กจิ กรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 ประชากรกับการเมอื งการปกครองจังหวัดนครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปน้ที ุกขอ้ 1. ใหเ้ ขียนประวตั ิของบุคคลสำ� คญั จังหวดั นครศรธี รรมราช ท่มี ีผลงานเปน็ ทปี่ รากฏตอ่ สงั คม ชุมชน และทอ้ งถิ่น มาพอสังเขป จ�ำนวน 5 คน และศกึ ษาเพิม่ เตมิ จดั ท�ำเปน็ รายงานให้ครบจ�ำนวน 3 คน ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… 2. ให้อธบิ ายการปกครองสว่ นภูมภิ าคจงั หวดั นครศรีธรรมราช มาพอสังเขป ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………..……………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… 3. ให้อธบิ ายการปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นจงั หวดั นครศรีธรรมราช มาพอสังเขป ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………..……………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… ……..……………………………………………………………………………………………..……………………….……………………………… 92 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 8การจดั การศกึ ษาจังหวัดนครศรธี รรมราช การจดั การศกึ ษาจงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ประวตั คิ วามเปน็ มาของการจดั การศกึ ษา หน่วยงานการศึกษาและสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยจังหวัดนครศรีธรรมราช มกี ารจดั การศกึ ษาในระบบและนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั ดา้ นความรู้คณุ ธรรม กระบวนการ เรยี นรู้ และบรู ณาการตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทและเออ้ื ตอ่ ความตอ้ งการ ของผเู้ รยี น เรอ่ื งที่ 1 ความเปน็ มาของการศึกษาในจังหวดั นครศรีธรรมราช ความเปน็ มาของการศกึ ษาในจังหวัดนครศรีธรรมราช เม่อื พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ เวลาท่ีประทับแรม อยู่ท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช พระมหาม่วงได้เข้าเฝ้า หลายคร้ัง ทรงไต่ถามถึงการพระพุทธศาสนาในจังหวัดนี้ ท่านได้ชี้แจงเป็นที่ชอบ พระอัธยาศัย ทรงเห็นว่า เปน็ ผูท้ รงธรรมวินยั อันนา่ เล่ือมใสหลายประการ และทราบว่าเปน็ สหชาติ (ผเู้ กดิ ในวัน เดือน ปีเดียวกบั พระองค)์ จึงทรงต้ังให้เป็นพระราชาคณะ มีราชทินนามว่า พระศิริธรรมมุนี ใน พ.ศ. 2442 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้เป็นผู้อ�ำนวยการศึกษา เป็นเจ้าคณะมณฑลนครศรีธรรมราช ตลอดไปจนถึงปัตตานีด้วย ได้จัดต้ังคณะสงฆ์ การศึกษาและการศาสนา จึงเกิดผลสมพระราชประสงค์ ดังปรากฏในรายงาน การศึกษา ร.ศ. 119 ลงวันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 จ�ำนวนโรงเรยี น ซึง่ ทา่ นไดต้ ้ังทั้งหมด 21 แหง่ โดยโรงเรยี นหลวงหลังแรกตงั้ อย่ทู ี่วัดทา่ โพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีชื่อว่า “สุขุมภิบาลวิทยา” ท้ังนี้เพ่ือให้สอดคล้องกับผู้อุปถัมภ์โรงเรียน คือ พระยาสุขุมนัยวินิต (ปั้น สุขุม) สมุหเทศาภิบาลมณฑลนครศรีธรรมราชในสมัยนั้น นับเป็นโรงเรียนหลวงแห่งแรก ของจงั หวัดนครศรธี รรมราช และภาคใต้ ในปีการศึกษา 2447 ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชก็เร่ิมให้ความสนใจ ส่งบุตรหลานเข้าเรียนมากข้ึน พระศิริธรรมมุนี (ม่วง รัตนธโช) จึงได้สร้างอาคารเรียนเพ่ิมเติมข้ึนอีก 1 หลัง และได้เปล่ียนชื่อโรงเรียนมาเป็น “ศรีธรรมราช” โดยประสงค์ให้เป็นโรงเรียนประจ�ำจังหวัดนครศรีธรรมราช และโอนกิจการให้กรรมการ การด�ำเนินการเรียนการสอนก็เปล่ียนไปตามแบบกรมศึกษาธิการ ขยายเวลาเรียนออกเป็น 5 ปี ตั้งแต่ชั้นมูลฐาน จนถงึ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 และยงั ไดเ้ ปดิ แผนกฝกึ หดั ครขู นึ้ ในโรงเรยี นอกี ดว้ ย ดา้ นการเรยี นการสอน เรมิ่ เปดิ สอนในระดบั ประถมศึกษาก่อน แลว้ จึงขยายชนั้ เรยี นถึงระดับมัธยมศกึ ษา คร้นั เม่ือจำ� นวนนักเรียนเพิม่ ข้ึน จึงย้ายแผนกประถม ไปเรียน ณ วัดท่ามอญ หรือวัดศรีทวีในปัจจุบัน นอกจากแผนกประถม และมัธยมศึกษา ทางโรงเรียนยังเปิดสอน แผนกฝึกหดั ครู ซงึ่ เรียกในสมยั น้นั ว่า โรงเรียนฝึกหดั ครมู ณฑล และมีโรงเรยี นช่างถมอีกแผนกหนง่ึ ดว้ ย จึงเป็นเหตุ ให้สถานที่เรียนไม่พอ ทางโรงเรียนแก้ปัญหาโดยให้นักเรียนมัธยมปีที่ 1 ไปเรียน ท่ีวัดศรีทวี และวัดจันทาราม พ.ศ. 2468 แผนกฝึกหัดครู ยกเลิกไป ส่วนโรงเรียนช่างถมแยกออกไป เป็นโรงเรียนศิลปหัตถกรรม หรือวิทยาลัย ศลิ ปหัตถกรรมนครศรธี รรมราช ในปจั จุบัน ปี พ.ศ. 2456 พระธรรมโกษาจารย์ (ม่วง รัตนธโช) ไดส้ รา้ งตกึ ชั้นเดยี วใหเ้ ป็นสถานที่เรียน ณ บริเวณ กำ� แพงวดั ทา่ โพธทิ์ างดา้ นทศิ ใต้ และไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื โรงเรยี นเปน็ “เบญจมราชทู ศิ ” อนั เปน็ มงคลนาม ทไี่ ดร้ บั พระราชทาน เอกสารประกอบการเรยี น 93 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว อันมีความหมายว่า “อุทิศถวายเป็นพระราชกุศลแด่รัชกาลท่ี 5” เพื่อเป็นการน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณและอุทิศส่วนกุศลในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ. 2476 ด้วยเหตุที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ซ่ึงตั้งอยู่ในวัดท่าโพธ์ิ มีเน้ือท่ีคับแคบ ไม่อาจขยายเน้ือท่ี เพื่อสร้างอาคารใหม่เพ่ิมเติมได้ จึงได้ย้ายไปปลูกสร้างยังบริเวณวัดพระสูง บนเน้ือที่ 8 ไร่ และแล้วเสร็จเม่ือปี พ.ศ. 2479 ในปี พ.ศ. 2490 เปิดสอนระดับเตรียมอุดมศึกษา มีท้ังแผนกวิทยาศาสตร์ แผนกอักษรศาสตร์ แตใ่ นปี พ.ศ. 2504 ได้ยา้ ยแผนกอักษรศาสตรไ์ ปเรยี นท่ีโรงเรยี นกลั ยาณศี รีธรรมราช ปี พ.ศ. 2507 โรงเรียนเปดิ รับ สมัครนกั เรียนช้นั ม.ศ.1 แทนการรับเข้าเรียนในชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 อยา่ งเดิม ปี พ.ศ.2514 โรงเรียนได้เข้าโครงการโรงเรียนมัธยมแบบประสมและได้จัดซื้อท่ีดินบริเวณ หมู่ที่ 3 ต�ำบลโพธเ์ิ สด็จ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช ได้งบประมาณกอ่ สร้างประมาณ 30 ล้านบาท และได้ย้ายมา ทเ่ี รียนใหมใ่ นปี พ.ศ. 2519 ในปี พ.ศ. 2523 โรงเรยี นไดจ้ ดั สรา้ งรปู หลอ่ พระรตั นธชั มนุ ี (มว่ ง รตั นธโช) ผใู้ หก้ ำ� เนดิ โรงเรยี น และอญั เชญิ จากวิหารหลวงวัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ซ่งึ เป็นสถานทหี่ ล่อมาประดษิ ฐานไว้ ณ ศาลาหน้าอาคาร 1 วันท่ี 22 กันยายน พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามบรมราชกุมาร เสด็จแทนพระองค์ทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปดิ หอสมุดเฉลิมพระเกยี รติสมเด็จสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง เรื่องท่ี 2 การจดั การศกึ ษาในจงั หวัดนครศรธี รรมราช ระบบการศึกษา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีการจัดการศึกษาสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีก�ำหนดจุดมุ่งหมาย วธิ กี ารศกึ ษาหลกั สตู รระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผล ซง่ึ เปน็ เงอ่ื นไขของการสำ� เรจ็ การศกึ ษาทแี่ นน่ อน 2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการก�ำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการ จัดการศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผล ซงึ่ เปน็ เงอื่ นไขสำ� คญั ของการสำ� เรจ็ การศกึ ษา โดยเนอื้ หาและหลกั สตู ร จะตอ้ งมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการของบคุ คลแตล่ ะกลมุ่ 3) การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เปน็ การศกึ ษาทใี่ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพรอ้ ม และโอกาส โดยศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื หรือแหล่งความร้อู ่ืน ๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงหรือท้ังสามรูปแบบก็ได้ ให้มีการเทียบโอน ผลการเรียนท่ีผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษา เดยี วกนั หรอื ไมก่ ต็ าม รวมทงั้ จากการเรยี นรนู้ อกระบบ ตามอธั ยาศยั การฝกึ อาชพี หรอื จากประสบการณก์ ารทำ� งาน การศึกษาในระบบมี 2 ระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบด้วย การจัดการศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งระดับ และประเภทการจัดการศกึ ษา ออกเป็น 3 ระดบั ดังน้ี 1) การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา โดยปกติเป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กอายุสามปีถึงหกปี เพอ่ื เปน็ การวางรากฐานชวี ติ และการเตรียมความพรอ้ มของเดก็ ทงั้ ร่างกายและจติ ใจ สตปิ ญั ญา อารมณ์ บคุ ลิกภาพ และการอยู่รว่ มในสังคม 94 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
2) การศึกษาระดับประถมศึกษา เป็นการศึกษาที่มุ่งวางรากฐานเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ ท้ังในดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความร้แู ละความสามารถขน้ั พื้นฐานโดยปกติใช้เวลาเรยี นหกปี 3) การศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษา แบง่ เป็นสองระดับ ดงั นี้ (ก) การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ในด้านต่าง ๆ ต่อจากระดบั ประถมศกึ ษา เพอ่ื ใหร้ ้คู วามต้องการ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง ท้ังในด้านวิชาการและวิชาชีพ ตลอดจนความสามารถในการประกอบการงาน และอาชีพตามควรแก่วัย โดยปกติ ใชเ้ วลาเรียนสามปี (ข) การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เปน็ การศกึ ษาทมี่ ่งุ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาตามความ ถนดั และความสนใจ เพอื่ เปน็ พน้ื ฐานสำ� หรบั การศกึ ษาตอ่ หรอื การประกอบอาชพี รวมทง้ั การพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และทักษะทางสงั คมที่จ�ำเป็น โดยปกติใชเ้ วลาเรียนสามปี การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย แบง่ เปน็ สองประเภท ดงั นี้ 1. ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามความถนัดความสนใจ ศักยภาพ และความสามารถพเิ ศษเฉพาะดา้ น เพอ่ื เป็นพ้ืนฐานส�ำหรับการศึกษาต่อในระดับอุดมศกึ ษา 2. ประเภทอาชวี ศกึ ษา เปน็ การจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาความรแู้ ละทกั ษะในการประกอบอาชพี ใหเ้ ปน็ ก�ำลังแรงงานท่ีมฝี ีมอื หรือศึกษาตอ่ ในระดับอาชพี ข้ันสงู ตอ่ ไป การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษานอก ระบบใหแ้ บง่ ออกเปน็ สองระดับ ดงั นี้ 1. การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน แบ่งออกเปน็ สามระดบั คือ (ก) การศกึ ษาระดับก่อนประถมศกึ ษา (ข) การศึกษาระดับประถมศึกษา (ค) การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ สองระดบั คอื การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และการศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยแบง่ ออกเป็นประเภทสามญั ศกึ ษา และประเภทอาชวี ศึกษา 2. การศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ สองระดับ คือ (ก) การศึกษาระดับต�ำ่ กว่าปรญิ ญา (ข) การศึกษาระดบั ปริญญา การศกึ ษาภาคบงั คบั จำ� นวนเกา้ ปี โดยใหเ้ ดก็ ซง่ึ มอี ายยุ า่ งเขา้ ปที เ่ี จด็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา ขนั้ พนื้ ฐาน จนอายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีท่ีเก้าของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้ เป็นไปตามทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาปฐมวยั และการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จดั ในสถานศึกษาดังตอ่ ไปน้ี 1. สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ได้แก่ ศนู ย์เด็กเล็ก ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ศนู ย์พฒั นาเด็กกอ่ นเกณฑ์ ของสถาบนั ศาสนา ศนู ยบ์ รกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ ของเดก็ พกิ ารและเดก็ ซง่ึ มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ หรอื สถานพฒั นา เดก็ ปฐมวยั ทเี่ รยี กชื่ออย่างอ่ืน 2. โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนท่ีสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรอื ศาสนาอืน่ 3. ศนู ยก์ ารเรียน ไดแ้ ก่ สถานท่ีเรยี นท่ีหนว่ ยงานจดั การศกึ ษานอกโรงเรียนบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ เอกสารประกอบการเรียน 95 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
โรงพยาบาล สถาบนั ทางการแพทย์ สถานสงเคราะหแ์ ละสถาบันสงั คมอนื่ เปน็ ผ้จู ดั การจดั การศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา ให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยาลัย หรือหน่วยงานท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน ท้ังนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายเก่ียวกับ สถานศึกษาระดบั อุดมศึกษา กฎหมายวา่ ด้วยการจดั ตัง้ สถานศึกษานน้ั ๆ และกฎหมายท่เี กีย่ วข้อง การจัดการอาชีวศกึ ษา การฝึกอบรมวชิ าชีพ ให้จดั ในสถานศกึ ษาของรฐั สถานศกึ ษาของเอกชน สถาน ประกอบการ หรอื โดยความรว่ มมอื ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั สถานประกอบการ ทงั้ นใ้ี หเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการ อาชวี ศึกษาและกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ ง เรอ่ื งที่ 3 หนว่ ยงานการศึกษาและสถานศึกษาท่จี ัดการศกึ ษา หนว่ ยงานการศกึ ษาและสถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษาทงั้ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ หนว่ ยงานการศกึ ษาสงั กดั สำ� นกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หน่วยงานการศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หน่วยงานการศึกษาสังกัดส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยงานการศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช หน่วยงานการศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) หน่วยงานการศึกษาสังกัดเทศบาล หน่วยงานการศึกษาสังกัดอาชีวศึกษา (รัฐบาล) หน่วยงานการศึกษาสังกัด อาชีวศึกษา (เอกชน) หน่วยงานการศึกษาสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หน่วยงานการศึกษาสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม หน่วยงานการศึกษาสังกัดส�ำนักบริหาร งานการศกึ ษาพเิ ศษ มสี ถานศกึ ษาในสงั กดั หนว่ ยงานการศกึ ษาสงั กดั มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแหง่ ชาติ สงั กดั กองกำ� กบั การตำ� รวจตระเวนชายแดนที่ 42 มรี ายละเอียดดงั น้ี หนว่ ยงานการศึกษาและสถานศกึ ษาทจี่ ัดการศึกษาทัง้ 3 ระดบั ดงั น้ี 1. สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประกอบด้วย 1.1 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 มีสถานศึกษาในสังกัด จำ� นวน 110 โรงเรยี นประกอบด้วย 4 อ�ำเภอ คือ 1) อ�ำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ 2) อ�ำเภอพระพรหม 3) อำ� เภอเมือง 4) อ�ำเภอลานสกา 1.2 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 มีสถานศึกษาในสังกัด จำ� นวน 189 โรงเรียนประกอบด้วย 8 อำ� เภอ คือ 1) อำ� เภอทุ่งสง 2) อำ� เภอท่งุ ใหญ่ 3) อ�ำเภอฉวาง 4) อ�ำเภอถา้ํ พรรณรา 5) อำ� เภอนาบอน 6) อ�ำเภอบางขนั 7) อ�ำเภอพิปนู 8) อ�ำเภอชา้ งกลาง 96 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
