รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา ตามความต้องการของตลาดแรงงาน และทิศทางการพัฒนาประเทศ ส�ำ นักวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ
373.24607 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ส 691 ร รายงานการวจิ ัย เรือ่ ง อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชวี ศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 174 หน้า ISBN 978-616-270-162-7 1. การผลิตและพัฒนากำ�ลงั คนอาชีวศึกษา 2. ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 3. ชือ่ เรอ่ื ง รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นากำ�ลังคนอาชีวศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดบั ที่ 13/2561 พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 กรกฎาคม 2561 จ�ำนวนพมิ พ ์ 1,000 เล่ม จดั พิมพ์โดย ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา 99/20 ถนนสโุ ขทยั เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 ตอ่ 1312, 1314, 1328 โทรสาร 0 2243 0084 พมิ พ์ท ี่ บรษิ ทั 21 เซน็ จูร่ี จ�ำกัด 19/25 ม.8 ถนนเตม็ รกั -หนองกางเขน ต.บางคูรตั อ.บางใหญ่ จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศัพท์ 0-2150-9676-8 โทรสาร 0-2150-9679 E-mail : [email protected] www.21century.co.th
ค�ำ นำ� กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว วางเป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579 ไปสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยเน้นการเพิ่มมูลค่าและขับเคลื่อนประเทศด้วย นวัตกรรม ภายใต้ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่เข้มแข็งสามารถแข่งขันได้ ประกอบกับ บรบิ ทของโลกและประเทศทเ่ี ปลยี่ นไปอยา่ งกา้ วกระโดด มกี ารน�ำ Digital Technology เข้ามาใช้กับทุกภาคส่วนของธุรกิจ เหล่านี้ส่งผลต่อการจ้างงานและความต้องการ แรงงานทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ จึงเป็นความท้าทายของทุกภาคสว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ ง ในการเตรยี มความพรอ้ มแรงงาน และการพฒั นาทนุ มนษุ ยใ์ หส้ ามารถรองรบั การพฒั นา ประเทศในอนาคต การศกึ ษาเปน็ ภาคการผลติ ทมี่ บี ทบาทส�ำคญั ในการเตรยี มพฒั นาคน ให้มีศักยภาพและเติบโตเป็นแรงงานที่มีทักษะฝีมือ มีคุณลักษณะที่เหมาะสม ซ่ึงจาก สถานการณ์ผา่ นมา ยงั สะทอ้ นว่า มีความไม่สมดลุ ของแรงงานกบั อาชพี (Mismatch) เน่ืองจากการผลิตในสาขาท่ีไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และ การผลติ ก�ำลังคนยงั มสี มรรถนะไมส่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้ประกอบการ จากสถานการณแ์ ละแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วขา้ งตน้ การจดั การศกึ ษา จึงต้องมองเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วางแผนการผลิตและพัฒนา ก�ำลังคนภาพรวมของประเทศให้เพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน เพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาประเทศในระยะยาว และที่ส�ำคัญควรเร่ง พัฒนาก�ำลังคนอาชีวศึกษา ให้เป็นแรงงานท่ีมีคุณภาพ มีการบ่มเพาะคุณลักษณะ และทักษะท่ีเหมาะสมกับการท�ำงานในยุคใหม่ งานวิจัยเรื่อง “อนาคตภาพของ การผลิตและพัฒนาก�ำลังคนอาชีวศึกษาตามความต้องการของตลาดแรงงาน และทิศทางการพัฒนาประเทศ” ได้ศึกษาและวิเคราะห์ทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ตามกลุ่มข้อมูล 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มข้อมูลท่ีเป็นตัวก�ำหนดทิศทางการพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน ประกอบด้วย แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ปฏิญญากรุงกัวลาลัมเปอร์ ว่าด้วยอาเซียน 2025 : มุ่งหน้าไปด้วยกัน แผนงานพัฒนาความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง 6 ประเทศ และกรอบความร่วมมือทาง เศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย 2. กลุ่มข้อมูลที่เป็นตัวก�ำหนด ทิศทางการพัฒนาในประเทศไทย ประกอบด้วยกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ก
แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อน ประเทศไทยสคู่ วามมน่ั คง มงั่ คงั่ และยง่ั ยนื ซง่ึ สามารถสะทอ้ นอนาคตภาพการพฒั นา ประเทศไทยใน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ จากทิศทางการพัฒนาประเทศดังกล่าว การจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา ในประเทศไทย ซึ่งท�ำหน้าที่ผลิตและพัฒนาก�ำลังคนในระดับกึ่งฝีมือ (ปวช.) และ ฝีมือ (ปวส.) ป้อนเข้าสู่ตลาดแรงงานมาอย่างยาวนาน จ�ำเป็นต้องให้ความส�ำคัญ และปรับทิศทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อผลิตและพัฒนาก�ำลังคนป้อนเข้าสู่ ตลาดแรงงานอย่างเร่งด่วน ให้ทันต่อทิศทางการพัฒนาประเทศใน 4 กลุ่มอาชีพ ใน 5 ปีข้างหน้า ข้อค้นพบจากงานวิจัยมีความส�ำคัญต่อการจัดการศึกษาระดับ อาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย ในการน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ในการจัดการศึกษาเพื่อขจัดสภาวการณ์ “การจัดการศึกษาไม่สอดคล้องกับตลาด แรงงาน” รวมถึงน�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย ผู้ส�ำเร็จอาชีวศึกษามีคุณภาพและ ปริมาณเพียงพอ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ การพัฒนา ประเทศ และความสามารถในการแขง่ ขนั ระดับสากล ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การเผยแพร่งานวิจัย ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการก�ำหนดนโยบายการศึกษา การวางแผนการศึกษา การผลิตก�ำลังคน ตลอดจนการพัฒนาการศึกษา และการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา คุณภาพคนไทยให้มีศกั ยภาพในการพัฒนาประเทศรว่ มกนั ตอ่ ไป (ดร.ชัยพฤกษ์ เสรรี ักษ์) เลขาธิการสภาการศึกษา ข
บทสรุปผ้บู ริหาร การวิจัย เรื่อง “อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาตามความต้องการ ของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ” ใช้ระเบียบวิจัยแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative study) ด้วยวิธีการศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร (documentary analysis) ร่วมกับ การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับอนาคตภาพของการผลิตและ พัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา และตรวจสอบข้อมูลโดยใช้วิธีสามเส้า (triangular design) โดยมี ข้นั ตอนการวจิ ยั และวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย ดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 การวินิจฉัย ดำ�เนินการโดยมีวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้ 1) เพ่ือศึกษาทิศทาง การพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) แหลง่ ขอ้ มลู ได้แก่ หนงั สือ ตำ�รา เอกสาร งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า และเครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสาร 2) เพื่อศึกษาผังการกระจาย การจัดการเรียนการสอน (Program Mapping) สายอาชีพ ใน 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ ด้านคมนาคม ด้านการก่อสร้าง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และด้านโลจิสติกส์ ของสถานศึกษา ประเภทอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จำ�แนกตามภูมิภาค แหล่งข้อมูล คือ ฐานข้อมูลของ สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย หนังสือ ตำ�รา และเอกสาร ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน (Program Mapping) ใน 4 กลุ่มอาชีพ เคร่ืองมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลโดยใช้ตาราง Matrix และ 3) เพื่อศึกษา ความต้องการใชก้ ำ�ลังคนระดับอาชีวศกึ ษาและต�ำ แหนง่ งานหลักของตลาดแรงงาน ใน 4 กลุ่มอาชพี ตามทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า แหล่งข้อมูลคือ ฐานข้อมูล หนังสือ ตำ�รา เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับความต้องการของตลาดแรงงานท่ีมีต่อตำ�แหน่งงาน ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหน้า และผู้เชี่ยวชาญ จ�ำ นวน 28 คน เครื่องมอื ที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสารและแบบสมั ภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ขั้นตอนที่ 2 การคาดคะเน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาอนาคตภาพของการผลิตและ พัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทาง การพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้เช่ียวชาญจำ�นวน 28 คน และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสาร และประเด็นคำ�ถาม ปลายเปิดเกี่ยวกับอนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหนา้ ขั้นตอนที่ 3 การเตรียมข้อเสนอแนะ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะบทบาท ของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชนในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคน อาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เช่ียวชาญ จำ�นวน 12 คน และเครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือประเด็นคำ�ถามปลายเปิดเกี่ยวกับบทบาทของสถานศึกษาประเภท ค
อาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ผลการศึกษา 1. ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ให้ความสำ�คัญ กบั 4 ประเดน็ ดังนี้ 1.1 โครงสร้างพนื้ ฐานของประเทศ ประกอบด้วย 1.1 การก่อสร้างถนน สะพาน 1.2 การสร้างระบบราง 1.3 การกอ่ สรา้ งท่าอากาศยาน 1.4 การกอ่ สร้างท่าเรือ 1.5 การกอ่ สร้างศูนยก์ ระจายสนิ ค้า คลงั สินค้า 1.6 การก่อสรา้ งสถานขี นสง่ ตา่ ง ๆ 1.2 ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 1.3 ด้านการคมนาคมขนสง่ ประกอบดว้ ย 3.1 ทางบก 3.2 ทางราง 3.3 ทางนํ้า 3.4 ทางอากาศ 1.4 ด้านโลจิสติกส์ 2. ผังการกระจายการจัดการเรียนการสอน (หลักสูตร) ใน 4 กลุ่มอาชีพของสถานศึกษา ประเภทอาชวี ศึกษาทง้ั ภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย สรุปได้ดังนี้ 2.1. การจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาชีพคมนาคม ทุกภูมิภาคเน้น การจัดการเรียนการสอนด้านยานยนต์ ส่วนด้านโครงข่ายทางราง อากาศยาน และทางเรือ ยังมี การจัดการเรยี นการสอนในระดบั นอ้ ย 2.2 การจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาชีพก่อสร้าง ทุกภูมิภาคเน้น การจัดการเรียนการสอนด้านก่อสร้างและโยธา มาเป็นอันดับหน่ึง รองลงมาคือ สำ�รวจ ในส่วน ที่จัดการเรียนการสอนในระดับน้อยหรืออาจเรียกว่าขาดแคลนคือ ด้านสำ�รวจ สถาปัตยกรรม และการออกแบบภายในอาคาร 2.3 การจัดการเรียนการสอนที่เก่ียวข้องกับกลุ่มอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร ทุกภูมิภาคเน้นการจัดการเรียนการสอนด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ รองลงมาคือ ด้านโทรคมนาคม ในส่วนท่ีจัดการเรียนการสอนในระดับน้อยหรืออาจเรียกว่าขาดแคลนคือ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขางานคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ซอฟท์แวร์ โปรแกรมเมอร์ มัลตมิ เี ดยี ระบบเครอื ขา่ ย ง
2.4 การจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มอาชีพโลจิสติกส์ ในทุกภูมิภาค ยังมกี ารจัดการเรยี นการสอนในระดับนอ้ ยหรืออาจเรยี กวา่ ขาดแคลน สว่ นท่ีจัดการเรยี นการสอนอยู่ เนน้ ด้านโลจิสติกส์ท่วั ไป 3. ความต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษาและตำ�แหน่งงานหลักของตลาดแรงงาน ใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามทิศทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) สรปุ ได้ ดงั นี้ 3.1 กลุ่มอาชีพท่ีต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษามากที่สุดลำ�ดับแรกคือ การกอ่ สร้าง 3.2 กลุ่มอาชีพที่ต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษาลำ�ดับสอง คือ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 3.3 กลุ่มอาชีพที่ต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษาลำ�ดับสามมี 2 กลุ่มอาชีพ คือ คมนาคม และโลจิสตกิ ส์ 4. อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามความ ต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า สรุปได้ดงั นี้ ล�ำ ดบั ทห่ี นง่ึ คอื ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ การผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนดา้ นกอ่ สรา้ งทงั้ ระดบั ปวช. และปวส. ใน 2 กลุ่มสาขาวิชา คือ 1) กอ่ สรา้ ง ประกอบด้วย สาขางานก่อสรา้ ง โยธา และสำ�รวจ 2) สถาปัตยกรรม ประกอบด้วย สาขางานโครงสรา้ ง สถาปตั ยกรรม และเทคนิคสถาปต ยกรรม ลำ�ดับสอง คือให้ความสำ�คัญต่อการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนท้ังระดับปวช. และปวส. ใน 2 กลุ่ม สาขาวิชา คือ 1) โทรคมนาคม และ 2) เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขางานคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอรซ์ อฟทแ์ วร์ โปรแกรมเมอร์ มลั ตมิ เี ดีย ระบบเครือข่าย ล�ำ ดบั สาม คอื ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ การผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชวี ศกึ ษาระดบั ปวช. ปวส. ใน 2 กลุม่ ดังน้ ี 1) กลมุ่ คมนาคม 1.1) ทางเรือ ประกอบด้วย สาขางานเทคนิคเครือ่ งกลเรอื เทคนิคเคร่ืองกลเรือพาณิชย์ และเทคโนโลยกี ารตอ่ เรอื 1.2) ทางราง ประกอบด้วย สาขางานเทคนิคเครื่องกลระบบขนส่งทางราง บำ�รุงรักษา ระบบไฟฟ้าในระบบขนส่งทางราง ไฟฟ้าควบคุม บำ�รุงรักษาระบบจำ�หน่ายและอุปกรณ์ไฟฟ้า และ ซอ่ มบํารงุ ทางรถไฟ 1.3) ทางอากาศ สาขางานช่างอากาศยาน 2) กลมุ่ โลจสิ ตกิ ส์ ในสาขางานโลจสิ ตกิ ส์ สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ การจดั การขนสง่ การจดั การคลังสนิ คา้ และตวั แทนออกของ 5. ขอ้ เสนอแนะบทบาทของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาทง้ั ภาครฐั และเอกชนในการผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคนอาชีวศกึ ษาใน 4 กลุม่ อาชีพ มดี ังน้ี 5.1 การจัดทำ�หลักสูตรควรมีการดำ�เนินการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ ทั้งนีเ้ ป็นเพราะจะไดส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานในสาขาวิชานั้นๆ จ
5.2 ควรมีการจัดการแบบทวิภาคีท่ีชัดเจน มีระบบที่สามารถเอ้ือต่อสถานประกอบการ ที่จะให้ความร่วมมือ ท้ังในเร่ืองการบริหารงบประมาณ หรือเรื่องของการลดหย่อนภาษี เพื่อให้เกิด ความร่วมมอื การจดั การศกึ ษาระหว่างสถานศกึ ษากบั สถานประกอบการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 5.3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะกลุ่มวิชาชีพต่างๆ ต้องอาศัย ผ้เู ชยี่ วชาญ (Professional) ในอาชีพน้นั มาช่วยสอน ฝกึ และแนะน�ำ เพราะครูผู้สอนเพยี งอยา่ งเดียว ไม่สามารถที่จะให้ข้อมูลท่ีทันสมัยสอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มอาชีพนั้น ๆ เน่ืองจาก ประสบการณ์ในการทำ�งานจรงิ สำ�คัญมากกว่าองค์ความร้ใู นชน้ั เรยี น 5.4 การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สำ�คัญอีกประการของกลุ่มผู้เรียนระดับ ปวช. และปวส. คือ การปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง เพราะยุคปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลง ทางเทคโนโลยี เป็นโลกของอินเทอร์เน็ต ทำ�ให้ค่านิยมและวิถีการดำ�รงชีวิตเปล่ียนแปลง ตามไปอย่างรวดเร็ว การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ณ เวลาน้ีอาจเป็นสิ่งที่ดีท่ีสุด แต่กว่า ผู้เรียนจะจบก็มีการเปล่ียนแปลงไปอีก ดังน้ันคุณลักษณะท่ีควรบ่มเพาะในระหว่างการจัดการเรียน การสอนคอื ความสามารถในการปรบั ตัวให้ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงอยู่เสมอ ฉ
