารณานี้ยังไม#รวมไปถึง “ความสมัครใจของบุคลากร” ท่ีเป4นเง่ือนไขที่สําคัญประการหน่ึงของการประเมินความพรอมสําหรับการ ถ&ายโอนอีกดวย เพราะฉะนั้น ภายใตโครงสรางการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในป.จจุบัน การบริหารจัดการการศึกษาโดย “สถานศึกษา” จึงเป&นการบริหารจัดการศึกษาโดยราชการส#วนกลางใน ลักษณะของการแบ#งอํานาจบางส#วนของราชการบริหารส#วนกลางคือกระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไปยังหน#วยงานในสังกัดของราชการบริหารส#วนกลางในพ้ืนที่คือ สถานศึกษาท่ีแมจะมีขอบกพร#องหรืออุปสรรคในการบริหารจัดการที่ไม#มีความเป&นอิสระและคล#องตัว ผูวิจัย เห็นว&าการพยายามแกไขหรือปรับเปลี่ยนใหสถานศึกษามีความคล&องตัวและเป4นอิสระมากข้ึนโดยใช แนวคดิ จงั หวดั จัดการตนเองโดยกลบั ไปตงั้ ฐานทจ่ี งั หวัดอาจไม&เหมาะสมและไม&ใช&วิธีการแกไขปEญหาท่ีตรง ประเด็นประกอบกับ เม่ือพจิ ารณาเชงิ โครงสรางของกระทรวงศึกษาธิการ พบว#าไดถูกออกแบบมาเพ่ือใหมีการ กระจายอํานาจไปยังสถานศึกษาอย#างโดยมีเขตพ้ืนที่การศึกษาเป&นเสมือนพ่ีเลี้ยงใหแก#สถานศึกษา เพราะฉะนั้น เมื่อการกระจายอํานาจทางการศึกษาไม#สามารถดําเนินการไดตามเจตนารมณ*ของกฎหมายว#า ดวยการศึกษาแห#งชาติ ผูวิจัยเห็นว&ากระทรวงศึกษาธิการอาจดําเนินการปรับปรุงหรือแกไขกระบวนการ วธิ ีการ หรอื เง่อื นไขของการกระจายอํานาจใหเหมาะสม ที่ป.จจุบันอย#ูภายใตกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ* และวิธีการกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๐ และประกาศสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่อง การกระจายอํานาจการบริหารและจัดการการศึกษาของเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานไปยงั คณะกรรมการ สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา และสถานศึกษาในสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงต#างกําหนดเง่ือนไข วิธีการกระจายอํานาจ โดยคํานึงถึงความพรอมของหน#วยรับการกระจายอํานาจคือสถานศึกษาใหเหมาะสม อีกท้ัง กระทรวงศึกษาธิการควรเร&งดําเนินการตรากฎหมาย ซ่ึงเป4นเสมือน “เครื่องมือ” ของสถานศึกษาเพ่ือ รองรับความเป4นนิติบุคคลของสถานศึกษาใหสามารถดําเนินการไดอย&างสมบูรณ9โดยไม&จําตองแกไข รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณเร่อื ง การกระจายอาํ นาจการบริหารการศึกษาในระดบั จังหวดั เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
๑๗๐ เปล่ียนแปลงโครงสรางการบริหารจัดการการศึกษาตามท่ีกําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแห&งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แต&อย&างใดนอกจากน้ี แมสถานศึกษานิติบุคคลจะถูกปรับเปล่ียนใหมีความเป&นอิสระและ คล#องตัวมากขึ้นในรูปแบบใดก็ตาม ผูวิจัยเห็นว&าการปรับเปลี่ยนดังกล&าวน้ัน จําตองเป4นการดําเนินการ ลักษณะค&อยเป4นค&อยไป โดยกระทรวงศึกษาธิการย&อมมีอํานาจตามกฎหมายในการท่ีจะริเริ่มนําร&อง ดําเนินการกับเฉพาะสถานศึกษานิติบุคคลบางแห&งท่ีมีความพรอมก&อนแลวค&อยขยายผลออกไปยัง สถานศึกษาอื่นในภายหลังอย#างไรก็ตาม เมื่อมีการปรับเปล่ียนรูปแบบแลว กระทรวงศึกษาธิการจําตอง ดําเนินการกําหนดระบบหรือกติกาพิเศษท่ีใชบังคับกับเฉพาะสถานศึกษาในกล#ุมน้ีเพ่ือใหสามารถบริหาร จดั การการศึกษาไดอย#างมีคุณภาพและคล#องตวั ภายใตมาตรฐานการศึกษาของชาตนิ นั่ เอง รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณเรือ่ ง การกระจายอาํ นาจการบรหิ ารการศึกษาในระดบั จงั หวัด เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
๑๗๑ บรรณานุกรม ประยรู กาญจนดลุ . คําบรรยายกฎหมายปกครอง. สาํ นกั พิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั . กรุงเทพฯ. ๒๕๓๘ ชาญชัย แสวงศักดิ์. กฎหมายเก่ียวกับการบรหิ ารราชการแผนดิน.สํานักพมิ พนิตธิ รรม.๒๕๔๒ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. ขอมูลจํานวนโรงเรียนจําแนกตามขนาดจํานวนนักเรียน ป$ การศึกษา ๒๕๕๘ (ข4อมูล ณ เดือนตุลาคม ๒๕๕๘) http://www.bopp-obec.info/home/ (Assessed 10/12/2015) โกวิทย พวงงาม. การปกครองทองถิ่นวาดวยทฤษฎี แนวคิด และหลักการ. สํานักพิมพเอ็กซเปอรเน็ท ๒๕๕๐. อ4างใน ชุมพล อุRนพัฒนาศิลปT. คลื่นลูกที่สองของการกระจายอํานาจ จังหวัดจัดการตนเอง และนครแมRสอด.