Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม

แผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม

Published by Natnicha, 2022-01-11 05:40:05

Description: แผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. 2564 สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม

Search

Read the Text Version

คำนำ แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน กศน. จัดทาข้ึน ตามบทบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีบทบัญญัตเิ ก่ยี วกับแผนปฏิบตั ิราชการ ในหมวด 3 การบริหารราชการเพ่อื ให้เกดิ ผลสัมฤทธต์ิ ่อภารกิจของ รัฐ มาตรา 9 (1) กาหนดว่า ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้ เป็นการล่วงหน้าและ (2) การกาหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมีรายละเอียดของ ขั้นตอน ระยะเวลาและงบประมาณที่จะต้องใช้ในการดาเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิของภารกิจ และตัวช้ีวัดความสาเร็จของภารกิจ และมาตรา 16 ที่กาหนดให้ส่วนราชการจัดทา แผนปฏิบัติราชการประจาปีโดยให้ระบุสาระสาคัญเก่ียวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธ์ิของงานรวมทง้ั ประมาณการรายได้และรายจ่าย และทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้โดย สานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ได้นากรอบยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) จดุ เน้นของยทุ ธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จุดเน้นเชงิ นโยบาย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนปฏิบัติราชการประจาปี พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจาปี พ.ศ. 2563 ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. มาเป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สาระของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน กศน.จังหวัด นครปฐม แสดงให้เห็นถึงภาพรวมของงาน โครงการ กิจกรรม เป้าหมาย และงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานกั งาน กศน. จงั หวัดนครปฐม และสถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งาน กศน.จังหวดั นครปฐม ในอันที่จะขับเคล่ือนนโยบาย ยุทธศาสตร์ท่ีเป็นจุดเน้นสาคัญของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้ง งานตามบทบาทภารกิจหลักของสานักงาน กศน. ให้บรรลุวิสัยทัศน์ “คนนครปฐมได้รับโอกาสการศึกษา และการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อยา่ งมีคณุ ภาพ สามารถดารงชวี ติ ที่เหมาะสมกบั ช่วงวัย สอดคล้องกบั หลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑” สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ขอขอบคุณผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ฉบับน้จี นสาเร็จได้เป็นอยา่ งดี และหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม จะเป็นเคร่ืองมือในการดาเนินงาน ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา กากับติดตามผลการดาเนินงานของผู้บริหาร รวมท้ังเป็นข้อมูลสาหรับ หน่วยงาน และผูส้ นใจกจิ กรรมงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตอ่ ไป สานักงาน กศน.จังหวดั นครปฐม

สำรบัญ เรือ่ ง หนำ้ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พ้นื ฐำนของหนว่ ยงำนสำนกั งำน กศน.จงั หวัดนครปฐม…….…….... 1 ช่ือหนว่ ยงาน…………………………………………..…………..…….………………….. 1 ท่ีต้งั /การตดิ ต่อ…………………………………………..………………...………………. 1 ประวตั ิความเปน็ มาของหนว่ ยงาน............................................................ 1 บคุ ลากรสังกัดสานกั งาน กศน. จงั หวัดนครปฐม....................................... 2 โครงสรา้ งการบริหาร สานักงาน กศน. จงั หวดั นครปฐม........................... 3 โครงสรา้ งการบริหารภายใน สานกั งาน กศน. จังหวดั นครปฐม................ 4 บริบทพ้นื ที่................................................................................................ 5 แผนทจี่ ังหวดั นครปฐม.............................................................................. 5 ตน้ ไมป้ ระจาจงั หวัด.................................................................................. 6 สภาพภูมปิ ระเทศ...................................................................................... 6 ระยะทางจากอาเภอเมอื งไปยงั อาเภอใกลเ้ คียง........................................ 6 เขตการปกครอง........................................................................................ 7 ประชากร.................................................................................................. 7 สถานภาพแรงงาน.................................................................................... 7 ข้อมูลพ้นื ฐานด้านการศกึ ษา..................................................................... 8 สภาวะความเส่ยี งของสังคมไทย................................................................ 9 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มด้านการศกึ ษา (SWOT Analysis) 12 ของสานกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม....................................................... 15 ส่วนท่ี2 นโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปี งบประมำณ พ.ศ. 2564....................................................................... 24 ส่วนท่ี3 สำระสำคัญของแผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 256 4 24 สำนักงำน กศน.จงั หวัดนครปฐม............................................................ 24 วสิ ยั ทัศน์................................................................................................... 25 25 เป้าประสงค์………………………………………………………..…………………..…….. พันธกจิ ..........……………………………………………………..…………………..….…. ปัจจัยหลกั แห่งความสาเรจ็ .......................................................................

สำรบญั (ต่อ) เร่อื ง หนำ้ ตัวช้วี ดั ..................................................................................................... 26 กลไกการขบั เคลอื่ น.................................................................................. 27 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.............................. 28 แผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 แผนกำรจัดบริกำร กลมุ่ เป้ำหมำยและกำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ............................................. 30 โครงกำรภำยใตแ้ ผนปฏิบตั ิกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564........... 37 โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน................................................................................ 38 โครงการสง่ เสรมิ การรหู้ นังสือ.................................................................. 49 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ ................................................. 55 โครงการการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน........................................ 61 โครงการสง่ เสรมิ การดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง... 67 โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ ฝึกอาชพี ชมุ ชน......................................................................................... 72 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั กิจกรรมการพัฒนาเครอื ขา่ ยเศรษฐกิจ 79 ดจิ ิทลั ส่ชู ุมชนในระดับตาบล.................................................................... โครงการจดั และสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการ ทางกาย จติ และสมองของ...................................................................... 85 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสอื่ สารด้านอาชีพ.............................. 92 โครงการจิตอาสา ของสานักงาน กศน.จงั หวดั นครปฐม........................... 98 โครงการส่งเสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั …………………………………………... 105 โครงการศนู ย์การเรียนรตู้ ้นแบบ กศน. (Co – Learning Space)………… 112 ส่วนที่ 4 กลไกกำรนำนโยบำยสู่กำรปฏิบัติ กำรบริหำรจัดกำร และติดตำม ประเมินผล………………………………………………………………………………. 118 ภาคผนวก.................................................................................................................. 122 คณะผจู้ ดั ทา............................................................................................................... 141

สำรบัญตำรำง ตำรำง หนำ้ 1 ตารางอัตรากาลัง................................................................................................. 2 2 ตารางแสดงการแบ่งเขตการปกครองจงั หวดั นครปฐม 6 7 จาแนกตามอาเภอ…………….……..……………………………………………………………… 7 3 ตารางแสดงจานวนประชากรจังหวัดนครปฐม จาแนกตามอาเภอ….................... 8 4 ตารางแสดงจานวนและร้อยละของประชากรจังหวัดนครปฐม จาแนกตาม 10 31 สภาพแรงงาน และเพศ……………………………………………………….…………………… 5 ตารางข้อมูลพ้นื ฐานด้านการศกึ ษา….………………………………….……………………… 38 6 ตารางแสดงปรมิ าณและเวลาในการอ่าน............................................................... 38 7 ตารางแสดงแผนการจัดบริการกลุ่มเป้าหมายและการจัดสรรงบประมาณ 39 49 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564……………………………….………………………………. 55 8 แสดงจานวนเงนิ งบประมาณ เงนิ อุดหนุน ดาเนินจัดการศกึ ษาหลักสูตร 61 67 การศกึ ษานอกระบบระดบั กลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 72 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564……………………………………………………………..………….. 9 แสดงจานวนนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551ภาคเรียนท่ี 2 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563…………… 10 แสดงจานวนนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 255 ภาคเรยี นท่ี 1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564……………. 11 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการสง่ เสริมการรู้หนังสือ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.................................................................................. 12 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการจัดการศึกษาเพื่อ พฒั นาทกั ษะชวี ติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564..................................................... 13 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนาสังคมและชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564………………………………………. 14 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนนิ การส่งเสรมิ การดาเนินชีวิต ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.................... 15 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน ชัน้ เรียนวชิ าชพี (31 ชม.ขึ้นไป) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564......................

สำรบญั ตำรำง (ต่อ) ตำรำง หนำ้ 16 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ 73 ชมุ ชน พฒั นาอาชพี (ไม่เกิน 30 ชม.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564………………….. 73 79 17 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชมุ ชน 1 อาเภอ 1 อาชีพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564………………………………….. 85 92 18 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการโครงการพัฒนา 98 เศรษฐกจิ ดิจิทลั กิจกรรมศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564………….. 105 19 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการโครงการจัดและ ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมอง 106 ของผสู้ งู อายุ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564……………………………………………………. 112 20 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการจดั กิจกรรมการพัฒนา ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสอ่ื สารด้านอาชพี พ.ศ. 2564....................... 21 แสดงจานวนเป้าหมายและงบประมาณการดาเนินการโครงการจิตอาสา ของ สานักงาน กศน.จงั หวดั นครปฐม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564............................ 22 แสดงจานวนเป้าหมายการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ห้องสมุด ประชาชนของสถานศึกษาในสงั กดั สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564………………………………………………………………………… 23 แสดงจานวนเป้าหมายการจัดกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย แหล่งเรียนรู้ กศน.ตาบล ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564………………………………………………. 24 แสดงจานวนเป้าหมายการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ ต้นแบบ (Co – Learning Space) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564……………………….

ส่วนท่ี ขอ้ มูลพื้นฐานของหนว่ ยงาน 1 สานักงาน กศน.จังหวดั นครปฐม ช่อื หนว่ ยงาน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม สังกัด สานักงาน สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ทต่ี ง้ั /การติดต่อ ต้ังอยู่เลขที่ 140 หมู่ที่ 7 ถนนเพชรเกษม ตาบลธรรมศาลา อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม รหัสไปรษณีย์ 73000 โทรศัพท์ 034-395104 โทรสาร 034-395105 E-mail : [email protected] Website http://nkp.nfe.go.th ประวตั ิความเป็นมาของหน่วยงาน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม ประกาศจัดตั้งเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2527 จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับลงวันที่ 18 ตุลาคม 2527 โดยให้ยุบรวม โรงเรียนฝึกฝนอาชีพเคลื่อนท่ี 47 โรงเรียนผู้ใหญ่สายสามัญ จานวน 11 แห่ง ห้องสมุดประชาชนอาเภอและ ห้องสมุดประชาชนจังหวัด จัดต้ังเป็น “ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดนครปฐม” สังกัด กรมการศึกษานอก โรงเรยี น โดยใชอ้ าคารของโรงเรียนวัดห้วยจระเข้วิทยาคม เปน็ ท่ที าการชว่ั คราว พ.ศ. 2528 วัดธรรมศาลา โดยคณะกรรมการวัด ได้อนุญาตให้ใช้ท่ีดินของวัด เนื้อท่ีประมาณ 15 ไร่เศษ เป็นสถานที่ตงั้ ท่ที าการ พ.ศ. 2529 กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้จัดสรรงบประมาณ ให้ก่อสร้างอาคารอานวยการ อาคารโรง ฝึกงาน อาคารพัสดุ และหอประชุมโรงอาหาร วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2530 ได้ย้ายที่ทาการมาปฏิบัติงานท่ีวัดธรรมศาลา จนถึงปัจจุบัน ต่อมาได้ เปลี่ยนช่ือ เป็น “สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม” ตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้ เม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2551 โดยใช้ชื่อย่อว่า “สานักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม” เป็นหน่วยงานในสังกัด สานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสถานศึกษาในสังกดั คือ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภ อ 7 แห่ง เรียกย่อว่า กศน . อาเภอ คือ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวดั นครปฐม 1

