151 ชือ่ หลักสตู ร “วิชางานปนู พ้ืนฐาน” ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสงั ขะ ความเปน็ มา มุ่งเน้นการฝึกหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นในวิชางานปูนพืน้ ฐานและวิชาชีพระยะสัน้ อื่น ๆ ที่สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน บรบิ ทของพนื้ ที่ และสง่ เสรมิ การใช้ระบบเทคโนโลยีเพ่อื การพฒั นาอาชพี ในอันท่ี จะประกอบอาชพี ท่สี ร้างรายได้ได้จริง จากพื้นฐานประชาชน มีความต้องการฝึกทักษะอาชีพงานปนู พื้นฐานอาชีพช่างปูนซึ่งเป็นอาชีพอิสระท่ี ผูเ้ รียน สามารถนำมาเป็นอาชีพหลักหรืออาชพี รองได้ เนือ่ งจากเปน็ อาชีพท่ีผูส้ นใจสามารถเรยี นรู้ได้ง่ายไม่ยุ่งยาก ไม่มีต้นทุนในการประกอบอาชีพเพราะเป็นอาชีพที่ใช้ฝีมือและทักษะในการประกอบอาชีพและในปัจจุบันที่พัก อาศัยของประชาชนส่วนใหญ่ก่อสร้างจากโครงสร้างเหล็กเป็นหลักในการสร้างที่พักอาศัยและปัจจุบันครอบครัว ของสังคมไทย เป็นครอบครัวขยายจึงมีการปลูกที่พักอาศัยมากขึ้น ทำให้ผู้ประกอบอาชีพด้านงานปูนขาดแคลน อาชพี ชา่ งปูนเปน็ อาชพี หนงึ่ ท่ีเป็นชอ่ งทางในการประกอบอาชพี ของผูท้ ่ียังไม่มีงานทำหรอื ผ้ทู ่ตี อ้ งการเปลย่ี นอาชีพ ทเี่ ป็นงานอสิ ระและมน่ั คงได้ หลกั การของหลักสูตร 1. เป็นหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นที่เน้นการจัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทำและส่งเสริมอาชีพที่สร้าง รายได้ 2. เปน็ หลกั สูตรท่เี นน้ การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ัตจิ รงิ เพอื่ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสง่ เสริมอาชีพ ท่ีสร้างรายได้จรงิ จุดมุ่งหมาย 1. ผเู้ รยี นมีทกั ษะในงานปูนพนื้ ฐานและชา่ งปนู 2. มคี วามรู้ความเข้าใจในงานปนู พื้นฐานและการประกอบอาชีพช่างปูน 3. มีทกั ษะในการคำนวณตน้ ทุนกำไรในการประกอบอาชพี และการทำบญั ชเี กีย่ วกบั งานปูน 4. สามารถเลอื กนำวัสดุในท้องถน่ิ มาใช้ประกอบอาชพี งานปูนพน้ื ฐานและชา่ งปูนได้ กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนทัว่ ไปในพน้ื ที่อำเภอสงั ขะ จังหวดั สรุ ินทร์ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี ๕ ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ ๓๐ ช่ัวโมง รวม ๓๕ ชวั่ โมง
152 โครงสรา้ งหลักสูตร ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การ เนอื้ หา การจดั จำนวนชั่วโมง เรยี นรู้ กะบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 ๑.๑ ความสำคัญใน เพื่อส่งเสริมการมี ค ว า ม ส ำ ค ั ญ แ ล ะ - วิทยากรบรรยายให้ ๒ - การประกอบอาชีพ อาชีพ การสร้าง ความเป็นมาของการ ความรู้เกี่ยวกับช่าง ชา่ งปูน ร ายไ ด้ และแหล่ง ประกอบอาชีพช่าง ปูน 1.2 ความเป็นไปได้ เรียนรู้การตัดสินใจ ปนู ในการประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพช่าง ชา่ งปนู ปนู 1.3 แหล่งเรียนรู้การ ประกอบอาชพี ช่างปนู 1.4 ก า ร ต ั ด ส ิ น ใ จ เลือกการประกอบ อาชีพชา่ งปนู 2 2.1 ขั้นเตรียมการ เพื่อให้มีทักษะการ - ก า ร เ ล ื อ ก ว ั ส ดุ - วิทยากรให้ความรู้ - ๒๕ ประกอบอาชีพช่างปนู เลือกวัสดุอุปกรณ์รู้ อุปกรณ์ ที่จำเป็นใน สาธิตวัสดุ อุปกรณ์ 1) วัสดุอุปกรณ์ท่ี วิธีการเทปูนและ งานปูนการป้องกัน สาธติ วธิ ีการทำปนู จำเป็นต้องใช้ในงาน การป้องกับอนั ตราย อันตรายที่เกิดขึ้น - ผู้เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ิ ปูน ทีเ่ กี่ยวกบั ชา่ งปนู เกี่ยวกับงานปูนและ ก า ร ใ ช ้ เ ค ร ื ่ อ ง มื อ 2) ก า ร ป ้ อ ง กั น ช่างปนู เกี่ยวกับการเทปูนซี อันตรายที่เกิดขึ้นท่ี - วิธีการใช้เครื่องมือ เมนซ์และงานก่อปูน เกี่ยวกบั งานปูน การเทพื้นปูนซีเมนต์ อิฐบลอ็ ก 2.2 ขน้ั ตอนการทำ งานกอ่ อฐิ บล็อก งานชา่ งปนู - เทคนิคและวิธีการ 1) วิธกี ารใช้เครอื่ ง การทำงานเทพื้นงาน มอื เกยี่ วกบั การเทพ้ืน ก่ออิฐบล็อก งานฉาบ ปนู ซเี มนต์, งานก่ออิฐ บล็อก 2) เ ท ค นิ ค แ ล ะ วิธีการทำงานการเท พนื้ ปนู ซีเมนต์, งานกอ่ อฐิ บล็อก
153 ท่ี เร่อื ง จดุ ประสงค์การ เน้ือหา การจดั จำนวนชัว่ โมง เรยี นรู้ กะบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ๓ ทัก ษะ ก าร บร ิหาร 1. ค ำ น ว ณ ร า ค า 1. ผู้เรียนศึกษาใบ 1. ผู้เรียนศึกษา ใบ ๓ ๕ จดั การในกาประกอบ ค่าแรง ค่าวัสดุท่ี คว ามร ู้เร ื่อ ง ก าร ค ว า ม ร ู ้ เ รื่ อ ง ก า ร อาชพี ช่างปนู เกีย่ วกับชา่ งปนู ได้ คำนวณราคาค่าแรง คำนวณราคาค่าแรง 2. ห า ล ู ก ค ้ า แ ละ และวัสดกุ ารหาลูกค้า และวัสดุ การหาลกู คา้ ประชาสัมพันธ์งาน การประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ ชา่ งปูนได้ มาตรฐานของการ มาตรฐานของการ 3. อธิบายมาตรฐาน บ ร ิ ก า ร แ ล ะ ก า ร บริการและการเจรจา ของการบริการช่าง เจรจาต่อรองราคา ต่อรอง ราคา ปูนได้ 2. ผเู้ รียนฝกึ คำนวณ 2. ผู้เรยี นฝึกคำนวณ 4. เ จ ร จ า ต ่ อ ร อ ง หาราคา คา่ แรง และ หาราคา ค่าแรงและ ราคากับลูกค้าได้ วสั ดกุ ารหาลูกค้าและ วสั ดุ การหาลูกค้าและ อย่างราบรื่นและ วิธกี ารประชาสัมพันธ์ วิธีการประชาสัมพันธ์ เป็นที่พึงพอใจของ 3. ผู้เรียนฝึกรับงาน ลูกคา้ และฝึกเจรจา ตอ่ รอง 5. สรปุ กระบวนการ ราคากับลูกค้าโดยใช้ บริหารจัดการใน บทบาทสมมติและ การประกอบอาชีพ สถานการณ์จรงิ ช่างปูนได้ตามพึง 4. ผู้เรียนและผู้สอน ประสงค์ของลูกค้า สรุป กระบวนการ ได้ บรหิ ารจัดการใน การ ประกอบอาชีพช่าง ปนู ได้ รวม ๕ ๓๐
154 สอ่ื การเรยี นรู้ 1. เอกสาร/คู่มือเก่ียวกบั งานปูนและชา่ งปูน 2. สอ่ื PowerPoint 3. วัสดุ อปุ กรณ์เกย่ี วกบั งานปูนและชา่ งปนู 4. คมู่ ือประกอบการสอนเกยี่ วกับงานปนู และชา่ งปนู การวดั ผลและประเมินผล 1. การประเมนิ ความรูภ้ าคทฤษฎีระหวา่ งเรยี นและจบหลกั สูตร 2. การประเมนิ ผลงานระหวา่ งเรยี นจากการปฏิบตั ิ ไดผ้ ลงานทีม่ ีคณุ ภาพสามารถจบหลักสตู ร เง่ือนไขการจบหลกั สตู ร 1. มคี ะแนนการประเมินความร้ตู ลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 2. มเี วลาเข้ารับการอบรมไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 3. มีผลงานทมี่ คี ุณภาพ เอกสารหลักฐานการศึกษาที่จะได้รับหลงั จากจบหลกั สูตร 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. ทะเบียนคุมวุฒิบตั ร 3. วุฒบิ ตั รการศึกษา ออกโดยสถานศกึ ษา การเทยี บโอน -
155 แผนการสอนการศกึ ษาต่อเนอื่ ง ชื่อหลักสูตร วิชาการสานตะกร้าจากเสน้ พลาสติก (ชนั้ เรยี นวชิ าชพี ๓๑ ชม.ข้ึนไป) หลกั สตู ร ๓๕ ชั่วโมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสังขะ ความเปน็ มา การจัดการศกึ ษาอาชพี ในปัจจุบนั มีความสำคญั มากเพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มีความรูค้ วามสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพเปน็ การแกป้ ญั หาการว่างงานและสง่ เสรมิ ความเข้มแข็ง ให้แก่เศรษฐกจิ ชุมชน ซง่ึ เปน็ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหมท่ ี่สรา้ งความมั่นคงให้แก่ประชาชนและ ประเทศชาติในสภาพปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านตา่ งๆ เช่น ด้านเศรษฐกจิ การเมือง สังคม และสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากเป็นอย่างมากเมื่อจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นแต่ ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้ไปอย่างรวดเร็วและไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่มนุษยจ์ ะต้อง สรา้ งขนึ้ หรอื ทดแทนโดยวธิ ีการต่างๆ เพ่อื การอย่รู อด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ เห็นสมควรพัฒนาหลักสตู รอาชีพ ใหก้ บั กล่มุ เปา้ หมายและประชาชนมรี ายได้และมอี าชีพเสรมิ จากการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติกเป็นภาชนะใช้ สอย มีสีสันสวยงาม คงทน มีความน่าสนใจเหมาะสำหรับนำไปใช้สอยและเป็นของฝากผู้ที่สนใจควรศึกษาหา ความรู้และฝกึ ปฏิบัติจนเกดิ ความชำนาญสามารถนำไปประกอบอาชพี ใหก้ บั ตนเองได้ จุดม่งุ หมาย 1. เพื่อให้ผเู้ รียน มอี าชีพ สรา้ งรายได้อยา่ งมนั่ คง 2. เพื่อให้ผูเ้ รียน มคี วามรู้ความเข้าใจ และฝึกทกั ษะการประกอบอาชีพ 3. เพื่อใหผ้ ู้เรียน มคี วามรูค้ วามเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจดั การในอาชพี ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมโี ครงการประกอบอาชีพเพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัตติ ่อไปได้ 5. เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและมจี ติ สำนกึ ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง ผอู้ ่นื และสงั คม กลุ่มเป้าหมาย ประชาชท่ัวไป ตำบลบ้านจารย์ อำเภอสงั ขะ จังหวดั สรุ นิ ทร์ ระยะเวลา ระยะเวลาจำนวน 35 ชัว่ โมง (ทฤษฎี 1๐ ช่วั โมง ปฏบิ ตั ิ 25 ชั่วโมง วันท่ี 4-12 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 วันละ 5 ชั่วโมง เวลา 09.00 น. – 15.00 น. เรยี นจนั ทร์ - ศกุ ร์ เวน้ เสาร์-อาทติ ย์
156 โครงสร้างหลกั สูตร ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหา การจดั กระบวนการ จำนวนชว่ั โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 ช่องทางการ ๑. บอกและอธบิ าย 1.ความสำคัญในการ 1.วทิ ยากรและผู้เรียน 5 - ประกอบอาชพี การ ความสำคัญในการ ประกอบอาชพี การ ศึกษาขอ้ มลู จากเอกสาร สานตะกร้าจากเส้น ประกอบอาชพี การสาน สานตะกรา้ จากเส้น ส่ือ ICTสถาน พลาสติก ตะกร้าจากเส้นพลาสติก พลาสติกได้ ได้ 2.ความรู้เบ้ืองตน้ ใน ประกอบการ ๒. บอกองค์ประกอบ การประกอบอาชีพ แหล่งวตั ถดุ บิ ส่อื ของจริง ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น สอ่ื ของการสานตะกร้าจาก ในเรอ่ื ง บุคคลในชุมชน และนำ ข้อมูลมาวิเคราะหเ์ พ่ือนำ เสน้ พลาสติก ได้ - การลงทุน ข้อมลู มาพจิ ารณา - วัสดุ อุปกรณ์ ตัดสนิ ใจเลือกรูปแบบ และเครือ่ งมือ วธิ ีการของประกอบอาชพี - การตลาด การสาน ตะกร้าจากเสน้ - กระบวนการผลติ พลาสตกิ ได้ ทมี่ คี วาม - การขนสง่ สอดคล้องเป็นไปตาม ความตอ้ งการผเู้ รียน - แหล่งวัตถุดิบ 2.ศกึ ษาขอ้ มลู เกี่ยวกบั การลงทนุ วัสดุ -การผลิตช้ินงาน อปุ กรณเ์ คร่ืองมอื รปู ลกั ษณะตา่ ง ๆ -ผลกระทบตอ่ การตลาดกระบวนการ ชุมชนและ ผลิต การขนส่งแหลง่ สง่ิ แวดลอ้ ม วัตถุดบิ การผลิตชน้ิ งาน รปู ลักษณะต่าง ผลกระทบต่อชมุ ชน และ สงิ่ แวดลอ้ ม