สถาบันสทิ ธมิ นษุ ยชนและสันตศิ ึกษา มหาวิทยาลัยมหดิ ล.๒๕๕๗ ชมุ พล อRุนพฒั นาศลิ ปT. คลน่ื ลกู ทสี่ องของการกระจายอํานาจ จังหวัดจัดการตนเองและนครแมสอด.สถาบัน สทิ ธมิ นษุ ยชนและสนั ติศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหิดล ๒๕๕๗. James Katorobo. Decentralization and Local Autonomy for Participatory Democracy in Proceeding of the Global Forum on Reinventing Government: Towards Participatory and Transparent Governance. ๒๔-๒๗ May ๒๐๐๕. Seoul, Republic of Korea.อ4างใน ชุมพล อุRนพัฒนาศิลปT. คล่ืนลูกที่สองของการกระจายอํานาจ จังหวัดจัดการตนเองและ นครแมสR อด.สถาบันสิทธมิ นษุ ยชนและสันติศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหิดล.๒๕๕๗ สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจให4แกRองคกรปกครองสRวนท4องถิ่น สํานักงานปลัดสํานัก นายกรัฐมนตรี. ความรเู กีย่ วกับการกระจายอํานาจใหแกองคกQ รปกครองสวนทองถ่ินและสาระสําคัญ ทเ่ี กย่ี วของสําหรบั ประชาชน. มกราคม.๒๕๕๘ วนิดา แสงสารพันธ. ปSญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษาโดย “เขตพื้นที่การศึกษา” ใ น ฐ า น ะ ห น ว ย รั บ ก า ร ก ร ะ จ า ย อํ า น า จ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ”.ว า ร ส า ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตd ตานี ปทe ี่ ๒๔ ฉบับท่ี ๒พฤษภาคม-สงิ หาคม.๒๕๕๖ สมหวัง พิธิยานุวัฒน, วนิดา แสงสารพันธ และคณะ. รายงานการวิจัยประเมินผลเพ่ือจัดระดับคุณภาพเขต พ้นื ทก่ี ารศกึ ษา. สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร.๒๕๕๔ สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม. กรอบความเห็นรวมปฏิรูปประเทศไทยดานการศึกษา. ๒๕๕๗. หน4า ๒ http://library๒. parliament.go.th/giventake/content_nrcinf/nrc๒ ๕ ๕ ๗ -issue๕ -reform๐ ๑ . pdf (Assessed ๑๘/๑๒/๒๐๑๕) รายงานวิจัยฉบับสมบรู ณเรอ่ื ง การกระจายอํานาจการบรหิ ารการศกึ ษาในระดับจงั หวดั เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
๑๗๒ จรัส สุวรรณมาลา. “แนวคิดในการปฏิรูปการปกครองสวนทองถ่ินแบบจังหวัดจัดการตนเองกับสถานะ ความเปน] รฐั เด่ียวของประเทศไทย”.วารสารจุลนิติ พฤษภาคม-มถิ นุ ายน.๒๕๕๖ สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี. งบประมาณโดยสังเขป ประจําป$งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘. http://www.mua.go.th/users/budget/doc/budget_๕๘.pdf สมคดิ เลิศไพทรู ย และคณะ. โครงการศึกษาความเหมาะสมของการปรับเปลี่ยนสถานภาพสถานศึกษาของ รฐั เป]นองคกQ ารมหาชน.เสนอตRอ สํานักงานคณะกรรมการขา4 ราชการพลเรือน.๒๕๔๖ สุรพล นิติไกรพจน. องคQการมหาชน แนวคิด รูปแบบ และวิธีการบริหารงาน.สํานักงานคณะกรรมการ ปฏริ ูประบบราชการ. สาํ นักงาน ก.พ.. กรงุ เทพ ๒๕๔๒ บรรเจิด สิงคะเนติ.การพัฒนาแนวคิด “จังหวัดจัดการตนเอง” ในฐานะขององคQกรปกครองสวนทองถ่ิน รูปแบบพิเศษ มาสูการรางพระราชบัญญัติการบริหารจังหวัดปกครองตนเอง พ.ศ. ..... วารสาร นติ ศิ าสตร ๔๓: ๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๗ จรัส สุวรรณมาลา. “แนวคิดในการปฏิรูปการปกครองสวนทองถิ่นแบบจังหวัดจัดการตนเองกับสถานะ ความเปน] รฐั เดย่ี วของประเทศไทย”.วารสารจุลนติ ิ พฤษภาคม-มิถุนายน.๒๕๕๖ สุรพล นิติไกรพจน และคณะ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณQ (ขอเสนอแนะในเชิงนโยบายและขอเสนอแนะใน เชิงกฎหมาย) โครงการวิจัยและพัฒนากฎหมายเพ่ือการบริหารจัดการสถานศึกษานิติบุคคลระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. โดยสถาบันวิจัยและให4คําปรึกษาแหRง มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร เสนอตRอ สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.๒๕๕๕ สุรพล นิติไกรพจน. “มหาวิทยาลัยไทยในรูปองคQการมหาชนอิสระ : กรณีตัวอยางของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี” อางใน องคกQ ารมหาชน มิติใหมของหนวยงานภาครัฐ . สํานักงานคณะกรรมการ ปฏริ ูประบบราชการ สาํ นกั งาน ก.พ. พิณสุดา สิริธรังศรี. รายงานการวิจัยและพัฒนา เร่ือง รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน. เสนอตRอ สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ.๒๕๕๖ สมคิด เลิศไพฑูรย. “แนวคิดในการปฏิรูปการปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบจังหวัดจัดการตนเองกับสถานะ ความเปน] รฐั เดีย่ วของไทย”.วารสารจุลนิติ พฤษภาคม-มถิ นุ ายน.๒๕๕๖ รายงานวิจัยฉบบั สมบรู ณเรอ่ื ง การกระจายอํานาจการบรหิ ารการศกึ ษาในระดับจังหวดั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก โครงการรับฟง ความคิดเหน็ เรอื่ ง การกระจายอาํ นาจการบรหิ าร การศกึ ษาในระดบั จังหวัด เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