(1) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองนครปฐม (2) ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอนครชัยศรี (3) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสาม พราน (4) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาแพงแสน (5) ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางเลน (6) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดอน ตูม และ (7) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอพุทธมณฑล มีนายสุนทร ดวงเงิน เป็น ผู้อานวยการคนแรก และนายสมเจตน์ สวาศรี ผู้อานวยการสานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม เป็นผู้อานวยการ คนปจั จุบัน เปน็ คนที่ 16 บคุ ลากรสังกดั สานกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม ชาย หญงิ รวม ตารางท่ี 1 ตารางอตั รากาลัง 112 ตาแหนง่ 336 - 88 1. ผู้บริหารการศกึ ษา 1-1 2. ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา 167 3. ข้าราชการครู 6-6 4. ศกึ ษานิเทศก์ 50 92 142 5. ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 38 ค.(2) 448 6. ลูกจา้ งประจา 167 7. พนักงานราชการ 167 8. ครูศูนยก์ ารเรียนชุมชน (ศรช.) 43 6 49 9. ครูผู้สอนคนพกิ าร 9 8 17 10. บรรณารักษ์อตั ราจ้าง 119 140 259 11. ครูประจากลมุ่ 12.จา้ งเหมาบริการ รวม แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จังหวดั นครปฐม 2

โครงสรา้ งการบริหาร สา นาย ผู้อานวยการสาน รองผอู้ านวยการส นายประชาลกั ณ์ ศรีคุณาภรณ์ นายพีรฉัตร อนวุ งศ์ นางจิดาภา บวั ทอง นางร ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ ผูอ้ านวย เมอื งนครปฐม กาแพงแสน ดอนตูม น  กศน.ตาบล 25 แห่ง  กศน.ตาบล 15 แห่ง  กศน.ตาบล 8 แห่ง  กศน.  ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัด  ห้องสมุดประชาชน  หอ้ งสมดุ ประชาชน  ห้องส นครปฐม “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอดอนตูม อาเภ อาเภอกาแพงแสน แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สา

านกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม คณะกรรมการ กศน.จังหวัด ยสมเจตน์ สวาศรี นักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม (วา่ ง) สานกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม รชั นี คงฤทธิ์ (ว่าง) นางเยาวรกั ษ์ บญุ จันทร์ นายสมมาตร คงช่ืนสนิ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางเลน ยการ กศน.อาเภอ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ นครชยั ศรี พุทธมณฑล สามพราน .ตาบล 24 แห่ง  กศน.ตาบล 15 แห่ง  กศน.ตาบล 3 แหง่  กศน.ตาบล 16 แห่ง  ห้องสมดุ ประชาชน  ห้องสมุดประชาชน สมุดประชาชน  ห้องสมดุ ประชาชน ภอนครชัยศรี อาเภอบางเลน อาเภอพทุ ธมณฑล “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอสามพราน  านักงาน กศน. จังหวดั นครปฐม 3

โครงสร้างการบรหิ ารภายใน ส ผอู้ านวยการสาน รองผอู้ านวยการส กลมุ่ อานวยการ กลมุ่ ยทุ ธศาสตรแ์ ละ กลุ่มสง่ เสริมการ กล่มุ การพัฒนา ศกึ ษานอกระบบ การศ - งานบรหิ ารทว่ั ไป - งานบรหิ ารบคุ ลากร - งานยุทธศาสตร์ - งานการศกึ ษา อัธ - งานบรหิ ารการเงนิ และแผนงาน และสนิ ทรัพย์ - งานขอ้ มูล พ้ืนฐาน - งานสง่ เ - งานประชาสมั พนั ธ์ สารสนเทศและ รายงาน - งานการศกึ ษา พฒั นาแห - งานงบประมาณ - งานส่งเ และระดม ทรพั ยากร ตอ่ เนอ่ื ง นิทรรศกา - งานสง่ เสรมิ การ เผยแพร่ พัฒนายทุ ธศาสตร์ - งานส่งเสรมิ การ -งานสง่ เส เทียบโอน/เทียบระดบั การศึกษา - งานศนู ย์ให้ คาปรึกษาแนะนา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สา

สานกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม คณะกรรมการ กศน.จงั หวดั นกั งาน กศน. จงั หวัด สานกั งาน กศน. จงั หวดั กศน.อาเภอ จานวน 7 แหง่ มสง่ เสรมิ กลมุ่ สง่ เสริม กลุ่มนิเทศตดิ ตามและ กลุ่มตรวจสอบ ศึกษาตาม ภาคีเครือขา่ ยและ ภายใน ธยาศัย ประเมนิ ผลการจดั านศกึ ษา กจิ การพิเศษ เสริมและ การศกึ ษา หล่งเรียนรู้ - งานสง่ เสรมิ ภาคี เสรมิ -(นงาานยนิเอทศนตนั ิดตทา์มแเลฟะ่ือง - งานตรวจสอบ ารและ เครอื ข่าย พกรัฒะนบาวรนะกบทาบรอบเรรงยี ิหน)ารรู้ และ ร-ะงบา(นบนสปง่ารเะสงกรวนัมิ ัชคแณุลระภนิ พาัฒทพนรา์ การเงินและการบญั ชี สริมการอา่ น - งานกิจการพเิ ศษ ก- างราศนกึวศษดั รผาลณี แลบิ ะูลปรยะ)์เมนิ ผล - งานตรวจสอบการ การศกึ ษา ดาเนนิ การ - งานส่งเสริมและพัฒนา หลกั สูตร ส่อื นวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการ ศึกษา านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 4

บริบทพ้ืนที่ จงั หวัดนครปฐม เป็นจงั หวดั หนึ่งในภาคกลางด้านตะวันตก ตง้ั อยบู่ รเิ วณลุ่มแม่น้าทา่ จีน ซึ่งเป็นพ้นื ท่ี บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลาง โดยอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 13 องศา 45 ลิปดา 10 พิลิปดาดา เส้นแวงที่ 100 องศา 4 ลิปดา 28 พิลิปดา มีพื้นที่ 2,168.327 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร่ เท่ากับร้อยละ 0.42 ของ ประเทศ และมีพ้ืนท่ีเป็นอันดับที่ 62 ของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครไปตามเส้นทางถนนเพชร เกษม 56 กิโลเมตร หรือตามเส้นทางถนนบรมราชชนนี (ถนนปิ่นเกล้า นครชัยศรี) 51 กิโลเมตร และตาม เสน้ ทางรถไฟ 62 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อดงั นี้ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอกระทุ่ม แบน อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร และอาเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอ ไทรน้อย อาเภอบางใหญ่ อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และเขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับอาเภอบ้านโป่ง อาเภอ โพธาราม จงั หวดั ราชบุรี และอาเภอทา่ มะกา อาเภอพนมทวน จังหวดั กาญจนบุรี แผนท่ีจังหวดั นครปฐม ตน้ ไม้ประจาจงั หวดั แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จังหวดั นครปฐม 5

ชอ่ื พรรณไม้ : จัน ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Diospyros decandra lour ช่อื วงศ์ : EBENACEAE ชอื่ อืน่ : จนั , อนิ , จันอนิ จนั โอ, จนั ลูกหอม, จันขาว เป็นต้น สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศของจังหวัดนครปฐมโดยท่ัวไปมีลักษณะเป็นที่ราบถึงค่อนข้างราบเรียบ ไม่มีภูเขา และป่าไม้ ระดับความแตกต่างของความสูงของพ้ืนที่อยู่ระหว่าง 2–10 เมตร เหนือระดับน้าทะเลปาน กลาง สภาพพ้ืนท่ีโดยทวั่ ไปลาดจากทิศเหนือสู่ทิศใต้ และตะวนั ตกสู่ตะวันออกมีแมน่ ้าทา่ จีนไหลผ่านจากทิศ เหนือลงสู่ทิศใต้ พ้ืนที่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นท่ีดอน ส่วนพ้ืนที่ทาง ตอนกลางของจังหวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีท่ีดอนกระจายเป็นแห่งๆ และมีแหล่งน้ากระจาย สาหรับพ้ืนท่ีด้าน ตะวันออกและด้านใต้เป็นท่ีราบลุ่มริมฝ่ังแม่น้าท่าจีน มีคลองธรรมชาติและคลองซอยท่ีขุดขึ้นเพ่ือการเกษตร และคมนาคม อยู่มาก พ้นื ทีส่ ูงจากระดับน้าทะเล 2–4 เมตร ระยะทางจากอาเภอเมอื งไปยังอาเภอใกลเ้ คยี ง อาเภอนครชัยศรี 14 กิโลเมตร อาเภอพุทธมณฑล 20 กิโลเมตร อาเภอสามพราน 21 กิโลเมตร อาเภอกาแพงแสน 26 กิโลเมตร อาเภอดอนตูม 31 กิโลเมตร อาเภอบางเลน 46 กิโลเมตร ระยะทางจาก จังหวัดนครปฐม ไปยังจังหวัดใกล้เคียงจังหวัดนนทบุรี 65 กิโลเมตร จังหวัดสมุทรสาคร 48 กิโลเมตร จังหวดั ราชบรุ ี 43 กโิ ลเมตร จงั หวดั กาญจนบรุ ี 112 กิโลเมตร จังหวัดสุพรรณบรุ ี 160 กิโลเมตร เขตการปกครอง จังหวัดนครปฐมแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อาเภอ 106 ตาบล 904 หมู่บ้าน สาหรับการ บริหารราชการส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาล เมอื ง 4 แหง่ เทศบาลตาบล 18 แหง่ และองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 93 แหง่ ตารางที่ 2 ตารางแสดงการแบ่งเขตการปกครองจังหวัดนครปฐม จาแนกตามอาเภอ อาเภอ ป่ี พ้ืนท่ี (ต.ร.ม.) จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน ระยะ ทีต่ ้ัง รวม ร้อยละ ตาบล หม่บู า้ น เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต. ทางจาก เมอื ง ตาบล จังหวดั รวม ร้อยละ นคร เมืองนครปฐม 2439 417.440 19.3 25 217 1 1 5 21 2 - 3 2 12 21 สามพราน 2439 249.347 11.5 16 137 - - 3 22 14 - - 4 15 48 นครชยั ศรี 2452 284.031 13.1 24 108 - - 1 15 26 - - 1 6 31 บางเลน 2439 588.836 27.1 15 180 - - 2 2 33 กาแพงแสน 2449 405.019 18.7 15 204 1 4 18 93 - ดอนตมู 2508 171.354 7.9 8 69 พทุ ธมณฑล 2539 52.300 2.4 3 18 รวม 2,168.327 100 106 933 แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 6

ประชากร จากสถิติกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จงั หวัดนครปฐมมปี ระชากร ณ เดือนมกราคม 2562 รวมทั้งส้ิน 917,177 คน เป็นชาย 439,780 คน (ร้อยละ 47.94) เป็นหญิง 477,397 คน (ร้อยละ 52.06) กกกกกกกตารางท่ี 3 ตารางแสดงจานวนประชากรจงั หวัดนครปฐม จาแนกตามอาเภอ อาเภอ พื้นที่ (ต.ร.ม.) รวม รอ้ ยละ ชาย หญงิ เมอื งนครปฐม 133,236 146,446 280,682 30.60 สามพราน 100,626 110,753 211,379 23.05 นครชัยศรี 52,968 58,557 111,525 12.16 บางเลน 46,308 47,573 93,881 10.24 กาแพงแสน 61,979 67,421 129,400 14.11 ดอนตูม 23,776 25,027 48,803 5.32 พทุ ธมณฑล 19,887 21,620 41,507 4.53 917,177 รวม 437,390 477,397 100 ขอ้ มลู มกราคม 2562 ท่ีมา : ทีท่ าการปกครองจังหวัดนครปฐม สถานภาพแรงงาน ตารางที่ 4 ตารางแสดงจานวนและร้อยละของประชากรจังหวดั นครปฐม จาแนกตามสภาพแรงงาน และเพศ สถานภาพแรงงาน ชาย หญิง รวม ประชากรอายุ 15 ปขี น้ึ ไป 451,843 501,425 953,270 1. ผูอ้ ยใู่ นกาลงั แรงงาน 363,998 320,527 684,525 1.1 ผ้มู งี านทา 360,586 318,301 678,887 1.2 ผูว้ า่ งงาน 3,412 2,226 5,638 2. ผไู้ ม่อยใู่ นกาลังแรงงาน 87,847 180,898 268,745 2.1 ทางานบา้ น 7,138 76,564 83,702 2.2 เรยี นหนังสอื 28,184 33,183 61,367 2.3 อน่ื ๆ 52,525 71,151 123,676 อตั ราการจ้างงานตอ่ กาลังแรงงาน 79.80 63.48 71.22 อัตราการวา่ งงาน 0.76 0.44 0.59 ข้อมูล ตุลาคม 2562 ที่มา : สรุปผลการสารวจสภาวะการทางานของประชากร พ.ศ. 2562 จังหวัดนครปฐม สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร แผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 7