157 ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจัดกระบวนการ จำนวนช่ัวโมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 2 ทกั ษะอาชีพการ 1.เพ่อื จดั เตรยี มสถาน 1.ขั้นเตรียมการ 1.ทบทวนความรู้เบอื้ งต้น - 25 สานตะกรา้ จากเสน้ ท่ใี นการสานตะกรา้ จาก ประกอบอาชพี ในการประกอบอาชีพการ พลาสติกได้ เสน้ พลาสติก 1.1 เตรียมสถานท่ี สานตะกร้าจากเส้น 2.เพือ่ จดั เตรียมวสั ดุ 1.2 เตรยี มวสั ดุ พลาสติกตาม อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมือ อุปกรณ์ เครื่องมือ องค์ประกอบทเี กย่ี วขอ้ ง ท่ีใช้ในการสานตะกรา้ 2.ข้นั การผลิต 2. ศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ จากเสน้ พลาสติกได้ ชนิ้ งาน และภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ใน 3.เพือ่ คดั เลือกเส้น 2.1 คดั เลอื กเสน้ ดา้ นการสานตะกรา้ จาก พลาสติกทจี่ ะนำมาผลติ พลาสตกิ เสน้ พลาสติก เปน็ ช้นิ งานได้เหมาะสม 2.2 ออกแบบ 3. จัดทำแผนการเรยี นรู้ และถกู ตอ้ ง รปู รา่ งช้ินงาน การฝกึ ทกั ษะและการ 4.เพื่อออกแบบรูปร่าง 2.3 ตกแตง่ เพือ่ ผลติ ชนิ้ งานการสาน ชน้ิ งาน นำมาประกอบเปน็ ตะกรา้ จากเสน้ พลาสติก 5.ประกอบตกแตง่ ให้ ชน้ิ งาน 4.ดำเนนิ การจัดการ เป็นชิน้ งานทสี่ วยงาม 2.4 ประกอบ เรียนรแู้ ละฝึกทกั ษะ ตามทก่ี ำหนดให้ได้ ตกแต่งใหเ้ ป็น อาชพี ตาม ชน้ิ งาน หลกั สูตรและตาม แผนการเรียนรู้ 5.วิทยากรและผู้เรยี น ร่วมกนั จัดกระบวนการ เรียนรู้ 6.จดบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ 7.ดำเนินการจดั และ ประเมินผลตามท่ี หลักสูตรกำหนด
158 ท่ี เรอื่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหา การจดั กระบวนการ จำนวนชัว่ โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 3 การบริหารจัด 1.อธบิ ายการบรหิ าร 1. การบริหาร 1. บริหารจดั การ 5 - การอาชพี การสาน จัดการในการแปรรปู จดั การในการสาน การสานตะกรา้ จากเส้น ตะกรา้ เส้นพลาสตกิ ได้ ตะกรา้ จากเสน้ พลาสตกิ จากเส้นพลาสติก 2.อธิบายการจัดการ พลาสตกิ 1.1 สำรวจและศึกษา ตลาดในการประกอบ 1.1 การจัดการ แหล่งวตั ถดุ บิ อาชีพการจำหน่าย ควบคุมคุณภาพของ วสั ดุ อุปกรณ์และทนุ จาก ผลติ ภัณฑ์ตะกร้าจาก ชิน้ งานที่ผลิตออกมา แหล่งต่าง ๆ เส้นพลาสติกได้ 1.2 การใช้ ท่เี กย่ี วข้องกบั การ ประกอบอาชีพ 3.อธบิ ายการบริหาร นวตั กรรมและ การสานตะกรา้ จากเส้น จัดการความเสยี่ งในการ เทคโนโลยใี นการ ประกอบอาชีพได้ ออกแบบช้ินงาน พลาสติก 1.3 การลดต้นทุน 1.2 การกำหนด การแปรรปู และการควบคุมคุณภาพ 2.การจดั การตลาด ของชิน้ งาน ในการประกอบ 1.3 ศึกษาการลดตน้ ทุน อาชีพการจำหน่าย การผลติ ชิน้ งาน ผลิตภัณฑ์จากการ 2. การบริหารจัดการ สานตะกร้าจากเสน้ การตลาด พลาสตกิ 2.1 ศึกษาขอ้ มูล การตลาดและวเิ คราะห์ ความต้องการของตลาด ในชมุ ชน รวม ๑๐ ๒๕ การจบหลักสูตร ๑. ตอ้ งมีเวลาเรียนและฝึกปฏบิ ัตไิ ม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ๒. มผี ลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ๑. หลักฐานการประเมนิ ๒ ทะเบียนคมุ วุฒบิ ัตร ๓. วฒุ บิ ตั รท่ีออกโดยสถานศึกษา การเทียบโอนการศึกษา - หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลี่ยนไดต้ ามความเหมาะสม
159 แบบเขียนหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง ชอ่ื หลักสูตร วชิ างานเช่ือมเบ้ืองต้น จำนวน 35 ช่ัวโมง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสังขะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ความเปน็ มา ปจั จบุ นั ประชาชนสว่ นใหญ่มรี ายได้ไมพ่ อกับรายจ่าย โดยเฉพาะผู้ทม่ี ีอาชีพเกษตรกรรมสว่ นใหญ่ เม่ือ หมดชว่ งฤดูกาลของการทำการเกษตรแล้วไมม่ ีอาชีพเสรมิ ทำใหข้ าดรายได้ จงึ ทำใหป้ ระชาชนมเี วลาว่างหรือทำ อาชีพเสริมต่างๆ เช่น รับจ้างทั่วไป หลายคนจำเป็นต้องออกจากบ้าน ละทิ้งถิ่นฐานบ้านเกิดไปทำงาน ตา่ งจงั หวดั ต่างประเทศ เพื่อหารายได้เลี้ยงครอบครัวเท่าท่ีจะทำได้ ดังนน้ั จงึ เป็นอีกทางเลือกของประชาชน ในการสร้างรายได้โดยเฉพาะในทอ้ งถ่ินทอ่ี าศัยรายได้จากการเกษตรเพียงอยา่ งเดยี วซึง่ สามารถหาอาชีพเสริม หลกั สูตร ” วชิ าช่างเช่ือมพืน้ ฐาน” เปน็ หลักสูตรที่เนน้ การเรียนรูจ้ ากการฝึกปฏิบัติ ผ้จู บหลักสูตรนี้สามารถนำ ความรไู้ ปสร้างอาชพี สร้างรายไดแ้ กต่ นเองและครอบครวั ได้ สำหรบั ผู้ประกอบอาชพี อิสระน้นั ต้องพัฒนาฝีมือ และความชำนาญจนเป็นที่เชื่อถือของลูกค้าและอาจหันมาประกอบอาชีพรับทำโครงสร้างอาคาร เหล็กดัด สำหรับร้ัวประตู หน้าตา่ ง ตลอดจนงานเฟอรน์ เิ จอร์ หรืองานศลิ ปกรรมและการประดิษฐ์คิดคน้ สินค้าต่าง ๆ ที่ เปน็ ประโยชน์และอาจพัฒนาใหเ้ ป็นธุรกจิ ของตนเองและครอบครัวในอนาคตได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการฝึก ทักษะอาชีพงานช่างเชื่อม จึงได้จัดทำหลักสูตรวิชาช่างเชื่อมพื้นฐาน จำนวน 35 ชั่วโมง เพื่อเป็นการฝึกฝน อาชีพเพื่อการมีงานทำและได้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพเพื่อสร้าง รายไดใ้ หก้ บั ตนเองและครอบครวั หลักการของหลกั สูตร 1. เปน็ หลักสูตรทีส่ ง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนรจู้ ากการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ 2. เป็นหลกั สูตรทม่ี โี ครงสร้างยืดหยนุ่ ทั้งดา้ นสาระเวลา และการจัดการเรยี นรู้ 3. ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมงี านทำ 4. เปน็ หลกั สูตรที่สามารถนำความรู้และประสบการณท์ ่ีได้รับไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวันได้ จุดมุ่งหมาย หลักสตู รนใี้ หค้ วามรู้และประสบการณเ์ พ่ือใหผ้ ูจ้ บหลักสูตรมีคุณลักษณะดังนี้ 1. เพอื่ ให้ผเู้ รียน มีความรู้ในเร่อื งงานช่างเชื่อมพ้ืนฐาน เพือ่ การพฒั นาอาชพี 2. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนได้นำความรู้และทักษะทไ่ี ด้รับนำไปพัฒนาตนเองให้อย่ใู นสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ กลุม่ เป้าหมาย ประชาชนทว่ั ไปในพ้ืนท่ีอำเภอสงั ขะ จงั หวัดสุรนิ ทร์ ระยะเวลา จำนวน 35 ชัว่ โมง (ทฤษฎี 10 ชัว่ โมง ปฏิบัติ 25 ชวั่ โมง) โครงสรา้ งหลักสตู ร
160 ท่ี เร่อื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจดั กระบวนการ จำนวนชว่ั โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 ชอ่ งทางการ ๑. ผเู้ รยี นสามารถ ๑. ความหมายและ ๑. วิทยากรบรรยาย 4 5 ประกอบอาชีพ บอกความเป็นไปได้ ความสำคญั ของ ให้ความร้ปู ระกอบกับ ช่างเชอื่ ม ในการประกอบอาชีพ อาชพี ชา่ งเชื่อมโลหะ ใหผ้ ู้เรยี นศึกษาจาก ชา่ งเชอ่ื มโลหะได้ ๒. แหลง่ จำหน่าย ใบความรูเ้ ร่ือง ๒. ผเู้ รยี นสามารถ วัสดุอุปกรณเ์ กี่ยวกบั ความสำคญั ของช่าง บอกความสำคัญของ งานเชอ่ื มโลหะ เชือ่ มโลหะ อาชีพช่างเชื่อมโลหะ ๔. แนวโน้มความ ๒. ศกึ ษาจากแหล่ง ได้ ตอ้ งการตลาด เรียนรู้และภมู ิปญั ญา ๓.ผเู้ รียนสามารถ ชา่ งเช่อื มโลหะ เกย่ี วกับช่างเชอื่ ม บอกแหลง่ เรยี นรู้ช่าง 5. แหลง่ เรียนรู้ โลหะ เช่อื มโลหะได้ เก่ียวกับการเชอื่ ม 3. วิทยากรกับผ้เู รียน 4. อธบิ ายวิธีการรกั ษา โลหะ ร่วมกันวิเคราะหร์ ปู แบบ ความปลอดภัยจากการ และสอดคล้องกบั ใช้เครอื่ งมือวสั ดุ ตอ้ งการ อปุ กรณไ์ ด้ ของกลุม่ ลกู คา้ 2 ทกั ษะการ ๑. ผู้เรยี นสามารถ ๑. วสั ดแุ ลอุปกรณใ์ น ๑. วทิ ยากรบรรยาย 3 10 ประกอบอาชพี บอกวสั ดุอปุ กรณใ์ น การทำเชอ่ื โลหะ ถงึ วธิ ใี ช้วัสดอุ ุปกรณ์ ช่างเชื่อมโลหะ ช่างเชอื่ มโลหะแบบ 2. ชนดิ และประเภท แตล่ ะชนดิ พร้อมท้ัง ตา่ งๆ ได้ ของงานเชอ่ื มโลหะที่ ยกตวั อยา่ งของวัสดุ ๒. ผเู้ รียนสามารถ ถูกต้อง อปุ กรณช์ ิน้ น้นั ออกแบบการเช่อื ม 3. หลักการทำงาน และชนดิ /ประเภท โลหะเบ้ืองต้นได้ ของการเชื่อมแบบ ของงานเชือ่ มฯ ต่างๆ 2. วทิ ยากรอธบิ าย 4. ออกแบบงานและ หลักการเช่อื มโลหะที่ ฝกึ ปฏิบตั ิการเช่อื ม ถกู ตอ้ ง โลหะเบื้องต้น 3. วทิ ยากรสาธิต เช่อื มโลหะด้วย พร้อมให้ผเู้ รียนฝกึ ไฟฟา้ ปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอน 5. ความปลอดภยั ใน 4. วทิ ยากรบรรยาย การเช่ือมโลหะ วธิ กี ารเชือ่ มโลหะ อยา่ งปลอดภัย
161 ท่ี เร่อื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ จำนวนชว่ั โมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 3 การบริหาร จัดการในการ ๑. ผู้เรียนสามารถ ๑. การผลิต ๑.วิทยากรบรรยายให้ 3 10 ประกอบอาชีพ บริหารจดั การ ช่าง ๑.๑ สำรวจแหลง่ ทุน ความรแู้ ละผเู้ รยี น 10 25 35 เช่ือมโลหะ ๑.๒ สำรวจแหลง่ ศึกษาจากเอกสาร ใบ ๒. ผู้เรียนสามารถ วตั ถุดิบในทอ้ งถิ่น/ ความรู้ ควบคุมคุณภาพ ตลาด ๒. วิทยากรและ มาตรฐานของชน้ิ งาน ๒. การควบคมุ ผูเ้ รียนร่วมกนั กำหนด ได้ คณุ ภาพ กำหนด คุณภาพและ ๓. ผเู้ รียนสามารถ มาตรฐานของชน้ิ งาน มาตรฐานของชิ้นงาน บริหารจัดการ ๒.๑ ความสวยงาม ด้านความสวยงาม การตลาดได้ ๒.๒ ความทนทาน ความทนทานแข็งแรง แข็งแรง ๓. วทิ ยากรบรรยาย ๓. การตลาด ใหค้ วามรู้เรอ่ื ง ๓.๑ การศึกษา การตลาดและการทำ ข้อมูล วิเคราะห์ บัญชี ความต้องการของ ตลาด ๓.2 การทำบญั ชี - การคิดต้นทุน/กำไร - บัญชรี ายรบั -จ่าย รวม สอ่ื การเรยี นรู้ 1. เอกสาร/ใบความรู้/VCD/DVD 2. แหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน/วิทยากร การวัดผลและประเมนิ ผล 1. สงั เกตการมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมของผู้เขา้ รบั การอบรม 2. การซกั ถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคิดเห็น 4. ผลการปฏบิ ัติงานของผู้เรียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เง่อื นไขการจบหลกั สตู ร 1. มเี วลาเรยี นและฝกึ ปฏิบตั ติ ามหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลักสตู รไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
162 เอกสารหลักฐานการศกึ ษาที่จะได้รับหลงั จากจบหลกั สูตร 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. วฒุ ิบัตรออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบียนคุมวฒุ บิ ตั ร เทยี บโอน -
163 หลักสูตรการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต
164 ชอ่ื หลักสตู ร ทกั ษะชีวิตการมีสขุ ภาพดียคุ ดิจทิ ลั จำนวน 6 ช่ัวโมง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสงั ขะ ความเปน็ มา สังคมไทยในยุคปัจจุบัน มีการใช้อุปกรณ์สื่อสารอิเล็กทรอนกิ ส์กันอย่างแพร่หลาย เพื่อหาคำตอบใน การดูแลสุขภาพ ในยุคที่ข้อมูลคนไข้โดยสว่ นใหญ่ถูกบันทึกผ่านระบบคอมพิวเตอร์ และในยุคที่คนรกั สขุ ภาพ ต่างเลือกใช้แอปพลิเคชันเพื่อติดตามและคำนวณกิจกรรมในชีวิตประจำวัน จนกลายเป็นสิ่งจำเป็นใน ชีวิตประจำวันโดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์, MP-3 และ IPOD รวมไปถึงอุปกรณ์เสริม ได้แก่ Bluetooth, Small talk หรือ Hand free ซึ่งได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามความก้าวหน้าทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยเฉพาะโทรศัพทม์ อื ถอื ซึ่งวัตถุประสงค์ของการใช้ไม่ใช่แค่เพยี งเคร่อื งมือส่ือสาร อย่างเดียวเท่านั้น ยังใช้ในการดูหนัง ฟังเพลง ถ่ายภาพ ถ่ายวีดีโอ เล่นเกม รวมถึงการส่ง e-mail หรือการ เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต บริการข้อมูลข่าวสาร และชำระค่าใช้บริการต่าง ๆ ช่วยในการตัดสินใจและเพ่ิม ประสิทธิภาพการทำงานและเรื่องส่วนตัวได้อย่างมีประสิทธิผลแม้ในระหว่างการเดินทาง อย่างไรก็ตาม อปุ กรณส์ ื่อสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้หากใช้อย่างไม่ถูกวิธีก็ส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพของผใู้ ช้ โดยเฉพาะในกลุ่ม เดก็ และวยั รุ่นไดเ้ ช่นกัน สำนักงาน กศน. มีแนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายเร่งด่วน 12 ข้อของ ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล เลขาธิการ กศน. ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2564 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนา การศึกษาและเสริมสร้างศักยภาพ และตัวชี้วัดการดำเนินงานของ สำนักงาน กศน.จังหวัดสุรินทร์ ให้ สถานศึกษาสง่ เสริมการพัฒนาความสามารถดา้ นดจิ ทิ ลั Digital Literacy ใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมายทุกกล่มุ ขึ้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจงึ ดำเนินการจัดทำหลักสูตรทักษะชวี ิตการมีสุขภาพดียุคดิจทิ ัล เพื่อให้เข้าใจอันตรายและผลกระทบจากการใช้ งานคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในยุคดิจิทัล และเป็นแนวทางป้องกันและลดผลกระทบเมื่อต้อง ทำงานกบั คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ได้ หลักการของหลกั สูตร 1. เปน็ หลักสูตรทตี่ อบสนองความตอ้ งการเรยี นรขู้ องประชาชนในเร่อื งการมสี ุขภาพดี และผลกระทบ ด้านสขุ ภาพจิตจากการใชอ้ ินเตอร์เน็ตและสอื่ ดิจทิ ัล 2. การใช้งานคอมพวิ เตอร์และอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสใ์ นยคุ ดจิ ิทัลควบค่กู ับการดูแลสขุ ภาพ จุดมุ่งหมาย เพื่อใหป้ ระชาชนกลมุ่ เปา้ หมายมีความรคู้ วามเขา้ ใจอนั ตายและผลกระทบด้านสุขภาพกายและ สุขภาพจติ จากการใชอ้ ินเตอร์เนต็ และสือ่ ดิจทิ ัล กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนทว่ั ไปในพนื้ ทอ่ี ำเภอสังขะ จังหวัดสุรนิ ทร์ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 3 ช่ัวโมง ภาคปฏิบัติ 3 ช่วั โมง รวม 6 ชัว่ โมง
165 โครงสรา้ งหลักสูตร ที่ เร่ือง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอื้ หา การจดั จำนวนชั่วโมง กะบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 อนั ตรายและผลกระทบ 1. เขา้ ใจอันตรายและ -ออฟฟิศซนิ โดรม 10. วิทยากรอธิบาย 2 1 ดา้ นสขุ ภาพกายและ ผลกระทบด้านสุขภาพ -โรคอว้ น ใหค้ วามร้ถู งึ อนั ตรายที่ สขุ ภาพจิตของโรคที่ กายและสขุ ภาพจิต จาก -เครียดนอนไม่หลับ เกิดกบั สขุ ภาพกาย -ความจำเสื่อม เกิดขนึ้ เน่อื งจากการใช้ การใช้อินเทอรเ์ น็ตและ -สมาธสิ ้ัน และสุขภาพจิต และ งานคอมพวิ เตอรแ์ ละ สอื่ ดิจิทัล -พัฒนาการทางสมองชา้ อธิบายโรค ๆทเี่ กิดขึ้น อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ จากการใช้งาน 2. เข้าใจโรคทเี่ กิดขึ้น - อันตรายจากหูฟัง เนือ่ งจากการใช้งาน อินเตอร์เนต็ และสือ่ ดิจทิ ัลเป็นเวลานาน คอมพิวเตอรแ์ ละ 11. วิทยากรใหผ้ ู้ อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เขา้ รบั การอบรมศกึ ษา ในยคุ ดิจิทัล ขอ้ มูลจากใบความรู้ และวดิ ีทัศน์ 12. วทิ ยากรใหผ้ ู้ เขา้ รบั การอบรมทำใบ งาน 13. วทิ ยากร และผู้ เขา้ อบรมร่วมกันสรุป ความรู้ 2 แนวทางปอ้ งกันและลด 3. เข้าใจแนวทาง -แนวทางปอ้ งกันโรค 1. วทิ ยากร/ครู กศน. 1 2 ผลกระทบ ป้องกนั และลด และการมีสขุ ภาพดีในยุค ใหค้ วามรภู้ าคทฤษฎี ผลกระทบเมือ่ ต้อง ทาํ งานกบั คอมพิวเตอร์ ดจิ ทิ ัล และให้ผเู้ รยี นฝกึ ปฏิบัติ และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนกิ ส์ -เข้าใจอาการทางจติ ของ จดบันทกึ ผลการเรียนรู้ ผทู้ เ่ี ป็นโรคอนั เกดิ จาก และแลกเปลยี่ นเรียนรู้ การใช้อินเตอร์เน็ตและ นำเสนอผลงานและผล 4. เขา้ ใจอาการทางจิต สอ่ื ดจิ ทิ ัล การเรยี นรู้ 2. วทิ ยากร/ครู กศน. ของตัวเองและคนใกลต้ ัว ตรวจสอบผลงาน ผล อันเกดิ จากการใช้ การเรยี นรู้ และให้ อินเทอร์เนต็ และ ข้อเสนอแนะสรปุ องค์ ออนไลน์ ความรู้เพ่อื การพัฒนาต่อยอด รวม 3 3
166 สือ่ การเรยี นรู้ 1.1 ใบความรู้ 1.2 วทิ ยากร 1.3 ส่อื PowerPoint การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. สงั เกตการมสี ่วนร่วมในกิจกรรมของผเู้ ข้ารบั การอบรม 2. การซกั ถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคดิ เหน็ 4. ผลการปฏิบัตงิ านของผูเ้ รียน 5. การประเมินความรูภ้ าคทฤษฎีและปฎบิ ัตริ ะหวา่ งเรียน เง่ือนไขการจบหลกั สูตร 1. มเี วลาเรยี นและฝึกปฏิบัตติ ามหลกั สูตรไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่จะได้รับหลังจากจบหลักสตู ร 1. หลกั ฐานการประเมินผล
167 ชอ่ื หลักสูตรทกั ษะชีวติ การร้เู ทา่ ทนั โรคอนั ตรายทม่ี ากบั ฤดหู นาว กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสงั ขะ จังหวัดสรุ ินทร์ ความเปน็ มา ในเขตพน้ื ทอ่ี ำเภอสงั ขะไดเ้ ขา้ ส่ฤู ดหู นาวแล้ว โดยเฉพาะบรเิ วณพ้ืนท่ีๆเป็นพ้นื ท่ีราบสงู อณุ หภมู เิ ริ่มลดต่ำลงเร่อื ย ๆ เรม่ิ มี ลมเย็นและไอหนาว ฤดูหนาวทีม่ าเยอื นนี้ จากการติดตามสถานการณ์ของโรคของกรมควบคุมโรค และการประกาศพนื้ ทีป่ ระสบ ภยั หนาวของกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พบว่า ความหนาวเย็นของอากาศเปน็ ปัจจัยหน่ึงท่ีมผี ลกระทบต่อการ แพรก่ ระจายของโรค อย่างไรก็ดี มปี จั จัยอน่ื ๆ ทเ่ี ขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง เช่น สุขอนามัยส่วนบคุ คล การไอ จาม ปิดปาก ปิดจมูก และใน บางโรค การไดร้ ับวคั ซนี ป้องกนั ก็เป็นปจั จัยทีส่ ่งผลตอ่ การเจ็บป่วย และในปี 2564 นี้ คาดว่าผู้ปว่ ยโรคติดตอ่ ที่เฝ้าระวังในฤดู หนาวจะมีจำนวนเพม่ิ ข้ึนกวา่ ปที ่ผี ่านมา เพราะในหลายพืน้ ทมี่ อี าการหนาวเยน็ มากกวา่ ปที ี่ผา่ นมาและมีช่วงระยะเวลานาน นอกจากภยั สขุ ภาพแล้ว ก็ยังมีภัยใกล้ตวั อืน่ ๆ ท่มี ักเกดิ ขึน้ บ่อยในฤดูหนาว ซ่งึ จะมีวธิ กี ารปอ้ งกันทห่ี ลากหลายวธิ ี เพอ่ื ให้รเู้ ท่าทัน รบั มอื ภยั หนา้ หนาวปีน้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสังขะ เลง็ ถึงเหน็ ความสำคญั ของการรูเ้ ท่าทันโรคอนั ตรายท่มี า กับฤดหู นาว และต้องการที่จะแนะนำวิธกี ารปอ้ งกนั เพื่อให้รเู้ ท่าทันรบั มือภัยหนา้ หนาวในปีน้ี จงึ ไดจ้ ดั โครงการร้เู ท่าทนั โรค อันตรายท่มี ากับฤดูหนาว ขึน้ หลกั การของหลกั สูตร เป็นหลกั สตู รทเี่ นน้ การฝึกปฏบิ ัติจริง โดยใชก้ ระบวนการเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นได้ฝกึ ทักษะ และเปน็ หลักสตู รท่ีผเู้ รยี น สามารถนำความรไู้ ปปรบั ใช้ได้จริงเพม่ิ ช่องทางในการประกอบอาชีพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทราบถงึ วธิ ีการดแู ลป้องกันตนเองอย่างถกู วิธีและเหมาะสม 2. เพื่อกระตุน้ ให้ประชาชนเกดิ ความตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของโรคท่ีมากบั ฤดหู นาว กลุม่ เป้าหมาย ประชาชนทั่วไปในพ้ืนท่ีอำเภอสังขะ จังหวดั สุรินทร์ ระยะเวลา - ภาคทฤษฎี 3 ช่ัวโมง - ภาคปฏิบตั ิ 3 ชัว่ โมง รวม 6 ช่วั โมง
168 โครงสรา้ งเน้อื หา ท่ี เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1 ความเปน็ มา เพ่ือให้ประชาชนมี 1. โรคภยั ใกลต้ วั ท่มี า 1. วิทยาการให้ความรู้ 12 ของโรคและ ความรู้ ความเข้าใจ และ พรอ้ มกับฤดูหนาว 2. ใหผ้ เู้ ข้าร่วมโครงการ 12 โรคภยั ใกล้ตัว ทราบถึงวิธกี ารดแู ล 2. วธิ กี ารดูแลปอ้ งกัน 3. วิทยากรอธิบายเน้อื หา 24 ที่มาพรอ้ มกับ ปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งถูก ตนเองอยา่ งถูกวธิ แี ละ เพ่ิมเตมิ ฤดูหนาว วิธแี ละเหมาะสม เหมาะสม 2 การปฏิบัติตน เพอ่ื กระตุ้นใหป้ ระชาชน 1. การตรวจอาการปว่ ย 1. วิทยาการให้ความรู้ เมอ่ื ป่วยและ เกดิ ความตระหนักและ ในเบ้ืองตน้ และการ 2. ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการ การดแู ลสุขภาพ เห็นความสำคัญของโรค ปฏิบัตติ นเมอื่ ร้วู ่าตนเอง 3. วทิ ยากรอธบิ ายเน้ือหา ทมี่ ากับฤดหู นาว ปว่ ย เพิ่มเติม 2. การดแู ลสุขภาพงา่ ยๆ 4. สรุปและแลกเปลย่ี น ตามแนวคิดของ สสส. ประสบการณ์/ความรูร้ ่วมกนั คอื “3 อ. 2 ส.” รวม
169 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาขอ้ มลู จากเอกสาร 2. การศึกษาดงู านจากแหล่งเรยี นรู้ 3. แลกเปล่ยี นเรียนรู้ 4. ฝึกปฏบิ ตั ิจรงิ สื่อ/วัสดอุ ปุ กรณ์การเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้เรอื่ งความรู้เกย่ี วกบั การรู้เท่าทนั โรคอันตรายที่มากบั ฤดหู นาว 2. สื่อบคุ คล, วิทยากรผูช้ ำนาญ 3. ส่อื ดจิ ิทัลเก่ยี วกับการรูเ้ ท่าทนั โรคอนั ตรายทม่ี ากบั ฤดหู นาว 4. ใบความรู้เกี่ยวกับความรเู้ กย่ี วกบั การรเู้ ท่าทนั โรคอันตรายท่ีมากบั ฤดูหนาว การวดั และประเมนิ ผล 1. สงั เกตการมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมของผ้เู ข้ารบั การอบรม 2. การซักถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคิดเหน็ 4. ผลการปฏิบัติงานของผ้เู รียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เงือ่ นไขการผา่ นการฝกึ อบรม 1. ผู้รว่ มโครงการเข้าร่วมกจิ กรรมและฝกึ ปฏบิ ตั ติ ามหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 หลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม 1. วุฒบิ ัตรออกโดยสถานศกึ ษา 2. ทะเบียนคมุ วฒุ บิ ตั ร 3. หลักฐานการประเมนิ ผล