๑๗๕ โครงการรบั ฟงความความคิดเห็นเร่ือง การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาในระดบั จังหวัด เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตามที่มหาวิทยาลัยขอนแกนรวมกับสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได$ดําเนินโครงการวิจัย เร่ือง การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษาในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาเพ่ือให$ได$ข$อค$นพบเก่ียวกับรูปแบบและแนวทางในการบริหารจัดการการศึกษาข้ันพื้นฐานโดย สถานศึกษานิติบุคคลภายใต$ข$อเสนอเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการการศึกษาของสถานศึกษานิติบุคคล ที่มีการเสนอสูสภาปฏิรูปจากหลายภาคสวนในขณะนี้ ประกอบกับการนําเอาแนวความคิดเกี่ยวกับ “จังหวัด จัดการตนเอง” มาประยุกต7ใช$กับการจัดการศึกษาเพื่อให$รัฐเปลี่ยนบทบาทจาก“ผู$จัดการศึกษา” มาเป:น “ผู$สนับสนุนและสงเสริม” ให$เกิดการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพภายใต$แนวความคิดของสภาปฏิรูปข$างต$น และวิเคราะหร7 ปู แบบ แนวทาง ความเป:นไปไดข$ องหลกั การดงั กลาวประกอบกับกฎหมายที่เกี่ยวข$องกับการจัด การศึกษาที่มีอยูในป<จจุบันเพื่อเสนอแนะและกําหนดรูปแบบท่ีเหมาะสมของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สถานศกึ ษานติ บิ ุคคลเพื่อใหเ$ กดิ ความคลองตวั และกอใหเ$ กิดประสิทธิภาพในการจัดการศกึ ษานนั้ เพอื่ เป=ดโอกาสรับฟ<งความคิดเห็นจากผ$ูบริหาร ผู$ทรงคุณวุฒิ ผู$แทนหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนท่ี เกี่ยวข$องในการบริหารจัดการการศึกษาจึงได$ดําเนินโครงการรับฟ<งความคิดเห็นเรื่อง การกระจายอํานาจการ บริหารจัดการศึกษาในระดับจังหวัด เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขึ้นเพ่ือรับฟ<งข$อมูล แนวความคิดและนํามาเปน: ข$อเสนอแนะในการดาํ เนินโครงการวิจัยฯ ตอไป วตั ถปุ ระสงค) ๑. เพือ่ รับฟ<งความคิดเห็นจากผท$ู ่ีมสี วนเกย่ี วขอ$ งในการจดั การการศึกษา ๒. เพื่อนําข$อมูลจากการรับฟ<งความคิดเห็นเป:นข$อเสนอแนะและแนวทางในการดําเนินการ วิจัยฯ กลมุ+ เปา, หมาย ๑. ผ$ูบริหารสถานศึกษานติ ิบุคคล ๒. ผบ$ู รหิ ารกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓. นักวิชาการ ๔. ผท$ู ่เี ก่ยี วขอ$ งในการจัดการการศึกษา รวมจาํ นวนท้ังสิ้น ๕๐ คน ชว+ งเวลา ๑ กมุ ภาพันธ7๒๕๕๙ สถานท่ี หอ$ งประชมุ ลีลาวดี โรงแรมรามาการเ7 ดน$ กรุงเทพมหานคร รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณเรือ่ งการกระจายอาํ นาจการบรหิ ารจดั การศึกษาในระดับจังหวัดเพ่อื พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
๒๐๗ วธิ เี คา% มาเหมือนกัน แตท\" าํ ไม\"ไดเ% หมือนเขา จรงิ ๆ ป2ญหาของเรามนั เปน; ความขัดแย%งของผู%ใหญ\" จริงๆ ปฏิรูปเรา ต%องการให%เล็กลง ตอนน้ันเขาจะเสนอสร%างท่ีจอดรถใต%ดินของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งผมเป;นคนเสนอไม\"เห็น ด%วยบอกว\"าเม่ือกระจายอํานาจแล%ว กระทรวงศึกษาจะเหลือคนซักห%าพัน คือน%อยลง เพราะฉะน้ันท่ีจอดรถไม\" จําเป;น แต\"น่ีปฏิรูปแล%วโตข้ึน น่ันก็คือผ%ูใหญ\"ไม\"ได%เห็นด%วยกับการปฏิรูปน้ีแต\"ต%องการจะย%อน ซ่ึงท่ีผมเล\"าให%ฟ2ง เพ่ือให%เข%าใจถึงรากเหง%าจริงๆของป2ญหาปฏิรูป เพราะฉะน้ันคนท่ีประเมินปฏิรูปแล%วบอกว\"าผลไม\"ได%อย\"างน้ัน อย\"างน้ี คอื เขาไมร\" จู% ริงๆวา\" ปฏิรปู มันไม\"ได%ทาํ ตามปฏิรปู ประเด็นมันอย\"ูตรงน้ี เพราะฉะนั้นคุณสรุปไม\"ได%ว\"าปฏิรูป นี้ไม\"ได%ผล เพราะฉะน้ันมันเป;นประเด็นท่ีสําคัญของการกระจายอํานาจเลยมันไม\"ใช\"เกิดข้ึนโดยบังเอิญนะ เป;น plan activity ของการท่ีไม\"ทําตามกฎหมาย มันเป;นไปไม\"ได%ที่จะใช%กฎกระทรวงศักด์ิมันต่ําเกินไปที่จะ เร่ืองใหญ\"แบบนี้ พระราชบัญญตั ฉิ บบั นี้คือส่ิงที่เราต%องการ ถึงอาจารย6XXXจะไม\"ค\"อยเห็นความจําเป;นที่จะต%อง มีพระราชบัญญัติแต\"มันจําเป;นต%องมี เพื่อให%ศักดิ์ของกฎหมายมันเท\"าเทียมกัน ส่ิงท่ีผมอยากจะสื่อคือว\"า ความเห็นมันแตกแยกกันมากในทางการเมือง เร่ืองปฏิรูปการศึกษา 2542 พรรคการเมืองท่ีเป;นรัฐบาลเอา ในขณะท่ีพรรคการเมืองอีกขั้วหนึ่งไม\"เอา แล%วก็โชคร%ายไงพรรคการเมืองท่ีเป;นรัฐบาลเป;นคนทํากฎหมาย ส\"วนพรรคการเมืองอีกขั้วหนึ่งมาเป;น implementer อันน้ีเค%าเรียกความซวยของแผ\"นดินตอนที่เราใช%การมี สว\" นร\"วมประชุมปรึกษาหารือวจิ ัยคน% คว%ากระบวนการอันนี้เราตัดสินใจผิดท่ีเรายุบกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ทําให%ได%ฝากความหวังไว%ที่สภาการศึกษาสรุปผิดหวังอีกเพราะสภาการศึกษาประสานไม\"ได%เพราะศักด์ิเท\"ากัน เกาหลีมี 3 ป2จจัยในการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะการศึกษา เท็ดด้ีคือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในการ ปฏิรูปการศึกษาของเกาหลีแล%ว converse บทบาทมาเป;น monitor ซึ่งของเราเราไปฝากสภาการศึกษา เพราะกระทรวงเคา% ไม\"ยอม ยังไงก็ต%องยบุ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงเป;นอุปสรรคและวิธีคิดในการทํางาน ของเราเหมือนเตะตดั ขากัน เราไมม\" ที างออกเลยฝากสภาการศึกษา ซ่ึงตอนหลังอ\"อนมากพอเข%าไปในกระทรวง เหมือนส\"งคนมากินตําแหน\"ง เช\"นจากปลัดสํานักนายกมา รีบถอยสภาการศึกษาออกแบบนี้หละถูกแล%ว เพราะฉะนน้ั โครงสร%างทเ่ี ราตอ% งการกระจายอํานาจเราไม\"ไดก% ระจายอํานาจส\"ูสถานศึกษา เพราะฉะนั้น หลายปK มันไม\"ถึงโรงเรียนคุณภาพมันจะเกิดได%ยังไง แต\"มันน\"าปวดใจท่ีอุดมศึกษาเรากระจายอํานาจไปแบบเต็มที่ก็ เสียหายอีกเหมือนกัน มันแปลกมากน\"าศึกษาอยู\"เหมือนกัน ขนาดอุดมกระจายอํานาจยังเสียหายเลยเพราะมี การขายปรญิ ญา จ%างทําวทิ ยานพิ นธม6 ันอุตลุดหมดเลย ข-อที่ 2 พอกระจายอาํ นาจไปท่สี ถาบันอดุ มศกึ ษาเปล่ยี นเป6นมหาวทิ ยาลัยในกํากับกลับเจอป0ญหาอุปสรรค สาเหตใุ ด เพราะว\"าไม\"พร%อม ของเราเราไม\"ยอมจําแนกท่ีจริงถ%าเรากระจายอํานาจไปเฉพาะ 22 แห\"งนะ ผมว\"าใช\"เลย ท่ีเหลืออย\"าพึ่ง ซึ่งอันน้ีคือโมเดลท่ีอาจารย6XXXคิดเอา 24 แห\"งมาผูกกันก\"อนถ%าใครพร%อมก็ค\"อยออกไป เช\"น ราชภัฎอย\"าเพิ่งให%อิสระ ทีน้ีเราให%ไปหมดเลยทุกอย\"างไม\"ให%ก็ไม\"ได% ทําไงเราจะทําตามที่กฎหมายกําหนด ตามที่แผนกําหนด นั่นคือประเด็นท่ีสําคัญ จุดอ\"อนที่สุดของเราคือ implementation เราวางแผนเก\"ง พระราชบัญญัติ เราวิเศษมหัศจรรย6 ดีมาก อันนี้ต%องดูญ่ีปุHน 9 หมวดเค%า professor 9 คนเลยนะ แล%วก็ ตามแต\"ละหมวดว\"าเราทําอะไรยังไง แล%วก็เอาไปปรับการศึกษาท่ีญี่ปHุนฉะน้ัน พระราชบัญญัติ ฉบับนี้เหมือน เป;นการทดลองแต\"เรามองไมเ\" หน็ แตญ\" ี่ปนHุ มนั ประกบอยา\" งดีมากแล%วก็ไปปรับ มันมี report ออกมาฉบับหนึ่งซึ่ง ผมก็ไม\"รู%นะสอนปริญญาเอกนิสิตจากกระทรวงนี้หละเข%ามานําเสนอ ว\"าการปฏิรูปการศึกษาท่ีเราทํามันมี จดุ อ\"อน 9 ข%อ ระบบกรรมการของเราไม\"เข%ากับวัฒนธรรมเพราะว\"าการที่ครูเป;นครูน%อยแล%วในระบบกรรมการ กลับมี power มาก อันน้ีจุดท่ีทําให%เกิดการเมืองของครู รุนแรงมากแล%วคอรัปช่ันกันอุตลุดมากมาย แล%วครุสภาก็ล%มเหลวเพราะแบบนี้เพราะว\"ามันหาเสียงเลือกกันมาเพราะไม\"อยากสอนหนังสือไง มันทําให%เรา
๒๐๘ สูญเสียครูที่ดี บทวิเคราะห6แบบนี้เราไม\"เคยออกมาพูดกันเลยผมเองก็ไม\"รู% ร%ูตอนนิสิตมาก present แล%วขอดู paper แล%วเป;นของญี่ปHุนวิเคราะห6ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งเปaะมาก ดูแล%วมาก Professor เวลาเค%ามา เค%าเข%าถึงผ%ูใหญ\"ของเรามากมันถือเป;นเกียรติยศท่ีรัฐบาลส\"งคนมาสัมภาษณ6 แต\"ผมก็ไม\"แน\"ใจว\"าเวลาทําเสร็จ ทําไมเค%าไม\"ขอรายงานของญีป่ Hนุ ตอนหลังผมไม\"ให%ความร\"วมมือกับเค%านะประกันคุณภาพ แต\"ก\"อนหน%าน้ันผมก็ ใหค% วามรว\" มมอื ดีเพราะจะแลกเปลี่ยนแบบยุติธรรม เค%ามาทไี รผมก็ให%สัมภาษณ6เลย แต\"ผมถามเค%าเค%าก็ไม\"ค\"อย ตอบนะหลังๆผมเลยบอกว\"าไม\"ว\"างเลย เพราะเค%า take ข%างเดียว ประเทศอ่ืนโดยเฉพาะญี่ปุHนเค%ามองถึง มาเลเซียด%วย เวลาเราไปดูงานท่ีมาเลเซีย ภรรยาบอกว\"าเราพึ่ง follow คุณว\"าคุณแยกอุดมฯ กระทรวงอะไร ต\"างหากทําไมคุณกลับไปรวม ผมบอกเฮ%ยคุณอย\"าตามมากเดี่ยวเค%าจะให%เอาออกนะ เพราะจริงๆตอนนั้นเราก็ คดิ แบบเช่อื มโยงกันเชิงนโยบายมันก็มีเหตุผลในการทําแต\"พอทําไปแล%วมันไม\"ได%มันก็ต%องปรับเปล่ียน ประเด็น ตรงน้ีผมคิดว\"าถ%าจะย%อนกลับไปเรื่องปฏิรูปฐานจังหวัดผมว\"ามันขัดแย%งกับเรื่องกฎหมายสถานศึกษาอย\"างแรง เพราะมันเขียนว\"าต%องการกระจายไปสถานศึกษาและเขตพื้นที่ จริงๆเขตพ้ืนท่ีเราต%องการให%เป;นพ่ีเล้ียง กอ\" นทจี่ ะออก 175 ทา\" นรัฐมนตรีXXXนี่หละถามผม 175 ขอซกั สิบเขตได%ไหม ขอเอา 175 เขตนี้ออกทีวีเลย แล%วบอกว\"าคือรัฐบาลหวังว\"าคุณภาพการศึกษาจากระบบเขตพื้นท่ี ผมก็บอกไปว\"านายกXXXไม\"สนใจ คือในทีส่ ุดนายกไม\"เอาเรือ่ งปฏิรปู ทา\" นอยากให%เขียนประเด็นว\"าทําแล%วเด็กได%อะไร ปฏิรูปแล%วได%อะไรให%ผมไป เขียน ผมก็เขียนแล%วมาเสนอที่ประชุมกับนายกXXXอีกทีหน่ึง ท\"านก็บอกว\"าเออแบบน้ีเห็นเป;นรูปธรรมขึ้น ผมเลยถามว\"าท\"านว\"าใหค% ะแนนเทา\" ไหร\" ทา\" นว\"าให% 51 คะแนนจากร%อย ทุกคนที่ทํากับผมเกียรตินิยมทั้งน้ันเลย หน%าแตกกันยับเยินได% 51 คะแนน พุดง\"ายๆคือรัฐบาลยังไงเค%าก็ไม\"เอา อันน้ีเป;นป2จจัยท่ีสําคัญท่ีสุด ระดับกระทรวงเค%าก็แบบจะอยากรวมเหมือนเดมิ แต\"กจ็ างหายไป สภาการศึกษานี่ก็หายไป ท้ังที่สภาการศึกษา น้ีจะเปน; ตวั นาํ เลยเรื่องปฏิรูป เพราะฉะน้ันสภาพมันก็ down ลงมาแบบน้ีมันจะไปเกิดได%ไง เพราะว\"าคุณภาพ ที่โรงเรียนมันเหมือนเดิมมันไม\"ได%เปลี่ยนแปลงแต\"ท่ีเราเสียมากข้ันคือเร่ืองเงินเดือน เงินเดือนครูน่ีเพ่ิมข้ึนมาก เลยแต\"ไม\"เป;น Achievement ของเด็ก มันหยุดแค\"เงินวิทยฐานะของครู ประเทศจะล\"มจมนะเงินวิทยฐานะ ของครูแล%วแถมนายกXXXมาคูณสองบ%าที่สุดเลย เงินตําแหน\"งวิชาการน่ีคูณสอง คุณรู%หรือไม\"ว\"ามาจากอะไร เหตุคือXXXให%สํานักงานคณะกรรมการข%าราชการพลเรือนวิเคราะห6ว\"าจะดึงผู%บริหารระดับสูงให%อย\"ูในระบบ ราชการนี้อย\"างไร ไม\"ไปภาคเอกชนก็เลยคิดเพิ่มเงินให%กับผ%ูบริหารแต\"มันก็จะถูกค%านไง เลยเอาไปเลยตําแหน\"ง วิชาการและตําแหน\"งวิทยฐานะ พวกนี้มนั กบ็ อกว\"าคุม% เพราะจ%างเค%าทําแสนสองแสนก็ได%วิทยฐานะมาคูณเข%าไปสิ ศีลธรรมเราอ\"อนแอลงด%วย ในกระทรวงศึกษาธิการ เพราะฉะน้ันมันเลยกลายเป;นว\"าจ%างเค%าทําอะไรต\"ออะไร อุตลุด ตอนน้ีนิสิตก็จ%างทําวิทยานิพนธ6 ไม\"มีประเทศไหนในโลกนะเรียนปริญญาเอกเสาร6อาทิตย6 ห%าวันทํา เต็มเวลา นอกจากเรา ปริญญาเอกบริหารการศึกษาทําลายการศึกษาข้ันพื้นฐาน แล%วก็การท่ีไปกําหนดว\"าจะ เปน; ผ%บู รหิ ารต%องได%ลายเส%น ผมกซ็ วยทาํ ไมของดตี า\" งประเทศแลว% มนั มาทาํ ท่ีเรามนั เพี้ยนไปหมดเลย ขอ- 3 สาเหตุเกดิ จากอะไรกฎหมายไม#ดหี รอื เลีย่ งกฎหมาย ผมว\"าน\"าจะอันหลังนี่หละ คือ กฎเกณฑ6เพียงพอแล%วไปใช%ข%างนอก monitor ตลอดมันเป;นไปไม\"ได% โดยเฉพาะกระทรวงศกึ ษา กระทรวงครู จะเห็นว\"าห%าสิบปKท่ีแล%วครูผู%ว\"าไหว%ครูนะ แต\"ตอนน้ีครูไหว%ผู%ว\"าราชการ จังหวัดไหว%สมาชิกสภาผ%ูแทนราษฎรกันอุตลุดเลย คือ professional ฉบับนี้ต%องการยกครูเป;นวิชาชีพช้ันสูง แต\"ย่ิงยกมันย่ิงต่าํ แปลกมากเลย กฎหมายยกชัดเจนนะแตผ\" ลไม\" มนั น\"าอายมากเลยนะ
๒๐๙ ขอ- 4 เป6นเพราะระบบผแ-ู ทนครูหรอื เปล#า ผมว\"าระบบผู%แทนครูอันนึงกับเรื่องการใส\"เงินผมคิดว\"าเราใส\"เงินมากไป เร่ืองศีลธรรมมันเส่ือมลง มันก็เลยเปน; จังหวดั ท่คี นโลกาภวิ ัฒน6อะ\" มนั ยุควัตถุนิยมและมันเปล่ียนค\"านิยมเกียรติยศช่ือเสียงมาเป;นเร่ืองเงิน มันจังหวะผนวกกันหลายอย\"าง ซ่ึงตอนน้ันผมคิดว\"าเราก็ไม\"ตระหนักมากในป2จจัยพวกน้ีว\"ามันจะมีผลมาก มันเหมือน Cancer ที่มันมาทุกทิศทุกทางกฎหมายเอาไม\"อยู\"ผมบอกเลย ผ%ูบริหารก็ใจอ\"อน เม่ือเรากระจาย อํานาจเราก็ให%มีสํานักวิชาการแต\"คุณไปทํากันยังไงก็ไม\"ร%ูแต\"คุณอยากได%อธิบดีกรมวิชาการกลับมา มันต%อง ทบทวนเร่ืองวิธีคิดว\"าในกฎหมายก็ดีวิธีคิดก็ดี เพราะอะไรอย\"างไรแล%วก็ออกแบบกฎหมาย เร่ืองการกระจาย อาํ นาจเราทําแบบไหนทาํ ไมมนั ไม\"ไปในทศิ ทางท่คี วรจะเปน; นคี่ ือกรอบใหญ\"ที่ผมรีวิวเอง งานวิจัยช้ินน้ีถ%าคุณจะ back up เรื่องฐานจังหวัดต%องรีวิวกันใหญ\"เลย คุณต%องแก%พระราชบัญญัติ ตรงนี้ทุกฉบับ แก%อุดมการณ6 ประเทศไทยแปลกมากลงทุนกับการศึกษาติด 10 อันดับของโลก แต\" quality ไม\"ได% วัดจาก o-net วัดจาก อะไรต\"างๆ ไม\"ค\"อยดี เค%าบอกว\"า สถานศึกษาต%องมีอิสระ สภาไม\"มี