ข้อมูลพนื้ ฐานด้านการศึกษา ตารางท่ี 5 ตารางแสดงจานวนโรงเรียน จาแนกตามสงั กดั เปน็ รายอาเภอ สงั กดั สนง. สานกั กรม สนง. คณะ สนง.คณะ สนง. สานกั งานสง่ เสริม คณะกรรม บริหารงาน สง่ เสริม กรรม คณะกรรม กรรม พระพุทธ การศกึ ษานอกระบบ การส่งเสรมิ ท่ี อาเภอ รวม การการ การศกึ ษา การ การการ การการ ศาสนา และการศกึ ษาตาม ศกึ ษา ปกครอง อาชวี ศกึ ษา อดุ มศกึ ษา แห่งชาติ อธั ยาศยั เอกชน ขั้นพืน้ ฐาน ส่วน สถาน ทอ้ งถนิ่ ศกึ ษา ข้ึนตรง กศน. อาเภอ รวมยอด 366 273 44 16 12 11 2 1 7 1 เมืองนครปฐม 94 59 13 11 6 3 1-1 2 กาแพงแสน 59 54 3 - - 1 - - 1 3 นครชัยศรี 49 39 7 1 1 - - - 1 4 ดอนตูม 28 24 2 1 - - --1 5 บางเลน 54 50 3 - - - --1 ตารางท่ี 5 (ต่อ) สนง. สานกั กรม สงั กดั สนง. สานกั งานสง่ เสรมิ บริหารงาน สง่ เสรมิ พระพุทธ การศึกษานอกระบบ คณะกรรม คณะกรรม การ สนง. คณะ สนง.คณะ ศาสนา และการศึกษาตาม การส่งเสรมิ ปกครอง กรรม กรรม แห่งชาติ ที่ อาเภอ รวม การการ การศกึ ษา ส่วน การการ การการ อธั ยาศัย ศึกษา ทอ้ งถิน่ 1 เอกชน อาชวี ศึกษา อุดมศึกษา - ขนั้ พื้นฐาน 3 สถาน 13 - 42 ศึกษา 3 15 ข้นึ ตรง กศน. อาเภอ 6 สามพราน 61 37 -1 7 พทุ ธมณฑล 21 10 11 ข้อมูล ปีการศกึ ษา 2561 ที่มา : สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1,2 สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 9 จังหวดั นครปฐม สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนครปฐม และกรมการปกครองส่วนทอ้ งถิน่ จากสภาพทั่วไปของจังหวัดนครปฐมต้ังอยู่บริเวณลุ่มแม่น้าท่าจีน เป็นพื้นท่ีราบลุ่ม ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่รายได้ของประชากรส่วนใหญ่มาจากสาขาอุตสาหกรรม จากสภาพ ภูมิศาสตร์ซ่ึงอยู่ใกล้กรุงเทพฯ จึงเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายของการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติเพ่ือรองรับการขยายตัวของกรุงเทพฯ ส่งผลให้จงั หวดั นครปฐมเปน็ ศนู ย์กลางของภาคตะวันตก และ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 8

เป็นจุดเร่ิมต้นของประตูสู่ภาคตะวันตกและภาคใต้ และการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ประกอบกับมีแม่น้าท่าจีน ไหลผ่าน ทาให้สภาพดินและแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ สามารถเลือกพืชเศรษฐกิจมาปลูกเป็นพืชเสริมรายได้แก่ เกษตรกรได้ และการเคลื่อนย้ายประชากรเขา้ สู่จังหวัดนครปฐม ทาให้เศรษฐกจิ ของจังหวัดนครปฐมขยายตัว ในทุกด้านอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านอุตสาหกรรม ด้านบริการ ด้านการศึกษา มีสถาบันการเงิน เป็นจานวนมาก ทาให้สะดวกในการประกอบกิจการทางพาณิชยกรรม มีสภาพสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว จากสังคมแบบครอบครัวรวม เป็นครอบครัวเดี่ยว จากสังคมกึ่งเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม มีการอพยพเคล่ือนย้ายแรงงานสูง ซึ่งจากลักษณะดังกล่าว ทาให้โครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดนครปฐม เป็นแหล่งอุตสาหกรรม การบริการพาณิชยกรรม และเกษตรกรรมแบบผสมผสานท่ีเอ้ือต่อภาคอุตสาหกรรม มกี ารขยายตวั ทางเศรษฐกจิ อยา่ งต่อเนอ่ื ง สภาวะความเสี่ยงของสังคมไทย ความเจริญในด้านต่าง ๆ ควบคู่บนสภาวะความเสี่ยงของสังคมไทยที่การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในบทบาทความรับผิดชอบของสานักงาน กศน. จะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการ คลคี่ ลายและเตรยี มการรองรับทส่ี าคญั ได้แก่ สภาวะความเส่ียง ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. โครงสร้างประชากรมีแนวโน้มประชากรวยั สูงอายุเพ่ิมขึ้น ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง สัดส่วนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : ผู้สูงอายุลดลงจากร้อยละ 20.5 : 67.6 : 11.9 ในปี พ.ศ. 2553 เป็นร้อยละ 18.3 : 66.9 : 14.8 ในปี พ.ศ. 2559 ขณะเดียวกันคนไทยส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจด้าน อนามัย การเจริญพันธ์ุที่ถูกต้องและเหมาะสม ส่งผลต่อความไม่สมดุลระหว่างปริมาณและคุณภาพของ ประชากรของประเทศ นอกจากน้ี การย้ายถ่ินของประชากรจากชนบทเข้าสู่เมืองอย่างต่อเนื่องทาให้มีการ ขยายตัวของความเป็นเมืองมาก ขึ้น โดยสัดส่วนประชากรในเขตเมืองเพ่ิมสูงขึ้นจากร้อยละ 31.1 ในปี พ.ศ. 2543 เป็นรอ้ ยละ 45.7 ในปี พ.ศ. 2553 2. คนไทยไดร้ ับการพัฒนาศักยภาพทกุ ช่วงวัยแต่ยงั มปี ัญหาดา้ นสติปญั ญา คุณภาพ การศึกษาและ มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ เด็กวัยเรียน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ากว่าร้อยละ 50.0 มาตรฐาน ความสามารถ ของผู้เรียนในเร่ืองการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ค่อนข้างต่า นอกจากน้ี พฤตกิ รรมเส่ียงทางสุขภาพทาให้เกิดปญั หาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพิ่มสูงขึ้น อัตราการต้งั ครรภข์ อง วัยรุ่น หญิงอายุ 15 - 19 ปี เพิ่มจาก 54.9 ต่อประชากรหญิงอายุ 15 - 19 ปี พันคน ในปี พ.ศ. 2548 เป็น 56.2 ในปี พ.ศ.2553 ขณะท่ีกลุ่มวัยทางานภาพรวมกาลังแรงงานมีการศึกษาสูงขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2553 มีกาลังแรงงานจบการศึกษาสูงกว่าระดับประถมศึกษาเพ่ิมขึ้นเป็นรอ้ ยละ 45.4 แต่อัตราการเพ่ิม ของผลิตภาพแรงงานในช่วงปี พ.ศ. 2550 - 2551 โดยเฉล่ียยังคงอยู่ในระดับต่าเพียงร้อยละ 1.8 อีกท้ัง แรงงานในกลุ่มอายุ 25 - 50 ปี มีเพียงร้อยละ 19.7 เท่าน้ันที่ออกกาลังกาย กลุ่มวัยผู้สูงอายุแม้จะมี อายุยืน ยาวขึ้นแต่ประสบปัญหาการเจบ็ ป่วยดว้ ยโรคเร้อื รังเพ่ิมข้ึน โดยพบว่าร้อยละ 31.7 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง รองลงมาคือ เบาหวาน ร้อยละ 13.3 และหัวใจร้อยละ 7.0 ส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่าย ด้านการรักษาพยาบาลของ ภาครัฐในอนาคต 3. ระดับการศึกษาของประชากรวัยแรงงานที่มีอายุ 15 - 59 ปี ท้ังที่อยู่ในวัยเรียนและท่ีอยู่ในกาลัง แรงงาน พบว่า ในช่วงปี 2552 - 2558 ประชากรในกลุ่มอายุดังกล่าว ได้รับการศึกษาเพิ่มขึ้น ซึ่งเห็นได้จาก จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจาก 8.9 ปี ในปี 2552 เป็น 10.0 ปี ในปี 2558 ซึ่งเทียบได้กับระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีสัดส่วนของประชากรวัยแรงงานที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สาเร็จ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขึ้นไป เพิ่มข้ึนจากร้อยละ 44.40 เป็นร้อยละ 42.25 ในช่วงเวลาเดียวกัน ในขณะท่ีร้อยละของกาลังแรงงานที่สาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นค่อนข้างคงที่ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 9

ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและอุดมศึกษามีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน แสดงให้เห็นว่าการดาเนินงานเพ่ือยกระดับ การศึกษาให้แก่แรงงานยังไม่สามารถดาเนินการได้อย่างทั่วถึง (ที่มา : แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579, สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560 4. อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป จากข้อมูลของ IMD พบว่า มีแนวโน้มลดลงจาก ร้อยละ 5.9 ในปี 2550 เป็ นร้อยละ 3.3 ในปี 2558 (อันดับที่ 45 จาก 58 ประเทศ) โดยในปี 2557 มีอัตราการไม่รู้หนังสือน้อยกว่าประเทศจีน ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แสดงให้เห็นว่าประเทศ ไทยสามารถลดอัตราการไม่รู้หนังสือของผู้ใหญ่ได้ค่อนข้างมาก หลังจากมีอัตราการไม่รู้หนังสือสูงถึงร้อยละ 5.9 ในปี 2550 (ท่ีมา : แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) 5. อัตราการอ่านของประชากรไทยสานักงานสถิติแห่งชาติ ดาเนินการสารวจการอ่านของประชากร ครั้งแรกในปี 2546 เฉพาะประชากรที่มีอายุต้ังแต่ 6 ปีข้ึนไป และตั้งแต่ปี 2551 ได้เพ่ิมเร่ืองการอ่านของ เด็กเล็ก (อายุต่ากว่า 6 ปี) สาหรับการสารวจปี 2558 ได้ขยายค่านิยมการอ่าน ให้รวมการอ่านข้อความในสื่อ สงั คมออนไลน/์ SMS/E-mail ด้วย โดยในการสารวจ 4 คร้ังล่าสุด (ปี 2559 – 2561) สรปุ ผลการสารวจท่ีสาคัญ คือ กลุ่มประชากรท่ีไม่อ่านเกือบ 14 ล้านคนนี้ให้เหตุผลประการหน่ึงท่ีไม่อ่านว่าเป็นเพราะไม่ชอบหรือไม่ สนใจอ่าน คิดเป็นร้อยละ 25.2 หรือประมาณ 3.45 ล้านคน เม่ือจาแนกตามกลุ่มอายุ พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปี มีแนวโน้มไม่ชอบอ่านลดลงชัดเจนจากร้อยละ 32.3 ในปี 2551 เหลือร้อยละ17.9 ในปี 2561 หรือประมาณ 1.3 แสนคน ในขณะท่ีกลุ่มวัยรุ่นหรือเยาวชนอายุ 15-24 ปีและวัยผู้ใหญ่ อายุ 25-59 ปีมีสัดส่วนไม่ชอบหรือไม่ สนใจอ่านสูงมาก ท้ังสองกลุ่ม คือร้อยละ 34.9 และ 32.8 ตามลาดับส่วนผู้สูงอายุท่ีไม่ชอบอ่านเพ่ิมข้ึนเล็กน้อย สัดส่วนของผู้ไม่อ่านเนื่องจากไม่ชอบอ่านหรือไม่สนใจอ่านในกลุ่มอายุ 15-59 ปีทาให้จานวนผู้ไม่อ่านเพราะ ไม่ชอบหรือไม่สนใจอ่าน สูงถึง 1 ใน 4 ของประชากรที่ไม่อ่านนั่นหมายความว่ากิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ การปลูกฝังนิสัยรกั การอ่านยังไม่ประสบความสาเรจ็ เท่าทค่ี วร ยกเว้นการรณรงค์ส่งเสรมิ ในกลมุ่ เป้าหมายวัยเด็ก ที่อาจเรียกได้ว่าเห็นผลสาเร็จได้อย่างชัดเจนอย่างไรก็ตาม ควรต้ังคาถามต่อไปว่าประชากรที่อ่านเพิ่มข้ึนก็ดี หรือข้อมูลกลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปีท่ีไม่ชอบอ่านลดลงก็ดีจะถอื ว่าเป็นความสาเร็จได้หรือไม่ เพราะความสาเร็จของ การส่งเสริมการอ่านนั้นหาใช่พิสูจน์ท่ีปริมาณการอ่านเพิ่มข้ึนเพียงอย่างเดียวแต่หมายถึงการปลูกฝังนิสัยรักการ อ่านและเปลี่ยนแปลงทัศนคตติ ่อการอ่านไปสกู่ ารมีพฤติกรรมการอ่านด้วย การรณรงค์และจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน รวมทั้งการเพิ่มจานวนและการพัฒนาพ้ืนท่ีการอ่าน อันเน่ืองมาจากนโยบายส่งเสริมการอ่าน เป็นปัจจัยสนับสนุนให้จานวนผู้อ่านหนังสือเพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 66.3 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 78.8 ในปี 2561 และปริมาณการอ่านหนังสือเพ่ิมขึ้นจาก 39 นาทีต่อวันในปี 2551 เปน็ 80 นาทตี อ่ วันในปี 2561 ถึงแมว้ า่ ปริมาณการอ่านจะเพิ่มสูงขนึ้ ตารางที่ 6 ตารางแสดงปริมาณและเวลาในการอ่าน กลุ่มเป้าหมาย รอ้ ยละ ปริมาณและเวลาในการอ่าน นาทีตอ่ วัน เด็ก วยั รุ่น 89.7 83 วัยทางาน 92.9 109 สงู อายุ 81.8 77 ชาย 52.2 47 หญงิ 79.7 78 77.9 82 (ที่มา : สารวจการอ่านหนงั สือของประชากร ปี 2561 ของสานกั งานสถิติแห่งชาติ) แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 10