1.3 ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 3 มีสถานศึกษา ในสงั กัด จ�ำนวน 240 โรงเรยี น ประกอบดว้ ย 6 อำ� เภอ คือ 1) อำ� เภอจุฬาภรณ์ 2) อ�ำเภอชะอวด 3) อ�ำเภอเชียรใหญ่ 4) อ�ำเภอปากพนงั 5) อ�ำเภอรอ่ นพิบลู ย์ 6) อำ� เภอหัวไทร 1.4 ส�ำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 มสี ถานศึกษาในสังกดั จ�ำนวน 140 โรงเรียนประกอบด้วย 5 อำ� เภอ คือ 1) อำ� เภอขนอม 2) อำ� เภอทา่ ศาลา 3) อ�ำเภอนบพติ ำ� 4) อำ� เภอพรหมคีรี 5) อ�ำเภอสิชล 1.5 ส�ำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 12 มสี ถานศกึ ษาในสงั กดั จำ� นวน 71 โรงเรียน ซึง่ ครอบคลมุ ทั้ง 23 อ�ำเภอ 2. สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ประกอบด้วย ส�ำนักงานศึกษาธิการ จงั หวดั นครศรธี รรมราช มีสถานศึกษาเอกชนในสงั กัด จำ� นวน 139 โรงเรียน ซึ่งครอบคลุมทง้ั 23 อ�ำเภอ 3. สงั กดั ส�ำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สำ� นักงานปลดั กระทรวง ศึกษาธกิ าร จ�ำนวน 24 แหง่ ประกอบด้วย 1) สำ� นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั นครศรีธรรมราช 2) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำ� เภอ จำ� นวน 23 สถานศึกษา 4. สังกดั องค์การบริหารส่วนจงั หวัดนครศรธี รรมราช มสี ถานศึกษาในสงั กัด จ�ำนวน 5 โรงเรียน 5. สังกัดเทศบาล มีสถานศกึ ษาในสงั กัด จำ� นวน 42 โรงเรียน 6. สังกดั องค์การบริหารสว่ นต�ำบล (อบต.) มสี ถานศกึ ษาในสังกดั จำ� นวน 399 โรงเรียน 7. สังกดั อาชีวศกึ ษา (รฐั บาล) มสี ถานศึกษาในสงั กัด จ�ำนวน 11 โรงเรยี น 1) วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช 2) วทิ ยาลยั ศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช 3) วิทยาลยั เทคนิคนครศรีธรรมราช 4) วิทยาลยั เทคนิคท่งุ สง 5) วทิ ยาลยั เทคนิคสิชล 6) วิทยาลยั การอาชพี นครศรธี รรมราช เอกสารประกอบการเรยี น 97 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
7) วทิ ยาลัยการอาชีพหัวไทร 8) วทิ ยาลยั การอาชพี พรหมคีรี 9) วิทยาลยั สารพัดชา่ งนครศรีธรรมราช 10) วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและอตุ สาหกรรมการต่อเรือนครศรีธรรมราช 11) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีนครศรีธรรมราช 8. สงั กดั อาชวี ศกึ ษา (เอกชน) มสี ถานศึกษาในสงั กัด จำ� นวน 14 โรงเรยี น 1) วทิ ยาลยั เทคโนโลยธี รุ กจิ บัณฑิต 2) วทิ ยาลยั เทคโนโลยที ักษิณอาชีวศกึ ษา 3) วทิ ยาลยั เทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ 4) วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษานครพณิชยการ 5) วิทยาลัยเทคโนโลยีสถาปตั ยน์ คร 6) วิทยาลยั เทคโนโลยีจรัสพิชากร 7) วิทยาลยั เทคโนโลยภี าคใต้ (เอส.เทค.) 8) วิทยาลยั เทคโนโลยีรัชตภ์ าคย์ 9) วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาวีรศลิ ปิน 10) วิทยาลยั อาชวี ศึกษาพณิชยการศักดศิ ลิ ปนิ 11) โรงเรยี นพณชิ ยการทุง่ สง (ท.ี ซี.ซี.) 12) โรงเรียนประทีปศาสน์พณิชยการ 13) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาปากพนงั 14) วทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ณิชยการสิชล 9. สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม มีสถานศึกษาในสังกัด จำ� นวน 5 แหง่ 1) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชัย วทิ ยาเขตตรงั 2) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั วิทยาเขตนครศรธี รรมราช 3) มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 4) มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช 5) มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ 10. สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ไดแ้ ก่ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนนี ครศรธี รรมราช 11. สงั กัดสถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม มสี ถานศกึ ษาในสงั กัด จ�ำนวน 2 แห่ง 1) วทิ ยาลยั นาฏศิลป์นครศรีธรรมราช 2) วทิ ยาลยั ช่างศิลปะนครศรธี รรมราช 12. สงั กดั ส�ำนกั งานพระพุทธศาสนาจงั หวัดนครศรีธรรมราช มสี ถานศึกษาในสังกดั จำ� นวน 5 แหง่ 1) พระบรมธาตุพิทักษ์วิทยา 2) พระปรยิ ตั ธิ รรมวัดขนาน 3) พระปริยัตธิ รรมวดั ไตรวทิ ยาราม 4) พระปรยิ ัตธิ รรมวัดมะนาวหวาน 5) พระปรยิ ัติธรรมสามัญศึกษาวดั สระเรียง 98 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
13. สังกัดส�ำนักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ มสี ถานศึกษาในสังกัด จำ� นวน 5 แห่ง 1) ศูนย์การศึกษาพเิ ศษจังหวดั นครศรีธรรมราช 2) โรงเรียนนครศรธี รรมราชปัญญานกุ ูล จังหวัดนครศรีธรรมราช 3) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 19 จังหวดั นครศรีธรรมราช 4) โรงเรยี นสำ� หรบั คนพกิ ารทางด้านรา่ งกายและการเคล่อื นไหวของจังหวัดนครศรธี รรมราช 5) โรงเรยี นโสตศกึ ษาจังหวดั นครศรีธรรมราช 14. สงั กดั มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห่งชาติ ได้แก่ โรงเรยี นกีฬาจงั หวัดนครศรีธรรมราช 15. สังกัดกองก�ำกับการต�ำรวจ ตระเวนชายแดนท่ี 42 มีสถานศึกษาในลังกดั จำ� นวน 3 โรงเรยี น 1) บา้ นเขาจงั 2) ศกร.ตชด.บ้านหลังอา้ ยหมี 3) ศกร.ตชด.บา้ นหว้ ยตง เอกสารประกอบการเรยี น 99 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
กิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 8 การจัดการศกึ ษาจังหวัดนครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ที ุกข้อ 1. ใหอ้ ธิบายความเปน็ มาของการศกึ ษาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช พอสงั เขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหอ้ ธบิ ายการจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานในจงั หวดั นครศรธี รรมราชซง่ึ สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั ประกอบไปด้วยอะไรบา้ ง อธิบายแต่ละระดับพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 100 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
9หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ศาสนาจงั หวดั นครศรธี รรมราช ศาสนาจงั หวดั นครศรธี รรมราช ประกอบดว้ ยประวตั ทิ างศาสนาในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ศาสนา ท่ีชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่นับถือและความเชื่อทางศาสนาและพิธีกรรมอ่ืน ๆ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศาสนาต่าง ๆ ที่ชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่นับถือ ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ลักษณะส�ำคัญที่ศาสนิกชนพึงปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมเม่ือต้องเข้าร่วมใน ศาสนพิธีอย่างมีมารยาท การปฏิบัติตน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งในการเขา้ รว่ มพธิ กี รรมและกจิ กรรมในวนั สำ� คญั ทางศาสนาตามทกี่ ำ� หนด เรื่องท่ี 1 ประวัตทิ างศาสนาในจงั หวัดนครศรีธรรมราช ศาสนาทุกศาสนาล้วนมีจุดมุ่งหมายในการจัดระเบียบสังคมมนุษย์ เพ่ือให้อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ เกิดประโยชน์ท้ังส่วนตนและส่วนรวมเปรียบเสมือนธรรมนูญแห่งชีวิต และอยู่ในวิถีชีวิตของมนุษย์ทุกคนโดยท่ัวไป ด้วยเหตุน้ีทุกศาสนาย่อมวางหลักศาสนาไว้ให้ปฏิบัติตาม รวมท้ังชี้ให้เป็นประโยชน์และโทษแห่งการปฏิบัติตาม หรือฝ่าฝืนหลักศาสนาน้ัน ๆ ไว้แล้วต้ังแต่โบราณกาล ในการนี้ค�ำขวัญจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ให้ความส�ำคัญ กับศาสนาเปน็ อย่างมาก ดังคำ� ขวัญประจำ� เมอื ง ดังนี้ เราชาวนครฯ อยู่เมอื งพระ มัน่ อยู่ในสัจจะ ศีลธรรม กอปรกรรมดี มีมานะ พากเพียร ไม่เบียดเบยี น ท�ำอันตรายผูใ้ ด ศาสนาเปน็ สงิ่ ทส่ี ำ� คญั มาก ไมว่ า่ ศาสนาใด ๆ กต็ าม ลว้ นแตม่ ลี กั ษณะสำ� คญั ทเ่ี หมอื นกนั คอื สอนใหท้ กุ คน เป็นคนดี อยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข อีกท้ังยังเป็นท่ียึดเหน่ียวทางจิตใจ และมีหลักในการด�ำเนินชีวิตท่ีถูกต้อง และปลอดภัย ดงั นน้ั ศาสนาจงึ เปน็ เรอ่ื งท่ีเกยี่ วขอ้ งกับชีวิตของมนุษย์ทุกคน ไม่ว่ามนษุ ยจ์ ะเจริญหรอื ล้าหลังกต็ าม กย็ อ่ มมศี าสนาประจำ� บา้ นเมอื งประจำ� หมคู่ ณะหรอื อยา่ งนอ้ ยกป็ ระจำ� ตระกลู หรอื ครอบครวั ความสำ� คญั ของศาสนา มดี งั นี้ 1. ศาสนาเป็นเคร่ืองสั่งสอนให้มนุษย์ประพฤติปฏิบัติในทางท่ีถูกต้องดีงาม เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สงั คม และประเทศชาติ 2. ศาสนาเป็นบ่อเกดิ แห่งศลี ธรรมจรรยาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ชอบ อันเปน็ เคร่อื งประกอบให้ เกดิ ความสมัครสมานสามคั คี มีเอกลกั ษณ์ อารยธรรม และวฒั นธรรมอันดีงาม เปน็ ของตนเอง 3. ศาสนาเป็นเคร่ืองบ�ำบดั ทกุ ขแ์ ละบ�ำรงุ สขุ ให้แก่มนษุ ย์ ทงั้ ทางด้านร่างกายและจติ ใจ 4. ศาสนาเปรียบเสมือนดวงประทีปโคมไฟที่ให้ความสว่างไสวแก่เส้นทางการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ผู้ อาศยั อยใู่ นโลก 5. ศาสนาช่วยท�ำให้ชีวติ ครอบครวั อบอนุ่ เป็นแหลง่ ผลิตทรัพยากรมนุษยท์ มี่ ีคุณค่าใหแ้ กส่ งั คม 6. ศาสนาเป็นพลงั ใจใหม้ นุษยส์ ามารถเผชญิ ชีวิตดว้ ยความกล้าหาญ ไม่หว่ันไหวตอ่ ปัญหาและอุปสรรค ท�ำใหม้ คี วามสงบสขุ และผาสกุ ในชวี ติ เอกสารประกอบการเรียน 101 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
7. ศาสนาช่วยยกระดับจิตใจ ท�ำให้เป็นผู้ควรแก่การเคารพนับถือ อีกท้ังยังช่วยสร้างจิตส�ำนึกในคุณค่า ของความเปน็ มนุษย์ให้กับคนในสงั คมอีกดว้ ย 8. ศาสนาชว่ ยสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธอ์ นั ดตี อ่ กนั ชว่ ยขจดั ชอ่ งวา่ งทางสงั คม สรา้ งความไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั ให้เกิดข้ึน เป็นรากฐานแห่งความสามัคคี การร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชน และสร้างความสงบสุขความม่ันคง ให้แกช่ ุมขน 9. ศาสนาช่วยให้มนุษย์ได้ประสบความสุขสงบและสันติสุขขึ้นสูง จนกระท่ังบรรลุถึงเป้าหมายสูงสุด ของชีวิต คอื หมดทุกข์โดยสน้ิ เชงิ ได้ 10. ศาสนาเป็นมรดกลํ้าค่าแห่งมนุษยชาติ เป็นความหวังและวิถีทางสุดท้ายแห่งความอยู่รอดของ มวลมนษุ ยชาติ จากคำ� ขวญั ประจำ� เมอื งนครศรธี รรมราชสถานศกึ ษาสามารถนำ� มาสกู่ ารปฏบิ ตั แิ ละยกยอ่ งผเู้ รยี นทปี่ ฏบิ ตั ิ ตนไดด้ ีและเหมาะสม เชน่ เราชาวนครฯ อยเู่ มอื งพระ ผเู้ รยี นทนี่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธสามารถสวดมนต์ หรอื ทำ� กจิ วตั รอนื่ ๆ ทางพทุ ธศาสนา ไดด้ ีและเหมาะสม คดั เลอื กและมอบเกยี รตบิ ัตรเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ มั่นอยู่โนสจั จะ ศีลธรรม ผู้เรียนที่นับถอื ทกุ ศาสนาท่ีปฏบิ ัติตน มีสัจจะ ได้แก่ มีความซ่อื สัตย์ ทั้งทางกาย วาจา และใจ คดั เลือกและมอบเกยี รตบิ ตั รเพือ่ ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติ กอปรกรรมดี มีมานะ พากเพียร ผู้เรียนที่นับถือทุกศาสนาท่ีปฏิบัติตนเป็นคนดีของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ เปน็ พลเมอื งดขี องสงั คม มคี วามขยนั พากเพยี รจนประสบความสำ� เรจ็ ดา้ นใดกไ็ ดท้ โี่ ดดเดน่ คดั เลอื ก และมอบเกียรติบัตรเพือ่ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ ไม่เบียดเบียนท�ำอันตรายผู้ใด ผู้เรียนที่นับถือทุกศาสนาที่ไม่ประพฤติช่ัว ไม่ท�ำลายผู้อ่ืน มุ่งท�ำความดี เจริญด้วยศักด์ิศรี ตั้งจิตผ่องใส ผูกไมตรี มีมารยาทต่อทุกคน คัดเลือกและมอบเกียรติบัตรเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ สถานศกึ ษาทกุ แหง่ สามารถทำ� ปา้ ยคำ� ขวญั ประจำ� เมอื งนครศรธี รรมราช ไวใ้ นบรเิ วณสถานศกึ ษาเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ หน็ ทุกวนั และเป็นแรงจูงใจในการประพฤติปฏบิ ัตติ นตามคำ� ขวัญดังกล่าว ประวัติทางศาสนาในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ประวัติของเมอื งนครศรีธรรมราช จากการขดุ ค้นและโบราณสถานโบราณวตั ถุต่าง ๆ สามารถย้อนไปได้ ถึงสมัยก่อนประวัติศาสตร์นับพัน ๆ ปี จนกระทั่งเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์ที่มีหลักฐานบันทึกปรากฏช่ือเป็นที่รู้จัก ในหมนู่ ักเดินเรอื และพอ่ ค้าชาวอนิ เดยี อาหรบั และจนี ในจงั หวัดวา่ ตามพรลิงค/์ กะมะลงิ /ตัง้ มาหล่งิ บา้ ง ตั้งแต่ช่วง พ.ศ. 600-700 และชุมชนนครศรีธรรมราชได้พัฒนาจนเป็นขุมชนใหญ่ รับอิทธิพลศาสนาพราหมณ์จากอินเดีย ตลอดแนวชายฝงั ตงั้ แตเ่ ขตสชิ ลจนถงึ เขตตำ� บลทา่ เรอื ของอำ� เภอเมอื งในปจั จบุ นั มโี บราณสถานหลงเหลอื อยมู่ ากมาย โดยเฉพาะทบี่ รเิ วณอทุ ยานประวตั ศิ าสตรเ์ ขาคา และเขตอำ� เภอสชิ ล ซง่ึ ไดค้ น้ พบเทวรปู พระวษิ ณศุ ลิ า ทม่ี อี ายเุ กา่ แก่ ทีส่ ดุ ในเอเชยี อาคเนย์ คอื ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 9 - 10 กับยังพบศิลาจารึกขนาดใหญ่ ท่ีเกา่ แกท่ ี่สดุ หลกั หน่งึ ของ ประเทศไทย คือ มอี ายุครั้งพุทธศตวรรษที่ 11 ณ หุบเขาชอ่ งคอยอ�ำเภอรอ่ นพบิ ลู ย์ มขี ้อความบชู าพระศวิ ะและเชิดชู คนดีวา่ “ถา้ คนดีอยใู่ นหม่บู ้านของชนเหลา่ ใด ความสุขและผล (ประโยชน์) จกั มแี ก่ชนเหล่านั้น” อีกด้วย หลังพุทธศตวรรษที่ 10 เร่ิมพบร่องรอยพุทธศาสนาในนครศรีธรรมราช และเช่ือว่านครศรีธรรมราช พัฒนาจนเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยดังปรากฏหลักฐานบน ศิลาจารึกหลักที่ 23 วัดเสมาเมืองที่จารึกไว้ ตงั้ แต่ พ.ศ. 1318 วา่ “พระเจา้ กรงุ ศรวี ชิ ยั ผปู้ ระกอบดว้ ยคณุ ความดแี ละเปน็ เจา้ แหง่ พระราชาทงั้ หลายในโลกทง้ั ปวง 102 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
ได้ทรงสร้างปราสาทอิฐทั้งสามน้ีเป็นที่บูชาพระโพธิสัตว์เจ้าผู้ถือดอกบัว (ปทุมปาณี) พระผู้ผจญพระยามาร (พระพทุ ธเจ้า) และพระโพธิสัตว์ เจ้าผถู้ ือวชั ระ (วชรปาณี) พระองคไ์ ดถ้ วายปราสาททง้ั สามนี้ แกบ่ รรดาพระชินราช อันประเสริฐสุด ซึ่งสถิตอยู่ในทศทิศ ณ สถานท่ีแห่งนี้ร่วมกับศิลาจารึกอีกหลายหลัก เช่น ศิลาจารึก หลักท่ี 29 วัดพระบรมธาตุเมืองนคร ภาษาทมิฬ พุทธศตวรรษที่ 9 - 10 ศิลาจารึกหลักท่ี 28 วัดพระบรมธาตุเมืองนคร ภาษามอญโบราณ พุทธศตวรรษท่ี 12 และศิลาจารึกหลักที่ 27 วัดมเหยงค์ ภาษาสันสกฤตอักษรคล้ายเขมร พทุ ธศตวรรษท่ี 12 - 14 ทจี่ ารกึ ไวว้ า่ “...บญุ กศุ ลอน่ื ๆ ตามคำ� สอน คอื การปฏบิ ตั พิ ระธรรมไมข่ าดสกั เวลา การบรบิ าล ประชาราษฎร์ การทนตอ่ อิฏฐารมณแ์ ละอนฏิ ฐารมณ์การช�ำระอินทรีย์...” ชว่ งทน่ี ครศรธี รรมราชมน่ั คงทสี่ ดุ ในประวตั ศิ าสตรค์ อื ในพทุ ธศตวรรษที่ 17 - 19 อนั เปน็ รชั สมยั ของราชวงศ์ ศรีธรรมาโศกราช ซ่ึงไดส้ ถาปนาพระพทุ ธศาสนาลทั ธิลงั กาวงศล์ งในนครศรธี รรมราชอยา่ งม่นั คง กอ่ นทจ่ี ะแผ่ขยาย ไปยงั ดนิ แดนของแหลมทอง นครศรธี รรมราชครงั้ นนั้ กวา้ งขวาง มเี มอื งขนึ้ รายรอบ 12 เมอื ง เรยี กวา่ เมอื งสบิ สองนกั ษตั ร ตงั้ แตช่ มุ พรลงไปถงึ เมอื งปาหงั กลนั ตนั และไทรบรุ ี กบั นครศรธี รรมราชยงั เคยกรธี าทพั เรอื ทม่ี แี สนยานภุ าพ ไปตลี งั กา ถึง 2 คร้ัง นอกจากน้ียังพบร่องรอยความสัมพันธ์และยกทัพสู้รบระหว่างกันของนครศรีธรรมราชกับเขมรโบราณ ละโว้ ตลอดจนชวาโบราณอีกด้วย เรอ่ื งท่ี 2 ศาสนาท่ีชาวจังหวดั นครศรีธรรมราชส่วนใหญ่นับถอื ชาวนครศรธี รรมราชสว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ ประมาณ 93.61% รองลงมา ไดแ้ ก่ ศาสนาอสิ ลาม 6.17% ศาสนาครสิ ต์ 0.20% ศาสนาซกิ ข์ 0.01% ศาสนาอน่ื ๆ 0.01% (ศนู ยข์ อ้ มลู การทอ่ งเทยี่ วจงั หวดั นครศรธี รรมราช 2557) ในทน่ี ้ีจะมรี ายละเอยี ดเฉพาะศาสนาทีช่ าวนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่นบั ถอื ดงั นี้ ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาที่แพร่หลายที่สุดในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีโบราณสถานและโบราณวัตถุ ทางพทุ ธศาสนาทแี่ สดงถงึ ความรงุ่ เรอื งมาชา้ นาน (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2557) มวี ดั ทางพทุ ธศาสนา 605 แหง่ มีพระภิกษุ 3,267 รูป สามเณร 703 รูป ชาวนครศรีธรรมราชยึดม่ันในประเพณีทางศาสนา และมีความผูกพัน กับพระบรมธาตุเจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จังหวัดว่าเป็น “เมืองพระ” เมอ่ื ถึงวนั สำ� คญั ทางศาสนา เชน่ วนั มาฆบูชา ประเพณแี ห่ผ้าขนึ้ ธาตุ วนั วสิ าขบชู า ฯลฯ จะมปี ระชาชนจากทั่วสารทศิ หล่ังไหลกันมาสักการะองค์พระบรมธาตุเจดีย์อย่างล้นหลาม จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัด 621 แห่ง มหานิกาย 539 แหง่ และธรรมยุติ 82 แหง่ ท่ีพักสงฆ์ 157 แห่ง มพี ระภิกษสุ งฆ์รวมทั้งจังหวดั 3,307 รปู สามเณร 778 รูป มมี หาวทิ ยาลัยสงฆ์ 2 แห่ง โรงเรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกสามญั 7 แห่ง (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2560) ศาสนาอิสลาม ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีผู้นับถือศาสนาอิสลาม ส่วนใหญ่มีบรรพบุรุษ มาจากเมืองกลันตัน ปัตตานี และไทรบุรี อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม มีมัสยิด 122 แห่ง ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ�ำเภอเมือง นอกจากนนั้ กระจดั กระจายอยใู่ นเขตอำ� เภอทา่ ศาลา อำ� เภอหวั ไทร อำ� เภอสชิ ล อำ� เภอปากพนงั และอำ� เภอรอ่ นพบิ ลู ย์ มศี นู ย์อบรมศาสนาอิสลามและจริยธรรมประจำ� มัสยดิ 101 แหง่ (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2560) ศาสนาครสิ ต์ มผี นู้ บั ถอื จำ� นวนเพยี งเลก็ นอ้ ยในเขตอำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช อำ� เภอทงุ่ สง อำ� เภอทงุ่ ใหญ่ และอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ มีทั้งนิกายโปรแตสแตนท์และโรมันคาธอลิค มีโบสถ์คริสต์ 27 แห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2560) เอกสารประกอบการเรียน 103 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
1. ศาสนาพทุ ธ ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเร่ิมตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดา ของศาสนาพุทธคอื พระพุทธเจา้ ศาสนสถาน วัดและส�ำนักสงฆ์ต่าง ๆ อันเป็นสถานท่ียึดเหน่ียวจิตใจของชาวพุทธ ซึ่งเป็นสถานท่ีอยู่อาศัย หรือ ทจี่ ำ� พรรษาของพระภกิ ษุ สามเณรตลอดจนแมช่ ี เพอื่ ใชป้ ระกอบกจิ กรรมประจำ� วนั ของพระภกิ ษสุ งฆ์ เชน่ การทำ� วตั ร เข้าและเย็น และสังฆกรรมในพระอุโบสถ อีกทั้ง ยังใช้ประกอบพิธีกรรม เช่น การเวียนเทียน เป็นต้นในวันส�ำคัญ ทางศาสนาพทุ ธ และยงั เปน็ ศนู ยร์ วมในการมารว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมในทางชว่ ยกนั สง่ เสรมิ พทุ ธศาสนา เชน่ การมาทำ� บญุ ในวันพระ ของแต่ละท้องถิ่นของพุทธศาสนิกชน (สืบค้นข้อมูลได้จาก https://th.Wikipedia.org/wiki/รายช่ือวัด ในจังหวัดนครศรีธรรมราช) วดั ในจังหวัดนครศรธี รรมราชมีอยทู่ กุ อ�ำเภอ ยกตวั อย่างท่ีส�ำคญั พอเปน็ สังเขป ดงั นี้ 1) วัดพระมหาธาตุวรมหาวหิ าร ตั้งอยู่ ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เปน็ พระอารามหลวงช้นั เอก ชนดิ วรมหาวหิ าร จงั หวดั นครศรธี รรมราชเป็น 1 ในจอมเจดยี แ์ ห่งสยาม สมเดจ็ พระเจ้า บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ทรงเปน็ ผ้บู ัญญตั คิ �ำว่า จอมเจดยี ์ ขนึ้ มา ซึ่งทง้ั ประเทศมจี อมเจดยี ท์ ่คี วรคา่ แกก่ ารยกยอ่ ง 8 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. พระปฐมเจดยี ์ จังหวดั นครปฐม 2. พระมหาธาตุเมอื งละโว้ 3. พระธาตหุ รภิ ุญชัย 4. พระธาตุพนม 5. พระศรีรัตนมหาธาตุเมอื งเชลยี ง 6. พระมหาธาตเุ มืองนครศรธี รรมราช 7. พระมหาธาตเุ มอื งศรีสชั นาลยั 8. พระเจดยี ์ชยั มงคลจดั ใหญ่ วัดพระมหาธาตเุ มืองนครศรีธรรมราช 2) วัดธาตุนอ้ ย หรอื วดั พระธาตุน้อย ตงั้ อยใู่ นเขตตำ� บลหลักช้าง อำ� เภอชา้ งกลาง จงั หวดั นครศรีธรรมราช ต้ังขึน้ โดยความประสงค์ ของพอ่ ทา่ นคลา้ ย (พระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการ) พระเกจอิ าจารยท์ ชี่ าวใตเ้ ลอื่ มใสศรทั ธาอยา่ งสงู ยง่ิ รปู หนงึ่ ซง่ึ ศษิ ยย์ านศุ ษิ ย์ และประชาชนท่ีเคารพนับถือ ศรัทธา พ่อท่านคล้ายได้เช่ือถือถึงความศักดิ์สิทธ์ของวาจาพูดอย่างไรเป็นอย่างน้ัน ท่านมักจะให้พรกับทุกคน ขอให้ เป็นสุข เป็นสุขโดยประดิษฐานพระสารีริกธาตุและสรีระสังขารพ่อท่านคล้าย ในโลงแกว้ ประดษิ ฐานอย่ใู นองค์พระเจดีย์ สงั ขารพ่อทา่ นคล้าย ซงึ่ วา่ กันว่าแข็งเปน็ หนิ ที่ชาวบ้านนบั ถอื และศรทั ธา มาจนทุกวันนี้ 104 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
วัดธาตนุ อ้ ย หรอื วัดพระธาตุน้อย 2. ศาสนาอิสลาม ศาสนาอสิ ลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอบั ราฮัม บญั ญัติโวโนคัมภีร์ อัลกุรอาน คมั ภรี ศ์ กั ดส์ิ ทิ ธข์ องอสิ ลามซง่ึ สาวกถอื วา่ เปน็ พระวจนะคำ� ตอ่ คำ� ของพระเปน็ เจา้ (อลั สอฮ)ฺ และสำ� หรบั สาวกสว่ นใหญ่ เป็นคำ� สอนและตวั อยา่ งเชงิ บรรทัดฐาน (เรยี กว่า สุนตั และประกอบดว้ ยหะดีษ) ของมุอัมมัด (ประมาณ 570 - 8 มถิ นุ ายน 632) เปน็ ศาสดา (นบี) องคส์ ุดท้ายของพระเป็นเจา้ สาวกของศาสนาอิสลาม เรยี กวา่ มสุ ลมิ ศาสนาอิสลาม เปน็ ชนกลุม่ น้อยทางศาสนาในประเทศไทย แตม่ กี ารเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ คนสว่ นใหญเ่ ชอ่ื วา่ ชาวมสุ ลมิ สว่ นใหญข่ องประเทศอาศยั อยใู่ นสามจงั หวดั ใตส้ ดุ ของประเทศไทย ไดแ้ ก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส อย่างไรก็ตาม การศึกษาของกระทรวงการต่างประเทศ ช้ีว่าชาวไทยมุสลิม เพียง รอ้ ยละ 18 เทา่ นั้นทอ่ี ยูใ่ นพนื้ ทสี่ ามจงั หวัดน้ี ส่วนที่เหลืออาศัยอยู่กระจายไปท่วั ประเทศ โดยส่วนใหญ่อาศัย อยู่ในกรุงเทพมหานครและตลอดพ้ืนทีภ่ าคใต้ของประเทศสำ� หรบั ชาวมสุ ลิมในจังหวัดภาคใตข้ องไทยนั้น เป็นชนพ้ืน เมอื งมาแตด่ ง้ั เดมิ มไิ ดส้ บื เชอื้ สายมาจากชาวมสุ ลมิ ทเี่ ขา้ มาทางการคา้ หรอื อพยพมาจากดนิ แดนอนื่ เพราะมหี ลกั ฐาน ปรากฏว่า ชนชาติด้ังเดิมเหล่านี้ได้เข้ามาต้ังถ่ินฐานอยู่ บนแหลมมลายูต้ังแต่ก่อนคริสต์ศักราชเป็นเวลา 43 ปี และมอี าณาจกั รสำ� คญั คอื อาณาจกั รลงั กาซู ตอ่ มาประมาณ คริสต์ศักราช 220 ชนชาติน้ีก็ได้ก่อต้ังอาณาจักรขึ้นท่ี จังหวัดนครศรีธรรมราช และในคริสต์ศักราช 658 เกิดอาณาจักรขึ้นใหม่ คือ อาณาจักรศรีวิชัย มีอิทธิพล แผไ่ ปทว่ั แหลมมาลายูและอาณาจกั รทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช กต็ กอยู่ใน อ�ำนาจของอาณาจกั รศรวี ิชยั ด้วย จนกระท่งั ถงึ มสั ยิดในจงั หวัดนครศรธี รรมราช คริสต์ศตวรรษที่ 8 อาณาจักรศรีวิชัยเส่ือมอ�ำนาจลง และอาณาจักรใหม่เกิดข้ึนแทนที่ คือ อาณาจักรมัชปาหิต ตอ่ มาถงึ ครสิ ตศ์ กั ราช 1401 อาณาจกั รนกี้ เ็ สอ่ื มสลายลงและอทิ ธพิ ลของ ศาสนาอสิ ลามกไ็ ดแ้ ผเ่ ขา้ มาแทนทว่ี ฒั นธรรม อินเดียทเ่ี คยมอี ยใู่ นบรเิ วณนี้ ประมาณปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 8 ถึงต้นครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 9 ศาสนาอิสลามไดเ้ ขา้ ฝังราก ในอาณาจกั รปตั ตานี ซ่งึ กอ่ ต้ังโดยพระยาตนกตู ันดารา และขยายตวั ไปครอบคลุมจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ในปจั จุบนั ชาวไทยท่ีนับถอื ศาสนาอสิ ลามมอี ยทู่ ่วั ประเทศ (ประยทุ ธ สุทธิพันธ์ 2505 : 212) เอกสารประกอบการเรยี น 105 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
มสั ยดิ ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ตง้ั อยใู่ นอำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช อำ� เภอขนอม อำ� เภอพรหมครี ี อ�ำเภอพระพรหม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอลิชล อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอทุ่งใหญ่ อ�ำเภอบางขนั และอำ� เภอปากพนัง (สืบค้นขอ้ มลู ได้จาก https://th.wikipedia.org/wiki/รายชอ่ื วดั ในจังหวัดนครศรธี รรมราช) 3. ศาสนาคริสต์ ศาสนาครสิ ต์ ราชบัณฑิตยสถานเรยี กว่า ครสิ ตศ์ าสนา เป็นศาสนาประเภท เอกเทวนิยมท่ีมีพ้นื ฐาน มาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสาร ในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียน พนั ธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผนู้ ับถอื ศาสนาคริสต์เรยี กว่าคริสตค์ าสนิกชนหรอื ครสิ ตชน พระเยซูเป็นชาวยิว คริสต์ศาสนาถือโดยสมมติว่าวันประสูติของพระองค์ คือวันท่ี 25 ธันวาคม ค.ศ. 1 (ซงึ่ ถือเอาวันประสตู เิ ปน็ ปที ่ี 1 แหง่ คริสต์คกั ราช ซึง่ ตรงกบั พุทธคกั ราช 543) ครสิ ต์ศาสนาเกดิ ข้ึนประมาณ พ.ศ. 573 ในปาเลสไตน์ หรอื ประเทศอสิ ราเอลปัจจบุ ัน ผใู้ ห้กำ� เนดิ คอื พระเยซคู รสิ ต์ เปน็ บุตรของโจเซฟ ผูม้ อี าชพี ช่างไม้ เป็นเช้อื สายยิวแห่งนาซาเรธ และนางมาเรีย คริสตจักรในจังหวดั นครศรีธรรมราช คริสตจักรในจังหวัดนครศรีธรรมราช นิกายคาทอลิก ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช และอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ นิกายโปรเตสแตนต์ ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช อ�ำเภอขนอม อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอเฉลมิ พระเกียรติ อ�ำเภอช้างกลาง อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอทุ่งสง อำ� เภอทุ่งใหญ่ อำ� เภอทา่ ศาลา อำ� เภอบางขัน อ�ำเภอปากพนัง อำ� เภอร่อนพบิ ลู ย์ อำ� เภอลานสกา อำ� เภอสิชล และอำ� เภอหัวไทร (ข้อมลู ปี 2559) โบสถ์คริสตจักรเบธเลเฮ็ม ศาสนาคริสต์เผยแผ่เข้ามาในนครศรีธรรมราชเมื่อกว่าร้อยปีล่วงมาแล้ว จากผู้ที่นับถือศรัทธาเพียงไม่กี่คน จนถึงปัจจุบันมีศริสตศาสนิกชน ในนครศรีธรรมราชมากมาย จนโบสถ์หลังเก่า ทส่ี รา้ งหลงั เลก็ ๆ ไมเ่ พยี งพอในการประกอบศาสนพธิ ี จนตอ้ งขยายมาเปน็ หลงั ใหญอ่ ยา่ งในปจั จบุ นั ครสิ ตจกั รเบธเสเฮม็ ตง้ั อยูท่ ่ี 1307/51 ถนนราชด�ำเนนิ ตำ� บลคลัง อำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ครติ จักรเบธเลเฮ็มนครศรีธรรมราช 106 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เรื่องที่ 3 ความเชือ่ ทางศาสนาและพธิ ีกรรมอนื่ ๆ จังหวดั นครศรธี รรมราช ความเชอ่ื ทางศาสนาและพธิ ีกรรมอื่น ๆ ในจงั หวดั นครศรีธรรมราชจะเป็นเรือ่ งราวเก่ยี วกับศาลหลกั เมือง นครศรธี รรมราช และศาลเจา้ โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 1. ศาลหลักเมอื งนครศรีธรรมราช ศาลหลักเมืองนครศรีธรรมราช ต้ังอยู่ในอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สร้างข้ึนในช่วง ราวปี 2530 ในยคุ ท่ี นายเอนก สทิ ธปิ ระศาสน์ เปน็ ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ด้วยวัตถปุ ระสงค์ เพื่อเป็นศูนย์รวมจติ ใจ ของ “คนคอน” โดยมีบุคคลส�ำคัญ 2 คนที่เก่ียวข้องกับการสร้าง คือ พล.ต.ต.ชุนพันธรักษ์ราชเดช และ พล.ต.ท.สรรเพชญธรรมาธิกุล อดีตผู้ก�ำกับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่นี่เปรียบเสมือนส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ คอยปกปอ้ งรกั ษาบา้ นเมอื งใหพ้ น้ จากภยั อนั ตรายตา่ ง ๆ โดยรบั รถู้ งึ ความศกั ดส์ิ ทิ ธขิ์ องศาลหลกั เมอื ง ผา่ นองคจ์ ตคุ าม รามเทพ เทวดารักษาเมือง ซ่ึงอยู่บนเสาสูงสุดของหลักเมือง มีค�ำบอกเล่าจากปู่ย่าตายายมาช้านานแล้วว่า ถา้ อยากที่จะเจริญก้าวหน้าในหนา้ ทก่ี ารงานก็ต้องไปสกั การบชู าศาลหลักเมือง 2. ศาลเจ้า เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมชองชาวไทยเชอ้ื สายจีนท่ียังคงตง้ั อยูบ่ นความเชื่อทางศาสนา และพิธกี รรม ความศรัทธานั้นยังคงพยายามรักษาให้คงอยู่ถึงปัจจุบัน โดยแสดงให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติตามธรรมเนียมจีน ผ่านพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลวันตรุษจีน เป็นต้น ศาลเจ้าต้ังอยู่ในหลายอ�ำเภอ ของจงั หวดั นครศรีธรรมราช ไดแ้ ก่ 1) ศาลเจ้ากวนอู อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) ศาลเจา้ ลา่ มกงุ หยา อ�ำเภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช 3) ศาลพระเสื้อเมืองนครศรีธรรมราช 4) ศาลเจา้ นาจาซาไหช้ อ้ื อำ� เภอปากพนงั จังหวัดนครศรธี รรมราช 5) ศาลเจ้าฮกฮั้วเก็ง หรือ ศาลแปะกง ตำ� บลนาบอน อ�ำเภอนาบอน จงั หวดั นครศรีธรรมราช 6) ศาลเจา้ พอ่ มหาชยั ณ บริเวณเขามหาชัยและภเู ขาหลกั ไก่ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช 7) ศาลเจา้ ทวดทอง อำ� เภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 8) ศาลเจ้าทวดเหนอื อำ� เภอเมือง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 9) ศาลเจ้าเทพเจ้าพญาม้าขาว ต�ำบลปากพนู อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 10) ศาลเจา้ พระ 108-109 นอกไร่ ถนนสะพานยาว ตำ� บลโพธเสดจ็ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช 11) ศาลเจา้ ฮกเก้ียน อำ� เภอปากพนัง จังหวัดนครศรธี รรมราช 12) ศาลเจ้าเดก็ ก่าจีคุงเกาะ อ�ำเภอปากพนัง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 13) ศาลเจ้าพอ่ ตาปะขาว อำ� เภอสิชล จังหวดั นครศรีธรรมราช 14) ศาลเจ้าทวดโตะ๊ ตำ� นครศรีธรรมราช 15) ศาลเจ้าแม่กวนอิมจันดี ตำ� บลจนั ดี อ�ำเภอฉวาง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 16) ศาลเจา้ แม่กวนอมิ ทุ่งสง อำ� เภอทุง่ สง จังหวดั นครศรธี รรมราช เอกสารประกอบการเรียน 107 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