accountability ฝากทํางาน มันเหลือเช่ือ สภามหาวทิ ยาลยั หลายแหง\" ทไี่ มม\" ีวฒุ ิภาวะ ขอ- 5 ปญ0 หาลักษณะอย#างน้นี #าจะเป6นมหาวิทยาลยั ที่เคยอยใู# นกระทรวงมากอ# นหรือเปลา# คอื อะไรท่ีมันเปน; ผลประโยชน6เราก็ Take Progressให% การเมอื งมันแรงไงไม\"ควรทาํ เพราะเค%าเพ่ิงเป;น มหาวิทยาลัยมาเมื่อวานน่ีเองแต\"ว\"าด%วยการเมืองมันเลยต%องไปท้ังหมดมันเลยเกิดป2ญหาของระบบไง ผมเป;น นายกสภาอย\"ูแห\"งหนึ่งผมว\"าจะลาออกไม\"ไหวคือมันถูกฟrองมาตั้งส่ีคดีแล%วภายในปKเดียว คือเค%าต%องการให%ผม เกิดสภา กฎหมายมันบอกว\"าเม่ือไม\"มีอธิการบดี ให%สภามหาวิทยาลัยแต\"งต้ังอธิการบดี แต\"ของราชภัฏเวลาเค%า ตัง้ ตัวจริงไมไ\" ดเ% คา% ก็จะเป;น 180 วันเค%าก็จะตั้งตัวแทนเค%า 4 คน รวมอธิการเป;น 5 คน ผู%แทนอาจารย6เค%าจะ เอาช\"องโหว\"กฎหมายในกฎหมายราชภัฏ2547 ไม\"ได%บอกว\"าผู%ช\"วยอธิการบดีเป;นผู%บริหาร เค%าก็ตั้งผู%ช\"วย อธิการบดีให%เงินเดือนเดือนละหม่ืนแล%วก็ไม\"น่ังในสภาในฐานะผู%แทนอาจารย6 ซ่ึงมันเกินครึ่งโหวดยังไงก็ชนะ ผมว\"าแสดงว\"าคุณต%องเป;นครบก\"อนแล%วสภาถึงจะต้ังผมโดนฟrองเลยมาตรา 157 ละเว%นการปฏิบัติหน%าท่ี แต\"ในท่ีสุดศาลยกฟrอง ก็สู%กันไปกลายเป;นว\"าไม\"ได%ทํางาน กรรมการสภาฟrองนายก นายกฟrองอธิการ มันฟrอง กันหมดเลยคือใช%กฎหมายนํามากจนมันไม\"มีใครทํางาน น่ีคือท่ีเค%าได%อิสระไปแล%วเค%าไม\"พร%อม จริงน\"าทํากรณี แบบน้ีนะเพราะไม\"เช\"นน้ันอุดมศึกษาแบบจุฬาฯ แบบธรรมศาสตร6 มหิดล มันจะเดือนร%อนไปด%วยไง แต\"จริงๆ พวกน้ีเค%าไม\"มีป2ญหาเพราะเค%ามีวุฒิภาวะตรงน้ีเป;นตัวท่ีสําคัญ เพราะสมการของเวิร6ดแบงค6 ออโตโนมีให%กับ สถานศึกษาทม่ี ีวฒุ ภิ าวะตรงนเ้ี ป;นประเด็นสําคญั ทเ่ี ราต%องร%ู ข-อ 6 ถา- เป6นพนื้ ฐานแบบอย#างราชภัฏน่ีคืออย#างไร ถ%าเป;นนิติบุคคลองค6การสถานศึกษาขึ้นมาก็ต%องบริหารใช\"หรือเปล\"ารูปแบบน้ีไม\"เหมาะเป;นทางที่ นา\" กลวั ถา% ไมพ\" ร%อม กรณีทดี่ ที ส่ี ดุ กโ็ รงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ เรื่องกรรมการสถานศึกษาไปดูแฟrมประชุม เค%านะ ผมว\"าดีกว\"ามหาวิทยาลัยเยอะเลย เค%าเตรียมวาระ เอกสารประกอบวาระสุดยอดนะ ประธานสภา สถานศกึ ษากท็ า\" นXXX นะ ยง่ิ กวา\" กรรมการพนื้ ฐานของประเทศอกี นะคอื เลอื กคนได%เพราะองค6สมเด็จพระเทพ ฯ อันนี้คือแง\"คิดท่ีสําคัญเลย เราต%องหาผ%ูบริหารโรงเรียนท่ีทําให%คนในโรงเรียนครูต%องการจะช\"วยผ%ูอํานวยการ ทําใหโ% รงเรยี นประสบความสาํ เรจ็ อนั นีค้ ือโมเดลเลย มันไม\"ใช\"ใครก็ได%มาเป;นครูใหญ\" วุฒิมันอาจจะไม\"ใช\"คําตอบ สดุ ทา% ยแตค\" อื ความทุ\"มเท
๒๑๐ ขอ- 7 แสดงวา# คณะกรรมการข-าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาก็มีป0ญหาเช#นเดยี วกนั เพราะไปเอาระบบหมุนมา ทีน้ีลืมไปว\"าระบบฝร่ังCareer Parthเค%าเยอะ ระบบคนท่ีขึ้นมาเป;น ผู%บริหารจะต%องเป;นครูช้ันยอดไม\"ใช\"มีลายเส%นวิ่งเป;นได% บ%านเรามัน implement ไม\"ครบของเค%า ผมคิดว\"ามัน ต%องมีกรณีศึกษาเรื่องพวกน้ีให%สภาการศึกษาชัดๆ อย\"างเราประเมินโรงเรียนท่ีนครปฐมประเมินภายนอกตก หมดเลยทุกมาตรฐาน คุณXXX เป;นบอร6ด ด%วยแกก็ไม\"เช่ือ ผมบอกแกไปดูเลยในที่สุดพอไปดูโรงเรียนนี้นะ เออมันเป;นโรงเรียนท่ีแปลกมากเลยนะมันอย\"ูแบบ จะเข%ากรุงเทพมหานครก็ได% มันอย\"ูช\"วงรอยต\"อพอดีเป;น โรงเรียนท่ีครูใหญ\"ก็มาอยากมาเป;นครูใหญ\"เพราะมันเดินทางลําบาก ครูก็ไม\"อยากมาเป;นครู เด็กก็ไม\"อยากไป เรียนมันเป;นโรงเรียนท่ีไม\"พึงประสงค6ของทุกฝHาย เพราะฉะนั้นคุณภาพมันก็ไม\"มีทาง วิธีน้ันเค%าก็ย%ายครูใหญ\" ออกแล%วเปล่ยี นครใู หญ\"เปลีย่ นคนเดียวนะ อกี สองปKต\"อมาคุณภาพดีข้ึนมากเลย ครูใหญ\"ที่มีคุณภาพและเป;นครู ที่ดีมาก\"อน มีความรักความผูกพัน มีพรสวรรค6ของเรื่องบริหารจัดการนี่คือคุณสมบัติ ของเราวัดไร\"ขิงมันไม\"ได% ครูใหญ\"แบบนี้มันศักดินาหมดเลยเวลาไปต\"างจังหวัดไปอภิปรายเค%าก็จะฉกตัวไปเล้ียง เอ็นเตอร6เทน ไม\"ได%เจอ เด็กเลยนะไมไ\" ด%เขา% ถึง quality ของการศกึ ษาท่ีแมจ% รงิ เพราะมันเป;นภาพลวงตา อันนี้คือประเด็นที่เราคิดว\"าให% คุณดูแลจัดการศึกษาจากส\"วนกลางต\"อไปไมไ\" ดแ% ล%ว ข-อ 8 หลักคอื ต-องกระจายอาํ นาจแต#ไม#ใชก# ระจายแบบฐานจงั หวดั ใช#หรือไม# ใช\" ถา% กระจายแบบฐานจงั หวดั อาํ นาจจะไปกระจุกทีจ่ ังหวดั แล%วมันจะเขา% รปู แบบเดิม ข-อ 9 