204 สอ่ื การเรียนรู้ 1 ใบความรู้ 2 วทิ ยากร / ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ 3 การศกึ ษาดงู านในสถานท่ีจรงิ การวดั ผลและประเมินผล 1. สังเกตการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมของผูเ้ ขา้ รับการอบรม 2. การซักถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคิดเห็น 4. ผลการปฏบิ ตั ิงานของผเู้ รียน 5. ตรวจสอบเวลาเรียน เงื่อนไขการจบหลกั สูตร 1. มีเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบัติตามหลกั สูตรไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินผ่านตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่จี ะไดร้ ับหลังจากจบหลักสตู ร 1. หลักฐานการประเมินผล 2. วฒุ บิ ตั รออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบียนคุมวฒุ บิ ัตร
205 หลกั สูตร 1 อำเภอ 1 อาชีพ
206 แบบเขียนหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ ง ชื่อหลักสูตร วชิ าการเลีย้ งปลา จำนวน 50 ชวั่ โมง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสังขะ …………………………………......................................................……………………………………………………………………… … ความเป็นมา ในภาวการณ์ปจั จุบัน ความเจริญกา้ วหนา้ ด้านเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี มีการพฒั นาอยา่ งรวดเร็ว การดำเนินชีวติ การประกอบอาชพี มกี ารแข่งขนั ค่อนขา้ งสูง มกี ารใช้จา่ ยในชวี ิตประจำวันทเี่ พิ่มขึ้น อีกทัง้ สภาพบ้านเมืองในปจั จุบนั ที่ประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจ ราคาสนิ ค้าโดยทั่วไปได้ปรบั ตวั สงู ประชาชน โดยทว่ั ไปจึงตอ้ งแบกภาระคา่ ใช้จา่ ยทเี่ พิ่มขึ้น ดังนั้น การประกอบอาชพี ในปัจจบุ นั จงึ ไม่ได้มุ่งเน้นเพยี ง รายได้ หลกั เพียงอย่างเดยี ว การสนับสนุนใหป้ ระชาชนโดยท่วั ไปมีอาชพี เสรมิ เพ่ือเพิ่มพนู รายไดต้ ลอดจน การพ่ึงพา ตนเองโดยใชห้ ลกั การและปรชั ญา “เศรษฐกิจพอเพียง ” ซ่งึ มคี วามเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจใน ปัจจุบนั การจัดการศึกษาเพ่อื การมีอาชพี และการสง่ เสรมิ ให้มีการพฒั นาอาชีพ เป็นแนวทางและสรา้ งโอกาส ใหก้ บั ประชาชนผูส้ นใจ ได้ศกึ ษาเรยี นรดู้ ้านอาชีพที่หลากหลาย เป็นการแกป้ ัญหาการว่างงานและส่งเสริม ความ เขม้ แข็ง กระตนุ้ เศรษฐกิจในชุมชน เพ่ือใหป้ ระชาชนไดม้ อี าชีพทสี่ ามารถสรา้ งรายได้ทมี่ ัน่ คง จึงได้ กำหนด หลักการจดั ทำแผนการมงี านทำ รวมท้ังเน้นการบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ประชาชนใน ชมุ ชนและวิถีชีวิตของคนในชมุ ชน อาชีพทีเ่ ป็นท่ีตอ้ งการของตลาดและเปน็ อาชีพท่ี สามาถลดรายจ่าย สร้างอาชีพทีม่ ั่นคงใหเ้ กษตรกรได้ อีกอาชีพหนึง่ ทส่ี ถานศกึ ษาไดส้ ำรวจความตอ้ งการของ ประชาชน คืออาชีพการเล้ียงปลา ซึง่ ไดร้ บั ความนิยมใน การ บริโภคและมกี ารเลย้ี งกันทัว่ ทกุ ภาคของประเทศไทย สามารถเลี้ยงงา่ ย โตเรว็ และทนทานต่อ สภาพแวดล้อมสูง ระยะเวลา 3-4 เดอื น ก็สามารถจบั ปลาได้แลว้ เหมาะสำหรบั ผู้ทีม่ พี น้ื ท่นี อ้ ย อาจเป็นพื้นท่ี บรเิ วณบ้านหรอื ในสวน จะเลย้ี งไว้ รบั ประทานในครอบครวั หรอื เป็นอาชีพเสรมิ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสงั ขะ ได้เห็นความสำคัญของการฝกึ ทักษะอาชีพการเลยี้ งปลา จึงได้จัดทำหลกั สูตรวชิ าการเลยี้ งปลา จำนวน 50 ชว่ั โมง เพื่อเป็นการแกป้ ญั หา ให้กับผู้ท่ีสนใจฝึกฝนอาชพี เพ่อื การมีงานทำและได้นำความรูท้ ไี่ ดร้ บั จากการอบรมไปเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชพี เพ่ือสร้างรายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครัว ตอ่ ไป หลักการของหลักสูตร เปน็ หลกั สตู รทเี่ น้นการฝกึ ปฏบิ ตั ิจริง โดยใช้กระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะ และเปน็ หลกั สูตรที่ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรูไ้ ปปรับใชไ้ ดจ้ ริงเพ่มิ ชอ่ งทางในการประกอบอาชพี วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนรู้ และฝกึ ทักษะการทำบ่อเลยี้ งปลา 2. เพือ่ ให้ผู้เรียนไดเ้ รียนรูว้ ิธกี ารเลี้ยงปลา 3. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นนำความรไู้ ปใช้เพื่อเพิม่ ช่องทางในการประกอบอาชพี 4. เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนมีเจตคติทด่ี ใี นการประกอบอาชีพ
207 กล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนท่ัวไปในพนื้ ทีอ่ ำเภอสังขะ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ระยะเวลา จำนวน 50 ชว่ั โมง (ทฤษฎี 16 ช่วั โมง ปฏิบัติ 34 ช่ัวโมง)
208 โครงสรา้ งหลกั สูตร ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์การ เนอื้ หา การจดั กระบวนการเรียนรู้ จำนวนชว่ั โมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1. วิธกี ารเตรียมบอ่ เลีย้ ง ๑.บอกวัสด/ุ อุปกรณ์ - วัสด/ุ วทิ ยากร บรรยายและจัด 12 ปลา การทำบ่อได้ อปุ กรณ์ การ กระบวนการ ให้ ผู้เรียนได้ ทำบอ่ เล้ียง ศกึ ษาจากวัสดุ/อุปกรณจ์ รงิ ปลาได้ เรียนรู้ ทฤษฎีควบคู่กบั การ ปฏิบตั ิจริง ผู้เรียนสังเกตุ และ จดบนั ทกึ ระหวา่ งเรยี น ๒. การคิดคำนวณ การทำ ๒. สามารถคำนวณ - การคำนวณ วิทยากร บรรยายและคำนวณ 1 ๑ บอ่ ปลา วางแผนขนาดบ่อได้ การทำบอ่ เป็นตวั อยา่ งผูเ้ รยี