สารบญั หน้า คำ�น�ำ ก บทสรปุ ผบู้ ริหาร ค สารบัญ ช สารบัญตาราง ฎ สารบญั แผนภาพ ฐ บทท่ี 1 บทน�ำ 1 ความสำ�คัญและความเป็นมาของปญั หา 1 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย 2 กรอบการวิจัย 3 ขอบเขตของการวิจยั 6 วิธดี �ำ เนินการวจิ ยั 7 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะทใี่ ช้ในการวจิ ยั 11 ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 13 บทที่ 2 ทศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 15 ตอนท่ี 1 ศึกษาเอกสารข้อมลู ท่เี กยี่ วขอ้ งกับแผนแมบ่ ท แผนงาน 16 กรอบยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนพัฒนาตา่ ง ๆ ของประเทศไทย 1. แผนแม่บทวา่ ด้วยความเชอ่ื มโยงระหว่างกนั ในอาเซียน (Master Plan 16 on ASEAN Connectivity : MPAC) 2. ปฏิญญากรงุ กัวลาลมั เปอรว์ า่ ดว้ ยอาเซยี น 2025 : ม่งุ หน้าไปด้วยกัน 17 3. แผนงานพฒั นาความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภูมิภาคล่มุ แมน่ ํา้ โขง 22 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion : GMS) 4. กรอบความรว่ มมือทางเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซยี -มาเลเซยี -ไทย 28 (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle : IMT-GT) 5. รา่ งกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 31 6. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 33 ช
สารบญั (ตอ่ ) หน้า 7. แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกจิ พิเศษ 37 8. Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสคู่ วามมน่ั คง ม่ังค่งั 46 และยั่งยนื 9. ข้อสรุปทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทย 49 ตอนท่ี 2 วเิ คราะหท์ ศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทยในอกี 5 ปขี ้างหนา้ 49 (พ.ศ. 2561-2565) 1. ผลวิเคราะห์ทศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทยในภาพรวม 5 ปขี ้างหน้า 50 (พ.ศ. 2561-2565) 2. วเิ คราะหล์ ักษณะยอ่ ยของการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า 54 (พ.ศ. 2561-2565) จำ�แนกตาม 4 กลุ่มอาชีพ บทที่ 3 ผงั การกระจายการจัดการเรยี นการสอน (หลกั สตู ร) สายอาชีพ 57 ใน 4 กล่มุ อาชพี ของสถานศึกษาประเภทอาชวี ศึกษา ทง้ั ภาครฐั และเอกชนในประเทศไทย 57 ตอนที่ 1 สภาพการจดั การเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา 57 ประเภทอาชวี ศึกษาทงั้ ภาครฐั และเอกชนในประเทศไทย 60 1. สภาพการจดั การอาชีวศกึ ษาของภาครัฐในประเทศไทย 63 2. สภาพการจัดการอาชีวศกึ ษาของภาคเอกชนในประเทศไทย 3. ขอ้ มูลเก่ียวกบั หลักสตู รระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. 2556 และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สงู (ปวส.) พ.ศ. 2557 ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ผังการกระจายการจัดการเรียนการสอน 76 (Program Mapping) สายอาชีพ ใน 4 กลุ่มอาชพี 76 1. ผลการวเิ คราะห์หลักสตู รระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พ.ศ. 2556 และระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้นั สงู (ปวส.) พ.ศ. 2557 จำ�แนกตาม 4 กลุม่ อาชพี ซ
สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 2. ผังการกระจายการจดั การเรียนการสอน (Program Mapping) 80 สายอาชพี ใน 4 กลมุ่ อาชีพของสถานศึกษาประเภทอาชีวศกึ ษา จำ�แนกตามภาครฐั และเอกชน และจำ�แนกตามภูมภิ าค บทท่ี 4 ความต้องการใชก้ ำ�ลังคนระดับอาชีวศกึ ษาและตำ�แหนง่ งานหลัก 87 ของตลาดแรงงานใน 4 กลมุ่ อาชพี ตามทิศทางการพฒั นา ของประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 1. ทิศทางความตอ้ งการกำ�ลังคนเพอ่ื วางแผนการผลิตและพัฒนากำ�ลงั คน 87 ในระดับกลมุ่ จังหวดั และกรุงเทพมหานคร 2. ผลการศกึ ษาความต้องการใชก้ �ำ ลงั คนระดบั อาชวี ศึกษา 92 ใน 4 กลมุ่ อาชพี จำ�แนกตามพืน้ ท่ี (จงั หวัด) ทอ่ี ยูใ่ นเสน้ ทาง การพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 3. ผลการศกึ ษาความตอ้ งการท่ีมีต่อตำ�แหนง่ งานหลักของตลาดแรงงาน 100 ใน 4 กลมุ่ อาชพี บทที่ 5 อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชีวศกึ ษาใน 4 กลุม่ อาชพี 119 ผลการสังเคราะห์อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชีวศกึ ษา ใน 4 กลุม่ อาชีพ ตอนที่ 1 ภาคเหนือ 120 ตอนท่ี 2 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 121 ตอนที่ 3 ภาคกลาง 123 ตอนที่ 4 ภาคตะวันออก 124 ตอนท่ี 5 ภาคตะวันตก 126 ตอนท่ี 6 ภาคใต ้ 127 ตอนท่ี 7 ภาพรวมของประเทศไทย 129 ฌ
สารบญั (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะบทบาทของสถานศึกษาประเภทอาชีวศกึ ษา 131 ท้งั ภาครัฐและเอกชนในการผลติ และพฒั นากำ�ลังคนอาชีวศกึ ษา ใน 4 กลมุ่ อาชีพ ตอนที่ 1 บทสรุปอนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศกึ ษา 132 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ ตอนท่ี 2 ข้อเสนอแนะบทบาทของสถานศึกษาประเภทอาชวี ศกึ ษา 135 ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชวี ศึกษา ใน 4 กลมุ่ อาชีพ ใหต้ รงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทาง การพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) เอกสารอ้างอิง 141 ภาคผนวก 145 ภาคผนวก ก รายนามผู้ใหข้ อ้ มูลเพอ่ื ศึกษาความต้องการ 146 ใช้กำ�ลังคนระดับอาชวี ศกึ ษา และตำ�แหนง่ งานหลัก 149 ของตลาดแรงงาน ใน 4 กลมุ่ อาชพี 152 ภาคผนวก ข รายนามผเู้ ชีย่ วชาญเขา้ รว่ มสนทนากลุ่มเพ่ือใหข้ ้อเสนอแนะ อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษา ใน 4 กลุ่มอาชีพ ภาคผนวก ค เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ญ
สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ 1-1 วิธดี ำ�เนนิ การวจิ ัยทส่ี อดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 8 2-1 ผลวิเคราะห์ทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทยในภาพรวม 5 ปีข้างหนา้ 50 (พ.ศ. 2561-2565) 2-2 วิเคราะหล์ ักษณะย่อยของทิศทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหน้า 54 (พ.ศ. 2561-2565) จำ�แนกตาม 4 กลุ่มอาชีพ 3-1 จำ�นวนสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษารฐั บาล จ�ำ แนกตามภมู ิภาค 59 ในปกี ารศึกษา 2559 3-2 จ�ำ นวนสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาเอกชน จำ�แนกตามภมู ภิ าค 62 ในปีการศกึ ษา 2559 3-3 จ�ำ นวนสถานศกึ ษาท่ีจดั การศกึ ษาระดบั อาชวี ศึกษาทั้งของภาครัฐ 63 และเอกชน จ�ำ แนกตามภมู ภิ าค ในปกี ารศึกษา 2559 3-4 ประเภทวชิ า สาขาวชิ า และสาขางาน ของหลักสตู ร 65 ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ. 2556 3-5 ประเภทวชิ า สาขาวิชา และสาขางานของหลักสตู รระดบั ประกาศนียบัตร 69 วชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) พ.ศ. 2557 3-6 ประเภทวชิ า สาขาวชิ า และสาขางาน จำ�แนกตามระดบั การจัดการศกึ ษา 77 3-7 จำ�นวนสถานศกึ ษาภาครฐั และเอกชนทเ่ี ปดิ สอน (หลกั สตู ร) 80 ตามสาขางาน ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ใน 4 กลุม่ อาชีพ จำ�แนกตามภมู ภิ าค 3-8 จ�ำ นวนสถานศกึ ษาภาครฐั และเอกชนทเ่ี ปิดสอน (หลกั สตู ร) 82 ตามสาขางานระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.) ใน 4 กล่มุ อาชพี จ�ำ แนกตามภมู ภิ าค 4-1 สังเคราะหล์ กั ษณะยอ่ ยของ 4 กลมุ่ อาชพี ของการพฒั นาประเทศไทย 93 ใน 5 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 4-2 สงั เคราะห์ความตอ้ งการใช้ก�ำ ลงั คนระดบั อาชีวศกึ ษาใน 4 กลุ่มอาชีพ 95 จำ�แนกตามพ้ืนท่ี (จังหวัด) ท่ีอยใู่ นเสน้ ทางการพัฒนาของประเทศไทย ใน 5 ปขี ้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ฎ
สารบัญตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางที่ 4-3 ล�ำ ดับความต้องการใช้ก�ำ ลงั คนระดับอาชวี ศกึ ษาใน 4 กล่มุ อาชีพ 97 จำ�แนกตามกลมุ่ จงั หวดั ตามทิศทางการพฒั นาของประเทศไทย ใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 4-4 สงั เคราะห์ความต้องการทีม่ ีต่อตำ�แหนง่ งานของตลาดแรงงาน 100 ใน 4 กลุม่ อาชพี จำ�แนกตามสาขางานของระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) และระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) 4-5 ข้อมูลเชิงคณุ ภาพเก่ียวกบั ความต้องการของผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ ง 116 ท่ีมตี อ่ 4 กลุ่มอาชพี ในด้านทกั ษะและคุณลกั ษณะ 5-1 ผลการสงั เคราะหอ์ นาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา 120 ใน 4 กลุ่มอาชีพ ในภาคเหนือ โดยเรยี งลำ�ดับความส�ำ คัญตามทิศทาง การพฒั นาประเทศ 5-2 ผลการสงั เคราะหอ์ นาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลังคนอาชีวศึกษา 121 ใน 4 กลมุ่ อาชีพ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ โดยเรยี งล�ำ ดบั ความส�ำ คัญ ตามทิศทางการพัฒนาประเทศ 5-3 ผลการสงั เคราะหอ์ นาคตภาพของการผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคนอาชีวศึกษา 123 ใน 4 กลมุ่ อาชีพ ในภาคกลาง โดยเรียงล�ำ ดับความส�ำ คญั ตามทิศทาง การพฒั นาประเทศ 5-4 ผลการสงั เคราะหอ์ นาคตภาพของการผลิตและพัฒนาก�ำ ลงั คนอาชีวศกึ ษา 124 ใน 4 กลุ่มอาชีพ ในภาคตะวันออก โดยเรยี งล�ำ ดับความสำ�คัญ ตามทิศทางการพฒั นาประเทศ 5-5 ผลการสงั เคราะห์อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนาก�ำ ลงั คน 126 อาชีวศกึ ษาใน 4 กลุ่มอาชพี ในภาคตะวนั ตก โดยเรยี งลำ�ดบั ความสำ�คัญ ตามทิศทางการพฒั นาประเทศ 5-6 ผลการสงั เคราะหอ์ นาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคน 127 อาชีวศึกษาใน 4 กลุม่ อาชพี ในภาคใต้ โดยเรียงลำ�ดบั ความส�ำ คญั ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 5-7 ผลการสังเคราะหอ์ นาคตภาพของการผลิตและพัฒนาก�ำ ลงั คน 129 อาชวี ศึกษาใน 4 กลมุ่ อาชีพของประเทศไทยในภาพรวม ฏ
สารบัญแผนภาพ หน้า 1-1 กรอบแนวคิดในการวิจยั 5 4-1 การกระจายความต้องการใช้กำ�ลังคนระดบั อาชีวศึกษาใน 4 กลุม่ อาชีพ 99 จำ�แนกตามพน้ื ท่ี (จงั หวัด) ฐ
ฑ 16 รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลงั คนอาชีวศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ
บทท่ี 1 บทนำ� 1. ความส�ำ คัญและความเปน็ มาของปัญหา การรวมกลมุ่ เปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นในปี 2558 ทำ�ใหต้ ลาดแรงงานในทกุ ๆ สาขาอาชพี รวมตัวกันเป็นตลาดเดียว และมีฐานผลิตร่วมกันเพื่อให้มีการเคล่ือนย้ายสินค้าบริการและแรงงาน มฝี มี อื อยา่ งเสรมี ากยงิ่ ขน้ึ เมอ่ื มกี ารเคลอื่ นยา้ ยอยา่ งเสรรี ะหวา่ งประเทศอยา่ งเตม็ รปู แบบ จะสง่ ผลให้ ภาคอตุ สาหกรรมตอ้ งปรบั ตวั รวมไปถงึ ภาคการศกึ ษาในระดบั ตา่ งๆ กเ็ ชน่ กนั ทตี่ อ้ งปรบั เปลย่ี นระบบ การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสาขาวิชาชีพ และพัฒนาการใช้ภาษา เพ่ือการสื่อสาร เนื่องจากเมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทุกส่ิงทุกอย่างจะอยู่บนพ้ืนฐานของ การแข่งขัน กระทรวงศึกษาธิการจึงได้เร่งพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของประชาชนในทุกภาคส่วน เพือ่ รองรบั การแขง่ ขันดงั กล่าว (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556) ความสำ�คัญและจำ�เป็นเร่งด่วนของภาคการศึกษา คือการศึกษาเพื่อปวงชนสำ�หรับประชาชน เพ่ือเตรียมความพร้อมและผลิตทรัพยากรบุคคลให้มีศักยภาพ มีสมรรถนะในสาขาอาชีพ รองรับ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ เน่ืองจากทรัพยากรบุคคลท่ีมี ศกั ยภาพเปน็ องคป์ ระกอบส�ำ คญั ในการสรา้ งสงั คมทมี่ ภี มู ปิ ญั ญาและการเรยี นรู้ สรา้ งสรรคส์ งิ่ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรมตา่ งๆ ทน่ี �ำ ไปสกู่ ารเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ การอาชวี ศกึ ษาเปน็ การ ศึกษาที่มีบทบาทสำ�คัญยิ่งในการจัดเตรียมบุคคลให้มีอาชีพในอนาคต และเพื่อช่วยให้ผู้ที่มีอาชีพ อยแู่ ลว้ มคี วามก้าวหน้าในอาชพี ของตน การจดั การอาชีวศกึ ษาทจ่ี ะให้ได้ผลดี ควรมหี ลกั สูตร วธิ กี าร สอนท่ีเหมาะสมกับความก้าวหน้าของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของอุตสาหกรรมและ สาขาวชิ านน้ั ๆ มปี รชั ญาการจดั อาชวี ศกึ ษาทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสมกบั สถานการณท์ างดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม มีเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีมีคุณภาพจำ�นวนท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และผู้สอนมีความรู้ความสามารถ ในวิชาชีพ ตลอดจนเข้าใจการดำ�เนินงานด้านอาชีวศึกษาเป็นอย่างดี นอกจากน้ีควรมีผู้บริหารและ การบรหิ ารงานที่กระทำ�ได้ตรงเปา้ หมาย (สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2552) ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ล้วนมีความสำ�คัญต่อการพัฒนากำ�ลังคนด้านอาชีพเพื่อรองรับ การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ ในปจั จบุ นั และก�ำ ลงั จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ปจั จบุ นั มกี ารขยายตวั ดา้ นคมนาคม เชื่อมต่อกันท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ เห็นได้จากมีโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าในเขต กรุงเทพมหานครเชอ่ื มตอ่ ชานเมอื งรวมทัง้ หมด 10 สาย (การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน, 2559 : ออนไลน์) การขนส่งทางเรือ ประเทศไทยมีชายฝ่ังติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางด้านทิศตะวันออกติดกับทะเล อ่าวไทย และมหาสมุทรอินเดียอยู่ด้านทิศตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน การส่งออก-นำ�เข้าสินค้า รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นากำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 1