กจิ กรรมหน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 9 ศาสนาจงั หวดั นครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ที กุ ข้อ 1. ใหส้ รปุ ประวตั ิความเปน็ มาของศาสนาในจงั หวดั นครศรธี รรมราช มาพอสงั เขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหอ้ ธบิ ายความของแตล่ ะศาสนา พอเป็นสังเขป ตามหัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ศาสนาพุทธ 1.1. ประวัติศาสนาพทุ ธ 1.2. หลักธรรมสำ� คญั ทางพทุ ธศาสนา 1.3. หลักการปฏิบัติ 1.4. ศาสนสถานทีส่ ำ� คญั ทางพระพทุ ธศาสนาในจังหวดั นครศรีธรรมราช 2. ศาสนาอิสลาม 2.1 ประวตั ศิ าสนาอิสลาม 2.2 หลกั ค�ำสอน 2.3 หลักการปฏบิ ัติ 2.4. ศาสนสถานท่สี �ำคัญของศาสนาอิสลามในจงั หวดั นครศรีธรรมราช 3. ศาสนคริสต์ 3.1 ประวัตศิ าสนาครสิ ต์ 3.2 พิธีกรรมสำ� คัญในศาสนาครสิ ต์ 3.3 ครสิ ต์จกั รในจังหวดั นครศรีธรรมราช 108 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 10ประเพณแี ละวฒั นธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช ประเพณเี ปน็ กจิ กรรมทมี่ กี ารปฏบิ ตั สิ บื เนอ่ื งกนั มา เปน็ เอกลกั ษณแ์ ละมคี วามสำ� คญั ตอ่ สงั คม เชน่ การแตง่ กาย ภาษา ศาสนา ศลิ ปกรรม กฎหมาย คณุ ธรรม ความเชอื่ ฯลฯ อนั เปน็ บอ่ เกดิ ของวฒั นธรรมของสงั คม เชอ้ื ชาตติ า่ ง ๆ กลายเปน็ ประเพณปี ระจำ� ชาติ และถา่ ยทอดกนั มาโดยลำ� ดบั ประเพณแี ละวฒั นธรรม ของทอ้ งถน่ิ จงึ มคี วามจำ� เปน็ ทบี่ คุ คล ในทอ้ งถนิ่ ตอ้ งเรยี นรู้ สบื ทอด ธำ� รงรกั ษาไว้ และภาคภมู ใิ จตอ่ ประเพณแี ละวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ทด่ี งี าม เรอื่ งที่ 1 ประเพณีที่เกย่ี วเนอ่ื งกับความกตัญญูกตเวที จงั หวดั นครศรธี รรมราช ความกตัญญูกตเวที คือ ความรู้บุญคุณท่านแล้วตอบแทนให้ปรากฏ เป็นรูปธรรมประคองให้โลกอยู่ได้ ดว้ ยความสงบสขุ คนเรามชี วี ติ อยู่ไดเ้ พราะบิดามารดาและบรรพบรุ ษุ การระลกึ ถึงบญุ คุณ คอื การตอบแทนบุญคณุ บรรพบุรุษ ความกตัญญูกตเวทีเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ประเพณีที่เกี่ยวเน่ืองกับความกตัญญูกตเวทีของท้องถ่ิน นครศรธี รรมราชท่ีสำ� คัญ คอื ประเพณีสารทเดือนสิบ และประเพณอี าบน้�ำคนแก่ 1. ประเพณีสารทเดือนสบิ สารทเดอื นสิบหรอื ประเพณที �ำบุญเดอื นสิบ เป็นการน�ำเครือ่ งอุปโภคและเครือ่ งบริโภครวมทัง้ ขนม ส�ำคัญหา้ อยา่ งไปถวายพระ แล้วอุทศิ ส่วนกศุ ลแด่บรรพบุรุษของตน ประวตั ิความเป็นมา ประเพณีสารทเดือนสิบ วิวัฒนาการมาจากประเพณีเปรตพลีของพราหมณ์ ซ่ึงลูกหลานจัดข้ึน เพื่อท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ต่อมาพวกพราหมณ์จ�ำนวนมากได้หันมานับถือพระพุทธศาสนา และยังถือปฏิบัติในประเพณีดังกล่าวอยู่ พระพุทธองค์เห็นว่าประเพณีน้ีมีคุณค่า เป็นการแสดงออกซ่ึงความกตัญญู กตเวทีต่อบรรพบุรุษ น�ำความสุขใจให้ผู้ปฏิบัติ จึงอนุญาตให้อุบาสกอุบาสิกาประกอบพิธีน้ีต่อไปได้ ประเพณี สารทเดอื นสบิ มมี าตง้ั แตพ่ ทุ ธกาล คาดวา่ เมอื่ พระพทุ ธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ มาในนครศรธี รรมราช จงึ รบั ประเพณมี าดว้ ย ความเชือ่ ความเช่ือของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราชเชื่อว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู ย่า ตา ยาย และญาติพ่ีน้องท่ีล่วงลับไปแล้ว หากท�ำความดีไว้เม่ือคร้ังท่ียังมีชีวิตอยู่ จะได้ไปเกิดในสรวงสวรรค์ แต่หาก ท�ำความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้ ในแตล่ ะปมี ายงั ชพี ดงั นน้ั ในวนั แรม 1 คำ�่ เดอื นสบิ คนบาปทงั้ หลายทเ่ี รยี กวา่ เปรตจงึ ถกู ปลอ่ ยตวั กลบั มายงั โลกมนษุ ย์ เพื่อมาขอสว่ นบญุ จากลกู หลานญาติพ่นี ้องและจะกลับไปนรกในวันแรม 15 ค่ำ� เดอื นสิบ ระยะเวลาของการประกอบพิธี มีขึน้ ในวันแรม 1 ค่�ำ ถึงแรม 15 ค่�ำ เดอื นสบิ เอกสารประกอบการเรียน 109 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
พิธีกรรม การปฏบิ ัติพิธีกรรมการทำ� บุญสารทเดอื นสิบ มี 3 ขั้นตอน คอื 1) การจัดหมรฺ ับและการยกหมรฺ บั การจดั เตรยี มสิ่งของที่ใช้จัดหมรฺ ับ เร่ิมข้ึนในวันแรม 13 ค่�ำ วนั นเี้ รียกกนั วา่ “วันจา่ ย” ชาวบ้าน จะซอื้ อาหารแหง้ พชื ผกั ทเี่ กบ็ ไวไ้ ดน้ าน ขา้ วของเครอ่ื งใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั และขนมทเี่ ปน็ สญั ลกั ษณข์ องสารทเดอื นสบิ จดั เตรียมไว้สำ� หรบั ใสห่ มฺรับ และน�ำไปมอบใหผ้ ใู้ หญ่ทีเ่ คารพนบั ถอื (1) การจัดหมฺรับ นิยมใช้กระบุงหรือเข่งสานด้วยตอกไม้ไผ่ขนาดเล็กหรือใหญ่ข้ึนอยู่กับ ความประสงคข์ องเจา้ ของหมรฺ บั ปจั จบุ ันใชภ้ าชนะหลายชนดิ เช่น ถาด กระเชอ กะละมงั ถัง หรือภาชนะทป่ี ระดษิ ฐ์ ข้ึนมาเปน็ กรณพี เิ ศษ การจัดหมรฺ ับ ขนมลา เปรยี บเทยี บเสมอื นเสทอ้ ผา้ แพรพรรณ ที่บรรพบุรุษจะใชเ้ ป็นเคร่ืองนุ่งห่ม ขนมพอง เปรียบเสมือนแพอนั เป็นพาหนะ ขนมกง (หรอื ขนมไขป่ ลา) เปรียบเสมอื นเครอื่ งประดับให้ ใหบ้ รรพบุรุษใช้ข้ามห้วงมหรรณพ บรรพบรุ ุษไดใ้ ช้ประดับร่างกาย ขนมบา้ เปรียบเสมอื นสะบา้ สำ� หรบั ใหบ้ รรพบุรษุ ขนมดซี �ำเปรยี บเสมอื นเงินตรา ไวเ้ ลน่ สะบา้ วันตรษุ สงกรานต์ เพ่อื ให้บรรพบุรษุ ไดม้ ีไว้ใชส้ อย 110 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
(2) การยกหมรฺ บั วนั แรม 14 คำ่� ชาวบา้ นจะนำ� หมรฺ บั ทจ่ี ดั เตรยี มไวไ้ ปทำ� บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลทวี่ ดั วนั นเ้ี รียกวา่ “วนั ยกหมฺรบั ” การยกหมรฺ บั ไปวัดจะจัดเป็นขบวนหรือไม่มีขบวนแห่ก็ได้ โดยนำ� หมรฺ ับและภัตตาหาร ไปถวายพระ 2) การฉลองหมฺรบั และบงั สกุ ุล วันแรม 15 ค่�ำ ซ่ึงเป็นวันสารทเรียกว่า “วันหลองหมฺรับ” มีการท�ำบุญเลี้ยงพระและบังสุกุล การท�ำบุญวันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพี่น้องให้กลับไปยังเมืองนรก หากไม่ได้กระท�ำพิธีกรรมในวันน้ี บรรพบรุ ษุ ญาตพิ น่ี อ้ งทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ จะไมไ่ ดร้ บั สว่ นกศุ ล ทำ� ใหเ้ กดิ ทกุ ขเวทนาดว้ ยความอดยากลกู หลานทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ก็จะกลายเปน็ คนอกตัญญไู ป 3) การตงั้ เปรตและชงิ เปรต เสรจ็ จากการฉลองหมรฺ บั และถวายภตั ตาหารแลว้ กน็ ยิ มนำ� ขนมอกี สว่ นหนง่ึ นำ� ไปวางไวต้ ามบรเิ วณ ลานวดั โคนไมใ้ หญ่ หรอื กำ� แพงวดั เรยี กวา่ “ตง้ั เปรต” เปน็ การแผส่ ว่ นกศุ ลใหเ้ ปน็ สาธารณทานแกผ่ ลู้ ว่ งลบั ทไี่ มม่ ญี าติ หรือญาตไิ มไ่ ดม้ าทำ� บญุ ให้ การชิงเปรตจะเริ่มหลังจากตั้งเปรตเสร็จแล้ว ช่วงน้ีเป็นช่วงท่ีเรียกว่า “ชิงเปรต” ท้ังผู้ใหญ่ และเด็กจะว่ิงกันเข้าไปแย่งขนม เพราะความเช่ือว่าของท่ีเหลือจากการเซ่นไหว้จากบรรพบุรุษ ถ้าใครได้ไปกิน จะไดก้ ศุ ลแรง เปน็ สริ ิมงคลแก่ตนเองและครอบครวั 2. ประเพณีอาบน�้ำคนแก่ คนแก่ ผู้อาวุโสของตระกูล คนในตระกูลจะเป็น ผู้ก�ำหนดว่า สมาชิกคนไหนเป็นคนแก่ของตระกูล แต่ละตระกลู การอาบนำ้� คนแก่ เปน็ วิธกี ารแสดงออกซึง่ ความเคารพ นับถือ แก่บดิ ามารดา ญาตคิ นแก่ของตระกลู รวมท้งั ผมู้ พี ระคณุ และบคุ คลท่ตี นเคารพนับถอื ประวัตคิ วามเปน็ มา อาบน้�ำคนแก่ เป็นประเพณีเก่ียวเนื่อง มาจากประเพณีสงกรานต์ชาวนครศรีธรรมราชเช่ือกันว่า ในวนั ท่ี 14 เมษายน เทวดาท่เี ฝ้ารกั ษาเมอื งทง้ั หลายจะพา กันขึ้นไปเมืองสวรรค์กันหมด ทั้งเมืองจึงปราศจากเทวดา วันนี้จึงเรียกว่า “วันว่าง” ชาวบ้านจะหยุดท�ำกิจการ ทุกอย่าง จะไปท�ำบุญที่วัดใกล้บ้านเสร็จแล้วสรงน้�ำ อาบน�ำ้ คนแก่ พระพทุ ธสหิ งิ คเ์ สรจ็ แลว้ จะหาญาตคิ นแกท่ เี่ คารพนบั ถอื แลว้ ขออาบนำ�้ ใหท้ า่ นดว้ ย ประเพณอี าบนำ้� คนแก่ จะจดั ขน้ึ อยู่ในช่วงระยะเวลาของวนั ท่ี 13 วนั ท่ี 14 และวนั ที่ 15 เดือนหา้ (เมษายน) ของทกุ ปี สถานที่ประกอบพิธี สถานทอ่ี าบนำ�้ คนแก่ อาจเปน็ ท่บี า้ นหรือวัดตามความเหมาะสม กรณีท่เี ป็นการทำ� พิธีอาบน�้ำคนแก่ รวมกันท้ังหมู่บ้าน ลูกหลานจะน�ำคนแก่ของตระกูลมารวมกันที่จัด เพื่อจัดพิธีอาบน�้ำคนแก่พร้อมกันจึงใช้จัดเป็น สถานท่ีทำ� พิธี เอกสารประกอบการเรียน 111 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
พธิ กี รรม 1. การขอขมา ลูกหลานและชาวบ้านท่ีมาร่วมพิธี จะรวมกลุ่มยืนอยู่ด้านหน้าของบรรดาคนแก่ ผู้น�ำในพิธีน�ำดอกไม้และจุดธูปเทียน พนมมือ แล้วกล่าวขอขมา ทุกคนว่าตามดังนี้ “กายกรรมสาม วจีกรรมสี่ มโนกรรมสาม หากขา้ พเจา้ ท้งั หลาย เกดิ ประมาทพลาดพล้งั แก่ท่าน ดว้ ยกายกด็ ี ด้วยวาจากด็ ี ดว้ ยใจกด็ ี ต่อหน้าก็ดี ลับหลงั กด็ ี เจตนาก็ดี ไมเ่ จตนาก็ดี ขอให้ทา่ นอโหสกิ รรมใหแ้ กข่ ้าพเจา้ ดว้ ยเถดิ และขอได้โปรดอำ� นวยพรให้ข้าพเจา้ ท้งั หลายมคี วามสุขความเจรญิ ตลอดไป และขอตัง้ จิตอธิฐานขอให้ทา่ น เจรญิ ด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ตลอดไป” 2. พิธีการอาบน�้ำ การอาบน�้ำเป็นการตักน�้ำมาอาบให้คนแก่ ปจั จบุ ันไดป้ รบั เปล่ียนวธิ กี ารอาบนำ�้ มารดน้ำ� ทม่ี ือทัง้ สองของคนแก่ และมอบเคร่ืองนุง่ ห่มเครอื่ งใช้ ให้คนแก่ พร้อมกบั ขอพร คนแก่ก็จะให้พรลูกหลาน ท่มี าประกอบพิธแี ละอาบนำ�้ ไปตามล�ำดับจนครบทุกคน เร่อื งท่ี 2 ประเพณีทีเ่ กยี่ วเน่ืองกับความสามคั คี จงั หวดั นครศรีธรรมราช ความสามัคคีกลมเกลียวและความพร้อมเพรียงกันเป็นพื้นฐานท่ีส�ำคัญย่ิงในการอยู่ร่วมกัน ประเทศชาติ จะม่ันคงได้ด้วยบุคคลในสังคมน้ัน ต้องรักใคร่ปรองดองกัน สงเคราะห์ช่วยเหลือกัน ประพฤติตนให้เกิดประโยชน์ เกื้อกูลแก่กัน แก่หมู่คณะและชุมชน โดยส่วนรวมประเพณีส�ำคัญของนครศรีธรรมราชที่เก่ียวเน่ืองกับความสามัคคี คือ ประเพณีใหท้ านไฟ ประเพณกี วนขา้ วยาคู และประเพณลี ากพระ 1. ประเพณใี หท้ านไฟ การใหท้ านไฟเปน็ การทำ� บญุ ดว้ ยไฟ เพอ่ื ใหค้ วามอบอนุ่ แกพ่ ระภกิ ษสุ งฆใ์ นตอนเชา้ มดื ของวนั ทอี่ ากาศ หนาวเยน็ ใช้ลานวดั เป็นทกี่ ่อกองไฟและท�ำขนมถวายพระ ประวัติความเปน็ มา นครศรีธรรมราชมี ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้นในหน้าหนาวก็ไม่หนาวจัด เพียงแต่คนรู้สึก ไม่เคยชินกับอากาศที่หนาวเย็นลงตอนย�่ำรุ่งเช้ามืดจึงลุกข้ึนมาก่อไฟผิงเพ่ือสร้างความอบอุ่น พุทธศาสนิกชน จงึ พากนั ไปกอ่ กองไฟในวดั ใกลบ้ า้ นแลว้ นมิ นตพ์ ระภกิ ษสุ งฆ์ มาผงิ ไฟรบั ความอบอนุ่ ดว้ ยการใหท้ านไฟไมม่ กี ำ� หนดระยะ เวลาทแี่ นน่ อนตายตวั แลว้ แตค่ วามสะดวกในการนดั หมาย แต่ส่วนใหญ่จะปฏิบัติในช่วงเดือนยี่ ซึ่งเป็นช่วงท่ีมีอากาศ หนาวเย็นท่ีสดุ ชาวบ้านจะนัดหมายไปพร้อมกนั ในวันไหน ก็ได้ ปัจจุบันกำ� หนดให้เอาเช้ามืดของวันปใี หม่ (คอื วันท่ี 1 มกราคม) เปน็ วนั ไปวดั ทำ� บญุ ใหท้ านไฟ และจดั ทำ� กจิ กรรม ปีใหม่ต่อเน่อื งกนั ไป พิธกี รรม กองไฟส�ำหรับการให้ทานไฟ การกอ่ ไฟ ชาวบ้านมักใช้ไมฟ้ นื หลายอันมาซ้อนกันเขา้ เปน็ เพิง กอ่ ไฟแล้วกน็ ิมนตพ์ ระสงฆม์ านั่งผิงไฟ เพื่อใหเ้ กดิ ความอบอนุ่ ท้ังพระสงฆแ์ ละคนท่อี ยู่ใกลเ้ คยี ง ขนมท่ีนิยมท�ำเช่น ขนมเบ้ือง ขนมครก และขนมโค เป็นขนมที่ปรุงขึ้นมาร้อน ๆ ไปถวายพระสงฆ์ ขณะทที่ ำ� ขนมกนั ไปพระสงฆก์ ฉ็ นั ไปพรอ้ ม ๆ กนั เมอ่ื พระสงฆฉ์ นั จนอมิ่ แลว้ ชาวบา้ นจงึ รบั ประทานกนั อยา่ งสนกุ สนาน หลงั จากพระสงฆฉ์ นั เสร็จแลว้ ก็สวดใหศ้ ลี ให้พรแกผ่ ูท้ ี่มาทำ� บุญเป็นอันเสรจ็ พธิ ี 112 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
2. ประเพณีกวนข้าวยาคู ข้าวยาโค (หรือข้าวยาคู) เป็นช่ือที่ ชาวนครศรีธรรมราช เรียกกันทั่วไปในพุทธประวัติเรียกว่า “ข้าวมธปุ ายาสยาคู” ประวัตคิ วามเป็นมา ชาวนครศรธี รรมราช มคี วามเชอ่ื ทเี่ กย่ี วเนอื่ ง กับพุทธประวัติตอนนางสุชาดาถวายมธุปายาสยาคู ปรารถนาจะบวงสรวงเทวดา จึงหุงข้าวมธุปายาสยาคู จัดลงในถาดทองค�ำน�ำไปที่โพธิพฤกษ์ เห็นพระมหาบุรุษ การกวนข้าวยาคู นง่ั อยู่ สำ� คญั วา่ เปน็ เทวดาจงึ นอ้ มขา้ วมธปุ ายาสยาคู เขา้ ไปถวาย ในเวลานน้ั บาตรของพระองคเ์ ผอญิ อนั ตรธานหายไป พระองค์จึงทรงรับข้าวมธุปายาสยาคูนั้นท้ังถาด นางจึงทูลถวายท้ังถาดแล้วกลับไป พระมหาบุรุษทรงถือถาดข้าว มธุปายาสยาคู เสด็จไปสู่ท่าน้�ำแห่งแม่น�้ำเนรัญชรา เมื่อสรงน�้ำแล้วจึงได้เสวยข้าวมธุปายาสยาคูจนหมด จึงทรงลอยถาดไป ความเชื่อ พุทธศาสนกิ ชนชาวนครศรธี รรมราช เชอื่ กนั ว่า ข้าวยาคนู ัน้ เป็นอาหารทิพยช์ ่วยใหส้ มองดีเกดิ ปญั ญา แก่ผู้บริโภค ท�ำให้มีอายุยืนยาวมีผิวพรรณผ่องใสและมีพลานามัยสมบูรณ์ และยังเป็นโอสถขนานเอกที่สามารถ ขจัดโรคร้ายได้ทุกชนิด ทั้งยังบันดาลความส�ำเร็จให้ผู้บริโภคสมปรารถนาในส่ิงที่คิดได้อีกด้วย ระยะเวลา ในการประกอบพิธี เดือนสามเป็นระยะเวลาท่ีข้าวในนาก�ำลังออกรวง เมล็ดข้าวยังไม่แก่ ก�ำลังเป็นน�้ำนมข้าว เหมาะส�ำหรับน�ำมากวนขา้ วยาคู ชาวบ้านจงึ นยิ มกวนขา้ วยาคใู นวันขน้ึ 13 และ 14 ค�่ำ เดือนสาม พธิ กี รรม 1. ขั้นตอนการกวนข้าวยาคู ประกอบด้วย สาวพรหมจารีนุ่งขาวห่มขาว และต้องรับสมาทาน เบญจศลี กอ่ นเขา้ พิธีกวน ทง้ั นี้เพือ่ ความบรสิ ทุ ธิแ์ ละความเปน็ มงคล โดยมดี า้ ยสายสิญจน์ โยงจากพระสงฆ์มาผูกไว้ ท่ีไม้พาย (ไม้กวน) ให้สาวพรหมจารีจับสายสิญจน์ไว้ พระสงฆ์เตรียมสวดขัยมงคลคาถา ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า สวดชยนั โตเพื่อเป็นมงคลพิธี 2. ข้ันตอนในการกวนข้าวยาคู 1). เรม่ิ พิธกี วน สาวพรหมจารีจับไมก้ วน มีการลั่นฆอ้ งชัยต้งั อโี หย้ (โห่สามลา) พระสงฆ์จะสวดขยันโตตั้งแต่เร่ิมกวน เม่ือสวดชยันโตจบแล้วถือว่าเสร็จพิธี ต่อไปใครจะกวนก็ได้ 2). การกวนข้าวยาคูต้องกวนอยู่ตลอดเวลา เพ่ือจะไม่ติดกระทะ เม่ือข้าวยาคูเริ่มเหนียวจะใช้น�้ำมันมะพร้าว ทเี่ คยี่ วไวเ้ ตมิ ลงในกระทะ ไมใ่ หข้ า้ วยาคตู ดิ ไมพ้ าย ขา้ วยาคจู ะเปลยี่ นเปน็ สคี ลำ�้ เมอื่ กวนเสรจ็ และมกี ลนิ่ หอมเครอื่ งเทศ 3). ระยะเวลา ใชเ้ วลาประมาณ แปดถึงเก้าชว่ั โมง สว่ นมากเริ่มกวนเวลา 19 นาฬิกา จนถงึ ประมาณ 03.00 นาฬิกา จึงแล้วเสร็จ 4). จากกระทะใส่ถาด เกล่ียข้าวยาคูให้บาง ๆ แล้วตัดเป็นช้ินน�ำไปถวายพระในวัดแจกจ่ายญาติมิตร ทมี่ ารว่ มในพธิ ีใหท้ ่ัวทกุ คนที่เหลือจัดสง่ ไปยงั วัดต่าง ๆ และน�ำไปฝากญาติมิตร เอกสารประกอบการเรียน 113 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