นได้ศึกษา คิด ปลา คำนวณ และจดบันทึก ระหวา่ ง เรียน ๓. พ้ืนทีใ่ นการขดุ บอ่ เลย้ี ง ๓. อธบิ ายขนั้ ตอน - การเตรยี ม วิทยากร บรรยายผเู้ รียนได้ 1๓ ปลา ลักษณะ พนื้ ที่ ท่ี การเตรยี มพน้ื ทใี่ น พ้ืนท่ใี นการ ศกึ ษาและจด บนั ทึกระหวา่ ง เหมาะสม การทำบอ่ เลี้ยงปลาได้ ทำบอ่ เลย้ี ง เรียน และสำรวจพ้ืนท่ีม่ี ปลา เหมาะสม -การจดั การ พืน้ ท่ใี นบ่อ ปลา 4. ข้นั ตอนการเตรียม 4. สามารถบอก - ขนั้ ตอน วทิ ยากร บรรยายผ้เู รียนได้ 1๒ พืน้ ที่ใน การทำบอ่ ข้นั ตอน วิธกี าร การ วิธกี าร การ ศึกษาและจด บันทกึ ระหว่าง เลี้ยงปลา เตรียมพน้ื ที่ทำบ่อ เตรียม พน้ื ท่ี เรยี น ผู้เรียนลงมือปฏบิ ตั ติ าม เลี้ยงปลาได้ ทำบอ่ เล้ียง ขัน้ ตอนและวธิ กี ารในการ ปลา เตรียมพ้นื ทใี่ นการทำบอ่ ปลา 5. วธิ กี ารทำบอ่ เลย้ี ง 5 .บอกวิธกี ารทำการ - การสร้างบอ่ วิทยากร บรรยายและจดั 14 ปลา/ การสรา้ งบอ่ /สร้างบ่อเลี้ยงปลาได้ เลย้ี งปลา กระบวนการ ให้ ผู้เรียนได้ ศึกษา ผู้เรยี นจดบันทึกระหว่าง เรยี น และลงมอื ปฏิบตั ใิ นการ ทำบ่อ/การสรา้ งบอ่ เลีย้ ง
209 ท่ี เร่อื ง จดุ ประสงค์การ เนอ้ื หา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชว่ั โมง 6. การเตรียมน้ำสำหรับ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เรียนรู้ การ ปลอ่ ยปลา 13 ๗. อธิบายข้ันตอน - การเตรยี ม วิทยากร บรรยาย ผเู้ รยี นได้ 1๑ 7. หลกั การเลือกพันธุ์ ปลา การ เตรียมน้ำในการ น้ำสำหรบั การ ศึกษาและจด บันทึกระหวา่ ง ๑๒ 25 8. การนำลกู ปลาปลอ่ ย ปล่อยปลา ได้ ปลอ่ ยปลา น้ำ เรยี น และลงมือปฏิบัตใิ นการ ในบอ่ ๑๒ ทใ่ี ช้ในการ เตรยี มน้ำในการบอ่ ปลา 9. วธิ กี ารเล้ียงปลา เล้ยี งปลา 10. วธิ กี ารจบั ปลา ๘. สามารถบอก - การเลอื ก วิทยากร บรรยายและจดั วิธีการ เลอื กพนั ธ์ุปลา พนั ธ์ุปลา กระบวนการ ให้ ผู้เรยี นได้ ได้ ศกึ ษาจากวัสด/ุ อปุ กรณจ์ รงิ เรยี นรู้ ทฤษฎีควบคู่กับการ ปฏบิ ัติจรงิ ผู้เรียนสังเกตุ และ จดบันทกึ ระหว่างเรยี น ๙. สามารถอธบิ าย -วธิ กี ารนำลูก วิทยากร บรรยาย ผเู้ รยี นได้ วธิ ีการ นำลูกปลา ปลาปล่อยใน ศึกษาและจด บนั ทึกระหว่าง ปลอ่ ยในบ่อได้ บอ่ เรยี นและลงมือปฏบิ ตั ใิ นการ นำลกู ปลาปล่อยในบ่อ 10. สามารถอธิบาย - วธิ กี ารเลี้ยง วทิ ยากร บรรยาย ผเู้ รียนได้ วธิ ีการเลี้ยงปลาได้ ปลา ศกึ ษาและจด บนั ทึกระหวา่ ง - การให้ เรยี น แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น อาหาร ระหวา่ งเรยี น น าเสนอ -การดูแล แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ระหวา่ ง รกั ษาปลาท่ี ผู้เรียน เลย้ี งในบ่อ -การถา่ ยเทน้ำ - การปรบั สภาพน้ำ ๑๑. สามารถอธบิ าย วิธีการจบั ปลา วิทยากร บรรยาย ผเู้ รียนได้ วิธกี ารจับปลาเมือ่ ถึง เม่ือถึง ศึกษาและจด บันทึกระหว่าง กำหนดอายไุ ด้ กำหนดอายุ เรียน แลกเปล่ยี นความคิดเห็น ระหวา่ งเรยี น นำเสนอ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ระหว่าง ผ้เู รียน