ส่วนใหญ่อาศัยการขนส่งทางเรือ ประเทศไทยมีท่าเรือพาณิชย์หลัก ได้แก่ ท่าเรือแหลมฉบัง ซ่ึงอยู่ ด้านตะวันออกในทะเลอ่าวไทย เหมาะสำ�หรับการค้าขายกับด้านตะวันออก นอกจากน้ันยังมีท่าเรือ กรงุ เทพฯ ท่าเรอื สงขลา ซงึ่ อยู่ทะเลฝ่ังตะวันออกเชน่ กัน สว่ นทา่ เรือฝ่ังตะวนั ตก ไดแ้ ก่ ทา่ เรือภูเกต็ ซ่ึงปัจจุบันเน้นไปทางท่าเรือโดยสาร และท่าเรือระนอง เป็นท่าเรือขนาดเล็ก สำ�หรับการค้าและ พฒั นาแหล่งพลงั งานในอา่ วเบงกอล นอกจากน้ีเมือ่ เขา้ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตา่ งประเทศก็มี การขยายตัวเพ่ิมมากขึ้น สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่วมกับ กระทรวงมหาดไทย จดั ท�ำ แผนบรู ณาการการพฒั นาจงั หวดั กาญจนบรุ ใี หเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ ภาคตะวันตก เพ่ือรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนจากการพัฒนาโครงการท่าเรือนํ้าลึกทวาย ของสหภาพพม่า (ศนู ยค์ วามร้ปู ระชาคมอาเซียน, 2559 : ออนไลน)์ สำ�หรับในดา้ นขนส่งทางอากาศ กถ็ อื วา่ เปน็ เสน้ ทางคมนาคมทก่ี �ำ ลงั ไดร้ บั ความนยิ มและมกี ารขยายตวั อยา่ งมากในปจั จบุ นั โดยบรษิ ทั ทา่ อากาศยานไทย จ�ำ กดั (มหาชน) ไดม้ กี ารวางแผนพฒั นาทา่ อากาศยาน และปรบั ปรงุ ทา่ อากาศยาน ให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล และมีศักยภาพสามารถรองรับความต้องการของลูกค้าได้ ดังนั้น เพ่ือให้การบริหารงานสามารถแข่งขันระดับสากลและเป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค จึงกำ�หนด ยทุ ธศาสตรใ์ นการแขง่ ขนั ประกอบดว้ ย 1) การพฒั นาทา่ อากาศยานเพอ่ื การแขง่ ขนั และ 2) การพฒั นา ระบบโลจสิ ติกสข์ องประเทศ (ทา่ อากาศยานไทย, 2559 : ออนไลน)์ จากการขยายตัวท่ีเกิดจากการพัฒนาประเทศ และการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมท้ังการเปล่ียนแปลงไปของสังคมโลก การผลิตและพัฒนากำ�ลังคนเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลง ถือเป็นส่ิงสำ�คัญที่สุด ท้ังน้ีให้สอดคล้องกับอาชีพที่จะเกิดข้ึนใหม่ ตามกลุ่มงานที่รองรับการพัฒนา ประเทศ ทัง้ ในสว่ นการคมนาคม การกอ่ สร้างทเี่ กิดจากการขยายตวั ของสายการบนิ การสรา้ งท่าเรือ น้ําลึกขนาดใหญ่ และการสร้างทางรถไฟฟ้า นอกจากน้ีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของการติดต่อส่ือสาร และเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว กลุ่มอาชีพด้านอิเล็กทรอนิกส์ การติดต่อสื่อสารผ่านระบบ อัตโนมัติก็จะมีความต้องการมากขึ้น รวมทั้งการพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพ่ือการขนส่งสินค้าสำ�หรับ การค้าขายท้ังในและระหว่างประเทศก็มีความสำ�คัญจำ�เป็นตามมาด้วย การจัดการศึกษาระดับ อาชีวศึกษามีบทบาทสำ�คัญยิ่งในการจัดเตรียมและผลิตกำ�ลังคนให้มีสมรรถนะอาชีพรองรับ การเปลี่ยนแปลงไปในอนาคตและตอบรับการพัฒนาประเทศ ใน 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ดังน้ันการศึกษาเกี่ยวกับอนาคตภาพของการผลิต และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ จึงมีความสำ�คัญจำ�เป็นต่อการวางแผนพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือเตรียมรับการเปลี่ยนแปลง ท่จี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต 2. วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 2.2 เพ่ือศึกษาผังการกระจายการจัดการเรียนการสอน (Program Mapping) สายอาชีพ รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นากำ�ลงั คนอาชีวศึกษา 2 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ใน 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ของสถานศึกษา ประเภทอาชีวศกึ ษาท้งั ภาครฐั และเอกชน จ�ำ แนกตามภูมภิ าค 2.3 เพ่ือศึกษาความต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษาและตำ�แหน่งงานหลักของตลาด แรงงาน ใน 4 กล่มุ อาชพี ไดแ้ ก่ คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจิสติกสต์ ามทิศทาง การพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 2.4 เพือ่ ศึกษาอนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลมุ่ อาชีพ ไดแ้ ก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและ ทศิ ทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 2.5 เพือ่ ศกึ ษาข้อเสนอแนะบทบาทของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาทั้งภาครัฐและเอกชน ในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยี สารสนเทศ และโลจิสติกส์ ให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 3. กรอบการวจิ ยั (Research Framework) การศกึ ษาวจิ ยั เรอ่ื ง “อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชวี ศกึ ษาตามความตอ้ งการ ของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ” ได้ศึกษาจากเอกสาร ข้อมลู แนวคิด และงานวิจัย ทเ่ี ก่ียวข้อง ดงั น้ี 3.1 แนวคดิ เก่ยี วกบั ทศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) คณะผ้วู จิ ยั ไดศ้ ึกษา 1) แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) (กระทรวงการตา่ งประเทศ, 2554 : 12-57) 2) ปฏิญญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยอาเซียน 2025 : มุ่งหน้าไปด้วยกัน (กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, 2559 : 124-286) 3) แผนงานพฒั นาความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ าํ้ โขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion-GMS) (แสงจันทร์ มานอ้ ย, 2558. ออนไลน)์ 4) กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia- Malaysia-Thailand Growth Triangle : IMT-GT) 5) รา่ งกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 6) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 7) แนวทางการพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ (คณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ , 2559 : ออนไลน)์ 8) Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมนั่ คง มัง่ คั่ง และยงั่ ยืน (กระทรวง พฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, 2560 : ออนไลน)์ รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลังคนอาชีวศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 3
3.2 การจดั การเรยี นการสอน (หลกั สตู ร) ใน 4 กลมุ่ อาชพี ของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษา ทง้ั ภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย คณะผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาหลกั สตู รระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) และระดบั ประกาศนยี บตั ร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของสำ�นักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำ�นักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา จำ�แนกตามประเภทวิชา สาขาวิชา และสาขางาน ที่เกี่ยวข้องกับ 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ติกส์ และศึกษาขอ้ มูลการจัดการเรียนการ สอนของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาภาครฐั 428 แหง่ และเอกชน 484 แหง่ ในปกี ารศกึ ษา 2559 (ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา, 2558 : ออนไลน์) 3.3 ความต้องการของตลาดแรงงานท่ีมีต่อตำ�แหน่งงานตามทิศทางการพัฒนาของ ประเทศไทยใน 5 ปีข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กลุม่ อาชีพ คณะผวู้ ิจัยได้ศกึ ษา 1) การศกึ ษาความตอ้ งการก�ำ ลงั คนเพอ่ื วางแผนการผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนในระดบั กลมุ่ จงั หวัดและกรงุ เทพมหานคร (สถาบันวจิ ยั เพอื่ การพฒั นาประเทศไทย, 2555. ออนไลน์) 2) แผนพฒั นาดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ระยะ 20 ปี (กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร, 2559 : ออนไลน์) 3) แผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสตกิ สข์ องประเทศ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) (ส�ำ นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาต,ิ 2556: ออนไลน์) 4) การวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และอปุ สรรค (SWOT Analysis) ของอตุ สาหกรรม กอ่ สร้าง (กรมสง่ เสริมอตุ สาหกรรม, 2559 : ออนไลน์) 5) แผนพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นคมนาคมขนสง่ ของไทย พ.ศ. 2558 - 2565 (ส�ำ นกั งาน นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม, 2557 : ออนไลน์) 6) ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำ�นวน 28 คน เก่ียวกับตำ�แหน่งงานหลักของ ตลาดแรงงาน ใน 4 กล่มุ อาชพี จากเอกสาร ข้อมูล แนวคิด และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง สามารถนำ�มากำ�หนดเป็นกรอบ แนวคิดการวิจยั ดงั ภาพท่ี 1-1 รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลังคนอาชีวศึกษา 4 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ
แผนภาพที่ 1-1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชวี ศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 5
4. ขอบเขตของการวิจยั งานศกึ ษาวจิ ยั เรอื่ ง อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นากำ�ลงั คนอาชวี ศกึ ษาตามความตอ้ งการ ของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ เป็นการศึกษาการอาชีวศึกษาในระดับปวช. และ ปวส. โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Study) ด้วยวิธีการศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการสนทนา กลุ่ม (Focus Group) ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับอนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา โดยมีขอบเขตของการวิจยั ดงั นี้ 4.1 ขอบเขตด้านเนอ้ื หา การศึกษาเน้อื หาในงานวจิ ัยน้ี ประกอบด้วย 1) ทิศทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 2) หลักสูตร สาขาวิชา และสาขางานใน 4 กลุม่ อาชพี ไดแ้ ก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยี สารสนเทศ และโลจิสติกส์ ของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศึกษาภาครฐั 426 แหง่ และเอกชน 445 แห่ง ในปกี ารศึกษา 2559 3) ความต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษาและตำ�แหน่งงานหลักของตลาดแรงงานใน 4 กลุ่มอาชพี ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ตามทศิ ทางการพฒั นา ของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 4) อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและ ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 5) ข้อเสนอแนะบทบาทของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชนใน การผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชวี ศกึ ษาใน 4 กลมุ่ อาชพี ไดแ้ ก่ คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจิสติกส์ ใหต้ รงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 4.2 ขอบเขตด้านกลุ่มเปา้ หมาย กลุ่มเปา้ หมายส�ำ หรบั การวิจยั ครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) การศึกษาความต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษาและตำ�แหน่งงานหลักของตลาด แรงงาน ใน 4 กล่มุ อาชพี ได้แก่ คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ติกส์ ตามทิศทาง การพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) โดยการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก (in-depth interview) ผใู้ ห้ข้อมลู คือ ผูเ้ ชีย่ วชาญ จำ�นวน 28 คน เกี่ยวกบั ต�ำ แหน่งงานหลกั ของตลาดแรงงาน ใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามทิศทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนาก�ำ ลังคนอาชีวศึกษา 6 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
2) การศึกษาอนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ไดแ้ ก่ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ติกส์ ตามความต้องการของตลาดแรงงาน และทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) โดยการสนทนา กลมุ่ (Focus Group) ผูใ้ หข้ อ้ มลู ประกอบด้วย 2.1) ผู้บริหารสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาทั้งระดับปวช. และปวส. ใน 4 กลุ่ม อาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์จากสถานศึกษาภาครัฐ และเอกชน จำ�นวน 16 คน 2.2) ผู้บริหารสถานประกอบการ (ผู้ใช้ผู้สำ�เร็จการศึกษา ระดับปวช. และปวส.) ใน 4 กลุ่มอาชีพ ไดแ้ ก่ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ จำ�นวน 12 คน 3) การเตรยี มขอ้ เสนอแนะบทบาทของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาทงั้ ภาครฐั และเอกชน ในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยี สารสนเทศ และโลจิสติกส์ ให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชีย่ วชาญ จำ�นวน 12 คน ที่มคี วามรู้ ประสบการณ์ เกยี่ วกบั การผลติ และพฒั นาก�ำ ลังคนใน 4 กลุม่ อาชพี คอื คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษา ทั้งภาครัฐและเอกชน 4.3 ขอบเขตด้านแหลง่ ข้อมลู แหลง่ ขอ้ มลู ส�ำ หรบั ศกึ ษาทศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทยใน5ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ.2561-2565) และศึกษาผงั การกระจายการจัดการเรยี นการสอน (Program Mapping) สายอาชพี ใน 4 กล่มุ อาชพี ไดแ้ ก่ คมนาคม ก่อสรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจิสตกิ ส์ ของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษา ทั้งภาครัฐและเอกชน ใช้แหล่งอ้างอิงขอ้ มลู องคค์ วามรู้ งานวิจยั และเอกสาร (Documentary) ทงั้ ใน ประเทศและต่างประเทศท่ีมคี วามเป็นปัจจุบนั และมีความทนั สมัย มรี ะยะเวลาไมเ่ กนิ 10 ปี นบั จาก ปจั จุบัน 4.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาท้ังหมด 10 เดือน นับตั้งแต่เดือน กนั ยายน 2559 ถงึ กรกฏาคม 2560 5. วธิ ดี ำ�เนนิ การวจิ ยั งานศึกษาวจิ ัย เรือ่ ง อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลังคนอาชวี ศกึ ษาระดับปวช. และ ปวส. ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ ในระยะ 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กลุ่มอาชพี ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ใชร้ ะเบยี บวจิ ยั แบบการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Study) ดว้ ยวธิ กี ารศกึ ษาและวเิ คราะหเ์ อกสาร (Documentary Analysis) ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่มผู้เช่ียวชาญเก่ียวกับ อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา และตรวจสอบข้อมูลโดยใช้วิธีสามเส้า (Triangular Design) มวี ิธีด�ำ เนนิ การวิจยั รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 1-1 รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 7