170 ชอ่ื หลักสูตร ทักษะการปอ้ งกันโรคไวรสั RSV โซนตะวนั ออก จำนวน 6 ชว่ั โมง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสงั ขะ ความเปน็ มา เชื้อไวรัส RSV เป็นไวรสั ที่ทางการแพทย์รู้จักกันมาอยา่ งยาวนาน ไวรสั ชนิดนเี้ ป็นอันตรายอย่างมากสำหรบั เดก็ ที่อายุน้อย กว่า 1 ปี มีข้อสงสัยทางการแพทย์ว่าไวรัสชนิดนี้จะมีส่วนร่วมในกลุ่มอาการตายเฉียบพลันในทารก (sudden infant death syndrome, SIDS) ความน่ากลัวของไวรัสชนิดนี้ยังไม่หมดลง เพราะไวรัสชนิดนี้จะทำให้เด็กมีอาการคล้ายเป็นหวัดธรรมดา เพียงแต่ระยะเวลานานกวา่ ปกติ ทำให้คณุ พอ่ คุณแมเ่ กิดความชะล่าใจ ยิง่ เม่ือปล่อยไวน้ านเท่าไหร่ความรุนแรงจากการติดเชอื้ ไวรัส RSV จะสง่ ผลอนั ตรายต่อเดก็ จนเสียชีวิตได้ เม่อื พบอาการผิดปกติเหล่านี้ควรรีบพาเด็กมาพบแพทยโ์ ดยเรว็ ที่สุด ท่ีสามารถติดต่อ ผ่านสารคัดหลั่งต่างๆ ในร่างกายได้ เช่น น้ำลาย น้ำมูก เสมหะ จากการไอ โดยเด็กจะรับเช้ือไวรัสจากการสัมผัสฝอยละอองจาก การไอ จาม ของผู้ติดเชอ้ื การปอ้ งกันคือควรลา้ งมอื ใหเ้ ดก็ เลก็ บ่อยๆ และผู้ท่สี ัมผัสตัวเดก็ ก็ต้องล้างมือบ่อยๆเช่นกนั เมอ่ื มีเดก็ ป่วย ให้แยกเด็กและแยกเครือ่ งใช้ของเด็กป่วยออกจากเด็กปกติ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ โรคจากเด็ก รวมทั้งเฝา้ ระวังการตดิ เ ช ื ้ อ ไ ว ร ั ส RSV จ า ก เ ด ็ ก ส ู ่ ผ ู ้ ส ู ง อ า ย ุ ใ น บ ้ า น อ ี ก ด ้ ว ย ในสว่ นการรักษา เชื้อไวรสั RSV ยงั ไมม่ ีวัคซนี ทีส่ ามารถปอ้ งกนั ได้ รวมถงึ ไม่มียารกั ษาที่จำเพาะ ดงั นั้นเมื่อเด็กได้รับเช้ือไวรัสนี้จึง ต้องรักษาตามอาการ เฝ้าระวังในเร่ืองของเสมหะและไข้ขึ้นสูง โดยทั่วไปใช้เวลาในการรักษาประมาณ 7 – 14 วัน แต่หลังจาก หายแล้ว หลอดลมและถุงลมฝอยของเด็กจะมีอาการอกั เสบและสามารถติดเชื้อซ้ำได้ง่าย ดังนั้นคณุ พ่อคุณแมต่ ้องดูแลเป็นพิเศษ ตามคำแนะนำของแพทย์ท่ใี ห้การรกั ษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสังขะ ได้ดำเนนิ การหลักสตู รทักษะการป้องกันโรคไวรัส RSV เพ่ือป้องกันการแพรก่ ระจายเชอ้ื โรคไวรสั RSV รวมท้ังเฝา้ ระวงั การติดเชอื้ จากการสัมผัสฝอยละอองจากการไอ จาม ของผู้ตดิ เชือ้ หลกั การของหลักสตู ร 1. เป็นหลักสูตรทีต่ อบสนองความต้องการเรยี นรขู้ องประชาชนในเรื่องเช้อื ไวรสั RSV 2. เป็นหลกั สูตรทชี่ ว่ ยใหร้ ่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคเช้ือไวรสั RSV โซนตะวันออก จุดม่งุ หมาย 1. เพอ่ื ให้ประชาชนกล่มุ เปา้ หมายมีความรู้การดูแลสุขภาพและการปอ้ งกนั โรคไวรสั RSV 2. เพื่อใหป้ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายมีความรกู้ ารสร้างภูมคิ ุ้มกันใหแ้ ก่บตุ รหลาน และการลดการแพร่กระจายของเชื้อไปยัง ผู้อืน่ กล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนท่วั ไปในพ้ืนทีอ่ ำเภอสงั ขะ จังหวดั สุรินทร์ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 3 ชว่ั โมง ภาคปฏิบัติ 3 ชั่วโมง รวม 6 ชว่ั โมง
171 โครงสรา้ งหลกั สตู ร ที่ เรือ่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา การจดั จำนวนชัว่ โมง 1 สาเหตุและการตดิ เช้อื กะบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ของไวรัส RSV ทง้ั เดก็ 1. มีความรู้ความเข้าใจ - แนวทางการเฝ้าระวัง - วิทยากรอธิบายถึง 2 1 และผ้ใู หญ่ เกย่ี วกบั การเฝ้าระวัง ปอ้ งกนั การติดเช้ือ การ อนั ตรายของเชือ้ ไวรสั 2 แนวทางการป้องกนั ตดิ ต่อทางการ ไอ จาม RSV ที่เกดิ ในผู้ใหญแ่ ละ รกั ษา และลดการ เพอ่ื การปอ้ งกนั แพรก่ ระจายของเชอ้ื 2. มคี วามรูค้ วามเข้าใจ รวมถึงการสมั ผัสโดยตรง เด็ก ไวรสั RSV เกี่ยวกบั สาเหตุจากการ เกิดการตดิ เชื้อ และ จากสารคัดหล่งั ไมว่ า่ จะ - วทิ ยากรให้ผเู้ ขา้ รับ เป็นนำมกู น้ำลาย การอบรม รบั ความรู้ ระยะเรมิ่ ตน้ การติดเชือ้ เสมหะ จากสอ่ื POWERPOINT - วิทยากรจัด กระบวนการกลมุ่ โดย การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ 3. มีความรคู้ วามเข้าใจ - แนวทางการป้องกนั - วทิ ยากร/ครู กศน. 1 2 เกยี่ วกับการสงั เกตุ รักษา และการลดการ ตำบล ให้ความรู้ อาการติดเช้ือไวรัส RSV 4. มีความรู้ความเข้าใจ แพรก่ ระจายของเช้ือ เกีย่ วกบั การเฝา้ ระวงั เกย่ี วกบั การรกั ษา ไวรสั RSV ดงั นั้นจงึ ตอ้ ง ปอ้ งกนั การ เบื้องตน้ ตามอาการใน คอยสังเกตอาการของ แพรก่ ระจายของเชอื้ ตนเองและบุตรหลาน และการดูแลรักษา อย่างใกล้ชิด และต้อง เบอื้ งตอนของการฝัก ระยะเวลาในการฝกั ตวั พิจารณาปัจจัยอื่นๆเพิม่ ตวั ของเชอื้ 3-6 วัน ประมาณ 3-6 วนั ของ ดว้ ย - วทิ ยากรและผู้เข้า เชอ้ื ไวรัส RSV อบรมใหข้ ้อเสนอแนะ เกี่ยวกับความรู้ของเชอื้ ไวรสั RSV และสรปุ องคค์ วามรู้รวมกนั รวม 3 3
172 สือ่ การเรียนรู้ 1.1 ใบความรู้ 1.2 วทิ ยากร การวัดผลและประเมินผล 1. การประเมนิ ความรู้ภาคทฤษฏีและปฏบิ ัตริ ะหวา่ งเรียน 2. การซกั ถามและการตอบคำถามการสงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วม 3. การแสดงความคดิ เหน็ 4. ผลการปฏบิ ตั ิงานของผู้เรียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เงื่อนไขการจบหลักสตู ร 1. มเี วลาเรียนและฝกึ ปฏิบัตติ ามหลักสูตรไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินผ่านตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทีจ่ ะไดร้ บั หลังจากจบหลกั สตู ร 1. หลกั ฐานการประเมินผล
173 แบบเขยี นหลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ช่อื หลกั สูตร โรคอนั ตรายในฤดูหนาว จำนวน ๖ ช่ัวโมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ ความเป็นมา ปัญหาโรคอันตรายในฤดูหนาวเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็น สาเหตทุ ี่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนดิ เน่ืองจากเช้ือโรคจะมีชีวิตอยู่ในสงิ่ แวดล้อมได้นานขน้ึ เจรญิ เติบโตไดร้ วดเร็ว สามารถแพร่ ระบาดได้งา่ ยและเรว็ เช่น โรคไข้หวัดและไขห้ วดั ใหญ่ โรคปอดบวม โรคหัด โรคหัดเยอรมนั โรคอสี กุ อใี ส และโรคอจุ จาระร่วง โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อ โรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผสู้ งู อายุ ผู้ท่มี ีโรคประจำตัว และผปู้ ่วยโรคเรอื้ รัง การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประชาชนในพื้นทีจ่ ะต้องรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ จึงจะมี ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลต่อสุขภาพ ภายใต้การมสี ว่ นร่วมจากภาคท้องถิ่นและภาคประชาชน วางแผนป้องกันควบคมุ โรคและ ภัยสุขภาพในพื้นท่ี เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นตอของปัญหาการเกิดโรค ประชาชนจะต้องดำเนนิ การแก้ไข ปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานเกี่ยวข้องทุกระดับให้ ความสำคัญกบั ปญั หาสุขภาพที่แท้จริงของพืน้ ที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จงึ จะทำให้เกดิ การมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการในระดับพื้นที่อย่างตอ่ เนอ่ื งและย่ังยนื ต่อไปในอนาคต ดังนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคอันตรายในฤดูหนาว โซนใต้ (ต.ดม,ต.เทพรักษา,ต.ตาตุม) เพื่อให้ประชาชนมีความความรู้ ความเข้าใจในการดูแลรกั ษาสุขภาพของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน จากโรคอนั ตรายในฤดูหนาวได้ หลกั การของหลักสูตร จากโรคอันตราย 1. เป็นหลกั สตู รทช่ี ่วยส่งเสริมกระบวนการเรยี นรเู้ รอ่ื งการดูแลรกั ษาสุขภาพของตนเอง 2. เป็นหลกั สูตรทีส่ ง่ เสรมิ ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั สขุ ภาพอนามัยในครอบครวั และชมุ ชน 3. เป็นหลกั สตู รทสี่ ามารถนำความรู้และประสบการณท์ ีไ่ ดร้ ับไปป้องกนั ตนเองครอบครวั และชมุ ชน ในฤดหู นาว จุดมงุ่ หมาย จากโรคอันตรายในฤดู หลักสูตรนีใ้ หค้ วามรแู้ ละประสบการณเ์ พือ่ ให้ผ้จู บหลักสตู รมคี ุณลักษณะดังนี้ 1. เพื่อใหผ้ ้เู รยี น มีความรูใ้ นเร่ืองการดูแลรกั ษาสขุ ภาพของตนเอง 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้นำความรู้และทักษะที่ได้รับนำไปไปป้องกันตนเองครอบครัวและชุมชน หนาว กล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนทว่ั ไปในพืน้ ที่อำเภอสังขะ จังหวัดสรุ นิ ทร์ ระยะเวลา จำนวน ๓ ช่ัวโมง (ทฤษฎี ๔ ชั่วโมง ปฏิบตั ิ ๒ ช่วั โมง)
174 ท่ี เร่ือง จุดประสงค์การ โครงสร้างหลกั สตู ร การจัด จำนวนชวั่ โมง เรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ เนือ้ หา 1 การเรียนรู้ เพ่อื ให้ผู้เรยี นการ - วิทยากรบรรยาย 1 2 ๑.ความร้เู กีย่ วกบั 6 โรค ป้องกนั และ เรยี นรู้ ป้องกนั และ ทีม่ ากับฤดูหนาว 1.๑.โรคไขห้ วดั และไข้หวดั ปรบั ตวั ในการ ปรับตัวในการ ใหญ่ - สาเหตุ ดำรงชวี ิตต่อ ดำรงชวี ิตต่อโรคใน - การติดตอ่ - อาการ โรคในฤดหู นาว ฤดหู นาว - ปรบั ตวั ในการ ดำรงชีวติ ต่อโรคในฤดหู นาว ๑.2. โรคติดเชื้อไวรัส RSV (Respiratory Syncytial Virus) - สาเหตุ - การติดต่อ - อาการ - ปรับตัวในการ ดำรงชวี ิตต่อโรคในฤดูหนาว ๑.3. โรคปอดบวม - สาเหตุ - การติดต่อ - อาการ - ปรับตัวในการ ดำรงชีวติ ต่อโรคในฤดหู นาว
175 โครงสรา้ งหลกั สูตร ท่ี เร่อื ง จุดประสงค์การ เนอื้ หา การจดั กระบวนการ จำนวนช่ัวโมง เรียนรู้ เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 การเรยี นรู้ เพือ่ ให้ผเู้ รียนการ ๑.4. โรคหดั - วิทยากรบรรยาย ๓ ป้องกนั และ เรยี นรู้ ป้องกนั และ - สาเหตุ ปรับตวั ในการ ปรบั ตวั ในการ - การติดต่อ ดำรงชวี ติ ตอ่ โรค ดำรงชวี ิตต่อโรคใน - อาการ ในฤดูหนาว ฤดหู นาว - ปรับตวั ในการ ดำรงชวี ิตตอ่ โรคในฤดหู นาว ๑.5. โรคสุกใส - สาเหตุ - การติดต่อ - อาการ - ปรับตวั ในการ ดำรงชีวิตตอ่ โรคในฤดหู นาว ๑.6. โรคมือ เทา้ ปาก - สาเหตุ - การติดต่อ - อาการ - ปรับตวั ในการ ดำรงชวี ิตตอ่ โรคในฤดูหนาว ๒ การดูแลรักษา เพือ่ ใหผ้ เู้ รียน การดูแลรักษาสุขภาพของ - ครูบรรยายการ 1๒ - ครูและผู้เรยี น ๔๒ สขุ ภาพของ สามารถปอ้ งกนั ตนเองครอบครวั และ รว่ มกนั สรุปองค์ ตนเอง ความรู้ ครอบครวั และ ตนเองครอบครัว ชุมชน จากโรคอนั ตรายใน ชมุ ชน จากโรค อันตรายในฤดู และชมุ ชน จากโรค ฤดูหนาว หนาว อันตรายในฤดู - การป้องกนั และดแู ล หนาว รักษาเบ้อื งตน้ รวม
176 สือ่ การเรียนรู้ 1.1 ใบความรู้ 1.2 วทิ ยากร การวัดผลและประเมนิ ผล 1. การประเมินความร้ภู าคทฤษฏีและปฏบิ ัตริ ะหวา่ งเรียน 2. การซักถามและการตอบคำถามการสงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วม 3. การแสดงความคิดเหน็ 4. ผลการปฏิบัติงานของผู้เรียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เงื่อนไขการจบหลักสตู ร 1. มเี วลาเรยี นและฝกึ ปฏิบัตติ ามหลักสูตรไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทจี่ ะไดร้ บั หลังจากจบหลกั สตู ร 2. หลักฐานการประเมินผล
177 หลักสตู รการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชมุ ชน