210 ท่ี เร่ือง จุดประสงค์การ เนอ้ื หา การจดั กระบวนการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง ๑1. โรคปลา เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ๑2. การแปรรูปปลา ๑๒. สามารถอธบิ าย โรคของปลา วทิ ยากร บรรยาย ผู้เรยี นได้ ๑ ๒ 13. การขาย/การตลาด วธิ กี ารการป้องกนั วิธกี ารป้องกนั ศกึ ษาและจด บันทึกระหว่าง 14. ๑๖.การคำนวณ ตน้ ทนุ / ก าไร การเกิด โรคในปลาได้ เกิดโรคใน เรยี น แลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ปลา สารเคมี ระหว่างเรยี น นำเสนอ และยา แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ระหวา่ ง ปฏชิ ีวนะ ท่ี ผเู้ รียน นยิ มใช้ ป้องกนั และ รกั ษา โรค ปลา ๑๓. สามารถบอก การแปรรูป วิทยากร บรรยาย ผเู้ รยี นได้ 2 3 วธิ กี าร แปรรปู ปลาได้ ปลาในรูป ศกึ ษาและจด บนั ทกึ ระหว่าง ต่างๆ เรยี น แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น ระหว่างเรยี น นำเสนอ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ระหวา่ ง ผเู้ รยี น ๑๔. สามารถบอกชอ่ ง -การขาย วิทยากร บรรยาย ผู้เรียนได้ 1 ๒ ทางการขาย -การตลาด ศกึ ษาและจด บนั ทกึ ระหว่าง การตลาดได้ -การวางแผน เรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การตลาด ระหวา่ งเรยี น นำเสนอ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ระหว่าง ผู้เรยี น 12. สามารถคดิ การคำนวณ วทิ ยากร บรรยาย ผ้เู รยี นได้ 1 ๒ คำนวณ ตน้ ทุนได้ ตน้ ทุน การ ศกึ ษาและจด บนั ทึกระหว่าง วางแผนการ เรียน ฝึกปฏบิ ตั ิในการคิด ลงทุน คำนวณ รวม 16 34 รวมทั้งส้ิน 50
211 สื่อการเรียนรู้ 1. ส่ือสง่ิ พิมพ์ไดแ้ ก่ รปู ภาพประกอบ แผ่นพบั ขน้ั ตอนการเลย้ี งปลา 2. สอ่ื จากอินเตอรเ์ นต็ วดิ ีโอขัน้ ตอนการเลยี้ งปลา การวัดผลและประเมินผล 1. สงั เกตการมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมของผเู้ ขา้ รบั การอบรม 2. การซกั ถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคดิ เห็น 4. ผลการปฏบิ ตั ิงานของผู้เรยี น 5. ตรวจสอบเวลาเรยี น เงอ่ื นไขการจบหลักสูตร 1. มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบตั ติ ามหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมินผ่านตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 3. การประเมนิ ความรู้ภาคทฤษฎีระหว่างเรยี นและจบหลกั สูตร เอกสารหลักฐานการศึกษาทีจ่ ะไดร้ ับหลังจากจบหลักสตู ร 1. หลกั ฐานการประเมินผล 2. วฒุ บิ ัตรออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบียนคมุ วฒุ ิบตั ร