ตารางท่ี 1-1 วิธดี ำ�เนินการวิจยั ทส่ี อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย วิธีด�ำ เนนิ การวจิ ัย/วัตถปุ ระสงค์ วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ระเบยี บวธิ วี ิจยั ขน้ั ตอนที่ 1 การวนิ จิ ฉยั 1. เพ่ือศึกษาทิศทางการพัฒนาของ 1. ศึกษาและวิเคราะหเ์ อกสารทิศทางการพัฒนา วจิ ยั เชงิ คุณภาพ ประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. ของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561- 2561-2565) 2565) 2. เพื่อศึกษาผังการกระจายการจัด 1. ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับสาขาวิชา วิจัยเชิงคุณภาพ การเรียนการสอน (Program ทเี่ ปดิ สอนระดบั ปวช. และปวส. ใน 4 กล่มุ อาชพี Mapping) ใน 4 กลุ่มอาชีพ ของ ของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐ สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษา และเอกชนจำ�แนกตามภูมภิ าค ทั้งภาครัฐและเอกชน จำ�แนกตาม ภูมภิ าค 3. เพอื่ ศกึ ษาความตอ้ งการของตลาด 1. ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับตำ�แหน่ง วจิ ัยเชิงคณุ ภาพ แรงงานท่ีมีต่อตำ�แหน่งงานหลักตาม งานตามทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปี ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน ข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กลุ่มอาชีพ 5 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ใน 2. สัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญเก่ียวกับตำ�แหน่งงาน 4 กลุ่มอาชีพ ตามทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปี ข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กลมุ่ อาชพี ขั้นตอนที่ 2 การคาดคะเน 4. เพื่อศึกษาอนาคตภาพของการ 1. วิเคราะห์เอกสารจากผลการวิจัยตาม วจิ ัยเชงิ คุณภาพ ผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั ข้อท่ี 1-3 ใน 4 กล่มุ อาชีพ ตามความตอ้ งการ 2. สนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญเก่ียวกับอนาคตภาพ ของตลาดแรงงานและทิศทางการ ของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา พัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า ใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามความต้องการของตลาด (พ.ศ. 2561-2565) แรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปี ข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ขน้ั ตอนที่ 3 การเตรยี มขอ้ เสนอแนะ 5. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะบทบาท 1. สนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบทบาทของ วจิ ยั เชงิ คุณภาพ ของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษา สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการผลิต เอกชนในการผลติ และพฒั นากำ�ลงั คนอาชวี ศกึ ษา และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน ใน 4 กลุ่มอาชีพ ตามความต้องการของตลาด 4 กลมุ่ อาชีพ ตามความตอ้ งการของ แรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน ตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนา 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นากำ�ลังคนอาชีวศกึ ษา 8 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
วิธีดำ�เนินการวิจัยท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังตารางข้างต้น แบ่งขั้นตอนหลัก ของการดำ�เนนิ การวิจัยออกเป็น 3 ขัน้ ตอน โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ ขนั้ ตอนท่ี 1 การวินิจฉัย ศึกษาตามวตั ถุประสงค์การวิจัย ขอ้ ท่ี 1-3 คอื 1) ศกึ ษาทิศทางการ พฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 2) ศกึ ษาผงั การกระจายการจัดการเรียน การสอน (Program Mapping) ใน 4 กลมุ่ อาชพี คือ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ โลจสิ ตกิ ส์ ของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาทงั้ ภาครฐั และเอกชนจ�ำ แนกตามภมู ภิ าค และ 3) ศกึ ษา ความตอ้ งการของตลาดแรงงานทม่ี ตี อ่ ต�ำ แหนง่ งานตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กลุม่ อาชีพ คือ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสตกิ ส์ การศกึ ษาวจิ ยั ประกอบด้วย 3 ข้ันตอนย่อย โดยในแตล่ ะขั้นตอนย่อยมวี ิธดี �ำ เนนิ การวิจยั ดังนี้ 1) ศึกษาทิศทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ขั้นตอน ย่อยที่ 1 ใชร้ ะเบยี บวธิ วี ิจยั เชงิ คุณภาพ โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี 1.1) แหล่งข้อมลู ได้แก่ หนงั สอื ต�ำ รา เอกสาร งานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ งกบั ทศิ ทางการพัฒนา ของประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 1.2) เครื่องมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้แก่ แบบสงั เคราะห์เอกสาร 1.3) วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยศกึ ษาหนังสือ ตำ�รา เอกสาร งานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง 1.4) วธิ ีการวิเคราะหข์ อ้ มูล ได้แก่ วเิ คราะห์ จำ�แนก จดั กลมุ่ และสังเคราะห์ โดยการสรา้ ง ขอ้ สรุปทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 2) ศึกษาผงั การกระจายการจัดการเรยี นการสอน (Program Mapping) ใน 4 กลุ่มอาชพี คอื คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ของสถานศึกษาประเภทอาชีวศกึ ษา ทั้งภาครัฐและเอกชนจำ�แนกตามภูมิภาค ขั้นตอนย่อยที่ 2 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมี รายละเอยี ดดงั น้ี 2.1) แหล่งข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูลของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและ เอกชนในประเทศไทย หนงั สือ ตำ�รา และเอกสาร ทเี่ กย่ี วข้องกบั การจดั การเรียนการสอน (Program Mapping) ใน 4 กลมุ่ อาชพี คอื คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ของสถานศกึ ษา ประเภทอาชีวศกึ ษาทง้ั ภาครัฐและเอกชน 2.2) เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบนั ทกึ ข้อมลู โดยใช้ตาราง Matrix 2.3) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยศึกษาฐานข้อมูลของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษา ทง้ั ภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย หนงั สอื ตำ�รา และเอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.4) วิธกี ารวเิ คราะหข์ ้อมลู ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นการจัดกลุ่มและสรา้ งผงั การกระจาย การจัดการเรยี นการสอน (Program Mapping) ใน 4 กลมุ่ อาชีพ คอื คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยี สารสนเทศ และโลจิสติกส์ ของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนจำ�แนก ตามภมู ภิ าค รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นากำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 9
3) ศึกษาความต้องการของตลาดแรงงานที่มีตอ่ ต�ำ แหนง่ งานตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศไทย ใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กล่มุ อาชพี คอื คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ขนั้ ตอนยอ่ ยที่ 3 ใช้ระเบียบวธิ ีวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ 3.1) แหล่งข้อมูล/กลุ่มผูใ้ ห้ข้อมลู ไดแ้ ก่ 3.1.1) ฐานข้อมลู หนงั สอื ตำ�รา เอกสาร และงานวิจัยทีเ่ ก่ยี วข้องกับความตอ้ งการ ของตลาดแรงงานที่มตี อ่ ต�ำ แหน่งงานตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561- 2565) ใน 4 กลุม่ อาชีพคอื คมนาคม ก่อสรา้ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ของสถานศึกษา ประเภทอาชีวศกึ ษาทง้ั ภาครัฐและเอกชน 3.1.2) สมั ภาษณผ์ เู้ ชย่ี วชาญ จ�ำ นวน 28 คน เกย่ี วกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ท่ีมตี อ่ ต�ำ แหน่งงานตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กลุ่ม อาชีพ คอื คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจสิ ติกส์ 3.2) เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่ แบบสงั เคราะห์ เอกสาร แบบสมั ภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง 3.3) วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยศึกษาฐานข้อมลู หนังสอื ต�ำ รา เอกสาร และงานวจิ ัย ที่เก่ียวขอ้ งและสมั ภาษณผ์ ูเ้ ช่ียวชาญใน 4 กลุ่มอาชพี คือ คมนาคม ก่อสรา้ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ 3.4) วธิ ีการวิเคราะหข์ ้อมูล โดยวิเคราะห์ จ�ำ แนก จัดกลมุ่ และสงั เคราะห์ โดยการสรา้ ง ข้อสรุปความต้องการของตลาดแรงงานทีม่ ตี ่อตำ�แหนง่ งานตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปี ข้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ใน 4 กล่มุ อาชีพ คอื คมนาคม ก่อสรา้ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และ โลจิสติกส์ ข้ันตอนท่ี 2 การคาดคะเน เป็นการศึกษาอนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคน อาชีวศกึ ษาใน 4 กลมุ่ อาชีพ คอื คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสตกิ ส์ ตามความ ต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ใช้ระเบยี บวิธีวจิ ยั เชิงคุณภาพ ดังนี้ 1) แหลง่ ข้อมลู /กลุ่มผ้ใู ห้ข้อมูล 1.1) เอกสารจากผลการวิจัยตามวตั ถปุ ระสงค์การวิจัย ข้อท่ี 1-3 1.2) ผู้เชี่ยวชาญจำ�นวน 28 คน ท่ีมีความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการผลิตพัฒนาและ ใชก้ �ำ ลังคนใน 4 กลมุ่ อาชีพ คอื คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจสิ ติกส์ 2) เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1.1) แบบสังเคราะห์เอกสาร 1.2) ประเด็นคำ�ถามปลายเปิดเกี่ยวกับอนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคน อาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ คือ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหน้า (พ.ศ. 2561- 2565) รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลังคนอาชีวศกึ ษา 10 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ
3) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยศึกษาผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์การวิจัย ข้อที่ 1-3 และ จดั สนทนากลมุ่ (Focus Group) ผเู้ ชย่ี วชาญ 4 กลมุ่ อาชพี คอื คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ 4) วธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยวิเคราะห์ จำ�แนก จัดกลุม่ และสงั เคราะห์ ดว้ ยการสรา้ งข้อสรุป อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลุ่มอาชีพ คือ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนา ประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ขั้นตอนที่ 3 การเตรยี มขอ้ เสนอแนะ เป็นการศึกษาขอ้ เสนอเชิงนโยบายเกยี่ วกบั บทบาทของ สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชนในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาใน 4 กลมุ่ อาชพี คอื คมนาคม กอ่ สรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจสิ ตกิ ส์ ตามความตอ้ งการของตลาด แรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคณุ ภาพ โดยมวี ิธดี �ำ เนนิ การวิจยั ดังนี้ 1) กลุ่มผู้ใหข้ อ้ มูล ไดแ้ ก่ ผู้เชยี่ วชาญ จ�ำ นวน 12 คน ท่มี คี วามรู้ ประสบการณ์ เกีย่ วกบั การผลิต และพัฒนากำ�ลังคนใน 4 กลมุ่ อาชีพ คือ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสตกิ ส์ ของ สถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาทง้ั ภาครัฐและเอกชน 2) เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ประเด็นคำ�ถามปลายเปิดเกี่ยวกับบทบาท ของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา ใน 4 กลุ่มอาชีพคือ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์ ตามความต้องการ ของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 3) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ไดแ้ ก่ จดั สนทนากลุ่ม (Focus Group) 4) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ จำ�แนก จัดกลุ่ม และสังเคราะห์ โดยการสร้างข้อเสนอ เชิงนโยบายเก่ียวกับบทบาทของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชนในการผลิต และพฒั นากำ�ลงั คนอาชวี ศึกษาใน 4 กลมุ่ อาชพี คือ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และ โลจิสติกส์ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 6. นยิ ามศพั ท์เฉพาะทีใ่ ช้ในการวจิ ัย 6.1 ทศิ ทางการพัฒนาของประเทศไทย หมายถงึ การศกึ ษาแผนแม่บทวา่ ดว้ ยความเชอ่ื มโยง ระหว่างกันในอาเซียนปฏิญญากรุงกัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยอาเซียน 2025 : มุ่งหน้าไปด้วยกัน แผน งานพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง 6 ประเทศ กรอบความร่วมมือ ทางเศรษฐกจิ สามฝ่ายอนิ โดนีเซยี -มาเลเซีย-ไทย รา่ งกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560- 2579) รา่ งทศิ ทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และ แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพ่ือกำ�หนดแนวทางเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคมของ ประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) อยา่ งมีเป้าหมายและเป็นไปในทางท่ีดขี ึน้ รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลงั คนอาชวี ศกึ ษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 11
6.2 ผังการกระจายการจัดการเรียนการสอน (Program Mapping) สายอาชีพ หมายถึง การก�ำ หนดอปุ ทาน (Supply) ของสถานศกึ ษาประเภทอาชวี ศกึ ษาทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในปกี ารศกึ ษา 2559 โดยจ�ำ แนกตามภูมิภาค ในการจัดการเรยี นการสอนท่ีเกย่ี วข้องกบั 4 กลุม่ อาชพี ประกอบดว้ ย 6.2.1 กลมุ่ อาชพี ดา้ นคมนาคม หมายถงึ การจดั การเรยี นการสอนของสถานศกึ ษาประเภท อาชวี ศึกษาท้ังภาครฐั และเอกชน ใน 2 ระดับ ประกอบดว้ ย 1) ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ ช่าง ซอ่ มบำ�รงุ ชา่ งเชอื่ มโลหะ และช่างตอ่ เรอื 2) ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาเทคนคิ เคร่ืองกล ไฟฟ้า เทคนคิ โลหะ เทคโนโลยีการตอ่ เรือ และชา่ งอากาศยาน 6.2.2 กลุ่มอาชีพด้านการก่อสร้าง หมายถึง การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ประเภทอาชีวศกึ ษาท้งั ภาครฐั และเอกชน ใน 2 ระดบั ประกอบดว้ ย 1) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง โยธา ชา่ งเชอ่ื มโลหะ ช่างไฟฟ้ากำ�ลัง ช่างเคร่อื งเรือนและตกแต่งภายใน สถาปตั ยกรรม และส�ำ รวจ 2) ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าไฟฟา้ ชา่ ง ก่อสร้าง อตุ สาหกรรมเคร่อื งเรอื นและตกแตง่ ภายใน เทคนคิ สถาปตยกรรม ส�ำ รวจ โยธา และเทคนิค โลหะ 6.2.3 กลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หมายถึง การจัดการเรียน การสอนของสถานศกึ ษาประเภทอาชีวศึกษาทั้งภาครฐั และเอกชน ใน 2 ระดับ ประกอบด้วย 1) ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ประกอบดว้ ย 4 ประเภทวิชา ดังน้ี (1) ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าโทรคมนาคม และชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (2) ประเภทวชิ าพณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ (3) ประเภทวชิ าศลิ ปกรรม สาขาวิชาคอมพวิ เตอรก์ ราฟฟกิ (4) ประเภทวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2) ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง ประกอบดว้ ย 3 ประเภทวิชา ดงั นี้ (1) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาโทรคมนาคม อิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (2) ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ (3) ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์ ซอฟตแวร์ระบบสมองกลฝงตัว และคอมพิวเตอร์เกมและ แอนิเมชนั 6.2.4 กลมุ่ อาชพี ดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ หมายถงึ การจดั การเรยี นการสอนของสถานศกึ ษาประเภท อาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวชิ าการจดั การโลจิสติกส์ รายงานการวิจยั อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคนอาชวี ศกึ ษา 12 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