178 ชอ่ื หลกั สตู ร การพฒั นาสังคมและชุมชน “หนา้ บา้ นสวย หลงั บ้านสวน” ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสงั ขะ ความเป็นมา จากนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปงี บประมาณ 2564 ภารกิจเร่งด่วน ข้อ 10. ซ่อมแซม ฟ้นื ฟูอาคาร สถานที่ สงิ่ แวดลอ้ มของสำนักงานทุกแห่ง และแหล่ง เรยี นรทู้ ุกแหง่ ใหส้ ะอาด ปลอดภยั พรอ้ มใหบ้ ริการดว้ ย มติ รไมตรี “กศน.งามตา ประชาช่ืนใจ” ดงั นนั้ เพือ่ เป็นการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และตอบสนองกบั ความตอ้ งการของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายใน กศน.อำเภอ สังขะ จึงได้จัดทำหลักสูตรจัดการเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนหนา้ บ้านสวย หลังบ้านสวนจำนวน ๘ ชั่วโมงขึ้น เพื่อเป็นการให้ ความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมการรจู้ กั การพ่ึงตนเอง รู้จักความพอประมาณ และมคี วามตระหนักในการเพ่อื ใหเ้ กิดการจัดการสุข ภาวะภายในบ้าน รวมท้ังสร้างบรรยากาศใหม้ ีความนา่ อยู่ มีสิง่ แวดล้อมท่ีดี โดยจดั พ้ืนท่บี ริเวณบ้าน โดยปรบั ภมู ทิ ัศน์หน้าบ้านให้ มีความสะอาด สวยงาม ระเบียบและหลังบ้านจัดทำสวนปลูกพืชต่างๆเพื่อบริโภคและใช้ประโยชน์อื่นๆ ให้เกิดประโยชน์ต่อ ครอบครัวและชมุ ชน หลักการของหลกั สูตร ๑.เป็นหลักสูตรที่เนน้ การบูรณาการเนือ้ หาสาระภาคทฤษฎีควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบตั ิจริง ผู้เรียนสามารถนำความร้แู ละ ทักษะไปประกอบอาชีพไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพและมีคุณธรรมจรยิ ธรรม ๒.เป็นหลักสูตรที่เน้นการทำงานร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย วิทยากรที่เป็นมืออาชีพและเป็นเจ้าของธุรกจิ จัดและตกแต่งสว่ น หย่อมจรงิ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการถา่ ยทอดความรู้ให้แกผ่ ู้เรยี น จุดม่งุ หมาย 1. มคี วามร้แู ละทักษะในการประกอบอาชพี 2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพของตนเอง ชมุ ชน สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม 3.มีคุณธรรม จริยธรรม 4. มีเจตคตทิ ดี่ ีในการประกอบอาชีพ 5. มคี วามรู้ความเขา้ ใจและฝึกทกั ษะการบรหิ ารจดั การในอาชีพไดอ้ ย่างม กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไปในพืน้ ท่อี ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี ๔ ช่วั โมง ภาคปฏิบัติ ๔ ช่วั โมง รวม ๘ ชัว่ โม
179 โครงสรา้ งหลกั สตู ร ท่ี เรือ่ ง จุดประสงคก์ าร เน้ือหา การจดั จำนวนชวั่ โมง เรยี นรู้ กะบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 ค ว า ม รู้ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมี ๑.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ 1. วิทยากรบรรยาย ๑ ๑ เบอื้ งตน้ ค ว า ม ร ู ้ ค ว า ม ตกแต่งสวนหยอ่ ม ให้ เกีย่ วกบั การ เขา้ ใจ 1.1 ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้ ต ก แ ต่ ง เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร และสามารถออกแบบ เขียนแบบ 2.วทิ ยากรสาธิต สวนหยอ่ ม ตกแต่ง และการอ่านแบบสวนหย่อมชนิด 3. ผู้เรยี นฝึก สวนหย่อม ต่าง ๆ ปฏบิ ัติ 1.2 ความร้เู รอ่ื งพันธไ์ุ ม้ชนิดต่างๆ 1.2 ความรู้เรื่องพนั ธุไ์ ม้ชนดิ ตา่ งๆ 1.3 ค ว า ม ร ู ้ เ ร ื ่ อ ง ก า ร จั ด องค์ประกอบ 2 ความรู้ในการ เพื่อใหผ้ ้เู รยี นมี ความรู้ในการตกแต่งสวนหย่อม 1. วทิ ยากร ๑ ๑ ต ก แ ต่ ง ค ว า ม ร ู ้ ค ว า ม เพื่อการประกอบอาชีพ บรรยายให้ความรู้ ๑ ๑ สวนหยอ่ มเพอื่ เข้าใจ 2.1 การออกแบบ 2. วทิ ยากรสาธติ ๔ การประกอบ ใ น ก า ร ต ก แ ต่ ง 2.2 การเขียนแบบ 3. ผเู้ รยี นฝึก อาชพี สวนหยอ่ มเพ่ือการ 2.3 ความรู้ในการเลือกใช้วสั ดุใน ปฏิบัติ ประกอบอาชพี การตกแต่งสวนหยอ่ ม 2.4 ความรู้ในการคำนวณพื้นท่ี และผลกระทบต่อ สิง่ แวดลอ้ ม 2.5 ความรู้เรื่องการตลาด ๓ ความรู้เรื่อง เพ่อื ให้ผูเ้ รียนมี ความรเู้ รอ่ื งรูป แบบการจัด 1.วิทยากรบรรยายให้ ๑ รปู แบบการจัด ค ว า ม ร ู ้ ค ว า ม สวนหย่อมชนิดต่างๆได้แก่สวน ความรู้ ส ว น ห ย ่ อ ม เข้าใจในรูปแบบ ไทย หรือสวนพรรณไมเ้ ขตร้อนช้นื 2.วิทยากรสาธิต ชนดิ การจัด 3.1 องค์ประกอบการตกแต่ง 3. ผเู้ รียนฝกึ ตา่ งๆ สวนหย่อมชนิด สวนหยอ่ ม ปฏบิ ตั ิ ต่างๆ 3.2 การปฏิบัติการจัดตกแต่ง สวนหย่อม ๔ การบรหิ าร เพื่อให้ผู้เรียน ๑.การจดั การเร่ืองการตลาด 1. วิทยากร ๑ จัดการในการ เขา้ ใจ 2.จดั การเร่อื งทุน-กำไร บรรยายให้ความรู้ ประกอบอาชพี ว ิธ ีก าร บร ิหาร 3.ก าร ใช้สื่อ เท คโ น โ ล ย ี ม า 2. วทิ ยากรสาธติ จ ั ด ก า ร ใ น ก า ร ประกอบการจัดสวน 3. ผเู้ รียนฝกึ ประกอบอาชีพ ปฏบิ ตั ิ รวม ๔
183 สอ่ื การเรียนรู้ 1. เอกสาร/ค่มู ือ 2. สอื่ PowerPoint 3. วสั ดุ อปุ กรณใ์ นการจดั และตกแต่งสวนหยอ่ ม 4. แหลง่ เรียนร้กู ารจัดและตกแตง่ สวนหย่อม การวัดผลและประเมนิ ผล 1. การประเมินความรภู้ าคทฤษฎีระหวา่ งเรียนและจบหลักสตู ร 2. การประเมนิ ผลงานระหวา่ งเรยี นจากการปฏิบัติ ไดผ้ ลงานท่ีมีคุณภาพสามารถจบหลักสตู ร เงอื่ นไขการจบหลักสตู ร 1. มีคะแนนการประเมินความรตู้ ลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 2. มเี วลาเข้ารบั การอบรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 3. มผี ลงานที่มคี ณุ ภาพ เอกสารหลักฐานการศึกษาทีจ่ ะได้รบั หลงั จากจบหลักสูตร 1. หลักฐานการประเมนิ ผล
184 ชอ่ื หลักสูตร การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสังขะ ความเป็นมา ตามที่ นโยบายเร่งด่วน 12 ขอ้ ของ ดร.วรทั พฤกษาทวกี ุล เลขาธิการ กศน. และสำนกั งาน กศน. จงั หวัดสุรินทร์ ได้รบั การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.๒๕๖๔ แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการศึกษา เพ่อื ความยัง่ ยืน เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของสำนกั งาน กศน. เร่งดว่ น 12 ขอ้ และตัวชี้วดั การดำเนนิ งานของ เรอ่ื งการน้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ัติ “หนึง่ ชมุ ชน หนึ่งนวัตกรรมการพฒั นาชมุ ชนถิน่ ไทยงาม” เพอ่ื ความกินดีอยดู่ ี มงี านทำ เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้ำใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทติ ย)์ , จิตอาสาพัฒนาชมุ ชน น้นั ทผ่ี า่ นพ้ืนทข่ี องอำเภอสังขะ จงั หวดั สุรินทร์ ในอดตี เปน็ พื้นท่ที ีม่ ี ทรพั ยากรป่าไม้อยูเ่ ป็นจำนวนมาก แต่จากการทม่ี ีการลกั ลอบตัดไม้ทำลายปา่ ไม้ทผ่ี ิดกฎหมายเพิม่ มากขน้ึ อย่าง รวดเร็ว ทำใหป้ ัจจบุ นั ทรัพยากรปา่ ไม้ในพนื้ ที่ มจี ำนวนลดนอ้ ยลง ซึง่ ส่งผลกระทบตอ่ ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มและ ระบบนเิ วศตา่ ง ๆ ตลอดจนวถิ ชี วี ิตความเปน็ อยู่ของประชาชนเป็นอยา่ งมาก หน่วยงานต่าง ๆ ท้ัง ภาครัฐและ ภาคเอกชน จงึ ไดม้ ีการรเิ ร่มิ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ซงึ่ จะสามารถช่วยใหธ้ รรมชาติในพน้ื ท่ี ทำใหพ้ นื้ ทใี่ น อำเภอสังขะกลบั มามีความสมดุลเพม่ิ มากขึ้น ตามแนวคิดเร่ือง “ปลูกปา่ 3 อยา่ ง เพื่อประโยชน์ 4 อยา่ ง ” ปลูก ป่า 3 อย่าง ไดแ้ ก่ ปลูกไมใ้ หพ้ ออยู่ พอกิน พอใช้ และระบบนิเวศน์ “พออย”ู่ หมายถงึ ไม้เศรษฐกจิ ปลูกไวท้ ำท่ี อยอู่ าศยั และจำหนา่ ย “พอกนิ ” หมายถึง ปลกู พืชเกษตรเพอ่ื การกินและสมุนไพร “พอใช”้ หมายถึง ปลูกไม้ ไวใ้ ชส้ อยโดยตรงและพลงั งาน เช่น ไม้ฟนื และ ไม้ไผ่ เป็นตน้ เพ่ือประโยชนต์ ่อระบบนิเวศนต์ ามแนวปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสังขะ ได้ ตระหนกั ถึงหน้าท่แี ละความ รบั ผิดชอบในการร่วมกนั อนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟู ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมในชุมชน จึงได้ จัดทำโครงการ อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม โซนเหนอื กศน.อำเภอสงั ขะ ประจำปีงบประมาณ 2564 เพื่อ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนในชุมชนไดร้ ่วมกนั อนุรักษ์ ดแู ล รักษา ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชมุ ชนของ ตนเองขึน้ หลักการของหลักสตู ร 1. เปน็ หลักสูตรท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ ข้าร่วมได้มีความรคู้ วามเขา้ ใจในการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดล้อม 2. มงุ่ ใหผ้ ู้เขา้ ร่วมมีจิตสำนกึ ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 3. ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยใี นการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม จดุ มุง่ หมาย 1. เพื่อให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจและมสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 2. เพื่อปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ตระหนักและเห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. เพ่ือสนับสนุนและส่งเสรมิ ให้เกดิ การแลกเปลย่ี นความคิดและประสบการณ์ ตลอดจนรว่ มมือกันในการ อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับใช้ในการ ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ใหเ้ ป็นมติ รต่อสง่ิ แวดล้อม
185 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไปในพ้นื ทอี่ ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี ๔ ชว่ั โมง ภาคปฏิบตั ิ ๔ ชว่ั โมง รวม ๘ ชั่วโมง โครงสร้างหลักสตู ที่ เรอ่ื ง จุดประสงคก์ าร เนื้อหา การจดั จำนวนช่วั โมง เรยี นรู้ กะบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1 ความรเู้ บอ้ื งต้น อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม รู้ ความหมาย/ ความสำคัญ - -วิทยากรอธิบาย ๑๑ เก่ียวกับการ ค ว า ม เ ข ้ า ใ จ ก า ร อ น ุ ร ั ก ษ์ คว ามหมายและ ๑๑ อ น ุ ร ั ก ษ์ เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร ทรัพยากรธรรมชาติ และ ความสำคัญของ ๑๑ ๑๑ ทรัพยากรธรรมชาติ อ น ุ ร ั ก ษ์ ส่งิ แวดลอ้ มโดย ทางตรง -การ ก า ร อ น ุ ร ั ก ษ์ ๔๔ และสงิ่ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ท ร ั พ ย า ก ร และสิ่งแวดล้อมท้ัง และสิง่ แวดล้อมโดย ทางอ้อม ธ ร ร มชาติ - ถาม ทางตรงและ ตอบเพื่อแสดง ทางอ้อมได้ ความเหน็ และความ เข้าใจเกี่ยวกับการ อ น ุ ร ั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 2 มาตรการอนุรักษ์ - อธิบาย ความรู้ -ทรพั ยากรธรรมชาติ 1. วิทยากร ธรรมชาติโดยตรง ทั่วไป เกี่ยวกับการ บรรยายให้ความรู้ แ ล ะ ร ู ้ จ ั ก ใ ช้ ใ ช้ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ ให้เกิดประโยชน์ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ทสี่ ุด ๓ สร้างความรู้ความ - ผู้เข้าร่วมอบรม สิง่ แวดล้อม 1.วิทยากร เ ข ้ า ใ จ แ ล ะ ไ ด ้ ร ั บ ค ว า ม รู้ บรรยายให้ความรู้ ตระหนักในเรื่อง เ ก ี ่ ย ว กั บ ส่งิ แวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ ม ๔ อนุรักษ์ธรรมชาติ - ผู้เข้าร่วมอบรม หลักการดูแล การอนุรักษ์ 1. วิทยากรอธิบาย แ ล ะ ก า ร ด ู แ ล ได้เรียนรู้หลักการ ทรพั ยากรธรรมชาติ หลักการ ดูแล การ ทรพั ยากรธรรมชาติ ด ู แ ล ธ ร ร ม ช าติ อ น ุ ร ั ก ษ์ อย่างถูกวธิ ี อย่างถูกต้อง และ ทรัพยากรธรรมชาติ ว ิธ ีก าร อน ุร ัก ษ์ และให้ ผู้เข้าร่วม ทรัพยากรธรรมชาต อบรม ไปฝึกปฏิบัติ รวม