แนวทางในการพัฒนาทจ่ี ะทําใหท- ําให-โรงเรยี นดีข้นึ ควรเป6นอยา# งไร ก็ที่ สํานักงานบริหารโครงการร\"วมผลิตแพทย6เพิ่มเพ่ือชาวชนบท ท่ีวางให%ผมเป;นผู%อํานวยการ ถ%าผมเชื่อเค%าก็ตายจริงๆความหวังอย\"ูกับสํานักงานบริหารโครงการร\"วมผลิตแพทย6เพ่ิมเพื่อชาวชนบท สถาบัน พัฒนาครูคณาจารย6บุคลากรแล%วบอกต%องการให%เป;นอิสระแล%วประสานได%มากมายแล%วฐานะตอนน้ีมันเป;น อะไรหละแผนก มดั เดด็ ตรงนม้ี นั ชกไม\"ออกหรอกคณุ แลว% ทําไมเค%าไม\"ตอ% งการยกสํานักงานบริหารโครงการร\"วม ผลิตแพทย6เพ่ิมเพื่อชาวชนบทข้ึนก็นี่หละ ผมก็ไม\"ช\"วยเค%านะในท่ีสุดปลัดกระทรวงเป;นจุดท่ีสําคัญท่ีสุด ชัดเจน มากเลยว\"าไม\"ตอ% งการส\"งเสรมิ อันน้ี เพราะเค%าต%องการใช%ฝากคนไปเรียน ถ%า สํานักงานบริหารโครงการร\"วมผลิต แพทยเ6 พิ่มเพอื่ ชาวชนบท ใหญป\" ลัดกระทรวงกจ็ ะไม\"มีอํานาจฝาก กลายเป;นเรื่องไม\"เป;นเร่ือง เพราะฉะนั้นเรื่อง การพัฒนาครูบุคลากรปKละสองพันกว\"าล%าน นายกXXX เคยถาม ชื่นชมนะถามว\"าปKละสองพันสองร%อยล%าน พัฒนาครูแลว% ได%อะไรสรุปไดใ% ชเ% งินถกู ตามกฎหมาย ตอนน้กี ย็ ังเป;นแบบนั้นอยู\"นะไม\"ได%ดีข้ึนเลย เพราะเร่ืองการ พัฒนากระจายไปตามแท\"ง ถ%าคิดแบบน้ีก็ไม\"มีวันพัฒนาได% มันตรงข%ามกับที่ปฏิรูปคิดฟrากับดินเลย การพัฒนา บคุ ลากรใช%เงนิ ปลK ะสองพนั ล%านมันก็ไม\"ได%ช\"วยอะไรเลย เหมือนตําน้ําพริกละลายแม\"นํ้า ฉะน้ันเรื่องการกระจาย อํานาจเม่ือเค%าไม\"พร%อมคุณภาพไม\"มีกระจายไปก็เจ%งอีก หัวใจสําคัญคือวุฒิภาวะทางวิชาการและการบริหาร แล%วกค็ วามบรสิ ทุ ธ์ิผดุ ผ\"องของกระทรวงสถานศกึ ษา มนั เป;นโรงเตย้ี มหรือโรงเรียนกันแน\"ต%องแยกให%ออกถ%าคุณ กระจายอํานาจให%โรงเตี๊ยมเสร็จมันเล\"นการพนันกันอุดลุต ตอนนี้อย\"างน%อยสามสิบแห\"งเป;นโรงเต๊ียม สนุกกับ อาํ นาจพวกพ%องแบบแลกเปลี่ยนผลประโยชน6มันน\"ากลัวมาก accountability ไม\"หลงเหลืออย\"ูเลยสมัยรัชกาล ท่ี5 เปล่ยี นช่อื จากโรงสอนเป;นโรงเรยี นและในปจ2 จบุ ันถึงแม%จะเป;นโรงเรียนแต\"ความจริงมันก็ยังเป;นโรงสอนอย\"ู ดีมาสอนให%ครบเวลาแล%วก็กลับบ%านอะไรเกิดขึ้นฉันไม\"สนใจและอีกกรณีหนึ่งท\"านมาทําโรงเรียนสากลท่ีออก จากวัดท\"านกเ็ ปน; ห\"วงว\"าจะทง้ิ ศาสนาทิ้งศลี ธรรม เลยโปรดให%สร%างโรงเรียนวัดกระจายทั่วประเทศเป;นโรงเรียน เตือนสติให%ทุกคนท่ีมีการศึกษาอย\"าทิ้งศีลธรรม แต\"โชคร%ายของบ%านเมืองโรงเรียนวัดมันไม\"ดังเหมือนโรงเรียน
๒๑๑ สาธิตในมหาวิทยาลัย แต\"ท่ีท\"านต%องการท่ีมันย่ิงใหญ\"กว\"าโรงเรียนสาธิตคือการเป;นคนดี มีศีลธรรม ร%ูผิดชอบช่ัวดี ถ%าการศึกษาไม\"ได%ตัวน้ีผมว\"ามันจบนะ อันนี้สําคัญมากผมว\"ามันไม\"ใช\"การสอนหนังสือ เหมือนกับที่พระเทพฯ ปฐกาฐาไว%ว\"า โลกสมัยนี้เต็มไปด%วยความขัดแย%งไม\"มีสันติสุข ในการท่ีจะทําให%เกิดการปรองดอง สมานฉันท6 ในโลกน้ี ลักษณะของคนสามอย\"างน้ีต%องเน%นให%เกิดให%ได% หนึ่ง ความรู%จักพอ สองความสุขเกิดจากภายใน สามความปwติจากการเป;นผ%ูให% สามตัวนี้จะเกิดข้ึนได%อย\"างไร พัฒนาให%เกิดขึ้นได%อย\"างไร มันต%องมาจากครู ผ%ูบริหารจากตัวเนื้อแท%เค%า ไม\"ใช\"มาเป;นการสอน คือมันมีบารมี เป;นครูเป;นอาจารย6ผมว\"ามันต%องเป;นแบบนี้ สมัยผมพระยาหนุมาณสอน คือตงั้ คําถาม และตอบให%ตรงกบั วิชาทุกมิติมีแง\"มมุ เพราะฉะนั้นคนแบบนี้จะรอบรู% มันคือInner ท่ีสร%างให%ลูกศิษย6เลื่อมใส ด%วยเน้ือแท%ของท\"านมันไม\"ใช\"เปลือกเรื่องวุฒิ ควรจะตีราคาตาม ความสามารถของบุคคลน้ันๆดีกว\"า ถ%ามาจัดโครงสร%างแบบนี้ถึงคลองตันแน\"นอนนี่คือบทสรุปผม การปฏิรูป ตอ% งรบี ชงิ ทํากอ\" นการตอ\" ตา% นท่ีนิวซแี ลนด6นะ มเี งนิ แตใ\" ช%ไม\"เป;น ขอ- 10 แสดงวา# ในเชิงโครงสรา- งไมม# ีอะไรต-องปรับเปลีย่ นแล-ว ใช\" ต%องเร่ิมที่โรงเรียนที่พร%อมและเปล่ียนบทบาทกระทรวงให%ได%จริงๆ ต%องปรับเปลี่ยนการบริหาร โครงสร%าง เพ่ือให%มันเหมาะสม ผมมีความรู%สึกว\"าไม\"อยากให%รื้อโครงสร%างแต\"เราแค\"ไม\"ได%ช\"วยกันทําแต\"เรา ช\"วยกันเหยียบยํ่า จริงๆมันไม\"ง\"ายเหมือนที่ใครๆคิด ระบบเรามันใหญ\" หลากหลายชีวิต ต%องใช%เวลาหลายๆ อย\"าง ครูมีคุณภาพเรื่องเทคโนโลยี ขณะนี้เงินสําหรับการศึกษาผมว\"ามีมากมายเลยแต\"แค\"ใช%ไม\"เป;นแล%ว กฎกระทรวงเร่ืองการศึกษาที่ต%องออกกฎเรื่องการใช%เงินก็ไม\"มี เน่ืองจากรัฐบาลไม\"ให%ออกครูพ้ืนฐานจะ เปลีย่ นเป;นแสนคน คือจบปรญิ ญาโทไปเลยไมต\" %องจบตรีแล%วมาเรียนต\"อ ผมจึงอยากให%ครูจบปริญญาโท เก%าสิบ ครูโรงเรียนสาธิตจบปริญญาโทมันก็มีคุณภาพมากกว\"า เราอยากให%มีมหาวิทยาลัยแห\"งชาติทางการศึกษา ใช%ผลิตครู แต\"เราไม\"สามารถมีแบบน้ีได%น\"าเสียดาย เร่ืองที่สําคัญที่สุดคือสร%างครูท่ีมีคุณภาพในแผ\"นดิน หลายประเทศเช\"นญป่ี Hนุ 11 แห\"งเป;นมหาวิทยาลยั เฉพาะทาง ยกเวน% ทไ่ี ทย เช\"นวิทยาลยั ครู สงั เกตนะ โรงเรียน นายร%อยยงั อยน\"ู ะ เคา% ไม\"เห็นอยากเป;นมหาวิทยาลัยเลย น\"าเสียดายโดยเฉพาะประสานมิตร ไม\"รู%จะทําไปทําไม อุดมศึกษาเรามันเกินไปเยอะแล%ว จุดอ\"อนอย\"ูท่ีสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห\"งชาติไม\"ได%ช้ีนําเรื่องการ ต%องการกําลังคนที่แท%จริง factor จึงไม\"มีเปrาหมาย ประเทศไทยที่เดียวนี่หละให% supplier เป;นตัวกําหนด ตรงขา% มกบั เกาหลีนะ จะเปwดปริญญาเอกต%องให%อนุมัติก\"อนนะ งานวิจัยของเค%ามาจากรัฐบาลกําหนดนะ จึงได% ใช%พัฒนาประเทศ ฉะนั้นเราไม\"ควรรื้อย่ิงรื้อย่ิงถอยหลัง การบริหารจัดการเราจะต%องมั่นคงพัฒนาโรงเรียนให% พร%อมและให%เป;นนิติบุคคลมีกฎหมายรองรับท่ีชัดเจน ถ%าโรงเรียนเป;นได%เราก็ให%พระราชบัญญัติ ไปเลย จุดทีส่ ําคญั คือความจริงใจของการพัฒนาโรงเรียนให%พร%อมผมว\"าสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขาดไป กระทรวงบอกว\"าให%อิสระแต\"ก็ไมแ\" ก%กฎหมาย แต\"มันมีทางที่จะคิดได%เหมือนให%เปrาแต\"ไม\"มีทางที่จะคิดได% คนทไ่ี ม\"ไดเ% รยี นกฎหมายมาเค%าจะอ\"านกฎหมายข%อเดยี วท่เี คา% จะทาํ เช\"น สาํ นักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา ก็จะอ\"านเฉพาะข%อ 51 คือเค%ามีอํานาจจะรับรองหรือไม\"รับรองมาตรฐานโดยไม\"ได%ดูข%ออื่น เลยว\"าต%องทํายังไงข้ันตอนการรับรอง คือกฎหมายมันโยงไงแต\"ไม\"อ\"าน และขาดความรู%ทางกฎหมายด%วยไง มี ผู%บริหารแบบน้ีเยอะมากที่อ\"านข%อเดียว ข%อท่ีตัวเองมีอํานาจ ถ%าเราคิดว\"าเราเป;นSubset ก็ต%องคิดว\"าเซตใหญ\" มันคืออะไรเมืองไทยไม\"มีใครชอบที่ประเมินแล%วคะแนนไม\"ดีไม\"ผ\"าน ขณะนี้เร่ืองประกันคุณภาพที่มันไม\"เวิร6ค เพราะโรงเรียนและมหาวิทยาลยั เนน% คะแนนอยา\" งเดยี วไมต\" อ% งการคุณภาพมาตรฐาน ผมจําท่ีสมาชิกสภาผ%ูแทน ราษฎรสตลู ได%แม\"นเลยว\"า ประกนั คุณภาพไมม\" ีวันเวิร6คหรอกผู%อํานวยการ เพราะกฎกระทรวงมาตรา 47 ไม\"ได% ออก มันไปออกปK 46 ภายนอกมนั นําอุตลุด อนั นี้คือจุดอ\"อนทํากฎกระทรวงเฉพาะภายในไม\"เช่ือมกับภายนอก
๒๑๒ ตราบในท่ไี ม\"เช่ือมตราบน้ันคุณภาพจะไม\"มี ประกันคุณภาพไม\"มีความหมาย ประเด็นป2ญหาคือการใช%กฎหมาย เพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพ การสร%างกลไกลท่ีเอ้ือต\"อการ implement กฎหมายจะช\"วยเรื่องการใช%เงินให%มี ประสทิ ธิภาพได%อย\"างไร ชว\" ยดา% นอ่ืนๆ อย\"างไรเชอื่ มโยงกัน ผมคิดว\"ามนั น\"าจะเป;นไปได%แต\" implement ฉบับนี้ จะทํายังไงให%มันปฏิบัติได%อย\"างมีประสิทธิภาพ การมารื้อกฎหมายพระราชบัญญัติการศึกษาแห\"งชาติผมว\"า ขาดทนุ มหาศาลเลย ขอ- 11 การกาํ หนดหลกั การดา- นการศกึ ษาไวใ- นรฐั ธรรมนูญ จะช#วยแกป- ญ0 หาทีเ่ ป6นอย#ไู ด-หรือไม# ต%องดูให%ดีเหมือนกันแต\"ไว%ในรัฐธรรมนูญก็แข็งตัวเหมือนกันนะ ต%องระวังแต\"ถ%าเป;นลูกของของ รัฐธรรมนูญมาตรา 81 แล%วโยงออกมาเป;น พระราชบัญญัติ ผมว\"ามีนะ แต\"ผมอยากให%มันมีการวิเคราะห6ของ เหตุการณ6ว\"าอะไรมันเป;นอุปสรรคที่ผ\"านมา บทเรียน เราจะทํายังไง โดยเฉพาะบทบาทของกฎหมาย implement ของกฎหมายให%มันมีประสิทธิภาพมากขึ้น มาตรการเรื่องการใช%เงินต%องทําเร\"งด\"วนเพราะเป;นจุด ที่จะหยุดเลือดไหลเลย เช\"น สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสามหม่ืนล%านผมว\"าน\"าจะเอาไปให% โรงเรยี นตํารวจตระเวนชายแดน ให%เคา% พัฒนาทําประโยชนไ6 ด%มากมาย ขอ- 12 หากต้ังโครงการเอาไวแ- ล-วใช-ประโยชนให-ตรงงบประมาณจะแก-ปญ0 หาได-หรือไม# งบประมาณเข%าไม\"ถึงหรอกประเทศไทยมันใหญ\"เกิน งบประมาณให%ราชภัฏไปทําอาคารพระราชทาน ปริญญาบัตรใหญ\"มากเท\"าสนามฟุตบอลแล%วแทบไม\"ได%ใช%ประโยชน6 ผมว\"าประเทศไทยมีสถานศึกษาท่ีงดงาม ทส่ี ดุ ในโลกนะถ%าประกวดกันนะผมว\"าเราติดอันดับโลก เพราะเม็ดเงินมหาศาล คือถ%าจําเป;นก็โอเคไง แต\"จริงๆ มันไม\"ค%ุมนะกบั เมด็ เงนิ ทเี่ สียไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268