6.3 ความต้องการใช้กำ�ลังคนระดับอาชีวศึกษา หมายถึง การกำ�หนดอุปสงค์ (Demand) ด้านประชากรวัยแรงงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ท่ีได้จากการสังเคราะห์ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) จ�ำ แนกตาม 4 กลุ่มอาชพี ดังน้ี 6.3.1 ด้านคมนาคม หมายถึง การพัฒนาเส้นทางของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้าเพ่ือ การเดินทางและขนสง่ ท้ังทางบก ทางราง ทางนํา้ และทางอากาศ 6.3.2 ด้านการก่อสร้าง หมายถึง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยใน 5 ปี ข้างหน้าดา้ นถนน สะพาน โครงข่ายรถไฟและรถไฟฟา้ สถานีขนสง่ ท่าเทยี บเรอื ทา่ อากาศยาน และ คลงั สินคา้ 6.3.3 ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร หมายถงึ การพฒั นาเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ โครงขา่ ยสอื่ สารผา่ นดาวเทยี ม การพฒั นาเวบ็ ไซต์ และบรกิ ารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เพอื่ การจดั การโลจสิ ตกิ ส์ การจดั การทางอากาศ การจัดการทางราง และการจัดการท่าเรือ 6.3.4 ด้านโลจสิ ตกิ ส์ หมายถงึ การพฒั นาศนู ย์คา้ ส่ง (กระจาย) สนิ คา้ คลังสินค้า และการ ขนสง่ สินคา้ ทางรถยนต์ ทางราง ทางนํา้ และทางอากาศ 6.4 ตำ�แหน่งงานหลักของตลาดแรงงาน หมายถึง หน้าท่ี ความรับผิดชอบของประชากร วยั แรงงานระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) และประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) ที่เกย่ี วข้อง และสัมพันธ์กับ 4 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ ด้านคมนาคม ด้านการก่อสร้าง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และด้านโลจิสติกส์ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานประกอบการ (ผู้ใช้ผู้สำ�เร็จ การศกึ ษา ระดับปวช. และปวส.) ใน 5 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 6.5 อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา หมายถึง แนวโน้มการจัด การเรียนการสอนของสถานศึกษาประเภทอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) ทงั้ ภาครฐั และเอกชน ใน 4 กล่มุ อาชีพ ได้แก่ คมนาคม ก่อสรา้ ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และโลจิสติกส์ รวมถึงความตอ้ งการใชก้ ำ�ลังคนใน 4 กลุม่ อาชีพ ด้านคมนาคม ด้านการก่อสร้าง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และด้านโลจิสติกส์ของผู้บริหาร สถานประกอบการ (ผูใ้ ชผ้ ้สู �ำ เร็จการศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส.) ของประเทศไทยใน 5 ปีขา้ งหน้า (พ.ศ. 2561-2565) 7. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 7.1 ได้แนวทางในการวางแผนขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ระยะ 5 ปี เพอื่ ผลิตและพัฒนาก�ำ ลงั คนอาชีวศึกษาใน 4 กลุม่ อาชีพ ไดแ้ ก่ คมนาคม กอ่ สร้าง เทคโนโลยี สารสนเทศ และโลจสิ ตกิ สท์ ตี่ รงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสนองตอบทศิ ทางการพฒั นา ประเทศไทย อันเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในกลุ่มประเทศประชาคม อาเซยี น รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนาก�ำ ลังคนอาชวี ศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 13
7.2 การใช้ประโยชน์ในเชิงสาธารณะผลการวิจัย องค์ความรู้ และข้อมูลอนาคตภาพ ดา้ นความตอ้ งการกำ�ลงั คนระดับอาชวี ศกึ ษาและตำ�แหนง่ งานหลกั ของตลาดแรงงานใน 4 กลุม่ อาชพี ได้แก่ คมนาคม ก่อสร้าง เทคโนโลยีสารสนเทศ และโลจิสติกส์และแนวโน้มความต้องการในอีก 5 ปีข้างหน้า จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนของสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน ในการผลิตกำ�ลังคนผู้สำ�เร็จการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ เหมาะสม และมีสมรรถนะ ตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และเปน็ ก�ำ ลังสำ�คญั ขบั เคลอ่ื นการพัฒนาประเทศในอนาคต 7.3 การใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย การนำ�ผลวิจัยมาประยุกต์ใช้ในการกำ�หนดแนวทาง การพัฒนาการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา เพ่ือผลิตกำ�ลังคนที่มีคุณภาพในสาขาอาชีพท่ีตรง และเหมาะสมในตลาดแรงงาน รวมทั้งรองรับทศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทย 7.4 ทรัพยากรบุคคลของประเทศมีศักยภาพ มีสมรรถนะในสาขาอาชีพ รองรับตรงตาม ความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ ตลอดจนได้รับการพัฒนาต่อยอด เป็นบุคคลที่มีภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรมต่างๆ ท่ีนำ�ไปสู่การเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะจะเป็นก�ำ ลังสำ�คัญในการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ ของประเทศให้เจริญก้าวหน้าทดั เทียมกลุ่มประเทศตา่ งๆ ในอาเซียนและนานาประเทศ รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษา 14 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
บทท่ี 2 ทิศทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปขี ้างหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) ในการศกึ ษาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ทศิ ทางการพฒั นาของประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) คณะผูว้ จิ ยั ไดแ้ บง่ การด�ำเนนิ งานออกเปน็ 2 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ศกึ ษาเอกสารขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั แผนแมบ่ ท แผนงาน กรอบยทุ ธศาสตร์ และแผนพฒั นา ต่าง ๆ ของประเทศไทย ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) 2. ปฏญิ ญากรงุ กัวลาลัมเปอรว์ ่าดว้ ยอาเซยี น 2025 : มงุ่ หน้าไปด้วยกัน 3. แผนงานพัฒนาความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจในอนภุ มู ิภาคลมุ่ แมน่ ํา้ โขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion-GMS) 4. กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกจิ สามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซยี -ไทย (Indonesia-Malaysia- Thailand Growth Triangle : IMT-GT) 5. รา่ งกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 6. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 7. แนวทางการพฒั นาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 8. Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่ือนประเทศไทยสคู่ วามมน่ั คง มั่งคง่ั และย่งั ยนื 9. ข้อสรุปทศิ ทางการพัฒนาประเทศไทย ตอนท่ี 2 วิเคราะห์ทิศทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) ประกอบด้วยหวั ข้อตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. ผลวเิ คราะห์ทศิ ทางการพัฒนาของประเทศไทยใน 5 ปขี า้ งหนา้ (พ.ศ. 2561-2565) 2. ผลวิเคราะห์ลักษณะย่อยของการพัฒนาประเทศไทยใน 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2561-2565) จ�ำแนกตาม 4 กลุ่มอาชพี โดยแตล่ ะสว่ นสามารถน�ำเสนอข้อมูลไดด้ งั น้ี รายงานการวิจยั อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 15
ตอนที่ 1 ศกึ ษาเอกสารขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั แผนแมบ่ ท แผนงาน กรอบยทุ ธศาสตร์ และ แผนพฒั นาตา่ ง ๆ ของประเทศไทย 1. แผนแมบ่ ทวา่ ดว้ ยความเชอื่ มโยงระหวา่ งกนั ในอาเซยี น (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) อาเซียนมีสมาชิก 10 ประเทศ มีความแตกต่างกันทั้งด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม การรวมกลุ่มกนั จงึ ไม่ใช่เร่ืองง่ายจะตอ้ งวางรากฐานให้อาเซียนมีความเชอ่ื มโยง (connectivity) ระหว่างกันมากขึ้นที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งท่ี 17 เมื่อเดือนตุลาคม 2553 ที่กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ได้เห็นพ้องในแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกัน ในอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity : MPAC) เพื่อใช้เป็นยทุ ธศาสตร์ขบั เคลือ่ น ให้เกดิ ความเชอื่ มโยงโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพระหว่างกนั ในอาเซยี น ดงั นี้ 1) ด้านการขนสง่ ประกอบดว้ ย 1.1) โครงการทางหลวงอาเซยี น (ASEAN Highway Network – AHN ) เป็นเครือข่าย เส้นทางถนนเชื่อมโยงประเทศสมาชกิ เปน็ ระยะทางท้งั สน้ิ 38,400 กิโลเมตร 1.2) โครงการรถไฟสายสงิ คโปร์ – คนุ หมงิ (Singapore Kunming Rail Link -SKRL) เชอ่ื มโยง 8 ประเทศ เส้นทางหลกั ท่ีผ่าน 6 ประเทศ คือ สงิ คโปร์ มาเลเซีย ไทย กมั พชู า เวยี ดนาม และจีน และมเี ส้นทางแยกอกี 2 สาย คือ ไทย – สปป.ลาว และไทย – พมา่ 1.3) การคมนาคมทางน้ําน้ัน MPAC ได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาท่าเรือหลัก ส�ำหรับเครือข่ายการขนส่งทางทะเลในภูมิภาคอาเซียนไว้ 47 แห่ง ซ่ึงท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือ แหลมฉบงั ของไทยถูกนับรวมไวใ้ นยุทธศาสตรด์ ังกลา่ วด้วย 1.4) การคมนาคมทางอากาศ เนน้ การปรบั ปรงุ ระบบการบนิ พฒั นาคณุ ภาพสาธารณปู โภค พ้นื ฐาน เพอ่ื รองรับการขนสง่ ทางอากาศ รวมทง้ั การพัฒนาเสน้ ทางบนิ ใหมท่ เี่ หมาะสม 2) ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เปน็ การพฒั นาโครงขา่ ยการสอ่ื สารอนิ เทอรเ์ นต็ ดาวเทยี มและซอฟทแ์ วร์ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกดา้ นการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ขา่ วสาร การลงทนุ และ การเชื่อมโยงประชาชนสู่ประชาชนหน่ึง ในยุทธศาสตร์ส�ำคัญคือการจัดตั้ง ASEAN Broadband Corridor 3) ด้านพลังงาน เป็นการเร่งรัดการด�ำเนินการตามแผนปฏิบัติการความร่วมมือด้านพลังงาน ของอาเซยี น โดยเฉพาะเรอ่ื งโครงขา่ ยระบบสง่ ไฟฟา้ อาเซยี น การสรา้ งแนวทอ่ กา๊ ซธรรมชาตใิ นอาเซยี น การใช้เทคโนโลยถี ่านหนิ สะอาด และพลงั งานหมนุ เวยี น (กระทรวงการต่างประเทศ. 2554 : 12-57) รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชีวศกึ ษา 16 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
แผนแม่บทว่าด้วยการสร้างความเช่ือมโยงระหว่างกันในอาเซียนเป็นสัญญาณท่ีดีในเส้นทาง การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น เนอ่ื งจากเปน็ การเตรยี มความพรอ้ มดา้ นตา่ งๆ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมมากยงิ่ ขนึ้ การเชื่อมโยงอาเซียนถือเป็นหัวใจส�ำคัญของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะปลดปล่อยศักยภาพ ตลาดเดียว (ASEAN single market) ได้อย่างเต็มที่และเป็นฐานการผลิตท่ีมีประชากรมากกว่า 600 ลา้ นคน มผี ลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ (GDP) รวมกนั มากกวา่ 2 ลา้ นลา้ นเหรียญสหรัฐ 2. ปฏิญญากรงุ กวั ลาลมั เปอร์วา่ ด้วยอาเซียน 2025 : มงุ่ หน้าไปดว้ ยกนั การประชุมสุดยอดผู้นำ�อาเซียน ครั้งท่ี 27 ระหว่างวันท่ี 21-22 พฤศจิกายน 2558 ณ กรุง กวั ลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซยี ผนู้ �ำ อาเซยี นไดร้ ว่ มกนั ประกาศวสิ ยั ทศั นป์ ระชาคมอาเซยี น ค.ศ. 2025 และรบั รองแผนงานประชาคมอาเซยี น ค.ศ. 2025 (AEC Blueprint 2025) ในอีก 10 ปี ขา้ งหนา้ (2559-2568) โดย AEC Blueprint จะเปน็ พมิ พเ์ ขยี วเพอื่ จดั ท�ำ แผนบรู ณาการงานดา้ นเศรษฐกจิ ใหเ้ หน็ ภาพรวมในการมงุ่ ไปสู่ AEC โดยแผนงานประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นไดก้ �ำ หนดไวว้ า่ ภายในปี ค.ศ. 2025 ประชาคมเศรษฐกิจของเราจะตอ้ งมคี วามเชอ่ื มโยงและความรว่ มมือรายสาขาทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ดังนี้ 1) การขนส่ง โดยมีมาตรการสำ�คญั ได้แก่ 1.1) การขนส่งทางบก : จดั ตง้ั เครือขา่ ยการขนส่งทางบกภายในภูมิภาคอาเซียนและระหวา่ ง ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการค้าและการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และเชื่อมโยงกัน โดยผา่ นมาตรการทสี่ �ำคัญ ดังนี้ 1.1.1) มงุ่ สกู่ ารรวมโครงสรา้ งพนื้ ฐานการขนสง่ ทางบก (ถนนและรถไฟ) และการเชอ่ื มโยง ระหวา่ งกนั หลายรปู แบบ ดว้ ยทา่ อากาศยานหลกั ทา่ เรอื การเชอ่ื มตอ่ เสน้ ทางการขนสง่ ทางล�ำนา้ํ ภายใน ประเทศและเรอื เฟอรร์ ี่ 1.1.2) สง่ เสรมิ ความพยายามในการประสานและรว่ มมอื ทง้ั ในระดบั นโยบายและระดบั ปฏิบัติ เพือ่ พฒั นาระเบยี งการค้า โดยการขนส่งทางบกของอาเซียน 1.2) การขนสง่ ทางอากาศ : เสรมิ สร้างตลาดการบนิ รว่ มอาเซียน (เอเอสเอเอ็ม) ให้มีศักยภาพ ในการแขง่ ขันและความสามารถในการปรับตัวทีเ่ พ่มิ ขน้ึ โดยผ่านมาตรการทีส่ �ำคัญ ไดแ้ ก่ 1.2.1) เพมิ่ ความปลอดภยั และความม่ันคงของน่านฟา้ อาเซียนใหม้ ากยง่ิ ขึน้ 1.2.2) ยกระดับการจัดการจราจรทางอากาศให้มีประสิทธิภาพและขีดความสามารถ เพิม่ ข้ึน โดยการเปน็ นา่ นฟา้ อาเซียนทไี่ ร้รอยต่อ 1.2.3) ส่งเสริมความเช่ือมโยงที่มากยิ่งข้ึนโดยเฉพาะการสรุปการจัดท�ำความตกลงด้าน การบนิ กับคู่เจรจา 1.3) การขนสง่ ทางนา้ํ : จัดตง้ั ตลาดการขนส่งทางทะเลร่วมของอาเซยี น (เอเอสเอสเอ็ม) และ ส่งเสริมความปลอดภัยในการเดินเรือ ความมั่นคง ปลอดภัย และระเบียงเศรษฐกิจทางยุทธศาสตร์ ภายในอาเซยี นผา่ นมาตรการท่สี �ำคญั ไดแ้ ก่ รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลงั คนอาชวี ศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 17
1.3.1) ด�ำเนินการต่อเน่ืองเพ่ือเสริมสร้างความเชื่อมโยงทางทะเลภายในอาเซียนด้วย การจดั ตงั้ ความรว่ มมอื การขนสง่ ทางทะเลในภมู ภิ าคสกู่ ารเปน็ ตลาดการขนสง่ ทางทะเลรว่ มของอาเซยี น และการปฏิบตั ติ ามสนธิสญั ญา ภายใตอ้ งค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (ไอเอม็ โอ) ซ่ึงมุง่ สู่การขนสง่ ทางทะเลที่เชื่อมโยงกันมีประสิทธิภาพและแข่งขันได้ รวมท้ังส่งเสริมวัฒนธรรมด้านความปลอดภัย ทางทะเลภายในอาเซยี น 1.3.2) พัฒนาระเบยี งโลจิสติกส์ทางทะเลเชงิ ยุทธศาสตร์ 1.4 การอ�ำนวยความสะดวกดา้ นการขนสง่ : สรา้ งระบบการขนสง่ หลายรปู แบบและระบบ โลจิสติกส์ที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันในระดับโลก ส�ำหรับการขนส่งผู้โดยสารและ สนิ ค้าทางถนนอย่างไรร้ อยต่อ 2) โทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีมาตรการส�ำคัญ ได้แก่ 2.1) การปรับเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ : หาแนวทางการใช้และประสานงานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศมากย่งิ ขึน้ เพือ่ การพฒั นาเศรษฐกิจและสง่ เสรมิ การคา้ รูปแบบดจิ ทิ ัลในอาเซยี น 2.2) การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและการสรา้ งศกั ยภาพใหแ้ กป่ ระชาชนผา่ นทางเทคโนโลยี สารสนเทศ : ส่งเสริมความพยายามในการน�ำดิจิทัลมาเสริมสร้างศักยภาพให้กับบุคคล และท�ำให้ เกิดการพัฒนาชุมชน รวมทั้งหาแนวทางใหม่ๆ ที่จะเพิ่มการขยายเครือข่ายและการใช้อินเทอร์เน็ต ความเร็วสงู ไดท้ ว่ั ถงึ ในอาเซียน 2.3) นวตั กรรม : สนบั สนนุ นวตั กรรมและการประกอบการดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมถงึ การพฒั นาเทคโนโลยีใหมๆ่ เช่น เมืองอจั ฉรยิ ะ และข้อมลู ขนาดใหญ่ และการวิเคราะหข์ ้อมูล เปน็ ตน้ 2.4) การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน : ปรบั ปรงุ ความเชอื่ มโยงและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีชนบทและพัฒนามาตรการท่ีจะเพ่ิมความสามารถในการปรับเปล่ียน ของโครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 2.5) การพัฒนาทุนมนุษย์ : ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพส�ำหรับแรงงานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร 2.6) เทคโนโลยสี ารสนเทศในตลาดรว่ ม : สง่ เสรมิ การเคลอ่ื นยา้ ยเสรขี องสนิ คา้ บรกิ าร และ การลงทนุ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศภายในภมู ภิ าค รวมทง้ั การลดคา่ ธรรมเนยี มการใหบ้ รกิ ารโทรศพั ท์ ขา้ มแดนระหวา่ งประเทศภายในอาเซียน 2.7) อตุ สาหกรรมคอนเทนทแ์ ละสอ่ื ใหม่ : สนบั สนนุ การเตบิ โตและการใชบ้ รกิ ารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และส่อื ใหมใ่ นภูมิภาค 2.8) การประกนั และความปลอดภยั ดา้ นข้อมูล : สร้างระบบนิเวศน์ทางดจิ ทิ ลั ทน่ี า่ เช่ือถือ รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือด้านความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มากย่ิงขึ้น และพัฒนามาตรการ ท่จี ะปกป้องข้อมลู สว่ นบุคคล รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชวี ศกึ ษา 18 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
3) พาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยมมี าตรการส�ำคญั ไดแ้ ก่ 3.1) การปรับประสานกฎหมายเรือ่ งสทิ ธแิ ละการคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค 3.2) การปรับประสานกรอบด้านกฎหมายส�ำหรับการระงับข้อพิพาทผ่านระบบออนไลน์ โดยค�ำนงึ ถึงมาตรฐานระหว่างประเทศท่ีมอี ยู่ 3.3) ระบบการยืนยันบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์และการอนุมัติสิทธิเข้าใช้งาน (ลายมือช่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกส)์ ท่สี ามารถท�ำงานรว่ มกัน ยอมรบั รว่ มกัน ปลอดภัย เสถียร และงา่ ยต่อการปฏิบัตโิ ดย ผู้ใช้งาน 3.4) มีกรอบส�ำหรบั การปกป้องขอ้ มูลสว่ นบุคคลทีเ่ ชอ่ื มโยงกนั และครอบคลมุ ทุกมติ ิ 4) พลังงาน มมี าตรการส�ำคัญ ได้แก่ 4.1) การเช่ือมโยงระบบโครงข่ายสายส่งไฟฟ้าอาเซียน (เอพีจี) : ริเริ่มการซ้ือขายไฟฟ้า พหภุ าคีอยา่ งน้อยในหน่งึ อนภุ ูมิภาคในอาเซยี นภายในปี 2561 4.2) การเชอ่ื มโยงโครงขา่ ยทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาตขิ องอาเซยี น (ทเี อจพี )ี : ยกระดบั การเชอ่ื มโยง ภายในอาเซียน เพ่ือความม่ันคงและความสามารถในการเข้าถึงด้านพลังงานผ่านท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และสถานเี ปล่ียนกา๊ ซธรรมชาตเิ หลว 4.3) ถ่านหินและเทคโนโลยถี ่านหินสะอาด : เสรมิ สร้างภาพลักษณ์ของถา่ นหนิ ในอาเซยี น ผ่านการส่งเสริมเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (ซีซีที) รวมถึงการเพิ่มจ�ำนวนโครงการเทคโนโลยีถ่านหิน สะอาดภายในปี 2563 4.4) ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน : ลดความเข้มข้นในการใช้ พลงั งานในภมู ภิ าคในอัตรารอ้ ยละ 20 ส�ำหรบั เป้าหมายระยะกลางในปี 2563 และร้อยละ 30 ส�ำหรับ เปา้ หมายระยะยาวในปี 2568 โดยใช้ฐานของปี 2548 4.5) พลังงานทดแทน : เพ่ิมสัดส่วนของพลังงานทดแทนในส่วนประกอบของพลังงาน อาเซียน (ยอดรวมอุปทานพลังงานพ้ืนฐาน) ในอัตราส่วนตามท่ีประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นชอบ ร่วมกันภายในปี 2563 4.6) นโยบายระดับภูมิภาคและการวางแผน : การสร้างเสริมสถานะของสาขาพลังงาน อาเซยี นในระดบั นานาชาตผิ า่ นการเผยแพรร่ ายงานประจ�ำปี วา่ ดว้ ยความรว่ มมอื ดา้ นพลงั งานอาเซยี น 4.7) พลังงานนิวเคลียร์ภาคพลเรือน : การสร้างขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐของ ประเทศสมาชิกอาเซยี นด้านพลังงานนวิ เคลยี ร์ รวมถงึ ระบบกฎระเบยี บเก่ยี วกบั พลังงานนวิ เคลยี ร์ 5) อาหาร เกษตร และป่าไม้ โดยมมี าตรการส�ำคญั ไดแ้ ก่ 5.1) เพม่ิ การผลติ สินค้า พชื สวน ปศุสัตว์ และประมง/การเพาะเลีย้ งสตั วน์ ้าํ 5.2) ส่งเสริมการอ�ำนวยความสะดวกทางการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าเพ่ือส่งเสริม ความสามารถในการแขง่ ขันและการรวมตัวทางเศรษฐกจิ รายงานการวิจยั อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชีวศึกษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 19
5.3) ส่งเสรมิ การผลิตอย่างย่งั ยืนและการกระจายทีเ่ ท่าเทยี ม 5.4) เพ่ิมความสามารถในการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ ธรรมชาติ และวกิ ฤตการณอ์ ่นื ๆ 5.5) ปรับปรุงผลิตภาพเทคโนโลยีและคุณภาพสินค้าเพื่อสร้างความมั่นใจในเร่ืองความ ปลอดภัยคุณภาพและการปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานตลาดโลก 5.6) สง่ เสรมิ การบริหารจัดการป่าไม้อยา่ งย่งั ยนื 5.7) เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื เพม่ิ ขนึ้ ในดา้ นการผลติ และการสง่ เสรมิ อาหารและผลติ ภณั ฑฮ์ าลาล 5.8) พฒั นาและสง่ เสรมิ ใหอ้ าเซยี นเปน็ ฐานการผลติ อาหารอนิ ทรยี ์ รวมทงั้ มงุ่ มน่ั ทจี่ ะบรรลุ ใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล 6) การท่องเทยี่ ว โดยมมี าตรการส�ำคญั ได้แก่ 6.1) เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของอาเซยี นในฐานะจดุ หมายปลายทางการทอ่ งเทย่ี ว เดียวกนั 6.2) มรี ปู แบบการทอ่ งเท่ยี วอาเซยี นที่ยั่งยนื และครอบคลุมทุกภาคส่วน 6.3) สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นและภาคส่วนรัฐและเอกชนในห่วงโซ่มูลค่าการ ท่องเทีย่ วในระดบั จดุ หมายปลายทาง 7) สุขภาพ โดยมีมาตรการส�ำคญั ไดแ้ ก่ 7.1) ด�ำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการเปดิ ตลาดบรกิ ารสขุ ภาพของภาคเอกชนและการลงทนุ ในรปู แบบความเปน็ หนุ้ สว่ นระหวา่ งภาครฐั กบั ภาคเอกชนเพอ่ื การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพทคี่ รบวงจรในภมู ภิ าค 7.2) ปรบั ประสานมาตรฐานและความสอคคลอ้ งในผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพเพม่ิ ขนึ้ เชน่ การจดั ท�ำเอกสารทางเทคนคิ ทเี่ ปน็ รปู แบบเดยี วกนั ซง่ึ จ�ำเปน็ ส�ำหรบั ขนั้ ตอนการจดทะเบยี นและ ฉลากแสดงโภชนาการ 7.3) สง่ เสรมิ สาขาทมี่ ศี กั ยภาพในการเตบิ โตสงู เชน่ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพและการบรกิ าร สุขภาพทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบในเชิงลบต่อระบบบริการสุขภาพของสมาชิก อาเซียนแต่ละประเทศ 7.4) สง่ เสรมิ ระบบการประกนั สุขภาพทเี่ ข้มแขง็ ในภมู ภิ าค 7.5) ให้การอ�ำนวยความสะดวกเพ่ิมขึ้นในการเคลื่อนย้ายบุคลากรวิชาชีพด้านสุขภาพใน ภมู ภิ าค 7.6) ยกระดบั การพฒั นากรอบความตกลงอาเซยี นดา้ นยาแผนโบราณ และผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร ผา่ นการจัดท�ำแนวทางและกรอบการด�ำเนินงานที่เหมาะสม 7.7) พฒั นาและออกกฎระเบยี บเกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพใหมๆ่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ อ�ำนวย ความสะดวกเพม่ิ ขึ้นต่อการคา้ ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพในภูมิภาค รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลงั คนอาชวี ศกึ ษา 20 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ
8) แร่ธาตุ โดยมีมาตรการส�ำคัญ ได้แก่ 8.1) แลกเปลี่ยนขอ้ มูลและพฒั นาฐานขอ้ มูลด้านแร่ธาตุของอาเซียน 8.2) สง่ เสรมิ และอ�ำนวยความสะดวกการคา้ และการลงทนุ ทง้ั ภายในและนอกอาเซียน 8.3) ส่งเสริมการบริหารจัดการและการพัฒนาทรัพยากรแร่ธาตุอย่างมีความรับผิดชอบ ตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและสังคม 8.4) เพ่ิมการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน ในโครงการและกจิ กรรมความร่วมมอื สาขาแร่ธาตุของอาเซยี น 8.5) สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื กบั คเู่ จรจาและองคก์ ารระหวา่ งประเทศและองคก์ ารระดบั ภมู ภิ าค ทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการสง่ เสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการพฒั นาทรพั ยากร แร่ธาตแุ ละธรณีศาสตร์ รวมถงึ โครงการความร่วมมือในการถา่ ยทอดเทคโนโลยี 8.6) ประสานงานและปรับความสอดคล้องในนโยบายการพัฒนาและโครงการที่เก่ียวกับ ทรพั ยากรแร่ธาตุ 8.7) แลกเปล่ยี นขอ้ มูลด้านเทคนิคประสบการณ์และแนวปฏิบัตทิ ี่ดี 8.8) เสริมสร้างความรว่ มมอื และแนวทางรว่ มกนั ในการตอบสนองต่อประเด็นระหว่างประเทศ และประเดน็ ระดบั ภมู ภิ าค รวมถึงประเดน็ ท่เี ป็นความสนใจร่วมกนั 9) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยมมี าตรการส�ำคญั ได้แก่ 9.1) เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายศูนย์กลางความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่มีอยู่ เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือแบ่งปันสิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้านการวิจัยและบุคลากร เพอ่ื สนบั สนุนการวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยรี ว่ มกัน การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการน�ำมาใช้ใน เชงิ พาณิชย์ 9.2) ส่งเสริมการเคล่ือนย้ายนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยจากสถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีท้ังของภาครัฐและภาคเอกชน โดยด�ำเนินโครงการแลกเปลี่ยนและการด�ำเนินการ ท่ีเหมาะสมด้านอืน่ ๆ ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบยี บ และนโยบายระดับประเทศ 9.3) จดั ตง้ั ระบบและกลไกซงึ่ จะสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของสตรแี ละเยาวชนในสาขาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพอ่ื สง่ เสริมการเป็นผูป้ ระกอบการ 9.4) เพ่ิมความตระหนักรู้ของสาธารณะต่อผลความส�ำเร็จต่างๆ ท่ีเกิดจากความร่วมมือ ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของอาเซียน 9.5) จัดตั้งระบบสนับสนนุ นวัตกรรมเพือ่ สง่ เสรมิ และบริหารจดั การธรุ กจิ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ซ่งึ เกดิ ขนึ้ จากการแยกตวั ออกจากบริษัทแม่และการร่วมทุน 9.6) จัดท�ำยุทธศาสตร์ใหม่ ส�ำหรับความเป็นหุ้นส่วนกับคู่เจรจาและองค์การท่ีเก่ียวข้อง ในโครงการที่มผี ลประโยชน์เกอ้ื กลู กนั (กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ, 2559. 124-286) รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนากำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ 21
3. แผนงานพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion : GMS) ความเปน็ มา GMS Economic Corridors คอื ระเบยี งเศรษฐกจิ อนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ า้ํ โขง เปน็ กรอบความรว่ มมอื ระหวา่ ง 6 ประเทศ ในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ า้ํ โขง ไดแ้ ก่ กมั พชู า สปป.ลาว จนี (มณฑลยนู นานและกวา่ งซ)ี เมียนมาร์ ไทย และเวียดนาม ริเร่ิมขึ้นโดยการผลักดันของ 6 ประเทศ และธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank - ADB) ในปี 2535 เพอ่ื จดั ท�ำกรอบแผนยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจในลักษณะเกื้อกูลกันบนพื้นฐานของความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของแต่ละประเทศ โดยใช้การสนบั สนุนท้งั ทางการเงนิ และทางวิชาการจาก ADB เป็นตัวขบั เคลอื่ นการพฒั นาอนุภมู ภิ าค เรมิ่ จากการเชอื่ มโยงโครงขา่ ยระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐาน โดยเฉพาะเสน้ ทางคมนาคมขนสง่ และพลงั งาน มีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื สง่ เสริมการขยายตัวด้านอตุ สาหกรรม การเกษตร การค้า การลงทุน และบริการ เพ่ือให้เกิดการจ้างงาน ยกระดับการครองชีพ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่างกัน การใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีส่งเสริมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยเพิ่มขีดความสามารถและ โอกาสการแขง่ ขันในเวทกี ารค้าโลก GMS มปี ระชากรรวม 330 ลา้ นคน เปน็ ตลาดทมี่ ศี กั ยภาพสงู โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เปน็ ตลาดทไี่ ทย เปน็ คคู่ า้ ทส่ี �ำคญั ทส่ี ดุ อยใู่ นปจั จบุ นั และเปน็ ชอ่ งทางเจาะเขา้ สปู่ ระเทศจนี /อนิ เดยี ซง่ึ เปน็ ตลาดใหญส่ ดุ ของโลกประกอบกบั จดุ ทต่ี ง้ั ของไทย ซงึ่ มคี วามไดเ้ ปรยี บทางดา้ นโลจสิ ตกิ สท์ อ่ี ยใู่ จกลางของอนภุ มู ภิ าค และความต้องการร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน เพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดในทุกระดับและ เพอ่ื สรา้ งความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ ทง้ั ในดา้ นอาหาร พลงั งาน และความมน่ั คงปลอดภยั ของมนษุ ยท์ เี่ กดิ จากปัญหาร่วมกันของอนุภูมิภาค เช่น ด้านโรคติดต่อภัยพิบัติ ความเสื่อมโทรมของส่ิงแวดล้อม ความแตกต่างทางเศรษฐกิจ และความเหล่ือมล�้ำในการพัฒนาระหว่างไทยและเพ่ือนบ้าน รวมถึง การสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารพัฒนาเอเชียประเทศจีนและไทย และองค์กรผู้สนับสนุนการ พฒั นาอนื่ ๆ เปน็ ปจั จยั ขบั เคลื่อนใหก้ รอบความรว่ มมอื มีความก้าวหนา้ อย่างชัดเจน ความกา้ วหนา้ ของการด�ำเนินงานในระยะ 20 ปี ทผ่ี ่านมา มีการส่งเสริมความร่วมมือท่ีเน้นสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจและการลดความยากจน โดย ได้ด�ำเนินงาน 55 โครงการ ลงทุนรวมมลู คา่ 14 พันล้านเหรยี ญสหรัฐ (แหลง่ เงินทุนจาก ADB องคก์ ร และประเทศผู้ให้ความช่วยเหลือการพัฒนาและประเทศ GMS เช่น จีนและไทย) เป็นโครงการ จ�ำพวกการพฒั นาถนน สนามบนิ ปรบั ปรงุ เส้นทางรถไฟ แหล่งผลติ ไฟฟ้าพลังนํ้า โครงสร้างพนื้ ฐาน เพ่ือการท่องเที่ยว และการควบคุมโรคติดต่อ ซึ่งมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของอนุภูมิภาค มีอัตราการเติบโตเฉล่ียมากกว่าร้อยละ 8 ต่อปีในช่วง 20 ปีผ่านมาและมูลค่า GDP เฉลี่ยต่อหัว เพ่มิ ขน้ึ มากกวา่ 3 เทา่ ตวั แตย่ ังพบปญั หาอุปสรรคหลายดา้ น รวมถึงยงั มขี อ้ จ�ำกัดในด้านการกระจาย ความเจริญและความเหลื่อมล�้ำ รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา 22 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ
ในการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก GMS ได้จัดท�ำกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาแผนงาน GMS ฉบับใหม่ระยะ 10 ปี (ปี 2012-2022) และได้น�ำเสนอให้ที่ประชุมสุดยอดผู้น�ำครั้งท่ี 4 ใหค้ วามเห็นชอบเพอ่ื ด�ำเนินการตอ่ ไป โดยมีสาระส�ำคัญดังน้ี 1) ด�ำเนินงานต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวิธกี ารทด่ี �ำเนินงานในอดตี ท่ีผา่ นมา ซง่ึ เนน้ ความรู้สึกเป็นเจ้าของแผนงาน การหารือกันอย่างเท่าเทียม ผลประโยชน์ร่วม และการตระหนักถึง การพัฒนาท่ีไม่เท่ากันของประเทศสมาชิก โดยปรับปรุงให้แผนงานสามารถตอบสนองต่อบริบทโลก และภูมิภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสอดคล้องกับแผนพัฒนาระดับชาติ และการรวมเข้าเป็น สว่ นทส่ี �ำคญั และสนบั สนุนประชาคมอาเซยี น 2) เพม่ิ ความส�ำคญั ทางดา้ นซอฟตแ์ วร์ เชน่ เรอ่ื งการพฒั นาเชงิ นโยบายและสถาบนั การเสรมิ สรา้ ง ศกั ยภาพและองค์ความรู้ควบคู่กบั การพัฒนาด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐาน เนน้ การบูรณาการระหว่างสาขา ความรว่ มมือ การพฒั นาเชงิ พน้ื ท่ี และการท�ำงานท่สี อดคล้องกับกรอบความร่วมมอื อน่ื ๆ ท้งั ในระดบั อนภุ ูมภิ าคและภูมิภาค โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการสนบั สนนุ การรวมตวั ของประชาคมอาเซียน 3) ระเบียงเศรษฐกจิ (Economic Corridors) ยังคงเป็นศูนยก์ ลางการพฒั นาแบบบูรณาการ โดยให้ความส�ำคัญกับสาขาคมนาคม ขนส่ง พลังงาน โทรคมนาคม ท่องเท่ียว ส่ิงแวดล้อม เกษตร และทรัพยากรมนุษย์ โดยมีการขยายแนวพ้ืนท่ีพัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ให้ขยายจากกรุงเทพฯ ไปเช่อื มโยงเมืองทวายของเมียนมาร์ ซ่ึงมศี ักยภาพจะเปน็ ฐานการผลิตของอนภุ มู ภิ าคในอนาคต แผนงานในโครงการ GMS แผนการพฒั นายุทธศาสตร์ระยะยาว 3 ดา้ นหรอื 3Cs ไดแ้ ก่ 1) Connectivity การสร้างความเชอ่ื มโยงผา่ นระบบต่างๆ 2) Competitiveness การเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันในระดบั อนุภูมิภาค 3) Community การเสริมสรา้ งความรู้สึกรับผดิ ชอบรว่ มกนั ของการเป็นชมุ ชน ทงั้ นีไ้ ดม้ ุ่งเนน้ ความรว่ มมือใน 9 สาขาหลัก ได้แก่ 1) สาขาคมนาคมขนส่ง 2) สาขาโทรคมนาคม 3) สาขาพลังงาน 4) สาขาท่องเทย่ี ว 5) สาขาการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ 6) สาขาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 7) สาขาการอ�ำนวยความสะดวกการคา้ 8) สาขาการลงทนุ 9) สาขาเกษตร รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลังคนอาชวี ศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 23