3. ประเพณลี ากพระ ลากพระ (ชักพระหรือแห่พระ) เป็นประเพณีท�ำบุญในวันออกพรรษาโดยอัญเชิญพระพุทธรูป มาประดิษฐาน ในนมพระแล้วแห่ โดยการลากไปชุมนมุ กนั ในบริเวณหมบู่ ้านใน วันแรม 1 ค�ำ่ เดอื นสิบเอด็ ประวัตคิ วามเปน็ มา ในสมัยที่มีการสร้างพระพุทธรูปข้ึน แล้วพุทธศาสนิกชนได้อัญเชิญพระพุทธรูปซึ่งสมมุติแทน องคพ์ ระพุทธเจ้ามาแหแ่ ทน ซ่งึ เปรียบเสมอื นการรับเสดจ็ และถวายภัตตาหารใหพ้ ระพุทธเจ้าดว้ ยตนเอง ความเชือ่ เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระพุทธเจ้าเสด็จไปจำ� พรรษา ณ สวรรคข์ ้นึ ดาวดงึ สเ์ พือ่ โปรดพระมารดา เมอื่ ครบพรรษา จึงเสด็จกลบั ลงมายังโลกมนษุ ย์ โดยจะกลับลงมาทางบันไดแกว้ ทพี่ ระอนิ ทร์นมิ ิตถวาย โดยจะเสด็จถึงนครสังกัสสะ ในเวลาเช้าตรู่ของวันแรม 1 ค่�ำ เดือนสิบเอ็ด พุทธศาสนิกชนท่ีทราบก�ำหนดการเสด็จ ต่างปลื้มปิติยินดีพากันไป รับเสด็จกันอย่างเนืองแน่น พร้อมทั้งเตรียมภัตตาหารไปถวาย พระพุทธเจ้าได้รับการอัญเชิญขึ้นประทับบนบุษบก ทเี่ ตรียมไว้ แล้วแห่แหนไปยงั ทป่ี ระทับ มคี นทีอ่ ยู่รอบนอกจำ� นวนมากที่ได้นำ� ใบไมม้ าห่อภัตตาหาร แลว้ ยน่ื ตอ่ ต่อกัน เพอื่ ใหถ้ งึ บษุ บกทปี่ ระทบั อยู่ บางคนกโ็ ยนบา้ ง ปาบา้ ง ดว้ ยแรงอธฐิ านของผมู้ จี ติ ศรทั ธาและอภนิ หิ ารของพระพทุ ธเจา้ ทำ� ใหภ้ ตั ตาหารเหลา่ นน้ั ไปตกในบาตรของพระพทุ ธองคท์ งั้ สน้ิ วา่ อานสิ งสแ์ หง่ การลากพระทำ� ใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดกู าล ชาวนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ต้องการไร่นาท่ีอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตเพ่ิมพูน การที่ฝนตกต้อง ตามฤดูกาล จึงเชื่อกันว่าหากใครได้ลากพระทุกปี จะเป็นผู้ท่ีได้รับบุญกุศลเป็นอย่างมาก และส่งผลให้ประสบ ความสำ� เร็จในชวี ติ วันลากพระจะทำ� กันในวนั ออกพรรษา คอื วันแรม 1 ค่�ำ เดือนสบิ เอ็ดของทุกปี พิธกี รรม ก่อนจะถงึ เวลาลากพระ พุทธศาสนิกชนจะเตรยี มการเพ่ือประกอบพธิ ีกรรมกนั อยา่ งคกึ คัก กล่าวคือ 1. การแต่งนมพระ นมพระหรือพนมพระ หมายถึง พาหนะที่ใช้บรรทุกพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร นยิ มท�ำกนั สองแบบ แบบหน่ึงใช้ลากทางบกเรียกว่า “นมพระ” ส่วนอีกแบบหนง่ึ ใช้ลากทางนำ้� เรยี กวา่ “เรอื พระ” นยิ มสร้างบนรา้ นม้า มไี ม้สีเ่ หลยี่ มขนาดใหญส่ องทอ่ นรองรบั ขา้ งล่าง ทางดา้ นทา้ ยทำ� เปน็ รปู หางพญานาค นิยมท�ำ ล้อเล่ือนด้วยไม้สี่ล้อไว้ในตัวพญานาคทั้งสองข้าง ด้านหน้าของพญานาคท้ังสองมีเชือกขนาดใหญ่พอก�ำมือรอบยาว ประมาณ 20-30 เมตร ผกู อยขู่ า้ งละเสน้ เปน็ เชอื กสำ� หรบั ใชล้ ากพระ รา้ นมา้ ใชไ้ มไ้ ผส่ าน ฝาผนงั มลี วดลายและระบาย สีงดงาม ข้างนมพระมีโพนสองลูก กลอง ฆ้อง หรือระฆังอย่างละหนึ่งลูก ปัจจุบันจะสร้างนมพระบนรถยนต์ ใช้เครอื่ งยนต์ขบั เคลื่อนเป็นการทุน่ แรง 2. การหุ้มโพน โพนเป็นเคร่ืองตี ใช้ประโคมพระลาก การหุ้มโพนใชเ้ วลานานนบั เดือน มกี รรมวธิ ี ที่ซบั ซอ้ นตอ้ งขดุ และขึงหนังให้ตงึ เตมิ ที่ บางวดั มพี ธิ ที างไสยศาสตรป์ ระกอบด้วย แต่ละวัดตอ้ งมโี พนสองใบ เสยี งทุม้ และเสียงแหลมอย่างละใบ เสยี งโพนเป็นจังหวะให้ความคึกคกั เรา้ ใจในขณะลากพระ 3. การคมุ พระ การคมุ พระเปน็ วธิ กี ารทพี่ ทุ ธบรษิ ทั ของจดั ตโี พนเปน็ การประโคมกอ่ นถงึ วนั ลากพระ เพื่อเตือนให้ชาวบ้านทั่วไปทราบและเกิดความกระตือรือร้นที่จะมาร่วมงานลากพระ โดยจะตีโพนเป็นระยะก่อนถึง วันลากพระ ประมาณหน่ึงถึงสองสัปดาห์ การคุมพระมักจะท�ำตอนกลางคนื เสยี งโพนจะกงั วานชดั เจนไปไกล 4. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ พระลากท่ีนิยมใช้ในพิธีลากพระ คือ พระพทุ ธรปู ปางอมุ้ บาตร เมอ่ื ถงึ วนั ขน้ึ 15 คำ่� เดอื นสบิ เอด็ พทุ ธบรษิ ทั จะอญั เชญิ พระลากออกจากวหิ ารหรอื อโุ บสถ ท�ำความสะอาดและสรงน้�ำพระชโลมเคร่ืองหอมต่าง ๆ แล้วเปล่ียนจีวรให้สวยงาม ในการน้ีมีพิธีสงฆ์สวดสมโภช มกี ารเทศนาในเร่ืองเกย่ี วกบั การเสด็จไปดาวดงึ สข์ องพระพทุ ธเจา้ จนกระทงั่ เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ 114 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
5. การตักบาตรหน้าล้อ ตอนเช้าตรู่ในวันแรม 1 ค่�ำเดือนสิบเอ็ด พุทธบริษัทจะน�ำภัตตาหาร มาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า “ตักบาตรหน้าล้อ” แล้วจึงอัญเชิญพระลากข้ึนประดิษฐานบนบุษบกในนมพระ บางวดั จะทำ� พธิ ไี สยศาสตร์ เพอื่ ใหก้ ารลากพระเปน็ ไปดว้ ยความราบรนื่ ปลอดภยั แคลว้ คลาดจากภยั อนั ตรายทงั้ ปวง 6. การลากพระ 6.1 การลากพระบก การลากพระ คอื การลากนมพระ สมัยโบราณใชล้ อ้ ไมเ้ ล่อื น นมพระจึงหนกั จึงต้องมีเชือกลากเป็นสองสาย แบ่งเป็นสายผู้หญิงและ สายผชู้ าย ผลู้ ากจะลากนมพระผา่ นมาตามเสน้ ทาง เมอ่ื ผา่ น หน้าบ้านของใคร คนที่อยู่ในบ้านจะมาช่วยกันลากพระ มารบั ทอดตอ่ อยา่ งไมข่ าดสาย คนลากจะประสานเสยี งรอ้ ง บทลากพระ เพื่อเปน็ การผ่อนแรงไปในตัว เรอื พระทางบก 6.2 การลากพระน�้ำ การลากพระน�ำ้ คอื การลากเรอื พระก็ท�ำในลกั ษณะเดยี วกัน แต่นยิ มกนั ในพ้ืนท่ีซึ่งมีสภาพเป็นที่ลุ่ม มีล�ำคลองมาก ได้แก่ อ�ำเภอปากพนัง อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอฉวาง การเตรียมการเช่นเดียวกับการลากพระบก แต่เปล่ียนจากนมพระบนล้อเล่ือนมาเป็นนมพระบนเรือ เรยี กวา่ “เรอื พระ” โดย การนำ� เรอื สองหรอื สามลำ� มายดึ โยง กันอย่างแข็งแรง จนเรือแยกจากกันไม่ได้ท�ำเป็นเรือพระ เรยี กวา่ “การคาดเรอื พระ” แลว้ สรา้ งนมพระบนเรอื อญั เชญิ พระลากไปประดิษฐานในเรือพระ ส่วนการลากเรือพระ ใช้เรือพายเรือแจวหลายล�ำช่วยกันลาก เรือพระ บทร้อง ที่ใชล้ ากพระและพธิ กี รรมต่าง ๆ ก็ปฏิบัตเิ ช่นเดียวกนั เรอื พระทางน้�ำ เรื่องท่ี 3 ประเพณที เี่ กีย่ วเน่อื งกับความศรทั ธา จงั หวดั นครศรธี รรมราช ความศรัทธา คือ ความเชื่อถือเลื่อมใส พุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ล้วนแต่มีความเล่ือมใส และเชอ่ื มนั่ ในพระรตั นตรยั แสดงออกถงึ ความศรทั ธาในรปู แบบของความพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามประเพณี โดยการประกอบ พธิ ีกรรมทางพระพุทธศาสนาในวันสำ� คญั ตา่ ง ๆ คอื ประเพณแี ห่ผา้ ข้ึนธาตุ ประเพณตี ักบาตรธปู เทียน และประเพณี สวดดา้ น 1. ประเพณีแห่ผา้ ขนึ้ ธาตุ แหผ่ ้าขนึ้ ธาตุ หมายถึง การแห่ผ้าผนื ยาวไป บูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการน�ำผ้าขึ้นห่มล้อมรอบ องค์พระบรมธาตุเจดีย์ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นประเพณีท่ีชาวนครศรีธรรมราช และพุทธศาสนิกชน ที่อยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นเวลา ยาวนาน การแห่ผ้าข้นึ ธาตุ เอกสารประกอบการเรียน 115 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
ประวตั คิ วามเปน็ มา ในสมัยที่พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชเป็นกษัตริย์ครองตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) อยู่นั้น ได้มีการ บูรณปฏิสังขรณ์ พระบรมธาตุเจดีย์ครั้งใหญ่และเสร็จในปี พ.ศ.1773 ขณะท่ี เตรียมสมโภชพระบรมธาตุอยู่น้ัน ชาวปากพนงั มากราบทลู วา่ คลน่ื ไดซ้ ดั เอาผา้ แถบยาวผนื หนง่ึ ซงึ่ มภี าพเขยี นเรอ่ื งพทุ ธประวตั มิ าขน้ึ ทชี่ ายหาดปากพนงั ชาวปากพนงั เกบ็ ผา้ นน้ั ถวายพระเจา้ ศรธี รรมาโศกราช พระองคร์ บั สงั่ ใหซ้ กั ผา้ นนั้ จนสะอาด เหน็ ภาพวาดพทุ ธประวตั ิ เรียกกันวา่ “ผา้ พระบฏ” ได้ความว่า ชาวพุทธจากเมืองหงสากลุม่ หนง่ึ จะน�ำผา้ พระบฏไปบชู าพระพทุ ธบาทที่ลงั กา แต่ถูกพายุพัดมาข้ึนที่ชายฝั่งปากพนัง เหลือผู้รอดชีวิตสิบคน พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชทรงความเห็นว่า ควรน�ำผ้า พระบฏไปหม่ พระบรมธาตเุ จดยี ์ เนอื่ งในโอกาสสมโภชพระบรมธาตุ แมจ้ ะไมใ่ ชพ่ ระพทุ ธบาททต่ี ง้ั ใจ แตเ่ ปน็ พระบรม สารีริกธาตุซึ่งเจ้าของผ้าพระบฏก็ยินดี การแห่ผ้าข้ึนธาตุจึงมีขึ้นต้ังแต่ปีนั้นและด�ำเนินการสืบต่อมา จนกลายเป็น ประเพณสี ำ� คญั ของชาวนครศรีธรรมราชในปจั จบุ ัน ความเช่ือ นครศรธี รรมราชรบั พระพทุ ธศาสนาจากอนิ เดยี และลงั กา จงึ รบั ความเชอื่ วา่ การทำ� บญุ และการกราบ ไหว้บูชาที่ให้ได้กุศลจริง จะต้องปฏิบัติต่อพระพักตร์และให้ใกล้ชิดกับพระพุทธเจ้าให้มากที่สุด เมื่อพระพุทธเจ้า เสดจ็ ปรินิพพานแลว้ แตก่ ็มีสัญลักษณข์ องพระพุทธองค์อยู่ ไดแ้ ก่ พระธาตเุ จดยี ์ พระพทุ ธรูป เปน็ ต้น การกราบไหว้ บูชาสิ่งเหล่าน้ีเท่ากับเป็นการกราบไหว้บูชาต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าโดยตรงเช่นกัน ด้วยเหตุนี้จึงเชื่อกันมาว่า การน�ำผ้าไปบูชาพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยการโอบล้อมองค์บรมธาตุเจดีย์ ถือเป็นการบูชาที่ใกล้ชิดกับพระพุทธองค์ พทุ ธศาสนกิ ชนในนครศรธี รรมราชจากทกุ สารทศิ จงึ มงุ่ หมายมาสกั การะ แตเ่ ดมิ การแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตนุ ยิ มจดั ปลี ะสองครง้ั ในวนั ขนึ้ 15 คำ�่ เดือนสาม (วนั มาฆบูชา) และวันขึน้ 15 ค�่ำ เดอื นหก (วันวสิ าขบชู า) โดยนำ� ผ้าไปหอ่ องค์พระบรม ธาตุเจดีย์ ณ วดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร ปจั จุบนั นยิ มท�ำกัน ในวนั ขึ้น 15 ค่ำ� เดือนสาม (วันมาฆบูชา) มากกว่า พิธกี รรม 1. การเตรียมผ้าพระบฏ ผ้าที่น�ำข้ึนห่อพระธาตุ มักนิยมใช้สีขาว เหลือง และแดง เมื่อไปถึงวัด ก็น�ำผ้ามาผูกต่อกันเป็นขนาดยาวท่ีสามารถห่อพระธาตุรอบองค์ได้ บางคนประดิษฐ์ตกแต่งชายขอบผ้าประดับด้วย รบิ บนิ้ พหู่ อ้ ยแพรพรรณ ลวดลายดอกไมส้ วยงาม แตผ่ า้ หอ่ พระบรมธาตเุ จดยี ผ์ นื พเิ ศษ จะเขยี นภาพพระพทุ ธประวตั ิ ท้ังผืนยาว เพ่ือเป็นพุทธบูชาองค์พระบรมธาตุเจดีย์ แต่ในปัจจุบันผ้าพระบฏซ่ึงมีทั้งสีขาว เหลือง แดง ส่วนใหญ่ เปน็ ผา้ ผนื ยาวเรียบ ๆ ธรรมดา 2. การจดั ขบวนแหผ่ า้ ขน้ึ ธาตุ สมยั โบราณเมอ่ื ถงึ วนั แหผ่ า้ ขน้ึ ธาตุ เรม่ิ ดว้ ยการจดั อาหารคาวหวาน เครอ่ื งอุปโภคและบริโภคทจ่ี ำ� เปน็ ไปถวายพระสงฆ์วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร โดยการหาบคอนกันไปเป็นขบวน แหท่ ส่ี วยงาม พรอ้ มนำ� ผา้ พระบฏและผา้ สเี หลอื งหรอื แดงหรอื ขาวไปวดั ปจั จบุ นั มไี ดย้ กเลกิ นำ� ภตั ตาหาร เครอ่ื งอปุ โภค และบรโิ ภคทนี่ ำ� ไปทำ� บญุ ถวายพระ ขบวนแหผ่ า้ ขน้ึ ธาตทุ กุ ขบวน นยิ มใชด้ นตรพี น้ื บา้ นนำ� หนา้ ขบวน เพอ่ื ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลิน ขบวนแห่ผ้าขึ้นธาตุจะเดินเป็นแถวเรียงเป็นร้ิวยาวไปตามความยาวของผืนผ้า ทุกคนชู (เทิด) ผา้ พระบฏไวเ้ หนือศีรษะ 3. การถวายผ้าพระบฏ พธิ ถี วายผ้าพระบฏท�ำโดยมหี ัวคณะกลา่ วนำ� ดว้ ยภาษาบาลี แลว้ ตามดว้ ย คำ� แปลมใี จความวา่ “ขา้ แตพ่ ระผเู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทง้ั หลาย ขอนอ้ มถวายผา้ หม่ พระธาตนุ ี้ แกพ่ ระพทุ ธเจา้ เพอ่ื เปน็ พทุ ธ บูชา ข้าพเจ้าทั้งหลายขอกราบไหว้ซึ่งเจดีย์ท้ังหลายในสถานท่ีน้ี ขออานิสงส์แห่งบุญกุศลของข้าพเจ้าท้ังหลาย จงมแี กข่ า้ พเจ้า และญาตมิ ิตรทง้ั หลายเพ่ือความสุขความเจริญตลอดกาลนานเทอญ” 116 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
4. การน�ำผา้ ขน้ึ หอ่ พระธาตุ หลงั จากทกุ คนกลา่ วคำ� ถวายผา้ พระบฏเรยี บรอ้ ยแลว้ จะแหท่ กั ษณิ าวตั ร รอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์สามรอบ แล้วน�ำผ้าเข้าสู่วิหารพระทรงม้า (พระวิหารมหาภิเนษกรมณ์) เม่ือถึงตอนน้ี ผูท้ ี่รว่ มในขบวนแห่จะสง่ ผู้แทนเพียงสามหรือสีค่ นสมทบกับเจา้ หนา้ ท่ขี องวดั นำ� ผ้าพระบฏขนึ้ โอบล้อมพระบรมธาตุ เจดีย์ 2. ประเพณตี ักบาตรธูปเทียน การตักบาตรธูปเทียนเป็นการท�ำบุญด้วยธูปเทียน และดอกไม้เน่ืองในเทศกาลเข้าพรรษา เพื่อจะให้ พระสงฆ์ ทจ่ี ำ� พรรษาไดน้ �ำธปู เทียนใช้บชู าพระรตั นตรัยตลอดพรรษาสามเดือน ชาวนครศรีธรรมราชจงึ น�ำธูปเทียน และไมข้ ดี ไฟ ไปถวายพระสงฆ์ในวันดังกลา่ ว ประวตั ิความเปน็ มา ประเพณีตักบาตรธูปเทียน เกิดจาก พทุ ธศาสนกิ ชนนำ� ธปู เทยี นดอกไมไ้ ปนมสั การและจดุ ไฟเพอื่ บูชาพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เน่ืองในเทศกาลวันเข้าพรรษา เกิดความศรัทธาเส่ือมใส ผู้คนพากันแบ่งธูปเทียนและดอกไม้ของตน ถวายให้ พระสงฆ์ไว้เป็นเครื่องบูชานมัสการ การตักบาตรธูปเทียน มีปีละคร้ัง คือ ในวันแรกเริ่มเข้าพรรษา (แรม 1 ค�่ำ เดือนแปด) เวลาประมาณ 16 นาฬิกา โดยใช้ลานในวัด เปน็ สถานทถี่ วายธปู เทยี น การตักบาตรธูปเทียน พธิ ีกรรม เนอ่ื งจากวนั ประกอบพธิ ตี กั บาตรธปู เทยี น เปน็ วนั เขา้ พรรษาของพระสงฆ์ ทกุ วดั ทพี่ ระสงฆจ์ ำ� พรรษา เรมิ่ พธิ เี ขา้ พรรษามาตง้ั แตต่ อนเชา้ มพี ทุ ธศาสนกิ ชนไปวดั ทำ� บญุ เขา้ พรรษากนั จำ� นวนมาก หลงั จากไหวพ้ ระฟงั เทศน์ ฟังธรรม และถวายภตั ตาหารแดพ่ ระสงฆแ์ ล้ว จึงไปเร่มิ พิธตี ักบาตรธปู เทยี นในตอนบา่ ย 3. ประเพณสี วดด้าน การสวดหนงั สอื หมายถงึ การอา่ นหนังสอื ร้อยกรองโดยใช้ส�ำเนียงภาษาพ้ืนเมือง อ่านออกเสียง เป็นทำ� นองตามบทรอ้ ยกรอง ด้าน หมายถึง ด้านต่าง ๆ รอบของ พระวิหารคด หรือ พระระเบียงรอบพระบรมธาตุเจดีย์ ซึง่ มสี ีด่ า้ น พระดา้ นหมายถงึ พระพทุ ธรปู ทปี่ ระดษิ ฐาน อยใู่ นวหิ ารคดทง้ั สด่ี า้ น พระพทุ ธรปู เหลา่ นเี้ รยี กวา่ พระดา้ น สวดด้าน หมายถึง การสวดหนังสือที่ระเบียงด้านต่าง ๆ การสวนด้าน ทั้งในวิหารคดและวิหารทับเกษตรในส่วนที่ประดิษฐานธรรมาสน์ส�ำหรับพระภิกษุสงฆ์ทั่งเทศนาในวันธรรมสวนะ สวดดา้ นจึงเป็นประเพณีการอา่ นหนังสอื ร้อยกรองประเภทนิทานนิยายในวาระหน่ึงของชาวนครศรีธรรมราช เอกสารประกอบการเรยี น 117 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
ประวตั คิ วามเป็นมา ในวันธรรมสวนะ พทุ ธศาสนิกชนจะมาท�ำบุญฟังธรรมกนั ชาวนครศรีธรรมราช จะหาหนงั สือมาสวด จนกว่าพระจะมาเทศน์ เพื่อจะได้ฟังกัน ได้ทั้งความเพลิดเพลินและความรู้เป็นคติสอนใจ การสวดด้านจะมีเฉพาะ ในวนั พระหรอื วันธรรมสวนะ (ขึน้ หรือแรม 8 ค่�ำและขึ้นหรอื แรม 15 ค�ำ่ ) เวลาก่อนเพล กอ่ นพระสงฆ์จะขึน้ ธรรมาสน์ แสดงธรรมเทศนาใหพ้ ุทธศาสนิกชนฟังทพ่ี ระระเบียงทง้ั สี่ดา้ นในวดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร พธิ ีกรรม พิธีกรรมเริ่มข้ึนเมื่อพุทธศาสนิกชนน�ำปิ่นโตบรรจุอาหารคาวหวานและดอกไม้ธูปเทียนมาน่ังรอ เพ่ือถวายพระสงฆ์และฟังเทศน์ ขณะน่ังรอ คนสวดด้านจะน�ำหนังสือร้อยกรอง นิทานชาดกท่ีเตรียมมาสวดด้าน ให้ผู้ฟังได้ฟัง และจะหยุดสวดด้านเม่ือพระสงฆ์เข้ามาในพระระเบียง ผู้สวดด้านและผู้ฟังจึงร่วมกันท�ำบุญ ในวันธรรมสวนะ 4. ประเพณีแห่นางดาน ประเพณีแห่นางดาน เป็นพิธีพราหมณ์ แห่งเมืองคอน หรือ พิธีตรียัมปวาย ตามความเชื่อลัทธิ พราหมณ์ จะประกอบด้วยพิธี “ตรยี มั ปวาย-โลช้ งิ ชา้ ” เพ่อื ต้อนรับพระอิศวร ท่ีเสด็จมาเยี่ยมโลกมนุษย์ โดยผนวก ประเพณีหลัก ๆ คือ ประเพณีสงกรานต์ในคราวเดียวกัน ประเพณีแห่นางดาน จัดขนึ้ ในวันที่ 14 เมษายน พิธีกรรม แห่นางดาน พธิ ีกรรมเก่ียวกับประเพณีแหน่ างดาน ประกอบด้วย ขบวนแหก่ ระดาน 3 แผน่ จากสนามหน้าเมอื ง ไปตามถนนราชด�ำเนินสหู่ อพระอิศวร กระดานแผน่ ที่ 1 สลกั เปน็ รปู พระอาทิตย์ และพระจันทร์ ซงึ่ เปน็ สญั ลักษณ์ ของกลางวนั และกลางคนื กระดานแผน่ ที่ 2 เปน็ รปู พระแมค่ งคา ซงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณข์ องความฉำ�่ เยน็ และอดุ มสมบรู ณ์ กระดานแผ่นที่ 3 เป็นรูปพระแม่ธรณี ซ่ึงหมายถึง ผืนแผ่นดินอันม่ังคั่ง เม่ือขบวนแห่ถึงหอพระอิศวรจะมีการร�ำ บวงสรวง เรอ่ื งที่ 4 เอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมจังหวดั นครศรธี รรมราช นครศรธี รรมราชเคยเปน็ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั และอาณาจกั รตามพรลงิ คม์ ากอ่ นมอี ายปุ ระมาณ 1,500 ปกี อ่ น สุโขทัย ดังน้ันนครศรีธรรมราชจึงได้ส่ังสมอารยธรรมมากมาย มาเป็นรูปแบบของตนเองอย่างหลากหลาย จนเปน็ เอกลักษณข์ องตนเอง เอกลกั ษณว์ ฒั นธรรมของชาวนครศรธี รรมราช ดังตัวอยา่ งที่จะยกมานำ� เสนอ ดังน้ี 1. เอกลักษณ์ด้านภาษาและวรรณกรรม 1.1 ดา้ นภาษา ภาษาถิ่นของนครศรีธรรมราช การพูดเอาความมากกว่าความไพเราะ ซึ่งในแต่ละอ�ำเภอจะมี ความแปลก แตกต่างกันออกไปตามสภาพทอ้ งถนิ่ 118 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