186 สื่อการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. พนื้ ทปี่ ่าชุมชนตำบลทับทัน การวัดผลและประเมินผล 1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหวา่ งเรยี นและจบหลกั สตู ร 2. การประเมินผลงานระหวา่ งเรยี นจากการปฏิบตั ิ ไดผ้ ลงานท่ีมคี ุณภาพสามารถจบหลักสตู ร เงอื่ นไขการจบหลกั สตู ร 1. มคี ะแนนการประเมินความรู้ตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 2. มเี วลาเขา้ รบั การอบรมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 3. มีผลงานทีม่ ีคุณภาพ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทีจ่ ะได้รับหลังจากจบหลกั สตู ร 1. หลักฐานการประเมนิ ผล
187 หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง หลักสูตรการพัฒนาพืน้ ท่ีการเกษตรรปู แบบโคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเกษตรทฤษฎี จำนวน 6 ชั่วโมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสังขะ ความเปน็ มา ในปจั จุบนั พ้นื ที่ทำการเกษตรอำเภอสังขะ หลายๆพื้นทร่ี ับมือกบั วิกฤตภัยแลง้ เกษตรกรในพื้นท่ีขาดแคลนน้ำใช้ในการอปุ โภค บรโิ ภค รวมถึงนำ้ สำหรับใชใ้ นการทำเกษตร ซึ่งเป็นการประกอบอาชีพ หารายได้เลย้ี งปากท้องของตนเอง สำนักงาน กศน.มี ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนินงาน คอื จัดส่งเสรมิ การจัดการเรียนร้ทู ห่ี ันสมัยและมปี ระสิทธภิ าพ เอือ้ ต่อการเรยี นรูส้ ำหรบั ทุกคน สามารถเรยี นได้ทุกทท่ี ุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมซน เสรมิ สรา้ งความ ร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่าย ท้ังภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินรวมทัง้ สง่ เสริมและสนบั สนนุ การมีส่วนรว่ มของชมุ ซน เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจ และใหเ้ กดิ ความร่วมมือในการส่งเสรมิ สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ มแี นวคิดใน การส่งเสรมิ ให้ความรกู้ ารพฒั นาพืน้ ท่ใี หเ้ หมาะสมทางการเกษตร ซง่ึ เปน็ การผสมผสานเกษตร ทฤษฎใี หม่ เข้ากับภูมิปัญญาพืน้ บ้านท่ีอยู่อยา่ งสอดคล้องกับรรมซาติในพืน้ ที่น้ันๆ และมรี ปู แบบการพฒั นาพ้นื ท่ี โคกหนอง นาโมเดล ๖ รปู แบบ มาชว่ ยส่งเสริมการพัฒนาพน้ื ทที่ างการเกษตรอย่างเป็นระบบ เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกนั สามารถยนื หยัดอยใู่ ด้อยา่ งมนั่ คง และมีการบรหิ ารจัดการ ความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน สามารถดำรงชีวติ ทเี่ หมาะสมกับชว่ งวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภายใตก้ รอบนโยบายการฟื้นฟเู ศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ประยุกต์สู่ \"โคก หนอง นา โมเดล\" เปน็ การพัฒนาพืน้ ทีเ่ รยี นรู้ชมุ ชนตันแบบโคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโคก หนอง นา โมเดล คือ การจดั การพน้ื ท่ีซ่งึ เหมาะกบั พ้นื ทก่ี ารเกษตร ซง่ึ เปน็ ผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมปิ ัญญาพนื้ บา้ นทอ่ี ยู่อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพ้ืนที่นน้ั ๆ โดยมี องคป์ ระกอบ ดงั นี้ ๑. โคก : พืน้ ทส่ี ูง ดนิ ท่ีขดุ ทำหนองนำ้ น้นั ใหน้ ำมาทำโคก บนโคกปลูก \"ปา่ ๓ อยา่ ง ประโยชน์ ๔ อย่าง\" ตามแนวทางพระราชดำริ / ปลูกพืช ผกั สวนครัว เลย้ี งหมู เลย้ี งไก่เล้ยี งปลา ทำใหพ้ ออยู่ พอกนิ พอใช้ พอรม่ เย็น เป็นเศรษฐกิจพอเพยี งขั้นพ้นื ฐาน กอ่ นเข้าสู่ชั้นกา้ วหนา้ คอื ทำบญุ ทำทาน เกบ็ รักษา คา้ ขาย และ เชอื่ มโยงเป็นเครอื ข่าย / ปลูกท่ีอยอู่ าศัยให้สอดคลอ้ งกับสภาพภูมิประเทศ และภมู อิ ากาศ ๒. หนอง : หนองน้ำหรอื แหลง่ นำ้ ขดุ หนองเพื่อกกั เกบ็ น้ำไวใ้ ชย้ ามหน้าแลง้ หรอื จำเป็น และเปน็ ท่รี ับน้ำยามนำ้ ทว่ ม (หลุมขนมครก) / ขดุ \"คลองไส้ไก่\" หรอื คลองระบายนำ้ รอบพื้นที่ตามภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน โดยขดุ ให้คดเคยี้ วไปตามพ้นื ท่เี พ่ือให้นำ้ กระจายเต็มพื้นทเ่ี พิ่มความชุ่มชั้น ลดพลังานในการรดนำ้ ตันไม้ / ทำ ฝ่ายทด นำ้ เพือ่ เกบ็ น้ำเขา้ โวใ้ นพืน้ ทีใ่ หม้ ากทสี่ ดุ โดยเฉพาะเม่ือพื้นทีโ่ ดยรอบไม่มกี ารกกั เกบ็ นำ้ น้ำจะหลากสงมายังหนองนำ้ และ คลองไสไ้ ก่ ใหท้ ำฝายทดนำ้ เก็บไวใ้ ช้ยามหนา้ แล้ง / พฒั นาแหล่งน้ำในพ้นื ท่ี ทง้ั การขุดลอก หนอง ดู คลอง เพือ่ กกั เก็บน้ำ ไวใ้ ช้ยามหน้าแลง้ และเพิม่ การระบายน้ำยามนำ้ หลาก
188 ๓. นา : พ้นื ท่นี าน้ันให้ปลกู ข้าวอินทรยี พ์ ้ืนบา้ น โดยเรม่ิ จากการฟนื้ ฟดู ิน ด้วยการทำเกษตรอินทรีย์ย่งั ยนื คืนชวี ิต เล็ก ๆ หรือจุลินทรยี ์กลบั คนื แผน่ ดินใชก้ ารควบคุมปรมิ าณนำ้ ในนาเพ่อื คมุ หญ้า ทำให้ปลอดสารเคมไี ด้ ปลอดภยั ทั้งคน ปลกู คนกิน / ยกคันนาใหม้ ีความสูงและกวา้ ง เพอ่ื ใชเ้ ป็นทร่ี บั น้ำยามนำ้ ท่วม ปลูกพชื อาหารตามคันนา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสงั ขะ ไดน้ ำนโยบายและยทุ ธศาสตร์ขา้ งต้นไปสูก่ ารปฏิบัติเพื่อ จดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพือ่ ให้กลุ่มเปา้ หมายที่เข้าร่วมกจิ กรรมได้มีการใช้ ชีวติ ประจำวนั ตามหลักการของความพอเพยี ง ความพอดี การใช้ชีวติ อยา่ งรอบคอบไมฟ่ มุ่ เฟือย ใช้ชีวติ ในความไม่ ประมาท และสามารถดำรงอยู่ได้อยา่ งม่ันคงและยั่งยนื ภายใต้กระแสโลกภวิ ตั น์ และการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆ นาไปสกู่ าร ขยายผลการใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตและบรทิ ารจดั การชมุ ชน และเพ่ือให้ กศน.ตำบล ในสังกดั ทงั้ ๑๒ แห่ง ของกศน.อำเภอสังขะ เป็นศูนย์กลางในการจัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และเปน็ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตใน รูปแบบใหม่ที่สรา้ งความมนั่ คงใหแ้ กป่ ระชาชนและประเทศชาตติ อ่ ไป หลักการของหลกั สูตร ๑. เปน็ หลกั สูตรเพือ่ พัฒนาอาชีพและเพือ่ ส่งเสริมการเรียนร้กู ารน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประยุกต์สกู่ ารปฏิบัตกิ ารออกแบบพ้นื ที่ โคก หนองนา โมเดล ๒. เป็นหลักสูตรทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนรู้จกั การลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริงและสง่ เสรมิ พฒั นาพ้นื ทชี่ ุมชนตนั แบบโคกหนองนา โมเดลเป็นชุมชนแหล่งการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. เปน็ หลกั สูตรทีส่ ามารถนำความรูแ้ ละประสบการณท์ ่ไี ด้รับไปประยกุ ตใิ ช้ในชวี ติ ประจำวันและสง่ เสริมการจัด พ้นื ทกี่ ารเกษตรรูปแบบพ้นื ทีโ่ คกหนองนาโมเดล ๖ รปู แบบ จุดมุ่งหมาย ๑. ผู้เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความเป็นมา ความสำคัญและประโยชนข์ องรูปแบบพน้ื ท่ี โคกหนองนา โมเดล ๖ รูปแบบ ๒. ผ้เู รยี นสามารถนำความรไู้ ปลงมอื ปฏบิ ตั ิ รจู้ กั ใช้พืน้ ที่การเกษตรของตนใหเ้ กิดประโยชน์ สงู สดุ ตามรปู แบบโคกหนองนาโมดลและสามารถสามารถใช้เป็นโมเดลชมุ ชนแหล่งการเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎใี หม่ ๓. ผูเ้ รียนมีคุณธรรมในการดำรงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎใี หม่ กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนทั่วไป ในพ้ืนทอี่ ำเภอสงั ขะ จงั หวดั สุรนิ ทร์ ระยะเวลา ระยะเวลา จำนวน ๑๒ ชัว่ โมง (ทฤษฎี ๔ ชวั่ โมง ปฏบิ ตั ิ จำนวน ๘ ชว่ั โมง)
189 โครงสรา้ งหลักสตู ร ท่ี เรอื่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจดั จำนวนชวั่ โมง กะบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 ความเป็นมาของ เพอื่ ให้มคี วามรู้ความเข้าใจ ความเป็นมา ความสำคญั ครูและวิทยากร ๑ ๑ ทฤษฎี โคก เกีย่ วกับความเปน็ มา ความหมายและประโยชน์ ของ บรรยายความ หนอง นา โมเดล ความสำคัญความหมายและ โคก หนอง นา โมเดล ๖ เป็นมา ความสำคัญ ประโยชน์ โคก หนอง นา รปู แบบ ความหมายและ โมเดล ประโยชนข์ อง โคก หนอง นา โมเดล 2 การออกแบบ เพ่อื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ วธิ กี ารออกแบบ และการ -การบรรยายการ ๑ 3 ๑ ๑ พนื้ ที่ โคก หนอง เกี่ยวกับการออกแบบพฒั นา พฒั นาพ้ืนทกี่ ารเกษตรรปู แบบ ออกแบบพ้นื ท่ีโคก นา โมเดล พ้นื ท่ี โคก หนอง นา โมเดล โคก หนอง นา โมเดล ตามหลัก หนอง นา โมเดล ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง -การสาธติ ตัวอย่าง เกษตรทฤษฎใี หม่ การออกแบบพ้ืนท่ี -การฝกึ ปฏิบตั แิ ละ การออกแบบการ พฒั นาพน้ื ท่ี โคก หนอง นา โมเดล ๓ การได้ประโยชน์ -เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ -ประโยชน์ของการออกแบบ - วทิ ยากรบรรยาย จากพ้นื ทรี่ ปู แบบ เกีย่ วกับประโยชน์จากพื้นที่ พัฒนาพนื้ ท่ีการเกษตรรปู แบบ ให้ความรู้และให้ โคก หนอง นา รูปแบบ โคก หนอง นา โคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ผู้เรียนศกึ ษาจาก โมเดล โมเดล นำไปสกู่ ารดำรงชีวติ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตวั อยา่ ง VDO ผทู้ ี่ ตามหลกั ปรัชญาของ เกษตรทฤษฎใี หม่ ทำการเกษตรพนื้ ท่ี เศรษฐกจิ พอเพยี ง โคก หนอง นา โมเดล -ให้ผู้เรยี นทำใบงาน
190 ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา การจดั จำนวนช่วั โมง กะบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ๔. การประยุกต์ใช้ เพ่อื ให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เรยี นรู้ โคก หนอง นา เก่ียวกับการพัฒนาพ้ืนที่ ๑๓ โมเดล ๖ รปู แบบ โคก หนอง นา -การพัฒนาพืน้ ท่กี ารเกษตรของ -วิทยากรบรรยาย รปู แบบ โมเดล ๖ รปู แบบ เป็น พืน้ ฐาน และประยกุ ต์ใชก้ ับ ตนเอง ยดึ พ้นื ฐาน ๖ รูปแบบ ให้ความรแู้ ละให้ พื้นท่ีตนเอง นำไปสู่การ ดำรงชวี ิตตามหลักปรัชญา โคก หนอง นา โมเดล มา ผเู้ รียนศกึ ษาจาก ของเศรษฐกจิ พอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ใชแ้ ละพฒั นาเพ่ือใช้ ตวั อย่าง VDO ผูท้ ่ี กับพน้ื ท่ีของตน ตามหลกั ทำการเกษตร ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พื้นทโ่ี คก หนอง เกษตรทฤษฎใี หม่ นา โมเดล -ให้ผู้เรียนทำใบ งาน รวม ๔๘ รวมทั้งสิน้ ๑๒