212 แบบเขียนหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง ชือ่ หลกั สูตร วิชาการทอผา้ ไหมคลมุ ไหลล่ ายชา้ งและผ้าสไบ จำนวน 50 ชั่วโมง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสังขะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……… ความเป็นมา ผ้าพน้ื บา้ น ผ้าทอดว้ ยก่ีหรอื หกู พน้ื บ้าน ตามกรรมวิธที ี่สบื ทอดกันมาแตโ่ บราณ มกั ทอดว้ ยฝ้าย หรือไหม มีกรรมวิธีการย้อม การทอสอดคลอ้ งกับขนบประเพณี และวิถชี วี ติ ของแต่ละกลมุ่ ชน ซงึ่ มี รูปแบบและการใชส้ อยต่างๆกนั ภมู ิปญั ญาดา้ นการทอผา้ ที่สบื ทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ดง้ั เดิม มีการทอ ผ้าซน่ิ ผ้าขาวม้า ผ้าถงุ โดยทำการทอไวเ้ พื่อการสวมใส่ และไดม้ กี ารสืบทอดต่อๆ กันมาจนถึงปจั จุบัน ชาวบ้านไดร้ กั ษาภมู ิปัญญาของบรรพบรุ ุษไวแ้ ละได้รับความนิยมมากข้ึน ในปัจจบุ นั ไดน้ ยิ มตัดชดุ ผ้าไหม ใส่กนั มากมาย ดังน้นั จงึ ไดม้ ีการพัฒนารปู แบบเนื้อผา้ ใหม้ หี ลากหลายสีสนั มคี วามทันสมัย ซงึ่ ทำให้ ผลติ ภัณฑม์ มี ลู ค่าเพมิ่ ขึ้นและเปน็ ท่ีตอ้ งการของตลาดเปน็ อยา่ งมาก จึงจดั กิจกรรมน้เี พอื่ ตอ้ งการให้ ผเู้ รยี นเรียนรู้เก่ยี วกบั การทอผ้าไหมคลุมไหล่ลายช้าง พัฒนาภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นให้เกิดนวัตกรรมไป ประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินธรุ กิจการปรบั ปรุงคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ การตอ่ ยอดเพ่ือพฒั นาใหเ้ กดิ นวตั กรรมสู่ ความเป็นสากลรวมทงั้ โอกาสในการพัฒนาไปสู่การทำอาชีพเสริม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสงั ขะ ไดเ้ ห็นความสำคัญของการ ฝึกทกั ษะอาชีพการทอผ้าไหมคลุมไหล่ลายชา้ ง จึงไดจ้ ดั ทำหลกั สูตรวิชาการทอผา้ ไหมคลุมไหล่ลายช้าง และผา้ สไบ จำนวน 50 ชว่ั โมง เพื่อเปน็ การแก้ปญั หาให้กับผู้ทส่ี นใจฝกึ ฝนอาชีพเพ่อื การมีงานทำและ ได้นำความรู้ทไ่ี ด้รับจากการอบรมไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชพี เพื่อสรา้ งรายได้ใหก้ ับตนเองและ ครอบครวั หลกั การของหลักสตู ร 1. เป็นหลักสูตรท่ีชว่ ยสง่ เสริมกระบวนการเรียนรูเ้ รอ่ื งขัน้ ตอนการทอผา้ ไหมคลุมไหล่ลายช้าและผ้า สไบ 2. เป็นหลักสูตรท่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้เพอ่ื การพฒั นาอาชีพเสริม 3. เป็นหลักสตู รทสี่ ามารถนำความรแู้ ละประสบการณท์ ี่ไดร้ ับไปพัฒนาตนเอง จดุ มุ่งหมาย หลกั สูตรนใ้ี หค้ วามรู้และประสบการณเ์ พ่อื ใหผ้ ู้จบหลกั สูตรมคี ุณลักษณะดังน้ี 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี น มีความรู้ในเรอ่ื งในการทอผ้าไหมคลุมไหล่ลายช้าง เพือ่ การพฒั นาอาชพี 2. เพ่ือให้ผูเ้ รยี นได้นำความรูแ้ ละทักษะทไี่ ด้รับนำไปพัฒนาตนเองให้อยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข
213 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนท่ัวไปในพ้ืนที่อำเภอสังขะ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ระยะเวลา จำนวน 50 ช่วั โมง (ทฤษฎี 11 ชัว่ โมง ปฏิบัติ 39 ช่ัวโมง)
214 โครงสร้างหลักสตู ร ที่ เรอ่ื ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอื้ หา การจดั กระบวนการ จำนวนช่ัวโมง เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1 ความรู้ 1. เพื่อใหผ้ ้เู รียนบอก 1 ความรู้ 1. วิทยากรบรรยาย 3 2 เบื้องตน้ การ ชนิดของวสั ดุ และ เกีย่ วกับการทอ เรือ่ ง ทอผ้าไหมคลุม อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการทอ ผ้าไหมคลมุ - การเตรียมวสั ดุ ไหล่ลายช้าง ผา้ ไหมคลุมไหล่ลาย ไหลล่ ายช้าง และอปุ กรณ์ และผ้าสไบ ชา้ ง/ผา้ สไบ และผา้ สไบ - การคัดเลอื กวัสดุ 2 การเตรยี ม 2. วิทยากรและ วัสดุและ ผเู้ รียนร่วมกนั สรุป อปุ กรณ์ องค์ความรู้ 3 การคดั เลือก วัสดุ 2 ทกั ษะการ 1.เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนอธบิ าย 1 ความรู้ 1.ให้ผู้เรียนศึกษา 3 2 ประกอบอาชพี ความรู้เบื้องต้นเกย่ี ว เบื้องตน้ เน้ือหาจากใบความรู้ วชิ าการทอผ้า การทอผ้าไหมคลมุ ไหล่ เกย่ี วกับการทอ เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการ ไหมคลมุ ไหล่ ลายช้างและผา้ สไบ ได้ ผา้ ไหมคลุม ทอผา้ ไหมคลุมไหล่ ลายชา้ งและ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนบอกชนดิ ไหลล่ ายช้าง ลายชา้ งและผา้ สไบ ผ้าสไบ ของผ้าคลมุ ไหล่ และผา้ สไบ 2.ผเู้ รียนและ - ความรู้ 2 ประวตั ิความ วิทยากรรว่ มสนทนา เบื้องต้น เปน็ มาของการ แลกเปลย่ี นข้อมูล เก่ยี วกับวการ ทอผ้าไหมคลุม ความคิดเหน็ ทอผ้าไหมคลุม ไหลล่ ายช้าง 3.ผู้เรียนสรุปความรู้ ไหล่ลายช้าง และผ้าสไบ ใน - ให้ผูเ้ รียนศกึ ษาหา และผ้าสไบ ประเทศไทย จากใบความรู้เร่อื ง - ชนดิ ของผา้ ชนิดของผ้าคลุมไหล่ คลุมไหล่ - ผู้เรียนฝึกปฎบิ ัติ คัดเลอื กลายผา้ คลุม ไหล่ -ผเู้ รยี นและวทิ ยากร ร่วมสนทนา แลกเปลยี่ นขอ้ มูล ความคิดเหน็ 4.ผู้เรียนสรปุ ความรู้
