2.2 ประมงพาณิชย์ ชาวประมงจะใช้เรือขนาดใหญ่หรือที่ใช้เคร่ืองยนต์มีแรงม้ามาก ซึ่งจะมี ทั้งชาวประมงท่ีมีภูมิล�ำเนาในเขตจังหวัด และจังหวัดข้างเคียงเข้ามาท�ำงานการประมงโดยใช้เครื่องมือ เช่น เครือ่ งมอื อวนลากเดีย่ ว อวนลากคู่ อวนล้อมจบั อวนตดิ ตา เป็นตน้ ทงั้ น้กี ารท�ำประมงท�ำไดต้ ลอด ทัง้ ปี ทงั้ กลางวนั และกลางคืน วธิ ีการรับซื้อสัตวน์ ำ�้ ในจงั หวัดนครศรธี รรมราช ขณะน้มี อี ยู่ 2 วิธี คอื 1. แพปลาหรอื หอ้ งเยน็ รบั ซอื้ สินคา้ จากชาวประมงเป็นสทิ ธขิ์ าด 2. รบั เปน็ คนกลางขายสนิ คา้ สตั วน์ ำ้� ใหแ้ กช่ าวประมง วธิ กี ารนผี้ รู้ วบรวมสนิ คา้ สตั วน์ ำ�้ ไมม่ สี ทิ ธใิ์ นสนิ คา้ เพียงแต่เป็นผู้รวบรวมสัตว์น้�ำบรรจุหีบห่อแช่น�้ำแข็งส่งไปจ�ำหน่ายแทนชาวประมงเท่าน้ันก�ำหนดราคารับซื้อ ราคาสนิ คา้ สตั วน์ ำ�้ มกั จะมกี ารเปลยี่ นแปลงทกุ ระยะ อนั มสี าเหตมุ าจากชาวประมงจบั สตั วน์ ำ�้ ในแตล่ ะเดอื นมปี รมิ าณ ไมส่ มำ่� เสมอ ความเคล่อื นไหวของราคาจำ� หนา่ ยราคาสตั วน์ ำ้� จะสูงมาก ช่วงฤดมู รสุม เพราะการออกจบั ปลาได้นอ้ ย โดยทั่วไปผ้รู วบรวมสัตว์น�ำ้ ไดแ้ ก่ ห้องเย็น แพปลา และพอ่ คา้ คนกลาง จะเปน็ ผู้กำ� หนดราคารับซ้อื โดยยดึ เอาราคา จากสะพานปลากรุงเทพฯ หรือราคาจากประเทศมาเลเซียเป็นหลัก ชาวประมงไม่มีอ�ำนาจต่อรองทางด้านราคา นอกจากนี้ราคาสินค้าประเภทนี้จะเคลื่อนไหวขึ้นหรือลงมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับปริมาณสัตว์น�้ำท่ีจับได้ใน ช่วงน้ัน ๆ ด้วย 3. ด้านอตุ สาหกรรม จังหวัดมีอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมกลางน้�ำท่ีแปรรูปสินค้า มาจากวตั ถดุ บิ ทางการเกษตร อตุ สาหกรรมท่ีส�ำคัญ เซน่ อตุ สาหกรรมแปรรูปยางพาราขั้นตน้ อุตสาหกรรมแปรรปู ไม้ยางพารา อุตสาหกรรมนำ�้ มนั ปาลม์ ดบิ อุตสาหกรรมอโลหะ (ปูนซีเมนต์ คอนกรีตผสมเสรจ็ ผลติ ภณั ฑค์ อนกรีต) อุตสาหกรรมแปรรปู อาหารทะเล เปน็ ตน้ 42 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
กิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เศรษฐกิจของนครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. ให้อธิบายหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมยกตัวอย่างกิจกรรมที่ผู้เรียนน�ำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจ�ำวัน มาอย่างนอ้ ย 5 กิจกรรม และยกตัวอย่างชุมชนเศรษฐกิจ พอเพยี งในนครศรีธรรมราช วา่ ชมุ ชนทำ� อย่างไรบ้าง ใหอ้ ธบิ ายพอสงั เขป มาอย่างนอ้ ย 2 ชนุ ชน ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 2. ใหว้ เิ คราะหแ์ ละสรปุ ภาวะเศรษฐกจิ ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ในดา้ นตา่ ง ๆ มาอยา่ งนอ้ ย 3 ดา้ น ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 3. ให้ยกตัวอย่างการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครศรีธรรมราชและระบุความจ�ำเป็น ของการรวมกลุม่ นนั้ พอสังเขป ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. 5. ให้ระบุเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้านเกษตรกรรม ด้านการประมง และ ดา้ นอตุ สาหกรรม พรอ้ มอธิบายว่ามีความสำ� คัญด้านการผลติ และการตลาดอย่างไร ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการเรียน 43 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5การคมนาคมของจงั หวดั นครศรีธรรมราช การเดนิ ทางของชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราช ปจั จบุ นั ใชก้ ารเดนิ ทาง คมนาคม 3 ชอ่ งทาง คอื 1) การคมนาคม ทางบก ได้แก่ รถไฟ รถยนต์ การเดินทางโดยรถยนต์สาธารณะ ท่ีใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ รถทัวร์ รถมินิบัส รถตู้ รถสองแถว การเดินทางภายในตัวอ�ำเภอก็จะมีรถสองแถว รถจักรยานยนต์ 2) คมนาคมทางน้�ำ เป็นการเดินทาง ทางนำ้� คนโดยทวั่ ไปไมน่ ยิ มใชม้ บี า้ งทย่ี งั ใชก้ ารเดนิ ทางทางนำ�้ ในการขา้ มฝง่ั เชน่ โดยเรอื โดยแพ การบรรทกุ สนิ คา้ แร่ และชาวประมงในการออกไปประกอบอาชีพ และ 3) การคมนาคมทางอากาศ เรอื่ งที่ 1 การคมนาคมทางบกของจงั หวดั นครศรธี รรมราช การคมนาคม คือ การไปมาตดิ ต่อระหว่างท้องถนิ่ ตา่ งๆ เร่มิ จากระหว่างหมูบ่ ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จงั หวดั และประเทศ จังหวัดนครศรีธรรมราชห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดท่ีอยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พทั ลงุ ตรงั กระบี่ และสุราษฎรธ์ านี ทางรถยนตถ์ นนสายหลักเขา้ สู่จังหวดั นครศรีธรรมราช เส้นทางหลวง หมายเลข ดงั นี้ 1) จากจังหวดั สุราษฎรธ์ านี ถงึ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ทางหลวงหมายเลข 401 และ 4103 ระยะทาง 134 กิโลเมตร 2) จากจังหวดั ตรงั ถงึ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทางหลวงหมายเลข 403 ระยะทาง 123 กิโลเมตร 3) จากจงั หวดั สงขลา ถงึ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทางหลวงหมายเลข 408 ระยะทาง 161 กิโลเมตร 4) จากจงั หวดั พทั ลงุ ถงึ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ทางหลวงหมายเลข 41 และ 403 ระยะทาง 99 กโิ ลเมตร ความหมายของตวั เลขทใี่ ช้เรียกชอื่ เส้นทาง ทางหลวงท่ีมีเลขหน่ึงตัว หมายถึง ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงพิเศษที่เป็นถนนสายหลักเช่ือม การคมนาคมระหว่างภาคต่อภาค ไดแ้ ก่ ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 1 หรอื ถนนพหลโยธนิ เปน็ ถนนสายหลกั ทไี่ ปสภู่ าคเหนอื ตง้ั ตน้ จากกรงุ เทพฯ ไปสิ้นสุดทีจ่ งั หวดั เชยี งราย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ถนนมิตรภาพ เป็นถนนสายหลักท่ีไปสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตง้ั ตน้ ที่จังหวดั สระบุรี และไปสิ้นสุดท่จี ังหวดั หนองคาย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 หรือ ถนนสุขุมวิท เป็นถนนสายหลักท่ีไปสู่จังหวัดทางภาคกลางรวมถึง ชายทะเลภาคตะวนั ออกเฉยี งใต้ ต้งั ตน้ จากกรงุ เทพฯ ไปส้นิ สดุ ทจ่ี งั หวดั ตราด ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4 หรอื ถนนเพชรเกษม เปน็ ถนนสายหลักทไ่ี ปสู่ภาคใต้ ตัง้ ต้นจากกรงุ เทพฯ ไปสน้ิ สดุ ทอ่ี �ำเภอสะเดา จงั หวดั สงขลา ทางหลวงทม่ี ีเลขสองตวั คือ ทางหลวงแผ่นดนิ หรอื ทางหลวงพิเศษทเ่ี ป็นสายประธานตามภาคตา่ ง ๆ เช่น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 หมายถงึ ทางหลวงแผ่นดินสายประธานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สายอุดรธาน-ี นครพนม ทางหลวงพเิ ศษหมายเลข 51 หมายถงึ ทางหลวงซง่ึ เชอ่ื มตอ่ จากถนนวงแหวนรอบนอกกรงุ เทพฯ สพุ รรณบรุ ี 44 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ทางหลวงทม่ี ีเลขสามตวั คอื ทางหลวงแผ่นดนิ สายรอง เชน่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 202 หมายถงึ ทางหลวงแผ่นดินสายรองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สายชัยภูมิ-เขมราฐ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 314 หมายถึงทางหลวงแผน่ ดนิ สายรองในภาคกลางสายบางปะกง-ฉะเชิงเทรา ทางหลวงทมี่ เี ลขสต่ี วั คอื ทางหลวงแผน่ ดนิ ทเ่ี ชอ่ื มระหวา่ งจงั หวดั กบั อำ� เภอ หรอื สถานทสี่ ำ� คญั ของจงั หวดั นน้ั เชน่ ทางหลวงหมายเลข 4006 หมายถึงทางหลวงในภาคใต้สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (ราชกรูด-หลงั สวน) ปรากฏดังตารางภาพ ปา้ ยทางหลวง ป้ายทางหลวง การแบ่งภาค ทางหลวงทข่ี ้ึนต้นด้วยหมายเลข 1 แสดงว่าทางสายน้ัน อยใู่ นภาคเหนอื และบางส่วนของภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนือ ทางหลวงทข่ี น้ึ ต้นด้วยหมายเลข 2 แสดงว่าทางสายนั้น อย่ใู นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และบางสว่ นของ ภาคเหนือ และภาคกลาง ทางหลวงท่ขี ้นึ ต้นด้วยหมายเลข 3 แสดงวา่ ทางสายนั้น อยูใ่ นภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และ บางสว่ นของภาคใต้ ทางหลวงทข่ี ึ้นตน้ ดว้ ยหมายเลข 4 แสดงวา่ ทางสายน้ัน อย่ใู นภาคใต้ 1. ทางหลวงแผน่ ดิน ทางหลวงแผน่ ดิน คือ เป็นเสน้ ทางสารธารณะ ทางหลวงสายหลกั ท่ีเป็นโครงขา่ ยเชอ่ื มระหวา่ งภาค จังหวัด อ�ำเภอ ตลอดจนสถานที่ส�ำคัญ ที่กรมทางหลวงเป็นผู้ด�ำเนินการก่อสร้าง ขยาย บูรณะและบ�ำรุงรักษา และได้ลงทะเบียนไว้เปน็ ทางหลวงแผน่ ดนิ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสายหลัก 1 สายทาง สายรอง 3 เส้นทาง ทางหลวงแผ่นดินจังหวัด 45 สายทาง โดยมที างลาดยาง 1,018.864 กิโลเมตร คอนกรีต 8.92 กิโลเมตร โครงข่ายทางหลวงแผ่นดนิ (สายหลัก) ทเี่ ขา้ สู่เมอื งนครศรธี รรมราช ได้แก่ 1.1 ทางหลวงชนบท 401 ตอน เขาหัวช้าง - นครศรีธรรมราช ระยะทาง 83 กิโลเมตร 1.2 ทางหลวงหมายเลข 403 ตอน นครศรธี รรมราช-เสาธง-แยกสวนผกั ระยะทาง 52.3 กิโลเมตร 1.3 ทางหลวงหมายเลข 408 ตอน นครศรีธรรมราช - ปากระวะ ระยะทาง 71 กิโลเมตร เอกสารประกอบการเรียน 45 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
2. ทางหลวงชนบท ทางหลวงชนบท คอื ทางหลวงที่กรมทางหลวงชนบทเปน็ ผู้ดำ� เนนิ การก่อสร้าง ขยาย บูรณะ และ บ�ำรุงรักษา และไดล้ งทะเบียนไว้เปน็ ทางหลวงชนบท โครงข่ายทางหลวงชนบทของกรมทางหลวงชนบท ปี 2560 ในจังหวัดนครศรธี รรมราช จ�ำนวน 70 สาย ทาง ระยะทาง รวม 995.071 กิโลเมตร แยกเปน็ ถนนลาดยาง 955.398 กิโลเมตร ถนนคอนกรตี 16.512 กโิ ลเมตร และถนนลูกรัง 23.161 กโิ ลเมตร ระยะทางจากอำ� เภอเมืองนครศรธี รรมราชไปยังอำ� เภอต่าง ๆ ระยะทางจากอ�ำเภอเมืองนครศรธี รรมราชไปยงั อ�ำเภอต่าง ๆ พระพรหม 12 กิโลเมตร จฬุ าภรณ์ 54 กโิ ลเมตร กโิ ลเมตร พรหมคีรี 22 กโิ ลเมตร นาบอน 56 กโิ ลเมตร กโิ ลเมตร ลานสกา 22 กโิ ลเมตร ลิชล 61 กโิ ลเมตร กโิ ลเมตร เฉลมิ พระเกียรติ 28 กโิ ลเมตร ชะอวด 63 กโิ ลเมตร กิโลเมตร ทา่ ศาลา 29 กโิ ลเมตร หัวไทร 71 กโิ ลเมตร กิโลเมตร รอ่ นพบิ ูลย์ 32 กโิ ลเมตร ฉวาง 75 กโิ ลเมตร ปากพนงั 38 กโิ ลเมตร บางขนั 78 กิโลเมตร กิโลเมตร ช้างกลาง 40 กิโลเมตร ขนอม 100 กโิ ลเมตร เชยี รใหญ่ 51 กโิ ลเมตร พปิ นู 100 นบพติ ำ� 52 กโิ ลเมตร ทุง่ ใหญ่ 102 ทงุ่ สง 53 กิโลเมตร ถาํ้ พรรณรา 108 ระยะทางจากจงั หวัดนครศรีธรรมราชไปยังจงั หวัดใกลเ้ คียง พทั ลุง 112 กโิ ลเมตร กระบี่ 233 ตรัง สรุ าษฎรธ์ านี 123 กิโลเมตร พังงา 245 สงขลา 134 กโิ ลเมตร ภูเกต็ 336 161 กิโลเมตร 46 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
การคมนาคมทางบก รถโดยสารประจ�ำทาง การเดนิ ทางข้ามจงั หวัดใชร้ ถบสั รถมนิ ิบัส รถทวั ร์ รถตู้ รถโดยสารประจำ� ทาง (รถทัวร)์ การเดนิ ทาง รถมินบิ สั การเดนิ ทางระหว่างอ�ำเภอ รถสาธารณะทมี่ ีบริการประชาชน ได้แก่ รถบสั รถตู้ รถสองแถว และรถทีย่ ังคงความ เป็นเอกลักษณ์ รถสองแถวไปบา้ นชะเมา อ�ำเภอเมืองใชร้ ถไม้ และรถสามล้อ ในบริเวณตัวเมอื ง รถโดยสารประจ�ำทาง (รถเมล์) เอกสารประกอบการเรยี น 47 รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
รถสองแถว รถสามลอ้ รถไม้ 48 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เรือ่ งท่ี 2 การคมนาคมทางรถไฟของจังหวดั นครศรีธรรมราช ทางรถไฟสายใต้ทุกขบวน เข้าด่านแรกพื้นท่ีอ�ำเภอชะอวด ผ่านชุมทางเขาชุมทองอ�ำเภอร่อนพิบูบลย์ ผา่ นชมุ ทางทุ่งสงเพือ่ เดนิ ทางไปทางเหนือ ไดแ้ ก่ ภาคใตต้ อนบน กรงุ เทพมหานคร และมที างรถไฟแยกจากชุมทาง เขาชุมทอง อำ� เภอรอ่ นพิบูลยไ์ ปยังสถานรี ถไฟจงั หวัดนครศรีธรรมราช ส�ำหรับขบวนรถจากนครศรีธรรมราช ได้แก่ ขบวนรถจากนครศรีธรรมราช - กรุงเทพ และกรุงเทพ - นครศรธี รรมราช ขบวนรถธรรมดาและรถไฟสายใตท้ ่ีผา่ นชุมทางทุ่งสง สถานีรถไฟนครศรีธรรมราช ต้ังอยู่ที่ ถนนยมราช ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถานีปลายทางที่แยกมาจากสถานีชุมทางเขาชุมทอง เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทาง รถไฟสายใต้ การเดินทางส�ำหรับคนจังหวัดนครศรีธรรมราช การเดินทางเดินทางมาท่องเท่ียว ในประเทศไทย จากนครศรีธรรมราช ไปจังหวัดต่าง ๆ โดยเส้นทางรถไฟ ดังน้ัน เส้นทางรถไฟเป็นทางเลือกของประชาชนใน จังหวัดนครศรีธรรมราชในการเดินทางข้ามต�ำบล ชุมชน อ�ำเภอ จังหวัดที่มีเส้นทางรถไฟผ่านท่ีเป็นท่ีนิยมในหมู่ ชาวบา้ นในพืน้ ทจี่ งั หวดั นครศรีธรรมราช สถานรี ถไฟนครศรีธรรมราช รถไฟจากนครศรธี รรมราช ไป กรุงเทพฯ เอกสารประกอบการเรยี น 49 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
1. การเดนิ ทางดว้ ยรถไฟไปจงั หวดั นครศรธี รรมราช ตารางการเดนิ รถไฟ กรงุ เทพฯ –นครศรธี รรมราช เลขขบวนรถ 173 ประเภท : รถเรว็ เลขขบวนรถ 185 ประเภท : รถดว่ น เวลาออกจากกรงุ เทพ : 17.35 น. เวลาออกจากกรงุ เทพ : 19.30 น. เวลาถงึ นครศรธี รรมราช : 09.55 น. เวลาถงึ นครศรธี รรมราช : 10.55 น. ราคาไม่รวมคา่ ธรรมเนียม ราคาไม่รวมค่าธรรมเนียม - ชั้นท่ี 1 ราคา 652 บาท - ชน้ั ที่ 1 ราคา 652 บาท - ช้ันท่ี 2 ราคา 308 บาท - ช้ันที่ 2 ราคา 308 บาท - ช้ันที่ 3 ราคา 133 บาท - ชนั้ ท่ี 3 ราคา 133 บาท 2. ระยะทางและระยะเวลาการเดนิ ทาง ระยะทางระหว่างนครศรีธรรมราชไปกรุงเทพฯ ประมาณ 780 กิโลเมตร ตามแนวรถไฟสายใต้ ไปยงั ใจกลางเมืองของกรุงเทพมหานคร รถไฟสายท่ี 174 เป็นรถไฟ ประเภทเรว็ ใชเ้ วลาเดินทาง 16 ช่ัวโมง 10 นาที จากนครศรีธรรมราช ถึงกรุงเทพฯ ขณะท่ีรถไฟ 86 ซ่ึงเป็นรถไฟด่วนใช้เวลาสั้นลง ระยะเวลาเดินทางประมาณ 15 ชั่วโมง 30 นาที การเดินทางโดยรถไฟจาก จังหวัดนครศรีธรรมราช ไปยังกรุงเทพฯ ใช้เวลาค่อนข้างนาน ควรเลอื กประเภทต๋ัวโดยสารแบบนอน ซ่งึ ถอื ว่าเป็นทางเลอื กท่ีดีท่ีสุดในการเดินทาง ไปยังกรุงเทพมหานคร 3. จดุ ออกสถานีรถไฟนครศรีธรรมราช สถานีรถไฟนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ท่ี ถนนยมราช ทางฝั่งตะวันตกของต�ำบลท่าวัง สถานีรถไฟ เป็นจุดเช่ือมต่อที่สถานีชุมทางเขาชุมทอง การเดินทางในนครศรีธรรมราชโดยระบบขนส่งสาธารณะ มักท�ำได้ โดยการว่าจา้ งรถแทก็ ซห่ี รือรถสองแถว 4. จุดถงึ -สถานรี ถไฟหวั ล�ำโพง กรงุ เทพฯ สถานรี ถไฟหวั ล�ำโพง กรงุ เทพฯ ตง้ั อย่ใู จกลางเมอื งกรุงเทพฯ เปน็ สถานีรถไฟสายหลกั ในกรุงเทพฯ ตงั้ แตน่ ครศรธี รรมราช ไปยงั กรงุ เทพฯ และจะมาถงึ กรงุ เทพฯ ในตอนเชา้ ของวนั ถดั ไป ควรใชร้ ถแทก็ ซี่ เพราะมบี รกิ าร ทกุ วนั ตลอด 24 ช่วั โมง หรอื รถไฟฟา้ ใตด้ ินจะเร่ิมให้บรกิ ารเฉพาะเวลา 6:00 น. 5. สงิ่ อ�ำนวยความสะดวก ปกติแล้ว รถไฟในประเทศไทยจะมีห้องสุขาบนขบวนรถไฟ เพื่อความสะดวกของผู้โดยสาร ผู้โดยสารสามารถซ้ืออาหารจากตู้ขบวนบนรถไฟ ซ่ึงมีโรงอาหาร หรือ จากพ่อค้า แม่ค้า ได้ในราคาเริ่มต้นท่ี 30 - 100 บาท หรือคณุ สามารถซอ้ื อาหารได้ก่อนทีค่ ณุ จะขน้ึ รถไฟ และประหยดั ค่าเดนิ ทาง พนักงานจะใหห้ มอน และผา้ หม่ ทส่ี ะอาดใหมไ่ วส้ ำ� หรบั คณุ พรอ้ มแปรสภาพทนี่ งั่ ใหก้ ลายเปน็ เตยี งนอนในชว่ งกลางคนื หากคณุ จองตว๋ั รถไฟ ประเภทช้ันนอน 50 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
เรื่องท่ี 3 การคมนาคมทางอากาศของจังหวัดนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานจงั หวดั นครศรีธรรมราช มเี ท่ยี วบนิ ใหบ้ ริการ 26 เทีย่ วบินตอ่ วัน โดยมี 3 สายการบิน คอื นกแอร์ ไทยแอรเ์ อเชยี และไทยไลออนแอร์ ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ทา่ อากาศยานนครศรธี รรมราช ทา่ อากาศยานนครศรธี รรมราช (เดมิ ) หรอื เรยี กทว่ั ไปวา่ “สนามบนิ ชะเอยี น” ตง้ั อยใู่ นคา่ ยวชริ าวธุ กองทพั ภาคท่ี 4 โดยการผลักดันของข้าราชการและพ่อค้าประชาชน ในจงั หวัดท่อี ยากใหม้ ีการบรกิ ารผู้โดยสารทางอากาศ จึงอาศยั ทา่ อากาศยานของกองทพั บกในค่ายวชิราวธุ ซ่ึงกรมการบนิ พาณิชย์ปรับปรุงสนามบนิ เพื่อใชใ้ นเชิงพาณชิ ย์ โดยการก่อสร้างอาคารท่ีพักผู้โดยสารและปรับปรุงทางว่ิง แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2527 ใช้เป็นท่าอากาศยานร่วมกัน ระหวา่ งทหารและพลเรอื น ขนาดทางวงิ่ 30X1,700 เมตรหลงั จากเปดิ ใหบ้ รกิ ารในปี พ.ศ. 2531 มผี ใู้ ชบ้ รกิ ารมากขน้ึ ประกอบกับพื้นที่โดยรอบไม่สามารถขยายได้ จึงพิจารณาเลือกพ้ืนที่ใหม่ ได้แก่ บริเวณต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมอื งนครศรธี รรมราช และก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2541 โดยประกาศเปน็ สนามบิน อนุญาต เม่ือวนั ท่ี 20 เมษายน 2541 และเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเม่ือวันท่ี 10 มิถุนายน 2543 ซ่ึงในปัจจุบันท่าอากาศยาน นครศรีธรรมราช มีอัตราการเติบโตของจ�ำนวนผู้โดยสาร และจ�ำนวนเที่ยวบินเพิ่มมากขึ้น กรมท่าอากาศยาน จึงได้จัดทำ� แผนพัฒนาท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช เพ่ือให้เพียงพอต่อความต้องการของผ้ใู ชบ้ รกิ ารในปจั จุบัน สายการบนิ ทใ่ี หบ้ รกิ าร สายการบินนกแอร์ เอกสารประกอบการเรียน 51 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