แต่ในอีกด้านหน่ึงยังคงมีผู้ไม่รู้หนังสืออยู่อีกเป็นจานวนมากผลสารวจของยูเนสโกครั้งล่าสุด เมื่อปี 2558 ระบุวา่ มีประชากรท่ีอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้มากกวา่ 4 ล้านคนในจานวนน้ีเป็นเยาวชนอายุ 15-24 ปีเกือบ 2 แสนคนท้ังนี้ จานวนเยาวชนที่ไม่รู้หนังสือมีแนวโน้มลดลงแต่จานวนผู้ไม่รู้หนังสือในวัยผู้ใหญ่ (อายุ 24 ปีขึ้นไป) กลับมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น เช่นเดียวกันกับข้อมูลการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติในปี 2558 จะพบตัวเลขที่น่าสนใจในกลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปีที่ไม่อ่าน หรือเทียบเท่าเด็กนักเรียนชั้น ป.1-ม.3 ซ่ึงระบุว่า อา่ นไม่ออกรอ้ ยละ 31.7 คิดเป็นจานวนถึง 2 แสนคนเศษ หากรวมเด็กกลุ่มอายุเดยี วกันน้ีท่ีอ่านไม่คล่อง/อ่าน ได้เพียงเล็กน้อย อีกร้อยละ 34.7 นั่นหมายความว่ามีเด็กในวัยเรียนจานวนกว่า 450,000 คนท่ียังมีปัญหา อ่านไม่ออกหรืออ่านไม่คล่องในการสารวจล่าสุดในปี 2561 พบว่ากลุ่มเด็กวยั เรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ยงั คงประสบปญั หาอา่ นไม่ออกและอา่ นไม่คลอ่ งร้อยละ 42.9 และ 26.5 6. สังคมไทยเผชิญวิกฤตความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมจริยธรรมมีการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมท่ีหลากหลายและมีแนวโน้มเป็นสังคมปัจเจกมากข้ึน โดยคนไทยคานึงถึงประโยชน์ส่วนตนและ พวกพ้องมากกว่าส่วนรวม ในปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทยได้รับคะแนนความโปร่งใสไม่ทุจริต และคนในประเทศ ยอมรับไม่ได้กับการทุจริตเพียง 3.4 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน จัดอยู่ในลาดับท่ี 84 จาก 180 ประเทศ และอยู่ในลาดับท่ี 11 ของภูมิภาคเอเชีย ขณะที่ภาคส่วนต่าง ๆ ได้มีการส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มทา กิจกรรม ต่าง ๆ แต่การมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมยังอยู่ในระดับต่า ขณะเดียวกัน สัมพันธภาพระหว่าง สมาชิกในครอบครัวมีความเปราะบางจนนาไปสู่ปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น เช่น อัตราการ หย่าร้างเพิ่มขึ้น จาก 4.5 คู่ต่อพันครัวเรือนในปี พ.ศ. 2548 เป็น 5.5 คู่ต่อพันครัวเรือนในปี พ.ศ. 2553 ปัญหา ความรุนแรงในครอบครวั และความรุนแรงทางเพศตอ่ เด็กและสตรีเพิ่มขึ้น 7. บริบทการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกก่อให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจทั้งในระดับทวิ ภาคีและระดับพหุภาคีรวมท้ังความร่วมมือในประชาคมอาเซียน ความร่วมมือกับกลุ่มประเทศเพ่ือนบ้านมี อิทธิพลต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ ประเทศไทย ทั้งแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาในประเทศไทยอย่างถูก กฎหมาย และผิดกฎหมาย ในปี พ.ศ. 2553 มีแรงงานข้ามชาติท่ีถูกกฎหมายจานวน 378,078 คน และผิด กฎหมาย จานวน 955,595 คน ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2558 จะมีการเคลื่อนย้ายแรงงานที่มีทักษะฝีมืออย่างเสรีตาม กรอบ ความร่วมมือประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนซ่ึงการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีดังกล่าวจะส่งผลให้การแข่งขัน ทางการค้า มีความรุนแรง มีความต้องการนาเข้าแรงงานจากต่างประเทศท้ังในส่วนแรงงานท่ีมีทักษะฝีมือ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ทางและแรงงานไร้ฝีมือ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสภาวะการมีงานทาของแรงงานไทย นอกจากนน้ั ยงั ส่งผล กระทบตอ่ ความม่ันคงของคนไทยท้งั ในด้านความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สินเพม่ิ มากขน้ึ จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพื่อการสร้างภูมิคุ้มกันและความเข้าใจถึงการผสมผสาน และการเลื่อนไหลทางวัฒนธรรมรวมทั้งการเพ่ิมทักษะหลากหลาย และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง จะเป็นเง่ือนไข สาคัญต่อการดารงชีวิตอย่างมคี ุณภาพในโลกเทคโนโลยแี ละไร้พรมแดน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยจากภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ของคน แต่คนไทยจานวนไม่น้อย ยังขาดทักษะท่ีพึงประสงค์เมื่อประกอบกับบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ยังไม่สามารถกระจายไปได้ครอบคลุม ทั่วถึง จึงติดกับดักทักษะระดับต่าและรายได้ต่า ทาให้สังคมไทยจึงมีความลักล่ันระหว่างความก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจและเทคโนโลยี กับความก้าวหน้าทางคุณภาพของสังคม การเลื่อนไหลและผสมผสานทางสังคมและ วัฒนธรรมขาดการกล่ันกรองและภูมิคุ้มกันที่เหมาะสม จึงต้องเร่งพัฒนาการศึกษาให้ประชาชนมีจิตสาธารณะ และรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม การคิดและสร้างสรรค์ ความกระตอื รือรน้ และขยนั สาหรบั ประเทศไทยการพัฒนาทางสังคมก้าวหน้ามาตามลาดบั ซ่ึงจะส่งผลให้คนไทยโดยเฉล่ยี มี การศึกษาและสุขภาพดีข้ึน และระบบเกื้อกูลในครอบครัวไทยเข้มแข็งเป็นทุนทางสังคมท่ีสาคัญ นอกจากน้ัน แผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 11

กล่าวได้ว่าระบบการศึกษา ระบบสาธารณสุขและสวัสดิการ และโครงสร้างพ้ืนฐานในทุกด้านก็มีการพัฒนา กา้ วหน้าไปตามลาดับ แต่หากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศท่ีพัฒนาแล้ว กลุ่มประเทศกาลังพัฒนาด้วยกันนับว่า ประเทศไทยพัฒนาไปได้ช้ากว่าหลาย ๆ ประเทศ การพัฒนาประเทศไทยในช่วงระยะเวลาถัดไปจะเผชิญกับ ความท้าทายในหลายดา้ น ท้ังการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรท่ีประเทศไทยจะเข้าสู่สงั คมวัยระดับสูงวยั ระดับสุด ยอดในปี 2579 โดยจะมีสัดส่วนของผู้สูงอายุถึงร้อยละ 30 ขณะที่สัดส่วนวัยเด็กและวัยแรงงานมีสัดส่วนลดลง อย่างต่อเนื่อง โดยวัยเด็กมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 14 ขณะที่วัยแรงงานคิดเป็นร้อยละ 65 นอกจากนั้น สถาบัน ครอบครัวมขี นาดเลก็ ลง และมีรูปแบบที่หลากหลายมาก กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จึงมอบหมายให้สานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดการศึกษา ดาเนินการจัดการศึกษาให้ประชากรในจังหวัด นครปฐม ได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วง วัยสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 ท่ีสอดคล้องกับ นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง 2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ และส่วนท่ี 2 ภารกิจต่อเนื่อง ได้แก่ 1) ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 2) ด้าน หลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และการ ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 3) ด้านเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 4) ดา้ นโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรือ โครงการอันเก่ยี วเน่ืองจากราชวงศ์ 5) ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ท่ีเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และ พนื้ ทีบ่ ริเวณชายแดน 6) ด้านบคุ ลากร ระบบการบรหิ ารจดั การ และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ น การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มด้านการศกึ ษา (SWOT Analysis) ของสานกั งาน กศน. จงั หวัดนครปฐม ในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ไดน้ าผลการวิเคราะหข์ ้อมลู สภาพแวดลอ้ มดา้ นการศกึ ษามาประกอบ ดังนี้ ก จดุ แข็ง (Strength) 1. มีการวางแผนกาหนดยุทธศาสตร์การดาเนินงานในการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 2. บุคลากรมีศักยภาพมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมี ประสิทธภิ าพ 3. มีบุคลากรปฏบิ ตั ิงานกระจายในพื้นทข่ี องอาเภอ ตาบล และสว่ นใหญ่เปน็ บคุ ลากรในท้องถ่ิน 4. มีการกระจายอานาจให้สถานศึกษาสามารถตดั สินใจได้อยา่ งอสิ ระและรวดเร็ว 5. ให้บรกิ ารการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัย กับประชาชนอยา่ งท่ัวถึง สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ 6. บคุ ลากรมีความสามารถในดา้ นการจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของประชาชน 7. มีการจัดการศกึ ษาโดยเน้นการมสี ่วนร่วมของเครือขา่ ย 8. บคุ ลากรมีมนุษยสัมพันธ์ทดี่ เี ป็นทยี่ อมรบั ของชมุ ชน 9. มีพระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปอย่างมี ระบบและต่อเนือ่ งทาให้ประชาชนได้มโี อกาสเรียนรู้ตามศักยภาพ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 12