215 ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจดั กระบวนการ จำนวนช่วั โมง เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ 3 ทกั ษะการ 1.เพ่อื ผู้เรยี นให้มี กระบวนการทอ 1. การคัดเลอื กเสน้ 3 32 ประกอบ ความรู้ความเข้าใจ ผา้ ไหมคลมุ ไหล่ ไหมเพ่อื ใช้ในการ อาชีพวิชาการ ขนั้ ตอนการทอผ้ ลายชา้ งและผ้า ทอผา้ ไหมคลมุ ไหล่ ทอผา้ ไหม าไหมคลมุ ไหล่ลาย สไบ 2.เทคนคิ การทอผ้า คลุมไหล่ลาย ชา้ ง/ผ้าสไบ ไหมคลมุ ไหล่ ช้างและผา้ 2. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมี 3.ข้นั ตอนการทอผา้ สไบของ ทกั ษะในการทอผ้า ไหมไหมคลุมไหล่ ขน้ั ตอนในการ คลุมไหล่ลายช้างและ ลายชา้ งและผ้าสไบ ทอผ้าไหม ผา้ สไบ 4 การเกบ็ รักษาผ้า คลุมไหล่ลาย ไหม ช้างและผ้า สไบ 4 บรรจุภณั ฑ์ผ้า 1.เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนบอก บรรจุภณั ฑผ์ า้ 1.ให้ผ้เู รียนศกึ ษา 1 2 ไหมคลมุ ไหล่ ความหมายของบรรจุ คลุมไหล่ เน้อื หาจากใบ ลายช้างและ ภณั ฑไ์ ด้ 1.ความหมาย ความรเู้ รือ่ งบรรจุ ผา้ สไบ 2.เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นบอก ของบรรจภุ ณั ฑ์ ภัณฑผ์ ้าคลุมไหล่ วัสดทุ ี่บรรจไุ ด้ 2.วัสดทุ ี่ใชท้ ำ 2.วิทยากรอธิบาย 3.เพื่อใหผ้ เู้ รยี น บรรจภุ ณั ฑ์ผา้ และสาธิตเกยี่ วกบั สามารถบรรจุผ้าคลุม คลมุ ไหล่ การบรรจภุ ณั ฑผ์ ้า ไหล่ได้ 3.การบรรจผุ ้า คลมุ ไหล่ คลุมไหล่ 3.ผูเ้ รียนฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารบรรจุ ภัณฑผ์ า้ คลุมไหล่ 4.วิทยากร ประเมนิ ผลการ บรรจุผ้าคลมุ ไหล่ 5 การบริหาร เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถ การบริหาร 1. วทิ ยากรบรรยาย 1 1 จดั การ คำนวณ ต้นทุนและ จดั การ การคำนวณ ตน้ ทุน การกำหนดราคาขาย - การกำหนด และการกำหนด ราคาขาย ราคาผ้าไหมคลุม - การหาตลาด ไหล่ลายช้างและผา้ เพอื่ จำหนา่ ย สไบ สินคา้ 2. วิทยากรและ ผเู้ รยี นรว่ มกัน แลกเปล่ยี นขอ้ มูล ความคดิ เหน็ รวม 11 39
216 สอ่ื การเรียนรู้ 1. ส่อื ส่ิงพิมพ์ไดแ้ ก่ รปู ภาพประกอบ แผ่นพบั ขนั้ ตอนการทอผ้าไหมคลมุ ไหล่ลายชา้ งและผา้ สไบ 2. ส่ือจากอินเตอรเ์ น็ต วดิ โี อขั้นตอนการทอผา้ ไหมคลุมไหลล่ ายช้างและผ้าสไบ การวัดผลและประเมินผล 1. สงั เกตการมีส่วนร่วมในกจิ กรรมของผเู้ ข้ารบั การอบรม 2. การซักถามและการตอบคำถาม 3. การแสดงความคดิ เหน็ 4. ผลการปฏิบตั ิงานของผูเ้ รยี น 5. ตรวจสอบเวลาเรยี น เง่อื นไขการจบหลักสตู ร 1. มเี วลาเรียนและฝกึ ปฏิบตั ิตามหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินผา่ นตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 3. การประเมนิ ความร้ภู าคทฤษฎรี ะหว่างเรียนและจบหลกั สูตร เอกสารหลักฐานการศึกษาทีจ่ ะได้รบั หลงั จากจบหลกั สตู ร 1. หลักฐานการประเมนิ ผล 2. วุฒบิ ัตรออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบียนคมุ วุฒบิ ัตร