สายการบนิ ไทยแอร์เอเชยี สายการบนิ ไทยไลออนแอร์ 52 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
เรอ่ื งท่ี 4 การคมนาคมทางน�ำ้ ของจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นเมืองตดิ ต่อทางนำ้� ในอดตี เป็นเมืองท่าทีส่ ำ� คัญ เป็นเส้นทางการขนสง่ ทางน้ำ� ได้แก่ อ�ำเภอปากพนัง อ�ำเภอขนอม อ�ำเภอท่าศาลา ปัจจุบันมีท่าเทียบเรือใช้ในการขนส่งสินค้า มีท้ังของรัฐบาล และเอกชน ดังนี้ ท่าเทียบเรอื ทใี่ ชใ้ นการขนสง่ สินค้า มีดังนี้ อ�ำเภอปากพนัง ท่าเทียบเรือบางพระ อ.ปากพนัง เรอื ขา้ มฟากอ�ำเภอปากพนัง ทา่ เทียบเรอื อำ� เภอขนอม ทา่ เทยี บเรือโรงไฟฟ้าขนอม แหลมประทบั อำ� เภอขนอม เรือขนถ่านหินอำ� เภอท่าศาลา ท่าเทียบเรือเชฟรอนอำ� เภอทา่ ศาลา ท่าเทยี บเรอื อำ� เภอท่าศาลา การเดนิ ทางของประชาชน ยงั มคี วามตอ้ งการและหลากหลายตามสภาพพนื้ ที่ พน้ื ทใี่ ดใกลแ้ มน้ ำ้� ลำ� คลอง กย็ งั มกี ารสญั จรทางนำ�้ แตป่ จั จบุ นั ความเจรญิ ทางดา้ นเศรษฐกจิ การขนสง่ การคมนาคมมกี ารสรา้ งถนนเพม่ิ มากขน้ึ ท�ำให้ความคล่องตัวในการเดินทาง คนส่วนใหญ่ของประชาชนใช้การเดินทางทางบก ทางอากาศ และทางน�้ำ ลดลั่นกันตามล�ำดับ วิถีชีวิตเปลี่ยนไป ท�ำให้บางชุมชนท่ีเคยเป็นท่าเรือ ยังคงเหลือไว้เป็นท่าเรืออนุสรณ์สถาน ไม่มีการเดินทางทางนำ้� เด็กร่นุ หลานก็ต้องมกี ารเรียนรู้ ว่าชมุ ชนใดทภี่ ูมหิ ลงั อยา่ งไร ท�ำความเข้าใจ เรยี นรู้ วิถชี ีวิต ของคนในจงั หวัดนครศรีธรรมราชได้ดียงิ่ ขน้ึ เอกสารประกอบการเรียน 53 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
กจิ กรรมหน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 การคมนาคมทางบกของนครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ที ุกขอ้ 1. ให้วาดแผนที่การเดินทางจากอ�ำเภอขนอม ไปยังอ�ำเภอหัวไทร พร้อมระบุเส้นทางหมายเลข ทางหลวงหลัก …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. 2. อธบิ ายและยกตัวอย่างการคมนาคมทางรถไฟของนครศรีธรรมราช พอเปน็ สังเขป …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................…………………………………………………………………………………………………………………………… …………........................…………………………………………………………………………………………………………………………… …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. 3. อธบิ ายและยกตวั อยา่ งการคมนาคมทางนำ�้ ของนครศรธี รรมราช พรอ้ มบอกชอื่ ทา่ เทยี บเรอื ของรฐั และของเอกชน มาอยา่ งละ 5 แหง่ พร้อมระบุประเภทสินค้าทีข่ นสง่ …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. …………........................……………………………………………………………………………………………………………………………. 54 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจงั หวัดนครศรธี รรมราช ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ สงิ่ ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนชาวนครศรธี รรมราช ดังน้ัน “เราชาวนครศรธี รรมราช” ควรจะต้องเรียนรูส้ ภาพทรัพยากรป่าไม้และสัตวป์ า่ ทรัพยากรนำ�้ ทรพั ยากรแร่ และทรพั ยากรดินของถน่ิ ของตนเอง เปน็ หน้าที่ของเราทุกคน ทตี่ ้องเรยี นรู้ อนรุ ักษ์ รักษาทรพั ยากรไปส่รู นุ่ ลกู หลาน ได้ใช้ประโยชน์ และเปน็ การกระตุ้นในการสร้างจติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เรอ่ื งท่ี 1 ทรัพยากรป่าไม้และสตั ว์ป่าจังหวดั นครศรธี รรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ท้ังจังหวัด 9,942.502 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 6,214,064 ไร่ เป็นพื้นที่ป่าไม้ทั้งส้ิน 2,147.20 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,342,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.60 ของพื้นท่ีท้ังจังหวัด สภาพพืน้ ทีป่ า่ ของจังหวัดนครศรธี รรมราช ประกอบด้วยพน้ื ท่ปี า่ ดังน้ี 1. เขตอุทยานแห่งชาติ ซ่ึงประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติเขาหลวง อุทยานแห่งชาติเขาปู่ – เขาย่า อุทยานแห่งชาตนิ ำ้� ตกโยง อุทยานแห่งชาติเขานนั อทุ ยานแหง่ ชาตินำ�้ ตกสี่ขดี อุทยานแหง่ ชาตหิ าดขนอม –หมเู่ กาะ ทะเลใต้ 1) อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาหลวง มพี ้นื ที่ 356,250 ไร่ มีพื้นทีค่ รอบคลุมอย่ใู นทอ้ งท่ี อ�ำเภอลานสกา อำ� เภอฉวาง อำ� เภอเมือง อำ� เภอพิปูน อำ� เภอพรหมคีรี อ�ำเภอช้างกลาง และอ�ำเภอนบพิต�ำ จังหวัดนครศรธี รรมราช ครอบคลุมเทือกเขานครศรีธรรมราชตอนกลาง ประกอบ ดว้ ยเทอื กเขาสงู สลบั ซบั ซอ้ นทอดยาวเหนอื จรดใตข้ นานไป กบั ชายฝง่ั ทะเลดา้ นตะวนั ออก มที รี่ าบตามหบุ เขาเลก็ นอ้ ย ดินบนภูเขาเป็นดินที่เกิดจากการผุสลายของหินแกรนิต มียอดเขาสูงสุด คือ ยอดเขาหลวงเป็นยอดเขาที่สูงท่ีสุด ในภาคใต้ สงู จากระดบั นำ้� ทะเล 1,835 เมตร เปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของต้นนำ้� ลำ� ธารหลายสาย เชน่ แม่นำ้� ตาปี แมน่ ำ้� ปากพนงั คลองกรุงชิง คลองเขาแก้ว คลองท่าแพ คลองระแนะ และคลองละอาย 2) อุทยานแห่งชาติเขาปู่ - เขาย่า มีพื้นท่ีครอบคลุม อยู่ในท้องที่ อ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช อ�ำเภอรัษฏา อ�ำเภอห้วยยอด อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอนาโยง จังหวัดตรัง และอ�ำเภอศรีนครินทร์ อ�ำเภอศรีบรรพต อำ� เภอปา่ พะยอม อ�ำเภอกงหรา จังหวัดพัทลงุ ตง้ั อยใู่ นบรเิ วณเทอื กเขาบรรทัด สลับซบั ซ้อนปกคลุมด้วยป่าดงดิบขึ้นเขียวสะพร่ังทุกฤดูกาล จนได้รับสมญานามว่า “ปา่ พรหมจรรย”์ สภาพภมู ปิ ระเทศเปน็ เทอื กเขาสงู ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของเทอื กเขาบรรทดั มีภูเขาสูงสลับซับซ้อนมากมายที่วางตัวตามแนวเหนือ - ใต้ ประกอบด้วยภูเขาบรรทัด ภเู ขานครศรีธรรมราช เขาปู่ - เขายา่ เขาปา้ แหร้ เขาสามร้อยยอด เขาวัดถ้ำ� เขาพระยา ถำ�้ วงั นายพุฒ เขาปู่ เขาย่า เอกสารประกอบการเรียน 55 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
กรงุ จนี เขาป่าโฮ้ง มีเขาหนิ แทน่ เปน็ ยอดเขาสงู สดุ มีความสูงประมาณ 877 เมตรจากระดับน�้ำทะเล ในจังหวัดตรัง เปน็ ตน้ แมน่ ำ้� ตรงั กำ� เนดิ ของคลองลำ� ภรู า คลองละมอ โดยในฝง่ั จงั หวดั พทั ลงุ เปน็ แหลง่ กำ� เนดิ คลองลาไม คลองไมเ้ สยี บ คลองน้ำ� ใส ซ่งึ จะไหลรวมเป็นคลองชะอวดและแม่น�้ำปากพนงั 3) อุทยานแห่งชาติน�้ำตกโยง มีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ 128,125 ไร่ หรือ 205 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ีป่าในเขตต�ำบลช้างกลาง อ�ำเภอฉวาง (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นอ�ำเภอช้างกลาง) ต�ำบลเขาแก้ว ต�ำบลลานสกา อำ� เภอลานสกา ต�ำบลนาบอน อ�ำเภอนาบอน ตำ� บลนาหลวงเสน ตำ� บลถ้�ำใหญ่ อ�ำเภอท่งุ สง และ ต�ำบลหินตก ตำ� บลร่อนพิบลู ย์ อ�ำเภอร่อนพบิ ลู ย์ จงั หวัดนครศรีธรรมราช มสี ภาพปา่ ทส่ี มบูรณป์ ระกอบด้วยทิวทัศน์ และน้�ำตกท่ีสวยงามหลายแห่งด้วยกัน เช่น ยอดเขาเหมน ยอดเขารามโรม น้�ำตกโยง น�้ำตกปลิว น�้ำตกคลองจัง น้�ำตกหนานเตย นำ้� ตกหนานปลวิ น�ำ้ ตกหนานตากผา้ น้�ำตกหนานโจน น�ำ้ ตกคหู าสวรรค์ 4) อุทยานแห่งชาติเขานัน มีเนื้อที่ ประมาณ 256,121 ไร่ หรือ 409.79 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ี อ�ำเภอนบพิต�ำ อ�ำเภอท่าศาลา และอ�ำเภอสิชล มีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงทอดยาว ตามแนวเหนอื -ใต้ สลบั ซบั ซอ้ น โดยเปน็ สว่ นหนง่ึ ของเทอื กเขานครศรธี รรมราช สภาพปา่ เปน็ ปา่ ดงดบิ ชน้ื ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ เป็นแหล่งตน้ น้ำ� ลำ� ธารท่ีส�ำคัญของ จังหวัดนครศรธี รรมราช และประกอบไปดว้ ย พนั ธไุ์ มท้ ี่สำ� คัญและมีคา่ มีจุดเดน่ ทางธรรมชาติ ทสี่ วยงามหลายแหง่ เช่น นำ้� ตกสุนันทา (น้�ำตกเขาบนั ) น�้ำตกกรุงนาง นำ�้ ตกคลองเผยี น ถ�ำ้ กรุงนาง นำ้� ตกเขาได เป็นตน้ โดยมยี อดสูงท่สี ุด คอื ยอดเขาใหญ่ โดยสงู ประมาณ1,438 เมตร จากระดบั นำ้� ทะเล 5) อุทยานแห่งชาติน�้ำตกส่ีขีด มีพ้ืนที่ประมาณ 90,625 ไร่ หรือ 145 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ ในแนวทวิ เขานครศรธี รรมราชทสี่ งู ชนั สลบั ซบั ซอ้ น ในเขตอำ� เภอสชิ ล จงั หวดั นครศรธี รรมราช และอำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเทือกเขาแนวแบ่งเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสุราษฎร์ธานีแนวเขาวางตัว ในแนว ทศิ เหนอื -ใต้ เปน็ แนวยาวขนานกบั ฝง่ั ทะเล ตะวนั ออก ตอนกลาง เปน็ เทอื กเขาทส่ี งู ชนั สลบั ซบั ซอ้ นมลี กั ษณะ เปน็ สนั ปนั น้�ำ โดยลาดตำ�่ ไปทางตะวันออกและทางตะวันตก ท่รี าบสว่ นใหญ่อยทู่ างตะวนั ออก พน้ื ท่นี ี้ มียอดเขาทสี่ ูง ท่ีสุด คอื ยอดเขาคีโหมด สงู 1,303 เมตร ยอดเขาอนื่ ๆ เชน่ ยอดเขานาง สงู 881 เมตร ยอดเขาวังพงุ สูง 600 เมตร ยอดเขาปลายครามสูง 599 เมตร ยอดเขาขุนห้วยแกว้ สงู 582 เมตร ความสงู ของพ้ืนทจ่ี ากระดบั น้ำ� ทะเลปานกลาง โดยเฉลี่ย ประมาณ 700 เมตร มหี ุบเขาทเี่ ป็นแหลง่ ก�ำเนิดของล�ำหว้ ยตา่ ง ๆ มากมายซึง่ ทำ� ใหเ้ กดิ แอ่งน้�ำและน�้ำตก เปน็ ช้ัน ๆ ต่อเนื่องกันเป็นล�ำดบั มเี ขาบางลกู เป็นภูเขาหินปูน จงึ เกิดถ้ำ� ท่ีสวยงามน่าพิศวง มากมายหลายแห่ง เช่น ถ�้ำเขาพบั ผา้ ถ�้ำสวนปราง เป็นตน้ 6) อทุ ยานแห่งชาตหิ าดขนอม – หมเู่ กาะทะเลใต้ เป็นอุทยานแหง่ ชาตทิ างทะเล อยใู่ นเขตพ้ืนที่ จังหวัดนครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยพ้ืนที่ทางบกและทางทะเลรวมกัน มีเน้ือท่ี ประมาณ 197,500 ไร่ หรอื ประมาณ 316 ตารางกิโลเมตร เป็นพ้ืนที่ทางบกประมาณ 116.74 ตารางกิโลเมตร หรอื 36.94% และเปน็ พ้นื น�้ำประมาณ 199.26 ตารางกิโลเมตร หรอื 63.06% พื้นท่ที างบกประกอบดว้ ย แนวเทือกเขา น้อยใหญ่ สลับซับซ้อนทอดตัวจากทิศเหนือสู่ทิศใต้มีพ้ืนที่ราบผืนใหญ่ เชิงภูเขาเปิดสู่ฝั่งทะเล ด้านอ่าวไทย มียอดเขาหลวง เป็นจุดสูงที่สุดประมาณ 814 เมตรจากระดับน�้ำทะเล ส่วนพ้ืนท่ีทางทะเลประกอบด้วยเกาะ จ�ำนวน 11 เกาะ ได้แก่ เกาะแตน เกาะราบ เกาะมัดโกง เกาะมัดแตง เกาะวังนอก เกาะวงั ใน เกาะมดั สุ่ม เกาะราใหญ่ เกาะทำ� ไร่ เกาะผี และเกาะน้อย 56 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
อทุ ยานแห่งชาติหาดขนอม - หมู่เกาะทะเลใต้ 2. ป่าสงวนแหง่ ชาติ จำ� นวน 69 ป่า เดมิ มีเน้อื ที่รวม 1,925,663 ไร่ ได้มอบเอกสารสทิ ธิ ส.ป.ก. 4-01 ให้กับประชาชนเข้าท�ำประโยชน์ จ�ำนวน 471,210 ไร่ และตัดพ้ืนที่ทับซ้อนเขตอุทยานเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 638,528 ไร่ คงเหลอื พืน้ ท่ี 815,931 ไร่ 3. เขตรักษาพันธุส์ ัตวป์ ่าและเขตห้ามล่าพนั ธุ์สัตวป์ า่ 1) เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ กะทนู พน้ื ที่62,800ไร่ตงั้ อยตู่ ำ� บลกระทนู อำ� เภอพปิ นู จงั หวดั นครศรธี รรมราช 2) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแหลมตะลุมพุก พ้ืนท่ี 35,456 ไร่ พื้นท่ีป่าแหลมตะลุมพุก ป่าเลน ปากพนังตะวนั ออก อำ� เภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช 3) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบ่อล้อ พ้ืนที่ 62,599 ไร่ ท้องที่ต�ำบลสวนหลวง ต�ำบลทางพูน อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ต�ำบลแม่เจ้าอยู่หัว ต�ำบลการะเกด อ�ำเภอเชียรใหญ่ ต�ำบลบ้านตูล ต�ำบลชะอวด อำ� เภอชะอวด ต�ำบลควนพัง อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรธี รรมราช 4) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย พื้นท่ี 150,000 ไร่ ท้องท่ีต�ำบลการะเกด เภอเชียรใหญ่ ต�ำบลขอนหาด อำ� เภอชะอวด ตำ� บลแหลม ต�ำบลควนชลกิ อำ� เภอหัวไทร จงั หวัดนครศรีธรรมราช การจ�ำแนกพ้ืนท่ีป่าในจังหวัดนครศรีธรรมราช แบง่ ออกเป็น 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. ปา่ ดงดบิ 2. ป่าชายเลน 3. ปา่ พรุ และ 4. ปา่ ชายหาด 1. ป่าดงดิบ เปน็ ปา่ รกทบึ มคี วามลากหลายทางชวี ภาพสงู ประกอบไปดว้ ยพนั ธไ์ุ มแ้ ละสตั วป์ า่ ชนดิ ตา่ งๆ มากมาย ปา่ ดงดิบ พืชพรรณ 1) ปา่ ดบิ ช้ืน มพี ันธ์ไุ มท้ ีม่ คี า่ และมีขนาดใหญ่อยูเ่ ปน็ จ�ำนวนมาก เช่น ยาง หลมุ พอ ตะเคยี นทอง ไขเ่ ขยี ว ตะเคียนทราย สยาขาว กระบากดำ� พนั จา่ หลมุ พอ เอยี น เสยี ดช่อ จำ� ปา นาคบุตร เลอื ดนก ขนุนปาน พกิ ุลปา่ ก่อ รกั เขา กระทอ้ น สะตอ เหรยี ง เขยี ด อบเชบ ฯลฯ พชื พ้นื ลา่ งมีจ�ำพวกเฟินต้นชนดิ ต่าง ๆ เต้าร้างยักษ์ หวาย ไผ่เกรียบ ก้ามกุ้ง พืชตระกูลขิงข่า ไม้เลื้อย และเถาวัลย์ข้ึนเกาะตามไม้ใหญ่มากมายพืชท่ีพบ (สภาพป่า แตล่ ะอทุ ยานจะมคี วามคลา้ ยคลงึ กนั ความโดดเดน่ อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขานนั จะมไี ม้ “ไมป้ ระ” ทปี่ ระชาชนนยิ มนำ� เมลด็ มารบั ประทาน) และมหาสดำ� เป็นพืชประจ�ำถนิ่ ของอทุ ยานเขาหลวง เอกสารประกอบการเรียน 57 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
2) ป่าดิบเขา เปน็ ปา่ ท่ีมีความโปร่งกวา่ ป่าดิบช้นื อยูใ่ นระดบั ความสงู 800 เมตรขึ้นไป เนือ่ งจากมี ตน้ ไม้ใหญข่ น้ึ อยูน่ อ้ ย พนั ธ์ุไมเ้ ด่นได้แก่ ก่อตาหมู กอ่ นก กอ่ เดือย กอ่ แป้น พชื พ้ืนล่างทพ่ี บได้แก่ มังเส เฟิน มอส กล้วยไม้ดนิ เปน็ ตน้ 3) ปา่ ดบิ แลง้ พบบรเิ วณไหลเ่ ขาตามรอ่ งนำ้� ทมี่ เี นอื้ ดนิ เปน็ ชนั้ บางของปา่ เขาทอ้ งโหนด ปา่ เขาชยั สน และตามเกาะต่าง ๆ พนั ธ์ุไมท้ ่สี ำ� คัญ ได้แก่ ตะเคียนหิน พลองใบใหญ่ หวั ค่าง จกิ เขา ชะมงั และขแ้ี รด ฯลฯ 4) ป่าเขาหินปูน บริเวณเขาหินปูนท่ีมีชั้นดินน้อยมากยากต่อการเจริญเติบโตของ พันธุ์ไม้ชนิด ต่าง ๆ ล�ำหรับพืชท่ีพบเป็นพวกแป้งและว่านสบู่ด�ำ พืชส�ำคัญ ได้แก่ จันทน์ผา เป้ง สลัดได พลับพลึง บุก เขียด และยอปา่ จะพบในอทุ ยานแหง่ ชาตหิ าดขนอม – หมู่เกาะทะเลใต้ 2. ปา่ ชายเลน จงั หวดั นครศรธี รรมราชมพี น้ื ทป่ี า่ ชายเลนทงั้ หมด 149,748.78 ไร่ อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของทรพั ยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ท้ังหมด 108,212.26 ไร่ กระจายในพ้ืนที่เขตอ�ำเภอขนอม อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอปากพนัง และอ�ำเภอเมือง การส�ำรวจความ ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง สั ง ค ม พื ช ใ น ป ่ า ช า ย เ ล น ใ น บ ริ เ ว ณ ตำ� บลปากนคร ตำ� บลปากพูน ตำ� บลทา่ ไร่ และตำ� บลท่าซกั อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ต�ำบลแหลมตะลุมพุก ต�ำบลคลองน้อย ต�ำบลปากพนังฝั่งตะวันตก และ ต�ำบลปากพนังฝั่งตะวันออก อ�ำเภอปากพนัง พบพันธุ์ไม้ ทง้ั หมด จำ� นวน 19 ชนดิ ชนดิ พนั ธท์ุ พี่ บมากทสี่ ดุ คอื โกงกาง ใบเลก็ รองลงมา คอื แสมทะเล ถวั่ ขาว ตะบนู ลำ� พู ลำ� แพน ถวั่ ด�ำ ถว่ั ขาว ฯลฯ ปา่ ชายเลน 3. ป่าพรุ “ป่าพรุ” เป็นป่าดิบช้ืน มีน�้ำท่วมขัง เป็นแหล่งสร้างความอุดม สมบูรณ์ให้กับธรรมชาติ และความหลากหลายทางชวี ภาพใหก้ บั ระบบนเิ วศ เนอื่ งจากในดนิ มกี ารสะสมของซากพชื ซากสตั ว์ เศษซากของตน้ ไม้ ใบไมท้ ที่ บั ถม และยอ่ ยสลายอยา่ งชา้ ๆ กลายเปน็ “ดนิ พที ” หรอื ดนิ อนิ ทรยี ท์ ม่ี ลี กั ษณะหยนุ่ ยวบเหมอื นฟองนำ้� ทม่ี คี วาม หนาแน่นน้อย อุ้มน�้ำได้มาก ลักษณะดังกล่าวถือเป็น ประโยชนท์ สี่ ามารถปอ้ งกนั การเกดิ ไฟไหมป้ า่ ไดม้ าก ปา่ พรุ ในพนื้ ทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช ชอื่ วา่ “ปา่ พรุ ควนเครง็ ” ป่าพรุควนเคร็ง ครอบคลุมพ้ืนท่ีในเขตอ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอชะอวด และอ�ำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช เขตรอยต่อ ระหว่างลุ่มน้�ำปากพนังและลุ่มน�้ำทะเลสาบ สงขลา ปา่ พรุควนเคร็ง ครอบคลุมพื้นทกี่ วา่ 1 แสนไร่ แตถ่ ้ารวมพื้นท่ี ระดับภูมิทัศนแ์ ลว้ พรุควนเคร็งมพี ้นื ทก่ี ว่า 4 แสนไร่ ซึง่ เปน็ อันดบั สอง รองจากพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส สภาพท่ัวไปเป็นพ้ืนท่ีซึ่งฟื้นสภาพจากพื้นท่ีพรุ ที่ถูกคุกคามด้วยไฟป่า 58 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