แผนงานทม่ี คี วามส�ำคญั ในล�ำดับสูง (Flagship Programs) จ�ำนวน 11 แผนงาน ไดแ้ ก่ 1) แผนงานพฒั นาแนวพืน้ ท่ีเศรษฐกจิ เหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridors) 2) แผนงานพฒั นาแนวพน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก (East-West Economic Corridors) 3) แผนงานพฒั นาแนวพื้นทเ่ี ศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridors) 4) แผนงานพฒั นาเครอื ข่ายโทรคมนาคม (Telecommunications Backbone) 5) แผนงานซ้ือขายไฟฟ้าและการเชื่อมโยงเครือข่ายสายส่งไฟฟ้า (Regional Power Interconnection and Trading Arrangements) 6) แผนงานการอ�ำนวยความสะดวกการคา้ และการลงทนุ ขา้ มพรมแดน (Facilitating Cross-Border Trade and Investment) 7) แผนงานเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มและความสามารถในการแขง่ ขนั ของภาคเอกชน (Enhancing Private Sector Participation and Competitiveness) 8) แผนงานพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละทกั ษะความช�ำนาญ (Developing Human Resources and Skills Competencies) 9) กรอบยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม (Strategic Environment Framework) 10) แผนงานการป้องกนั นํา้ ทว่ มและการจัดการทรัพยากรน้าํ (Flood Control and Water Resource Management) 11) แผนงานการพฒั นาการท่องเที่ยว (GMS Tourism Development) เสน้ ทางระเบยี งเศรษฐกิจอนุภูมิภาคล่มุ แมน่ ้าํ โขง ADB (Asian Development Bank) ได้แบง่ สว่ นของเส้นทางการคมนาคมใน GMS Economic Corridors ออกเปน็ 3 ส่วนใหญ่ๆ ตามภูมภิ าค ไดแ้ ก่ 1) แนวระเบยี งเศรษฐกิจเหนอื ใต้ : North-South Economic Corridors (NSEC) เสน้ ทางนเี้ ปน็ เสน้ ทางหลกั ของ GMS Economic Corridors โดยจะเนน้ การเชอื่ มตอ่ จนี ตอนใต้ (มณฑลยนู นาน) เขา้ กบั ภมู ภิ าคแหลมทองผา่ นถนนในแนวเหนอื -ใต้ จดุ เรมิ่ ตน้ ของถนนในแนวเหนอื -ใต้ คือเมืองคุนหมงิ สว่ นจดุ ปลายจะแยกเป็นสองสาย คอื ประเทศไทย และประเทศเวยี ดนาม เสน้ ทาง ในกลมุ่ เหนอื -ใต้ ประกอบด้วย 3 เสน้ ทาง ทเ่ี ชอ่ื มโยงกลมุ่ ประเทศอนุภมู ิภาคลมุ่ แมน่ ํา้ โขง ดงั น้ี 1.1) เส้นทางสายตะวนั ตก (Western Subcorridors) เรม่ิ จากคนุ หมงิ มายงั เชียงรายและ ลงมาถึงกรุงเทพ โดยมสี ่วนท่ผี า่ นลาวและพมา่ เล็กน้อย 1.2) เส้นทางสายกลาง (Central Subcorridors) เริ่มจากคุนหมิงแต่ไปสิ้นสุดที่ฮานอย เมืองหลวงของเวียดนาม โดยจะเชอื่ มตอ่ กับทางหลวงสายเอเชีย A1 ที่วง่ิ ในทศิ เหนอื -ใต้ของประเทศ เวยี ดนามที่เมืองฮานอย 1.3) เส้นทางสายตะวันออก (Eastern Subcorridors) เร่ิมจากเมืองหนานหนิงในมณฑล กว่างซีของประเทศจีนมายังเมอื งฮานอย โดยเลือกวา่ จะเป็นเสน้ ทางเลยี บชายทะเลหรือเส้นทางในทวีป รายงานการวจิ ัย อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นากำ�ลงั คนอาชีวศกึ ษา 24 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ
จงั หวดั ของไทยซงึ่ ตงั้ อยตู่ ามแนวพนื้ ทพี่ ฒั นาเศรษฐกจิ แนวเหนอื -ใต้ (North-South Economic Corridors: NSEC) ประกอบด้วย 13 จังหวดั ไดแ้ ก่ เชียงราย เชียงใหม่ ล�ำปาง นครสวรรค์ อยธุ ยา ล�ำพนู พะเยา แพร่ อุตรดติ ถ์ ก�ำแพงเพชร ตาก พษิ ณุโลก และกรุงเทพฯ 2) แนวระเบยี งเศรษฐกจิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก : East-West Economic Corridors (EWEC) แนวระเบยี งเศรษฐกจิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก เปน็ เสน้ ทางทพ่ี ฒั นามากทสี่ ดุ ในบรรดาแนวระเบยี ง เศรษฐกิจ ท้ังหมดระยะทางประมาณ 1,500 กิโลเมตร เชื่อมโยงมหาสมุทรอินเดีย และทะเลจีนใต้ เสน้ ทางกลมุ่ EWEC มเี สน้ เดยี วไมม่ เี สน้ ยอ่ ย จดุ เรม่ิ ตน้ คอื เมอื งดานงั ในเวยี ดนาม (ซงึ่ เปน็ เมอื งทา่ ส�ำคญั ของเวียดนาม) ตัดผ่านลาวและไทยมายังเมืองเมาะ ละแหม่ง หรือเมาะล�ำไยในพม่า โดยเส้นทางนี้ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2550 จุดข้ามแดนส�ำคญั ในเส้นทาง R2 คือสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งทส่ี อง ทจ่ี งั หวดั มกุ ดาหารกบั สะหวันนะเขต และด่านท่ีอ�ำเภอแมส่ อด จงั หวดั ตากกบั เมอื งเมยี วดขี องพม่า เส้นทาง R2 เป็นเส้นทางที่มีผลกระทบทางเศรษฐกิจมากโดยจะส่งผลให้หลายจังหวัด ของเวียดนามมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่า 100% ส่วนในประเทศไทยจะอยู่ในระดับ 0-50% ทง้ั นี้ผลการศกึ ษากอ่ นการลงทุนในเสน้ ทางนีพ้ บว่า อตุ สาหกรรมทจี่ ะไดร้ ับประโยชน์ ได้แก่ อตุ สาหกรรมเกษตร และการทอ่ งเทย่ี ว ซงึ่ จะเปลย่ี นเสน้ ทางการเดนิ ทางธรรมดาไปเปน็ พน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ ท่มี คี วามส�ำคัญในอนาคต จงั หวดั ของไทยซงึ่ ตงั้ อยตู่ ามแนวพน้ื ทพ่ี ฒั นาเศรษฐกจิ แนวตะวนั ออก-ตะวนั ตก (East-West Economic Corridors: EWEC) ประกอบดว้ ย 7 จังหวัด ได้แก่ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ขอนแก่น กาฬสนิ ธ์ุ มกุ ดาหาร 3) แนวระเบยี งเศรษฐกจิ เลยี บชายฝง่ั ทะเลตอนใต้ : Southern Economic Corridors (SEC) เส้นทางสายสดุ ท้ายเช่อื มตอ่ ระหว่างไทย-กมั พูชา-เวยี ดนาม แบง่ เปน็ 4 เสน้ ทางย่อยเรยี ง ตามแนวบน-ลา่ งดังนี้ 3.1) เส้นทางสายกลาง (Central Subcorridors) เริ่มจากกรุงเทพผ่านพนมเปญไปยัง โฮจมิ นิ ห์ซติ ้ี และสุดทเ่ี มอื งหวุงเตา่ หรือวังเทารมิ ชายทะเลเวยี ดนาม 3.2) เส้นทางสายเหนือ (Northern Subcorridors) เริ่มจากกรุงเทพไปยังอรัญประเทศ (ส่วนนี้จะเป็นเส้นทางเดียวกับเส้นทางสายกลาง) แต่เม่ือเข้าเขตกัมพูชาแล้วจะแยกข้ึนเหนือ ผ่านเสยี มเรยี บและไปสดุ ทีเ่ มอื ง Quy Nhon ทางตอนกลางของเวยี ดนาม 3.3) เสน้ ทางเลียบชายฝ่งั ด้านใต้ (Southern Coastal Subcorridors) เร่ิมจากกรุงเทพ ผ่านทางภาคตะวันออกของไทยเลียบอ่าวไทยมาออกท่ี จ.ตราด ข้ามมายังเกาะกงของกัมพูชา และไปสุดที่ปลายแหลมของเวยี ดนามท่ีเมือง Nam Can 3.4) เสน้ ทางเชอ่ื มภายในทวปี (Intercorridors Link) เป็นเส้นทางแนวต้งั ผา่ นกัมพูชาและ ลาว โดยจะเชอ่ื มเสน้ ทาง 3 เสน้ กอ่ นหนา้ (และเสน้ ทางหลกั สาย East-West) ในแนวดงิ่ เสน้ ทางทส่ี �ำคญั มี 2 เสน้ ทาง คอื เส้นทางสายกลาง หรอื (กรงุ เทพ-พนมเปญ-โฮจิมินหซ์ ิต-้ี วังเทา) และเสน้ ทางเลียบ ชายฝง่ั ตอนใต้ รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลติ และพัฒนาก�ำ ลงั คนอาชีวศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 25
จังหวัดของไทยซึ่งต้ังอยู่ตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจแนวตอนใต้ (Southern Economic Corridors : SEC) ประกอบดว้ ย 8 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ฉะเชงิ เทรา ปราจนี บรุ ี สระแกว้ ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี ตราด และกาญจนบรุ ี สรปุ ประเดน็ ส�ำคัญในการประชมุ GMS SUMMIT ครั้งท่ี 4 และคร้งั ท่ี 5 1) การประชมุ สดุ ยอดผนู้ �ำแผนงาน GMS ครั้งท่ี 4 การประชุมสุดยอดผู้น�ำแผนงาน GMS ครั้งท่ี 4 ระหว่างวันที่ 19-20 ธันวาคม 2554 ณ นครเนปดิ อว์ สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ ผนู้ �ำประเทศสมาชกิ ไดก้ ารลงนามเอกสารส�ำคญั 3 เรอ่ื ง 1.1) บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการเร่งรัดในการจัดให้มีโครงข่ายทางด่วนสารสนเทศใน กลุม่ อนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ าํ้ โขง 6 ประเทศ ระยะท่ี 2 (MOU on the Joint Cooperation in Further Accelerating the Construction of the Information Superhighway and Its Applications in the GMS) ซ่ึงจะช่วยลดความเหลื่อมล�้ำในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศก�ำหนดการใช้ ICT applications ในการพัฒนาประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกันและช่วยพัฒนาโครงข่าย บรอดแบนดแ์ ห่งชาติ 1.2) บันทึกความเข้าใจส�ำหรับการด�ำเนินงานร่วมกัน เพ่ือลดจ�ำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทมี่ กี ารเคลอื่ นยา้ ยในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ าํ้ โขง (MOU for Joint Action to reduce HIV Vulnerability Related to Population Movement) ซึ่งจะเน้นการปรับปรุงด้านนโยบายและกลไกการท�ำงาน รวมถึงสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพ่ือลดความเสี่ยงต่อการติดเช้ือเอชไอวีและส่งเสริมการเข้าถึง การปอ้ งกนั รักษาและดแู ลกลมุ่ แรงงานข้ามชาตแิ ละประชากรเคลือ่ นยา้ ย 1.3) การจัดตั้งสมาคมผู้ขนส่งในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง (GMS Freight Transport Association : FRETA) ระหวา่ งภาคเอกชนซึ่งจะเปน็ กลไกใหมท่ ่รี ิเรมิ่ ขนึ้ โดย GMS Business Forum (GMS-BF) เพื่อประสานการท�ำงานของภาครัฐและเอกชนในการขับเคล่ือนการอ�ำนวยความสะดวก การค้าและการขนส่งข้ามพรมแดนของอนุภูมิภาค และเพ่ิมความเป็นมืออาชีพให้แก่ผู้ประกอบการ ขนส่งและอตุ สาหกรรมโลจิสติกส์ 2) การประชมุ สดุ ยอดผนู้ �ำแผนงานความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ าํ้ โขง ครงั้ ท่ี 5 การประชุมสุดยอดผู้น�ำแผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง 6 ประเทศ ครง้ั ที่ 5 หรอื The Fifth GMS Summit ระหวา่ งวนั ที่ 19-20 ธนั วาคม 2557 ทป่ี ระเทศไทย เป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุมภายใต้หัวข้อ “ความมุ่งมั่นลดความเหล่ือมล�้ำเพ่ือการพัฒนา อย่างย่ังยืนใน GMS” ซึ่งได้มีการร่วมกันให้ความเห็นชอบต่อแผนปฏิบัติการตามกรอบการลงทุน ในภูมิภาคหรือ RIF (Regional Investment Framework) (รัฐบาลไทย, 2559. ออนไลน์) เหล่ารัฐมนตรี GMS ให้ความเห็นชอบต่อการจัดท�ำแผนงาน/โครงการภายใต้ RIF ซึ่งแล้วเสร็จ เรียบร้อยโดยโครงการภายใต้ RIF นั้นประกอบด้วย 10 สาขา 215 แผนงาน มูลค่ารวม 51,500 รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นากำ�ลงั คนอาชวี ศึกษา 26 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ
ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท) ประกอบด้วย โครงการลงทุน 123 โครงการ มูลค่า 51,278 ล้านเหรียญสหรัฐ และโครงการความช่วยเหลือทางวิชาการ 92 โครงการ มูลค่า 222 ล้านเหรียญสหรัฐ ได้แก่ สาขาคมนาคม สาขาพลังงาน สาขาเกษตร สาขา สิ่งแวดล้อม สาขาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สาขาการพัฒนาเมือง สาขาท่องเท่ียว สาขาการอ�ำนวย ความสะดวกทางคมนาคมและการค้า สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสาขา ความร่วมมืออื่นๆ ซ่ึงแผนงานด้านคมนาคมยังคงเป็นส่วนส�ำคัญของกรอบการลงทุน อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มการลงทุนที่สูงข้ึนในสาขาความร่วมมือใหม่ ได้แก่ สาขาการพัฒนาเมืองสาขา ICT และสาขาการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ RIF ในส่วนของประเทศไทยประกอบด้วยโครงการลงทุน และโครงการความช่วยเหลือ ทางวิชาการจ�ำนวน 78 โครงการ มูลค่ารวม 5,475.7 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 177,960 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 10.6 ของโครงการลงทุน RIF ทั้งหมดใน GMS โดย ประเทศไทยมีส่วนร่วมในแผนงานด้านคมนาคมมากท่ีสุด (มูลค่ารวม 4,873.6 ล้านเหรียญ สหรัฐหรือประมาณ 158,392 ล้านบาทหรือกว่าร้อยละ 89 ของโครงการประเทศไทย) โดยมี โครงการส�ำคัญคือโครงการก่อสร้างถนนมอเตอร์เวย์เชื่อมระหว่างบางใหญ่-กาญจนบุรี (เพื่อเชื่อม ท่าเรือแหลมฉบัง-กรุงเทพ-ทวายในอนาคต) มูลค่า 2,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือประมาณ 65,000 ล้านบาท) รองลงมา คือ แผนงานด้านพลังงาน (มูลค่ารวม 281.9 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 9,161.75 ล้านบาท) แผนงานด้านเกษตร (มูลค่ารวม 212.5 ล้านเหรียญสหรัฐ หรอื ประมาณ 6,906.25 ล้านบาท) และแผนงานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (มลู ค่ารวม 71.4 ล้านเหรยี ญสหรฐั หรอื ประมาณ 2,320.5 ลา้ นบาท) ตามล�ำดับ โดยท่ี RIF IP (Regional Investment Framework Implementation Plan) จะมุ่งเน้นการจัดล�ำดับความส�ำคัญของโครงการลงทุนในภูมิภาค เพ่ือให้ได้โครงการในล�ำดับความส�ำคัญสูง (โดยโครงการในล�ำดับความส�ำคัญสูงสุดของไทย คือโครงการก่อสร้างถนนมอเตอร์เวย์เชื่อมระหว่างบางใหญ่-กาญจนบุรี) เพ่ือให้เกิดการระดมทุน และทรัพยากรจากภาคส่วนต่างๆ จากทั้งภาครัฐ เอกชน และหุ้นส่วนการพัฒนาระหว่างประเทศ รวมทั้งได้ระบุถึงการมีระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติท่ีเหมาะสม เพ่ือให้ RIF มีส่วน ส่งเสริมการพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจอย่างแท้จริง ซ่ึงถือเป็นประเด็นส�ำคัญในการพัฒนา ของอนุภมู ิภาคในระยะต่อไป (แสงจนั ทร์ มานอ้ ย, 2558. ออนไลน์) รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลงั คนอาชีวศึกษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 27
4. กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจสามฝา่ ยอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia- Malaysia-Thailand Growth Triangle : IMT-GT) ความเปน็ มา IMT-GT กอ่ ตงั้ ในปี พ.ศ. 2536 จากความเหน็ ชอบรว่ มกนั ของผนู้ �ำ 3 ประเทศ โดยธนาคารพฒั นา เอเชีย (Asian Development Bank - ADB) ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการในการศึกษา ความเป็นไปได้ในการก�ำหนดกรอบความร่วมมือ ขอบเขตด�ำเนินงาน และสาขาความร่วมมือหลัก ความร่วมมือ เป็นการก�ำหนดบทบาทหน้าที่ตามความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบในอนุภูมิภาค การจัดสรรทรัพยากร และปัจจัยการผลิตร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยภาคเอกชนมีบทบาทน�ำ ในการเสนอต่อภาครัฐ เพ่ือการอ�ำนวยความสะดวกทางด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและการปรับปรุง กฎระเบียบ เพ่ือกระตุ้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคพื้นที่ความร่วมมือเม่ือเริ่มก่อตั้ง ประกอบดว้ ย 5 จงั หวัดชายแดนภาคใตข้ องไทย ได้แก่ สงขลา สตลู ปตั ตานี ยะลา และนราธิวาส 4 รัฐของมาเลเซยี ได้แก่ ปนี ัง เกดะห์ เประปะลิส และ 2 จงั หวัด บนเกาะสมุ าตราของอนิ โดนีเซีย ได้แก่ อาเจห์ และสุมาตราเหนือ ในปัจจุบันพื้นที่ความร่วมมือ IMT-GT ได้ขยายพ้ืนท่ีครอบคลุม มากข้ึน โดยมที ้ังสิ้น 592,576 ตารางกโิ ลเมตร ประชากรรวม 69.5 ล้านคน ประกอบดว้ ย 14 จงั หวดั ภาคใตข้ องไทย 10 จังหวดั ของอนิ โดนีเซีย โดยเพ่มิ สมุ าตราตะวนั ตก สมุ าตราใต้ เรียว หมูเ่ กาะเรยี ว จมั บี เบิงกูลู บงั กา-เบลิตงุ และลัมปงุ และ 8 รัฐของมาเลเซีย 8 รัฐโดยเพ่มิ กลนั ตัน สลังงอร์ มะละกา และเนกรเี ซมบลิ นั วัตถุประสงค์หลักของโครงการ IMT-GT 1) เพิม่ ปริมาณการคา้ และการลงทุนในพืน้ ท่เี ขตเศรษฐกิจสามฝา่ ย 2) เพมิ่ ปรมิ าณการสง่ ออกจากพ้ืนทีเ่ ขตเศรษฐกิจสามฝ่ายไปยงั ตลาดท่ัวโลก 3) ปรับปรุงความเป็นอยู่ของประชากรในพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจสามฝ่ายและประชาชนโดย ส่วนรวมของท้ัง 3 ประเทศให้ได้ดียิ่งข้ึน โดยภาคเอกชนเป็นกลไกน�ำการพัฒนาและภาครัฐเป็นฝ่าย สนับสนุนการด�ำเนนิ งาน แนวยทุ ธศาสตร์ IMT-GT Roadmap ยุทธศาสตร์ 1 : ส่งเสริมการค้าและการลงทุนทงั้ Intra IMT-GT และ Inter IMT-GT 1) อ�ำนวยความสะดวกการค้าข้ามแดนและการลงทุน 2) ส่งเสริมดา้ นการค้าและการลงทุน 3) รวบรวมและเผยแพรข่ อ้ มูลทางด้านเศรษฐกจิ และธุรกิจ ยุทธศาสตร์ 2 : สง่ เสรมิ ภาคเกษตรอตุ สาหกรรมเกษตรและการทอ่ งเท่ยี ว 1) การเกษตร ประกอบด้วย ประมง ปศุสัตว์ ปา่ ไม้ และอตุ สาหกรรมการเกษตร 2) การทอ่ งเที่ยว รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลงั คนอาชวี ศึกษา 28 ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ 3 : เสรมิ สร้างความเช่ือมโยงด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพอ่ื บูรณาการพนื้ ที่ IMT-GT 1) เช่ือมโยงการขนสง่ (ถนนทางรถไฟ การขนสง่ ทางทะเล ท่าอากาศยาน) 2) การสอื่ สารโทรคมนาคม 3) พลังงาน ยทุ ธศาสตร์ 4 : ให้ความส�ำคัญต่อประเด็นความร่วมมือท่เี ช่อื มโยงในความรว่ มมอื ทกุ ดา้ น 1) การพฒั นาทรัพยากรมนุษยแ์ ละการเคล่อื นยา้ ยแรงงาน 2) การจดั การด้านสิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ ยทุ ธศาสตร์ 5 : เสรมิ สรา้ งการจดั การดา้ นสถาบนั และกลไกความรว่ มมอื ในพน้ื ท่ี IMT-GT รวมทงั้ ความร่วมมือภาครฐั / ภาคเอกชนการมสี ว่ นร่วมของภาคประชาชน 1) จดั การดา้ นสถาบนั ภายใตก้ รอบ IMT-GT Roadmap 2) ขยายการเข้าไปมสี ว่ นรว่ มภายในกลมุ่ IMT-GT 3) ด�ำเนินงานรว่ มกนั ระหว่างภาครฐั และภาคเอกชน ความรว่ มมอื ปจั จบุ ันความร่วมมือตามโครงการ IMT-GT มที ง้ั สิน้ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) โครงสรา้ งพืน้ ฐานและการขนส่ง (Infrastructure and transportation) 2) การค้าและการลงทนุ (Trade and Investment) 3) การทอ่ งเทยี่ ว (Tourism) 4) การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ (Human Resource Development) 5) การเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร และสิ่งแวดลอ้ ม (Agriculture, Agro-based Industry & Environment) 6) ผลิตภัณฑแ์ ละบริการฮาลาล (Halal Product and Services) สถานการณด์ �ำเนินการล่าสดุ ภายใตค้ ณะท�ำงานสาขาการค้าการลงทุน (Working Group on Trade and Investment: WGTI) โครงการภายใตค้ ณะท�ำงานสาขาการคา้ การลงทนุ (WorkingGrouponTradeandInvestment: WGTI) ภายใต้กรอบ IMT-GT Implementation Blueprint (IB) ปี 2555-2559 มดี ังนี้ 1) เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดนนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ 2555 จ�ำนวน 48.70 ล้านบาท ใน 4 โครงการ ได้แก่ โครงการตลาดกลางการเกษตรจังหวัดนราธิวาสท่ีเมืองย่ีงอ โครงการก่อสร้างท่าเทียบแพขนานยนต์ท่ีอ�ำเภอตากใบ โครงการก่อสร้างศูนย์บริการนักท่องเที่ยว และจุดต่อรถโดยสาร ท่ีอ�ำเภอสุไหงโกลก และโครงการก่อสร้างศูนย์จ�ำหน่ายและกระจายสินค้า ผลติ ภัณฑ์ชุมชน (OTOP) รายงานการวิจัย อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลังคนอาชวี ศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 29
โครงการด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานอนื่ ๆ ที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1) โครงการก่อสร้างสะพานแม่น้ําโก-ลกท่ีตากใบ-เปิงก�ำลังกุโบร์ และโครงการก่อสร้าง สะพานข้ามแม่นํ้าโกลกแห่งที่สองที่สุไหโกลก-รันเตาปันยัง โดยผลจากการประชุมผู้น�ำไทย-มาเลเซีย เห็นชอบให้มีการก่อสร้างสะพานท้ังสองแห่งตามแผนงาน และให้บูรณาการแผนงานพัฒนา เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน 2) โครงการพฒั นาดา่ นบเู กะ๊ ตา เพอื่ สง่ เสรมิ ใหด้ า่ นชายแดนบเู กะ๊ ตามศี กั ยภาพในการพฒั นา ให้เป็นศูนย์โลจิสติกส์และรองรับการคมนาคมขนส่งระหว่างไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์ โดยมีโครงการ การพัฒนาที่ส�ำคัญ ได้แก่ โครงการการก่อสร้างด่านศุลกากรบูเก๊ะตา โครงการพัฒนาด่านชายแดน บเู กะ๊ ตา และปรับปรุงพื้นทช่ี ายแดนรอบด่านบูเก๊ะตา 3) โครงการจดั ตง้ั เขตเศรษฐกิจชายแดนพิเศษจงั หวดั นราธิวาส 2) โครงการปรบั กฎระเบยี บเกยี่ วกบั พธิ กี ารทางศลุ กากรการตรวจคนเขา้ เมอื งและการกกั กนั โรคพชื และสตั ว์ (Simplify and harmonize of CIQ regulations and procedures) โดยปจั จบุ นั อยู่ระหว่างรอความเห็นชอบจากครม. เพ่ือลงนามในบันทึกความตกลงในความร่วมมือด้าน CIQ ระหว่างไทย-มาเลเซีย ซึ่งในส่วนของพิธีการน้ันไม่มีปัญหาเพราะการด�ำเนินการนั้นเป็นไปตามกฎ ของ ASEAN และศลุ กากรโลก แต่จะติดปญั หาในเรอื่ งของพิกัดศลุ กากรทไ่ี ทยและมาเลเซียใชอ้ ยูน่ ้ัน มีความแตกต่างกนั โดยไทยไดป้ รับใชพ้ กิ ัดศุลกากร 2012 แต่ทางมาเลเซยี ยงั ใช้พกิ ัดศลุ กากร 2007 จึงมปี ญั หาในเรอื่ งตัวเลขพิกดั และการออกฟอร์มต่างๆ ซงึ่ ขณะนีท้ างมาเลเซียพยายามเร่งด�ำเนินการ เพือ่ แก้ปญั หาดังกล่าวอยู่ 3)โครงการจดั ท�ำฐานขอ้ มลู ดา้ นการคา้ การลงทนุ และการทอ่ งเทย่ี ว(IMT-GTTrade,Investment and Tourism Database : ITITD) ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมจากประเทศ สมาชกิ เนอ่ื งจากขอ้ มลู ที่มีอยู่ยงั ไม่ครอบคลมุ และเพยี งพอต่อการน�ำไปจัดท�ำรายงาน วิเคราะห์ และ ประเมนิ แนวโน้มทางการคา้ และการลงทนุ ในพ้ืนที่ IMT-GT ได้ 4) โครงการ CIQ Complex Development (จังหวัดนราธิวาสและจังหวัดสงขลา) สรุปความคบื หนา้ ได้ ดงั นี้ 4.1) การพัฒนาโครงการ CIQ Complex ที่ด่านบ้านประกอบ จังหวัดสงขลา ในระยะ ที่ 1 ไดด้ �ำเนนิ การกอ่ สรา้ งไปแลว้ รอ้ ยละ70 และคาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ภายในปี 2556 และการด�ำเนนิ การ ตามโครงการในระยะที่ 2 อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้และออกแบบก่อสร้าง คาดว่าจะเริ่ม ด�ำเนนิ การในปี 2557 4.2) การพัฒนาโครงการ CIQ Complex ที่ด่านสะเดา จังหวัดสงขลา อยู่ระหว่าง การออกแบบรายละเอียดและคาดวา่ จะเร่ิมกอ่ สร้างในปี 2557 รายงานการวิจยั อนาคตภาพของการผลิตและพัฒนากำ�ลังคนอาชวี ศกึ ษา 30 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพฒั นาประเทศ
4.3) การพัฒนาโครงการ CIQ Complex ท่ีอ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส อยู่ระหว่าง การก่อสร้างคาดว่าจะแล้วเสร็จในปลายปีนี้ ส�ำหรับการก่อสร้างสะพานข้ามแม่นํ้าโกลก อยู่ระหว่างการจัดท�ำการศึกษาความเป็นไปได้และออกแบบรายละเอียด ซ่ึงคาดว่าจะเริ่มก่อสร้าง ในปี 2557 4.4) การพัฒนาโครงการ CIQ Complex ที่บูกิตา ด�ำเนินการจัดท�ำการศึกษาความเป็น ไปได้และออกแบบรายละเอียดแล้ว และอยู่ระหว่างการเจรจาในเรื่องงบประมาณในการก่อสร้าง ซึ่งคาดว่าจะเร่ิมด�ำเนินการก่อสร้างได้ในปี 2557 (กลุ่มงาน IMT-GT/มาเลเซีย ส�ำนักความร่วมมือ การค้าและการลงทุนกรมการคา้ ต่างประเทศ, 2559 : ออนไลน์) 5. รา่ งกรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) พระราชบญั ญตั ิการจัดท�ำยุทธศาสตรช์ าติ ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 26 กรกฏาคม พ.ศ. 2560 โดยหมวด 1 มาตรา 5 ก�ำหนด “ให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลัก ธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท�ำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้ เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งจะต้องไม่น้อยกว่าย่ีสิบปี” และในบทเฉพาะกาล (4) “ให้คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ด้านต่าง ๆ จัดท�ำร่างยุทธศาสตร์ชาติเบ้ืองต้นให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยย่ีสิบวันนับแต่วันท่ี ได้รับแต่งตั้ง โดยให้ใช้ร่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ที่คณะกรรมการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2558 จัดท�ำข้ึนมาใช้เป็นหลักในการจัดท�ำ ร่างยุทธศาสตร์ชาติเบื้องต้นดังกล่าว” (ราชกิจจานุเบกษา : ออนไลน์) ซึ่งร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ที่คณะกรรมการจดั ท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดท�ำขนึ้ ก�ำหนดเปา้ หมาย การพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยืนไว้ดังนี้ วิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มงั่ คง่ั ยงั่ ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” หรือเป็นคตพิ จน์ประจ�ำชาติวา่ “มน่ั คง ม่ังคัง่ ย่งั ยืน” ยุทธศาสตรช์ าติ 1) ยุทธศาสตรด์ ้านความมั่นคง 1.1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข 1.2) ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความม่ันคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปชัน สรา้ งความเชือ่ ม่ันในกระบวนการยตุ ิธรรม รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นาก�ำ ลังคนอาชวี ศกึ ษา ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ 31
1.3) การรกั ษาความมน่ั คงภายในและความสงบเรยี บรอ้ ยภายใน ตลอดจนการบรหิ ารจดั การ ความมนั่ คงชายแดนและชายฝ่ังทะเล 1.4) การพฒั นาระบบ กลไก มาตรการ และความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศทกุ ระดบั และรกั ษา ดุลยภาพความสัมพนั ธ์กบั ประเทศมหาอ�ำนาจ เพ่อื ป้องกันและแก้ไขปญั หาความมั่นคงรูปแบบใหม่ 1.5) การพัฒนาเสรมิ สร้างศกั ยภาพ การผนึกก�ำลังป้องกันประเทศ การรกั ษาความสงบ เรียบรอ้ ยภายในประเทศ สรา้ งความรว่ มมือกับประเทศเพ่อื นบ้านและมิตรประเทศ 1.6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษา ความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม 1.7) การปรับกระบวนการท�ำงานของกลไกทเ่ี กยี่ วข้องจากแนวดิง่ ส่แู นวระนาบมากขึน้ 2) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 2.1) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ ส่งเสรมิ การคา้ การลงทุน พัฒนาส่ชู าตกิ ารคา้ 2.2) การพฒั นาภาคการผลติ และบรกิ าร เสรมิ สรา้ งฐานการผลติ เขม้ แขง็ ยงั่ ยนื และสง่ เสรมิ เกษตรกรรายยอ่ ยสเู่ กษตรย่งั ยนื เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 2.3) การพฒั นาผปู้ ระกอบการและเศรษฐกจิ ชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดบั ผลิตภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สู่สากล 2.4) การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และ พัฒนาระบบเมืองศนู ย์กลางความเจริญ 2.5) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านการขนส่ง ความม่ันคงและพลังงาน ระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวจิ ัยและพฒั นา 2.6) การเชื่อมโยงกับภมู ภิ าคและเศรษฐกจิ โลก สรา้ งความเป็นหุน้ สว่ นการพัฒนากบั นานา ประเทศ สง่ เสรมิ ใหไ้ ทยเปน็ ฐานของการประกอบธรุ กจิ 3) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3.1) พัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต 3.2) การยกระดบั การศึกษาและการเรียนรใู้ ห้มีคุณภาพเท่าเทียมและทว่ั ถึง 3.3) ปลูกฝงั ระเบียบวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ 3.4) การสร้างเสรมิ ให้คนมสี ขุ ภาวะท่ดี ี 3.5) การสร้างความอยดู่ ีมีสขุ ของครอบครัวไทย 4) ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกันทางสงั คม 4.1) สร้างความมนั่ คงและการลดความเหลอ่ื มลำ้� ทางเศรษฐกิจและสงั คม 4.2) พฒั นาระบบบริการและระบบบรหิ ารจดั การสขุ ภาพ 4.3) มสี ภาพแวดล้อมและนวัตกรรมทเ่ี อือ้ ต่อการด�ำรงชีวิตในสงั คมสงู วยั 4.4) สร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของ ชมุ ชน รายงานการวิจยั อนาคตภาพของการผลติ และพฒั นาก�ำ ลังคนอาชีวศึกษา 32 ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทิศทางการพัฒนาประเทศ
4.5) พัฒนาการสอื่ สารมวลชนให้เปน็ กลไกในการสนับสนุนการพัฒนา 5) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม 5.1) จัดระบบอนรุ ักษ์ ฟนื้ ฟู และปอ้ งกนั การท�ำลายทรพั ยากรธรรมชาติ 5.2) วางระบบบรหิ ารจดั การนา้ํ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพทง้ั 25 ลมุ่ นา้ํ เนน้ การปรบั ระบบการบรหิ าร จัดการอุทกภยั อยา่ งบูรณาการ 5.3) การพัฒนาและใชพ้ ลงั งานทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม 5.4) การพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศและเมืองทีเ่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม 5.5) การรว่ มลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พรอ้ มกบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 5.6) การใชเ้ คร่อื งมอื ทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลงั เพ่ือสงิ่ แวดล้อม 6) ยุทธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1) การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกจิ ของหน่วยงานภาครัฐ ให้มีขนาดทเี่ หมาะสม 6.2) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบรู ณาการ 6.3) การพัฒนาระบบบริหารจัดการก�ำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 6.4) การต่อตา้ นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ 6.5) การปรับปรุงกฎหมายและระเบยี บต่าง ๆ ให้ทนั สมยั เปน็ ธรรมและเป็นสากล 6.6) พฒั นาระบบการให้บรกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครฐั 6.7) ปรบั ปรงุ การบริหารจดั การรายได้และรายจา่ ยของภาครัฐ 6. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเทศไทย จะยังคงประสบสภาวะแวดล้อมและบริบทของการเปล่ียนแปลงต่างๆ ท่ีอาจก่อให้เกิดความเส่ียง ทง้ั จากภายในและภายนอกประเทศ อาทิ กระแสการเปดิ เศรษฐกจิ เสรี ความทา้ ทายของเทคโนโลยใี หมๆ่ การเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ การเกดิ ภยั ธรรมชาตทิ รี่ นุ แรง ประกอบกบั สภาวการณด์ า้ นตา่ งๆ ทง้ั เศรษฐกจิ สังคม ทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และการขนส่ง ของประเทศในปจั จุบันท่ียังคงประสบปญั หา ในหลายด้าน เช่น ปัญหาผลิตภาพการผลิต ความสามารถในการแข่งขัน คุณภาพการศึกษา ความเหล่ือมล้ําทางสังคม เป็นต้น ทำ�ให้การพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 จึงจำ�เป็นต้อง ยึดกรอบแนวคิดและหลกั การในการวางแผนท่สี ำ�คัญดังนี้ กรอบวิสัยทศั นแ์ ผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 จากสถานะของประเทศและบริบทการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีประเทศก�ำลังประสบอยู่ท�ำให้ การก�ำหนดวสิ ยั ทศั นแ์ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ยงั คงมคี วามตอ่ เนอ่ื งจากวสิ ยั ทศั นแ์ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 11 และกรอบหลักการของการวางแผนท่ีน้อมน�ำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในขณะที่การก�ำหนดเป้าหมายและตัวช้ีวัดในด้านต่างๆ ของแผนพัฒนาฯ ได้ยึดเป้าหมายอนาคต รายงานการวจิ ยั อนาคตภาพของการผลิตและพฒั นากำ�ลังคนอาชีวศกึ ษา ตามความต้องการของตลาดแรงงานและทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 33
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176