217 ภาคผนวก
218 คณะผจู้ ัดทำ ที่ปรึกษา ผู้อำนวยการ สำนกั งาน กศน.จังหวดั สรุ ินทร์ รองผู้อำนวยการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดสรุ ินทร์ 1. ดร.ปัญญา ศาสตรา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอสงั ขะ 2. นางสาวอธิจติ อาภรพงษ์ ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ 3. นางสมจิต ผาดไธสง ครูชำนาญการ 4. นางศิริพร มีพรอ้ ม ครผู ชู้ ่วย 5. นางสาวอภิญญา ภมู ีศรี 6. นางสาวรชั นีกร ก่ิงแกว้ คณะผจู้ ัดทำสรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน ประจำปีงบประมาณ 2564 1. นางสาวสมถวิล พาเจรญิ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายวรี ะศักด์ิ รักษาวงษ์ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางเยาวเรศ ภาสวสั ดิ์ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นายวชั รากรณ์ ไชยลาภ ครู กศน.ตำบล 5. นายสฤุ ทธ์ิ ภาสวัสด์ิ ครู กศน.ตำบล 6. น.ส.กรรณกิ า นกุ จิ ครู กศน.ตำบล 7. นางจันทมิ า สงิ หะ ครู กศน.ตำบล 8. นางเอ้อื มพร มีเจริญ ครู กศน.ตำบล 9. นายจำลอง แหวนวงษ์ ครู กศน.ตำบล 10. นางสาวอารีรัตน์ ปรางค์ชยั กลุ ครู กศน.ตำบล 11. นางเกลยี วใจ ขำพมิ าย ครู กศน.ตำบล 12. นางมณี สามใจ ครู กศน.ตำบล 13. นางสาวชุณหกาญจน์ ชนุ กล้า ครู กศน.ตำบล 14. นางสาววาสติ า ผลเกิด ครู กศน.ตำบล 15. นายชาตชิ าย สงิ ห์เสน ครู กศน.ตำบล 16. นายพฒั นชัย เรืองมนตรี ครู กศน.ตำบล 17. นายไชยวัฒน์ ศาสตรา ครู กศน.ตำบล 18. นายสุพจน์ แบง้ กลาง ครู ศรช.
219 คณะผู้จดั ทำ (ต่อ) 19. นายวฒุ ิวัฒน์ ผลเกดิ ครู ศรช. 20. นายมงคล สมัญญา ครู ศรช. 21. นางสาวบวั ทอง ศาลางาม ครู ศรช. 22. นางสาวศศกิ าญจน์ ลำดวนหอม ครู ศรช. 23. นางสาวเจนจริ า สาคร ครู ศรช. 24. นางสกุ ัญญา รกั ษาวงษ์ ครู ศรช. 25. นางสาวหทัยกานต์ ขุมทอง ครูผสู้ อนคนพิการ 26. นายนนั ทนา บญุ รอดรัมย์ บรรณารกั ษจ์ ้างเหมา 27. นางสาวธญั กร ยอดทอง บรรณารกั ษจ์ ้างเหมา 28. นางสาวจฬุ ารตั น์ อ่นิ อ้าย เจ้าหน้าท่ีบันทกึ ขอ้ มลู บรรณาธิการ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสงั ขะ ครู กศน.ตำบล 1. นางสมจติ ผาดไธสง ครู กศน.ตำบล 2. นางชญาญ์พัฏฐ์ สงิ หเ์ สน ครู ศรช. 3. นางสาวจฑุ ามาศ สลาเลิศ ครู ศรช. 4. นางสาวบษุ บา จนั ทมล 5. นางสาวเบญจมาพร แกว้ อินธิ หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบ กศน.อำเภอสังขะ
220
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217