ระบบค�ำของภาษาถ่นิ นครศรีธรรมราช มลี กั ษณะตา่ ง ๆ ดังน้ี การใช้ค�ำ มีทั้งค�ำพยางค์เดียว และหลายพยางค์ ถ้าเป็นค�ำหลายพยางค์ในภาษาไทยมาตรฐาน สว่ นใหญจ่ ะตดั ใหเ้ หลอื เพยี งพยางคเ์ ดยี ว เชน่ มะพรา้ ว เปน็ พรา้ ว, ตลาด เปน็ หลาด, ขนม เปน็ หนม, ถนน เปน็ หนน, สะเอว เปน็ เอว, ตะกรา้ เปน็ กรา้ เปน็ ตน้ คำ� ทใ่ี ชม้ ที งั้ คำ� ทเ่ี หมอื นกบั ภาษาไทยมาตรฐานและคำ� ทแ่ี ตกตา่ งเปน็ คำ� ศพั ท์ เฉพาะท้องถิน่ ดังนี้ ค�ำนามทวั่ ไป เชน่ ยาหนดั (สบั ปะรด) รถถบี (จกั รยาน) เหลก็ ขดู (กระตา่ ยขดู มะพรา้ ว) สายเอว (เขม็ ขดั ) หวั ครกยารว่ ง (มะมว่ งหมิ พานต)์ ลอกอ (มะละกอ) พรก (กะลา) นากา (นาฬกิ า) ผา้ พว่ ย (ผา้ หม่ นอน) จอกนำ�้ (แกว้ นำ้� ) เป็นตน้ ค�ำลักษณนาม มักใช้คำ� ว่า หนวย ลูก เรียกส่งิ ทม่ี ลี กั ษณะแบบกลม เชน่ พร้าว 5 หนวย (มะพร้าว 5 ผล) ไขไ่ ก่ 3 หนวย และมกั เรยี กสิง่ ของทัว่ ไปวา่ อัน เช่น ไม้ 3 อัน เปน็ ต้น นอกจากนัน้ มีคำ� ลกั ษณนามเฉพาะ เช่น สมุด หนงั สอื เรียกเป็น แหล้ม, หวั เป็นต้น ค�ำล�ำดบั ญาติ โดยทว่ั ไปใชเ้ หมอื นภาษาไทยมาตรฐานแตท่ แี่ ตกตา่ งไป เชน่ พอ่ เฒา่ (ตา) แมเ่ ฒา่ (ยาย) บาว (พ่ชี าย) สาว (พสี่ าว) หลวง (ผูส้ ูงวยั กว่าท่บี วชเปน็ พระแลว้ ) เณร (ผู้อ่อนวัยกว่าทเี่ ป็นพระแล้ว) นอกจากนน้ั จะเรยี กคนทัว่ ไปตามล�ำดับอายุ เช่น แก่กว่า เรียก “พ”ี่ ออ่ นกว่า เรียก “น้อง” ออ่ นกวา่ พอ่ เรียก “นา้ ” แกก่ วา่ พอ่ แม่ เรียก “ลุง - ปา้ ” อายุคราวปูย่ ่า เรยี ก “ตายาย” เปน็ ต้น ไมน่ ยิ มทจี่ ะเรียกใครว่า “คุณ” ซ่ึงแสดงให้เห็นถงึ การถือลักษณะความสัมพนั ธแ์ บบเครอื ญาติ เปน็ ส�ำคญั ค�ำบรุ ษุ สรรพนาม โดยทวั่ ไปใชเ้ หมอื นภาษาไทยมาตรฐานแตท่ มี่ แี ตกตา่ ง ตรงระดบั เสยี ง เชน่ ฉนั -ฉาน, ก-ู ก,ู้ เรา-เรา้ , หน-ู นยุ้ , มึง-หมึง, ส-ู สู,้ คุณ-เติ้น, แก-แก,้ มนั -หม้นั ค�ำกรยิ า ใช้เหมอื นภาษาไทยมาตรฐานเปน็ ส่วนใหญ่ มคี วามแตกต่างกนั ออกไปบ้าง เช่น พูด-แหลง, ข-ี่ ขับ, ไกว แกว่ง-เว, รอ-ทา่ ครา่ ว, เจอ-ทะ จวน, แอบ ซอ่ น-หยบ, จดั แต่ง-ดับ เป็นต้น ค�ำปฏิเสธ มีเพียงไม่ก่ีค�ำ เช่น ใช่....หม้าย....หมาหม้าย ดังตัวอย่างในประโยค กูไม่ได้ท�ำ-กูใช่ท�ำ, ไมม่ เี งนิ -หม้ายตงั ค,์ หมาหมา้ ยตางค์ เปน็ ตน้ ค�ำวิเศษ เป็นค�ำที่ขยายค�ำอื่นในภาษาถิ่นน้ี มีลักษณะพิเศษคือ มีค�ำวิเศษณ์ ขยายค�ำได้ละเอียด หลายระดับ เป็นขั้นกว่าถงึ ที่สุด เช่น คำ� แสดงวา่ เล็ก น้อย เชน่ หดิ หดี ฉดิ แยดแต็ด นยุ้ แล็ก ค�ำแสดงค�ำถาม มคี วามแตกตา่ งจากภาษาไทยมาตรฐาน เชน่ ไตร ไซ-่ ทำ� ไม, ปรอื ปรอ๋ื -ทำ� ไม อยา่ งไร, ไหร-อะไร ตัวอยา่ ง มาท�ำไม - มาไตร มาไซ๋, มาอย่างไร - มาปรื๋อ เปน็ ต้น การแบง่ ค�ำโดยใช้ความหมาย ภาษาถิ่นนครศรีธรรมราชมีค�ำที่ใช้เหมือนและแตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน เฉพาะท่ีแตกต่างท้ังรูป เสยี งและความหมายโดย เช่น ค�ำบอกเวลา มีค�ำบอกเวลามากและหลากหลาย แต่ละค�ำมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดกับสภาพ แวดลอ้ ม วถิ วี ฒั นธรรม ประเพณแี ละสภาพทางภมู ศิ าสตร์ เชน่ หวนั มงุ้ มง้ิ หมายถงึ ตอนโพลเ้ พล้ วนั ชงิ เปรต หมายถงึ วันทม่ี กี ารทำ� บุญสง่ เปรต ตรงกับวันแรม 14 คำ�่ เดอื น 10 ของทกุ ปี ค�ำเก่ียวกับอาหารการกิน ภาษาไทยถิ่นมีชื่ออาหารท่ีแตกต่างจากถ่ินอื่น เช่น แกงส้ม หมายถึง แกงเหลอื ง แกงพุงปลา หมายถงึ แกงไตปลา ค�ำเก่ียวกับพืชและสัตว์ ค�ำที่แตกต่าง เช่น ย่าหนัด หมายถึง สับปะรด หัวครกยาร่วง หมายถึง มะม่วงหิมพานต์ เอกสารประกอบการเรยี น 119 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ค�ำเกย่ี วกบั โรคภัยไขเ้ จบ็ บางสว่ นทแ่ี ตกต่าง เช่น สางคราง หมายถึง เชอ้ื ราท่ีขาหนบี ไข่อุง้ ไข่ลงฝกั หมายถงึ ไลเ้ ลื่อน ค�ำเก่ียวกับเคร่ืองมือเครื่องใช้ บางส่วนที่ใช้แตกต่างจากภาษาไทยมาตรฐาน เช่น โคม หมายถึง กะละมงั รถรนุ หมายถงึ รถเขน็ การเรียงค�ำและประโยค การเรียงค�ำส่วนใหญ่เหมือนกับภาษาไทยมาตรฐานแต่มีบางค�ำที่เรียงสลับ ท่ีกัน เช่น หลวงพ่อ - พอ่ หลวง หลวงตา - ตาหลวง เลอื ดออก – ออกเลือด ค�ำนบั จ�ำนวน + ลักษณะนาม + นาม เชน่ สองบาททอง หมายถึง ทองสองบาท สิบล�ำเรือหมายถึง เรือสิบล�ำ ส�ำหรับรูปประโยคมลี กั ษณะเหมอื นภาษาไทยมาตรฐาน คอื เรยี งคำ� แบบประธาน + กริยา + กรรม และ สามารถตดั หรอื ยา้ ยคำ� ทำ� ใหไ้ ดป้ ระโยคหลาย ๆ แบบ เชน่ ฉานกนิ ขา้ วแหลว่ กนิ ขา้ วแหลว่ ฉาน ขา้ วกนิ แหลว่ ฉาน เดินเรว็ ๆ ตะ๊ เรว็ ๆ ตะ๊ เดนิ ฝนอีตอ็ กหลาว อิต๊อกหลาวฝน 1.2 ดา้ นวรรณกรรม เมืองนครศรีธรรมราชได้ชื่อว่าเป็นเมืองนักปราชญ์ราชกวีมาตั้งแต่คร้ังโบราณ ทุกยุคทุกสมัย นกั ปราชญแ์ ละกวเี มอื งนครไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานใหเ้ ปน็ ทป่ี รากฏตอ่ การรบั รแู้ ละการยอมรบั ของผคู้ นอยา่ งแพรห่ ลาย กว้างขวาง โดยเมื่อพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชทรงจดั การศึกษาแก่อาณาประชาราษฎรน์ นั้ ทรงบนั ทึกบทบาทของนัก ปราชญ์จากเมอื งนครศรธี รรมราช ไว้ในหลกั ศิลาจารกึ หลักท่ี 1 ว่า “...สงั ฆราชปราชญเ์ รยี นจบปฏิ กตรยั หลวกกวา่ ปคู่ รใู นเมอื งน้ี ทกุ คนลกุ แตเ่ มอื งศรธี รรมราชมา... ” วรรณกรรมเมอื งนครศรธี รรมราชนน้ั มที ง้ั “วรรณกรรมมขุ ปาฐะ” และ “วรรณกรรมลายลกั ษณ”์ “วรรณกรรมมขุ ปาฐะ” คอื วรรณกรรมท่ีถ่ายทอดสืบตอ่ กนั มาโดยการจดจำ� และรอ้ งตอ่ กนั มา ด้วยปากตอ่ ปาก เชน่ เพลงรอ้ งเรอื (เพลงกลอ่ มเดก็ ภาคใต้) บทรอ้ งเลน่ ของเดก็ บทขับเพลงบอก โนรา หนงั ตะลงุ จนถึง บทสวดในพธิ กี รรมต่าง ๆ เป็นต้น “วรรณกรรมลายลักษณ์” คือ วรรณกรรมที่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในสมุดข่อย สมุดไทยใบลาน และหนังสือบดุ จนถงึ รูปแบบหนังสอื และสื่ออืน่ ๆ ในปัจจุบัน ซ่ึงมีวรรณกรรมที่เป็นบทรอ้ ยกรอง นิทาน ต�ำนาน ต�ำราต่าง ๆ เป็นต้น มีนักเขียนหรือกวีเมืองนครจ�ำนวนมาก ได้สร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมไว้ ทั้งโดยรูปแบบของฉันทลักษณ์พ้ืนบ้านภาคใต้ และฉันทลักษณ์อย่างที่เป็นท่ีนิยมในราชธานี ตัวอย่างกวีเมืองนคร ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ทม่ี ชี อ่ื เสยี งเปน็ ทยี่ อมรบั เชน่ ภกิ ษอุ นิ ทร,์ พระยาตรงั , พระครวู นิ ยั ธร, นายเรอื ง นาใน, หมน่ื สนทิ , พระสมุหห์ น,ู ชูปราชญ,์ พระรตั นธชั มุนี (มว่ ง รตนธโช), สขุ ปราชญ์, พระปลัดเล่ียม อาสโย และ ขุนอาเทศคดี 2. เอกลกั ษณ์ดา้ นหัตถกรรม การท�ำเครอ่ื งถม เปน็ หตั ถกรรมทม่ี ชี อื่ เสยี งทสี่ ดุ ของนครศรีธรรมราชได้แก่ การท�ำเคร่ืองถมเคร่ืองใช้ เคร่ืองประดับต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ปัจจุบันชาวเมือง นครศรีธรรมราชบางส่วนยังประกอบอาชีพท�ำเคร่ืองถมอยู่ มี โ ร ง เ รี ย น ช ่ า ง ถ ม เ พ่ื อ ฝ ึ ก หั ด เ ย า ว ช น ใ ห ้ สื บ ท อ ด ม ร ด ก ทางวัฒนธรรมนตี้ อ่ ไป เครอ่ื งถมเมอื งนครศรีธรรมราช 120 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
การสานย่านลิเพา เป็นเคร่ืองใช้ เช่น กระเป๋า ภาชนะใส่ส่ิงของ ซึ่งเร่ิมมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4-5 นครศรีธรรมราชมีผู้เช่ียวชาญการสานย่านลิเพาฝีมือเอก ช่ือ ร้อยเอกเผือน คงเอียง ปัจจุบัน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โปรดเกล้าฯ ให้ไปเป็นครูสอน การประดิษฐ์เคร่ืองใช้จากย่านลิเพา ท่ีศูนย์ ศิลปาชพี บางไทร พระนครศรอี ยธุ ยา ย่ายลเิ พานครศรธี รรมราช การท�ำพัดด้วยใบกระพ้อ ของชาวบ้านโคกยางหน้าโรงเรียนวัดสุวรรณรังษี อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ โดยการใชย้ อดพ้อขนาดเพสลาดมาคลใี่ บตากแหง้ ยอมสแี ละทำ� จกั สานเป็นพดั แบบพ้นื บา้ น การแกะสลักรูปหนังตะลุง เป็นการแกะสลักหนังวัว หนังควาย ให้เป็นรูปหนังตะลุง และระบายสี ตามแบบและเทคนิคการท�ำรปู หนงั ตะลงุ สว่ นมากเป็นอาชีพเสริมของนายหนังตะลงุ หรอื แวดวงของอาชีพตะลงุ เดิม พัดใบกระพอ้ นครศรธี รรมราช รปู หนงั ตะลุงนครศรธี รรมราช การท�ำกรงนก การท�ำกรงนกเขาและกรงนกหวั จกุ เริม่ นยิ มแพร่หลายมาตง้ั แต่ พ.ศ. 2530 ผา้ ฝา้ ยเมอื งนครศรธี รรมราช สมยั กอ่ น ชาวเมอื งนครศรธี รรมราชเกอื บทกุ พนื้ ทจ่ี ะนยิ มปลกู ฝา้ ยเอง เก็บฝ้ายมาปั่นเส้นด้ายด้วยมือ ย้อมสีด้วยสีจากสมุนไพรหรือเปลือกไม้ และทอผ้าฝ้ายด้วยหูกทอผ้าที่ประดิษฐ์เอง ในครอบครัวและญาติพี่น้อง ไดพ้ ฒั นาใหฝ้ ีมอื ประณีตข้นึ เป็นผา้ ยกเมืองนครท่โี ดง่ ดงั กรงนก ผ้ายกเมืองนครศรธี รรมราช เอกสารประกอบการเรียน 121 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
3. เอกลักษณด์ า้ นศลิ ปกรรม ศลิ ปกรรมของนครศรธี รรมราชทีเ่ ด่นที่สุดมดี งั น้ี มโนราหห์ รอื โนรา เปน็ การแสดงพนื้ บา้ นทเ่ี ปน็ ทน่ี ยิ มมากของชาวนครศรธี รรมราช ในรชั สมยั พระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหแ้ สดงมโนราหห์ น้าพระท่ีนั่ง เสมอเวลาเสด็จประพาสเมืองนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะเวลาเสด็จนมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันการแสดง มโนราหป์ ระยุกต์ใหเ้ ป็นแบบสมัยใหมม่ ากขนึ้ หนังตะลุง เป็นการแสดงท่ีชาวนครศรีธรรมราชนิยมมากอีกประเภทหนึ่ง หนังตะลุงเป็นมหรสพ ที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน หนังตะลุงแสดงได้ท้ังในงานบุญและงานศพ ดังน้ันงานวัด งานศพ หรอื งานเฉลมิ ฉลองท่ีสำ� คญั จงึ มักมีหนังตะลุงมาแสดงใหช้ มด้วยเสมอ รำ� มโนราห์ การแสดงหนงั ตะลุง เพลงบอก : ปฏิภาณกวีประจ�ำท้องถิ่น เป็นศิลปะการละเล่นพื้นบ้านภาคใต้ท่ีมีมานานต้ังแต่อดีต เชื่อว่ามีความนิยมในการเล่นเพลงบอกมาแล้วราว 150-200 ปี เป็นศิลปะการละเล่นท่ีแสดงความสามารถ ในเชงิ ปฏิภาณกวขี องแม่เพลง ทีจ่ ะร้องขบั กลอนเพลงบอก หรือรอ้ งโต้ตอบกนั สด ๆ เพอ่ื รอ้ งบอกเรอ่ื งราวข่าวสาร และความบนั เทงิ รนื่ รมย์ เพลงบอกคณะหนงึ่ ๆ ประกอบด้วย แม่เพลง 1 คน และลูกคู่ 2-3 คน มี “ฉ่งิ ” เปน็ เคร่อื ง ดนตรปี ระกอบกำ� กบั จังหวะเพียงค่เู ดยี ว การครอบครูหมอช้าง การพิธีบูชาพระพิฆเนศ เพื่อให้เกิดสิริมงคลในการท�ำงานศิลปะและงาน ท่ีเกี่ยวกับการบังคับช้าง นับตั้งแต่การจับช้างป่า การเล้ียงและฝึกช้างการน�ำช้างไปใช้งาน พิธีกรรมจะด�ำเนิน โดยหมอเฒ่า การแทงหยวก คือ การน�ำกาบกล้วยสดมาจัก-แทง-ตัดให้เป็นลวดลายต่าง ๆ ด้วยมีดขนาดเล็ก มักใช้น�ำไปประกอบเบญจา เวลารดน�้ำผใู้ หญใ่ นวนั สงกรานต์ หรือประกอบเมรเุ ผาศพ การครอบครูหมอชา้ ง การแทงยวก 122 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
4. เอกลกั ษณ์ด้านอาหารการกิน การกนิ ส�ำรบั ชาวนครศรีธรรมราชนิยมกิน ส�ำรับกับข้าวโดยน�ำถ้วยกับข้าวใส่ในถาดพร้อมข้าว ยกไป ใหแ้ ขกหรอื ญาตผิ ใู้ หญร่ บั ประทานเรยี กวา่ ยกสำ� รบั หรอื กนิ สำ� รบั ขนมจนี เมืองนคร มที ง้ั แบบแปง้ บีบเส้นน่ิม ออ่ น กบั เสน้ ไมน่ มิ่ ออ่ น สว่ นนำ�้ แกงขนมจนี หลายอยา่ ง เชน่ นำ�้ แกงไมใ่ สม่ ะพรา้ ว นา้ํ แกงใสม่ ะพรา้ ว นำ้� พรกิ (ใชก้ ารเคยี่ ว ขนมจีนเมอื งนครศรธี รรมราช หัวกะทิใส่น้�ำตาลและถ่ัวลิสง ไม่มีรสเผ็ด) นอกจากนั้นยังมีแกงพุงปลา ซึ่งใช้ผักเสริมรสชาติ เช่น กล้วยหมาก มัน น�้ำเตา้ (ฟกั ทอง) มะกรูด ตน้ ตะไคร้ ขมนิ้ อ่อนทุบ ผกั เหนาะ มแี ตงดอง มะละกอดอง ยอดผกั ต่าง ๆ ทุกประเภทท่ีมที ้ังแตงกวา ถั่วฝกั ยาว และอืน่ ๆ สว่ นของ ชูรสที่ขาดไมไ่ ด้ คือ พริกทอดกรอบ นำ้� ปลาและมะนาว น้�ำชุบ น้�ำชุบของชาวเมืองนครศรี คือ อาหารพิเศษ ถ้วยเล็ก ใช้จ้ิมผักสดหรือผักต้ม มีส่วนผสม ทสี่ ำ� คัญคือ ดปี ลี หัวกระเทยี ม เคยกงุ้ เน้อื ปลาทู มะนาว และนำ�้ เลก็ น้อย นำ้� ชบุ หรอื นำ้� พรกิ จะมหี ลายประเภท เชน่ น�้ำชบุ เคย (น�้ำพรกิ กะป)ิ น้ำ� ชุบมะอกึ ซอยมะอึกใส่ นำ้� ชบุ ไม่ใส่มะนาว จะเรียกว่า น�้ำชุบนายโจร เพราะนายโจร จะทำ� นำ้� ชบุ แบบลวก ๆ รบี ด่วนไมใ่ ส่มะนาวก็กนิ ไดแ้ ล้ว ข้าวย�ำเมืองนคร มีรสชาติแปลกตามส่วน น้ำ� ชุม ผสม เชน่ ใบขม้ินอ่อนซอย ใบมะกรดู กุ้งตำ� ละเอยี ด เคร่อื ง แกง มะพรา้ วคว่ั ถง่ั ฝกั ยาวฝานบาง ๆ พรกิ ปน่ ละเอยี ด และ ราดน�้ำปลาเคี่ยวน้�ำตาลปีบ หรืออ่ืน ๆ เช่น มะขามเปียก เพื่อรสชาตจิ ะได้อร่อยกลมกล่อม อาหารพนื้ เมอื ง เชน่ เมด็ ยารว่ งเชอ่ื มนำ้� ตาล (เมด็ มะมว่ งหมิ พานต์) มงั คุดเขยี วคัดเปลือกท้ิง แชน่ ำ�้ เกลือ เปน็ ของกนิ เลน่ ลกู เนยี งตม้ กนิ กบั มะพรา้ วและนำ�้ ตาลทราย ขา้ วยำ� เมืองนครศรีธรรมราช ขนมกวนขาว สะตอดองย�ำ ใส่น้�ำตาล หอมแดงซอย กุ้งฝอย พริก แกงส้มดอกกล้วย ย�ำบุกคางบก ย�ำมะเขือหืน ผักสมนุ ไพร สะตอดองย�ำใส่น�้ำตาล เมด็ ม่วงเชอื่ มน�ำ้ ตาล เอกสารประกอบการเรยี น 123 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
กิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 10 ประเพณีและวัฒนธรรมจังหวดั นครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปน้ที กุ ข้อ 1. ให้ยกตัวอย่างประเพณีของจงั หวดั นครศรธี รรมราช มา 5 ประเพณี พรอ้ มอธบิ าย พอเป็นสังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ให้ยกตัวอย่างหัตถกรรมท่ีเด่น ๆ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช มา 3 อย่าง พร้อมอธิบาย พอเปน็ สงั เขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 124 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 11โบราณสถานและโบราณวัตถุจังหวดั นครศรีธรรมราช เรอื่ งท่ี 1 โบราณสถานจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวดั นครศรธี รรมราช มีโบราณสถานท่ีส�ำคัญมากมายหลายแหง่ โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ 1. วัดพระมหาธาตุวรมหาวหิ าร วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ ารซาวนครเรยี กสนั้ ๆ ว่า “วัดพระธาตุ” ตามประกาศของกระทรวงธรรมการ เร่อื งจดั ระเบยี บพระอารามหลวง ลงวนั ท่ี 30 กนั ยายน 2458 ให้เรียกว่า “วัดพระมหาธาตุ” เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนดิ “วรมหาวิหาร” ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 6 เสด็จประพาสเมืองนคร (พ.ศ. 2458) ได้พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร” มโี บราณสถานทส่ี ำ� คญั ดงั น้ี 1. พระบรมธาตเุ จดยี ์ 2. เจดยี ร์ าย 3. วิหารพระม้า 4. วิหารเขียน 5. วิหารโพธ์ิลังกา 6. วิหารสามจอม 7. วิหารพระแอด 8. วิหารหับเกษตร (ระเบียงตีนธาตุ) 9. วิหารคด (ระเบียงคด) 10. วิหารธรรมศาลา 11. วิหารหลวง 12. วิหารโพธ์ิพระเดิม 13. พระพทุ ธบาทจำ� ลอง 14. ศาลาศรพี ุทธสาร 15. ประตวู ัด โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี 1) พระบรมธาตเุ จดยี ์ พระบรมธาตุเจดีย์องค์เดิม สร้างตามความเช่ือทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานตามแบบ สถาปัตยกรรมศรีวิชัย ประมาณ พ.ศ. 1300 ปี พระพุทธศาสนานิกายหินยาน เจริญรุ่งเรืองในประเทศลังกา พระเจ้าศรีธรรมโศกราช จันทรภาณุ ผู้เป็นศาสนูปถัมภ์ ไดถ้ วายความสะดวกใหพ้ ระสงฆ์ ชาวเมอื งนครศรธี รรมราช เดนิ ทางไปศกึ ษาพระไตรปฎิ ก จำ� พรรษาอยเู่ มอื งนน้ั หลายปี จนมีความรู้แตกฉานในพระไตรปฎิ ก และขากลบั ไดน้ ิมนต์ คณะสงฆ์จากลังกามาประดิษฐานพระศาสนาในเมือง นครศรธี รรมราช ในปี พ.ศ. 1770 แบบสถาปตั ยกรรมลงั กา ดงั ทีป่ รากฏในปจั จบุ นั พระบรมธาตเุ จดีย์ เอกสารประกอบการเรียน 125 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
2) เจดีย์ราย เจดีย์ขนาดต่าง ๆ เรียงรายรอบองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ เป็นบริวารของพระบรมธาตุเจดีย์ เจดีย์บริวารเหล่านี้ เป็นศิลปะราวสมัยอยุธยาตอนปลาย หรอื รตั นโกสินทร์ตอนต้น มอี ย่ทู ้งั สิน้ จ�ำนวน 185 องค์ 3) วิหารพระมา้ วหิ ารพระมา้ มชี อ่ื เรยี กหลายชอ่ื เชน่ วหิ ารพระมา้ หรอื วหิ ารพระทรงมา้ หรอื วหิ ารพระมหาภเิ นษกรม แต่ชาวนครนิยม เรียกส้ัน ๆ ว่าวิหารพระม้า เพราะว่าภายในวิหารมีปูนปั้นเป็นภาพเก่ียวกับเร่ืองพระพุทธประวัติ ตอนพระพทุ ธองคท์ รงมา้ เสดจ็ ออกบรรพชาอยทู่ ฝี่ าผนงั วหิ ารพระมา้ นน้ั อยตู่ ดิ กบั พระบรมธาตเุ จดยี ท์ างดา้ นทศิ เหนอื 4) วิหารเซยี น วหิ ารเซียน เดิมน้นั เสาและผนังของวิหาร น้ีมีภาพลายเส้นอยู่เต็ม กรมศิลปากรได้ประกาศรับ พพิ ธิ ภณั ฑสถานของวดั พระมหาธาตเุ ปน็ สาขาพพิ ธิ ภณั ฑสถาน แห่งชาติ ประจำ� จังหวดั นครศรธี รรมราช ช่ือวา่ “ศรีธรรมราช พิธภัณฑสถาน” ท่ีตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของ วัดพระมหาธาตุ ก็คือวิหารเซียนนั้นเอง วัดได้ใช้วิหารเซียน เกบ็ รกั ษาส่งิ ของขนาดเล็กทท่ี ำ� ดว้ ย ทอง เงนิ นาก ส�ำริด เชน่ พระพุทธรูป ต้นไม้เงิน ตน้ ไม้ทอง ถ้วยชาม เคร่อื งลายคราม สรอ้ ย แหวน ต่างหู เขม็ ขดั ก�ำไล และปิ่นปกั ผม เป็นต้น 5) วหิ ารโพธ์ลิ งั กา วิหารโพธ์ิลังกา ตรงกลางวิหาร มีลาน ส�ำหรับปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นใหญ่ต้นหน่ึง เช่ือกันว่า พระศรีมหาโพธิ์ต้นนี้ได้พันธุ์มาจากลังกา และเรียกช่ือวิหาร ตามช่ือของต้นพระศรีมหาโพธ์ิจากลังกา ว่า วิหารโพธ์ิลังกา วิหารโพธ์ิลังกาอยู่ติดกับวิหารเซียน คืออยู่ด้านเหนือของ วิหารเซียนและบรมธาตุเจดีย์ เป็นวิหารสี่เหล่ียมจัตุรัส ล้อมรอบพระศรีมหาโพธ์ิ 6) วหิ ารสามจอม วิหารสามจอม เล่าสืบตอ่ กนั มาวา่ ผ้สู ร้าง วิหารน้ีเป็นผู้ชายช่ือ สามจอม โดยสร้างพร้อมกับเจดีย์ใหญ่ (เจดยี บ์ รวิ ารองคห์ นง่ึ ) ซงึ่ อยดู่ า้ นหลงั ของวหิ าร ดงั นนั้ จงึ เรยี ก ชื่อวิหารตามช่ือของผู้สร้างว่า วิหารสามจอม เรียกวิหาร สามจอมนว้ี า่ “วหิ ารพระเจ้าศรธี รรมาโศกราช” 126 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
7) วหิ ารพระแอด วิหารพระแอด เรียกกันตามชื่อของ พระพุทธรูปท่ีประดิษฐานอยู่ภายในวิหารหลังน้ี คือ พระกัจจายนะ หรือพระสังกัจจายน์ หรือพระสุภูตเถระ แต่คนทั่วไปเรียกกันว่า พระแอด ดังนั้นวิหารที่ประดิษฐาน พระพทุ ธรปู องค์นจี้ ึงไดช้ ื่อว่า “วหิ ารพระแอด” วิหารนอ้ี ย่ตู อ่ กับวหิ ารสามจอมไปทาง ด้านเหนือ 8) วิหารทบั เกษตร วหิ ารทบั เกษตร หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ พระระเบียงตีนธาตุ เป็นระเบียงหรือวิหารท่ีอยู่โดยรอบฐาน องคพ์ ระบรมธาตเุ จดยี ์ พระพทุ ธรปู ทง้ั หมดในวหิ ารนม้ี ี 91 องค์ ทุกด้านในวิหารน้ีมีธรรมาสน์ ส�ำหรับพระสงฆ์ใช้ในการแสดง พระธรรมเทศนาในวันพระ 9) วหิ ารคด วิหารคดหรือพระระเบียง หรือพระด้าน วหิ ารนส้ี รา้ งเปน็ รปู สเี่ หลยี่ มผนื ผา้ ลอ้ มรอบบรเิ วณภายในองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ การที่สร้างให้หักเป็นมุมน่ีเอง ชาวบ้าน จึงเรียกว่า วิหารคด เต็มไปด้วยพระพุทธรูปปั้นเรียงเป็น ระเบียบ เป็นพระพุทธรูปน่ังเป็นแถวยาว ตลอดทุกด้าน ของระเบยี ง จำ� นวน 173 องค์ พระพุทธรปู เหลา่ นี้เปน็ ฝเี มือ ชา่ งสมยั อยธุ ยา 10) วหิ ารธรรมศาลา วิหารธรรมศาลาภายในวิหารนี้มีพระพุทธรูป ปางมารวิชัยประดิษฐานอยู่ มีช่ือว่าพระธรรมศาลา เป็นพระพุทธ องค์ใหญ่ที่สุดในวิหารหลังนี้ เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนลงรัก ปดิ ทอง เป็นศิลปะยุคเดยี วกับพระพุทธรปู พระเจา้ ศรธี รรมโศกราช วิหารธรรมศาลาอยู่ทางด้านตะวันออกของพระบรมธาตุเจดีย์ คือ นอกระเบียงคดตรงประตูเยาวราช มีต�ำนานว่า พระเถระเหมรังสี เป็นผ้สู รา้ ง เอกสารประกอบการเรยี น 127 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
11) พระวหิ ารหลวง พระวิหารหลวงอยู่ทางด้านใต้ของ พระบรมธาตเุ จดยี ์ อยภู่ ายนอกเขตของพระระเบยี งคด ถอื เปน็ พระอโุ บสถของวดั พระมหาธาตุ นบั เปน็ พระอโุ บสถทกี่ วา้ งใหญ่ ท่ีสุดในปักษ์ใต้ การวางเสา ยึดแบบท่ีนิยมกันในสมัยอยุธยา พระพุทธรูปซ่ึงเป็นพระประธานในวิหารน้ีชื่อว่า พระศรี ศากยมนุ ีศรธี รรมราชเปน็ ปางมารวชิ ัยเป็นพระพุทธรูปที่สร้าง สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น หน้าพระประธานมีพระพุทธรูป สาวกขวาและซ้าย คอื พระสารบี ุตรและพระโมคคัลลาน 12) วหิ ารโพธพ์ิ ระเดิม วหิ ารโพธ์พิ ระเดมิ ตงั้ อยู่ทางตอนสุดอาณาเขตของวัดพระมหาธาตุ ทางด้านเหนอื ของพระบรม ธาตเุ ปน็ วดั ทสี่ รา้ งหลงั วดั พระมหาธาตไุ มน่ านนกั เรยี กวา่ วดั พระเดมิ ในวดั นม้ี วี หิ ารแบบเดยี วกบั วหิ ารโพธล์ิ งั กาภายใน บริเวณพระบรมมาธาตุทุกประการ ทงั้ พระพทุ ธรปู และต้นโพธ์ิ 13) พระพุทธบาทจ�ำลอง พระพุทธบาทจ�ำลองประดิษฐานในมณฑลบนเนินสูง อยู่ทาง ด้านเหนือของพระบรมธาตุนอกวิหารคด พระพุทธบาทน้ี เป็นแผ่นหินสลักพระพุทธบาทจ�ำลอง หินที่น�ำมาแกะสลัก พระพทุ ธบาท แตเ่ ดมิ เปน็ ของเจา้ พระยาสรุ ธรรมมนตรี (พรอ้ ม) ขนาดยาว 74 น้ิว กว้าง 44 นว้ิ พระพุทธบาทจ�ำลองนสี้ รา้ ง เมื่อวันท่ี 1 มกราคม 2450 ผู้สร้าง คือพระรัตนธัชมุนี (รตนธชเถร-ม่วง เปรยี ญ) 14) ศาลาศรพี ุทธศิ าล ศาลาศรีพุทธิสาร สร้างทางด้านใต้ของพระวิหารหลวง ติดกับถนนหลังวัดพระมหาธาตุ ศาลาหลังนี้สร้างเพ่ือใช้เป็นที่พักของพระสงฆ์ อาคันตุกะและพระพุทธศาสนิกชนท่ีมาสักการะพระบรมธาตุ สร้างเป็นอาคาร 2 ช้ัน ขนาดกว้าง 11 เมตร ยาว 18 เมตร ต่อมุขทางด้านหน้า 4 เมตร มีห้องพัก 30 ห้อง หลังคาเปน็ แบบทรงไทย 15) ประตูวัด (5 ประต)ู ประตูเข้าวัดพระมหาธาตุทางด้านหน้านั้นมีอยู่ 3 ประตู ประตูกลางที่ตรงกับวิหารธรรมศาลา เรยี กว่า ประตูเยาวราช เม่ือ พ.ศ. 2452 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรด เกล้าฯ ให้สร้างประตูกลางของวัดพระมหาธาตุ เป็นซุ้ม ก่ออิฐถือปูน เปน็ ซมุ้ ประตขู นาดใหญ่ มลี ายปนู ปน้ั ประดบั จารกึ ปที สี่ รา้ งคอื ร.ศ.128 มซี มุ้ ทศิ ดว้ ยยอดของซมุ้ ประตเู ปน็ แบบพระมหามงกฎุ และพระราชทาน นามว่าประตเู ยาวราช 128 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
2. หอพระพทุ ธสิหงิ ค์ หอพระพทุ ธสหิ งิ ค์ พระพทุ ธสหิ งิ ค์ จังหวัดนครศรธี รรมราช หอพระพทุ ธสหิ งิ ค์ ตง้ั อยบู่ รเิ วณศาลากลางจงั หวดั นครศรธี รรมราช ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธสหิ งิ ค์ พระพุทธรูปศักสิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองมาตั้งแต่คร้ังพระเจ้าศรีธรรมโศกราช พระพุทธสิหิงค์เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ประทับน่งั ขดั สมาธเิ พชร ปางมารวิชัย 3. วัดทา้ วโคตร วัดท้าวโคตร ต้ังอยู่ริมถนนราชด�ำเนิน บา้ นนาเดมิ หมู่ท่ี2ตำ� บลนาอำ� เภอเมอื งจงั หวดั นครศรธี รรมราช เป็นวัดเก่าแก่แห่งหน่ึงของเมืองนครฯ ภายในวัดท้าวโคตร มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณสถานท่ีส�ำคัญคือ ซากเจดีย์โบราณ เจดีย์วัดท้าวโคตรใช้อิฐเป็นโครงสร้างหลัก และใช้ดนิ เหนียวเป็นส่วนยึด 4. วัดเสมาเมือง วัดเสมาเมือง ต้ังอยู่ในเขตต�ำบลในเมือง อำ� เภอเมือง จังหวัดนครศรธี รรมราช พระเจ้าศรีธรรมโศกราช เปน็ ผทู้ รงสรา้ งวดั นข้ี น้ึ สถานทสี่ รา้ งวดั นเ้ี ปน็ ทำ� เลใจกลางเมอื ง นครศรธี รรมราชในสมยั นน้ั วดั นเี้ ปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของวดั ทง้ั หลาย ในเมืองนคร สร้างและอุทิศถวายแด่พระพุทธองค์ผู้ทรงชนะ มารพระโพธสิ ตั ว์ ปทั มปาณีและวชั รปาณี เอกสารประกอบการเรยี น 129 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
5. วดั เสมาชยั วัดเสมาชัย ปัจจุบันเป็นวัดร้าง ต้ังอยู่ภายใน โรงเรียนเทศบาลเมืองนครศรีธรรมราช ทางทิศเหนือของวัด เสมาเมอื ง หลงเหลอื เพยี งอโุ บสถเกา่ ทมี่ ฐี านยกสงู และถกู สรา้ ง อาคารโถงสมยั ใหมท่ บั ปจั จบุ นั มพี ระพทุ ธรปู ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ ทเี่ รยี ก กันว่า หลวงพ่อเสมาชัย และเจ้าแม่อ่างทอง พระพุทธรูป หินทรายภายในอุโบสถวัดเสมาชัย (ร้าง) เป็นพระพุทธรูป หินทรายสีแดงคล้ายพระพุทธรูปในศิลปะอยุธยาตอนต้น ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 20-21 6. วดั หนา้ พระลาน วัดหน้าพระลาน ตั้งอยู่บนถนนพระบรมธาตุ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช อยตู่ ดิ กบั วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ซึ่งต้ังอยู่ทางทิศใต้ วัดหน้าพระลานมีพระพุทธรูปประทับยืน หล่อจากสำ� รดิ ปางประทานอภัยสองพระหัตถ์ หรือปางหา้ ม สมุทร ครองจีวรห่มคลุม ทรงเครื่องอย่างพระจักรพรรดิราช อายรุ าวพุทธศตวรรษ ท่ี 22-24 7. เจดีย์ยักษ์ เจดีย์ยักษ์ เป็นเจดีย์ที่สูงใหญ่รองจากเจดีย์ พระบรมธาตุ ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเจดีย์ ซ่ึงร้างไปแล้วติดกับ สำ� นกั งานเทศบาลนครศรธี รรมราช ถนนราชดำ� เนนิ ใกลต้ ลาด ท่าวงั ช่ือวา่ “เจดยี ์ยักษ์” 8. วดั ประดูพ่ ฒั นาราม วัดประดพู่ ัฒนาราม เกง๋ พระเจา้ ตาก 130 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
วดั ประดพู่ ฒั นาราม หรอื วดั ประดู่ หรอื วดั โด ตงั้ อยใู่ นเขตเทศบาลนคร นครศรธี รรมราช อำ� เภอเมอื ง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดท่ีส�ำคัญวัดหน่ึงของจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นที่บรรจุอัฐิ ของเจา้ พระยานคร (นอ้ ยกลาง) 9. วดั แจง้ วรวิหาร วดั แจง้ วรวหิ าร เปน็ พระอารามหลวงชนั้ ตรี ชนดิ สามญั สงั กดั คณะสงฆม์ หานกิ าย ตงั้ อยตู่ ดิ กบั วดั ประดู่ ต้ังอยู่ริมถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมือง เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ได้รับการยกฐานะขึ้น เป็นพระอารามหลวง เมื่อวนั ท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ.2529 พส่ี าวของเจา้ พระยานคร (พฒั น์) ชอื่ ชี เปน็ ผสู้ รา้ งประมาณ ปี พ.ศ. 2327 - 2330 10. หอพระสูง พระวิหารสงู หรอื หอพระสูง เป็นปชู นยี สถาน ท่ีส�ำคัญแห่งหนึ่งของเมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่นอก ก�ำแพงเมืองโบราณนครศรีธรรมราชด้านทิศเหนือในบริเวณ สนามหนา้ เมือง ใกลส้ �ำนักงานการท่องเทย่ี วแห่งประเทศไทย สรา้ งในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น 11. วัดท่าโพธว์ิ รวิหาร วัดท่าโพธ์ิวรวิหาร ต้ังอยู่ริมคลองท่าวัง ต�ำบลท่าชัก อ�ำเภอเมือง สร้างในรัชสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา โบราณวัตถุโบราณสถานที่ส�ำคัญ คือ โบสถ์และพระประธานในโบสถ์ เป็นพระพุทธรปู ทรงเคร่อื งใหญส่ สี วยงาม ดา้ นหลังพระประธานมีเจดียบ์ รรจุอฐั ขิ องเจา้ พระยานครฯ (พฒั น)์ พระประธานในโบสถ์วดั ท่าโพธ้ิวรวหิ าร วัดท่าโพธวิ รวิหาร เอกสารประกอบการเรียน 131 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
12. หอพระอิศวร หอพระศิวะ ตั้งอยู่ที่ถนนราชด�ำเนิน ใกล้กับ วัดเสมาเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง เป็นเทวสถาน ในศาสนาพราหมณ์ไศวนิกาย คือ นิกายที่นับถือพระศิวะ หรือพระอิศวร นับถืออวัยวะเพศหรือลึงค์ของพระศิวะ ที่เรียกว่า “ศิวลึงค์” และนับถืออวัยวะเพศของพระมเหสี พระศิวะ คือ พระนางอุมา “อุมาโยนี” ศิวลึงค์กับอุมาโยนี จะอยู่คู่กันเสมอ ภายในหอพระศิวะประดิษฐานศิวลึงค์บนแท่นโยนิโทรณะ ภายนอกด้านใต้มี “เสาชิงช้า” จ�ำลอง แทนของเดมิ 13. หอพระนารายณ์ หอพระนารายณต์ ง้ั อยทู่ ถี่ นนราชดำ� เนนิ ใกลก้ บั วัดเสมาเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง ฝั่งตรงข้ามกันกับ หอพระศิวะ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ไวษณพนิกาย คอื นกิ ายทนี่ บั ถอื พระนารายณ์ ซงึ่ เปน็ ใหญแ่ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว คอื ท้ังผู้สร้าง ผู้รักษาและผู้ท�ำลายสากลโลกน้ี ข้างใน มีเทวรูป นารายณ์ศิลาปิดทองยืนจมดินอยู่เพียงน่องสูงประมาณ ศอกเศษ 14. แหล่งน้�ำศักดส์ิ ทิ ธิ์ในจังหวัดนครศรธี รรมราช ในคร้ังโบราณตราบจนปัจจุบัน เมอ่ื ตอ้ งการใช้น้�ำพระพทุ ธมนตป์ ระกอบพระราชพธิ ี เช่น น้ำ� อภเิ ษก นำ�้ บรมราชาภเิ ษกและนำ�้ พพิ ฒั นส์ ตั ยา เปน็ ตน้ เจา้ เมอื งกจ็ ะใหร้ าชบรุ ษุ ไปพลกี รรม เพอื่ เอานำ�้ จากแหลง่ นำ�้ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ทั้ง 6 แหล่งมาประกอบพิธีทุกคร้ังไป แหล่งน�้ำศักด์ิสิทธ์ิคู่เมืองนครศรีธรรมราช ใช้ในพระราชพิธีและพิธีกรรม อันศักด์ิสิทธ์ิในพระราชพิธีเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ พระมหากษัตริย์ที่จะข้ึนเถลิงถวัลย์ราช แหล่งน้�ำศักด์ิสิทธ์ิท่ีใช้ ในการประกอบพธิ พี ลกี รรมตักน้ำ� จำ� นวน 6 แหล่ง คือ 1) บ่อนำ้� ศักด์สิ ิทธ์ิ วัดหน้าพระลาน ตั้งอยู่ในวัดพระลาน ซ่ึงอยู่ทางทิศใต้ ของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ในสมัยโบราณชาวบ้าน เช่ือกันว่าเป็นบ่อน้�ำศักดิ์สิทธิ์น�้ำใสสะอาด หากใครได้ด่ืมน้�ำ ในบอ่ นีจ้ ะมสี ตปิ ัญญาดี มวี าสนา จะไดเ้ ป็นขนุ นางผใู้ หญ่ 132 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