10. กศน. ตาบล ทุกแห่งมีศูนย์ดิจิทัลชุมชน ช่วยในการบริหารจัดการฐานข้อมูลท่ีจาเป็น สาหรับ กศน. และชมุ ชนเพ่ือให้มีความรู้เท่าทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลกยคุ ดจิ ิทัล จดุ อ่อน (Weakness) 1. สื่ออิเลก็ ทรอนิกสไ์ ม่เพียงพอในการจดั การเรยี นการสอน 2. ขาดวัสดุ ครุภณั ฑ์ทที่ นั สมัย เหมาะสมกับการบริหารงานยคุ ใหม่ 3. ความสามารถในการให้บริการของครูไม่ต่อเน่ืองและเต็มเวลาเท่าที่ควรจากสภาพ ภารกิจของงาน 4. วฒุ ิของครู กศน.ไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานการจัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน (มีไม่ครบทกุ หมวดวชิ า) 5. ระบบสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารยงั ขาดความเชอ่ื มโยงและใชง้ านไดไ้ ม่เตม็ ประสิทธภิ าพ 6. ระบบกากับดูแลติดตามการปฏิบัติงานและการนาผลการประเมินมาใช้ไม่มี ประสทิ ธภิ าพ 7. แนวทาง/คู่มอื ในการจดั กิจกรรมขาดความชัดเจน 8. แหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุดประชาชน ขาดการพัฒนาให้มีความพร้อมให้บริการรูปแบบ ท่ีทันสมยั และเป็นปัจจบุ ัน 9. การสรุปผลการดาเนนิ งานขาดการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในเชิงคณุ ภาพ 10. การส่งเสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาภาคเี ครอื ข่ายยงั ไมต่ อ่ เนื่อง โอกาส (Opportunities) 1. นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป้าหมาย การจดั การศกึ ษา เพ่อื การพฒั นาทยี่ ่งั ยืนเอ้ือต่อการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ 2. นโยบายของรัฐบาลสนับสนุนการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทาง การศึกษาแก่ประชาชน รวมถึงการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ตามนโยบาย “ประเทศไทย 4.0” 3. นโยบาย แผนและยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้มีทักษะ ความรู้ และคุณลักษณะตามเปา้ หมายการพฒั นาประเทศ 4. นโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลช่วยส่งเสริมให้มีงานทา มีรายได้ส่งผลต่อ การศึกษาทหี่ ลากหลายรูปแบบและกลมุ่ เปา้ หมาย 5. รฐั บาลมีนโยบายในการดูแลและสร้างโอกาสให้กบั กลุ่มเปา้ หมายพิเศษอย่างชดั เจน เช่น คนพกิ าร ผสู้ งู อายุ ผดู้ อ้ ยโอกาส ฯลฯ 6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กาหนดให้รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับ การศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บ ค่าใชจ้ า่ ย 7. สังคมมีความเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากขึ้นทาให้คนในสังคมต้องการ เพ่มิ ความรู้ความสามารถใหท้ ันตอ่ การเปล่ียนแปลง 8. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัลในปัจจุบัน ได้เพิ่มช่องทางการ และการให้บริการ การจัดการเรียนการสอนและกจิ กรรมต่าง ๆ เพื่อสร้างโอกาสในการเรยี นรู้มากขึ้นแกก่ ลุ่มเปา้ หมายได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จังหวดั นครปฐม 13

9. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนนุ ในการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานของ บุคลากรอยา่ งต่อเนื่อง ทันต่อสถานการณป์ ัจจบุ นั 10. ชุมชนมีภูมิปัญญาชาวบ้านท่ีสามารถให้ความรู้ได้และบางชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ที่สามารถศึกษา ค้นคว้าได้ 11. มีแหล่งเรียนร้ทู างอาชีพท่ีหลากหลายและครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี ที่พร้อมให้การสนับสนุนและ ถา่ ยทอดความรู้ ข้อจากดั (Threats) 1. ผลจากกระแสความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศของการส่ือสารที่เข้าถึง ประชาชนอย่างรวดเร็วและทาให้ประชาชนมีค่านิยมในเชิงวัตถุนิยมเข้มข้น การใช้ส่ือเทคโนโลยีท่ีไม่ เหมาะสมมากขึน้ และรับอนั ตรายในรูปแบบต่าง ๆ ของสังคมโลกยุคดิจทิ ัล 2. วิกฤตทางเศรษฐกิจปัจจุบันทาให้มีข้อจากัดด้านงบประมาณเป็นอุปสรรคตอ่ การขยาย กล่มุ เป้าหมาย 3. สถานการณ์ทางเศรษฐกิจทาให้ประชาชนร่วมกิจกรรมของ กศน. จานวนน้อยโดยให้ ความสาคญั กับการประกอบอาชีพของตนเอง 4. กลุ่มเป้าหมายมีอาชีพหลากหลายและมีเวลาว่างไม่ตรงกัน จึงส่งผลให้การรวมกลุ่มทา ได้ยาก แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 14

สว่ นที่ นโยบายและจดุ เน้น 2 การดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอมนาพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาสูการปฏิบตั ิ 1.1 สืบสานศาสตรพระราชา โดยการสรางและพัฒนาศูนยสาธิตและเรียนรู “โคกหนองนาโมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบตาง ๆ ทั้งดิน น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุตาง ๆ และสงเสรมิ การใชพลังงานทดแทนอยางมีประสทิ ธภิ าพ 1.2 จัดใหมี “หน่งึ ชมุ ชน หน่ึงนวัตกรรม การพัฒนาชุมชน” เพอ่ื ความกินดี อยูดี มงี านทา 1.3 การสรางกลุมจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝงผูเรียนใหมีหลักคิดท่ีถูกตองดานคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติท่ีดีตอบานเมือง และเปนผูมีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผานกิจกรรม การพัฒนาผูเรยี นโดยการใชกระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด 2. สงเสริมการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตสาหรบั ประชาชนทเี่ หมาะสมกบั ทุกชวงวยั 2.1 สงเสรมิ การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวัตกรรมและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทนั สมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรบั ริการ และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพอื่ นาไปใชในการพฒั นาอาชีพได 2.2 สงเสริมและยกระดบั ทักษะภาษาอังกฤษใหกับประชาชน (English for All) 2.3 สงเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับผูที่เขาสูสังคมสูงวัย อาทิ การฝกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมสมรรถนะผูสูงวัย และหลักสูตร การดูแลผูสูงวัย โดยเนนการมสี วนรวมกบั ภาคเี ครือขายทุกภาคสวนในการเตรยี มความพรอมเขาสูสังคมสงู วยั 3. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัด การศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพ่ือประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสม กับทุกกลุมเปาหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความ ตองการของผเู รียน และสภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ที่จะเกดิ ข้ึนในอนาคต 3 .1 พั ฒ น าระ บ บ ก ารเรีย น รู ONIE Digital Learning Platform ท่ี รอ งรับ DEEP ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธิการ และชองทางเรยี นรูรปู แบบอ่ืน ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือใหสามารถ “เรียนรูไดอยางท่ัวถงึ ทกุ ที่ ทกุ เวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝกอบรมแบบออนไลน มีระบบการเทียบโอนความรู ระบบสะสมหนวยการเรียนรู Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการใหบริการระบบทดสอบ อิเลก็ ทรอนิกส E-exam) แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 15

4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับ ประชาชน อยางมีคณุ ภาพ 4.1 รวมมือกับภาคีเครือขายท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้ง สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณ์ และบรบิ ทของชมุ ชน สงเสริมการตลาดและขยายชองทางการจาหนายเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ สนิ คา กศน. 4.2 บูรณาการความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทั้งในสวนกลางและ ภมู ภิ าค 5. พฒั นาศกั ยภาพและประสทิ ธิภาพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรฐั บาลดิจิทัลอยางมปี ระสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนา ครูใหมีทักษะ ความรู และความชานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตส่ือการเรียนรูและการจัดการเรียน การสอนเพ่อื ฝกทักษะ การคดิ วเิ คราะหอยางเปนระบบและมีเหตุผลเปนขน้ั ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทางานรวมกันในรูปแบบตาง ๆ อาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ทางาน 6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารและการประชาสัมพนั ธสรางการรบั รูตอสาธารณะชน การจดั การองคกรปจจัยพ้นื ฐานในการจดั การศกึ ษา 6.1 เรงผลักดันรางพระราชบัญญัติสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. .... ใหสาเร็จ และปรับโครงสราง การบริหารและอัตรากาลังใหสอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลง เรงการสรรหา บรรจุ แตงต้ังท่ีมี ประสิทธิภาพ 6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทางานและ ขอมูล สารสนเทศดานการศึกษาทท่ี ันสมยั รวดเรว็ และสามารถใชงานทันที โดยจัดต้ังศูนยขอมลู กลาง กศน. เพอื่ จดั ทา ขอมลู กศน. ทง้ั ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซอมแซม ฟนฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอมโดยรอบของหนวยงาน สถานศึกษา และแหลงเรยี นรูทกุ แหง ใหสะอาด ปลอดภัย พรอมใหบรกิ าร 6.4 ประชาสัมพันธ สรางการรับรูใหกับประชาชนท่ัวไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสรางชองทางการแลกเปล่ียนเรียนรูดานวิชาการ ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานส่ือรูปแบบตาง ๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรมวิชาการ กศน. การจัดการศึกษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID – 19) ของสานักงาน กศน. จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุก ระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพร กระจายของเช้ือไวรัสดังกลาว อาทิ กาหนดใหมี การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการ ใชอาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝกอ บรม หรอื การทากิจกรรมใด ๆ ท่ีมีผูเขารวมเปนจานวนมาก การปดสถานศึกษาดวยเหตุพเิ ศษ การกาหนดให ใชวธิ ีการจดั การเรียนการสอนรปู แบบใหม อาทิ การจัดการเรยี นรู แบบออนไลน การจัดการเรยี นรูผานระบบ การออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซียลมีเดียตาง ๆ รวมถึง การสื่อสารแบบทางไกลหรือดวยวิธี อิเล็กทรอนิกสในสวนของสานักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงาน แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวดั นครปฐม 16

ในภารกิจตอเนื่องตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียนรูเพ่ือรองรับการชีวิต แบบปกติวิถีใหม New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดใหความสาคัญกับการดาเนินงานตาม มาตรการการปองกัน การแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการ เรียนรูทกุ ประเภท หากมีความจาเปนตองมาพบกลุม หรืออบรมสมั มนา ทางสถานศึกษาตองมีมาตรการปอง กันท่ีเขมงวด มีเจล แอลกอฮอลลางมือ ผูรับบริการตองใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ตองมีการเวน ระยะหางระหวางบุคคล เนนการใชสือ่ ดิจิทัลและเทคโนโลยอี อนไลนในการจัดการเรียนการสอน ภารกิจตอเนอ่ื ง 1. ดานการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานโดย ดาเนินการ ใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซ้ือหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคา จัดการเรียนการสอนอยางทั่วถึงและเพียงพอเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ โดยไมเสยี คาใชจาย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และ ขาดโอกาสทางการศึกษา ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบชั้นเรียน และการ จดั การศึกษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งดานหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผล การเรียน และระบบการใหบรกิ ารนักศึกษาในรปู แบบอนื่ ๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ที่มีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของกลุมเปาหมายไดอ้ ยางมปี ระสิทธิภาพ 5) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีมีคุณภาพท่ีผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่ือเปนสวนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการ ปองกนั และแกไขปญหายาเสพตดิ การแขงขันกีฬา การบาเพญ็ สาธารณประโยชนอยางตอเนอ่ื ง การสงเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรียนนากิจกรรมการ บาเพ็ญประโยชนอื่น ๆ นอกหลักสตู รมาใชเพ่มิ ชัว่ โมงกิจกรรมใหผูเรยี นจบตามหลกั สตู รได 1.2 การสงเสรมิ การรูหนังสอื 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบ เดยี วกนั ทัง้ สวนกลางและสวนภมู ิภาค 2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ส่ือ แบบเรียนเคร่ืองมือวัดผลและเคร่ืองมือการดาเนินงาน การสงเสริมการรูหนังสอื ท่ีสอดคลองกบั สภาพและบรบิ ทของแตล่ ะกลุมเปาหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และ ทักษะการ จัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัคร สงเสริมการรูหนังสอื ใน พื้นท่ีทม่ี ีความตองการจาเปนเปนพิเศษ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม 17