191 สอ่ื การเรียนรู้ 1.1 ใบความรู้ /แผ่นพบั /เอกสารประกอบการเรยี นร้/ู สอื่ VDO 1.2 วทิ ยากร / ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ 1.3 การศกึ ษาดงู านในสถานท่ีจริง การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. สงั เกตการมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมของผ้เู ขา้ รบั การอบรม 2. การซักถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคดิ เห็น 4. ผลการปฏิบัตงิ านของผเู้ รียน 5. ตรวจสอบเวลาเรยี น เงื่อนไขการจบหลักสูตร 1. มเี วลาเรียนและฝกึ ปฏิบตั ติ ามหลักสูตรไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่จะไดร้ บั หลังจากจบหลกั สูตร 1. หลกั ฐานการประเมนิ ผล 2. วุฒิบตั รออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบียนคุมวุฒิบัตร
192 หลกั สูตรการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
193 ชอื่ หลักสูตร การศึกษาเรียนรตู้ ามศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล จำนวน 6 ช่ัวโมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสงั ขะ ความเป็นมา จากนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยประจำปงี บประมาณ 2564 ภารกิจเร่งดว่ น ข้อที่ 1 การน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่ การปฏบิ ัติ “หนึง่ ชุมชน หนง่ึ นวตั กรรมการพฒั นาชุมชนถนิ่ ไทยงาม” เพอื่ ความกินดอี ยูด่ ี มงี านทำ เชน่ โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้ำใส, พลงั งานทดแทน (แสงอาทติ ย)์ ,จติ อาสาพฒั นาชุมชน ดงั นนั้ เพื่อเปน็ การสง่ เสรมิ สนับสนนุ และตอบสนองกบั ความตอ้ งการของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายใน กศน.อำเภอสงั ขะ จงึ ได้จดั ทำหลักสูตรการศกึ ษาเรียนรตู้ ามศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล จำนวน 6 ชั่วโมงขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมการใช้พื้นที่ในการทำการ เกษตรอย่างมี ประสิทธภิ าพใหก้ ับประชาชนกล่มุ เป้าหมายและผู้สนใจในตำบลให้สามารถนำไปพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตลอดจน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมในพืน้ ท่ีตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหเ้ กิดความมนั่ คงต่อไป หลักการของหลักสตู ร 1. เปน็ หลกั สูตรทีต่ อบสนองความต้องการเรยี นรขู้ องประชาชนในเร่อื งการศกึ ษาเรียนรู้ตามศาสตร์ พระราชา โคก หนอง นา โมเดล 2. เนน้ การประยกุ ตก์ ารใชพ้ ้นื ทีใ่ นการทำการเกษตรอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. มุ่งใหผ้ เู้ รียนนำไปพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมในพน้ื ทต่ี าม แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงหลังจบหลักสตู ร จดุ ม่งุ หมาย เพอื่ ให้ประชาชนกลมุ่ เป้าหมายที่มีพ้นื ที่ทำการเกษตรหรือมอี าชีพเกษตรกรอยู่แล้วและต้องการพัฒนา พนื้ ทตี่ ามศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล และสามารถนำความร้ไู ปใช้ในการประกอบอาชพี ได้ กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนท่ัวไปในพื้นท่ีอำเภอสงั ขะ จังหวัดสรุ ินทร์ ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 3 ช่ัวโมง ภาคปฏบิ ัติ 3 ช่วั โมง รวม 6 ชว่ั โมง
194 โครงสรา้ งหลักสูตร ท่ี เรื่อง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจัด จำนวนช่วั โมง กะบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 รูปแบบ “โคก 1.1 อธิบายความเป็นมา 1.1 ความเป็นมาของทฤษฎี 3- หนอง นา” ของทฤษฎี “โคก หนอง “โคก หนอง นา” โมเดล - ศึกษาข้อมูลจาก โมเดล นา” โมเดล 1.2.1 การวางแผนและการ เอกสาร สอ่ื ต่าง 1.2 อธิบายการทำเกษตร บรหิ ารจดั การพื้นที่ ๆ สถานท่ีจริง สอื่ ทฤษฎใี หม่ตามแนว 1.2.2 ตวั อยา่ งท่ปี ระสบ ของจรงิ ภูมปิ ญั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ ความสำเร็จ ในชมุ ชน เพื่อนำ บริหารจัดการน้ำ และพ้ืนที่ ข้อมูลมาใช้ในการ การเกษตร ประกอบอาชีพ ท่ี มีความเปน็ ไปได้ ในชุมชน 2 การออกแบบ 2.1 อธิบายความรเู้ บอ้ื งต้น 2.1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกบั 1. วทิ ยากร/ภมู ิ 3 พ้ืนที่ โคก หนอง เกีย่ วกับการออกแบบพน้ื ที่ การออกแบบพืน้ ที่ โคก หนอง ปญั ญาให้ความรู้ 3 นา โมเดล โคก หนอง นา โมเดล นา โมเดล ภาคทฤษฎีและให้ 2.2 สามารถแบง่ พน้ื ท่เี ป็น 2.2 การแบง่ พื้นที่เป็นสดั สว่ น ผ้เู รียนฝกึ ปฏิบัติ สดั สว่ น 30 : 30 : 30 : 30 :30 : 10 ดังนี้ 30% จดบนั ทกึ ผลการ 30 : 10 ดังน้ี 30% สำหรับแหล่งนำ้ โดยการขดุ บ่อ เรียนรู้ และ สำหรบั แหลง่ น้ำ โดยการขุด ทำหนองและคลองไสไ้ ก่ 30% แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ บอ่ ทำหนองและคลองไส้ไก่ สำหรบั ทำนา ปลูกข้าว30% นำเสนอผลงาน 30% สำหรบั ทำนา ปลูก สำหรบั ทำโคกหรือป่า ปลกู ป่า และผลการเรียนรู้ ข้าว30% สำหรบั ทำโคก 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ก็ 2. วิทยากร/ภูมิ หรือปา่ ปลูกปา่ 3 อย่าง คือปลกู ไม้ใช้สอย ไมก้ นิ ไดแ้ ละ ปัญญาตรวจสอบ ประโยชน์ 4 อยา่ ง ก็คือ ไมเ้ ศรษฐกิจ เพื่อใหไ้ ดป้ ระโยชน์ ผลงาน ผลการ ปลูกไมใ้ ช้สอย ไม้กนิ ได้และ คือ มีกิน มอี ยู่ มีใช้ มคี วาม เรยี นรู้ และให้ ไมเ้ ศรษฐกิจ เพ่อื ใหไ้ ด้ สมบรู ณแ์ ละความร่มเยน็ และ ขอ้ เสนอแนะสรุป ประโยชน์ คือ มีกนิ มีอยู่ มี 10% สำหรับท่อี ยู่อาศยั และ องค์ความรูเ้ พื่อ ใช้ มคี วามสมบรู ณ์ เลี้ยงสตั ว์ เชน่ ไก่ ปลา ววั และ การพฒั นาต่อยอด และความรม่ เย็น และ ควายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 10% สำหรบั ท่อี ยูอ่ าศยั 2.3 ความรู้พื้นฐานและเทคนิค และเล้ียงสตั ว์ เช่น ไก่ ปลา การออกแบบพ้นื ท่ี ววั และควายได้อยา่ งถกู ต้อง รวม 3
195 สื่อการเรียนรู้ 1.1 ใบความรู้ 1.2 วทิ ยากร / ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ 1.3 การศึกษาดงู านในสถานที่จริง การวัดผลและประเมินผล 1. สงั เกตการมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมของผ้เู ขา้ รบั การอบรม 2. การซักถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคดิ เห็น 4. ผลการปฏิบัตงิ านของผูเ้ รียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เงื่อนไขการจบหลกั สตู ร 1. มเี วลาเรียนและฝึกปฏิบตั ติ ามหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 เอกสารหลักฐานการศึกษาทีจ่ ะได้รบั หลังจากจบหลกั สูตร 1. หลกั ฐานการประเมินผล 2. วุฒิบัตรออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบยี นคุมวุฒิบัตร
196 แบบเขียนหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ช่อื หลักสูตรการทำนำ้ หมักชวี ภาพ จำนวน 6 ช่วั โมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสังขะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ความเปน็ มา อาชีพด้านเกษตรกรรม นับเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรของประเทศไทย และผลผลิตทางการเกษตร ส่วนใหญ่ใช้ปุ๋ยเคมีเป็นหลัก เนื่องจากหาซือ้ ง่าย ใช้แล้วเห็นผลรวดเร็ว แต่ในระยะยาวส่งผลให้ดนิ เสื่อมโทรม รวมทั้งผลกระทบดา้ นสารตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ซง่ึ ส่งผลโดยตรงตอ่ สขุ ภาพของผู้บริโภค การใช้ปุ๋ย ชวี ภาพ ซง่ึ ผลิตจากสารธรรมชาติ เปน็ ทางเลอื กหน่งึ ในการแก้ปัญหาผลกระทบท่ีเกดิ จากการใช้ปยุ๋ เคมี หลักการของหลักสตู ร หลักสูตรการประกอบอาชีพการทำน้ำหมักชีวภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยอำเภอสังขะมหี ลกั การดังนี้ 1. เป็นการจัดหลักสูตรด้านเกษตรกรรม ที่มีความยืดหยุ่นด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ และการ วัดผลประเมนิ ผล 2. การจัดหลักสูตรการทำน้ำหมักชีวภาพ มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไป หรือผู้ที่มีอาชีพแต่ ตอ้ งการพฒั นาอาชีพให้มคี วามมั่นคงยิง่ ขึ้น 3. เปน็ การส่งเสริมความรว่ มมอื ในการดำเนินงานรว่ มกับเครอื ข่าย 4. การจัดกระบวนการเรียนรู้ มุ่งเน้นการอบรม การฝึกปฏิบัติ การเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนา กลุ่มเปา้ หมายให้มคี วามพรอ้ มในการประกอบอาชพี ใหเ้ กิดความเข้มแขง็ มน่ั คง จดุ มงุ หมาย หลักสูตรการทำน้ำหมักชีวภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ มีจุดหมายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการทำน้ำหมักชีวภาพ สามารถนำไปใช้ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันได้ กล่มุ เป้าหมาย ประชาชนทวั่ ไป อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสรุ ินทร์ ระยะเวลา จำนวน 6 ช่ัวโมง (ทฤษฎี 3 ช่ัวโมง ปฏิบตั ิ 3 ชั่วโมง)
197 โครงสร้างหลกั สตู ร ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค์การ เนือ้ หา การจัด จำนวนช่วั โมง เรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 การทำนำ้ 1.เพื่อใหผ้ ้เู รยี นได้รู้ 1.ความสำคญั ของ วิทยากรอธบิ าย 3- หมักชีวภาพ ถงึ วิธกี ารขน้ั ตอนการ การทำนำ้ หมักชวี ภาพ 1.แนะนำวัสดุ ทำนำ้ หมักชีวภาพ 2.จุดประสงคข์ องการ อุปกรณท์ ี่ใช้และ คดิ คน้ \"นำ้ หมัก สว่ นประกอบ ชวี ภาพ\"และ 2.จดุ ประสงคข์ อง ประโยชนข์ องการใช้ การคิดคน้ \"นำ้ หมัก นำ้ หมัก ชีวภาพ\"และ 3.วสั ดุอุปกรณท์ ใ่ี ช้ ประโยชน์ของการ และสว่ นประกอบ ใช้นำ้ หมัก 4.ข้ันตอนวิธีการทำ 3.ขั้นตอนวธิ กี ารทำ และอัตราส่วนของ และอตั ราส่วนของ วตั ถุดบิ ท่ีใช้ผสม วัตถดุ ิบที่ใช้ผสม\"นำ้ \"นำ้ หมกั ชีวภาพ\" หมักชวี ภาพ\" 2 ทักษะการทำ 2.เพื่อใหผ้ ู้เรยี น 1.วิธกี ารทำนำ้ หมกั วิทยากรสาธิตและ - 3 3 3 น้ำหมัก สามารถนำไปใช้ ชีวภาพ ประโยชน์ ลงมือปฏิบตั ิจริง ชวี ภาพ ประโยชน์ด้าน ดา้ นการเกษตรได้ -อธบิ ายพรอ้ ม การเกษตรไดแ้ ละเปน็ และเปน็ การลดตน้ ทุน ยกตวั อยา่ งวัสดุ การลดต้นทนุ ในการ ในการทำเกษตร และส่วนผสม ทำเกษตร 2.การควบคมุ เชน่ ปุ๋ยคอก แกลบ คณุ ภาพผลผลติ และ ดำ นำ้ ผสมหัวเชอ้ื บรรจุภัณฑ์ เชอ้ื EM กากน้ำตาล พร้อม สาธิตการวิธที ำนำ้ หมักชวี ภาพ รวม
198 สื่อการเรียนรู้ 1.1 ใบความรู้ 1.2 วิทยากร / ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎรี ะหวา่ งเรยี นและจบหลกั สูตร 2. การประเมนิ ผลงานระหวา่ งเรียนจากการปฏบิ ตั ไิ ดผ้ ลงานทมี่ ีคุณภาพและจบหลักสตู ร เงื่อนไขการจบหลกั สตู ร 1. มีเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบัตติ ามหลักสูตรไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 3. มผี ลงานทมี่ ีคุณภาพ เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่จี ะไดร้ ับหลงั จากจบหลักสตู ร 1. วฒุ ิบตั รออกโดยสถานศึกษา 2. ทะเบยี นคุมวฒุ ิบัตร การเทยี บโอน -