และการบกุ รกุ พรรณไมด้ งั้ เดมิ ถกู ทดแทนดว้ ยไมเ้ สมด็ ขาว และไมพ้ น้ื ลา่ งกระจดู กก ปรอื เปน็ แหลง่ กกั เกบ็ คารบ์ อน ทสี่ ำ� คัญในช้ันพรุ ทอ่ี นิ ทรียวัตถยุ งั ไม่สลายตัวอย่างสมบรู ณ์ 4. ปา่ ชายหาด ป่าชายหาดเป็นป่าละเมาะหรือป่าโปร่งไม่ผลัดใบข้ึนอยู่ตามบริเวณชายหาดหรือเนินทราย ริมทะเล หรอื ชายฝง่ั เปน็ ปา่ ทมี่ ขี นาดเลก็ เกดิ ขน้ึ ดา้ นหลงั ของสนั ทรายตามแนวชายฝง่ั นำ้� ทะเลทว่ มไมถ่ งึ สภาพดนิ เปน็ ดนิ ทราย และมคี วามเคม็ สงู เปน็ ปา่ ทม่ี คี วามแตกตา่ งจากปา่ ทวั่ ๆ ไปอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เจน คอื ไมม่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ สภาพโดย ท่ัวไปแห้งแล้ง ใบไม้ในป่าจะเป็นลักษณะหงิกงอ ซ่ึงเป็น ลกั ษณะของปา่ ชายหาดทส่ี มบรู ณ์ ปา่ ชายหาด เปน็ ปา่ ทไ่ี ด้ รับอิทธิพลจากกระแสลม กระแสคล่ืน รวมถึงไอเค็ม จากทะเล แสงแดดรอ้ นจดั สภาพความชื้นสดุ ขวั้ ท้ังชนื้ จดั ชนื้ นอ้ ย และชนื้ ปานกลาง ระบบนเิ วศจงึ ประกอบดว้ ยเนนิ ทรายหรือหาดทรายและมีพืชประเภทไม้เถา หรือไม้เล้ือย ไมท้ ่มุ และไม้ยนื ต้นท่ีมลี �ำตน้ คดงอ และมคี วามสูงเพิ่มขึ้น เร่ือย ๆ เมื่ออยู่ห่างจากชายหาดออกไป ประเภทไม้ มี 3 ประเภท ปา่ ชายหาด 1) ประเภทหญ้าหรอื ไม้เล้อื ย ได้แก่ หญ้าลงิ ลม ผักบุ้งทะเล หญา้ ทะเล เตย ซ่งึ รากของไมเ้ หล่าน้ี จะชว่ ยในการยดึ เกาะพ้ืนทรายท�ำให้พนื้ ทรายมีความแน่นหนาแขง็ แรงมากขน้ึ เพ่อื ท่ีจะให้รากของไม้ที่ใหญก่ ว่า เชน่ ไมพ้ ุ่ม ได้เกาะตอ่ ไป 2) ประเภทของไม้พุ่ม ได้แก่ รักทะเล ปอทะเล เสมา ซิงซี่ หนามหัน ก�ำจาย ขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ชว่ ยบงั ลมทะเล เปน็ ปราการใหแ้ ก่ไม้ชนิดทไี่ มส่ ามารถทนเค็มได้ 3) ประเภทของไมย้ นื ตน้ เช่น กระทิง หูกวาง โพทะเล ตีนเป็ดทะเล หยีน้ำ� มะนาวผี ขอ่ ย แต่ล�ำต้น ไม่สูงมากนัก ใบมีความหงิกงอตามกระแสลม เรือนยอดอยู่ติดกันและมักมีหนามแหลม บางพื้นที่อาจมีไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่ เช่น ยางหรอื ตะเคียน เปน็ ตน้ เนอื่ งจากมีข้อจำ� กัดในเรือ่ ง ความเค็มของดิน ปรมิ าณธาตอุ าหารพืชในดนิ ท่ีมีอยู่น้อย และสภาพดินท่ีเก็บความชื้นไว้ได้ไม่นาน พืชส่วนใหญ่จึงเจริญเติบโตได้ช้า และจากไอเค็มท่ีพัดเข้ามา จากทะเลและความรุนแรงของลมพายุท�ำให้ ไม้ใหญ่หักโค่นได้ง่าย นอกจากนี้การขาดแคลนน�้ำ ในดินส่งผลต่อ การสงั เคราะหแ์ สงของพชื บญั หาที่ มกั เกดิ ขนึ้ กค็ อื ซากของใบสนทะเลทม่ี กี ารผสุ ลายชา้ และปกคลมุ ดนิ คอ่ นขา้ งหนา เป็นการสกัดกั้นการสืบตอ่ พนั ธ์ขุ องไมช้ นิดอ่นื ๆ อีกทั้งอาจก่อใหเ้ กิดไฟผวิ ดินขนึ้ ได้ สภาพปัญหาทรัพยากรปา่ ไมใ้ นจังหวดั นครศรีธรรมราช ปญั หาราษฎรบกุ รกุ พนื้ ทป่ี า่ อนรุ กั ษ์ บกุ รกุ แผว้ ถางพน้ื ทป่ี า่ เพอ่ื ทำ� การเกษตรกรรม และทอี่ ยอู่ าศยั และ มีนายทุนบางกลมุ่ เขา้ มาซอ้ื ขายท่ดี นิ ไม่มเี อกสารสทิ ธิ (ทปี่ า่ ) จากราษฎรเพื่อสรา้ งรีสอรท์ โรงแรมหรือสง่ิ ก่อสรา้ งอน่ื ใด อันเป็นการละเมิดต่อกฎหมายอย่างร้ายแรง เอกสารประกอบการเรียน 59 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
สัตว์ป่า 1) สตั ว์ป่าทีส่ �ำรวจพบในปา่ เขาบริเวณนท้ี ่ีสำ� คญั เช่น สมเสร็จ เลียงผา ลิงกงั ลิงเสน คา่ งด�ำ คา่ ง เสอื ดำ� เสือลายเมฆ เกง้ กวางปา่ หมปู า่ กระจง อีเหน็ ชะมด ลิงเสน คา่ ง ชะนี กระรอก เมน่ นกหวา้ นกยูง เหยยี่ ว ไกป่ า่ นกเขาเปล้า นกเงอื ก นกขมิน้ นกกางเขนดง นกแซงแววหางปลา นกปรอดหวั โขน ตะพาบนำ้� ตะกวด กงิ้ ก่า จ้ิงเหลน งกู ะปะ กบ เขยี ด คางคก ปลาแงะ ปลาซวิ ปลากระทงิ ปลา ชะโด ปูน�้ำตก ผีเส้ือกลางวัน ผีเส้ือกลางคืนและแมลงปีก แขง็ ตา่ ง ๆ สัตวป์ ระเภทนก “นกกนิ ปลหี างยาวเขยี ว” เปน็ นกประจำ� ถน่ิ ของ อุทยานแห่งชาติเขานนั “โลมา” เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมท่ีอาศัย ในน้ำ� ทะเลพบในเขตอุทยานหม่เู กาะทะเลใต ้ โลมาสีชมพู สัตว์ป่า สัตว์ปา่ ที่พบในพืน้ ทีป่ ่าพรคุ วนเคร็ง สัตวจ์ ำ� พวกนก เชน่ นกกระสาแดง นกยางโทนใหญ่ นกยาง โทนน้อย นกยางควาย นกยางกรอกพนั ธจ์ุ นี เหย่ียวแดง ฯลฯ สัตวเ์ ลื้อยคลาน เชน่ เต่าเหลือง ตะพาบ เต่าหบั เตา่ ดำ� จงิ้ จกหางหนาม จงิ้ จกหนิ สีจาง งูลายสอ กง้ิ ก่าหวั แดง เหีย้ งูเหลอื ม งูเหา่ หมอ้ งูสามเหลีย่ ม และงกู ะปะ สตั ว์สะเทิน นำ�้ สะเทนิ บก เชน่ กบนา เขยี ดจะนา กบหนอง เขยี ดจิก อึ่งอา่ งบ้าน เขียดตะปาด และอง่ึ ขา้ งด�ำ ฯลฯ 2. ปญั หาการลกั ลอบลา่ สตั วป์ า่ ทงั้ เพอื่ นำ� เนอื้ สตั วป์ า่ ไปรบั ประทาน นำ� ซากสตั วป์ า่ ไปประดบั เกบ็ รกั ษา และลา่ เพื่อน�ำลูกสัตว์ปา่ มาขายตอ่ เปน็ ต้น ทำ� ให้สัตวป์ ่าหลายชนดิ มีความเสี่ยงท่ีจะสูญพันธม์ุ ากขนึ้ เรอ่ื งที่ 2 ทรัพยากรน�้ำ ทรัพยากรน�้ำเป็นส่ิงส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ ท่ีได้ใช้อุปโภค บริโภค ตลอดจนใช้ในการ ทำ� การเกษตร การนำ� ทรพั ยากรนำ้� มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ของการดำ� รงชวี ติ เราชาวนครศรธี รรมราช ควรไดศ้ กึ ษา เรยี นรแู้ หลง่ น้�ำทม่ี อี ย่ใู นจงั หวัดนครศรธี รรมราช 1) แหลง่ น้ำ� ทเี่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ 2) แหล่งน�ำ้ ทมี่ นุษยไ์ ดส้ ร้าง ขึน้ มา 1. แหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ แม่น�้ำล�ำคลองในจังหวัด ส่วนใหญ่เกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาบรรทัด แม่น้�ำ ลำ� คลองที่ส�ำคัญๆ ในจงั หวดั มีดงั นี้ 1.1 แหล่งนำ�้ ชายฝง่ั ทะเลตะวนั ออก 1) แม่น้�ำปากพนัง ต้นน�้ำเกิดจาก เทอื กเขาบรรทดั ในเขตตำ� บลวงั อา่ ง อำ� เภอชะอวด ไหลผา่ น อำ� เภอเชียรใหญ่ และมสี าขาจากอ�ำเภอหัวไทร ไหลมารวม กนั ทบี่ า้ นปากแพรก กลายเปน็ แมน่ ำ�้ ปากพนงั ไหลสอู่ า่ วนคร 2) แม่น้�ำหลวง เป็นสาขาหนึ่งของ แมน่ �้ำปากพนงั ต้นน้�ำเกดิ บรเิ วณทิศตะวันตกของเทือกเขา 60 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
นครศรธี รรมราช และเทอื กเขาภเู กต็ สว่ นทเี่ กดิ จากเทอื กเขานครศรธี รรมราช มตี น้ นำ้� อยใู่ นอำ� เภอพปิ นู และอำ� เภอฉวาง ไหลผ่านอ�ำเภอฉวาง และอ�ำเภอทุ่งใหญ่ เข้าเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในเขตอ�ำเภอพระแสง อ�ำเภอบ้านนาสาร ไปรวมกบั แมน่ ำ�้ ครี รี ฐั นคิ มทอี่ ำ� เภอพนุ พนิ เรยี กวา่ “แมน่ ำ้� ตาป”ี ไหลลงสอู่ า่ วบา้ นดอน จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เปน็ แมน่ ำ้� สายที่ยาวท่ีสดุ ของภาคใต้ 3) คลองปากพูน ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราช ไหลไปทางตะวันออก ผา่ นอ�ำเภอพรหมครี ี อ�ำเภอเมืองไหลลงสูอ่ ่าวนครศรีธรรมราช 4) คลองปากพญา-คลองปากนคร ต้นน้�ำเกิดจากแหล่งน�้ำหลายสาขาในเขตเทือกเขา นครศรธี รรมราช โดยเฉพาะทเี่ ขาคีรวี ง ตำ� บลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา ไหลผา่ นอำ� เภอเมือง คลองแยกเปน็ หลายสาขา สายหนึ่งไหลเลียบตัวเมืองไปทางตะวันออก ออกทะเลที่ปากพญาเรียก “คลองปากพญา” ก่อนไหลลงสู่อ่าวไทย ตำ� บลปากนคร อำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช 5) คลองเสาธง ต้นน�้ำเกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราชในเขตอ�ำเภอลานสกา คลองนี้มีชื่อ เรยี กกันหลายช่ือตามท้องที่ทค่ี ลองไหลผ่าน 6) คลองกลาย ตน้ น�ำ้ เกิดจากเทือกเขานครศรีธรรมราช ในเขตต�ำบลนบพิต�ำ ไหลออกทะเล ท่ีอำ� เภอทา่ ศาลา 7) คลองทา่ ทน ตน้ นำ�้ เกิดจากเทือกเขานครศรธี รรมราช ไหลลงสูอ่ ่าวไทยทอ่ี ำ� เภอสิชล 8) คลองน�้ำตกโยง ต้นน�้ำเกิดจากเทอื กเขานครศรีธรรมราช ด้านตะวนั ออกอ�ำเภอทุ่งสงไหล เข้าสอู่ �ำเภอหว้ ยยอด จังหวัดตรงั กลายเป็นสาขาหนง่ึ ของแมน่ ้ำ� ตรัง 9) คลองมัน ต้นน้�ำเกิดจากสามจอม ซ่ืงเป็นเขาลูกหน่ึงในเขตอ�ำเภอทุ่งใหญ่ไหลลงมาทาง ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไหลไปเปน็ สาขาหนง่ึ ของแม่นำ้� หลวง ออกอ่าวบ้านดอนจงั หวัดสุราษฎร์ธานี 10) คลองท่าเลา ต้นน้�ำจากเขาวังหีบ ในอ�ำเภอทุ่งสงไหลลงทางใต้ ออกทะเลอันดามัน ทีอ่ ำ� เภอกันตัง จงั หวดั ตรัง 11) คลองท่าโลน ต้นน้�ำเกิดจากเขาปลายเปิดใกล้ๆกับเขาวังหีบ ในอ�ำเภอทุ่งสงไหลสู่ทางใต้ ออกทะเลอนั ดามันในเขตอ�ำเภอกันตังทบี่ า้ นปนั หยี 1.2 แหลง่ น้ำ� ธรรมชาตลิ ่มุ น้ำ� ชายฝงั่ ทะเลภาคใต้ฝ่ังตะวนั ตก แหลง่ น�้ำธรรมชาตลิ ุ่มน�้ำ ชายฝั่งทะเลภาคใต้ฝ่งั ตะวันตก ประกอบด้วยแม่นำ�้ สายหลัก 1 สาย คือ แม่น�้ำตรัง บริเวณต้นน�้ำอยู่ในเขต อ�ำเภอทุ่งสง เป็นที่ลาดชันสูง สภาพป่าไม้มีความอุดม สมบูรณ์ แม่น�้ำตรัง ไหลจากทศิ ตะวันออกเฉียงเหนอื ของอำ� เภอทุ่งสงไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 1.3 แหล่งน�้ำธรรมชาติลมุ่ น�้ำตาปี แหลง่ นำ้� ธรรมชาติลุ่มน�้ำตาปี ประกอบดว้ ยแม่น�ำ้ สายหลกั 2 สาย คอื 1) คลองจนั ดี ตน้ นำ�้ อยู่บรเิ วณเทอื กเขาหลวง อำ� เภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ไหลผา่ น บ้านจนั ดี ลงส่แู ม่น�้ำตาปี 2) คลองสนิ ปนุ เกดิ จากเทอื กเขาในเขตอำ� เภอคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบไี่ หลเขา้ สอู่ ำ� เภอทงุ่ ใหญ่ จงั หวดั นครศรีธรรมราช เอกสารประกอบการเรยี น 61 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
1.4 แหล่งนำ้� ธรรมชาตลิ ่มุ น้ำ� ทะเลสาบสงขลา พรุควนเคร็ง อ�ำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นปลายน�้ำท่ีรองรับน�้ำจากแหล่งน้�ำ ธรรมชาตลิ ุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ประกอบด้วยแม่น�้ำสายหลัก 1 สาย คือ คลองป่าพะยอม ต้นน้�ำเกดิ จากเทอื กเขา หินกลงิ้ และควนหินแก้ว อำ� เภอควนขนุน จังหวัดพทั ลุง 1.5 น�้ำพรุ อ้ นธรรมชาติ 1) น�ำ้ พุร้อนอุทยานบอ่ น�้ำรอ้ น อุทยานบ่อน้�ำร้อน อยู่ในเขตพื้นท่ีของวัดอุทยานบ่อน้�ำร้อน หมู่ท่ี 13 ต�ำบลวังหิน อำ� เภอบางขนั จังหวดั นครศรธี รรมราช มีลักษณะเป็นบอ่ นำ�้ ร้อนรวม 9 บอ่ เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางของแตล่ ะบ่อประมาณ 3 - 4 เมตร มบี อ่ เลก็ ๆ อกี หลายบ่อ มอี ณุ หภูมิท่ผี วิ ดินประมาณ 55 องศาเซลเซยี ส เป็นพน้ื ท่ีราบริมคลอง พบน้ำ� ผุด อยใู่ นห้วยหลายแหง่ คุณภาพน�ำ้ ดี ใส ไมม่ กี ลนิ่ กำ� มะถนั 2) นำ�้ พรุ อ้ นกรงุ ชิง น�้ำพุร้อนกรุงชิง ตั้งอยู่ต�ำบลกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีลักษณะ เป็นบ่อนำ้� อุน่ จ�ำนวน 1 บอ่ มีการกอ่ ปูนรอบบรเิ วณปากบ่อ และมกี ารสรา้ งศาลา ส�ำหรบั ดึงน้ำ� จากน้�ำพุร้อนไปใช้ ประโยชนใ์ นการแช่อาบ 3) น�้ำพุรอ้ นห้วยปริก นำ้� พุร้อนหว้ ยปรกิ ตงั้ อยตู่ �ำบลห้วยปรกิ อ�ำเภอฉวาง จังหวดั นครศรธี รรมราช มลี กั ษณะ เป็นบ่อน้�ำอุ่น 1 บอ่ มีการกอ่ ปนู รอบปากบอ่ เพื่อไวส้ ำ� หรบั ดงึ น�ำ้ พรุ ้อนมาใช้อาบแชน่ ้�ำพรุ ้อน 4) น้ำ� พุรอ้ นบา้ นหูนบ (วงั ฆ้อง) ตง้ั อยตู่ ำ� บลพปิ นู อำ� เภอพปิ นู จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ บอ่ นำ�้ อนุ่ การกอ่ ปนู รอบบรเิ วณ ปากบ่อ มีบันไดไว้สำ� หรบั ลงไปอาบ/แช่น้�ำพรุ ้อน 5) นำ้� พรุ ้อนหนองบัว นำ�้ พรุ อ้ นหนองบวั ตง้ั อยบู่ า้ นหนองบวั ตำ� บลเขาพระ อำ� เภอพปิ นู จงั หวดั นครศรธี รรมราช มีลกั ษณะเปน็ บอ่ น�ำ้ อุ่น ปากบ่อกว้างประมาณ 3 x 3 เมตร มีการกอ่ ปูนรอบบริเวณปากบอ่ 2. แหล่งนำ้� ผิวดินท่ีมนษุ ย์สรา้ งขึน้ อา่ งเกบ็ นำ้� หว้ ยน�้ำใส 2.1 อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยน�้ำใส ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 5 ต�ำบลวังอ่าง อ�ำเภอชะอวด จงั หวัดนครศรีธรรมราช มีความจุ 80 ล้าน ลกู บาศก์เมตร เป็นโครงการก่อสรา้ งแหลง่ น�ำ้ เพื่อป้องกนั และบรรเทาปัญหาอุทกภัยในพื้นท่ีลุ่มน�้ำปากพนัง ในเขตอำ� เภอชะอวด เพอ่ื ปอ้ งกนั หรอื บรรเทาปญั หานำ�้ เคม็ เนอ่ื งจากนำ้� ทะเลหนนุ ในลมุ่ นำ�้ ปากพนงั และเพอ่ื เปน็ แหลง่ น้ำ� อปุ โภค บรโิ ภค ในบริเวณใกล้เคียง 62 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
2.2 อา่ งเก็บนำ้� คลองกระทนู ตง้ั อยู่หมทู่ ่ี 2 ตำ� บลกะทนู อำ� เภอพปิ นู จงั หวดั นครศรธี รรมราช มคี วามจุ 70.50 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร เป็นโครงการพัฒนาแหล่งน้�ำ เพื่อประโยชน์การบรรเทา อทุ กภยั พนื้ ทสี่ องฝง่ั คลองกะทนู และแมน่ ำ้� ตาปที างตอนลา่ ง นอกจากนั้นพื้นที่ น้�ำในอ่างเหนือเข่ือนยังใช้เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ปลา น�้ำจืดและบริเวณอ่างเก็บน้�ำมีความวยงาม ใชเ้ ปน็ สถานท่ที ่องเที่ยวพกั ผอ่ นหย่อนใจ 2.3 อา่ งเกบ็ น�ำ้ คลองดินแดง อ่างเกบ็ นำ้� คลองกระทูน ต้ังอยู่ หมู่ท่ี 12 ต�ำบลเขาพระ อ�ำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความจุ 60 ล้าน ลูกบาศก์เมตร สร้างขึ้นเพ่ือบรรเทาอุทกภัย ในเขตพื้นท่ี ของลุ่มแม่น้�ำตาปีตอนล่าง และเพื่อการเกษตรในพ้ืนท่ี ชลประทาน 9,900 ไร่นอกจากนั้น พ้ืนที่น�้ำในอ่างเหนือ เขื่อนยังใช้เป็นแหล่งพันธุปลา น้�ำจืด และใช้เป็นสถานที่ ทอ่ งเที่ยวของจงั หวัด 2.4 อ่างเกบ็ น�้ำเสม็ดจวน อา่ งเกบ็ นำ�้ คลองดินแดง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 และหมู่ท่ี 4 ต�ำบลกุแหระ อ�ำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความจุ 60 ล้านลูกบาศก์เมตร 2.5 โครงการขดุ คลองระบายนำ้� ชะอวด-แพรกเมือง โครงการขุดคลองระบายน�้ำชะอวด - แพรกเมือง พร้อมประตูระบายน�้ำ และคันก้ันทราย (โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำปากพนัง โดยกรมชลประทานด�ำเนินการขุดคลอง ชะอวด - แพรกเมือง ก้นคลอง กว้าง 150 เมตร ลึก 5 เมตร ยาว 27 เมตร พร้อมประตูระบายน้�ำและคันกั้นทราย สามารถระบายน้�ำได้ 540 ลบ.ม. ตอ่ วนิ าท)ี 3. ปัญหาด้านทรัพยากรนำ้� ในจังหวดั นครศรธี รรมราช สภาพปัญหาด้านทรัพยากรน้�ำของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ปัญหาขาดแคลนน�้ำ ปญั หาพนื้ ทีเ่ สย่ี งภยั นำ�้ ท่วม และปัญหาดา้ นการจดั การป่าตน้ น้�ำ โดยภาพรวมของปญั หาสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี 3.1 ปัญหาขาดแคลนน�้ำ เนื่องจาก ขาดระบบหนว่ งนำ้� ตามธรรมชาติ ชว่ งฤดแู ลง้ ระหวา่ งเดอื น กมุ ภาพนั ธถ์ งึ เดอื นเมษายน มปี รมิ าณฝนตกนอ้ ย อกี ทง้ั การ พัฒนาแหล่งกักเก็บน้�ำยังมีน้อย พื้นท่ีการเกษตรส่วนใหญ่ ปลกู ยางพารา ปาลม์ นำ้� มนั และการทำ� นาทตี่ อ้ งการนำ้� มาก ท�ำให้หลายพ้ืนที่ประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำ นอกจากน้ี การเติบโตของแหล่งท่องเท่ียวขนาดใหญ่และภาคธุรกิจ ต่าง ๆ มีความต้องการใช้น้�ำในฤดูแล้งสูงข้ึน การถมที่ สถานการณน์ ำ�้ ทว่ ม ในจงั หวัดนครศรีธรรมราช เอกสารประกอบการเรียน 63 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