4) สงเสรมิ สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพื่อเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอด ชวี ติ ของประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยางย่ังยืน โดยใหความสาคัญกับการจัดการศึกษา อาชีพเพ่ือการมีงานทาในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อตุสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการรวมถึงการเนนอาชีพชางพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและ ศักยภาพของแตละพื้นที่ มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการ รวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การพัฒนา หน่ึงตาบล หนึ่งอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเม่ียม การสราง แบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสรมิ และจัดหาชองทางการจาหนายสินคาและผลติ ภณั ฑ และใหมกี ารกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาอยางเปนระบบและตอเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให กับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุ ที่สอดคลองกับความตองการจาเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการ ดารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิต ของตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได อยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสาหรับการปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของขาวสารขอมูลและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเนื้อหาสาคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรู เพื่อการปองการการแพรระบาด ของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพฒั นาสขุ ภาพกายและ สขุ ภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝงและการสราง คานิยมท่ีพึงประสงค ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน ผานการอบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจดั ต้ังชมรม/ชุมนุม การอบรมสงเสรมิ ความสามารถพเิ ศษตาง ๆ เปนตน 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรูการจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแต ละพื้นที่ เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้ง สงั คมพหวุ ฒั นธรรม โดยจดั กระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพอื่ แลกเปลีย่ นเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิต สาธารณะ การสรางจิตสานึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหน าท่ีความเปนพลเมืองที่ดีภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมขุ การสงเส ริมคุณธรรม จริยธรรม การเปนจิตอาสา การบาเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการน้า การรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การชวยเหลือซึ่งกันและกันในการ พฒั นาสงั คมและชมุ ชนอยางย่งั ยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอด ชีวิต ในรูปแบบ ตาง ๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสรมิ สรางภมู ิคมุ กนั สามารถยนื หยัดอยูไดอยางมั่นคง และมกี าร บริหารจัดการ ความเสย่ี งอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสูความสมดุลและย่งั ยืน 1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการอานและพัฒนา ศกั ยภาพ การเรียนรูใหเกิดขึ้นในสงั คมไทย ใหเกิดข้ึนอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน การพัฒนา กศน.ตาบล แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 18

หองสมุดประชาชนทุกแหงใหมีการบริการท่ีทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขาย สงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคล่อื นที่ หองสมดุ ชาวตลาด พรอมหนังสือและ อุปกรณเพ่ือจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่าเสมอ รวมท้ังเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และ การจดั กิจกรรมเพอ่ื สงเสริมการอานอยางหลากหลายรูปแบบ 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษาใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอด ชีวิต ของประชาชน เปนแหลงสรางนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตรและเปนแหลงทองเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการ ประจาทองถ่ิน โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการสือ่ และกิจกรรมการศึกษาท่ีเนนการเสรมิ สรางความรูและสร างแรงบนั ดาลใจ ดานวทิ ยาศาสตรสอดแทรกวธิ กี ารคดิ เชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค และปลูกฝงเจตคติ ทางวิทยาศาสตร ผานการกระบวนการเรียนรูที่บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและคณิตศาสตร รวมท้ังสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดบั ภูมิภาค และระดับโลกเพื่อใหประชาชนมคี วามรูและสามารถนาความรูและทักษะ ไปประยุกตใชในการดาเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป นไปอยางรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Changes) ไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 3) ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรอื ภาคสวนตาง ๆ ที่มีแหลงเรยี นรูอน่ื ๆ เพอื่ สงเส ริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พพิ ิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หองสมุด รวมถึงภมู ปิ ญญา ทองถิ่น เปนตน 2. ดานหลักสูตร สื่อรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการประกันคณภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพ่ือสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ และ หลักสูตรทองถิ่นที่สอดคลองกับสภาพบริบทของพ้ืนที่และความตองการของกลุมเปาหมาย และชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและส่ืออื่น ๆ ท่ีเอ้ือตอการเรียนรูของ ผูเรียน กลุมเปาหมายท่วั ไปและกลุมเปาหมายพิเศษ เพอ่ื ใหผูเรยี นสามารถเรียนรูไดทกุ ที ทกุ เวลา 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย หลากหลายชองทางการเรียนรู ดวยระบบหองเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบ การณ เพ่ือใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ มกี ารประชาสมั พนั ธใหสาธารณชนไดรบั รแู ละสามารถเขาถงึ ระบบการประเมินได 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหไดมาตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam) มาใชอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2.6 สงเสรมิ และสนับสนุนการศึกษาวจิ ยั เพอื่ พฒั นาหลกั สูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังใหมีการนาไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับ บรบิ ทอยางตอเน่ือง แผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 19

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการ ประกัน คุณภาพภายในที่สอดคลองกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากข้ึน เพื่อพรอมรับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถ ดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมิน ภายในดวยตนเอง และจัดใหมี ระบบสถานศกึ ษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชดิ สาหรบั สถานศึกษาที่ยัง ไมไดเขารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่ี กาหนด 3. ดานเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อใหเชื่อมโยงและ ตอบสนอง ตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือกระจาย โอกาสทางการศึกษา สาหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรเู ทาทนั สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การส่อื สาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพื่อ การมีงานทา รายการติว เขมเติมเต็มความรู รายการทากินก็ได ทาขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุ ศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผานระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และชองทางออนไลนตาง ๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพื่อสงเสริม ใหครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการสรางกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพ่ือการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูท่ีมคี ุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชวี ิต โดยขยายเครือขายการรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนที่ท่ัวประเทศและเพิ่มชองทาง ใหสามารถรบั ชมรายการโทรทัศนไดทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอม ท่จี ะรองรับการพัฒนาเปนสถานีวทิ ยโุ ทรทัศนเพือ่ การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสอ่ื เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาเพื่อใหไดหลายชองทางท้ังทาง อนิ เท อรเน็ต และรูปแบบอ่ืน ๆ อาทิ Application บนโทรศัพทเคล่ือนที่ และ Tablet รวมทั้งส่ือ Offline ในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพ่ือเขาถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู ไดตามความตองการ 3.5 สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลดานการใชสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอยาง ตอเนื่องเพื่อนาผล มาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและ การเรยี นรูตลอดชีวิตของประชาชนไดอยางแทจรงิ 4. ดานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอันเกย่ี วเนือ่ งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริหรือโครงการ อันเก่ยี วเนอ่ื งจากราชวงศ 4.2 จัดทาฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริหรือโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศเพ่ือนาไปใชในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การ พัฒนางานไดอยางมีประสิทธภิ าพ 4.3 สงเสริมการสรางเครือขายการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ เพ่ือใหเกดิ ความเขมแข็งในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 20

4.4 พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”เพ่ือใหมีความพรอมในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนาที่ที่กาหนดไวอยางมีประสทิ ธิภาพ 4.5 จัดและสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูงถ่ินทุรกันดาร และพ้ืนทช่ี ายขอบ 5. ดานการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต พนื้ ทีเ่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและพนื้ ทบ่ี รเิ วณชายแดน 5.1 พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูท่ีตอบสนอง ปญหา และความตองการของกลุมเปาหมายรวมทั้งอตั ลักษณและความเปนพหุวัฒนธรรมของพื้นท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางเขมขนและ ตอเนือ่ งเพอื่ ใหผูเรียนสามารถนาความรูทไ่ี ดรับไปใชประโยชนไดจรงิ 3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากรและ นักศกึ ษา กศน.ตลอดจนผูมาใชบรกิ ารอยางทัว่ ถึง 5.2 พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความรวมมือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของในการจัดทาแผนการศึกษาตาม ยทุ ธศาสตร และบรบิ ทของแตละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเนนสาขาท่ีเปนความตองการของ ตลาด ใหเกดิ การพฒั นาอาชพี ไดตรงตามความตองการของพ้ืนท่ี 5.3 จัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนยฝกและสาธิต การประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และศนู ยการเรียนรูตนแบบการจัดกจิ กรรมตามแนวพระราชดารปิ รัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง สาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนดวยวิธีการเรียนรูทีหลากหลาย 2) มุงจัดและพัฒนาการศกึ ษาอาชีพโดยใชวิธีการหลากหลายใชรปู แบบเชงิ รกุ เพอ่ื การเขาถึง กลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนา ดานอาชีพ ที่เนนเร่ืองเกษตรธรรมชาติที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนว ชายแดน 6. ดานบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจัดการ 6.1 การพัฒนาบุคลากรและการมสวนรวมของทกุ ภาคสวน 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเน่ือง ทั้งกอนและ ระหวางการดารงตาแหนงเพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกับสายงาน ความชานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ ดาเนนิ งานของหนวยงานและ สถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสรมิ ใหขาราชการในสังกัดพฒั นา ตนเองเพ่อื เลือ่ นตาแหนง หรือเล่ือนวทิ ยฐานะโดยเนนการประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะท่ีจาเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพ่ือรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอธั ยาศัยในสถานศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 21

3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรู และผอู านวยความสะดวกในการเรียนรูเพ่อื ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธภิ าพอยางแทจริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการ เรียนรูไดอยางมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการ เรยี นรู การวัด และประเมินผล และการวจิ ยั เบ้ืองตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมีความเปนมืออาชีพในการจดั บริการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวม ในการบริหารการดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมปี ระสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยไดอยางมีประสทิ ธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือขายทั้งใน และตางประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางาน รวมกันในรูปแบบที่หลากหลายอยางตอเนื่องอาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสิทธภิ าพ ในการทางาน 6.2 การพฒั นาโครงสรางพ้ืนฐานและอัตรากาลงั 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ ใหมีความพรอมในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู 2) สรรหา บรรจุ แตงตั้ง และบริหารอัตรากาลังที่มีอยูท้ังในสวนที่เปนขาราชการ พนักงาน ราชการ และลูกจาง ใหเปนไปตามโครงสรางการบริหารและกรอบอัตรากาลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาท ภารกิจตามที่กาหนดไว ใหเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ ในการปฏิบตั งิ าน 3) แสวงหาความรวมมือจากภาคีเครือขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนามาใช ในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย และการสงเสรมิ การเรยี นรูสาหรบั ประชาชน 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัว ประเทศ อยางเปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดสามารถนาไปใชเปนเครอื่ งมือสาคัญในการ บริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรงรดั การเบกิ จายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายที่กาหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และ เช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชนในการจัด การศึกษาใหกบั ผูเรียนและการบริหารจดั การอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษา วิจัย เพื่อสามารถนามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่สอดคลองกับความตองการของ ประชาชน และชมุ ชน พรอมทั้งพฒั นาขดี ความสามารถเชงิ การแขงขันของหนวยงานและสถานศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 22

5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทกุ ภาคสวน ทง้ั ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังใน ประเทศ และตางประเทศ รวมทงั้ สงเสริมและสนบั สนนุ การมีสวนรวมของชุมชนเพอ่ื สรางความเขาใจ และให เกิดความรวมมือ ในการสงเสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยางมคี ุณภาพ 6) สงเสริมการใชระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส e-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองประชมุ เปนตน 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจดั การบนขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธม์ิ ีความโปรงใส 6.4 การกากับ นิเทศติดตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเชอ่ื มโยงกับหนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ขายทั้งระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และ รายงานผลการนานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่อง ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการ กากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมปี ระสิทธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาป ของหนวยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงาน กศน.ใหดาเนนิ ไปอยางมีประสิทธภิ าพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาทีก่ าหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแตสวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเปนเอกภาพในการใช้ ขอมูล และการพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม 23