199 แบบเขียนหลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ชือ่ หลักสูตรหลกั ทฤษฎีใหม่ศาสตร์พระราชาประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” จำนวน ๖ ชั่วโมง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสงั ขะ ความเป็นมา เน่ืองจากปจั จุบันสภาพปัญหาเศรษฐกิจที่รุมเร้าประชาชนในเวลาน้ี เชน่ ขา้ วของแพง ค่าครองชีพสูง ภาวะเศรษฐกิจของประเทศย่ำแย่ การว่างงาน ตกงาน รายได้ลดลง เงินไม่พอใช้ การแพร่ระบาดของโรคโค วดิ -19 ทำใหป้ ระชาชนดำรงชีพดว้ ยความยากลำบาก กศน.อำเภอสังขะ จึงมีนโยบายจัดโครงการอบรมหลักทฤษฎีใหม่ศาสตร์พระราชาประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” โซนเหนือ กศน.อำเภอสังขะ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ เพื่อฟนื้ ฟเู ศรษฐกิจและชุมชนทไ่ี ด้รับผลกระทบในครั้งนี้ การพฒั นาพื้นทต่ี ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตาม หลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เปน็ การพัฒนาพ้ืนท่เี รียนรู้ชุมชนตน้ แบบ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและฟ้นื ฟูเศรษฐกจิ ท้องถิ่นและชุมชน เป็นการสร้างงาน สรา้ งรายได้ ใหก้ ับครัวเรือนและชมุ ชน เกดิ การกระตนุ้ เศรษฐกิจฐานราก ฟืน้ ฟูและพฒั นาท้องถิ่นของตนเองต่อไป หลกั การของหลกั สูตร 1. เป็นหลกั สตู รท่ชี ว่ ยส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรเู้ รือ่ งพน้ื ท่ตี น้ แบบและครวั เรือนต้นแบบการพัฒนา คณุ ภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎใี หมร่ ปู แบบประยกุ ต์ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมให้ความรู้การเกษตรแบบผสมผสานสำหรับประชาชนทั่วไป และเพ่ิม ประสิทธภิ าพการเกษตรในพื้นท่เี หมาะสม 3. เปน็ หลักสูตรทสี่ ง่ เสรมิ ให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพในถนิ่ ฐานไดอ้ ยา่ งม่นั คงและย่งั ยนื ตาม แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนำความรู้และประสบการณ์ทไ่ี ด้รับไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน จุดมงุ่ หมาย หลกั สูตรน้ีใหค้ วามรูแ้ ละประสบการณเ์ พอื่ ให้ผจู้ บหลกั สตู รมคี ุณลักษณะดงั น้ี ๑. เพอ่ื พฒั นาพนื้ ทีต่ ้นแบบและครวั เรือนตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม่รูปแบบ ประยกุ ต์ “โคก หนอง นา โมเดล” ๒. เพื่อส่งเสริมให้ความรู้การเกษตรแบบผสมผสานสำหรับประชาชนทั่วไป และเพิ่มประสิทธิภาพ การเกษตรในพืน้ ทีเ่ หมาะสม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนสามารถประกอบอาชีพในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามแนวคิด ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนท่ัวไปในพน้ื ที่ อำเภอสังขะ จังหวัดสรุ นิ ทร์ ระยะเวลา จำนวน ๖ ช่วั โมง (ทฤษฎี ๖ ชัว่ โมง ปฏิบตั ิ - ชว่ั โมง)
200 โครงสร้างหลักสูตร ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์การ เนอ้ื หา การจดั จำนวนชว่ั โมง เรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 หลกั เกษตร 1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น - ความหมายและ 1. วทิ ยากร ๓- ทฤษฎีใหมต่ าม สามารถอธบิ าย หลกั การเกษตร บรรยายเร่อื ง รอยศาสตร์ อาชีพในถิ่นฐานที่ ทฤษฎใี หม่ - เกษตรทฤษฎีใหม่ พระราชา ประกอบอาชพี ได้ - ความหมายและ - ปรชั ญาเศรษฐกจิ อยา่ งมน่ั คงและ หลกั การของ พอเพียง ย่ังยืนตามแนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ - ศาสตร์พระราชา ของปรชั ญา พอเพยี ง 2. วิทยากรและ เศรษฐกิจพอเพียงได้ - ศาสตร์ ผ้เู รยี นร่วมกนั สรปุ พระราชา องคค์ วามรู้ 2 โคก หนอง นา 1. เพ่อื ให้ผเู้ รียน - ความหมายของ 1. วิทยากร ๓- โมเดล บอกความหมายของ โคก หนอง นา บรรยายเร่ือง โคก หนอง นา โมเดล - ความหมายของ โมเดล ได้ - การปรบั โคก หนอง นา 2. เพือ่ ให้ผู้เรียน ประยกุ ต์ทฤษฎี โมเดล สามารถอธบิ ายองค์ ใหม่ส่กู ารปฏบิ ัติ - การปรับประยุกต์ ความรู้โคก หนอง ตามภมู ปิ ัญญา ทฤษฎใี หม่ส่กู าร นา โมเดล ได้ ท้องถิน่ ที่ ปฏบิ ัตติ ามภูมิ เหมาะสมกบั ภมู ิ ปญั ญาท้องถนิ่ ที่ ประเทศสแู่ นวคดิ เหมาะสมกับภูมิ โคก หนอง นา ประเทศส่แู นวคดิ โมเดล โคก หนอง นา โมเดล 2. วิทยากรและ ผเู้ รียนรว่ มกนั สรุป องค์ความรู้ รวม ๖ -
201 ส่อื การเรยี นรู้ 1.1 ใบความรู้ 1.2 วทิ ยากร / ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ การวัดผลและประเมนิ ผล 1. สังเกตการมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมของผเู้ ขา้ รบั การอบรม 2. การซักถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคดิ เห็น 4. ผลการปฏบิ ตั ิงานของผเู้ รียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เงอ่ื นไขการจบหลกั สตู ร 1. มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบัติตามหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทจี่ ะได้รับหลงั จากจบหลักสูตร 1. หลักฐานการประเมินผล 2. วุฒิบตั รออกโดยสถานศกึ ษา 3. ทะเบยี นคุมวุฒิบัตร
202 ชอ่ื หลกั สตู ร การเสริมสร้างพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตดว้ ยปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามแนวทางโคกหนองนาโมเดล จำนวน 6 ช่ัวโมง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสงั ขะ ความเป็นมา จากนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยประจำปงี บประมาณ 2564 ภารกิจเร่งดว่ น ข้อที่ 1 การน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่ การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หนึ่งนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถิ่นไทยงาม” เพื่อความกินดีอยู่ดี มีงานทำ เช่น โคก หนองนาโมเดล ,คลองสวยน้ำใส, พลงั งานทดแทน (แสงอาทติ ย์) ,จติ อาสาพฒั นาชุมชน ดังนัน้ เพื่อเป็นการส่งเสรมิ สนับสนนุ และตอบสนองกับความตอ้ งการของประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน กศน.อำเภอสงั ขะ จึงได้จัดโครงการศกึ ษาเรียนรู้ตามศาสตรพ์ ระราชา โคก หนอง นา โมเดล กศน.อำเภอสังขะ โซนใต้ ภาคเรียนที่ 2/2563 จำนวน 6 ชั่วโมงขึ้น เพื่อเป็นการให้ความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมการใช้ พื้นที่ในการทำการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจในต ำบลให้สามารถ นำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ตามแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงใหเ้ กดิ ความมนั่ คงต่อไป หลักการของหลกั สูตร 1. เปน็ หลกั สูตรท่ีตอบสนองความต้องการเรยี นรขู้ องประชาชนในเรอ่ื งการศกึ ษาเรยี นรูต้ ามศาสตร์ พระราชา โคก หนอง นา โมเดล 2. เนน้ การประยกุ ตก์ ารใชพ้ ืน้ ท่ใี นการทำการเกษตรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3. มุ่งให้ผเู้ รยี นนำไปพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ตลอดจนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มในพ้นื ทีต่ าม แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงหลังจบหลักสูตร จดุ มุ่งหมาย เพ่ือให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีมีพ้นื ทที่ ำการเกษตรหรอื มอี าชพี เกษตรกรอย่แู ลว้ และต้องการพฒั นา พน้ื ท่ีตามศาสตร์พระราชา โคก หนอง นา โมเดล และสามารถนำความรูไ้ ปใช้ในการประกอบอาชีพได้ กลมุ่ เป้าหมาย ประชาชนท่วั ไปในพนื้ ท่ีอำเภอสังขะ จงั หวัดสรุ ินทร์ 1. ผู้ทไี่ มม่ อี าชีพ 2. ผูท้ ่ีมอี าชีพและต้องการพฒั นาอาชีพ 3. ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณไ์ วรสั โคโรน่า 2019 (โควิด -19) ระยะเวลา ภาคทฤษฎี 3 ช่วั โมง ภาคปฏบิ ัติ 3 ช่วั โมง รวม 6 ชัว่ โ
203 โครงสรา้ งหลักสูตร ท่ี เรื่อง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจัด จำนวนช่วั โมง กะบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 รูปแบบ “โคก 1.1 อธิบายความเป็นมา 1.1 ความเป็นมาของทฤษฎี 3- หนอง นา” ของทฤษฎี “โคก หนอง “โคก หนอง นา” โมเดล - ศึกษาข้อมูลจาก โมเดล นา” โมเดล 1.2.1 การวางแผนและการ เอกสาร สอ่ื ต่าง 1.2 อธิบายการทำเกษตร บรหิ ารจดั การพื้นที่ ๆ สถานท่ีจริง สอื่ ทฤษฎใี หม่ตามแนว 1.2.2 ตวั อยา่ งท่ปี ระสบ ของจริงภูมปิ ญั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ ความสำเร็จ ในชมุ ชน เพื่อนำ บริหารจัดการน้ำ และพ้ืนที่ ข้อมูลมาใช้ในการ การเกษตร ประกอบอาชีพ ท่ี มีความเปน็ ไปได้ ในชุมชน 2 การออกแบบ 2.1 อธิบายความรเู้ บอ้ื งต้น 2.1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกบั 1. วทิ ยากร/ภมู ิ 3 พ้ืนที่ โคก หนอง เกีย่ วกับการออกแบบพน้ื ที่ การออกแบบพืน้ ที่ โคก หนอง ปญั ญาให้ความรู้ 3 นา โมเดล โคก หนอง นา โมเดล นา โมเดล ภาคทฤษฎีและให้ 2.2 สามารถแบง่ พน้ื ท่เี ป็น 2.2 การแบง่ พื้นที่เป็นสดั สว่ น ผ้เู รียนฝึกปฏิบัติ สดั สว่ น 30 : 30 : 30 : 30 :30 : 10 ดังนี้ 30% จดบนั ทึกผลการ 30 : 10 ดังน้ี 30% สำหรับแหล่งนำ้ โดยการขดุ บ่อ เรียนรู้ และ สำหรบั แหลง่ น้ำ โดยการขุด ทำหนองและคลองไสไ้ ก่ 30% แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ บอ่ ทำหนองและคลองไส้ไก่ สำหรบั ทำนา ปลูกข้าว30% นำเสนอผลงาน 30% สำหรบั ทำนา ปลูก สำหรบั ทำโคกหรือป่า ปลกู ป่า และผลการเรียนรู้ ข้าว30% สำหรบั ทำโคก 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ก็ 2. วิทยากร/ภูมิ หรือปา่ ปลูกปา่ 3 อย่าง คือปลกู ไม้ใช้สอย ไมก้ นิ ไดแ้ ละ ปัญญาตรวจสอบ ประโยชน์ 4 อยา่ ง ก็คือ ไม้เศรษฐกิจ เพื่อใหไ้ ดป้ ระโยชน์ ผลงาน ผลการ ปลูกไมใ้ ช้สอย ไม้กนิ ได้และ คือ มีกิน มอี ยู่ มีใช้ มคี วาม เรยี นรู้ และให้ ไมเ้ ศรษฐกิจ เพ่อื ใหไ้ ด้ สมบรู ณแ์ ละความร่มเยน็ และ ขอ้ เสนอแนะสรุป ประโยชน์ คือ มีกนิ มีอยู่ มี 10% สำหรับท่อี ยู่อาศยั และ องค์ความรูเ้ พื่อ ใช้ มคี วามสมบรู ณ์ เลี้ยงสตั ว์ เชน่ ไก่ ปลา ววั และ การพฒั นาต่อยอด และความรม่ เย็น และ ควายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 10% สำหรบั ท่อี ยูอ่ าศยั 2.3 ความรู้พื้นฐานและเทคนิค และเล้ียงสตั ว์ เช่น ไก่ ปลา การออกแบบพ้นื ท่ี ววั และควายได้อยา่ งถกู ต้อง รวม 3
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217