2) บ่อน้ำ� ศกั ดส์ิ ทิ ธ์วิ ัดเสมาเมือง ตั้งอยู่ทางทิศอีสานของวัด เป็นบ่อน้�ำ ท่ีสร้างข้ึนพร้อมกับการต้ังวัดเสมาเมือง ชาวบ้านเช่ือกันว่า บ่อน้�ำแห่งนี้ ตั้งอยู่ภายในเขตธรณีสงฆ์อันเป็นแดนของ พระพุทธศาสนาและในอดตี เคยเปน็ ศาสนาพราหมณ์ ท่ีไดเ้ ข้า สู่นครศรีธรรมราชราวศตวรรษที่ 10-12 3) บ่อน�้ำศักด์สิ ิทธวิ์ ัดเสมาชัย ตงั้ อยทู่ างทศิ เหนอื ของวดั เสมาเมอื งบอ่ นำ�้ ต้ังอยู่ทางทิศอีสานของวัด เสมาชัย ในอดีตพระเจ้าศรีธรรม โศกราช กษัตรยิ เ์ มอื งนครไดส้ รา้ งวดั น้ขี ้นึ หลังจากไดก้ รีธาทัพ ไปตหี ัวเมอื งฝา่ ยใต้และไดร้ บั ชยั ชนะกลบั มา 4) บ่อน�้ำศักดส์ิ ิทธิ์วดั ประตูขาว ตั้งอยู่ต�ำบลคลัง อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรธี รรมราช ปัจจุบันเปน็ วดั รา้ งทางราชการได้ใช้สถานที่ วัดเป็นโรงเรียนอนุบาลนครศรีธรรมราชไปแล้ว บ่อน�้ำ ท่ีวัดประตูขาว เดิมเป็นบ่อน�้ำลึกอยู่หลังโรงเรียนอนุบาล นครศรธี รรมราช 5) บอ่ น้�ำศักดิ์สทิ ธ์หิ ว้ ยเขามหาชยั เป็นล�ำห้วยท่ีมีน้�ำไหลมาจากเขามหาชัย ต้นน�้ำอยู่ในเขตหมู่ท่ี 4 ต�ำบลท่างิ้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ล�ำห้วยนี้เรียกตามชื่อภูเขามหาชัย อันหมายถึงชยั ชนะอนั ยง่ิ ใหญ่ 6) บ่อน้�ำศกั ด์สิ ิทธห์ิ ว้ ยปากนาคราช อยทู่ ตี่ ำ� บลเขาแกว้ อำ� เภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช นำ้� จากลำ� หว้ ยนไ้ี หลออกมาจากแงห่ นิ ทมี่ ปี าก เหมอื นพญานาค ไหลตลอดปี ตง้ั แตโ่ บราณมาเชอ่ื วา่ นำ�้ ในหว้ ย นาคราชเปน็ น้�ำศักดสิ์ ิทธ์ิ เอกสารประกอบการเรียน 133 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
15. ศาลากลางจังหวัด ศาลากลางจงั หวดั นครศรธี รรมราช เดมิ เปน็ วงั ของเจ้าเมือง ก่อนท่ีจะมีการปฏิรูปการปกครองในสมัย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั 16. สนามหนา้ เมือง สนามหน้าเมือง ตั้งอยู่นอกก�ำแพงเมืองเดิม ของเมืองนครศรีธรรมราช ใช้เป็นที่ประกอบกิจกรรมต่างๆ ของทางราชการบ้านเมอื งและกิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ การละเลน่ การแข่งขันกีฬา การออกร้านจ�ำหน่ายสินค้า การจัดงาน เทศกาลประจำ� ปี การแสดงมหรสพ ของชาวเมอื งนครมาตง้ั แต่ สมัยโบราณจนถึงในปัจจุบนั 17. ก�ำแพงเมอื งนครศรธี รรมราช ก�ำแพงเมืองนครศรีธรรมราช สร้างในสมัย พระเจ้าศรีธรรมโศกราชในราวพุทธศตวรรษท่ี 11 ล้อมรอบ เมืองตามพรลิงค์ มีประตูเมืองส�ำคัญ 2 ประตู ประตูด้าน ทิศเหนือ ชื่อ “ประตูไชยศักด์ิ” ประตูด้านทิศใต้ช่ือ “ประตูไชยสิทธ์ิ” ต่อมาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2199 - 2231) ไดท้ ำ� การกอ่ สรา้ งขนึ้ ใหมต่ ามแบบกำ� แพง เมอื งทางตะวนั ตก มปี อ้ มปราการทตี่ ง้ั ปนื ใหญแ่ ละปนื อน่ื ๆ ได้ มใี บเสมาบนกำ� แพง 18. สระล้างดาบศรีปราชญ์ สระล้างดาบศรีปราชญ์และอนุสาวรีย์ ศรีปราชญ์ ประวัติอนุสรณ์สถานศรีปราชญ์ ต้ังอยู่ภายใน โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช เป็นอนุสรณ์การตายของ ศรีปราชญ์ ผู้เป็นกวีเอกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา แตถ่ กู เนรเทศมาอยู่ ณ เมอื งนครศรธี รรมราช ต่อมาเกิดมีความขัดเคืองใจแก่เจ้านครศรีธรรมราช จึงถูกสั่ง ประหาร หลงั จากประหารศรปี ราชญแ์ ลว้ เพชฌฆาตไดน้ ำ� ดาบ มาล้างท่ีสระแหง่ น้ี 134 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
19. อนสุ าวรีย์วรี ไทย อนสุ าวรีย์วีรไทย อนุสาวรีย์วีรไทย หรือชาวบ้านเรียกว่า “อนุสาวรีย์จ่าด�ำ” เป็นอนุสรณ์สถานท่ีสร้างขึ้นเพื่อ เป็นเกียรติประวัติวีรกรรมทหารไทย ที่ได้สละชีพเพ่ือชาติ ในสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา ตั้งอยู่ตรงบริเวณท่ีทหาร ของมณฑลทหารบกนครศรีธรรมราช ภายในฐานบรรจุอัฐิ ของทหารผูเ้ สยี ชีวติ ในการสรู้ บคร้ังนั้น จ�ำนวน 116 คน 20. วัดสอ (วัดสรรเสรญิ ) วัดสรรเสริญหรือท่ีรู้จักกันโดยท่ัวไปว่า วัดสอ เปน็ วดั ทเ่ี กา่ แกซ่ ่ึงตัง้ อยหู่ มู่ 3 ตำ� บลขุนทะเล อ�ำเภอลานสกา จังหวดั นครศรีธรรมราช เปน็ สถานท่รี วบรวมผคู้ นเมือ่ มขี า้ ศึก รุกราน 21. วดั ธาตุน้อย วดั ธาตนุ อ้ ย หรอื วดั พระธาตนุ อ้ ย ตง้ั อยใู่ นเขต ต�ำบลหลักช้าง อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งขึ้นโดยความประสงค์ของพ่อท่านคล้าย (พระครูพิศิษฐ์ อรรถการ) พระเกจอิ าจารยท์ ชี่ าวใตเ้ ลอื่ มใสศรทั ธาอยา่ งสงู ยง่ิ รูปหนึ่ง เชื่อถือถึงความศักดิ์สิทธิ์ของวาจา พูดอย่างไร เปน็ อยา่ งนนั้ 22. วดั เขาขุนพนม วัดเขาขุนพนม ตั้งอยู่ในหมู่ท่ี 3 ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอพรหมคีรี สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยา เพราะมี ศิลปวตั ถุโบราณสมัยอยุธยาอยมู่ าก เช่น ขนั น�้ำมนต์ คนโท พระพุทธรูปส�ำรดิ เป็นตน้ เชิงเขาใกล้ทางขึ้นถ้ำ� มีโบสถ์เก่าแก่ ขนาดเล็กพอพระสงฆ์ท�ำสังฆกรรมได้ มีประตูเข้าทางเดียวไม่มี หน้าต่าง ใบเสมาเป็นศิลาแกะสลัก รูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา ถ�้ำเขาขุนพนม หรอื ถำ�้ คมุ พนม ตงั้ อยภู่ ายใตซ้ ะโงกผาสงู ทหี่ นา้ ถำ�้ มกี ำ� แพงสงู ประมาณ 2 เมตร บนก�ำแพงมีใบเสมาเหมือนก�ำแพงเมือง โบราณ ด้านหน้าก�ำแพงมีลายปูนปั้นประดับด้วยถ้วยชาม ลวดลายสวยงาม ที่ประตูมียักษ์เป็นนายทวารบาลครึ่งตัวต้ัง อยู่ 2 ตน ด้านหลังประดิษฐานพระพุทธรูปไว้หลายองค์ ลดต�่ำลงไปทางด้านขวามือของถ�้ำเป็นช่องทางเข้าสู่ถ�้ำใหญ่ ด้านหน้าถ�้ำมีรูปปั้นพระสงฆ์ และพระฉายาลักษณ์ พระเจ้า กรุงธนบรุ ี เอกสารประกอบการเรยี น 135 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
23. วัดแมเ่ จา้ อยู่หวั วดั แมเ่ จา้ อยู่หัว ทต่ี ัง้ อยใู่ นหมู่ที่ 3 ตำ� บลแมเ่ จ้าอยหู่ วั อำ� เภอเชยี รใหญ่ จงั หวดั นครศรีธรรมราช เปน็ วัดคกู่ ับชาวอำ� เภอเชียรใหญ่ มานาน โดยมีประวตั อิ นั ยาวนาน ตง้ั แตส่ มัยยงั เป็นอาณาจักรตามพรลงิ ค์ วัดภูเขาหลกั วัดแม่เจา้ อยูห่ ัว 24. วดั เขาพระทอง วดั เขาพระทอง สรา้ งมาตง้ั แตส่ มยั ศรวี ชิ ยั ตอน ตน้ หรอื ในยคุ ของ พระเจา้ ศรธี รรมโศกราช และพระเจา้ จนั ทร ภาณุศรธี รรมราช เป็นวัดทเี่ กา่ แกม่ ีอายปุ ระมาณ 800 กว่าปี มพี ระพทุ ธรปู สที องจำ� นวนมากถงึ 29 องค์ ประดษิ ฐานอยรู่ อบ ๆ ภเู ขาทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก เปน็ พระปนู ปน้ั ดว้ ยปนู ขาวผสม ด้วยน้�ำผึ้งอ้อย และน�้ำมันยาง ส่วนโครงสร้างภายในเป็น โครงสรา้ งทที่ ำ� ด้วยไมเ้ นอ้ื แข็งทงั้ หมด 25. วดั โมคลาน วัดโมคลาน หรือโมคคลาน ตั้งอยู่ท่ีหมู่ 11 ตำ� บลโมคลาน อำ� เภอท่าศาลา โมคลานเปน็ ช่อื ของพราหมณ์ “โมคลี” ผู้ตั้งเทวสถานศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ต่อมาเม่ือศาสนาพราหมณ์เล่ือมลง ชาวบ้านจึงได้แปลสภาพ เป็นวดั ในพระพทุ ธศาสนา เรยี กชอื่ “โมคคลาน” เลยี นแบบ เป็นชื่อพระโมคคัลลาน พระอริยสาวกเบ้ืองซ้ายของ พระพทุ ธเจ้า โมคลาน เดมิ เป็นที่ตงั้ เมอื ง ก่อนตั้งเมอื งนคร ดงั เพลงกล่อมเด็กว่า “ต้งั ดนิ ตั้งฟ้า ตั้งหญา้ เข็ดมอน 136 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
โมคลานตงั้ กอ่ น เมืองคอนตงั้ หลงั ตง้ั วัดพระธาตุ ตง้ั บ้าน ต้ังวัง เมอื งคอนตัง้ หลงั ตัง้ วังไม่นาน” ซากโบราณสถานที่ พบ ก�ำหนดอายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี 12 - 16 เป็นซากเทวาลัย 26. โบราณสถานเขาคา แหลง่ โบราณสถานเขาคา ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นเขาคา หมู่ 11 ตำ� บลเสาเภา อำ� เภอสชิ ล จงั หวดั นครศรธี รรมราช จัดเป็นเทวสถานท่ีมีความส�ำคัญสูงสุด ในบรรดาเทวสถานพราหมณ์ท่ีพบในพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตอ�ำเภอสิชล แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการอย่างต่อเนื่องของชุมชนอย่างชัดเจน ในคร้ังอดีตเปรียบเป็นวิมาน แห่งพระศิวะ เปน็ ศูนย์รวมของชุมชนทีย่ งิ่ ใหญแ่ ห่งหนึ่งในคาบสมุทรภาคใต้ เม่อื ประมาณพนั กวา่ ปมี าแลว้ เอกสารประกอบการเรียน 137 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
เร่อื งท่ี 2 โบราณวัตถุ จังหวดั นครศรีธรรมราช 1. เงินตรานโม (หัวนะโม) เงนิ ตรานโม เปน็ วตั ถุทรงกลม สร้างดว้ ยโลหะพิเศษ มหี ลายแบบหลายร่นุ มตี ัวอักษรโบราณตวั นะ อยตู่ รงกลาง อยใู่ นฐานะเงนิ ตราใชแ้ ลกเปลยี่ นแทนสนิ คา้ ในประเทศไทยมกี ารสรา้ งแหง่ เดยี วทเ่ี มอื งนครศรธี รรมราช ปัจจุบันหัวนะโม เปล่ียนฐานะเป็นเครื่องรางของขลัง หรือวัตถุมงคลชิ้นเอกของนครศรีธรรมราช พุทธคุณครอบ จักรวาล เมตตามหานิยม โชคลาภ แคลว้ คลาด ปลอดภยั แกผ่ ทู้ ่อี าราธนาบชู าติดตวั 2. ใบเสมา เปน็ ศลิ ปะศรวี ชิ ยั สมยั กอ่ นพทุ ธศตวรรษท่ี 19 ใบเสมา หรอื สมี า เปน็ ประตมิ ากรรม หินสลกั ซง่ึ ใชเ้ ป็นสัญลกั ษณ์ หรอื เพื่อแสดงขอบเขตพน้ื ที่ศักดสิ์ ิทธ์เิ น่อื งในพทุ ธศาสนา 1) ใบเสมา วดั เสมาชัย ใบเสมา วัดเสมาชัย เป็นใบเสมาหินชนวนขนาดย่อม ไม่มีลวดลายประดับ เทียบได้กบั ใบเสมาศลิ ปะอยธุ ยาในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 2) ใบเสมา วัดท้าวโคตร ทางดา้ นนอกอโุ บสถ มใี บเสมาปกั บอกเขตอยทู่ งั้ 8 ทศิ ใบเสมาเหลา่ นอ้ี าจสรา้ งขน้ึ ในสมยั อยธุ ยา ตอนกลาง คอื ราวพทุ ธศตวรรษที่ 21-22 ใบเสมา วัดเสมาชัย ใบเสมา วัดทา้ วโคตร 138 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
3. ศิลาจารกึ วัดเสมาเมืองและศิลาจารกึ วดั หวั เวยี ง 1) ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง เป็นหินทรายแดงรูปใบเสมา จารึกเป็นอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต เม่ือ พ.ศ. 1318 เป็นศิลาจารึกหลักที่ส�ำคัญ ของเมืองนครศรีธรรมราช ในจารึกในหน้า 1 บรรทัดที่ 14,16,28 มีค�ำว่า “ศรีวิชเยนทรราชา” ปรากฏอยู่มีข้อความกล่าวถึงความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร และกล่าวสรรเสริญ พระเจา้ กรุงศรวี ชิ ัย ผเู้ ปน็ ใหญก่ ว่าพระราชาทั้งปวงในโลกน้ี และหนา้ 2 กล่าวถงึ พระบรมเดชานุภาพของพระองค์ ประดจุ พระอาทติ ย์ และทรงเปน็ หัวหน้าแห่งไศเลนทรวงศ์ เมืองไช 2) ศลิ าจารกึ วดั หวั เวยี ง ปจั จบุ นั หลกั ศลิ า จารึกดังกล่าว เก็บแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพฯ น�ำกลับมาไว้ท่ีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช เพราะเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์ อนั ลำ�้ คา่ ของชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราชแตเ่ ดมิ เพอื่ ความ ภาคภมู ใิ จในท้องถน่ิ ของตนต่อไป ศลิ าจารึกวัดหวั เวยี ง 4. ศิลาจารึกวดั มเหยงคณ์ ในบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้พบศลิ าจารกึ ร่นุ เก่าร่วมสมัยพทุ ธศตวรรษที่ 12 ซ่งึ เปน็ จารกึ รนุ่ แรกทพี่ บในบรเิ วณประเทศไทย นนั่ คอื ศลิ าจารกึ วดั มเหยงค์ จารกึ บนแผน่ สดี ำ� เปน็ จารกึ อกั ษรปลั ลวะ ภาษาสนั สกฤต อายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี 13 โดยท่ัวไปมักจะเข้าใจกันว่าเน้ือหาของศิลาจารึกหลักน้ี กล่าวถึง วินัยสงฆ์ใน พระพทุ ธศาสนา ศลิ าจารึกภาคท่ี 2 เนื้อหา ของจารึกหลกั น้ีมีอทิ ธพิ ลของศาสนาพราหมณ์อยดู่ ว้ ย 5. ศลิ าจารกึ หบุ เขาช่องคอย ศลิ าจารกึ หบุ เขาชอ่ งคอย พบในปา่ แถบหบุ เขาชอ่ งคอยซงึ่ อยหู่ า่ งจากบา้ นโคกสะทอ้ น ตำ� บลควนเกย อ�ำเภอร่อนพบิ ลู ย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ไปทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร เปน็ การสร้างข้ึนด้วยกรรมวธิ งี ่าย ๆ ไมป่ ระณตี บรรจง ใชแ้ ผน่ ศลิ าธรรมชาตทิ มี่ อี ยใู่ นบรเิ วณหบุ เขานนั้ เปน็ ทจี่ ารกึ รปู อกั ษรขน้ึ 3 ตอน รปู อกั ษรเปน็ ภาษา สนั สกฤต อกั ษรปลั ลวะ อกั ษรทจี่ ารกึ มรี ปู แบบเหมอื นกบั อกั ษรในจารกึ พระราชทานของพระเจา้ สงิ หวรมนั แหง่ อนิ เดยี ตอนใต้ สมยั พุทธศตวรรษท่ี 11นับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวะนิกาย มดี งั น้ี เอกสารประกอบการเรยี น 139 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ตอนท่ี 1 ศิลาจารึกน้ีเป็นของพระศิวะ “ศรีวิทยาธิการสยาม” อธิบายว่า เป็นพระนามอันหนึ่ง ของพระศวิ ะ ซึ่งแปลวา่ ผ้เู ปน็ สวามีของนางวิทยาเทวี (นางทรุ คา) นางวทิ ยาเทวีเปน็ ร่างหนงึ่ ของนางทรุ คา ตอนท่ี 2 ขอความนอบนอ้ มจงมแี กท่ า่ น ผอู้ ยเู่ ปน็ เจา้ แหง่ ปา่ พระองคน์ น้ั ขอความนอบนอ้ มจงมแี กท่ า่ น ผู้เป็นเจ้าแห่งเทพท้ังมวลพระองค์น้ัน ชนท้ังหลายเคารพต่อพระศิวะ ขอให้ท่านผู้เจริญนี้เป็นที่พึงให้บุคคลท่ีอยู่ท่ีนี้ มีประโยชน์ทว่ั กนั ตอนท่ี 3 ถ้าคนดอี ยูใ่ นหมบู่ า้ นของชนเหลา่ ใดความสขุ และผลจกั มีแก่ชนเหล่านนั้ 140 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
6. พระวิษณุ (พระนารายณ์) พระวิษณุจากหอพระนารายณ์ ณ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาตินครศรีธรรมราช มีดังน้ี พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ศิลา พบทแ่ี หลง่ โบราณคดี ใกลว้ ดั พระเพรง ตำ� บลนาสาร อำ� เภอพระพรหม ประทับยืนบนปทั มอาสน์ รูปแบบเครือ่ งแต่งกายมีเค้าโครงของศลิ ปะ อมราวดปี ะปนกับคุปตะ เชน่ การคาดผ้าคาดวงโค้งกว้างและปรากฏ องค์เพศ ตามแบบศิลปะอมราวดี สวมหมวกทรงกระบอก ที่ประดับ ด้วยลวดลายแสดงความเก่ียวข้องกับศิลปะคุปตะ จากรูปแบบ ศิลปกรรมพบว่า เข้ามาตั้งแต่ระยะแรก ๆของวัฒนธรรมศรีวิชัย โดยเข้ามาปะปนกนั ท้ังอนิ เดียใตแ้ ละอนิ เดียเหนือ พระวิษณุจากหอพระนารายณ์นครศรีธรรมราช รปู แบบเครอ่ื งแตง่ กายของพระวษิ ณอุ งคน์ คี้ ลา้ ยคลงึ กบั ศลิ ปะอมราวดี และคุปตะ โดยการคาดผ้าคาดวงโค้งกว้างน้ันปรากฏมาก่อนแล้ว ตงั้ แตศ่ ลิ ปะอมราวดี สว่ นหมวกทรงกระบอกทป่ี ระดบั ดว้ ยดาบวงกลม ท่ีมีสิงห์คายชายผ้าและยัชโญปวีตเส้นเชือก ก็ล้วนแต่แสดง ความเก่ียวข้องกับศิลปะคุปตะจากรูปแบบ ศิลปกรรม พบว่า ประตมิ ากรรมนี้ มอี ายคุ ่อนข้าง “เก่า” จากรปู แบบศลิ ปกรรม พบวา่ เป็นประติมานวิทยาทแ่ี สดงความเกา่ แกข่ องพระวษิ ณอุ งค์นีเ้ ชน่ กัน 7. ภาชนะดินเผาทรงหมอ้ สามขา สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหินใหม่ อายุราว 4,000- 2,000 ปี แหลง่ ทพี่ บถำ้� เขาแอง อำ� เภอนบพติ ำ� จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ ภาชนะรปู แบบพเิ ศษมี 3 ขา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช พบเศษ ภาชนะแบบหมอ้ สามขาหลายแหง่ เชน่ ทอ่ี ำ� เภอทงุ่ สง อำ� เภอพรหมครี ี อ�ำเภอร่อนพบิ ูลย์ และอ�ำเภอนบพิต�ำ 8. กลองมโหระทกึ ส�ำริด กลองมโหระทกึ ส�ำรดิ สมยั กอ่ นประวัติศาสตร์ ยุคโลหะ พบทบี่ า้ นเกียกกาย ต�ำบลทา่ เรือ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกลองชนิดหนึ่งที่ท�ำจากส�ำริด บนหน้ากลองมักท�ำรูปกบประดับตกแต่ง จึงมีอีกช่ือว่า “กลองกบ” เมอ่ื ราว 3,000 ปี ผลติ ขนึ้ เพอ่ื ใชต้ ปี ระโคมในพธิ กี รรม ความเชอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ พธิ ศี พ พธิ เี ลยี้ งผี พธิ ขี อฝน ฯลฯ ใช้ตีเรยี กวญิ ญาณผตู้ ายให้มารับของเซ่นไหว้ หรือใชเ้ ปน็ ทต่ี ้งั วางของเซน่ สงั เวย กลองมโหระทึก กลองมโหระทึกสำ� รดิ มีประติมากรรมรูปกบ เอกสารประกอบการเรยี น 141 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219