ส่วนท่ี สาระสาคัญของแผนปฏิบตั ิการ 3 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน.จงั หวดั นครปฐม จากสภาวะความเสี่ยงของสังคมไทย ทิศทางการพัฒนาประเทศ และโอกาสของ สานักงาน กศน.จุดเน้นการ ดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ได้วิเคราะห์บริบทดังกล่าวและนามากาหนดเป็นสาระสาคัญแผนปฏิบัติการ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังต่อไปน้ี วิสยั ทัศน์ “คนนครปฐมได้รับโอกาสการศึกษาและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ อยา่ งมีคณุ ภาพ สามารถดารงชีวติ ทเี่ หมาะสมกับช่วงวยั สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะทจี่ าเปน็ ในโลกศตวรรษที่ ๒๑” เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ได้รับโอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คณุ ภาพอย่างเท่าเทียมและทว่ั ถงึ เปน็ ไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย 2. ประชาชนไดร้ ับการยกระดับการศกึ ษา สร้างเสริมและปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็นพลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนา ไปส่คู วามมั่นคงและยง่ั ยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ชวี ิตไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ 4. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพ่ือการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทั้งการขบั เคลื่อนกจิ กรรมการเรยี นร้ขู องชุมชน 6. สถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ คณุ ภาพในการจดั การเรยี นร้แู ละเพมิ่ โอกาสการเรยี นรูใ้ ห้กับประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนา คุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตรแ์ ละสิง่ แวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบที่หลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การที่เป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏบิ ัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างมีประสทิ ธิภาพ แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวดั นครปฐม 24

พนั ธกิจ 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคลอง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนทุก กล่มุ เป้าหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย พรอมรับการเปล่ียนแปลงบรบิ ททางสงั คม และก้าวสู่การเป็นสังคมแห่ง การเรยี นรูตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 2. สงเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่ายใหเขามา มีสวนร่วมในการสนับสนุนและจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรูตลอดชีวิต ในรปู แบบต่าง ๆ ใหกับประชาชน 3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชพัฒนา ประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนอย่าง ทั่วถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรม การวัดและ ประเมนิ ผลในทุกรปู แบบใหมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคลองกบั บริบทในปจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองคกรใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจัด การศกึ ษาและการเรยี นรูทีม่ คี ณุ ภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล ปัจจยั หลักแหง่ ความสาเร็จ 1) การยึดหลักวิชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาคิดเป็น หลักธรรมาภิบาล และผลสัมฤทธิใ์ นการบรหิ ารจัดการ ทงั้ ด้านวชิ าการ งบประมาณ การบรหิ ารงานบุคคล และการบรหิ ารท่วั ไป ท้ังภายในองคก์ ร ระหว่างองคก์ ร และการทางานร่วมกันกบั ภาคเี ครือข่าย 2) การใช้ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ในการดาเนินงาน ทั้งท่ียึดพ้ืนท่ี ยึดสภาวะแวดล้อมยึด กลุ่มเปา้ หมาย ยึดประเด็นปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรอื ประเด็นการพัฒนายึดความสาเร็จ และยดึ นโยบาย เป็นฐาน 3) การเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังเครือข่ายเชิงพื้นที่ เครือข่าย ภารกจิ และการสรา้ งความเขม้ แข็งของความรว่ มมือและความย่ังยืนในการเป็นภาคเี ครือขา่ ย 4) การใช้ กศน.ตาบล เป็นฐานและเป็นสถานีปลายทาง ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนในพน้ื ท่ี โดยไดร้ บั การพัฒนาให้มีศักยภาพและความพร้อมในการปฏบิ ัตงิ านตลอดเวลา 5) การมีข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มตามจุดเน้น มาใช้ในการวางแผนการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และออกแบบกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 6) การมีระบบการนิเทศ กากับติดตามและรายงานผล การปฏิบัติงานและการใช้จ่าย งบประมาณท่สี ามารถตรวจสอบความก้าวหน้าในการดาเนินงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 7) การมีกลไก/ระบบที่สามารถเชื่อมโยงการทางานกับส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการ เช่น ระบบฐานข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องและการจัดกิจกรรม เพอื่ ตอบสนองนโยบายเร่งดว่ นหรอื นโยบายเฉพาะท่ไี ด้รับมอบหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 8) การมีหนว่ ยงาน/สถานศึกษารบั ผิดชอบตัวชี้วัดความสาเรจ็ ตามยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นที่ ตรงตามภารกิจอย่างชัดเจนที่เช่ือมโยงการกากับติดตามและรายงานผลตัวชี้วัดท้ังส่วนกลาง ระดับจังหวัด และระดับสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 25

ตวั ชว้ี ัด ตวั ชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่ได้รับการสนบั สนุนคาใช จายตามสิทธทิ ่กี าหนดไว 2. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ทเี่ ขารว่ มกิจกรรมการเรียนรู รับบริการกจิ กรรม การศึกษาตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั ท่สี อดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตองการ 3. ร้อยละของกาลังแรงงานทสี่ าเร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตนขนึ้ ไป 4. จานวนภาคีเครือข่ายที่เขามามีสวนร่วมในการจัด/พัฒนา/สงเสริมการศึกษา (ภาคเี ครอื ข่าย : สถานประกอบการ องคกร หน่วยงานที่มาร่วมจัด/พัฒนา/สงเสริมการศกึ ษา) 5. จานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้ืนที่สูง และชาวไทยมอแกน ในพื้นท่ี ๕ จังหวัด ๑๑ อาเภอไดร้ บั บริการการศึกษาตลอดชวี ติ จากศูนยก์ ารเรยี นชุมชนสังกัดสานกั งาน กศน. 6. จานวนผู้รับบริการในพ้ืนท่ีเป้าหมายได้รับการสงเสริมด้านการรูหนังสือและการพัฒนา ทกั ษะชีวติ 7. จานวนนักเรยี น/นักศึกษาที่ได้รับบริการติวเขมเตม็ ความรู 8. จานวนประชาชนที่ได้รับการฝกอาชีพระยะสั้น สามารถสร้างหรือพัฒนาอาชีพเพ่ือสร้าง รายได้ 9. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพื้นที่ กศน.ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพดนการจัดการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร 10. จานวนประชาชนท่ไี ด้รบั การฝกอบรมภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ 11. จานวนผ้ผู ่านการอบรมหลกั สูตรการดูแลผู้สงู อายุ 12. จานวนประชาชนท่ีผ่านการอบรมจากศูนยด์ จิ ทิ ัลชุมชน 13. จานวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพ้ืนที่สูง ในพ้ืนที่ ๕ จังหวัด ท่ีสงเสริมการพัฒนา ทกั ษะการฟง พดู ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร ร่วมกันในสถานศกึ ษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จานวนหลักสูตรหรือส่ือออนไลน์ที่ใหบริการกับประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตัวชี้วัดเชิงคณุ ภาพ 1. ร้อยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวชิ าทุกระดับ 2. ร้อยละของผู้เรยี นทไ่ี ดร้ บั การสนับสนนุ การจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานเทยี บกับค่าเปา้ หมาย 3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายทีล่ งทะเบียนเรียนในทุกหลกั สูตร/กจิ กรรมการศกึ ษา ต่อเน่ืองเทียบกบั เปา้ หมาย 4. ร้อยละของผู้ผ่านการฝกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนาความรูไปใชใน การประกอบอาชพี หรือพัฒนางานได้ 5. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือ ทกั ษะดา้ นอาชพี สามารถมีงานทาหรือนาไปประกอบอาชีพได้ 6. ร้อยละของผู้จบหลักสตู ร/กิจกรรมทส่ี ามารถนาความรูความเขาใจไปใชไดต้ าม จดุ มุง่ หมายของหลักสตู ร/กจิ กรรม การศึกษาตอ่ เนื่อง แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวดั นครปฐม 26

7. ร้อยละของประชาชนที่ไดร้ ับบริการมีความพงึ พอใจตอการบรกิ าร/เขาร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้การศกึ ษาตามอัธยาศยั 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่ได้รบั บริการ/เข้ารว่ มกจิ กรรมทีม่ คี วามรคู วาม เขา้ ใจ/เจตคติ/ทกั ษะ ตามจดุ มุ่งหมายของกจิ กรรมที่กาหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศัย 9. ร้อยละของผู้สงู อายุทเ่ี ป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกจิ กรรมการศกึ ษาตลอดชวี ติ กลไกการขับเคลอื่ น 1. ระดบั ตาบล 1.1 จัดทาแผนพัฒนา กศน.ตาบล ในรูปแบบ Micro Planning เพ่ือการขับเคล่ือนงานใน ระดบั ตาบล 1.2 ใช้ “แผนปฏิบัติการ กศน.ตาบล” เป็นแนวทางการขับเคลื่อนงานในสถานศึกษาและ เปน็ กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผล 1.3 ใช้ชุมชนเป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. โดย กศน.ตาบล ศูนย์การเรียน ชุมชนและแหลง่ เรยี นรู้ชุมชน เปน็ หน่วยจดั และใหบ้ รกิ าร 1.4 ใช้วงจรคณุ ภาพเดมมิง่ (PDCA) ในกระบวนการดาเนินงาน 2. ระดบั สถานศึกษา 2.1 จัดทาแผนพัฒนา กศน.อาเภอ และแผนปฏิบัติการ กศน.อาเภอ โดยใช้ข้อมูลจาก แผนพัฒนา กศน.ตาบล และ แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบล 2.2 ใช้ข้อมูลแผนพัฒนา กศน.ตาบล และ แผนปฏิบัติการ กศน.ตาบล ในสังกัดของ กศน. อาเภอเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการบริหารจัดการการดาเนินงาน 3. ระดบั จังหวดั 3.1 จัดทาแผนพัฒนา และแผนปฏิบตั กิ าร กศน.ระดับจงั หวัด โดยใชข้ ้อมูลจากแผนพฒั นา กศน.อาเภอ และ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.อาเภอ 3.2 บริหารและกากับตดิ ตามใหเ้ ปน็ ไปตามแผน 4. ระดบั สานัก 4.1 จัดทานโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน 4.2 การส่ือสารทิศทางองค์กรเพ่ือสร้างความเข้าใจในการดาเนินงานตามนโยบายและ จุดเน้นใหก้ ับบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภท 4.3 ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ งาน 4.4 จัดทามาตรฐาน และตัวบ่งชี้การดาเนินงานเพ่ือเป็นบรรทัดฐานในการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล 4.5 ปรบั ปรุงแกไ้ ข กฎ ระเบยี บ แนวปฏบิ ัติ และข้อตกลงความร่วมมือตา่ ง ๆ ใหท้ นั ตอ่ การ เปลีย่ นแปลง เออื้ ตอ่ การจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4.6 จัดทาคูม่ ือแนวทางการดาเนินงานในแตล่ ะกิจกรรม 4.7 ระดมสรรพกาลังทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม 27