เพอ่ื ทำ� ทอี่ ยอู่ าศยั มากขน้ึ เรม่ิ ประสบปญั หา การจดั หาระบบสาธารณปู โภคและทรพั ยากรสำ� หรบั ผทู้ อี่ าศยั อยใู่ นเมอื ง เกดิ ปัญหาขาดแคลนนำ้� อุปโภค 3.2 ปญั หาพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยน�ำ้ ทว่ ม จังหวัดนครศรีธรรมราชพบทั้งปัญหาน�้ำท่วมและน้�ำหลากในช่วงฤดูฝน เดือนตุลาคม ถงึ เดือนธนั วาคม ท�ำใหพ้ ืน้ ทีจ่ ังหวัดนครศรธี รรมราช ประสบปญั หานำ้� ทว่ มทกุ ปี และปรมิ าณน�้ำที่หลากมาจากพ้นื ท่ี ตอนบน ที่เปน็ พนื้ ทต่ี น้ น�้ำ เน่อื งจากขาดโครงสรา้ งชะลอและกกั เก็บนำ้� คลองธรรมชาติเดมิ ถกู บุกรกุ ท�ำให้มีสภาพ ไม่เหมาะสมในการกักเก็บและชะลอน�้ำ ประกอบกับ คลองระบายน้�ำตื้นเขิน มีสิ่งก่อสร้าง กีดขวางทางน�้ำไหล จงึ ท�ำให้นำ้� ไหลล้นตลิ่งเขา้ ท่วมพืน้ ทเี่ สยี หาย 3.3 ปญั หาดา้ นการจดั การต้นนำ�้ การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อท�ำการเกษตรท�ำให้มีพ้ืนท่ีป่าลดลง ล่งผลให้ปริมาณน�้ำป่าเปลี่ยนแปลง พบมากในพน้ื ทปี่ า่ สงวนแหง่ ชาตทิ ป่ี ระกาศเปน็ เขตปา่ เพอ่ื การอนรุ กั ษ์ สำ� หรบั เขตอทุ ยานแหง่ ชาตแิ ละเขตรกั ษาพนั ธ์ุ สัตว์ป่า มีการบุกรุกบริเวณเขตติดต่อ พื้นที่ที่มีการบุกรุกจ�ำนวนมากมักพบปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ซงึ่ มสี าเหตุ มาจากการทำ� การเกษตรในพน้ื ทล่ี าดชนั และไมม่ มี าตรการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้� ทเี่ หมาะสม และเมอ่ื ปา่ ตน้ นำ�้ ถูกท�ำลาย สมดุลน้�ำจงึ ลดลง 3.4 ปัญหาน�ำ้ เค็มบุกรุก เนื่องจากปริมาณน�้ำจืดท่ีลดลงไม่สามารถช่วยผลักดันน้�ำเค็ม รุกเข้าพื้นที่ได้ โดยน�้ำเค็ม แพร่กระจายเข้าไปในแม่น�้ำปากพนัง ในช่วงฤดูแล้ง เน่ืองจากท้องแม่น้�ำมีความลาดชันน้อยมาก ท�ำให้น้�ำ ในแม่นำ�้ ลำ� คลองในพ้นื ทมี่ ีความเค็มถึง 9 เดอื นตอ่ ปี (มกราคม-กนั ยายน) ส่งผลกระทบต่อการปลกู พชื โดยทว่ั ไป 3.5 ปญั หาน้ำ� เปร้ียว ตอนกลางของพ้ืนท่ีลุ่มน�้ำปากพนัง มีสภาพลุ่มต่�ำ น้�ำท่วมขังตลอดปี คือ พรุควนเคร็ง และ พรุคลองฆ้อง ดินพรุมีสารประกอบไพไรท์ตกตะกอนอยู่ เม่ือระดับน้�ำลดลงจนชั้นไพไรท์สัมผัสกับ อากาศ จะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ท�ำให้ดนิ มสี ภาพเป็นกรด และนำ�้ เปรีย้ ว สง่ ผลต่อระบบการผลติ ของเกษตรกร 3.6 ปญั หาการถา่ ยเทนำ้� เสยี ซึ่งเป็นน้�ำเค็มจากบ่อเล้ียงกุ้งระบายสู่แหล่งน้�ำธรรมขาติ ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพน�้ำ บรเิ วณชายฝง่ั อกี ทง้ั นำ้� เคม็ ยงั ลกุ ลาม เขา้ ไปในพนื้ ทน่ี าขา้ วและไมส่ ามารถปลกู พชื ชนดิ ใดไดจ้ นกลายเปน็ ความขดั แยง้ ที่รุนแรงระหว่างราษฎรผู้เลยี้ งกุง้ กุลาด�ำกบั ราษฎรผู้ทำ� นาข้าว 3.7 ปัญหาการท้ิงขยะ ปล่อยน้�ำเสียและสิ่งปฏิกูลลงแหล่งน้�ำสาธารณะ ท�ำให้เกิดปัญหา มลพิษทางน้�ำ และ การระบายน�้ำไมส่ ะดวกในฤดนู ำ�้ หลากหรือในภาวะอทุ กภยั 64 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
เรื่องที่ 3 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเล จงั หวดั นครศรีธรรมราช จงั หวัดนครศรีธรรมราช มพี ืน้ ทช่ี ายฝ่งั ทะเลยาวรวมประมาณ 236.81 กิโลเมตร ตั้งแต่ต�ำบลทอ้ งเนียน อำ� เภอขนอม ถงึ ตำ� บลหน้าสตน อ�ำเภอหวั ไทร มอี ำ� เภอท่ตี ดิ ชายฝง่ั ทะเล 6 อำ� เภอ 25 ตำ� บล มีเกาะท่สี ำ� คญั คือ หมเู่ กาะกระ 1. สภาพทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ังทะเลจงั หวัดนครศรธี รรมราช ทรพั ยากรทางทะเล ปะการงั หญ้าทะเล สตั ว์ทะเลหายาก โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ 1.1 ปะการงั หมู่เกาะกระเป็นเพียงหมู่เกาะท่ีมีแนวปะการังแห่งเดียวในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ แนวปะการงั 412 ไร่ เกาะกระอยหู่ า่ งจากแผน่ ดนิ ประมาณ 35 ไมลท์ ะเล แนวตรงจากบรเิ วณปากพนงั ประกอบดว้ ย เกาะขนาดเลก็ 3 เกาะ ได้แก่ เกาะกระใหญ่ เกาะกระกลาง เกาะกระเล็ก และกองหินขนาดเล็ก 1 กอง เรียกหินสูง หรอื หนิ เรอื มสี ว่ นยอดพน้ นำ�้ ไมม่ ากนกั ลกั ษณะการวางตวั ของหมู่เกาะ จะกระจายเป็นรูปสามเหล่ียม โดยเกาะกระ ใหญ่จะอยู่ทางด้านทิศเหนือ ส่วนเกาะกระกลาง และ เกาะกระเล็กจะเยอื้ งไปทางด้านทศิ ตะวันออกเฉยี งใต้ หมู่เกาะกระมีแนวปะการังท่ีสวยงาม และยงั สมบรู ณ์ ปะการงั ชนดิ เดน่ ทพี่ บในพน้ื ทแ่ี นวปะการงั ปะการงั จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่ ปะการังเขากวาง เป็นปะการังชนิดเด่นที่ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่นจนมีลักษณะเป็นดง ทง้ั ปะการงั เขากวางแบบกงิ่ และปะการงั เขากวางแบบโตะ๊ นานาชนดิ นอกจากนบ้ี างชนดิ ยงั ไมเ่ คยรายงานพบทอ่ี น่ื ใด ในฝังอ่าวไทย คือ Acropora cf. copiosa, A. nana และ A. longicyathus โดยเฉพาะอย่างย่งิ ปะการงั เขากวาง แปรงลา้ งขวดทมี่ พี ืน้ ทีค่ รอบคลุมทางด้านทศิ ใตข้ องเกาะกระ สภาพแนวปะการังบรเิ วณหมู่เกาะกระ จงั หวดั นครศรธี รรมราช เอกสารประกอบการเรยี น 65 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
สาเหตุและปัญหาท่สี ่งผลใหแ้ นวปะการงั เสอ่ื มโทรม เกดิ จาก 1) เรอื ประมง ที่เขา้ มาลากอวนและมาจอดหลบคลน่ื ลมทอดสมอเรอื 2) การเกิดรั่วไหลของน�้ำลงทะเล และการซะลา้ งนำ้� มนั จากเรือประมงเรือทอ่ งเท่ยี ว 3) การทง้ิ ขยะลงทะเล ขยะทเ่ี ปน็ ปญั หาใหญต่ อ่ แนวปะการงั คอื เศษอวน อวนทป่ี กคลมุ ปะการงั จะท�ำใหป้ ะการงั ตาย เพราะปะการงั ไม่สามารถรับแสงแดดได้ 4) การใชป้ ระโยชน์ ดา้ นการท่องเทยี่ วทางทะเลทไ่ี ม่มคี วามรบั ผิดขอบ ผลเสยี หาย ทีเ่ กิดจาก นักท่องเท่ียวประเภทด�ำที่ผิว ยืนเหยียบปะการังจนแตกหักเสียหาย ส่วนการทิ้งสมอเรือลงในแนวปะการังนั้น ปัจจบุ ันพบนอ้ ยลงแต่ก็ยังเป็นส่ิงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในบางพ้ืนท่ีท่ีมีทุน่ ไม่เพียงพอ 5) การทำ� ประมงผดิ กฎหมายบริเวณแนวปะการงั เช่น อวนล้อมหิน 1.2 หญ้าทะเล สภาพและสถานการณ์หญ้าทะเล พื้นท่ีทางด้านตะวันออกของจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นชายฝั่งทะเลเปิดรับคล่ืนลม จากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งหญ้าทะเลของจังหวัดนครศรีธรรมราช จึงมีขนาดเลก็ พบแพรก่ ระจายอยทู่ างดา้ นเหนือของจงั หวัดเท่านน้ั ปจั จุบนั ชายฝง่ั ทะเลของจังหวัดนครศรธี รรมราช พบหญ้าทะเลรวม 6 ชนิด คือ หญ้าคาทะเล หญ้ากุยช่ายทะเล หญ้ากุยช่ายเข็ม หญ้าชะเงาใบ หญ้าชะเงาเต่า และหญา้ ใบมะกรดู ครอบคลุมพ้ืนท่ี หญา้ ทะเล รวม 146.6 ไร่ ใน 2 พื้นท่ี คอื เกาะทา่ ไร่และอ่าวเตลด็ หญา้ ทะเล เป็นพืชชั้นสูงที่เติบโตได้ดีในบริเวณชายฝั่งน้�ำตื้น แหล่งหญ้าทะเลเป็นระบบนิเวศชายฝั่งท่ีมีความหลากหลาย ของส่ิงมีชีวิตสูง เป็นบริเวณท่ีมีการสะสมของอินทรีย์สารเป็นแหล่งอาหาร ท่ีอุดมสมบูรณ์ของพืชและสัตว์ต่าง ๆ มีการถ่ายทอดพลังงานในรูปของอาหารผ่านจากระบบนิเวศหน่ึงไปสู่อีกระบบหน่ึง และเป็นที่อยู่ของตัว อ่อนของสิ่งมีชีวิต นอกจากความส�ำคัญด้านนิเวศวิทยาแล้ว แหล่งหญ้าทะเล ยังมีความส�ำคัญในแง่ของการผูกพัน ระหว่างวิถชี มุ ชนในพน้ื ท่ีชายฝงั่ เชน่ ด้านการประมงและการทอ่ งเทีย่ วเชิงนิเวศ สาเหตุท่ีท�ำให้หญา้ ทะเลเสื่อมโทรมหรอื ลดพน้ื ทีล่ ง 1) การเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติ เชน่ ฤดกู าล ความเคม็ อณุ หภมู ิ ตะกอน ดินซึ่งหญ้าทะเลจะมีการเปลี่ยนแปลงในรอบปีท่ีค่อนข้างชัดเจนโดยหากเข้าส�ำรวจในพ้ืนท่ีช่วงปลายฤดูร้อน หญา้ ทะเลสว่ นทอ่ี ยเู่ หนอื พนื้ ทจี่ ะหายไปจากพน้ื ท่ี เหลอื แตร่ ากและสว่ นใตด้ นิ สว่ นของใบจะแตกยอดใหมใ่ นชว่ งมรสมุ ตะวนั ตก และจะเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทใี่ นชว่ งปลายฤดมู รสุมตะวันออก 2) ผลจากการดำ� เนินกจิ กรรมตา่ งๆ ของมนุษย์ เช่น การท้งิ ขยะสิ่งปฏกิ ลู ตา่ งๆ การทำ� ประมง และการทำ� นากุ้ง เปน็ ต้น ซ่งึ กิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ที ำ� ให้ระบบนเิ วศบริเวณน้ันเปลย่ี นไป อาจทำ� ให้ตะไครน่ �ำ้ เข้าไป ปกคลุมพ้ืนท่ี ส่งผลให้หญ้าทะเลไม่สามารถสังเคราะห์แสงเจริญเติบโตได้ และส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และการแพรก่ ระจายของหญา้ ทะเลในทะเลสาบสงขลา 3) การพัฒนาแนวชายฝั่ง ส่งให้ตะกอนไหลลงสู่ทะเล รวมถึงการพัฒนาพื้นท่ีในทะเลชายฝั่ง เพื่อการทอ่ งเทีย่ ว สรา้ งสะพานหรอื ท่าเทียบเรอื ขนาดใหญ่ ในบรเิ วณทแี่ หล่งหญา้ ทะเล 4) การท�ำประมงผดิ กฎหมายในพ้นื ทแี่ หลง่ หญ้าทะเล เชน่ อวนลาก และอวนรนุ 5) การปล่อยน�้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม บ้านชุมชนชายฝั่ง และนากุ้งท�ำให้คุณภาพน้�ำ ทะเลเสอ่ื มโทรม 6) ปัญหาคล่ืนลมมรสุมที่รุนแรง ท�ำให้มีการเคล่ือนย้ายของแนวสันทราย และตะกอน ตามธรรมชาตทิ ับถมแนวหญา้ 66 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1.3 สัตว์ทะเลหายาก สภาพและสถานการณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช มีสตั วท์ ะเลหายากท่ีเด่น คอื โลมาหลังโหนก ซ่ึงพบมากบริเวณ อ�ำเภอขนอม อ�ำเภอสิชล และอ�ำเภอท่าศาลา โดยมี แนวโน้มจ�ำนวนเพ่มิ ข้นึ เลก็ นอ้ ย ส่วนเต่าทะเล ได้แก่ เต่าตนุ จะพบ มกี ารเกยตนื้ มากในพน้ื ทอี่ ำ� เภอหวั ไทร และอำ� เภอปากพนงั ที่บริเวณเกาะกระเป็นแหล่งผสมพันธุ์และวางไข่ท่ีส�ำคัญ ในพื้นที่อ่าวไทยตอนล่างในแต่ละปีจะพบว่าแม่เต่าข้ึนมา วางไข่ปีละไม่ต�่ำกว่า 30 รัง หรือ ไข่จ�ำนวนไม่ต�่ำกว่า 3,000 ฟอง เต่าตนุ สาเหตุที่มผี ลกระทบต่อสัตว์ทะเลหายาก 1) ภยั จากเครอื่ งมอื ประมง เนอื่ งจากสตั วท์ ะเลหายากกลมุ่ ทอ่ี ยตู่ ามแนวกบั พน้ื ทที่ ำ� การประมง มาก มีเคร่อื งมือประมงหลายชนิดท่ีเปน็ อันตรายต่อสตั วท์ ะเลเหลา่ น้ี จากข้อมูลการตายของสตั ว์ทะเลหายากต่าง ๆ พบวา่ เครอื่ งมอื ท�ำการประมงทีเ่ ปน็ สาเหตกุ ารตายทสี่ �ำคญั ไดแ้ ก่ อวนลอย เบด็ ราว อวนล้อม โปะ๊ น�้ำตืน้ 2) สภาพแวดลอ้ มชายฝง่ั เสอ่ื มโทรมและขยะในทะเล การทงิ้ ขยะโดยเฉพาะประเภท เศษอวน ถงุ พลาสตกิ ลงในทะเล เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ทท่ี ำ� ใหส้ ตั วท์ ะเลบาดเจบ็ หรอื ตายได้ ตวั อยา่ งการตายของเตา่ ทะเลและโลมา หลายกรณีพบว่า สัตว์ทะเลหลายชนิดเข้าไปติดในเศษอวนตาย หรือเม่ือกินขยะทะเลเข้าไป ไม่สามารถย่อยได้ เกดิ การอดุ ตนั ทีร่ ะบบทางเดินอาหาร และเปน็ สาเหตทุ �ำให้สตั ว์ตายในที่สดุ เอกสารประกอบการเรยี น 67 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
3) การเจ็บป่วยตามธรรมชาติและภัยจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทั้งเต่าทะเล พะยูน โลมา และปลาวาฬ เป็นสัตว์ท่ีหายใจด้วยปอด ดังนั้น การเกิดภัยพิบัติในธรรมชาติมรสุม พายุ คลื่นลมแรง หรือการเปล่ียนแปลงชัน้ บรรยากาศ สภาพแวดล้อม และอุณหภูมิของน้ำ� จงึ มผี ลตอ่ สุขภาพของสัตวท์ ะเล 4) บุคลากรและองค์ความรู้ด้านสัตว์ทะเลหายากไม่เพียงพอ และความร่วมมือการอนุรักษ์ ไมแ่ พร่หลาย 5) การลักลอบจับสัตว์ทะเลหายาก ในปัจจุบันแม้ว่ามีการรณรงค์อย่างกว้างขวาง เรื่องการ อนุรักษส์ ตั วท์ ะเลหายาก แตก่ ย็ งั มีรายงานการลกั ลอบเก็บไข่เต่าทะเล 6) การบุกรุกท�ำลายแหล่งแพรข่ ยายพนั ธุของเตา่ ทะเล ท�ำให้สภาพความเหมาะสม ของแหล่ง วางไข่เต่าทะเลเสียไป 7) การรบกวน และอุบติเหตจุ ากการทอ่ งเท่ยี ว 2. สถานการณ์ด้านการกดั เซาะชายฝ่ัง 1) สถานการณด์ า้ นการกัดเซาะชายฝั่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีความยาวชายฝั่งยาวประมาณ 236.81 กิโลเมตร โดยสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ อา่ วบา้ นดอน อา่ วขนอม - ทา่ ศาลา อ่าวปากพนัง และแหลมตะลมุ พกุ โดยมีอาณาเขต ครอบคลมุ พ้นื ทีต่ ำ� บลท้องเนียน อ�ำเภอขนอม ถงึ ตำ� บลหน้าสตน อำ� เภอหัวไทร รวมท้ังส้ิน 25 ตำ� บล ประกอบด้วย ตำ� บลทอ้ งเนยี น และตำ� บลขนอม อำ� เภอขนอม ตำ� บลทงุ่ ใส ต�ำบลสิชล ต�ำบลทุ่งปรังและต�ำบลเสาภา อ�ำเภอสิชล ตำ� บลกลาย ตำ� บลสระแกว้ ตำ� บลทา่ ขนึ้ และตำ� บลทา่ ศาลา อ�ำเภอทา่ ศาลา ตำ� บลปากพนู ต�ำบลท่าซกั ตำ� บลปากนคร ตำ� บลทา่ ไร่ และตำ� บลบางจาก อำ� เภอเมอื ง ตำ� บลคลองนอ้ ย ต�ำบลปากพนังฝั่งตะวันตก ต�ำบลแหลมตะลุกพุก ตำ� บลปากพนังฝงั่ ตะวันออก ตำ� บลบางพระ ตำ� บลบา้ นเพิง ตำ� บลท่าพญา และตำ� บลขนาบนาก อ�ำเภอปากพนัง และ ตำ� บลเกาะเพชร และต�ำบลหนา้ สตน อ�ำเภอหวั ไทร สภาพพน้ื ทป่ี ่าชายเลน จังหวัดนครศรีธรรมราช จากขอ้ มลู การสำ� รวจโดยกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั พนื้ ทชี่ ายฝง่ั จงั หวดั นครศรธี รรมราช ระยะทางประมาณ 236.81 กโิ ลเมตร มพี ื้นท่ชี ายฝ่งั ท่ปี ระสบปัญหาการกัดเซาะยาวประมาณ 61.48 กิโลเมตร 2) สาเหตุของการกดั เซาะชายฝั่ง 2.1) การกัดเซาะชายฝั่งมีสาเหตุจาก กระบวนการทางธรรมชาติ โดยเฉพาะในช่วงฤดูมรสุม ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื กระแสคลนื่ ลมแรง เมอ่ื กระทบชายฝง่ั จะชะตะกอนทรายออกไปทำ� ให้ เกดิ ภาวะขาดความสมดลุ ของตะกอนทรายชายหาด ผนวกกับสภาวะโลกร้อนระดับนำ้� ทะเลสูงข้ึนสง่ ผลให้ ชายฝัง่ ทะเลประสบปัญหากัดเซาะ ชายฝงั่ 2.2) การพัฒนาพ้ืนที่ชายฝั่ง ทะเลในรูปแบบ ต่าง ๆ ได้แก่ การต้ังถิ่นฐานและส่ิงก่อสร้าง การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ การสบู นำ�้ ทะเล มาใชเ้ พอ่ื การเพาะเลย้ี ง การวางทอ่ ระบายนำ้� ทง้ิ และการเปลยี่ นแปลงทางไหล ของนำ้� และหรอื รอ่ งนำ้� การกอ่ สรา้ งรกุ ลำ้� ลำ� นำ้� เชน่ การกอ่ สรา้ งสะพาน การสรา้ งทา่ เทยี บเรอื และถนนเลยี บชายฝง่ั ลว้ นกระตนุ้ ใหช้ ายฝ่ังทะเลมคี วามเปาะบางและเกดิ การเปลย่ี นแปลงไดง้ ่ายเมอ่ื เผชิญกบั วกิ ฤตทิ างธรรมชาติ 68 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
2.3) โดยเฉพาะในชว่ งฤดมู รสมุ ตะวนั ชายฝ่งั ทะเลบ้านมะขามเทศ ตำ� บลบางพระ อ�ำเภอปากพนัง ออกเฉียงเหนอื หลายพน้ื ทป่ี ระสบกับปัญหา ชายฝง่ั ทะเล สภาพพ้นื ท่ที ีถ่ ูกกดั เซาะชายฝง่ั จังหวัดนครศรธี รรมราช ถูกกระแสคลื่นลมกัดเซาะ ได้มีการแก้ไขปัญหาเพื่อช่วย บรรเทา ความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ก�ำแพงกันคลื่น หินท้ิง และรอดักทราย เป็นต้น โครงสรา้ ง ดงั กลา่ วไมส่ ามารถสลายพลงั งานคลน่ื ไดก้ ลบั สง่ ผลกระทบใหป้ ญั หากดั เซาะชายฝง่ั รนุ แรงและขยายตวั เปน็ วงกวา้ งมากข้ึน ถือวา่ เป็นการแก้ไขปญั หาท่ีผดิ พลาด 3) การด�ำเนนิ การปอ้ งกันและแกป้ ญั หาการกดั เซาะชายฝ่ัง การด�ำเนินการแก้ไขแล้ว ซึ่งจากการส�ำรวจพบโครงสร้างป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝงั ประกอบดว้ ย 3.1) เขื่อนหินทงิ้ ริมชายฝั่ง 3.2) กำ� แพงกันคลน่ื ประเภทตง้ั ตรง 3.3) กล่องกระชหุ นิ 3.4) รอดักทรายแบบตัวไอ 3.5) เขอ่ื นกนั ทรายและคลนื่ ปากแมน่ ำ้� 3.6) เขอ่ื นหนิ ปอ้ งกนั คลนื่ นอกชายฝง่ั ชายฝง่ั ทะเลบ้านเราะ ตำ� บลท่าขนึ้ อำ� เภอท่าศาลา เอกสารประกอบการเรยี น 69 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
เร่อื งที่ 4 ทรัพยากรแร่จงั หวดั นครศรีธรรมราช 1. ทรพั ยากรแร่ในจังหวดั นครศรธี รรมราช นครศรีธรรมราชมีทรัพยากรแร่ท่ีส�ำคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด ได้แก่ หินปูน โดโลไมต์ ยิปซัม ถ่านหิน ดีบุก ทังสเตน พลวง แบไรต์ ดินขาว บอลเคลย์ เฟลด์สปาร์ และทรายแก้ว มีเน้ือที่รวมกันประมาณ 499 ตารางกโิ ลเมตร คิดเป็นรอ้ ยละ 5 ของเน้ือทจี่ ังหวัด ทรัพยากรแร่ในจงั หวดั นครศรีธรรมราช พบแร่ ดังน้ี 1) แรด่ บี กุ พบพ้ืนทีอ่ ำ� เภอสิชล ร่อนพบิ ลู ย์ นบพิต�ำ พรหมคีรี ลานสกา นาบอน พปิ นู 2) แร่โคโลไมต์ พบพน้ื ทอี่ ำ� เภอขนอม สิชล นบพิตำ� ท่งุ ใหญ่ จฬุ าภรณ์ ชะอวด 3) ถ่านหิน พบพืน้ ที่อ�ำเภอทงุ่ ใหญ่ 4) แรบ่ อลเคลย์ พบพ้นื ท่ีอ�ำเภอทงุ่ ใหญ่ ลานสกา รอ่ นพิบลู ย์ ฉวาง 5) แรแ่ บไรต์ พบพ้ืนท่อี �ำเภอทา่ ศาลา นบพิตำ� 6) แรเ่ ฟลด์สปาร์ พบพ้ืนทอี่ ำ� เภอทา่ ศาลา นบพิตำ� 7) พลวง พบพ้นื ที่อำ� เภอถาํ้ พรรณรา ชะอวด 8) แร่ยิปซมั พบพื้นทีอ่ �ำเภอฉวาง ถํา้ พรรณรา ทุ่งใหญ่ 9) ทรายเพื่อการกอ่ สรา้ ง พบพ้นื ท่อี �ำเภอทา่ ศาลา สิชล ฉวาง ทุ่งใหญ่ 10) ดินขาว พบพ้นื ทีอ่ �ำเภอทุ่งใหญ่ ลานสกา ร่อนพบิ ลู ย์ ฉวาง 11) ทรายแกว้ พบพนื้ ทีอ่ �ำเภอสชิ ล 12) หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมซิเมนต์ พบพื้นท่ีอ�ำเภอ ขนอม สิชล นบพิต�ำ ถํ้าพรรณรา ทุ่งใหญ่ บางขัน ทุง่ สง ร่อนพบิ ลู ย์ 13) หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมก่อสร้าง พบพ้ืนที่อ�ำเภอขนอม สิชล ทุ่งสง ร่อนพิบูลย์ ลานสกา ถํ้าพรรณรา จุฬาภรณ์ พรหมคีรี 14) หนิ ปูนจำ� แนกประเภทไม่ได้ พบพน้ื ที่อ�ำเภอขนอม สชิ ล นบพติ ำ� ถา้ํ พรรณรา ท่งุ ใหญ่ บางขนั ทุ่งสง ลานสกา จุฬาภรณ์ ชะอวด 15) หนิ ปนู เพือ่ อุตสาหกรรมเคมี พบพนื้ ท่ีอำ� เภอทุ่งใหญ่ 16) หนิ ปนู เพือ่ อุตสาหกรรมอ่ืน พบพืน้ ทอ่ี ำ� เภอขนอม สิชล พรหมครี ี ลานสกา ร่อนพบิ ูลย์ ทุง่ สง 2. การใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรแร่ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ทรพั ยากรแรใ่ นจงั หวดั นครศรธี รรมราชสามารถจำ� แนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ ได้ 4 กลมุ่ ดงั นี้ 2.1 กลุ่มเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญ่ของรัฐ ใช้เป็น วัตถุดิบ สำ� หรบั งานก่อสรา้ งสาธารณปู โภคพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ถนน เขื่อนชลประทาน ฝายกั้นนำ�้ เปน็ ต้น แรใ่ นกล่มุ น้ี ไดแ้ ก่ หินปนู ยปิ ซมั และทรายกอ่ สรา้ ง 70 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
ยิปซมั หนิ ปนู ไดโลไมต์ 2.2 กลุ่มแร่เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม ใช้เป็นวัตถุดิบขั้นพื้นฐานของ กระบวนการ ผลิตต่าง ๆ ส�ำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องหลายสาขา เช่น อตุ สาหกรรมอาหารยาอตุ สาหกรรมกระดาษอตุ สาหกรรมสี พลาสติก อุตสาหกรรมหล่อโลหะ อุตสาหกรรมเซรามิก และแกว้ แรใ่ นกลุม่ น้ี ได้แก่ ดบี กุ ทงั สเตน พลวง แบไรต์ ดนิ ขาว บอลเคลย์ เฟลดส์ ปาร์ และทรายแก้ว 2.3 กลมุ่ แรเ่ พอื่ การเกษตร ใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ สำ� หรบั ผลติ ปยุ๋ ปรับปรุงคุณภาพดิน แร่กล่มุ น้คี ือ โดโลไมต์ ดบี ุก แบไรต์ เอกสารประกอบการเรยี น 71 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
2.4 กลุ่มแร่พลังงาน ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิต กระแสไฟฟ้าและเป็นวัตถุดิบ เช้ือเพลิงในอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงาน ความรอ้ นไม่สูงนกั แร่กลุ่มนี้ คอื ถ่านหนิ 2. สถานการณด์ ้านทรพั ยากรแรใ่ นจังหวัดนครศรีธรรมราช 2.1 ปัญหาสง่ิ แวดล้อมบรเิ วณทีท่ �ำเหมอื งแร่ อาจท�ำให้คุณภาพน�้ำในแหล่งน้�ำใกลเ้ คยี ง เสอ่ื มโทรม เพราะเกิดจากการชะล้างที่เกิดจากการท�ำเหมืองแร่ลงสู่แหล่งน�้ำ เช่น แหล่งน้�ำ มีสารหนู เงิน สังกะสี ทองแดง ตะกวั่ ปนเปอ้ื น อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผนู้ ำ� นำ�้ ไปใชเ้ พอื่ บรโิ ภค และอปุ โภค 2.2 การเปิดหน้าเหมืองแร่ เป็นการ พลกิ หน้าดนิ ทำ� ให้ผวิ ดินบริเวณน้ันขาด 23 ปัญหาการใช้แร่ธาตุ บางประเภท เป็นจ�ำนวนมาก หรือการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ไม่ประหยัด อาจท�ำให้ขาดแคลนตลอดไปความอุดมสมบูรณ์ สกปรก พนื้ ทข่ี รขุ ระ มหี ลมุ บอ่ มากมาย จงึ ถกู ปลอ่ ยทงิ้ ใชป้ ระโยชน์ ไมเ่ ตม็ เหมอื งแรใ่ นจงั หวดั นครศรีธรรมราช 2.4 การทำ� เหมอื งในพน้ื ทเ่ี สยี่ งดนิ โคลนถลม่ ยงิ่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งจากดนิ โคลนถลม่ หนกั มากยง่ิ ขน้ึ เพราะการทำ� เหมอื งแรม่ ีการท�ำลายป่า และเปิดหนา้ ดิน มกี ารระเบิดหินเพือ่ เอาแร่ ซง่ึ ท�ำลายความม่ันคงของธรณี 72 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
กิจกรรมหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจงั หวัดนครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามตอ่ ไปนีท้ กุ ขอ้ 1. ให้ผู้เรียนวิเคราะห์สภาพปัญหาทรัพยากรป่าไม้ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และอธิบายแนวทาง แกป้ ัญหามาพอสงั เขป ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. 2. ใหผ้ เู้ รียนอธิบายปญั หาทรัพยากรนำ้� ในจังหวดั นครศรธี รรมราช มาพอสงั เขป ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 3. ใหผ้ ู้เรียนอธบิ ายสาเหตทุ ีม่ ผี ลกระทบตอ่ สตั วท์ ะเลหายาก มาพอสังเขป ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 4. ให้ผู้เรียนอธิบายสถานการณ์ด้านทรัพยากรแร่ในจังหวัดนครศรีธรรมราชในปัจจุบัน มีปัญหา ดา้ นใดบ้าง อธิบายมาพอสังเขป ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... เอกสารประกอบการเรยี น 73 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
โหมหนกั ! ไฟปา่ พรุเมอื งคอนเกิดใหม่ 4 จุด สง่ ผลโรงเรยี นปิด-โรงพยาบาลป่วน วันน้ี (9 ส.ค.) ภาพมมุ สงู ในตำ� บลสวนหลวง อ.เฉลมิ พระเกยี รติ จ.นครศรีธรรมราช นอกจากไฟปา่ ในเขตป่าพรุควนเคร็งยังคงลุกลามอย่างหนักและทวีก�ำลังรุนแรงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ในวันน้ียังพบกลุ่มไฟเกิดใหม่ ขนาดใหญ่อีกอย่างน้อย 4 จุด กลุ่มควันกระจายเต็มท้องฟ้าสูงจากพ้ืนดินหลายร้อยเมตร และเม่ือลมตลบ กดกลุ่มควันได้ปกคลุมพ้ืนที่ชุมชนเป็นระยะ ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ ถูกกลุ่มควันเข้าปกคลุมสร้างผลกระทบต่อผู้ป่วยเป็นระยะตามกระแสความรุนแรงของลม ขณะบริเวณพื้นที่ โรงพยาบาลปกคลุมไปดว้ ยเถา้ วชั พืชจากพนื้ ที่เกิดไฟลอยมาตกจำ� นวนมาก ขณะเดยี วกนั โรงเรยี นประถม และ โรงเรียนมัธยม ในเขตทางฝั่งตะวันออก ของอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ต้องหยุดเรียนกลางคัน และต้องปล่อยให้ นักเรียนกลับบ้านเน่ืองจากควันเข้าปกคลุมโรงเรียนจนครูอาจารย์เกรงจะเกิดผลกระทบต่อนักเรียน จึงหยุด การเรียนการสอนและให้กลบั บ้านก่อนเวลา ส่วนผลกระทบในพื้นที่เกษตรกรรมของชาวบ้าน พบว่า มีสวนปาล์มน�้ำมันจ�ำนวนหลาย 100 ไร่ ในต�ำบลสวนหลวง อ.เฉลิมพระเกียรติ เสียหายจากแนวไฟลุกลามเข้าไปท�ำลายปาล์มน�้ำมัน แม้ว่าปาล์ม จะทนต่อไฟแต่ต้องใช้เวลาอีกอย่างน้อย 3-4 ปี จึงจะสามารถกลับมาให้ผลผลิตได้อีกคร้ัง โดยเกษตรกร เจา้ ของสวนปาลม์ หลายรายตา่ งกงั วลถงึ ผลกระทบทจี่ ะตามมาคอื ไมม่ รี ายไดแ้ ละไมม่ เี งนิ พอทจ่ี ะไปจา่ ยหนธี้ นาคาร เพื่อการเกษตรกรและสหกรณ์การเกษตร จึงเสนอให้รัฐบาลหาวิธีช่วยเหลือเกษตรกรที่ถูกไฟเข้าท�ำลายพื้นท่ี ทางการเกษตรด้วย 74 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7ประชากรกับการเมืองการปกครองจังหวดั นครศรธี รรมราช ประชากรกับการเมืองการปกครองจงั หวัดนครศรธี รรมราช เป็นการเรยี นรู้เกย่ี วกบั ประวตั ิความเป็นมา การตั้งถิ่นฐานของประชากรจังหวัดนครศรีธรรมราช ประวัติบุคคลส�ำคัญ ๆ และลักษณะอุปนิสัยใจของคน จังหวัดนครศรีธรรมราช การเปล่ียนแปลงของประชากรจังหวัดนครศรีธรรมราชทุกระดับทุกเพศและวัยที่เก่ียวข้อง และผูกพันกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง ตลอดจนประโยชน์ที่ประชากรจะได้รับจากการเมือง การปกครองและการบรหิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เรอื่ งท่ี 1 ประชากรนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดใหญ่ในภาคใต้ของประเทศไทย มีความส�ำคัญในทางประวัติศาสตร์ มาแต่อดีตควบคู่กับความเป็นมาของชนชาติไทย มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะการแปรเปล่ียน จ�ำนวนประชากร ที่เป็นไปตามปัจจัยแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ท�ำให้เราจ�ำเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับประชากร จังหวัดนครศรีธรรมราช การตั้งรกรากถ่ินฐาน การย้ายท่ีอยู่อาศัย เช้ือชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม อัตราการเกิด และตายของประชากรจังหวดั ต้งั แต่อดตี สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตรจ์ ังหวัดนครศรธี รรมราชจนถึงปจั จบุ ัน 1. สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์นครศรธี รรมราช ในทางโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ คือ ชว่ งเวลา ทมี่ นษุ ยย์ งั ไมร่ จู้ กั บนั ทกึ เรอ่ื งราวอนั เปน็ ตวั อกั ษรใหม้ นษุ ย์ สมัยปัจจุบันสามารถอ่าน แปลความหมายออกมาได้จากหลักฐาน ทางโบราณคดีปรากฏว่าจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นที่อยู่อาศัย ของมนษุ ยส์ มยั กอ่ น ประวตั ศิ าสตรพ์ น้ื ทเี่ ปน็ ปา่ เขามากอ่ นทจี่ ะเปน็ พื้นที่ราบชายฝั่งทะเล 2. การตงั้ ถ่ินฐานและชุมชนโบราณพทุ ธศตวรรษ ที่ 12-18 ร่องรอยชุมชนโบราณตั้งแต่พุทธศตวรรษท่ี 12 มีปรากฏในท่ีราบเชิงเขา และท่ีราบริมแม่นํ้าทางทิศตะวันออก ของเทือกเขาหลวงภูมิประเทศบริเวณนี้ด้านหนึ่งติดทะเล ถัดไป มีแนวสันทรายทอดยาวตามแนวทิศเหนือและทิศใต้ ส่วนทาง ตะวันตกเป็นแนวเทือกเขานครศรีธรรมราช เป็นแหล่งต้นน้ํา ของคลองหลายสาย จากแนวเทอื กเขาจดฝง่ั ทะเล ประมาณ 15 - 20 กโิ ลเมตร เปน็ แผน่ ดนิ ทอ่ี ดุ มดว้ ยปยุ๋ จากธรรมชาตจิ ากตะกอนทบั ถม ของแม่นํ้า และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่าน จึงเหมาะ แก่การทำ� นาเลีย้ งชมุ ชนขนาดใหญ่ เอกสารประกอบการเรียน 75 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
ลักษณะชุมชนเม่ือแรกต้ังเป็นชุมชนการค้า ซึ่งการติดต่อกับดินแดนโพ้นทะเลมีวัฒนธรรม และเทคโนโลยี ก้าวหนา้ กว่ายงั ผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสงั คม เศรษฐกิจและวฒั นธรรมอย่างช้า ๆ จนชุมชน พัฒนาเติบโตเปน็ ศูนย์กลางการค้าทางทะเลบนคาบสมุทรไทยในพทุ ธศตวรรษที่ 18 โดยเหตุทภ่ี ูมปิ ระเทศเปน็ ปา่ ดิบท่อี ดุ มสมบรู ณ์ จงึ มีผลผลติ จากปา่ อย่มู าก เช่น ขี้ผึ้ง ไม้ฝาง งาชา้ ง หนงั สตั ว์ ซง่ึ เปน็ สนิ คา้ ออกชายฝงั ตะวนั ออกจงึ เปน็ แนวชายฝงั ทน่ี ยิ มตงั้ ถนิ่ ฐาน เพราะสะดวกในการตดิ ตอ่ คา้ ขายกนั กบั ดินแดนโพ้นทะเล เชน่ อินเดยี จีน เวียดนามและภาคกลางของประเทศไทย สังคมและชุมชนจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพัฒนาการที่ยาวนาน ซึ่งจากหลักฐานทางโบราณคดี และประวัติศาสตร์ พอจะสันนิษฐานได้ว่าคนจังหวัดนครศรีธรรมราชยุคก่อนประวัติศาสตร์อาศัยอยู่ในถ้ํา บริเวณ ป่าเขา และบนเกาะต่าง ๆ รวมท้ังท่ีราบตามริมฝั่งน้ํา ยังชีพโดยการล่าสัตว์ จับสัตว์นํ้าและหาของป่า รู้จักการท�ำ ภาชนะเครอ่ื งมอื และเครือ่ งนงุ่ ห่ม มคี วามเช่ือในเรอ่ื งส่ิงศักดิ์สทิ ธ์ิ และเคารพภตู ผี การตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณของจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ค้นพบตามหลักฐานร่องรอย การตงั้ ถน่ิ ฐานของชมุ ชนโบราณสมยั ประวตั ศิ าสตรก์ อ่ นพทุ ธศตวรรษที 19 ตามหลกั ฐานวรรณคดแี ละวตั ถโุ บราณคดี ทป่ี รากฏ ได้แก่ 1) ชุมชนโบราณบนหาดทรายแก้ว ปรากฏ ร่องรอยการต้ังถ่ินฐาน ตามแนวล�ำน้ําใหญ่ไหลมาจากภูเขา ทางตะวันตก ผ่านสันทรายออกไปสู่ทะเลอ่าวไทยในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณแนวสันทรายหรือท่ีเรียกว่า หาดทรายแก้ว พบปรากฏร่องรอยตามนักโบราณคดี 2) ชุมชนโบราณบ้านท่าเรือ ต�ำบลท่าเรือ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราชนักโบราณคดีสันนิษฐานว่า เป็นศูนย์กลางของตามพรลิงค์ในยุคแรก เนื่องจากเป็นจุดท่ี คลองท่าเรือไหลออกทะเล ในอดีตน่าจะเป็นร่องนํ้าลึกท่ีเรือ เดินทะเลสามารถแล่นเข้ามาจอดได้ และพบหลักฐานส�ำคัญ คือ เคร่ืองถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ถัง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12 - 15 เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ซ้อง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18-19 เคร่ืองสังคโลกสมัยสุโขทัยและเงินตราต่างชาติจ�ำนวนมาก ในซากเรือบรรทุกสินค้าหลายล�ำท่ีจมอยู่บริเวณปากอ่าว และ ลำ� คลองแห่งนี้ 3) ชุมชนโบราณเมืองพระเวียง ต�ำบลพระเวียง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ลักษณะของเมือง เป็นรปู สีเ่ หล่ยี มผืนผ้าขนาด 450 X 1,100 เมตร วางตามแนว ทิศ- ทศิ ใต้ มคี เู มอื ง และแนวกำ� แพงดนิ ลอ้ มรอบอยา่ งละชน้ั ภายในเมอื ง มีวัดโบราณหลายแห่ง เช่น วัดสวนหลวงตะวันออก ปัจจุบัน เป็นที่ต้ังพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ วัดพระเวียง ปัจจุบัน เป็นท่ีต้ัง สถานสงเคราะหเ์ ดก็ ชายบา้ นศรธี รรมราช (กรม ประชาสงเคราะห)์ 76 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
4) ชมุ ชนเมอื งโบราณคดนี ครศรธี รรมราช ตง้ั อยตู่ ำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช ลกั ษณะ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 500 X 2,239 เมตร วางยาวตามแนวเหนือใต้บนแนวสันทรายขนาบด้วย ท่ีราบลุ่ม มีคูเมืองก�ำแพงเมืองล้อมรอบ จากต�ำนานเมืองนครศรีธรรมราช และพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชกล่าวถึง ประวัติ การสร้าง เมืองบนหาดทรายแก้ว สถานที่ฝัง พระทันตธาตุของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ากับการสร้าง พระบรมธาตุเจดีย์ว่าเมืองนี้สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษท่ี 11 โดยพระเจ้า ศรีธรรมโศกราช แต่ไม่มีปรากฏหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ท่ียืนยันได้ว่า นครศรีธรรมราช สร้างขึ้นได้แต่โบราณสถานที่เก่าที่สุด สามารถก�ำหนดอายุ จากรูปศิลปกรรมได้ คือ พระบรมธาตุเจดีย์ ที่วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นเจดีย์ทรงกลมศิลปะลังกา แบบที่พบ ในเมืองโปโลนาก�ำหนดอายุราวพุทธศตวรรษท่ี 18 การต้ังถ่ินฐานของชุมชนโบราณของจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้คน้ พบตามหลักฐาน รอ่ งรอย 3. ลกั ษณะอุปนิสยั ของคนจังหวดั นครศรีธรรมราช โดยทว่ั ไปลกั ษณะอปุ นสิ ยั ของคนจงั หวดั นครศรธี รรมราช มลี กั ษณะคลา้ ย ๆ กบั คนภาคใตท้ วั่ ไป ดงั นี้ 1) ชอบนบั ญาติ หมายถงึ ความสมั พนั ธใ์ นสายสกลุ เดยี วกนั หรอื มคี วามเกยี่ วขอ้ งกนั บางครง้ั เรยี กวา่ “เปน็ ดอง” กนั จึงมีการ “นบั ญาต/ิ ชุมญาติ” หรือเรยี กว่า “สาวยา่ น” กนั ถึงจะรกั กันอย่างเหนยี วแน่น เม่อื มงี าน หรือกิจกรรมใด ๆ สำ� คัญกจ็ ะกลบั มา “รวมญาติ” กนั อย่างพรอ้ มเพรียง 2) รกั พวกพอ้ ง แมว้ า่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ญาตกิ นั แตห่ ากเปน็ คนจงั หวดั เดยี วกนั พดู ภาษาเดยี วกนั จะเกดิ การ รวมกลมุ่ กนั “ผกู เกลอ” โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เมอ่ื ออกไปอยตู่ า่ งถนิ่ กจ็ ะปรากฏเหน็ ชดั คนนครศรธี รรมราช มกั รวมกลมุ่ พบปะสังสรรค์เพื่อรู้จักกัน เช่ือมความสามัคคีระหว่างกัน ท�ำกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ และมีโอกาสที่จะ “แหลงใต”้ กนั 3) รักภาค/ถ่ินฐาน ในภาพรวมเป็นคนนครศรีธรรมราชท่ีมีความรู้สึกภาคนิยมสูง มีความหย่ิง และภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ ท่อี ยู่ รวมถงึ การใช้ภาษาใต้ดว้ ย แม้ว่าจะตกไปอยทู่ ้องถน่ิ อ่นื ยังมคี วามภมู ใิ จลกึ ๆ ว่าเขาเกดิ มา เป็นคนใตน้ ับวา่ เป็นเอกลกั ษณ์ศกั ดศิ์ รีประการหนง่ึ 4) รกั ตายาย คำ� วา่ ตายายในท่นี ี้ หมายถึง บรรพบรุ ษุ เนน้ การนับถือผตี ายาย (เดิมคงเน้นสายสกลุ แม่เป็นส�ำคัญ) แต่ค�ำว่าตายายโดยทั่วไป หมายถึง บรรพบุรุษของทุกฝ่าย เป็นพฤติกรรมที่เป็นแบบอย่าง ของความเคารพ กตัญญูกตเวทีส�ำนึกในบุญคุณบรรพบุรุษ สืบต่อมาช้านานจนเป็นวัฒนธรรมท่ีเด่นชัด “งานสารท เดอื นสิบ” ของจังหวดั เปน็ งานใหญ่และเป็นวัน “ชุมญาติ/รวมญาติ” กันอกี ดว้ ย 5) ใจสู้ หมายถงึ การมใี จกลา้ นน่ั เอง กลา้ สู้ กลา้ คดิ กลา้ ทำ� กลา้ ทเี่ ผชญิ หนา้ กบั เหตกุ ารณห์ รอื อปุ สรรค ท่ีเกดิ ขน้ึ พรอ้ มทีจ่ ะออกหนา้ มีลกั ษณะทค่ี ่อนข้างจะไม่กลวั ใคร จึงกลา้ ที่จะตดั สนิ ใจเปน็ ลกั ษณะแห่งผู้น�ำได้ 6) ใจใหญ่ ค�ำว่า “ใหญ”่ หรือบางทีวา่ ใจนักเลง แต่มใิ ชน่ ักเลงหัวไม้ เป็นคนกล้าไดก้ ล้าเสีย ใจกว้าง ยอมเสียสละเพอื่ ช่ือเสยี ง แม้ตวั เองจะตอ้ งเสยี ผลประโยชน์ไปบ้าง เอาหนา้ ไว้ก่อน 7) ไมห่ วาน หมายถงึ การพดู คนนครศรธี รรมราชพดู หยาบ สำ� เนยี งหว้ นสนั้ ไมม่ หี างเสยี ง อาจมสี ว่ น อยบู่ ้างเพราะสภาพแวดลอ้ มทางภมู ศิ าสตรเ์ ป็นตัวก�ำหนด แตใ่ หด้ กู ันทีค่ วามจริงใจถ้าบอกว่าชว่ ยก็ช่วยจริงไม่ทง้ิ กนั ถ้าบอกว่ารักกร็ ักจริงไม่หลอกกัน 8) หัวหมอ เป็นมุมมองหนึ่งของคนต่างถ่ิน คงเป็นเพราะว่าคนนครศรีธรรมราช มักไม่ยอมก้มหัว ใหใ้ ครงา่ ย ๆ ซง่ึ ความจรงิ ลกั ษณะคนหวั หมอ คอื การทมี่ คี วามคดิ อา่ นทนั คน รมู้ าก จงึ ไมย่ อมสยบใหก้ บั ความอยตุ ธิ รรม ทัง้ ปวงอย่างงา่ ยนัน่ เอง เอกสารประกอบการเรียน 77 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
9) ชอบความเปน็ อสิ ระ เปน็ ลกั ษณะหนง่ึ ของคนนครศรธี รรมราช อาจสบื ลกั ษณะนสิ ยั มาจากโบราณ ที่คนใต้ปกครองตนเองมาโดยตลอดสมัยประวัติศาสตร์ ด้วยเป็นดินแดนไกลศูนย์กลางการปกครอง จึงสร้างสม คุณลกั ษณะต้องพงึ่ ตนเอง ท�ำให้หยง่ิ และรักศกั ดศ์ิ รีของมาตุภมู ิ เกิดคา่ นยิ มชว่ ยเหลอื ตนเองมากกว่าแบมอื ขอคนอน่ื 10) รกั ศักดศ์ิ รี พฤตกิ รรมนเี้ กิดจากลักษณะรวม ๆ เกดิ ขึน้ ตามสภาวการณห์ ลายอย่างจึงเกดิ ความ ภูมิใจจึงไม่แสดงพฤติกรรมใด ๆ ที่ท�ำให้คนอื่นดูถูกประณามท้องถ่ินของตน สังเกตได้จากคนใต้ที่เป็นขอทาน หรือโสเภณีน้อยนิดโดยสถิติ เชื่อเรื่องกรรม ความเชื่อดังกล่าวคงสืบเน่ืองมาจากศาสนาที่สืบทอดมาถึงลูกหลาน อันเป็นเหตุปัจจัยไม่ให้คนท�ำช่ัวเพราะกลัวกรรมสนอง ศัพท์ภาษาถ่ินที่ว่า “ใช้ชาติ” จะเป็นค�ำตอบของความเช่ือ ของคนนครศรธี รรมราชเปน็ อยา่ งดี เปน็ วัฒนธรรมความเชอ่ื ที่ว่าผลมาจากเหตุนัน่ เอง เรอื่ งท่ี 2 บคุ คลสำ�คญั จงั หวดั นครศรธี รรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช มปี ระวตั แิ ละบคุ คลสำ� คญั ๆ ทม่ี ผี ลงานเปน็ ทปี่ รากฏตอ่ สงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1. พระเจา้ ศรธี รรมาโศกราช พระเจา้ ศรธี รรมาโศกราช เปน็ ปฐมกษตั รยิ ์ เปน็ ตน้ ราชวงศ์ปทุมวงศ์ แห่งอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นผู้สร้างเมือง นครศรีธรรมราช จากชุมชนเดิมซึ่งมีช่ือเรียกว่า ตามพรลิงค์ บนหาดทรายแก้ว ปัจจุบันอยู่บริเวณต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เม่ือปลายพุทธศตวรรษท่ี 17 จนกลายเป็นนครรัฐหรือเป็นอาณาจักรใหญ่ในคาบสมุทรไทย ก่อนที่จะเข้ารวมอยู่ในราชอาณาจักรไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนตน้ พุทธศตวรรษท่ี 20 ผลงานและพระเกยี รติคณุ พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชเป็นผู้สร้างเมืองนครศรีธรรมราช และสร้างสถูปเจดีย์ท่ีเรียกว่า “พระบรมธาตุ” ทเ่ี ปน็ ปูชนียสถานทสี่ ำ� คญั คูบ่ ้านคูเ่ มอื งของไทย 2. พระเจา้ จนั ทรภาณุ พระเจ้าจันทรภาณุตามประวัติจากหลักฐานต�ำนานเมืองและต�ำนานพระธาตุทราบว่าพระเจ้าจันทร ภาณุ เปน็ พระอนชุ าของพระเจา้ ศรธี รรมาโศกราช เมอ่ื พระเจา้ นครศรธี รรมาโศกราชถงึ แกก่ รรม เมอ่ื ศกั ราช 1200 ปี พระยาจันทรภาณุ เป็นเจ้าเมืองมีพระนามว่า “พระเจ้าจันทรภาณุ” นับเป็น พระมหากษตั รยิ ท์ ยี่ งิ่ ใหญพ่ ระองคห์ นง่ึ ในราชวงศศ์ รธี รรมาโศกราช หรอื อาณาจกั ร ตามพรลิงค์ เป็นกษัตรยิ ท์ ่ที รงเผยแผพ่ ระเดชานภุ าพขจร ไปยงั แควน้ ไกลทีส่ ดุ คอื เกาะลังกา โดยการยกทัพไปตีถึง 2 ครั้ง ตามประวัติจากหลักฐานต�ำนานเมือง และต�ำนานพระธาตุทราบว่า พระเจ้าจันทรภาณุได้ต้ังอารามก่อพระเจดีย์ ปลูกพระศรีมหาโพธิรายทางมาจนถึงเมืองนคร มีข้อความปรากฏอยู่ในศิลาจารึก ตอนหนงึ่ วา่ “พระเจา้ ผปู้ กครองเมอื งนครตามพรลงิ คเ์ ปน็ ผอู้ ปุ ถมั ภต์ ระกลู ปทมุ วงศ์ พระหตั ถ์ของพระองคม์ ีฤทธม์ิ อี �ำนาจ ดว้ ยอนุภาพแหง่ บุญกุศล 78 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
ผลงานและพระเกียรตคิ ณุ 1) ประกาศอิสรภาพจากอาณาจักรศรีวิชัยให้แก่นครศรีธรรมราช ตอนนั้นนครศรีธรรมราช เปน็ รฐั หนง่ึ ของศรวี ชิ ยั ในขณะทอี่ าณาจกั รศรวี ชิ ยั ออ่ นแอพระเจา้ จนั ทรภาณจุ งึ ประกาศเอกราชจากอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ในราว พ.ศ.1773 และอาณาจักรศรวี ิชัยก็ถงึ กาลอวสานในราวปี พ.ศ. 1838 2) ยกทัพไปตลี ังกา 2 คร้งั ดงั นี้ ครั้งที่ 1 ยกไปตีลังกาในราวปี พ.ศ.1750 ในสมัยของพระเจ้าปรักกรมพาหุกษัตริย์แห่งลังกา ในการรบครั้งนี้ได้รับชัยชนะ เป็นเหตุให้แสนยานุภาพของพระองค์แผ่ไปตลอดแหลมมลายู และเกิดมีอาณานิคม ของตามพรลิงค์อยู่ในลังกา และเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีลังกาต้องมอบพระพุทธสิหิงค์ให้ในโอกาสต่อมา และชาวลังกา เรยี กพระนามของพระองค์ว่า “ชวากะ” ครัง้ ที่ 2 ยกทพั ไปตีลงั กาครัง้ นี้ อยู่ในระหวา่ ง พ.ศ. 1801 - 1803 การไปรบลงั กาในครั้งหลงั น้ี พระเจ้าจันทรภาณุ ได้รับความช่วยเหลือจากทหารชาวทมิฬโจฬะ และพวกปาณฑย์ ซึ่งเป็นศัตรูกับชาวลังกา มาแต่โบราณ และได้ยกพลขึ้นบกท่ีมหาติตถะ ทางฝ่ายนครศรีธรรมราช มีเจ้าชายวีรพาหุเป็นแม่ทัพ ในระยะแรก ฝ่ายพระเจ้าจันทรภาณุมีชัยชนะในการรบแต่ระยะหลังกองทัพของพวกปาณฑย์เกิดกลับใจไปร่วมรบกับพวกลังกา ตีพวกทมิฬโจฬะแตกพ่าย ท�ำให้ทัพของพระเจ้าจันทรภาณุถูกล้อม นักประวัติศาสตร์บางท่านกล่าวว่า พระองค์ สิ้นพระชนมใ์ นสนามรบ แต่บางท่านบอกว่า พระองค์เสดจ็ กลับมาได้ และอยู่ตอ่ มาอกี หลายปีจงึ สนิ้ พระชนม์ 3. เจ้าพระยานคร (พัฒน)์ เจ้าพระยานคร (พัฒน์) หรือเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) เป็นเจ้าเมืองอันดับท่ี 2 ของนครศรีธรรมราชในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าพระยานครผู้น้ีเดิมเป็นหม่อมเจ้าในกรมหมื่นอินทรพิทักษ์ (รัชกาลที่ 3) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ซึ่งในพงศาวดาร เรียกว่า พระอุปราช หรือ เจ้าพัฒน์ ในสมัยกรุงธนบุรี ได้ท�ำราชการสนองพระเดชพระคณุ พระเจ้าอยหู่ ัวและประเทศชาติ ผลงานและพระเกียรติคณุ เจา้ พระยานคร (พฒั น)์ หรอื พระอปุ ราช (พฒั น)์ ถงึ แก่ อสัญกรรม เมื่อ พ.ศ.2358 นับเป็นแบบอย่างข้าราชการท่ีดีผู้หน่ึง คือ เปน็ ผทู้ ไ่ี มย่ ดึ ถอื ในตวั บคุ คลจนเกนิ ไป แตย่ ดึ ถอื ในหลกั การ และประโยชน์ ของส่วนรวม คือ ประเทศชาติเป็นท่ีตั้ง ไม่ว่าเหตุการณ์บ้านเมือง จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร ก็ยังสามารถปฏิบัติราชการงานเมืองในหน้าที่ ด้วยดีเสมอมา มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ และต่อผู้บังคับบัญชา มาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นสมัยกรุงธนบุรี หรือกรุงรัตนโกสินทร์ จะเห็นว่าเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าแผ่นดิน มาท้ังสองสมัย นอกจากน้ันยังเป็นที่รู้จักกาล รู้จักประมาณตน ปราศจากความโลภ ความหลง เช่น เมื่ออายุมาก ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ริ าชการดว้ ยดไี ด้ กก็ ราบถวายบงั คมทลู ลาออกเพอ่ื เปดิ โอกาสใหผ้ อู้ นื่ ทมี่ คี วามสามารถกวา่ ทำ� หนา้ ท่ี แทน คุณลักษณะเช่นนี้จึงท�ำให้เจา้ พระยานคร (พัฒน)์ มีวิถชี วี ติ ทีด่ �ำเนินมาดว้ ยความราบรื่นตราบสน้ิ อายขุ ัย เอกสารประกอบการเรยี น 79 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
4. เจา้ พระยานคร (น้อย) เจ้าพระยานคร (น้อย) หรือเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) เป็นเจ้าเมืองล�ำดับท่ี 3 ของเมืองนครศรีธรรมราชในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ นับเป็นเจ้าเมืองที่มีช่ือเสียงโดดเด่นกว่าเจ้าเมืองใด ๆ ในสมัยเดียวกัน เพราะเป็นทั้งนักรบ นักปกครอง และเป็นผู้สันทัด ในการช่างเป็นอย่างยอดเยี่ยม รับราชการสนองพระเดชพระคุณชาติ บ้านเมืองด้วยความอุตสาหะ จงรักภักดีซื่อสัตย์ต่อพระบรมราโชบาย ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์อย่างแน่วแน่ มน่ั คงถงึ สามรชั กาล คอื พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั และพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ตามลำ� ดบั นบั ไดว้ า่ เปน็ ขา้ ราชการชนั้ ผใู้ หญท่ ไ่ี ดบ้ ำ� เพญ็ กรณยี กจิ ที่ส�ำคัญแก่ชาติบ้านเมืองมายาวนาน ตั้งแต่วัยฉกรรจ์จนกระท่ังถึง เจา้ พระยานคร (น้อย) อสัญกรรม เกดิ เมื่อวันจันทร์ท่ี 27 สงิ หาคม 2319 ตามหลกั ฐานทางราชการกลา่ ววา่ เป็นบตุ รพระยาสธุ รรมมนตรี (พฒั น์) มารดาชื่อ ปราง หรอื หนูเล็ก เริ่มเข้ารบั ราชการอยา่ งจรงิ จังในต้นรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้า นภาลยั คอื ใน พ.ศ.2354 ผลงานและพระเกยี รติคณุ 1) ด้านการปกครอง การตีเมืองไทรบุรี เป็นเมืองท่ีมีปัญหาในการปกครองของไทยตลอดเวลา เจา้ พระยานคร (น้อย) ปกครองเมอื งนคร ต้องใชค้ วามรู้ ความสามารถท้งั ในดา้ นการสงคราม การทตู การปกครอง และการบรหิ ารอย่างยง่ิ ยวด จึงสามารถรกั ษาเมอื งไทรบุรีใหอ้ ยภู่ ายในราชอาณาจักรไทยตลอดชวี ติ ของทา่ น 2) ด้านการทูต บทบาทของเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) ว่าเป็นนกั การทตู คนสำ� คัญในยุคน้ัน โดยเฉพาะ การทตู ระหวา่ งไทยกบั องั กฤษในสมยั รชั กาลท่ี 2 - 3 เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) มีความเฉลียวฉลาด มปี ฏภิ าณไหวพริบ ในการเจรจาความเมืองและผลแห่งการเป็นนักการทูตผู้มีปฏิภาณท�ำให้เมืองนครศรีธรรมราช มีอิทธิพลต่อหัวเมือง มลายู และเป็นทนี่ ับถือย�ำเกรงแก่บรษิ ทั องั กฤษ ซง่ึ ก�ำลงั แผ่อิทธพิ ลการคา้ และการเมืองมายังภาคพ้ืนเอเชยี อาคเนย์ 3) การตอ่ เรือ เจ้าพระยานคร (นอ้ ย) มีความเช่ียวชาญในการต่อเรอื มาก คือได้ต่อเรือกำ� ป่ันหลวง สำ� หรบั บรรทกุ ขา้ วไปขายทอี่ นิ เดยี ทำ� ใหป้ ระเทศชาตมิ รี ายไดม้ าก และทสี่ ำ� คญั คอื ไดต้ อ่ เรอื รบขนาดยอ่ มไปจนถงึ เรอื ขนาดใหญ่ ทีต่ อ้ งใชก้ รรเชียงสองชั้น 4) การพฒั นาเคร่ืองถม “เครอ่ื งถม” เปน็ หตั ถกรรมชน้ั สงู ทชี่ าวนครทำ� สบื ทอดกนั มาแตค่ รงั้ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนกลาง บา้ งกว็ า่ เปน็ ฝมี อื การรงั สรรคข์ องชาวนครครง้ั โบราณ บา้ งกว็ า่ ไดร้ บั สบื ทอดความรจู้ ากชาวโปรตเุ กสทม่ี าตดิ ตอ่ คา้ ขาย แต่ไม่ว่าจะมกี �ำเนดิ มาอย่างไร งานศลิ ปหัตถกรรมประเภทนี้กก็ ลายเปน็ งานฝีมือเอกลกั ษณ์ของเมอื ง 80 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
5. พระเจา้ ขัตตริ าชนคิ มสมมติมไหสวรรย์ (หนู ณ นคร) พระเจ้าขตั ติยราชนิคม สมมตมิ ไหสวรรค์ พระเจา้ นครศรีธรรมราช เจา้ ขัณฑสมี า พระนามเดิม หนู เป็นพระมหากษัตริย์นครศรีธรรมราช ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ีสอง และเป็นพระเจ้าประเทศราช นครศรีธรรมราช ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เกิด พ.ศ. ใด และท่ีใดไม่ปรากฏชัด เม่ือหนุ่มมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงนายสิทธ์ิ นายเวรมหาดเล็กในสมเด็จเจ้าฟ้าอุทุมพร ต่อมาได้รับต�ำแหน่งเป็นปลัด เมืองนครศรธี รรมราช เปน็ ท่ีรูจ้ กั กันในนาม “พระปลดั หน”ู เม่ือปี พ.ศ. 2312 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกทัพไปปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช โดยมีเจ้าพระยาจักรีเป็นแม่ทัพ กองทัพเจ้านครฯ กับกองทัพกรุงธนบุรี ได้สู้รบกันอย่างสามารถ แต่แม่ทัพกรุงธนบุรีท่ียกทัพไปกลับไม่ปรองดอง กนั จงึ ไมส่ ามารถปราบชมุ นมุ เจา้ นครฯ ไดส้ ำ� เรจ็ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี จงึ ตอ้ งทรงลงไปตดี ว้ ยพระองคเ์ อง แลว้ กท็ รงตไี ดส้ ำ� เรจ็ เจา้ นครศรธี รรมราช เจา้ หนู ตอ้ งหนลี ะทง้ิ เมอื งไปอยทู่ เี่ มอื งปตั ตานี แตเ่ จา้ เมอื งปตั ตานเี กรงกลวั กองทัพสยาม จึงส่งตัวกลับมาให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่นั้นมา พระเจ้าขตั ตริ าชนคิ มสมมตมิ ไหสวรรย์ หวั เมอื งปักษใ์ ตจ้ ึงมาอย่ภู ายใต้อำ� นาจกรุงธนบุรี พระองคท์ รงไมป่ ระหาร (หนู ณ นคร) เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เพราะเนื่องจากในขณะน้ันกรุงศรีอยุธยาแตก ไม่มีเมืองท่ีใหญ่กว่ามาปกครอง เมืองนครศรธี รรมราชจึงตอ้ งตง้ั ตนเป็นอิสระ หลังจากน้ันทรงโปรดให้พระเจ้านครศรีธรรมราชเข้ามารับราชการในกรุงธนบุรี แล้วแต่งตั้งพระเจ้า นราสรุ ิยวงศ์ พระราชนดั ดาให้ไปครองนครศรีธรรมราช จนพ.ศ. 2319 เจ้านราสรุ ิยวงศส์ ิ้นพระชนม์ สมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรีจึงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้านครศรีธรรมราช กลับไปครองนครศรีธรรมราช ทรงได้รับพระราชทาน พระสุพรรบัฏเป็น พระเจ้าขัตติยราชนิคม สมมติมไหสวรรค์ พระเจ้านครศรีธรรมราช เจ้าขัณฑสีมา เมื่อวันท่ี 15 กันยายน พ.ศ. 2319 ดำ� รงพระอิสรยิ ยศท่ีพระเจ้าประเทศราช 6. พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชติ (แย้ม) พลเอก เจ้าพระยาบดนิ ทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) เปน็ บตุ ร เจา้ พระยาสธุ รรมมนตรี (หนู) อุปราช เมอื งนครศรีธรรมราช และท่านน่ิม เกดิ เม่อื รนั ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2410 ปลายรัชกาลที่ 4 ภายในจวนผู้วา่ ราชการ เมืองนครศรีธรรมราช ท่านได้เริ่มเล่าเรียนหนังสือไทยหนังสือขอมในส�ำนักครูคงเมืองนครศรีธรรมราช เรียนวิชา เลขไทยในส�ำนกั ขนุ กำ� จัดไพรนิ (เอยี่ ม) ท่ีกรุงเทพมหานคร เม่ือ พ.ศ. 2422 เม่ืออายุได้ 12 ปี ได้ท�ำการมงคลตดั จุก และบวชเปน็ สามเณรทร่ี ัดพระมหาธาตุเมืองนครศรธี รรมราช แลว้ ไปอยวู่ ัดใหมก่ าแกว้ ไดศ้ ึกษาทางพระพทุ ธศาสนา ในสำ� นกั พระครเู ทพมนุ ี (แกว้ ) ผเู้ ปน็ อปุ ชั ฌาย์ และในสำ� นกั พระครกู าแกว้ เจา้ อธกิ ารวดั ใหมน่ นั้ อปุ สมบท หนง่ึ พรรษา พลเอก เจา้ พระยาบดินทรเดชานุชติ (แย้ม ณ นคร) ทา่ นเป็นผู้ใหญใ่ นวงศต์ ระกลู เป็นผู้เครง่ ครัด ในกฎระเบยี บวนิ ยั เยย่ี งวสิ ยั ทหาร แตก่ เ็ ปน็ ผทู้ ม่ี กี ริ ยิ าวาจาทนี่ มุ่ นวล เปน็ ประมขุ แหง่ บา้ นมหาโยธนิ อนั เปรยี บเสมอื น ไม้ใหญ่ที่คอยให้ท่ีพักพิงแก่บรรดาญาติพ่ีน้องลูกหลานตราบจน ส้ินอายุขัย เม่ือวันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2504 และทส่ี ำ� คญั คือทา่ นเป็นผูข้ อพระราชทานนามสกุล “ณ นคร” อนั เป็นตระกูลใหญต่ ระกลู หนึง่ ทสี่ บื ทอดต่อเน่อื งมา จนถงึ ในปจั จุบนั นี้ เอกสารประกอบการเรียน 81 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
7. พระรัตนธัชมุนี (มว่ ง ศิริรัตน)์ พระรัตนธัชมุนี มีนามเดิมว่า “ม่วง ศิริรัตน์” เกิดเม่ือวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2396 ท่ีบ้านหมาก หมู่ที่ 5 ต�ำบลบ้านเพิง อ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นบุตรของนายแก้ว และนางทองค�ำ สิริรัตน์ มพี น่ี ้อง 7 คน เปน็ บตุ รคน สุดท้อง เมอื่ อายุได้ 7 ปี ได้ศกึ ษาเบอื้ งตน้ ในส�ำนกั อาจารยส์ ดี ำ� วัดหลมุ พอ อ.ปากพนัง อายุ 9 ปี ย้ายไปศึกษาในส�ำนักอาจารย์เพชรวัดแจ้ง อ�ำเภอปากพนัง ไดศ้ กึ ษาเล่าเรียน มูลกัจจายน์ในส�ำนักนี้ อายไุ ด้ 15 ปี ได้บรรพชาอย่ทู ี่ วัดแจ้งน้ัน เมื่ออายุได้ 17 ปี ได้ย้ายมาอยู่ที่วัดมเหยงคณ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมจาก พระครูการาม (จู) ในพ.ศ. 2416 ได้อุปสมบทเป็นภิกษุฝ่ายมหานิกาย โดยพระครูการาม (จู) เป็นพระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า “รัตนธโช” เม่ือ อปุ สมบทแลว้ ไดจ้ �ำพรรษาอยู่ที่ วัดมเหยงคณ์ 1 พรรษาต่อมาเม่อื พระครู การาม (จู) ย้ายไปอยู่ท่ีวัดท่าโพธิ์ฯ จึงย้ายตามไปด้วยในปี พ.ศ 2427 เมื่อพระครูการาม (จู) มรณภาพก็ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดท่าโพธิ์สืบแทน ต่อมาได้รับการแต่งต้ังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใหเ้ ป็นพระราชาคณะมรี าชทนิ นามวา่ “พระสริ ธิ รรมมนุ ี” พระรตั นธัชมุณี (ม่วง ศิรริ ตั น)์ ผลงาน/เกยี รตคิ ณุ ทีไ่ ดร้ ับ 1) ด้านการศาสนา เป็นที่ยอมรับและได้รับการยกย่องมาก สามารถแก้ไขปัญหาในการปกครองคณะสงฆ์ ให้เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยได้ จนกระท่งั กรมหมื่นวชริ ญาณวโรรสและกรมหมน่ื ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเหน็ พ้องต้องกนั วา่ เปน็ แบบแผนที่ดี ควรให้ผอู้ ำ� นวยการการศึกษา รับไปจดั ใหต้ ลอดเหมือนกันทว่ั ทุกมณฑล 2) ด้านการศกึ ษา เปน็ ผรู้ เิ ริม่ จดั การศึกษาฝา่ ยสามัญและวิสามญั ข้นึ ในมณฑลนครศรีธรรมราชและมณฑลปตั ตานี จำ� นวนโรงเรียนที่ท่านได้จดั ต้ังท้งั หมด 21 แหง่ เช่น 2.1 โรงเรียนหลวงหลังแรกตั้งอยู่ที่วัดท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีช่ือว่า “สขุ มุ าภิบาลวทิ ยา” ได้พระยาสขุ ุมนัยวนิ ิต (ปั้น สขุ มุ ) ขา้ หลวงเทศาภิบาล เปน็ ผูอ้ ุปถัมภ์ (โรงเรียนน้ีต่อมาเปล่ยี น ซือ่ เป็น “เบญจมราชทู ศิ ”) 2.2 โรงเรียนราษฎรผดงุ วิทยา ต้ังอยทู่ ่ีวัดพระนครใต้ พระครกู าชาติเปน็ ผู้อุดหนุน 2.3 โรงเรียนวฑั ฒนานกุ ลู อยู่ท่วี ัดหมาย อ�ำเภอท่าศาลา 2.4 โรงเรียนเกษตราภิสิจน์ ตั้งอยู่ทีว่ ัดรอ่ นนอก อ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ 2.5 โรงเรียนนิตยาภริ มย์ ตัง้ อย่ทู ่วี ดั โคกหม้อ อำ� เภอทุง่ สง 2.6 โรงเรยี นวิทยาคม นาคะวงศ์ ตั้งอยทู่ วี่ ัดวงั ม่วง อำ� เภอฉวาง 2.7 โรงเรียนวสิ ามัญ ให้มกี ารสอนวชิ าช่างถมขนึ้ ท่วี ัดทา่ โพธ์เิ ปน็ คร้ังแรก ในพระราชอาณาจกั ร เมื่อ พ.ศ. 2456 82 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
3) ดา้ นกวนี พิ นธ์ พระรัตนธัชมุนี มคี วามสามารถทางกวนี ิพนธ์ดว้ ย ท้งั กลอนสด กลอนเพลงบอกและโคลงกลอน อน่ื ๆ อกี มาก เชน่ แตง่ คำ� รอ้ งรบั เสดจ็ ในสมยั รชั กาลที่ 5 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรอ้ งรบั เสดจ็ เมอ่ื เสดจ็ ถงึ จงั หวดั นครศรธี รรมราช แตง่ โคลงรบั เสดจ็ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมื่อเสดจ็ ประพาส จงั หวดั นครศรีธรรมราช พ.ศ. 2441 แตง่ เพลงบอกเรอ่ื งศาลาโกหก 8. พระครูพิศิษฐอ์ รรถการ (พ่อทา่ นคล้าย) พระครูพิศิษฐ์อรรถการ หรือ พ่อท่านคล้าย มีชื่อเดิมว่า คล้าย สีนิล (ศรีนิล) เกิดเม่ือวันอังคาร เดือน 4 ปชี วด พ.ศ. 2407 ทบ่ี ้านโคกกะทือ ต.ช้างกลาง อ.ฉวาง จ.นครศรธี รรมราช บิดาชอ่ื นายอินทร์ มารดาชือ่ นางเนีย่ ว มีพ่สี าวคนหนึง่ ชอ่ื เพงิ ได้เสยี ชวี ติ ต้ังแต่เยาวว์ ัย การศกึ ษา ท่านได้ศึกษาเลา่ เรยี นอกั ษร จากบดิ าของทา่ น อายุ 10 ขวบ กเ็ รียนจบ เมอ่ื อายุ 13 ปี ได้โปเรียนเลขกับอาจารยข์ ํา้ ไม่นานก็ชำ� นาญ เมอื่ อายุ 20 ปี ก็ไดอ้ ุปสมบท ท่ีวัดจังม่วง อ.ฉวาง พ่อท่านคล้ายเป็นพระเถระท่ีมีความเคร่งครัดในวิชาวินัย มีคุณธรรม และบ�ำเพ็ญประโยชน์ อยา่ งใหญห่ ลวง จงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งนบั ถอื จากประชาชนทว่ั ไปวา่ เปน็ เกจอิ าจารยท์ สี่ ำ� คญั รปู หนง่ึ ของภาคใตใ้ นฐานะ ท่เี ป็นผู้มี “วาจาสิทธิ์” ผลงาน/เกยี รตคิ ณุ ทีไ่ ด้รบั 1) งานดา้ นศาสนา พระครูพิศิษฐ์อรรถการ เป็นผู้น�ำในการสร้างวัดพระเจดีย์ พระพุทธรูป และร่วมกัน ในการปฏิสังขรณ์ บูรณะศาสนสถานเป็นจ�ำนวนมาก เช่น สร้างวัด พ่อท่านคล้ายเห็นความส�ำคัญของปูชนียสถาน จึงไดส้ ร้างวัดขึน้ หลายแหง่ ได้แก่ วัดมะปรางงาม ตำ� บลละอาย อ�ำเภอฉวาง ใน พ.ศ. 2490 ต่อมา พ.ศ. 2500 ทายาท องึ่ คา่ ยทา่ ย ถวายทด่ี นิ ใกลต้ ลาดนาบอน จงึ สรา้ งวดั ขน้ึ เรยี กชอื่ ตามสมณะคกั ดว์ิ า่ วดั พศิ ษิ ฐอ์ รรถการามและวดั ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ คอื วดั พระธาตนุ อ้ ยหรอื คนทวั่ ไปเรยี กวา่ วดั พอ่ ทา่ นคลา้ ย พระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการไดส้ รา้ งขน้ึ ใหม่ และสรา้ งเจดยี ์ องค์ใหญไ่ วเ้ ป็นอนสุ รณ์ 2) งานดา้ นพฒั นาท้องถิ่น พ่อท่านคล้าย จัดได้ว่าเป็นนักพัฒนาท่ีย่ิงใหญ่ตลอดชีวิต ท�ำางานโดยไม่รู้จักเหน็ดเหน่ือย เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ได้เดินทางไปพัฒนาในที่ต่าง ๆ มากมาย สร้างถนน สะพานมากมาย ด้วยเมตตาบารมี และความเคารพศรัทธาของศิษย์และประชาชน เช่น สร้างถนนเข้าวัดจันดี ถนนจากต�ำบลละอายไปพิปูน ถนนจากวดั สวนขัน ไปยงั สถานรี ถไฟคลองจันดี ถนนจากตำ� บลละอายไปนาแว ถนนระหว่างหมูบ่ า้ นในต�ำบลละอาย สะพานขา้ มคลองคดุ ด้วน เข้าวัดสวนขัน สะพานขา้ มแม่น้�ำ 3) ดา้ นความมีเมตตาและวาจาสิทธ์ิ ศิษย์ยานุศิษย์และประชาชนท่ีเคารพนับถือ ศรัทธาพ่อท่านคล้ายได้เชื่อถือถึงความศักด์ิสิทธ์ิ ของวาจา พูดอย่างไรเปน็ อย่างน้นั พอ่ ท่านคล้ายจะพูดจากบั ทุกคนดว้ ยใบหนา้ ย้ิมแยม้ และแจม่ ใสอารมณเ์ ยือกเยน็ อยู่ตลอดเวลา ท่านมักจะให้พรกับทุกคน “ขอให้เป็นสุข เป็นสุข” ผู้ที่เคารพนับถือท่านต่างพากันกลัวค�ำต�ำหนิ เพราะผู้ที่ถูกต�ำหนิทุกรายล้วนแต่พบความวิบัติ คนส่วนมากจึงหวังท่ีจะได้รับค�ำอวยพร เพราะค�ำเหล่าน้ัน เป็นการพยากรณ์ที่แม่นย�ำท้ังในทางดีและทางเสื่อมเสีย คนที่ไปนมัสการหวังท่ีจะได้วัตถุมงคล บ้างขอน�้ำมนต์ ชานหมาก แหวน ผ้ายันต์ เหรยี ญ รูปหลอ่ รปู พิมพ์ ซึ่งพอ่ ทา่ นคลา้ ยก็ไดม้ ีเมตตาใหก้ บั ทกุ คน ยิ่งชานหมากของทา่ น หากใครได้รับจากมอื ท่านเป็นตอ้ งหวงแหนอย่างท่ีสุด เอกสารประกอบการเรียน 83 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
9. พระรตั นธัชมุนี (แบน คณฐุ าภรโณ) พระรัตนรัชมุณี (แบน คณุ ฐาภรโณ) พระรัตนธัชมุนี (แบน คณุฐาภรโณ) อดีตเจ้าอาวาส วัดพระมหาธาตุวรวิหาร อดตี เจ้าคณะจงั หวดั นครศรธี รรมราช (ธรรมยุต) นามเดมิ แบน ฤทธโิ ชติ เกดิ เมอ่ื วนั ที่ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2427 ทบี่ า้ นดอนทะเล ตำ� บลปากพนู อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช บดิ าชอื่ หมนื่ ทพิ ยจ์ กั ษุ (ชาว ฤทธโิ ชต)ิ มารดาชือ่ นางเปด็ ฤทธิโชติ (ธรรมกิ กลุ ) มีพ่ีนอ้ งรว่ มบดิ า มารดาเดยี วกัน 3 คน เมือ่ อายุครบ 20 ปี ได้บรรพชาอปุ สมบทท่นี ทิสมี า (สีมาน้ํา) ในคลองปากพูน หน้าวัดท่าม่วง หมู่ท่ี 2 บ้านดอนทะเล ต�ำบลปากพูน ได้รับขนานนามว่า “คณุฐาภรโณ” พระรัตนธัชมุนี ไดม้ รณภาพดว้ ยโรคชรา เมอื่ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 ตลอดชวี ิต ของทา่ นเปน็ เวลายาวนานถงึ 95 ปี พรรษา 75 ทา่ นไดท้ มุ่ เทใหก้ บั พระพทุ ธ ศาสนา ผลงานและเกียรติคุณทีไ่ ดร้ ับ 1. ด้านส่งเสรมิ พระพุทธศาสนา 1) ต�ำแหน่งพระปลัดฐานานุกรมของพระอรยิ กวี (เซ่ง) วัดราชาธิวาสวหิ าร กรุงเทพ ในปี 2454 เปน็ พระครปู ระสาทพทุ ธรปู วติ ร ฐานานกุ รมของสมเดจ็ พระมหาสมณะเจา้ กรมพระวชริ ญาณวโรรส วดั บวรนเิ วศวหิ าร กรุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2457 2) พระครูปลัดศีลวัฒน์ ฐานานุกรมของพระธรรมโกศาจารย์ (พระรัตนธัชมุนี ม่วง) เจ้าคณะมณฑล นครศรีธรรมราชและปัตตานี ใน พ.ศ.2463 3) พระครปู ลดั ศรธี รรมวฒั น์ฐานานกุ รมของพระรตั นธชั มนุ ี(มว่ ง)เจา้ คณะมณฑลนครศรธี รรมราช และปัตตานี ใน พ.ศ.2466 4) พระครูเหมเจตยิ านรุ ักษ์ ตำ� แหนง่ รองเจ้าคณะจังหวดั นครศรธี รรมราช ใน พ.ศ. 2468 5) พระศรีธรรมประสาธน์ มหาธาตเุ จตยิ านุรกั ษ์ สงั ฆปาโมกข์ ต�ำแหน่งพระราชาคณะชน้ั ราช ในนามเดิม และใน พ.ศ.2499 เป็นพระราชาคณะชน้ั เทพในนามเดิม 6) เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ท่ีพระรัตนธัชมุณีศรีธรรมราช ธรรมสาธก ตรีปีฏกคุณา ลงั การศีลสมาจาก วินยั สนุ ทร ธรรมกิ คณสิ สร บวรสังฆาราม คามวาสี ใน ปี พ.ศ.2505 ผลงานทีส่ �ำคัญ 1. การพัฒนาศาสนาบคุ คล พระรตั นธัชมุณี (แบน) เป็นผมู้ ีเมตตา สรา้ งสรรคบ์ ุคคลให้ได้รับความ เจริญรุ่งเรือง ให้การศึกษาอบรม แนะน�ำ โดยเป็นครูสอนพระปริยัติธรรม เป็นครูท่ีส�ำนักวัดท่าโพธิ์ วัดมเหยงค์ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร 2. การพัฒนาศาสนสถานและศาสนวัตถุ เม่ือได้รับหน้าท่ีเป็นเจ้าอาวาส เป็นเจ้าคณะ ไดบ้ รู ณปฏสิ งั ขรณศ์ าสนสถานทชี่ ำ� รดุ ใหค้ งสภาพดขี น้ึ ไดส้ รา้ งวดั และแนะนำ� ใหผ้ อู้ น่ื สรา้ งวดั ขนึ้ ในสถานทท่ี ค่ี วรสรา้ ง เพิ่มขึน้ เปน็ จำ� นวนมาก เชน่ 2.1 บูรณปฏิสังขรณ์วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จัดการให้บูรณปฏิสังขรณ์ องค์พระบรมธาตุ เจดยี ์ พระวหิ ารหลวง พระระเบยี ง พระวิหารภตู เถร (พระแอด) พระวหิ ารสามจอม วหิ ารทบั เกษตร วหิ ารตามศาลา 84 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
สร้างกฏุ ไิ ม้ 1 ช้ัน รวม 7 หลงั สร้างหอระฆัง สร้างถนนระหวา่ งพระเจดีย์บรวิ าร ภายในบริเวณพระบรมธาตุเจดีย์ สรา้ งศาลาพระรตั นธชั มนุ ี และสงิ่ กอ่ สรา้ งอนื่ ๆ ภายในบรเิ วณวดั อกี เปน็ จำ� นวนมาก รวมทงั้ สรา้ งโรงเรยี น พระปรยิ ตั ิ ธรรม ใช้เปน็ สถานทศี่ ึกษาพระปรยิ ัติธรรม แผนกธรรมและแผนกบาลี 2.2 บรู ณปฏิสังขรณ์วดั มเหยงค์ โดยปรับปรุงเสนาสนะทั่วทง้ั วดั 2.3 เปน็ พระนกั เทศนท์ มี่ คี วามสามารถ จนไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ “พระคณาจารยโ์ ททางเทศนา” เพราะมคี วามรทู้ ันตอ่ เหตกุ ารณแ์ ละทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เนือ่ งจากหากมเี วลาวา่ ง พระรตั นธัชมุนี (แบน) จะอ่าน ตำ� ราทางพระพทุ ธศาสนา สารคดี และขา่ วสารตา่ ง ๆ อยเู่ ปน็ ประจำ� การแสดงพระธรรมเทศนา จงึ แสดงโดยปฏภิ าณ มคี ารมคมคาย ชวนใหผ้ ฟู้ งั ตงั้ อกตง้ั ใจฟงั ถนดั ทง้ั การแสดงธรรมรปู เดยี ว และแสดงธรรมโดยปจุ ฉาวสิ ชั นา 2 ธรรมาสน์ ได้จาริกไปแสดงพระธรรมเทศนาอบรมประชาชนท่ัวภาคใต้ อีกท้ังยังจัดให้มีการประกอบศาสนกิจ ในวันส�ำคัญ ทางพระพทุ ธศาสนา จดั การฝกึ อบรมศีลธรรมแกน่ ักเรียนในโรงเรยี นในเขตปกครองเป็นประจำ� 10. พลต�ำรวจตรขี นุ พันธรกั ษ์ราชเดช ประวัติ พลต�ำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช ช่ือนามสกุลเดิม นายบุตร พันธรักษ์ เกิดเม่ือวันท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2446 ท่ีบ้านอ้ายเขียว หมูท่ี 5 ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นบุตร ของนายอ้วน นางทองจนั ทร์ พันธรักษ์ พลตำ� รวจตรี ขุนพนั ธรกั ษ์ราชเดช เป็นอดีตนายต�ำรวจชื่อดัง ของวงการต�ำรวจไทย เป็นบุคคลท่ีส�ำนักงาน ตำ� รวจแหง่ ชาติ เนอื่ งจากทา่ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ขี องกรมตำ� รวจ มชี อื่ เสยี ง เป็นอันมากในการปราบโจรร้ายในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย เช่น เสือฝ้าย เสือย่อง เสือผ่อน เสือคร้ึม เสือปลั่ง เสือใบ เสืออ้วน เสือไหว เสือมเหศวรท่ีพัทลุง ปราบเสือลัง หรือเสือพุ่ม ท่ีนราธิวาส เป็นต้น จากผลงานที่โดดเด่นที่สามารถปราบปรามโจรผู้ร้ายได้มากมาย จึงได้รับ ฉายาต่างๆ วา่ “นายพลต�ำรวจหนงั เหนยี ว” “นายพลตำ� รวจหนวดเซยี้ ว” “ขุนพนั ธ์ๆ ดาบแดง” “รายอกะจ”ิ “จอมขมังเวท” ต่อมาไดร้ บั พระบรม ราชานุญาตให้ใช้ราชทินนามเป็นชื่อสกุล “ขุนพันธรักษ์ราชเดช” และ เป็นคนสุดทา้ ยของประเทศไทยที่ได้รับพระราชทนิ นาม ผลงานทางวชิ าการ พลตำ� รวจตรี ขุนพันธรกั ษร์ าชเดช ขนุ พนั ธรกั ษร์ าชเดช เปน็ ทง้ั นกั อา่ นและนกั เขยี น ไดเ้ ขยี นเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ลงพมิ พใ์ นหนงั สอื และวารสาร ต่าง ๆ หลายเร่ือง และเป็นคนหนึ่งท่ีมีความสนใจในเร่ืองไสยศาสตร์ เร่ืองท่ีเขียนส่วนใหญ่จึงเป็นเรื่องเก่ียวกับ ความเชอ่ื ทางไสยศาสตร์ เชน่ ความเชอื่ ทางไสยศาสตรใ์ นภาคใต้ สองเกลอ หวั ลา้ นนอกครู มวยไทย เชอ่ื เครอ่ื ง กรงุ ชงิ ชา้ งเผือกงาด�ำ ศษิ ยเ์ จา้ คุณ นอกจากนน้ั กม็ เี รอื่ งเก่ียวกบั ประวัติศาสตร์ทั้งประวตั บิ คุ คลและสถานท่ี ตำ� นานท้องถ่ิน มวย และเรื่องเกี่ยวกับประสบการณข์ องตนเอง ผลงานดา้ นทะนุบ�ำรุงศาสนา เป็นผู้ริเร่ิมให้มีการบวงสรวงพระธาตุนครศรีธรรมราช อันเปีนที่มาของการสร้างจตุคามรามเทพ รุ่นแรกในปี พ.ศ. 2530 ตามความเช่ือว่า องค์จตุคามรามเทพนั้น เป็นกษัตริย์ของอาณาจักรนครศรีธรรมราช ทรงมีพระนามที่เป็นทางการ คือ พระเจ้าจันทรภาณุ โดยท่ีพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์องค์ท่ีสองของราชวงศ์ เอกสารประกอบการเรยี น 85 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
ศรธี รรมาโศกราช พระองคท์ รงเป็นกษตั ริย์นกั รบทีแ่ กรง่ กลา้ และไดร้ บั สมัญญานามวา่ พญาพงั พกาฬ หรอื ราชันต�ำ แห่งทะเลใต้ พระองค์ทรงมีพระวรกายสีเข้ม และพระองค์ทรงศึกษาวิชาจตุคามศาสตร์ และบ�ำเพ็ญอธิษฐานจิต เปน็ พระโพธิสตั ว์ จตุคามรามเทพ มีความหมายว่า เทพรักษาพระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ซ่ึงมีอยู่ด้วยกัน สององคน์ นั้ กค็ อื ทา้ วขตั ตคุ ามและทา้ วรามเทพ ในอดตี มคี วามเชอ่ื วา่ ทา้ วขตั ตคุ าม และทา้ วรามเทพนน้ั เปน็ เทพชนั้ สงู ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของพุทธศาสนา ก็ท้าให้ท้าวขัตตุคามและท้าวรามเทพ เปลี่ยนสถานะเป็นเทวดา ทีท่ รงปกปกั รักษาพระบรมธาตุ และถกู เปลย่ี นช่อื ใหม่เพอื่ ใหค้ วามเปน็ มงคล เป็นทา้ วจตุคาม 11. ดร.สุรนิ ทร์ พิศสุวรรณ ดร.สรุ นิ ทร์ พศิ สวุ รรณ เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี 28 ตลุ าคม พ.ศ. 2492 เป็นคนบ้านตาล ต�ำบลก�ำแพงเซา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช พอ่ ชอ่ื ฮจั ยี อสิ มา แอล แม่ซอ่ื ซอฟียะห์ พศิ สวุ รรณ เปน็ ลูกชายคนโต จากทงั้ หมด 11 คน คุณตาซ่อื ฮัจจียะโกบ พศิ สวุ รรณ ผูก้ ่อต้งั โรงเรยี น ปอเนอะบ้านตาล หรอื โรงเรียนประทีปศาสนโ์ รงเรียนสอนศาสนาอิสลาม ชองเอกชน ส่วนคุณตาทวด ของ ดร.สุรินทร์ เป็นผู้บุกเบิกชุมชนมุสลิม ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ชื่อ อิหม่าม ตูวันฆูอัลมัรฮูม ฮัจยีซิดฎิก พศิ สุวรรณ ดร.สุรนิ ทร์มีช่อื ในภาษาอาหรับว่า อบั ดุลฮาลืม บนิ อสิ มาแอล พศิ สุวรรณ ซ่ึงแปลวา่ “ผูม้ ีจิตใจสขุ มุ เยือกเยน็ โกรธยาก อภัยเรว็ ” ดร.สรุ นิ ทร์ พศิ สวุ รรณ สมรสกบั อลสิ า พศิ สวุ รรณ (ฮจั ยะท์ อาอซี ะฮ์) เมื่อ พ.ศ. 2526 มลี กู ชายด้วยกัน 3 คน ดร.สรุ นิ ทร์ พิศสุวรรณ ดร.สรุ นิ ทร์ พศิ สวุ รรณ ถงึ แกอ่ นจิ กรรม เมอ่ื วนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2560 ทโ่ี รงพยาบาลรามคำ� แหง ดว้ ยอาการหวั ใจวายเฉียบพลนั สริ ิอายุได้ 68 ปี การเมือง ด�ำรงต�ำแหนง่ ส�ำคญั ๆ ทางการเมือง ดังน้ี 1) เปน็ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจังหวดั นครศรธี รรมราช พรรคประชาธปิ ัตย์ ปี พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2548 2) เปน็ เลขานกุ ารประธานสภาผู้แทนราษฎร ปี พ.ศ. 2529 - 2531 3) ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2531 - 2534 4) รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ รัฐบาล ชวน หลีกภยั ปี พ.ศ. 2535 - 2538 5) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการต่างประเทศ รัฐบาล ชวน หลีกภัย ปี พ.ศ. 2540 - 2544 6) เปน็ เลขาธิการอาเซียน ปี พ.ศ. 2551 – 2556 ผลงานทีส่ �ำคญั ในทางการเมอื ง 1) เปน็ ผูร้ ณรงค์หาเสยี ง และสนบั สนุน ดร.ศภุ ชัย พานชิ ภักดิ์ ได้รับการเลอื กตงั้ เปน็ ผอู้ ำ� นวยการ ใหญ่ขององค์การการคา้ โลก (World Trade Organization; WTO) 2) ดร.สรุ นิ ทร์ เปน็ คนสำ� คญั ทไี่ ปเจรจาของบประมาณชว่ ยเหลอื จากญปี่ นุ่ เพอื่ ใชใ้ นการสง่ กองกำ� ลงั รกั ษาสนั ตภิ าพไทยฟลิ ปิ ปนิ ส์ เพอ่ื ไปรกั ษาสนั ตภิ าพในตมิ อรเ์ ลสเต (Timor-Leste) หรอื ตมิ อรต์ ะวนั ออก (EastTimor) 86 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
ซง่ึ เพิง่ แยกตวั ออกและจากอนิ โดนเี ซีย เพือ่ ลดความชัดแย้ง ระหวา่ งอนิ โดนีเซียตมิ อร-์ เลสเต เนื่องจากไม่มปี ระเทศ มหาอ�ำนาจใดเขา้ มาควบคุมสถานการณ์ทเี่ กิดข้ึน ถึงแม้วา่ บรเิ วณดงั กล่าวจะอยู่ภายใต้เขตอิทธพิ ลของ ออสเตรเลีย ดร.สุรนิ ทร์ ได้ไปเจรจาของบประมาณสนับสนุนดังกลา่ วจากญ่ปี ุ่น และญี่ปุน่ ไดอ้ นุมตั เิ งนิ ทำ� ใหก้ ารสง่ กองก�ำลังร่วม ไทย-ฟิลิปปินส์ เพอื่ ไปรักษาสันตภิ าพทต่ี มิ อรเ์ ลสเต ประสบความสำ� เร็จในทสี่ ุด 3) ดร.สรุ ินทร์ มีสว่ นสำ� คัญในการผลกั ตนั ในประเทศสมาชิกอาเซยี น ทัง้ 10 ประเทศใหส้ ตั ยาบัน ต่อกฎบตั รอาเซยี น (ASEAN Charter) จนแล้วเสร็จ ในวนั ที่ 14 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2551 และไดป้ ระกาศใช้ ในท่สี ุด นอกจากนแ้ี ล้ว ดร.สรุ นิ ทร์ยังได้รณรงค์และประชาสัมพนั ธ์เพอื่ ให้ประชาชน ท้ัง 10 ชาติ ตระหนักและรจู้ ักอาเซียน ใหม้ ากข้ึนอกี ดว้ ย 12. นายสมชาย วงศส์ วัสด์ิ นายสมชาย วงศ์สวัสด์ิ นายกรัฐมนตรี คนที่ 26 ของประเทศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดตี ปลดั กระทรวง ยตุ ธิ รรม อดตี ปลดั กระทรวงแรงงาน ในขณะท่ี สมชาย ด�ำรงตำ� แหน่งนายกรัฐมนตรีนัน้ เขาไม่ไดป้ ฏิบัติหน้าที่ในทำ� เนยี บรฐั บาล เพราะพนั ธมติ ร ประชาชนเพอ่ื ประชาธปิ ไตยยงั คงยดึ พนื้ ทไี่ วต้ ง้ั แตใ่ นสมยั รัฐบาล สมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ท�ำการแทน นายสมชาย วงศส์ วสั ด์ิ เกดิ เมอื่ วนั ท่ี 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2490 ทตี่ ำ� บลสวนขนั อ�ำเภอฉวาง ปัจจุบันคือ อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เปน็ บตุ รของนายเจมิ - นางดบั วงศส์ วัสด์ิ สมรสกบั นางเยาวภา วงศส์ วัสดิ์ สมชาย วงศ์สวสั ด์ิ ซึ่งเป็นน้องสาวของ ทกั ษิณ ชินวตั ร นายกรฐั มนตรี คนที่ 23 มีบตุ ร - ธดิ า 3 คน คือ ผศ.ดร.ยศธนนั วงศส์ วสั ด์ิ น.ส.ชินณิซา วงศ์สวัสด์ิ และ น.ส.ชยาภา วงศ์สวัสด์ิ ส�ำเร็จการศึกษาชั้นต้นท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช ช้ันมัธยม จากโรงเรียนอ�ำนวยศิลป์ ส�ำเร็จนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เม่ือ พ.ศ.2513 ต่อมาปี 2516 เขา้ ศกึ ษาตอ่ เนตบิ ณั ฑติ ไทย (นบท.) สำ� นกั อบรมศกึ ษากฎหมายแหง่ เนตบิ ณั ฑติ ยสภา เมอื่ 2539 ปรญิ ญาบตั รหลกั สตู ร ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ร่นุ ท่ี 38 และในปี 2545 รัฐประศาสนศาสตร์ มหาบณั ฑิต หลักสูตรการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี พ.ศ. 2555 ได้รับ พระราชทานปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ (การจดั การ) จากมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ผลงานดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และสทิ ธมิ นุษยชน 1) เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การโครงการหน่ึงต�ำบลหนึ่งผลติ กณั ฑ์ความมัน่ คง 2) แกไ้ ขปัญหาความไม่สงบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ 3) สง่ เสริมความร่วมมอื ในการพฒั นาและสรา้ งสัมพันธไมตรีท่ดี ใี นภูมภิ าค 4) จัดตั้งสภาเกษตรกรและสร้างระบบประกนั ความเสี่ยงเศรษฐกจิ 5) แกไ้ ขปญั หาวกิ ฤติสถาบนั การเงนิ ในประเทศ 6) เร่งรัดการลงทนุ ท่ีสำ� คัญของประเทศ 7) สร้างกลไกในการบริหารจดั การความเสี่ยงที่เกิดจากวกิ ฤตกิ ารเงนิ ของโลกทสี่ ่งผลตอ่ การเคล่ือน ย้ายเงนิ ทนุ ทงั้ ระยะสั้นและระยะยาว เอกสารประกอบการเรียน 87 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
13. องั คาร กลั ยาณพงศ์ นายองั คาร กลั ยาณพงศ์ เกดิ เมอ่ื วนั ท่ี 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2469 พื้นเพเป็นคนจังหวัดนครศรีธรรมราช บิดานายเข็บ กัลยาณพงศ์ (อดตี ก�ำนัน ต�ำบลทา่ วัง) มารดา นางขุ้ม กัลยาณพงศ์ องั คารไดเ้ ปน็ ศษิ ย์ ของ ศิลปินใหญ่อย่าง ศ.ศลิ ปี พรี ะศร,ี อ.เฟ้อ หริพิทักษ์ และ อ.เฉลมิ นาคี รักษ์ จึงได้ติดตามและร่วมมือกับอาจารย์ในด้านศิลปกรรม โบราณคดี และประวัติศาสตร์อย่างต่อเนื่อง ความเป็นกวีนั้นเป็นพรสวรรค์ที่ อาจารย์อังคารเช่ือมั่นและฝึกฝนมาต้ังแต่อยู่ชั้นมัธยม เม่ือออกจาก มหาวิทยาลัยศิลปากรแล้ว ได้ร่อนเร่เรียนรู้ และสร้างสรรค์การวาดภาพ และเขียนบทกวี ได้มีโอกาสคนุ้ เคยกบั ศลิ ปนิ และกวีรว่ มยคุ สมยั หลายคน มีผลงานบทกวีปรากฏในหนังสือ “อนุสรณ์น้องใหม่” มหาวิทยาลัย นายอังคาร กัลยาณพงศ์ ศิลปากร กระท่ังได้พบกับ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ผู้ก่อตั้งและเป็นบรรณาธิการคนแรกของ “สังคมศาสตร์ปริทัศน์” บทกวีของอาจารย์อังคาร กลั ยาณพงศ์ จงึ ไดพ้ ิมพ์เผยแพรอ่ ยา่ งกวา้ งขวาง มผี ลงานทีจ่ ดั พมิ พ์สรา้ งความตน่ื ตัวต่นื ใจ ให้วรรณกรรมไทยมาเน่นิ นาน เช่น กวีนิพนธ์ ปี 2507, ล�ำนำ� ภูกระดึง ปี 2512, สวนแก้ว ปี 2515, บางกอกแกว้ ก�ำสรวล หรือนิราศนครศรีธรรมราช ปี2512 จนได้รับการยกย่องว่าเป็น กวีนิพนธ์สมัยใหม่ อังคาร ได้เสียชีวิต เมือ่ วันที่ 25 สงิ หาคม พ.ศ. 2555 รวมอายุ 86 ปี 6 องั คาร ผลงานและเกียรติคณุ นายอังคาร กัลยาณพงศ์ เป็นกวีร่วมสมัยผู้ได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้สร้างสรรค์กวีนิพนธ์สมัยใหม่ ให้แก่วรรณศิลป์ไทย จึงได้รับการประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติจากส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ หรอื กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม ใหเ้ ปน็ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาวรรณศลิ ป์ (กวนี พิ นธ)์ ประจำ� ปี พทุ ธศกั ราช 2532 รางวลั ซไี รต์ ปพี ุทธศักราช 2529 ช่ือผลงงาน “ปณิธานกว”ี รางวลั วรรณกรรมยอดเย่ียมแห่งเอเชยี ปีพทุ ธศักราช 2529 เป็นต้น เรอื่ งท่ี 3 ประชากร การเมอื ง และการปกครอง จังหวัดนครศรธี รรมราช เมอื่ ประชากรมาอยรู่ วมกนั มากขนึ้ ความตอ้ งการปจั จยั พนื้ ฐานทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ตอ้ งการปจั จยั ดา้ นตา่ งๆ ยอ่ มมมี ากขนึ้ จำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาเรยี นรจู้ ำ� นวนประชากร สถติ อิ ตั ราการ เพมิ่ - ลดของประชากร อตั ราการเกดิ ตาย การยา้ ยเขา้ การยา้ ยออกของประชากร รายไดป้ ระชากรศาสนา และอาชพี จังหวดั นครศรธี รรมราช 1. จ�ำนวนประชากร จังหวัดนครศรีธรรมราชมีประชากร จ�ำนวน 1,560,433 คน (31 ธันวาคม 2561) แยกเป็นชาย จำ� นวน 771,530 คน หญงิ จำ� นวน 788,903 คน จำ� นวน 565,568 ครวั เรอื น โดยเฉลยี่ มคี วามหนาแนน่ ของประชากร เท่ากับ 156.95 คน ต่อตารางกิโลเมตร อ�ำเภอท่ีมีประชากรมากที่สุด ได้แก่ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 272,502 คน จ�ำนวน 108,767 ครัวเรือน และอ�ำเภอท่ีมีประชากรน้อยที่สุด ได้แก่ อ�ำเภอถํ้าพรรณรา จำ� นวน 19,277 คน จ�ำนวน 7,234 ครวั เรือน 88 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
2. อตั ราการเกิด ตาย การยา้ ยเข้า การยา้ ยออก ของประชากร จังหวัดนครศรีธรรมราช มีอัตราการเกิด การตาย การย้ายเข้า การย้ายออก ข้อมูลของกระทรวง มหาดไทย ปี 2561 พบว่า อำ� เภอที่มอี ัตราการเกดิ มากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จำ� นวน 6,133 คน อำ� เภอทม่ี อี ตั ราการเกดิ นอ้ ยทส่ี ดุ จำ� นวน 1 คน ไดแ้ ก่ อำ� เภอเฉลมิ พระเกยี รติ อำ� เภอชา้ งกลาง และอำ� เภอพระพรหม อำ� เภอทีม่ ีอตั ราการตายมากท่ีสุด ไดแ้ ก่ อ�ำเภอเมืองนครศรธี รรมราช จำ� นวน 3,148 คน อำ� เภอท่มี ีอตั ราการตาย น้อยท่ีสุด ได้แก่ อ�ำเภอถํ้าพรรณรา จ�ำนวน 80 คน การย้ายที่อยู่อาศัยการย้ายเข้ามากท่ีสุด ได้แก่ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จำ� นวน 12,852 คน การยา้ ยเข้าน้อยทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ อำ� เภอถาํ้ พรรณรา จ�ำนวน 734 คน การย้ายออก มากที่สุด ได้แก่ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 16,748 คน การย้ายออก น้อยที่สุด ได้แก่ อ�ำเภอจฬุ าภรณ์ จ�ำนวน 934 คน 3. รายได้ประชากร เศรษฐกิจโดยทั่วไปของจังหวัดขึ้นอยู่กับผลผลิตทางด้านการเกษตร และการค้า อาชีพหลัก คือ การทำ� สวน ยางพารา ปาลม์ นาํ้ มนั ทำ� ไร่ การปลกู ผลไม้ ทำ� สวนมะพรา้ ว การประมง และการเลยี้ งสตั ว์ จากการสำ� รวจ ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปี 2560 ประชากรมีรายได้ เฉลี่ยต่อคนต่อปี เทา่ กบั 90,033 บาท อยใู่ นลำ� ดบั ท่ี 3 ของกลมุ่ จงั หวดั ลำ� ดบั ที่ 11 ของภาคใตอ้ นั ดบั ท่ี 32 ของประเทศ จากการสำ� รวจ ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2560 ของสำ� นักงานสถติ แิ หง่ ชาติ ประชากรจงั หวัดนครศรีธรรมราช มีคา่ ใชจ้ า่ ยโดยเฉลย่ี 20,756 บาท ตอ่ เดอื นต่อครวั เรือน และมีรายได้ต่อครัวเรือน 29,970 บาท จำ� นวนหนีส้ ินเฉลี่ย 102,741 บาทตอ่ เดอื นตอ่ ครวั เรอื น แยกเปน็ หนสี้ นิ ในระบบ98,246 บาท และ หนส้ี นิ นอกระบบ จำ� นวน 4,495 บาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั (GPP) เท่ากับ 155,862 ลา้ นบาท เป็นอันดับท่ี 3 ของภาคใต้ รองจาก จงั หวดั สงขลา และสุราษฎรธ์ านี รายไดส้ ว่ นใหญ่ขึน้ กับสาขาเกษตรกรรม จ�ำนวน 50,249 ลา้ นบาท คิดเป็น 32.23 % 4. ศาสนา ประชากรจังหวัดนครศรีธรรมราช สว่ นใหญ่นบั ถือ ศาสนาพทุ ธ ประมาณ 92.08% รองลงมา คอื ศาสนาอิสลาม ประมาณ 7.03% ศาสนาคริสต์ ประมาณ 0.89% นอกจากน้ีเป็นศาสนาอ่ืน ๆ (ข้อมูลประชากร 1,560,433 คน ปี พ.ศ. 2561) 5. อาชีพ ดา้ นอาชีพ ประชากรร้อยละ 33.82 ประกอบอาชพี การเกษตร (ท�ำสวน ทำ� นา ทำ� ไร่ ประมง ปศุสัตว์) รองลงมา คือ อาชีพรับจ้างทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 21.05 และมีประชากรไม่ประกอบอาชีพ จ�ำนวน 77,372 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.73 (ข้อมูลประชากร 1,560,433 คน ปี พ.ศ. 2561) เอกสารประกอบการเรยี น 89 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
เร่ืองท่ี 4 การเมอื งการปกครองจงั หวดั นครศรธี รรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช มกี ารแบง่ เขตเลอื กตงั้ ตามรฐั ธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ นั ภายในจงั หวดั ออกเปน็ 8 เขต เลอื กตัง้ สามารถมีสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรได้ 8 คน เขตเลือกตงั้ ละ 1 คน โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1. เขตการเลือกตง้ั ภายในจังหวดั นครศรีธรรมราช เขตเลอื กตั้งท่ี 1 พนื้ ทปี่ ระกอบดว ย อาํ เภอเมอื งนครศรธี รรมราช (เฉพาะ ตำ� บลทา่ ไร ตำ� บลปากนคร ตําบลบางจาก ต�ำบลไชยมนตรี ตําบลมะมว งสองตน ตาํ บลโพธเ์ิ สดจ็ ตําบลทา เรือ ตําบลทาซกั และเทศบาลนคร นครศรีธรรมราช) เขตเลอื กตง้ั ท่ี 2 พน้ื ทีป่ ระกอบดว ย 2 อำ� เภอปากพนงั , อำ� เภอเชยี รใหญ่ และอำ� เภอหัวไทร เขตเลอื กตงั้ ท่ี 3 พื้นที่ประกอบดวย อ�ำเภอพระพรหม, อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอชะอวด และอำ� เภอจุฬาภรณ์ เขตเลือกตัง้ ที่ 4 พน้ื ที่ประกอบดว ย อ�ำเภอทงุ่ สงและอำ� เภอบางขัน เขตเลอื กตัง้ ท่ี 5 พนื้ ทป่ี ระกอบดว ย อำ� เภอทงุ่ ใหญ,่ อำ� เภอถา้ํ พรรณรา, อำ� เภอฉวาง และอำ� เภอพปิ นู เขตเลอื กตงั้ ท่ี 6 พื้นที่ประกอบดวย อ�ำเภอร่อนพิบูลย์, อ�ำเภอลานสกา, อ�ำเภอช้างกลาง และอ�ำเภอนาบอน เขตเลอื กตงั้ ท่ี 7 พนื้ ทปี่ ระกอบดวย อ�ำเภอทา่ ศาลาและอำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช [เฉพาะ ตำ� บล ปากพนู ตำ� บลท่าง้วิ ตำ� บลกำ� แพงเซา ต�ำบลนาทราย และตำ� บลนาเคียน (นอกเขตเทศบาลนครนครศรีธรรมราช)] เขตเลือกตง้ั ท่ี 8 พน้ื ท่ปี ระกอบดวย อําเภอสิชล อําเภอขนอม อาํ เภอนบพติ าํ อําเภอพรหมคีรี 2. การปกครอง การปกครองและการบริหารราชการจังหวัดนครศรีธรรมราชแบ่งเขตการปกครองและการบริหาร ราชการ ตามลักษณะพื้นท่ีออกเป็น 2 ส่วน คือ การปกครองส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย อ�ำเภอ ต�ำบล หมู่บ้าน และการปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนต�ำบล ดังน้ี 2.1 การปกครองสว่ นภูมภิ าค 1) การบรหิ ารราชการหนว่ ยงานในสว่ นภูมภิ าค ประกอบดว้ ย อำ� เภอ 23 แห่ง ตำ� บล จำ� นวน 165 แห่ง หม่บู า้ น จ�ำนวน 1,551 แห่ง และสว่ นราชการที่อยู่ในส่วนภมู ภิ าคขึ้นตรงกับจงั หวดั อีก จำ� นวน 34 แหง่ สังกัดกระทรวงมหาดไทย จ�ำนวน 7 แหง่ และสงั กัดกระทรวง ทบวง กรมอ่ืน ๆ อีก จ�ำนวน 27 แหง่ 2) ส่วนราชการภายในจังหวัดที่ขึ้นตรงต่อส่วนราชการในส่วนกลาง จ�ำนวน 98 แห่ง ประกอบด้วย สังกัดกระทรวงมหาดไทย จ�ำนวน 10 แห่ง สังกัดกระทรวง ทบวง กรมอื่น ๆ จ�ำนวน 75 แห่ง และหนว่ ยงานอสิ ระ จ�ำนวน 13 แหง่ 2.2 การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จ�ำนวน 185 แห่ง คือ องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด จำ� นวน 1 แหง่ เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง จ�ำนวน 3 แหง่ เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 50 แหง่ และองคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 130 แหง่ 90 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช ต้ังอยู่ เลขที่ 309 หมทู่ ่ี 7 ตำ� บลโพธิเ์ สด็จ อำ� เภอเมืองนครศรธี รรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช 2) เทศบาล ประกอบด้วย เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำ� บล โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี (1) เทศบาลนคร เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินส�ำหรับเมืองขนาดใหญ่ท่ีมีประชากร ต้งั แต่ 50,000 คนขนึ้ ไป และมรี ายไดพ้ อเพยี งต่อการให้บริการสาธารณะตามหนา้ ท่ที ี่กฎหมายบญั ญตั ไิ ว้ การจดั ตง้ั เทศบาลนคร กระท�ำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนครตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ปัจจบุ นั มเี ทศบาล นครอยู่ 30 แหง่ ท่วั ประเทศ เทศบาลนคร แหง่ แรกของไทย 3 แหง่ คือ เทศบาลนคร กรุงเทพ เทศบาลนครธนบุรี และ เทศบาลนครเชยี งใหม่ (2) เทศบาลเมือง ท้องถ่ินท่ีจะได้รับการจัดต้ังเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถ่ินอัน เปน็ ทตี่ ง้ั ศาลากลางจงั หวดั หรอื ทอ้ งถน่ิ ทม่ี จี ำ� นวนราษฎรมากกวา่ 10,000 คน และมรี ายไดเ้ พยี งพอทจี่ ะปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถ่ินบางแห่งท่ีไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจ�ำนวน ประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เน่ืองจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาล สมัยแรก ๆ ซ่งึ วางเกณฑต์ ่างจากปัจจบุ ัน (3) เทศบาลต�ำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินส�ำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยท่ัวไป เทศบาลตำ� บล มีฐานะเดมิ เป็นสุขาภบิ าลหรอื องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบล (อบต.) การจดั ตง้ั เทศบาลตำ� บลกระทำ� โดย ประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลต�ำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำ� บลมนี ายกเทศมนตรคี นหนงึ่ ทำ� หนา้ ทหี่ วั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารและสภาเทศบาล ซง่ึ ประกอบดว้ ยสมาชกิ จำ� นวน 12 คน ท่ีราษฎรในเขตเทศบาล เลือกต้ังมาท�ำาหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรง ของราษฎรเขตเทศบาล 3) องค์การบริหารส่วนต�ำบล จงั หวดั นครศรธี รรมราช มอี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล จำ� นวน 130 แหง่ มฐี านะเปน็ นติ บิ คุ คล และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ินรูปแบบหน่ึง ซึ่งจัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึง ฉบับที่ 6 พ.ศ.2552 โดยยกฐานะจากสภาต�ำบลท่ีมีรายได้ โดยไมร่ วมเงินอุดหนนุ ในปีงบประมาณที่ล่วงมาติดต่อกัน สามปเี ฉล่ียไม่ต่าํ กวา่ ปลี ะหน่ึงแสนหา้ หม่ืนบาท 2.3 โครงสรา้ งการบรหิ ารราชการ จงั หวดั มฐี านะเปน็ นติ บิ คุ คล การตง้ั ยบุ และการเปลยี่ นแปลงเขตจงั หวดั ใหต้ ราเปน็ ราชบญั ญตั ิ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ หวั หนา้ บงั คบั บญั ชา ขา้ ราชการของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ในและนอกสงั กดั กระทรวงมหาดไทย สว่ นราชการท่ีส�ำคญั และสังกัดกระทรวงมหาดไทย คือ ส�ำนักงานจังหวัดและทที่ ำ� การจงั หวดั อ�ำเภอ เป็นหน่วยงานราชการบริหารรองจากจังหวัด การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอ�ำเภอ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีนายอ�ำเภอเป็นหัวหน้าปกครอง บังคับบัญชาข้าราชการในอ�ำเภอ และงานบริหาร ราชการของอำ� เภอ สว่ นราชการท่ีสำ� คญั คือ ท่ีท�ำการปกครองอ�ำเภอ และส�ำนักงานอำ� เภอ ต�ำบล และหมบู่ า้ น เปน็ หนว่ ยงานปกครองสว่ นยอ่ ยของอำ� เภอ หรอื กง่ิ อำ� เภอ ตง้ั ตามกฎหมาย ลกั ษณะปกครองทอ้ งที่ พ.ศ.2457 ตำ� บลจดั ตงั้ ขนึ้ โดยประกาศของกระทรวงมหาดไทย มกี ำ� นนั เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบตำ� บล สว่ นหมบู่ ้านจัดตัง้ โดยประกาศจงั หวัด มผี ู้ใหญบ่ ้านเปน็ ผรู้ ับผิดชอบ เอกสารประกอบการเรยี น 91 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219