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ได้รับจัดสรรงบประมาณสาหรับการ ดาเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 80,625,937 บาท โดยจาแนกเป็นแผนงานตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. แผนงาน: ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัด การศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐาน งบเงนิ อดุ หนนุ จานวนเงนิ 23,857,982 บาท 1.1 ค่าจดั การเรยี นการสอน จานวน 16,595,872 บาท 1.2 ค่ากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น จานวน 3,982,870 บาท 1.3 คา่ หนังสอื เรยี น จานวน 3,259,240 บาท 1.4 การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Exam) จานวน 20,000 บาท 2. แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผรู้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจดั การศึกษานอกระบบ จานวนเงนิ 5,358,820 บาท 2.1 งบดาเนินงาน จานวน 4,767,720 บาท จาแนกเป็น 2.1.1 ค่าตอบแทนใชส้ อยวัสดุ จานวน 2,461,220 บาท 2.1.2 กจิ กรรมการสง่ เสริมการรหู้ นังสอื จานวน 110,000 บาท 2.1.3 กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต จานวน 397,900 บาท 2.1.4 กจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสังคมและชุมชน จานวน 1,042,000 บาท 2.1.5 กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จานวน 751,600 บาท 2.1.6 กิจกรรมพัฒนาศนู ย์ให้คาปรกึ ษา กศน.ในรูปแบบ Learning and Mind Care System จานวน 5,000 บาท 2.2 งบรายจา่ ยอืน่ โครงการเทียบโอนความรเู้ ทียบระดบั การศึกษามติ ิความรู้ความคิด จานวน 28,200 บาท 2.3 งบเงินอดุ หนนุ เงินอดุ หนุนทว่ั ไป รายการสิ่งอานวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร และการ ชว่ ยเหลอื อ่ืนใดทางการศึกษาสาหรับคนพกิ าร จานวน 132,000 บาท 2.4 งบลงทุน จานวน 430,900 บาท จาแนกเปน็ 2.4.1. คา่ ครุภัณฑ์คอมพวิ เตอร์ 1) เครื่องคอมพวิ เตอร์ All In One สาหรบั งานประมวลผล จานวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 23,000 บาท 2) เครอื่ งคอมพิวเตอร์ All In One สาหรับงานสานักงาน จานวน 5 เครื่อง เป็นเงนิ 85,000 บาท 3) เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ สาหรับงานประมวลผล จานวน 1 เครอื่ ง เปน็ เงิน 30,000 บาท 2.4.2. กจิ กรรมศูนยท์ ดสอบด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Exam) 1) เคร่อื งคอมพิวเตอร์ สาหรับงานสานักงาน จานวน 13 เครือ่ ง เปน็ เงนิ 221,000 บาท แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 28

2) เครอื่ งคอมพิวเตอร์ สาหรับงานประมวลผล จานวน 1 เคร่ือง เป็นเงนิ 22,000 บาท 3) อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (L2 Switch) ขนาด 24 ชอ่ ง จานวน 1 เครือ่ ง เปน็ เงนิ 6,000 บาท 4) เคร่อื งพิมพ์ชนดิ เลเซอรห์ รือชนดิ LED ขาวดาหรอื Network จานวน 1 เครอ่ื ง เปน็ เงนิ 8,900 บาท 5) เครื่องสารองไฟฟ้า ขนาด 800 VA จานวน 14 เคร่อื ง เปน็ เงิน 35,000 บาท 3. แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั งบดาเนนิ งาน จานวนเงนิ 3,527,658 บาท จาแนกเปน็ 3.1 กิจกรรมจดั การศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 2,783,596 บาท 3.2 กจิ กรรมจดั สร้างแหล่งเรียนรใู้ นระดับตาบล จานวน 391,262 บาท 3.3 กิจกรรมสนบั สนุนคา่ บริการเครือข่ายสารสนเทศเพ่ือการจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย จานวน 352,800 บาท 4. แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่อื นการพัฒนาการศึกษาท่ีย่ังยนื งบรายจ่ายอ่ืน จานวนเงนิ 5,277,800 บาท 4.1 กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน จานวน 4,777,700 บาท จาแนกเป็น 4.1.1 กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชพี จานวน 784,800 บาท 4.1.2 กจิ กรรมพฒั นาอาชีพระยะสน้ั (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) จานวน 1,790,600 บาท 4.1.3 กจิ กรรมชัน้ เรียนวชิ าชพี (31 ช่ัวโมงขึน้ ไป) จานวน 2,202,300 บาท 4.2 กจิ กรรมส่งเสริมและพฒั นานวตั กรรมการเรียนรู้ จานวน 150,500 บาท จาแนกเป็น 4.2.1 โครงการศูนยก์ ารเรียนรตู้ ้นแบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เป็น Co-Learning Space จานวน 104,000 บาท 4.2.2 โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเคล่อื นที่ จานวน 46,500 บาท 4.3 กิจกรรมพัฒนาบุคลากร สานักงาน กศน. โครงการหลักสูตรจิตอาสา 904 จานวน 148,000 บาท 4.4 กจิ กรรมภาษาต่างประเทศเพื่อการส่อื สารดา้ นอาชพี จานวน 201,600 บาท 5. แผนงาน : ยุทธศาสตร์พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจิทัล กิจกรรม ศนู ยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน งบรายจ่ายอืน่ จานวนเงนิ 441,010 บาท 6. แผนงาน : ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอน่ื จานวนเงนิ 275,500 บาท 6.1 โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมอง ของผู้สูงอายุ จานวน 219,800 บาท 6.2 การอบรมแบบ Online หลกั สูตรการจัดกิจกรรม กศน. ป้องกนั ภาวะซมึ เศรา้ คงสมรรถนะ ทางกาย จิต และสมองของผ้สู ูงอายุ จานวน 30,000 บาท 6.3 โครงการความรว่ มมือการผลิตผูด้ ูแลผู้สงู อายุ ระหวา่ งกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวง สาธารณสขุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 หลักสูตร 70 ชัว่ โมง จานวน 25,700 บาท 7. แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ ผลผลิตรายการค่าใชจ้ ่ายบุคลากรภาครัฐ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา และการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต กจิ กรรมบุคลากรภาครฐั สานกั งาน กศน. จานวนเงนิ 41,887,167 บาท แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จังหวดั นครปฐม 29

7.1 งบบุคลากร คา่ ตอบแทนพนักงานราชการ จานวน 40,720,968 บาท 7.2 งบดาเนนิ งาน จานวน 1,166,199 บาท 1) เงินประกนั สงั คม จานวน 949,500 บาท 2) คา่ เช่าบ้าน จานวน 132,000 บาท 3) เงนิ สมทบกองทุนเงนิ ทดแทน จานวน 84,699 บาท แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 30

แผนการจดั บรกิ ารกล่มุ เป้าหมายและการจดั สรรงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 แผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม 31

ตารางที่ 7 ตารางแสดงแผนการจดั บริการกล่มุ เป้าหมายและการจดั ส ได้รับจดั สรรจาก แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม สานกั งาน กศน. เมืองนครปฐม กาแพงแสน แผนงาน : ยทุ ธศาสตรส์ ร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมา โครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาต้ังแต่ระดับ อนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) 1. งบเงินอดุ หนนุ เงินอดุ หนนุ ทั่วไป 1.1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 7,454 7,852,450 2,533 2,115,375 1,040 904,975 511 1) คา่ จัดการเรยี นการสอน 2) คา่ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน 7,538 2,058,520 2,533 658,820 1,103 307,970 511 3) คา่ หนังสอื เรียน 4,523 1,682,380 1,520 548,390 661 249,540 308 4) คา่ จดั การเรยี นการสอนสาหรับนกั ศกึ ษาผพู้ กิ าร 84 630,000 - - 63 540,000 - 5) การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ - 10,000 - 10,000 - -- ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Exam) 1.2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 1) คา่ จัดการเรยี นการสอน 6,976 7,483,422 2,463 2,079,725 964 825,700 465 2) คา่ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น 7,065 1,924,350 2,463 635,220 1,028 287,620 465 3) คา่ หนงั สอื เรยี น 4,239 1,576,860 1,478 537,160 616 232,100 279 4) คา่ จดั การเรียนการสอนสาหรับนักศกึ ษาผู้พกิ าร 89 630,000 - - 64 540,000 - 5) การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ - 10,000 - 10,000 - -- 34,000 1 แหง่ 34,000 1 แห ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Exam) แผนงาน : พืน้ ฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนษุ ย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รบั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ กจิ กรรมจดั การศึกษานอกระบบ 1. งบดาเนนิ งาน 1.1 คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ 8 แหง่ 432,000 1 แหง่ 1.2 คา่ สาธารณปู โภค 8 แหง่ 589,700 1 แหง่ 30,000 1 แหง่ 30,000 1 แห 1.3 คา่ เชา่ สานักงานและท่ดี นิ 2 แหง่ 90,000 - -- -- 1.4 คา่ จ้างเหมาบรกิ าร 6 คน 816,480 - -- -- 1.5 คา่ เชา่ รถยนต์ 2 คนั 533,040 - -- -- แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สา

สรรงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดอนตูม จดั สรรงบประมาณให้ กศน.อาเภอ บางเลน พทุ ธมณฑล สามพราน จงั หวดั นครชัยศรี ย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ (บาท) (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) (บาท) 1 443,925 771 661,025 509 440,375 467 399,025 1,623 1,401,325 - 1,486,425 1 145,790 772 213,680 510 142,700 467 128,230 1,642 461,330 -- 8 116,580 463 172,810 306 119,420 280 103,530 985 372,110 -- - - 19 90,000 -- - 1- 1- - -- - -- - -- -- 5 404,475 665 630,675 446 446,250 435 371,825 1,538 1,316,350 - 1,408,422 5 133,050 665 184,450 447 126,630 435 119,550 1,562 437,830 -- 9 105,830 400 149,740 268 101,240 261 96,940 937 353,850 -- -- - - 24 90,000 -- - -- 1- - -- - -- - -- หง่ 34,000 1 แหง่ 34,000 1 แหง่ 34,000 1 แหง่ 34,000 1 แหง่ 34,000 1 แหง่ 194,000 หง่ 30,000 1 แหง่ 30,000 1 แหง่ 30,000 1 แหง่ 30,000 1 แหง่ 30,000 1 แหง่ 379,700 - 1 แหง่ 60,000 - -- -- - 1 แหง่ 30,000 -- -- -- -- - 6 คน 816,480 -- -- -- -- - 2 คนั 533,040 านักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 32

ตารางท่ี 7 (ตอ่ ) ได้รบั จดั สรรจาก แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม สานกั งาน กศน. เมืองนครปฐม กาแพงแสน 1.4 คา่ จา้ งเหมาบรกิ าร เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมา (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) (บาท) (คน) 6 คน 816,480 - - - - - 1.5 คา่ เชา่ รถยนต์ 2 คนั 533,040 -- -- - 1.6 การสง่ เสรมิ การรู้หนังสอื 200 110,000 24 13,200 161 88,550 - 1.7 การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ 3,460 397,900 815 93,725 489 56,235 26 1.8 การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 2,605 1,042,000 609 243,600 369 147,600 20 1.9 กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1,879 751,600 441 176,400 265 106,000 14 1.10 ศนู ยใ์ หค้ าปรึกษา กศน.ในรปู แบบ Learning and 1 แหง่ 5,000 1 แหง่ 5,000 - -- Mind Care System 2. งบรายจา่ ยอนื่ 2.1 โครงการเทยี บโอนความรู้เทยี บระดบั การศกึ ษามิติ รวม รวม ความรู้ความคดิ 141 คน 28,200 บาท 7 - 7-- 1) คร้ังที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 64 12,800 2) คร้ังท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 77 15,400 18 3,600 6 1,200 - 3. งบเงินอดุ หนุน เงินอดุ หนุนท่ัวไป 3.1 รายการสิง่ อานวยความสะดวก สอ่ื บรกิ าร และการ 66 132,000 - - 66 132,000 - ชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร 4. งบลงทนุ 4.1 คา่ ครุภณั ฑ์คอมพวิ เตอร์ - 138,000 บาท 1) เครื่องคอมพวิ เตอร์ All In One สาหรบั งานประมวลผล 1 เคร่ือง 23,000 - -- -- 2) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ All In One สาหรบั งานสานักงาน 5 เครื่อง 85,000 - -- -- 3) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ สาหรบั งานประมวลผล 1 เคร่ือง 30,000 - -- -- 4.2 กจิ กรรมศนู ยท์ ดสอบดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Exam) - 292,900 บาท - -- -- - -- -- 1) เครื่องคอมพวิ เตอร์ สาหรับงานสานักงาน 13 เครื่อง 221,000 2) เครื่องคอมพวิ เตอร์ สาหรับงานประมวลผล 1 เคร่ือง 22,000 3) อปุ กรณก์ ระจายสญั ญาณ (L2 Switch) ขนาด 24 ชอ่ ง 1 เครื่อง 6,000 - -- -- 8,900 - -- -- 4) เครอ่ื งพิมพ์ชนดิ เลเซอรห์ รอื ชนดิ LED ขาวดาหรอื Network 1 เครื่อง 35,000 - -- -- 5) เครื่องสารองไฟฟา้ ขนาด 800 VA 14 เคร่ือง แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สา
















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook