9. เครอ่ื งถว้ ยทพ่ี บในจงั หวดั นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นเมืองส�ำคัญมาแต่โบราณมีสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในทวีป เอเชียและยุโรป โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจการค้า จากหลักฐานได้พบเคร่ืองถ้วยต่าง ๆ จ�ำนวนมาก เช่น เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ต่าง ๆ เคร่ืองถว้ ยอนั นัม (ญวน) เครือ่ งถ้วยไทยตงั้ แตส่ มัยลพบรุ ี สมัยสุโขทยั สมัยอยุธยา จนถึงสมยั รัตนโกสนิ ทร์ นอกจากนยี้ งั พบเครอ่ื งถว้ ยพนื้ เมอื งในจงั หวดั นครศรธี รรมราช สว่ นใหญเ่ ปน็ เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา ไมเ่ คลอื บ แหลง่ ทพ่ี บเคร่ืองถ้วยพ้ืนเมืองท่ีสำ� คญั คือ วัดนาโรง (วดั รา้ ง) ในเขตเมอื งโบราณพระเวียง เครอื่ งถว้ ยพืน้ เมืองจงั หวัดนครศรธี รรมราช 142 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
10. เคร่อื งป้ันดนิ เผาศรวี ชิ ยั และตามพรลงิ ค์ ภาคใต้ของไทยและหมู่เกาะของประเทศอินโดนีเซียปัจจุบัน ดินแดนแถบน้ีมีความเจริญมาตั้งแต่ พุทธศตวรรษท่ี 6 เป็นต้นมา และมาเจริญมากจนสามารถรวมเป็นรัฐศรีวิชัยในพุทธศตวรรษท่ี 13 จากนั้น รัฐตามพรลงิ คก์ ม็ ีอ�ำนาจเหนอื คาบสมุทรมลายใู นชว่ งพุทธศตวรรษที่ 18 หมอ้ ดินเผา ศิลปะศรีวชิ ัยพทุ ธศตวรรษท่ี 13-15 คนทีดนิ เผา ศลิ ปะศรวี ิชยั พุทธศตวรรษท่ี 13-15 จัดแสดงที่พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตินครศรธี รรมราช จดั แสดงที่พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตินครศรธี รรมราช ลกั ษณะเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผาศรวี ชิ ัย เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาพน้ื เมอื ง มอี ายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี 13-18 เปน็ ภาชนะเนอื้ ดนิ เผาธรรมดาทไ่ี มต่ อ้ งการ ความรอ้ นสูงนัก มผี ลิตภัณฑท์ สี่ ำ� คญั คือ คนที (หม้อน้ำ� ) และหมอ้ มีเชิง โดยพบทอี่ ำ� เภอไชยา จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ท่ีอ�ำเภอเมือง จงั หวดั นครศรธี รรมราช ท่ีอำ� เภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เคร่ืองปั้นดินเผาศรีวิชัย แบ่งตามลักษณะเนื้อดินปั้นออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดหน่ึงเป็นภาชนะท่ีมี เนือ้ ดนิ เผาหยาบหนา จะเปน็ ภาชนะท่ีใชส้ อยในชีวิตประจ�ำวนั เชน่ หม้อ จาน ชาม พาน และคนที ส่วนอีกชนิดหน่งึ เปน็ ภาชนะทม่ี เี นอื้ ดนิ ปน้ั ขาวบางละเอยี ดสวยงาม ภาชนะเหลา่ นพ้ี บมากทบ่ี รเิ วณวดั สวนหลวง (รา้ ง) ตำ� บลศาลามชี ยั อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันอยู่ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช และท่ี อำ� เภอสทงิ พระ จงั หวดั สงขลา 11. เครอื่ งถมเมืองนคร เคร่ืองถมเมืองนคร “เคร่อื งถม”เปน็ วธิ ที ำ� ภาชนะ โดยลงยาตะก่วั ทับหรอื ถมรอยเปน็ ลวดลายต่าง ๆ เครื่องถมเมืองนคร เปน็ หตั ถกรรมชั้นเลศิ ของคนไทย ถอื ก�ำเนดิ ขน้ึ ในสมยั อาณาจักรตามพรลงิ คต์ ง้ั แต่โบราณ ถมนคร ชือ่ นี้เป็นท่รี จู้ กั และนับเป็นหน่งึ ในบรรดาศิลปาชพี ช้นั สูงทีม่ มี าตง้ั แตค่ รัง้ อยุธยา มีอยู่ 3 แบบ คือ ถมเงิน (หรอื ถมดำ� ) ถมทอง และถมตะทอง เครือ่ งถมเมืองนคร เอกสารประกอบการเรยี น 143 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
1) ถมเงนิ หรอื ทน่ี ยิ มเรยี กกนั วา่ ถมดำ� ลกั ษณะเปน็ เนอ้ื ถม ทถ่ี มลงไปบนพน้ื ตามรอ่ งลาย เปน็ สดี ำ� มนั ซงึ่ เนอ้ื ถมจะขบั ลวดลายใหเ้ ดน่ งดงามอยบู่ นพน้ื สเี งนิ เปน็ ถมทเี่ กา่ แกท่ สี่ ดุ ตามความนยิ ม ถมเปน็ กรรมวธิ ใี นการผสม ของโลหะสามอย่างเข้าด้วยกัน คือ เงิน ตะก่ัว และทองแดง น�ำมาป่นจนเป็นผงละเอียดเพ่ือโรยลงบนพ้ืนแผ่นเงิน ทข่ี ดู ร่อง หรือตอกเป็นลวดลายไวแ้ ล้ว 2) ถมทอง ก็คือถมด�ำนั่นเอง แต่แตกต่างที่ลวดลาย คือ ลายสีเงินได้เปลี่ยนเป็นสีทอง ถมทอง มคี วามงามตรงที่เป็นสีทอง ลวดลายกระจ่างเดน่ ชดั ทองท่ที าทับก็จะมคี วามคงทนนบั ร้อยปี 3) ถมตะทอง เปน็ วธิ กี ารระบายทองคำ� ละลายปรอทหรอื แตม้ ทองเปน็ แหง่ ๆ เฉพาะที่ โดยเอาทองคำ� แทๆ้ ใสล่ งในปรอท ทองละลายอยใู่ นนำ�้ ปรอท เมอ่ื เอานำ้� ปรอททมี่ ที องคำ� ละลายปนอยไู่ ปแตม้ ตามแหง่ ทตี่ อ้ งการให้ เปน็ สที องนน้ั ในขนั้ แรกปรอทจะยงั คงอยู่ เมอื่ ไลด่ ว้ ยความรอ้ นปรอทจะหนี ทองกจ็ ะตดิ แนน่ อยบู่ นตำ� แหนง่ หรอื ลาย ท่ีแต้มทองนั้น การแต้มทองหรือระบายทองในท่ีบางแห่งของถมด�ำเป็นการเน้นจุดเด่น ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความนิยมในถมตะทองมากกวา่ ถมทอง 144 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
12. สายสรอ้ ยสามกษตั ริย์ เป็นหัตถศิลป์เอกลักษณ์ของเมืองนครอีกอย่างหนึ่ง เร่ิมจากช่างทอง ช่างเงิน จากเมืองไทรบุรี ท่ีถูกกองทัพเจ้าพระยานครศรีธรรมราชยกไปตีและกวาดต้อนมาในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ โดยชาวไทยมุสลิม เหลา่ นรี้ วมกลมุ่ ตงั้ หลกั แหลง่ อยทู่ บี่ รเิ วณทา่ ชา้ ง หลงั สนามหนา้ เมอื ง ซง่ึ ตอ่ มาวดั ทา่ ชา้ งอารามหลวงรา้ งลง จงึ ไดส้ รา้ ง มสั ยดิ ซอลาฮดุ ดนี ขนึ้ แทน และบริเวณตลาดแขก โดยยงั คงประกอบหัตถศลิ ป์ เคร่ืองทองเงินสบื มา เอกสารประกอบการเรียน 145 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
กิจกรรมหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 11 โบราณสถานและโบราณวัตถนุ ครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปนท้ี กุ ข้อ 1. จงบอกโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราช พรอ้ มสถานท่ตี ้ังพอสงั เขป จำ� นวน 5 แห่ง …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… 2. จงบอกแหล่งน้�ำศักดิ์ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 5 แห่ง พร้อมบอกความส�ำคัญ ของแต่ละแหลง่ มาพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… 3. จงยกตัวอยา่ งโบราณวตั ถุที่พบในจังหวัดนครศรธี รรมราช มาจำ� นวน 5 ชนดิ พรอ้ มอธิบายความ เป็นมาพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… 146 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 12แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วในจงั หวัดนครศรีธรรมราช แหล่งท่องเท่ียวในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นไปตาม ค�ำขวัญส่งเสริมการท่องเที่ยวประจ�ำ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ประเภทแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว การปฏบิ ตั ติ นเปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ วทดี่ ี การมคั คเุ ทศกท์ ด่ี ี การอนรุ กั ษ์ การทอ่ งเทย่ี ว กลยทุ ธก์ ารพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วกบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ จงั หวดั ทม่ี แี หลง่ ประวตั ศิ าสตร์ รอ่ งรอยอารยธรรม มธี รรมชาติ ภเู ขา ปา่ ไม้ ชายทะเล ทส่ี มบรู ณแ์ ละสวยงาม จงึ เปน็ ทมี่ าของคำ� ขวญั สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วประจำ� จงั หวดั นครศรธี รรมราช เพอื่ เปน็ การ เรือ่ งที่ 1 ค�ำ ขวญั สง่ เสรมิ การท่องเท่ยี วประจ�ำ จังหวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดที่มีแหล่งประวัติศาสตร์ ร่องรอยอารยธรรม มีธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ ชายทะเล ท่ีสมบูรณ์และสวยงาม จงึ เปน็ ทม่ี าของคำ� ขวญั ส่งเสรมิ การท่องเทยี่ วประจ�ำจงั หวดั นครศรธี รรมราช เพ่อื เปน็ การประชาสมั พันธแ์ ละสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วของจังหวดั นครศรธี รรมราช ดังน้ี เมอื งประวัตศิ าสตร์ พระธาตทุ องค�ำ ชนื่ ฉ่ำ� ธรรมชาต ิ แรธ่ าตุอุดม เคร่ืองถม สามกษัตริย์ มากวดั มาศิลป ์ ครบสิ้นกุง้ ปู เร่อื งที่ 2 ประเภทแหล่งท่องเทีย่ วในจังหวดั นครศรีธรรมราช แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วที่ มคี วามลำ�้ คา่ ทง้ั ทะเล ภเู ขา นำ�้ ตก ความงดงามทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม และวถิ ชี าวบา้ น จงึ เปน็ ทมี่ าของประเภทการทอ่ งเทยี่ วในจังหวดั นครศรธี รรมราชดังน้ี 1. แหล่งทอ่ งเท่ียวประเภทภเู ขาและน�ำ้ ตก 1) ยอดเขารามโรม เข า ร า ม โร ม เ ป ็ น ภู เข า ที่ ตั้ ง อ ยู ่ ใ น อ�ำเภอรอ่ นพิบูลย์ เปน็ ยอดเขาทสี่ ูงจากระดบั น้าํ ทะเล ประมาณ 986 เมตร มเี ทอื กเขาทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น ทำ� ใหม้ วี วิ ทวิ ทศั นท์ สี่ วยงาม สามารถมองเหน็ ได้ 360 องศา มีสภาพเป็นปา่ ดงดบิ ทสี่ มบรู ณ์ มาก มีเฟิร์นล้านปี มหาสะด�ำและดอกไม้นานาพันธุ์ สัตว์ป่า นานาชนิดเตม็ ไปท่วั พ้ืนท่ี อุณหภมู อิ ยู่ระหว่าง 19 - 26 องศา เซลเซยี ส ตลอดท้ังปี อากาศหนาวท่ีสุดอยใู่ นชว่ ง เดือนธนั วาคม ถงึ เดอื นกมุ ภาพันธ์ เอกสารประกอบการเรียน 147 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
2) ทะเลหมอกเขาเหล้ียม ทะเลหมอกเขาเหล้ียม ต้ังอยู่ที่ ต�ำบลกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ที่เกิด จากกลุ่มการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทะเล หมอกเขาเหลี้ยม เป็นกลุ่มเยาวชนท่ีมีใจรักส�ำนึกรักบ้านเกิด จึงได้มีการ รวมกลมุ่ เพอ่ื อนรุ กั ษห์ วงแหนชมุ ชนของตนเอง และตอ้ งการ ใหค้ นอนื่ ไดเ้ หน็ ถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์ ของตำ� บลกรงุ ชงิ โดยรว่ ม กับสมาชิกจัดกิจกรรมน�ำนักท่องเท่ียวชมทะเลหมอก ในยามเช้าบริการขนม จิบกาแฟเคล้าสายหมอกอันสดช่ืน ยามเชา้ ท่ามกลางอากาศ ที่เยน็ สบาย ทะเลหมอกเขาเหลย้ี ม 3) น�ำ้ ตกพรหมโลก นาํ้ ตกพรหมโลก ต้ังอยใู่ นท้องท่ีหมูท่ ี่ 5 ตำ� บลพรหมโลก อ�ำเภอพรหมครี ี มพี ืน้ ท่ีสูงชัน มีต้นไม้ และพรรณไมข้ นาดใหญข่ น้ึ อยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ชาวบา้ นสมยั กอ่ นเชอื่ กนั วา่ สถานท่ี บรเิ วณนเี้ ปน็ สถานทม่ี สี ง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ มาสงิ สถติ โดยเฉพาะเทพช้นั พรหมทั้งโลกได้มาสิงสถติ บน ช้ันน้ําตกจึงได้ตั้งช่ือ “น�้ำตกพรหมโลก” มาจนถึงทุกวันนี้ ทั้งน้ี น้�ำตกพรหมโลกถือเป็นน�้ำตกที่มีความส�ำคัญ ทางประวัติศาสตร์ท่ีโดดเด่นของจังหวัดนครศรีธรรมราช กลา่ วคือ เม่อื วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2502 พระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิตพระบรมราชินีนาถ ได้เสร็จประพาสและได้จารึก พระปรมาภิไธยย่อ ภปร และ สก ที่หน้าผาชั้นนํ้าตก ชั้นที่ 1 หนานบ่อนํ้าวน น้�ำตกพรหมโลกเป็นน้�ำตกขนาดใหญ่ท่ีสวยงาม มีชั้นน้ําตกประมาณ 50 ชั้น เปิดบริการ ให้เขา้ ชมไดเ้ พยี ง 4 ชน้ั คอื หนานจงั บอ่ น�ำ้ วน หนานจงั ไมป้ กั หนานจงั หัวบัว และหนานจงั อ้ายแล 4) น�้ำตกกรุงชงิ น้ําตกกรุงชิง ต้ังอยู่ในท้องท่ีต�ำบลกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ “กรุงชิง” เป็นช่ือสถานที่ท่ีเช่ือกันว่า เคยเปน็ ชมุ ชนมาแตส่ มยั โบราณ เปน็ พน้ื ทท่ี ม่ี ปี ระวตั กิ ารตอ่ สอู้ นั เกดิ จากความขดั แยง้ ในดา้ นความคดิ ในการปกครอง พ้ืนท่ี ผืนป่ากรุงชิง ถูกครอบครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทย ต้ังแต่ปี พ.ศ.2517 ต่อมาฝ่ายรัฐบาล สามารถยึดพ้ืนที่ได้ ท�ำให้พรรคคอมมิวนิสต์ที่กรุงชิงแตก ในปี พ.ศ. 2524 ค�ำว่า “ชิง” เป็นชื่อของต้นชิง ซึ่งเป็น พันธไ์ุ ม้ ในตระกูลปาลม์ ชนดิ หน่งึ ท่มี มี ากในเขตนีป้ ่ากรุงชิง สภาพพน้ื ทขี่ อง กรงุ ชงิ เปน็ พน้ื ทร่ี าบสงู และมภี เู ขาลอ้ มรอบ ซ่ึงชาวบ้านเรียกกันว่า “อ่าวกรุงชิง” น�้ำตกกรุงชิง เป็นนํ้าตกขนาดใหญ่ เกิดจากคลองกรุงชิง ซึ่งไหลตัดผ่าน หุบผาหินแกรนิต ลดระดับตามความลาดเอียงของภูเขาก่อเกิดเป็นช้ันน้�ำตกอันงดงาม น�้ำตกกรุงชิงเปิดให้เท่ียวชม จ�ำนวน 7 ช้ัน คือ หนานมัดแพ หนานฝนแสนห่า ซึ่งเป็นชั้นที่งดงามที่สุด ซึ่งต้องเดินไปเป็นระยะทางประมาณ 148 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
4 กโิ ลเมตร หนานปลวิ หนานจน หนานโจน หนานตน้ ตอ และหนานจงั เรอื บนิ นอกจากการเทยี่ วชมนา้ํ ตกและศกึ ษา ประวัติศาสตร์แล้ว น้�ำตกกรุงชิงยังมีแหล่งธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพที่สวยงาม มีเส้นทางเดินป่า ศกึ ษาธรรมชาติ เขา้ คา่ ยอนรุ ักษ์ธรรมชาติ ศกึ ษาพรรณไม้ และชมนก อีกดว้ ย ทัง้ นี้ นำ�้ ตกกรุงชิง มีชน้ั น�ำ้ ตกที่สวยงาม โดยเฉพาะหนานฝนแสนห่า พิมพ์ลงในธนบัตรฉบับละ 1,000 บาท ฉบบั วันท่ี 30 มิถุนายน 2535 เป็นช้นั นา้ํ ตก ทีส่ วยที่สุดของน้ำ� ตกกรุงชงิ 5) นำ้� ตกกะโรม นํ้าตกกะโรม ต้ังอยหู่ มทู่ ี่ 4 ต�ำบลเขาแก้ว อำ� เภอลานสกา จังหวดั นครศรธี รรมราช อยูภ่ ายใน ทท่ี �ำการอุทยานแหง่ ชาติเขาหลวง ก่อต้ังเมอ่ื พ.ศ. 2517 ชอื่ “น้ำ� ตกกะโรม” น้ี คาดว่ามาจากชือ่ ของภเู ขาทีช่ าวบ้าน ในท้องท่ีเรียก “เขาโหรม” และล�ำคลองที่ไหลมาจาก น�ำ้ ตกกะโรม ก็เรยี กวา่ “คลองโหรม” ต่อมาเรียกเพี้ยนเป็น “กะโรม” และ ใช้ชื่อว่า “น้ําตก กะโรม” มาจนถึงทุกวันนี้ เป็นแหล่ง ท่องเท่ียวทางธรรมชาติท่ีสวยงามอีกแห่งหน่ึงของอุทยาน แหง่ ชาตเิ ขาหลวง มีช้ันน้าํ ตกท้งั หมด 19 ชัน้ เปิดบรกิ ารให้ ท่องเท่ียวชมความหลากหลายของธรรมชาติเพียง 4 ชั้น ไดแ้ ก่ ชน้ั 4 หนานน้ําราง ชนั้ 5 หนานผึง้ ช้นั 6 หนานเตย และช้ัน 7 หนานดาดฟ้า ซึ่งเป็นช้ันที่สวยงามที่สุดแลเห็นสายนํ้าพร่ังพรูลงจากหน้าผาสูงและลาดชัน 45 องศา ลดหล่ันลงมาตามโขดหินกว้างจนถึงแอ่งน�้ำใหญ่เบื้องล่าง สายน้ําจะไหลแยกเป็น 2 สาย ช่วงหน้าฝนสายนํ้า จะไหลหลากแผ่เต็มหนา้ ผาน่าชมมาก ท้ังน้ี น�้ำตกกะโรม มีข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ดังนี้ ปี พ.ศ. 2450 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 5 พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืนด�ำรงราชานุภาพ พร้อมด้วยลูกยาเธอ 4 พระองค์ ได้เสด็จทอดพระเนตรน้�ำตกกะโรมโดยประทับช้าง เปน็ พาหนะ แต่ไมไ่ ด้สลกั พระปรมาภิไธยยอ่ ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน ปี พ.ศ. 2458 สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั สสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดช ได้เสด็จประพาสน้ําตกกะโรม โดยประทับช้างเป็นพาหนะ และสลักริมหน้าผาน้ําตกช้ัน 7 หนานดาดฟ้า เป็นรูปพระอาทิตยแ์ ผ่รัศมี ปี พ.ศ. 2460 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ไดเ้ สร็จโดยรถยนต์พระท่นี ่ัง พร้อมข้าราชบริพาร เสร็จประทับทอดพระเนตรนํ้าตกกะโรม และทรงจารึกพระปรมาภิไธยย่อ วปร 2460 ไว้ที่หน้าผานํา้ ตกชั้น 7 หนานดาดฟ้า และได้ทรงน�ำความงามของน้าํ ตกน้ไี ปเปน็ ฉากในบทละครเร่ืองหลวงจ�ำเนียร เดนิ ทาง ในพระราชนิพนธ์ เอกสารประกอบการเรยี น 149 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
6) พุทธสถานถ�ำ้ ตลอด ถา้ํ ตลอด เป็นสถานทท่ี ่องเทย่ี วเก่าแก่ หา่ งจากทว่ี า่ การอำ� เภอทงุ่ สง 500 เมตร ไปทางโรงพยาบาล ท่งุ สง เป็นถํา้ ขนาดเลก็ ในภูเขาท่ี มีช่ือเรียกว่า เขาชยั ชมุ พล โดยตัวถ้ําสามารถเดินทะลุเขาชัยชุมพลกันได้ จึงได้ช่ือว่า ถํ้าตลอด ภายในถ�้ำมีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ และบรเิ วณใกลเ้ คียงกันน้นั ยังมพี ระพทุ ธรปู ปางต่าง ๆ อกี นบั สบิ รปู ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ศลิ ปะเกา่ แกท่ ยี่ งั มสี ภาพสมบรู ณ์ และบนผนงั ถาํ้ ยงั มจี ติ รกรรมฝาผนงั ทแี่ สดงถงึ เรอ่ื งราวเกย่ี ว กบั พุทธประวัติ อันเปน็ ผลงานของอาจารย์ แนบ ทชิ ินพงศ์ จติ รกรมชี อื่ เสยี งชาวนครศรธี รรมราช บรรยากาศภายในถาํ้ ยังมีความเย็นสบายเหมาะส�ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ และแสวงบญุ เปน็ อยา่ งยงิ่ โดยเปน็ ถาํ้ ทสี่ ามารถเดนิ ทะลไุ ด้ 7) ถ้�ำหงส์ ถาํ้ หงส์ ตงั้ อยทู่ ี่ บา้ นพติ ำ� หมทู่ ี่ 3 ตำ� บลกรงุ ชงิ อำ� เภอนบพติ ำ� จงั หวนั ครศรธี รรราช เปน็ ถำ้� ทปี่ ระกอบ ไปดว้ ยหนิ งอกหนิ ยอ้ ยแปลกตามากมาย ถา้ํ แหง่ นค้ี น้ พบเมอื่ พ.ศ.2537 ตงั้ อยใู่ นเขตอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขานน ภายในถาํ้ มธี ารนาํ้ ไหลผา่ นตลอดแนวถา้ํ กอ่ นไหลลงใตด้ นิ ไปสลู่ ำ� ธาร ภายนอก มีหินงอก หินย้อยรูปร่างแปลกตามากมาย และมีลักษณะพิเศษคือ มีน้ําตกภายในถํ้ามากกว่า 5 ชั้น การเดนิ ชมถ้าํ จะตอ้ งเดนิ ลุยนาํ้ ไป ในถํา้ มคี ้างคาวอาศยั อยู่ เป็นจ�ำนวนมาก เป็นถ้ําท่ีเหมาะหรับส�ำหรับการศึกษา การกำ� เนดิ ของหนิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สว่ นในฤดฝู นจะมนี าํ้ หลาก จึงไมเ่ หมาะแก่การท่องเทีย่ ว ทีม่ าของการเรียกชอ่ื ถ้าํ หงส์ เนื่องมาจากต�ำนานท่ีเล่ากันว่ามีนายพรานเข้าป่าไปล่าสัตว์และพบหงส์อยู่ภายในถ้ําหงส์ เป็นถํ้าขนาดกลาง ปากถํ้าค่อนขา้ งเล็กขนาดคนลอดไดท้ ลี ะคนต้องใชค้ วามระมดั ระวงั ในการลง ไตล่ ง ไปในถํ้า ภายในถํา้ มธี ารนํ้าไหล ผ่านตลอดแนวถา้ํ ก่อนไหลลงใตด้ นิ ไปสูล่ �ำธารภายนอก ไหลผ่านหินดา้ นหนงึ่ ได้ ความยาว ประมาณ 300 เมตร 8) อุทยานบ่อนํ้ารอ้ น น้ำ� พรุ ้อน 150 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
อทุ ยานบอ่ นาํ้ รอ้ น ตงั้ อยหู่ มทู่ ี่ 6 ตำ� บลวงั หนิ อำ� เภอบางขนั จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ อกี หนง่ึ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทต่ี ง้ั อยใู่ นเขตพน้ื ทขี่ องวดั อทุ ยานบอ่ นา้ํ รอ้ น ซง่ึ นำ้� พรุ อ้ นแหลง่ นม้ี อี ณุ หภมู ทิ ผ่ี วิ ดนิ ประมาณ 55 องศาเซลเซยี ส ปัจจุบันถือว่าเป็นจุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เป็นบ่อน้ําพุร้อนที่มีความพร้อมพัฒนา และมศี กั ยภาพในการตอ้ นรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วและมสี งิ่ อำ� นวยความสะดวก พน้ื ฐานประกอบกบั อยใู่ กลเ้ สน้ ทางคมนาคม สายหลัก 2. แหล่งท่องเท่ยี วประเภทสถานที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ ในแต่ละอ�ำเภอจะมีแหล่งท่องเท่ียวสถานท่ีส�ำคัญ ทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี มคี วามสมบรู ณข์ องธรรมชาติ ภูเขา ปา่ ไม้ ชายทะเล และวถิ ชี วี ติ ของผู้คนท่ีสบื ทอดกนั มา ทน่ี ่าสนใจศึกษาและเรยี นรแู้ กช่ าวนครศรธี รรมราชและบคุ คลจงั หวัดอน่ื ๆ ดงั นี้ 1) วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร วัดพระมหาธาตุวรมหาวหิ าร ตงั้ อยตู่ ำ� บลในเมอื ง อ�ำเภอเมอื งนครศรีธรรมราช เปน็ ปชู นยี สถาน ท่ีส�ำคัญที่สุดแห่งหน่ึง ที่เปรียบดังศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชและชาวใต้ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารนั้น เป็นพระอารามหลวง ช้ันเอก ชั้นวรมหาวิหาร เดิมชื่อวัดพระบรมธาตุ เป็น ปูชนียสถานที่ส�ำคัญท่ีสุดแห่งหน่ึงของภาคใต้และ ประเทศไทยที่มหี ัวใจสำ� คญั คือ องค์พระบรมธาตุเจดยี ์ท่ีมี สว่ นยอดเจดยี เ์ ปน็ ทองคำ� ซง่ึ พระบรมธาตอุ งคน์ ้ี สรา้ งขน้ึ มา เพ่ือประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ (พระทันตธาตุหรือ พระเชย้ี วแกว้ เบอื้ งซา้ ย) อนั เปน็ ทส่ี กั การะบชู าของชาวเมอื ง นครศรธี รรมราช ตามตำ� นานพระบรมธาตนุ ครศรธี รรมราช กลา่ ววา่ เจ้าชายธนกมุ ารและพระนางเหมชาลา เป็นผู้นำ� เสด็จพระบรมธาตุมาประดิษฐาน ณ หาดทรายแก้ว และสร้างเจดีย์องค์เล็ก ๆเป็นที่หมายไว้ต่อมาในปี มหาศักราช 1098 (พ.ศ.1719) พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ทรงสร้างเมืองนครศรีธรรมราชขึ้น พร้อมก่อสร้างเจดีย์ องค์ใหม่ เป็นเจดยี ์ทรงลงกาสงู 55.78 เมตร (กรมศลิ ปากร บูรณะปลียอดทองค�ำเม่ือ พ.ศ. 2538) จากฐานบัวคว่ํา บัวหงายถึงปลียอดสูง 6.80 เมตร ใช้ทองค�ำเน้ือสิบหุ้ม โดยรอบ ภายในวัดพระมหาธาตุๆ มีวิหารที่มีความส�ำคัญประดิษฐานอยู่หลายหลัง ท้ังน้ี พระบรมธาตุเจดีย์ องคพ์ ระมหาธาตปุ ระกอบด้วยทองรปู ประพรรณ และของมีคา่ มากมาย ซึง่ ส่งิ มีคา่ เหลา่ นพ้ี ทุ ธศาสนกิ ชนน�ำมาถวาย แดอ่ งค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพือ่ ให้ตนไดพ้ บกับนพิ พาน มีพิธปี ฏบิ ัติอย่างหนึง่ ต่อองค์พระธาตุ คอื ในวนั มาฆบูชา แหผ่ า้ ข้ึนธาตุ เชอ่ื กันว่าหากใครไดน้ �ำผ้าขึน้ ธาตุ จะขอพรได้เปน็ จรงิ ดังหวงั เอกสารประกอบการเรียน 151 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
2) ศาลหลกั เมอื งนครศรธี รรมราช ศาลหลักเมืองนครศรธี รรมราช ต้งั อยู่ต�ำบลคลัง อำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐาน หลกั เมอื งของจงั หวดั นครศรธี รรมราช สรา้ งขน้ึ ในทด่ี นิ ราชพสั ดุ บรเิ วณทศิ เหนอื ของสนามหนา้ เมอื ง มเี นอื้ ทป่ี ระมาณ 2 ไร่ อาคารหลกั ประกอบไปดว้ ยอาคาร 5 หลัง หลงั กลาง เป็นที่ประดิษฐานหลักเมือง ลักษณะของการออกแบบ มีศิลปะคล้ายศิลปะศรีวิชัย วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2532 ส่วนอาคารเล็ก 4 หลัง ถือเป็นบริวาร ประจ�ำ ทิศท้ัง 4 เรียกว่า ศาลจตุโลกเทพ ประกอบด้วย พระเส้ือเมือง พระทรงเมือง พระพรหมเมือง และ พระบันดาลเมือง องค์เสาหลกั เมืองท�ำดว้ ยไมต้ ะเคยี นทอง ท่ีได้มาจากภูเขายอดเหลืองอันเป็นภูเขาลูกหนึ่งในทิวเขา นครศรีธรรมราช ส่วนบนของเสาเปน็ รปู จตุคามรามเทพ (ส่ีพักตร์) โดยองค์เสาหลักเมอื งท�ำด้วยไม้ตะเคยี นทองทไี่ ด้ มาจากภูเขายอดเหลือง อันเป็นภูเขาลูกหน่ึงในทิวเขานครศรีธรรมราช ในท้องที่ต�ำบลกระหรอ อ�ำเภอนบพิต�ำ จงั หวดั นครศรธี รรมราช สว่ นบนของเสาเปน็ รปู จตคุ ามรามเทพ (สพ่ี กั ตร)์ หรอื เทวดารกั ษาเมอื ง เหนอื สดุ เปน็ เปลวเพลง อยบู่ นยอดพระเกตุ คอื ยอดชยั หลกั เมอื ง รปู แบบการแกะสลกั จนิ ตนาการจากความเชอ่ื ในพทุ ธศาสนาฝา่ ยมหายาน ซ่งึ เคยมีอทิ ธพิ ลทางศลิ ปกรรม ในภาคใต้และนครศรีธรรมราช 3) ก�ำแพงเมืองเกา่ นครศรีธรรมราช ก�ำแพงเมืองเก่านครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ริมคลองหน้าเมือง ถนนมุมป้อม อ�ำเภอเมือง จงั หวัดนครศรีธรรมราช จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ของต�ำนานเมอื งนครศรธี รรมราช กำ� แพงเมอื งนัน้ สร้างขึ้น ต้งั แตส่ มยั พระเจา้ ศรธี รรมโศกราช กษัตรยิ ผ์ ปู้ กครองเมอื งนครในอดีต โดยพระองคไ์ ด้สร้างเมืองขนึ้ ท่ีหาดทรายแก้ว จากน้ันพระองค์ก็ได้สร้างก�ำแพงเมือง ซึ่งเป็นก�ำแพงดินท่ีล้อมรอบด้วยคูเนื่องจากก�ำแพงเมืองที่พระเจ้า ศรีธรรมโศกราช สร้างขึ้นนั้นเป็นก�ำแพงดิน จึงได้มีการบูรณะก�ำแพงเมืองในส่วนต่าง ๆ หลายคร้ัง แต่ยังคงรักษา แนวก�ำแพงเดิมเอาไว้ สมัยที่มีการบูรณะก�ำแพงเมืองคือ ในสมัยสมเด็จพระราเมศวรแห่งกรุงศรีอยุธยา ปพี ุทธศกั ราช 1950 ก�ำแพงเมืองเก่านครศรธี รรมราช (ภาพปจั จบุ ัน) 152 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
ภาพอดีตเมืองคอนก�ำแพงเมือคอน รัชกาลที่ 5 ทรงถ่ายเมื่อ 3 ก.ค. 2448 ภาพจากคุณสารทั (นกิ ) ชะลอสันติสกลุ ส�ำนกั ศิลปากร ที่ 14 เมอื งคอน ขอ้ มลู จากหนงั สือ เร่อื งจดั ราชการเมืองนครศรธี รรมราช ลว.7 มค.รศ.115 ของเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย มอบโดยอาจารยส์ มชาย เปล่ียวจติ ร วทิ ยาลัยศิลปหตั ถกรรมนครศรีธรรมราช 4) หอพระอศิ วร หอพระอิศวร ตงั้ อยู่ตำ� บลคลงั อำ� เภอเมืองนครศรธี รรมราช สันนิษฐาน ว่าสรา้ งในสมัยอยุธยา แตข่ องเดมิ ชำ� รดุ ไปหมดแลว้ สว่ นอาคารทป่ี รากฏอยใู่ นวนั นเ้ี ปน็ อาคารทกี่ รมศลิ ปากร บรู ณะขน้ึ ใหม่ เมอ่ื พ.ศ. 2509 ทางด้านเหนือของหอพระอิศวรเป็นวัดเสมาเมือง ทางด้านใต้เป็นเสาชิงช้า ซ่ึงสร้างขึ้นใหม่แทนของเก่า ซ่ึ ง ใ ช ้ ใ น พิ ธี ยั ม ป ว า ย แ ล ะ ต รี ป ว า ย ข อ ง พ ร า ห ม ณ ์ เมืองนครศรีธรรมราช โดยจ�ำลองแบบมาจากเสาชิงช้า ในกรุงเทพฯ แต่มีขนาดเล็กกว่า เดิมหอพระอิศวรเป็นที่ ประดิษฐานเทวรูปพระอิศวรหลายองค์ เป็นปางหรือ ภาคตา่ ง ๆ กนั ซงึ่ เปน็ เทพสงู สดุ ตามความเชอื่ ของพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย แต่เดิมใกล้ ๆ กับเสาชิงช้า มีโบสถ์พราหมณ์อยู่หลังหน่ึง แต่ปัจจุบันผุพังลงจนไม่เหลือซากแล้ว ภายในบริเวณโบสถ์เป็นแหล่งท่ีพบชิ้นส่วนเทวรูปที่หล่อด้วยส�ำริดอายุระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 18 - 25 หลายองค์ ด้วยกัน อาทิ พระพฆิ เนศวร พระศิวะ นาฏราช พระอมุ า และรูปหงส์ นบั วา่ เกา่ แก่มคี า่ ย่งิ นัก ซงึ่ ตอ่ มาได้ยา้ ยมาไว้ ในหอพระอิศวร 5) หอพระนารายณ์ หอพระนารายณ์ ตงั้ อยู่ ถนนราชดำ� เนนิ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตรงข้าม หอพระอิศวรเป็นโบราณสถานในศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไวษณพนิกาย ซึ่งนับถือพระนารายณ์เป็นเทพสูงสุด มีเทวรูป พระนารายณ์ ประดิษฐานอยู่อาคาร หอพระนารายณ์เดิมไม่สามารถสืบทราบรูปแบบได้แล้ว สง่ิ ทพ่ี บภายในหอพระนารายณ์ ไดแ้ ก่ เทวรปู พระนารายณ์ หอพระนารายณ์ เอกสารประกอบการเรียน 153 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
สลกั จากหนิ ทรายสเี ทาทรงหมวกรปู กระบอกปลายสอบ และพระหตั ถข์ วาทรงสงั ข์ มอี ายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ 10 - 11 นับเป็นเทวรูปท่ีเก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันได้เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรธี รรมราช 6) วงั โบราณ ลานสกา อ�ำเภอลานสกา จากต�ำนานพระเจ้าศรีธรรมโศกราชของ จังหวัดนครศรีธรรมราช ของวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร ว่าประมาณปี 1700 - 1800 เมืองนครศรีธรรมราช มีกษัตริย์สามพ่ีน้อง พระเชษฐา ทรงพระนามว่า “พระเจ้า ศรธี รรมโศกราช” องคร์ องชื่อ “จนั ทรภาณุ” องค์สดุ ทา้ ย นามว่า “พงษาสุระ” ทุกพระองค์ครองราชย์จะทรง พระนามวา่ พระเจา้ ศรธี รรมโศกราช ทงั้ หมดในชว่ งนไี้ ดส้ รา้ ง ความเจริญให้กับอาณาจักรเป็นอย่างมากท้ังโดยได้ ครอบครองเมืองท้ังหลายตลอดแหลมมลายู เรียกว่าเมือง สิบสองนักษัตร ถือรูปดอกบัว เป็นสัญลักษณ์ประจำ� เมือง นอกจากน้ีพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ได้บูรณะพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ซ่ึงแบบเดมิ เป็นแบบศรีวชิ ัย ให้เปน็ แบบ ลังกา โดยก่อครอบเจดีย์เดิม เมื่อสิ้นสมัยกษัตริย์ปกครอง ตอ่ มาในสมยั พ่อขุนรามค�ำแหงได้มีการสรา้ งระเบียงรอบองค์พระบรมธาตุ ทำ� กำ� แพงรอบท้งั สี่ดา้ น สร้างวิหารตดิ กับ องค์เจดีย์ใหญ่ และสร้างพระพุทธรูปขึ้นแทนองค์พระเจ้าศรีธรรมโศกราชเพี่อประดิษฐานไว้ในวิหารสามจอม และเรยี กกนั ตอ่ มาวา่ วิหารพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ในสมยั พระเจา้ ศรธี รรมโศกราชได้เกดิ โรคหา่ ระบาด หลายครั้ง พระองค์ต้องอพยพประชากรหนีโรคภัยออกจากเมืองหลายครั้ง ตามหลักฐานได้ปรากฏว่าหนีมาท่ีลานสกา และสถานทปี่ ระทับก็คอื วงั โบราณแหง่ นี้ 7) วัดธาตนุ ้อยอ�ำเภอชา้ งกลาง วัดธาตุน้อย หรือ วัดพระธาตุน้อย ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลหลักช้าง อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งข้ึนโดยความประสงค์ของพ่อท่านคล้าย (พระครูพิศิษฐ์อรรถการ) พระเกจิอาจารย์ ท่ีชาวใต้เส่ือมใสศรัทธาอย่างสูงยิ่งรูปหน่ึง ซ่ึงศิษยานุศิษย์ และประชาชนท่ีเคารพนับถือ ศรัทธา พ่อท่านคล้ายได้ เชื่อถอื ถงึ ความศักดสิ์ ิทธ์ิของวาจา พดู อยา่ งไรเปน็ อย่างน้ัน ท่านมักจะให้พรกับทุกคน ขอให้เป็นสุข เป็นสุข พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธ์ิ ได้ช่ือว่าเป็นเทวดาเมืองคอน เทพเจ้าแห่งแดนใต้ ชาวเมืองคอนเส่ือมใสศรัทธา เป็นอย่างยิ่ง โดยประดิษฐานพระเจดีย์ พระสารีริกธาตุ และสรีระสังขาร พ่อท่านคล้ายในโลงแก้ว ประดิษฐาน อยใู่ นองคพ์ ระเจดยี ์ ณ สถานทน่ี ี้ จงึ เปน็ เจดยี อ์ นสุ รณส์ ถาน พ่อทา่ นคล้าย 154 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
8) พระต�ำหนกั ประทับแรมปากพนัง พระตำ� หนกั ประทบั แรมเฉลมิ พระเกียรติ อำ� เภอปากพนัง ต้ังอยทู่ ี่ ต�ำบลหูล่อง อ�ำเภอปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระต�ำหนักแห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศ ท่ีก่อสร้างข้ึนจากความร่วมแรงร่วมใจ ของประชาชนชาวไทย เพ่ือทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เป็น พระตำ� หนกั ทรงงานถวายแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในคราวเสด็จและทรงงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายในพระต�ำหนักประกอบไปด้วย กลุ่มอาคาร พระตำ� หนกั ฯ มลี กั ษณะสถาปตั ยกรรมภาคใต้ ตง้ั อยใู่ นพน้ื ที่ โครงการพัฒนาพ้ืนท่ี ลุ่มนํ้าปากพนังอันเนื่องมาจาก พระราชดำ� ริในอดตี อำ� เภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช พระต�ำหนักประทับแรมปากพนัง 9) เกาะกระ เกาะกระ ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอปากพนัง เป็นหมู่เกาะเดียวในพ้ืนที่จังหวัดนครศรีธรรมราชที่โดดเด่น เป็นเอกลกั ษณ์ ในฝงั ทะเลอา่ วไทย เปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วกลางทะเลทีย่ ังมีความอุดมสมบรูณม์ ากที่สดุ ในทะเลอา่ วไทย ถอื วา่ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทยี่ งั บรสิ ทุ ธม์ิ าก มรี ะบบนเิ วศทส่ี มบรู ณ์ มหี าดทรายยาวประมาณ 150 เมตร มแี นวปะการงั ครอบคลมุ พ้ืนท่กี วา่ 400 ไร่ และยังคงสภาพสมบูรณ์ท่สี ดุ ของอ่าวไทย โดยพบปะการังแปรงลา้ งขวด หลายชนดิ นบั วา่ เปน็ เกาะทส่ี วยงามคงความอดุ มสมบรู ณข์ องทรพั ยากรใตท้ อ้ งทะเลอา่ วไทยทห่ี าชมไดย้ าก เหมาะแกก่ ารเทยี่ วชมของผทู้ ร่ี กั ในการดำ� นำ้� หรอื ผทู้ ชี่ อบพกั ผอ่ นทา่ มกลางบรรยากาศของธรรมชาติ ทเี่ งยี บสงบ เกาะ กระ ประกอบด้วย 3 เกาะ และเกาะบริวารอีก 2 เกาะ คือ เกาะกลางและเกาะเล็ก และเกาะขนาดเล็กอีก 1 เกาะ ทช่ี าวบา้ นเรยี กวา่ “กองหิน” ซงึ่ เกาะ มีพื้นที่ขนาดใหญ่ท่สี ดุ พื้นทเี่ กอื บท้ังหมดเปน็ ภูเขาสงู มแี นวหาดทรายสน้ั ๆ เอกสารประกอบการเรียน 155 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
อยู่ทางทศิ ตะวนั ตก ทง้ั นีเ้ กาะกระ ยงั เปน็ แหล่งวางไขข่ องเต่าทะเลอีก หลายชนิด เชน่ เตาตนุ เต่ามะเฟือง เต่ากระ เต่าหญ้า เต่าหวั ค้อน “หอยบษุ ราคมั ” หอยชนดิ ใหมข่ องโลกพบทเี่ กาะกระ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ไดร้ บั พระราชทาน ชื่อ จากสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ว่า “หอยบษุ ราคัม” 10) วัดเขาขุนพนม ตามประวตั เิ ชอื่ กนั วา่ เขาขนุ พนม เคยเปน็ ทปี่ ระทบั ของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ภายหลงั จากสิ้นรัชกาลของพระองค์ มีผู้สันนิษฐานว่าพระเจ้าตากสินทรงมิได้ถูกประหารชีวิตอย่างที่พงศาวดารกล่าวอ้าง แตไ่ ดท้ รงสบั เปลยี่ นพระองคก์ บั พระญาตหิ รอื ทหารคนสนทิ แลว้ เสดจ็ มายงั นครศรธี รรมราช มกี ารเตรยี มการโดยมกี าร สรา้ งป้อมปราการ ทำ� เชิงเทนิ ป้อมวงกลม ตามชะง่อนผา เพ่ือให้พระเจ้าตากสินได้ประทับ เมื่อทรงผนวช เจรญิ วปิ สั สนากรรมฐาน ณ วดั เขาขนุ พนม จนเสดจ็ สวรรคต แต่บางกระแสกล่าวว่าเขาขุนพนม สร้างโดยพระยาตรัง ภมู าภบิ าลเจา้ เมอื งนครศรธี รรมราช สำ� หรบั พกั ตากอากาศ ทเี่ ขาขนุ พนม จึงมีการสรา้ งป้อมปราการคอยปอ้ งกันอย่าง แนน่ หนา ความส�ำคัญต่อชุมชนชาวเขาขุนพนมมคี วามเชอ่ื เร่ืองพระเจ้าตากสินมหาราช เสด็จหนีมาประทับที่ เขาขุนพนม จึงได้ร่วมมือกันสร้างพระต�ำหนักสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช บริเวณชะง่อนหินเชิงเขา ซ่ึงเป็นบริเวณ ที่เช่ือว่าพระองค์ประทับขณะผนวช อยู่ ประชาชนท่ียังระลึกถึงวีรกรรมและความกล้าหาญ ในการกู้เอกราชชาติไทยในสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี 2 ได้ร่วมกันสร้างพระบรมสาทิสลักษณ์ ทั้งในเพศบรรพชิต และชุดฉลองพระองค์นักรบ แล้วอัญเชิญ มาไว้ในศาล ให้ผู้คนทศี่ รัทธาไดม้ ากราบไหว้ 156 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
11) พระต�ำหนกั เมืองนคร พระตำ� หนกั เมอื งนครไดเ้ ร่ิมสร้างมาต้งั แต่ 17 สิงหาคม 2537 ใช้เวลากอ่ สร้าง 4 ปี ทางราชการ ได้ร่วมกับกรมอาชีวศึกษาด�ำเนินการก่อสร้างพระต�ำหนักที่ประทับน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ในมหามงคลวโรกาสทรงครองสริ ริ าชสมบติ ครบ 50 ปี และนอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ มถวายสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในมหามงคล สมยั ทรงเจริญพระชันษาได้ 40 พรรษา ทั้งน้ีเพ่ือเป็นท่ีประทับในระหว่างเสด็จ พระราชด�ำเนินทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพ้ืนท่ี จงั หวัดนครศรธี รรมราชและจังหวดั ใกลเ้ คียง 12) โบราณสถานวัดโมคลาน โบราณสถานวดั โมคลานตง้ั อยทู่ ี่ หมู่ 12 บ้านโมคลาน ต.โมคลาน อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ลักษณะเปน็ เทวสถานโบราณของศาสนาฮนิ ดใู นลัทธไิ ศวนกิ าย มีอายปุ ระมาณพุทธศตวรรษท่ี 12 - 14 ต่อมาถูกทิ้ง รา้ งไป มีการคน้ พบร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดี ได้แก่ เนนิ ซากโบราณสถาน โบราณวตั ถจุ �ำพวกหลักหนิ สระน้าํ โบราณเป็นส่วนของสถาปัตยกรรมมาแต่เดิม เช่น ฐานโยนิ เศษภาชนะดินเผาฯลฯ แสดงให้เห็นว่าโบราณสถาน แหง่ น้ีเปน็ ชุมชนโบราณเกา่ แกท่ ีม่ มี าก่อนการต้ังถิน่ ฐานของเมอื งนครศรีธรรมราช เอกสารประกอบการเรยี น 157 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
13) วดั ประดษิ ฐาราม (วดั ไสหร้า) วัดประดิษฐาราม (วัดไสหรา้ ) ตง้ั อยทู่ ี่ ต�ำบลบางรูป อ�ำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช “หลวงพ่อนวล ปริสุทโธ” ชาวบ้านเรียกท่านว่า “พ่อท่านนวล” ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส มรณภาพ เม่ือปี พ.ศ. 2548 สิรอิ ายุ 83 พรรษา 63 ท�ำให้ชาวอำ� เภอทุ่งใหญ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ต่างมคี วามภาคภมู ิใจเปน็ อย่างยิ่ง ที่มีพ่อท่านนวล เป็นเน้ือนาบุญของชาวเมืองอย่างแท้จริง ดา้ นวตั ถมุ งคล พอ่ ทา่ นนวลไดจ้ ดั สรา้ งพระเครอื่ งวตั ถมุ งคล ไวห้ ลายรุน่ ด้วยกัน อาทวิ ตั ถมุ งคลรุ่นลา่ สดุ สร้างปี 2552 ผา่ นพธิ ปี ลกุ เสกสมบรู ณ์ พรอ้ มเปดิ ใหบ้ ชู า กำ� ลงั ไดร้ บั ความ นิยมในหมู่ลูกศิษย์ รูปเหมือนพ่อท่านนวล ขนาดบูชา เนอื้ โลหะหนา้ ตกั 5 นว้ิ รปู หลอ่ ลอยองคเ์ บา้ ทบุ และเหรยี ญ พอ่ ทา่ นนวล เจรญิ โภคทรัพย์ 14) วัดร่อนนา (พระแมเ่ ศรษฐ)ี อ�ำเภอร่อนพบิ ลู ย์ ต้งั อยู่ทหี่ มู่ท่ี 2 ตำ� บลรอ่ นพิบลู ย์ อ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ความศกั ดสิ์ ทิ ธขิ์ องแมเ่ ศรษฐี ทำ� ใหเ้ กดิ ประเพณี อันยิ่งใหญ่ เล่าขานสืบทอดกันมา เม่ือครั้งโบราณในงานบุญประเพณี ลากพระ พระแม่เศรษฐถี ือเปน็ พระลากท่ขี ึ้นชอ่ื เป็นการลากพระบกที่ ยังไม่ใช้ล้อเล่ือน ยังใช้แรงมหาชนท่ีเอาศรัทธามาเป็นท่ีต้ัง ในวันแรม 1 คํ่าของทุกปี ประเพณีลากพระถือเป็นบุญประเพณีท่ียิ่งใหญ่ ของชาวรอ่ นพบิ ลู ย์ มกี ารลากพระจากทกุ วดั มารวมกนั ทอ่ี ำ� เภอ โดยเอา พระแม่เศรษฐีเปน็ ประธาน ตลอด 2 วัน 1 คืน จะได้ยนิ เสียงปะทัดดัง ไม่ขาดสาย สาธุชนขอพรพระแม่ได้ทุกเรื่อง แม้แต่ขอบุตร การเจ็บไข้ ได้ป่วย ขอหวย ขอพร เพ่ือความอยู่เย็นเป็นสุข ความศักดิ์สิทธ์ิ ของพระแมด่ ังไปทว่ั ทกุ สารทศิ 158 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
15) วัดเจดียห์ รือวดั ไอไ้ ขอ่ �ำเภอสิชล วดั เจดยี ห์ รอื วดั ไอไ้ ข่ ตง้ั อยทู่ ่ี หมู่ 7 ตำ� บลฉลอง อำ� เภอสชิ ล จงั หวดั นครศรธี รรมราช เคยเปน็ วดั รา้ ง ท่ีเชื่อกันว่าสร้างมาเป็นเวลานับ 1000 ปี มีเพียงเจดีย์โบราณเก่ารกร้างอยู่ตรงบริเวณท่ีก�ำลังสร้างโบสถ์ในปัจจุบัน จนเม่ือประมาณ พ.ศ. 2500 มีการบูรณะวัดเจดีย์ขึ้นมาใหม่ มีพระเข้ามาอยู่ประจ�ำ เป็นที่ปฏิบัติศาสนกิจ ของชาวบ้านใกล้เคียงและเป็นท่ปี ระดษิ ฐานของ “พอ่ ทา่ น” พระพทุ ธรูปเก่าแก่ทอ่ี ยมู่ าต้งั แตย่ ังเป็นวดั รา้ ง วัดเจดยี ์หรอื วัดไอ้ไข่ ไอ้ไข่วัดเจดีย์ หรือ ตาไข่วัดเจดีย์ คือ รูปไม้แกะสลักของเด็กชายอายุประมาณ 9 - 10 ขวบ ตัง้ อยู่ในศาลาในวดั เจดีย์ เช่ือกนั ว่าเปน็ วิญญาณศกั ด์สิ ทิ ธ์ิที่สถิตอยู่ ณ วัดแหง่ นี้ เป็นที่เคารพสักการะของชาวบา้ น จากศรัทธาที่เช่ือกันว่า “ขอไข่ไหว้รับ” โดยเฉพาะโชคลาภ และการค้าขาย ในวัดเจดีย์จึงเต็มไปด้วยส่ิงของที่ ผูเ้ สือ่ มใสศรัทธาเอามาแกบ้ น เช่น รูปไกช่ น ชุดทหาร หนังสต๊ิก ของเลน่ ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 16) แมเ่ จา้ อยู่หวั อ�ำเภอเชยี รใหญ่ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่เจ้าอยู่หัว อ�ำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช แม่เจ้าอยู่หัว คือ พระนางเลือดขาวแห่งเมืองนครศรีธรรมราช มีเร่ืองราวสรุปย่อได้ว่า เป็นบุตรีคหบดี มีอาชีพค้าขาย ณ ชุมชน สดุ ชายหาดทรายแกว้ นครศรธี รรมราช (สนั ทรายเชยี รใหญ)่ บดิ าเปน็ ชาวพทั ลงุ เชอื้ สายลงั กา (คลุ า) มารดาเปน็ ชาวบา้ น เก่าหรือบ้านฆ็อง (บริเวณท่ีตั้งวัดแม่เจ้าอยู่หัวปัจจุบัน) พระนางเลือดขาวเป็นคนงามด้วยเบญจกัลยาณี มีนิสัย โอบออ้ มอารี เสอื่ มใสในพระพทุ ธศาสนา มเี ลอื ดสขี าวแตก่ ำ� เนดิ จนเปน็ ทรี่ บั รู้ จนรา่ํ ลอื ถงึ พระเจา้ ศรธี รรมาโศกราชท่ี 5 หรือพระเจ้าสีหราชแห่งนครศรีธรรมราช (ตามพรลิงค์) เมื่อคราวศึกเมืองทะรังหรือเมืองกันตังแข็งข้อ หลังชนะศึก ชนชา้ ง (ทบ่ี า้ นทงุ่ ชนในเขตอำ� เภอทงุ่ สงปจั จบุ นั ) ระหวา่ งพกั แรมกลางทางกลบั พระเจา้ ศรธี รรมาโศกราชทรงพระสบุ นิ เหน็ สตรมี ลี กั ษณะงดงามตาม เบญจกัลยาณี มใี จกศุ ล เปน็ ค่บู ญุ บารมี พ�ำนักอยู่ทางทิศใต้ตามเส้นทางหาดทรายแก้ว และมีเลือดสีขาว เม่ือเข้าเมืองนครศรีธรรมราช นมัสการพระบรมธาตุ แล้วจึงจัดขบวนเสด็จออกค้นหาจนถึง ส�ำนักพ่อท่านขรัว ได้พบพระนางเลือดขาวที่มารับเสด็จ โดยขณะทอผ้าถวายได้ท�ำ ตรน (อุปกรณ์ท่ีท�ำจากไม้ไผ่ มีความคมมาก) บาดนิ้วเลือดออกเป็นสีขาว จึงขอพระนางไปเป็นพระนางเมือง เมื่อเสด็จกลับแล้วจึงให้พราหมณ์ ปุโรหิตจดั ขบวนหลวงสขู่ อรบั เขา้ วัง ปรนนิบตั ริ ับใช้ดว้ ยความจงรกั ภักดี ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ท�ำคณุ ประโยชน์ เอกสารประกอบการเรียน 159 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ใหบ้ ้านเมืองมากมาย เปน็ ทีร่ ักของไพร่ฟ้า แตถ่ ูกกลั่นแกล้งกล่าวหาต่าง ๆ นานาจากพระสนมอืน่ พระนางเลอื ดขาว ได้รับสถาปนาเป็นแม่เจ้าอยู่หัวหรือพระนางเลือดขาวอัครมเหสี จนเป็นที่เรียกโดยท่ัวไปว่า พระนางเลือดขาว แม่เจ้าอยู่หัว หรือแม่เจ้าอยู่หัวพระนางเลือดขาว พระนางเลือดขาวได้ขอต่อพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชว่า หากส้ินพระชนมล์ งขอให้น�ำศพกลับบ้านเกดิ ตอ่ มาขา่ วความเดือดร้อนทพ่ี ระนางถกู กลั่นแกลง้ ทราบถึงพ่อท่านขรวั พ่อท่านขรัวได้เดินทางมาขอบิณฑบาตรับแม่เจ้าอยู่หัวกลับบ้านเดิม และทรงอนุญาตพร้อมท้ังให้สร้างวังข้ึน ณ ริมฝังแม่นํ้าปากพนัง (บ้านในวัง ต�ำบลแม่เจ้าอยู่หัวปัจจุบัน) แต่การสร้างล่าช้าเพราะพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ทรงประวิงเวลาไว้ไม่อยากให้พระนางกลับบ้านเดิม จนกระท่ังคราวเสด็จไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชท่ีเมืองทะรัง (ตรัง) ได้สิ้นพระชนม์ระหว่างทางขณะประทับแรมด้วยกลด (บ้านควนกรด อ�ำเภอทุ่งสง ปัจจุบัน) ในปี พ.ศ. 1814 พระศพถูกอัญเชิญกลับสู่เมืองนครศรีธรรมราช (เมืองพระเวียง) ตัง้ ณ วดั ทา้ วโคตร แลว้ จดั ขบวนทางน้ําตามล�ำคลองทา่ เรอื ออกทะเลปากนคร เขา้ แม่นาํ้ ปากพนงั (ปากพระนาง) มาขึ้นฝั่งท่ีบ้านหน้าโกศ จนถึงส�ำนักพ่อท่านขรัว (บริเวณวัดบ่อล้อปัจจุบัน) ถวายพระเพลิงแล้วน�ำพระอัฐิ และพระองั คารประดิษฐานในมณฑปสูง 12 วา มเี จดียบ์ รวิ ารโดยรอบ ณ วดั แม่เจา้ อยูห่ วั พระนางเลอื ดขาว 160 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
เร่ืองที่ 3 แหลง่ ทอ่ งเที่ยวประเภทชายทะเล ชายหาด แหล่งท่องเที่ยวกลุ่มชายทะเล ชายหาดเป็นแหล่งท่องเท่ียวของอ�ำเภอท่ีติดกับชายทะเลและชายหาด ในแตล่ ะอ�ำเภอดังตอ่ ไปนี้ 1. เขาพลายด�ำ เขาพลายด�ำ แหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์แห่งทะเลใต้ เป็นเขาที่มีลักษณะเป็นภูเขาที่ติดทะเล ตรงแนวรอยต่อเขตอ�ำเภอขนอมและอ�ำเภอสิชล อยู่ห่างจากตัวเมือง นครศรีธรรมราช ประมาณ 86 กิโลเมตร เปน็ ทะเลทม่ี ธี รรมชาตทิ แ่ี สนสงบและมจี ดุ ชมววิ เขาพลายดำ� ทส่ี ามารถเหน็ อา่ วทอ้ งยางไดใ้ นมมุ กวา้ ง และยงั เปน็ แหลง่ อนรุ ักษถ์ ิน่ ทีอ่ ยู่อาศยั ของสตั ว์ ตา่ ง ๆ อาทิ นกและผีเสอ้ื เขาพลายด�ำ 2. อทุ ยานแหง่ ชาตหิ าดขนอม - หมเู่ กาะทะเลใต้ อุทยานแห่งชาติหาดขนอม- หมู่เกาะทะเลใต้ เป็นชายหาดที่มีชื่อเสียงของนครศรีธรรมราช โดดเด่นดว้ ยหาดทรายทย่ี ื่นยาวออกไปในทะเลคู่กับทิวสน มีหาดทรายยาวกับทิวมะพร้าว และมชี าดหาดทม่ี ชี ื่อเสยี ง ของนครศรธี รรมราช มอี ่าวต่าง ๆ หลายอา่ ว เชน่ อ่าวทอ้ งหยี อา่ วท้องยาง อ่าวคอเขา อา่ วหน้าดา่ น อา่ วแขวงเภา อ่าวท้องชิง อ่าวในเพลา ซึ่งมีชายหาดที่มีทรายขาวสะอาด นํ้าทะเลใส เหมาะส�ำหรับการเล่นนํ้าทะเล นอกจากน้ี ยังมีส่ิงท่ีโดดเด่นคือ โลมาสีชมพูท่ีพบได้ง่าย ณ หาดขนอม รวมถึงเกาะนุ้ยนอก เกาะแห่งต�ำนานหลวงปูทวด เหยียบน้ําทะเลจืด หาดในเพลา เอกสารประกอบการเรียน 161 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
3. แหลมตะลมุ พุก “แหลมตะลมุ พกุ ” คำ� วา่ ตะลมุ พกุ เปน็ นามของปลาชนดิ หนงึ่ ทเี่ คยมชี กุ ชมุ ในบรเิ วณปลายแหลมแหง่ นชี้ าวบา้ นเลยเรยี กแหลมนว้ี า่ “แหลมตะลมุ พกุ ” จากการมปี ลาตะลมุ พกุ ชกุ ชมุ มาจนถงึ ทกุ วนั นี้ ปจั จบุ นั ปลาตะลมุ พกุ ในบริเวณปลายแหลมไม่มีแล้ว “แหลมตะลุมพุก” มีประชาชนมาตั้งถ่ินฐานในราว รัชกาลที่ 2,3 สมัย รัตนโกสินทร์ ผู้คนอพยพเข้ามาอยู่พวกแรกเป็นชาวไทย อสิ ลาม เขา้ มา ทำ� การประมง ในพนื้ ทตี่ ำ� บลแหลมตะลมุ พกุ ไดป้ ระสมทางวฒั นธรรมประเพณที เี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ ชาวบา้ น นับถือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิเป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจ ทั้งทางศาสนา อิสลาม คนจีน ไทยพุทธ ต�ำบลแห่งน้ี ในอดีตมีความ อุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก ประชาชน อาศัยอยู่อย่าง หนาแนน่ ทง้ั ไทย จนี อสิ ลาม มโี รงเรยี นจีน และทส่ี ำ� คัญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัฐกาลท่ี 5 เคยเสด็จแหลมตะลุมพุก เมื่อวันท่ี 19 กรกฎาคม 2432 จากบนั ทกึ จดหมายเหตเุ สดจ็ ประพาสแหลมมลายู ร.ศ. 108 โดยได้บรรยายสภาพความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ ของประชาชนว่า “ที่แหลมน้ีเป็นหาดแคบนิดเดียว แต่ยังยาว วงเป็นอ่าวเข้าไปไกล มีเรอื นประมาณ 70 หลงั ปลูกมะพรา้ วมาก มีของท่ีเปน็ สนิ ค้า ขายออก คอื ปลาเคา้ ปลากระบอก เคย แตง เปน็ จำ� นวนมาก เวลาบ่าย 4 โมง เสด็จกลบั มาลงเรอื พระที่นงั่ แลว้ ออกเรือ พระทีน่ ่ังตอ่ มา” 4. แหลง่ ท่องเทีย่ วประเภทความเชอื่ คตชิ นวทิ ยา จังหวดั นครศรีธรรมราช เปน็ จงั หวดั ที่เตม็ ไปด้วยประวตั ิศาสตร์ มีร่องรอยแหล่งอารยธรรมมากมาย จึงมีแหลง่ ท่องเที่ยวทางดา้ นกลุ่มความเชอ่ื และคตชิ นวทิ ยา ดงั ต่อไปน้ี 1) ศาลหลวงพอ่ ไทร อ�ำเภอเชยี รใหญ่ คงไมม่ ใี ครในจงั หวดั นครศรธี รรมราชทจี่ ะไมร่ จู้ กั ศาลหลวงตน้ ไทรโดยเฉพาะคนในอำ� เภอเชยี รใหญ่ และ อ�ำเภอหัวไทร ซ่ึงเป็นพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มนํ้าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ท่ีต่างร่�ำลือ ถึงกติ ติศพั ท์ของความศกั ดิส์ ทิ ธ์ิขณะก่อสรา้ งโครงการเมื่อหลายปีกอ่ น 162 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
ชาวบา้ นทน่ี น่ั ตา่ งเชอ่ื วา่ สาเหตขุ องเรอ่ื งราวประหลาดดงั กลา่ วเกดิ จาก “อาถรรพณ”์ ของตน้ ไทร โดยบรเิ วณใตต้ น้ ไทรยังขุดพบซากกระดกู มนุษยแ์ ละสตั วใ์ หญ่ต่าง ๆ รวมทง้ั เปลือกหอยทะเล เม่ือชาวบา้ นทราบข่าว ก็พากันไปกราบไหว้ต้นไทรกันเป็นจ�ำนวนมาก ศาลหลวงต้นไทร เป็นท่ีเคารพสักการะของชาวลุ่มนํ้าปากพนัง และเป็นอนุสรณ์แห่ง พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ศาลหลวงต้นไทรยังถือเป็นสถานที่ ยอดนิยมในพนื้ ที่ และเป็นสัญลักษณอ์ ีกอย่างของโครงการพัฒนาลมุ่ น้าํ ปากพนังฯ จากภมู ทิ ศั นท์ สี่ วยงาม แปลกตา และตน้ ไทร ขนาดใหญท่ ่ียืนตน้ ตระหง่านอยู่กลางล�ำนาํ้ 2) พระพทุ ธสิหงค์ ณ เชิงเขามหาชยั อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช หอพระพุทธสิหิงค์ อันเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธสิหิงค์เมืองนครน้ัน เดิมเป็นหอพระ ประจ�ำวนั ของเจ้าพระยานคร ต้งั อย่รู ะหว่างศาลากลางจงั หวัด และศาลจงั หวัด สร้างใหมแ่ ทนหอเดมิ ใน พ.ศ. 2457 เปน็ วหิ ารกอ่ อฐิ ถอื ปนู หนั หนา้ ไปทางทศิ ตะวนั ออก แบง่ ออกเปน็ สองตอน มผี นงั กอ่ อฐิ กน้ั ตอนหนา้ เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐาน พระพุทธสิหิงค์ และมีพระพุทธรูปยืนปางอุ้มบาตร บุด้วยทองค�ำและเงิน อย่างละองค์ ส่วนด้านหลังเป็นที่เก็บอัฐิ ของตระกลู ณ นคร และปจั จุบนั ได้มกี ารสรา้ งพระพุทธสหิ ิงคร์ าชภฏั นครศรีธรรมราช 3) จตุคามรามเทพ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ชาวนครศรธี รรมราช มคี ติความเชื่อทวี่ ่า องคจ์ ตุคาม คือ พระเส้ือเมือง จตุ หมายถงึ สี่ คาม (คาม-มะ) เขตคาม หมายถงึ อาณาเขตหรอื บ้าน เม่อื รวมกนั นัยความหมายทม่ี ากกว่าความเปน็ ทศิ ท้งั 4 ของบ้าน หรอื อาณาเขต คอื ทศิ ทงั้ สี่ ซงึ่ หมายถงึ ทศิ ทม่ี ที า้ วจตโุ ลกบาล ท้ังสี่ดูแลอยู่ ความหมายของ จตุคามจึงเป็นต�ำแหน่ง ของผเู้ ป็นใหญ่ทัง้ ส่ีทศิ มีท้าวจตุมหาราช ปกปอ้ งคมุ้ ครอง ดูแล พระเสื้อเมือง จึงมีความหมายท่ีควรเป็นต�ำแหน่ง ๆ หนึ่ง เพียงแต่ปราชญ์โบราณของเมืองสมมติขึ้นเป็น ท้าวจตุคาม ผู้เป็นใหญ่ใน 4 ทิศองค์รามเทพ ค�ำว่า ราม มีรากฐานมาจากพระราม ที่หมายถึงพระนารายณ์อวตาร องค์จตุคามรามเทพ ลงมา เป็นพระมหากษัตริย์ ค�ำว่าเทพ ก็คือเทวดา นัยความหมายคือเป็นพระมหากษัตริย์ ท่ีเป็นสมมติเทพ เมื่อองค์รามเทพ เป็นพระทรงเมือง ค�ำว่าทรงเมือง พ้องกับค�ำว่าครองเมือง นั่งเมือง หรือผู้ปกครองบ้านเมือง ซ่งึ ก็คือเจา้ เมอื งหรอื พระมหากษตั รยิ ์ เชอื่ กนั วา่ เดมิ นน้ั องคจ์ ตคุ ามรามเทพ เปน็ กษตั รยิ ส์ มยั อาณาจกั รนครศรธี รรมราช มพี ระนาม อยา่ งเปน็ ทางการวา่ พระเจา้ จนั ทรภาณุ เปน็ กษตั รยิ พ์ ระองคท์ ่ี 2 ของราชวงศศ์ รธี รรมาโศกราช เมอ่ื สถาปนาอาณาจกั ร ศรีวิชัยได้อย่างมั่นคงแล้ว จึงได้สมัญญานามว่า “ราชันด�ำแห่งทะเลใต้” หรือมีอีกราชสมัญญานามหนึ่งว่า “พญาพงั พกาฬ” เอกสารประกอบการเรียน 163 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
5. แหล่งทอ่ งเทยี่ วกลุม่ ชุมชนเข้มแข็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในแต่ละอ�ำเภอมีสภาพพื้นท่ี บริบทชุมชนท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงคนในพ้ืนท่ี มีวถิ ชี วี ติ ทแี่ ตกตา่ งกัน จึงมกี ารรวมกลุม่ กนั ในการด�ำเนนิ กิจกรรมด้านอาชีพจนเกิดเปน็ ชมุ ชนท่ีเขม้ แข็งและสามารถ เปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วกลมุ่ ชุมชนเขม้ แข็งที่ปรากฏ ดงั ต่อไปนี้ 1) บา้ นครี ีวง บ้านคีรีวง ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลก�ำโลน อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นชุมชนเก่าแก่ที่ อพยพไปอาศยั อยูบ่ รเิ วณเชิงเขาหลวง ต�ำบลก�ำโลน อันเป็นเสน้ ทางเดนิ ข้ึนสูย่ อดเขาหลวง ชาวบา้ นมวี ิถีชวี ติ ท่สี งบ สังคมแบบเครือญาติ อาชีพหลักคือการท�ำสวน ผลไม้ผสม เรยี กว่า “สวนสมรม” เช่น มงั คุด เงาะ ทุเรียน สะตอ ชุมชนบ้านคีรีวง แบ่งออกเป็น หลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม มัดย้อม กลุ่มสมุนไพร กลุ่มจักสานกะลามะพร้าว กลุ่มแปรรูปนํ้าผลไม้ กลุ่มไวน์ และกลุ่มทุเรียนกวน ซ่ึงแต่กลุ่มจะมี ผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค และ นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยว ก็มักจะซ้ือ เป็นของฝากกันอยู่เสมอ สินค้าราคาไม่แพงและ มคี ุณภาพ 2) วสิ าหกจิ ชมุ ชนกล่มุ อนรุ ักษป์ ่าชายเลนบา้ นแหลมโฮมสเตย์ กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านแหลมโฮมสเตย์ ต้ังอยู่ท่ี หมู่ 7 ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวดั นครศรธี รรมราช ลักษณะของพน้ื ท่มี สี ่วนของผืนดนิ ท่ีงอกย่นื ลงไปในทะเล โดยมขี นาดของพนื้ ท่เี พิม่ ขน้ึ ทกุ ปี ทางชาวบ้าน องค์กร หน่วยงาน และนักเรียน นักศึกษา ได้มีการร่วมกันในการปลูกป่าชายเลนอยู่ทุก ๆ ปี โดยมีการเลือกพันธุ์โกงกาง ล�ำพู ต้นจาก และ ตลอดจนพันธุ์พืชที่สามารถเจริญงอกงามได้ดี ในพ้ืนที่น้ํากร่อย ได้มีการขยายพ้ืนท่ีปลูกอยู่ตลอด ทกุ ปี ทำ� ใหช้ าวบา้ นไดร้ บั ประโยชนเ์ ปน็ แหลง่ อาหาร เป็นท่ีอยู่อาศัยของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ เพ่ือ เปน็ ตวั ชว่ ยปอ้ งกนั การกดั เซาะตามแนวชายฝง่ั ทะเล จากป่าโกงกาง โดยพ้ืนที่ดังกล่าวเป็นแหล่งขยาย พันธุสัตว์นํ้าให้กับชาวบ้านในพ้ืนที่ สามารถท่ีจะมี พันธุ์ปลา เพ่ือเป็นแหล่งอาหาร ตลอดจนสามารถ สรา้ งรายได้ให้กับครอบครวั ไดเ้ ป็นอย่างดี 164 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
3) ชุมชนบ้านไม้เรียง ชุมชนไม้เรียง เดิมชาวชุมชนไม้เรียงประกอบอาชีพท�ำสวนยางพาราเป็นหลัก แต่ต่อมา ประสบปญั หาราคายางตกตา่ํ จงึ ไดม้ แี นวทางการแกป้ ญั หา โดยมกี ารรวมกลมุ่ เกษตรกรเพอ่ื รว่ มกนั ปรบั ปรงุ คณุ ภาพ ยางแผ่นทม่ี ีคุณภาพ “กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางไม้เรียง” และใชเ้ ทคโนโลยีในการผลติ เพอ่ื ให้ขายยางปริมาณมาก ๆ ให้ได้ราคาและมีคุณภาพและเป็นที่ต้องการของตลาด ตอ่ มานายประยงค์ รณรงค์ ผนู้ ำ� ชมุ ชน บา้ นไมเ้ รยี ง ไดเ้ สนอ แผนพฒั นาชมุ ชนทเ่ี ปน็ การเปลย่ี นทศิ ทางของเกษตรกรรม แผนใหม่ จากการมุ่งเน้นปลูกพืชเชิงเด่ียวจากท�ำสวน ยางพารา มาเป็นการแสวงหาความหลากหลาย ของการประกอบอาชีพการเกษตร คือ การพัฒนา ชุมชนไมเ้ รยี ง ความสามารถของ เกษตรกรและเสรมิ สรา้ งเศรษฐกิจชมุ ชน ประกอบดว้ ยกิจกรรมการเกษตร มีวตั ถุประสงคช์ ัดเจน ในการผลติ เพอ่ื การพง่ึ ตนเอง ของชมุ ชนและเชอื่ มโยงกบั ตลาดภายนอก โดยผา่ นการจดั การของแตล่ ะกลมุ่ ทมี่ อี งคก์ ร บริหารของตน ไม้เรยี งคือตวั อยา่ งของการพฒั นาอย่างมีแบบมีแผน ซึง่ อยบู่ นฐานขอ้ มลู และความรูซ้ ึง่ ผนู้ �ำแมกไซไซ อธบิ ายวา่ “วนั นพี้ น้ ยคุ ทจี่ ะพฒั นาแบบ คดิ วา่ เหน็ วา่ เขา้ ใจวา่ รสู้ กึ วา่ วนั นตี้ อ้ งใชค้ วามรู้ และตอ้ งเปน็ ความรทู้ นี่ ำ� ไปสู่ การปฏบิ ตั ไิ ดจ้ นเกดิ ปัญญา การพัฒนาจึงจะเกดิ ” 4) กลมุ่ ผ้าทอเนินธมั มัง ด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในรัชกาลท่ี 9 ไดท้ รงเสด็จเย่ยี มราษฎร ในพนื้ ที่บา้ นเนินธัมมงั หมู่ 5 ต�ำบลแม่เจา้ อยูห่ วั อ�ำเภอเชียรใหญ่ จังหวดั นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2536 พระองค์ได้ทรงรับทราบถึงปญั หาความทุกข์ยากของราษฎรในพน้ื ที่ ซง่ึ มีฐานะยากจน การประกอบอาชีพหลักคือการท�ำนา ผลผลิตที่ได้รับอยู่ในเกณฑ์ตํ่า ท�ำให้หัวหน้าครอบครัวต้องออกไปหางานท�ำ ต่างถ่ิน เหลือแต่แม่บ้าน เด็ก และคนชรา พระองค์จึงได้ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อให้การ กอ่ สร้างศาลาศลิ ปาชีพขนึ้ (หลังเกา่ ) ปจั จุบันใชเ้ ปน็ พน้ื ท่ปี ฏิบัตงิ านของกล่มุ แปรรูปกระจูด เม่อื วนั ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2537 และพระองคไ์ ดท้ รงเริ่มสง่ เสรมิ งานด้านศลิ ปาชีพให้กับราษฎรในพ้นื ท่ี และหมูบ่ ้านใกล้เคยี งเปน็ ตน้ มา ตอ่ มาเมือ่ ปี พ.ศ. 2540 พระองคท์ รงมีพระราชเสาวนยี ์ ให้กอ่ สร้างอาคารศิลปาชพี หลังใหม่ขึน้ มาแทนหลังเก่า และเปิดท�ำการอย่างเป็นทางการเม่ือวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2542 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 2 ชนั้ กวา้ ง 25 เมตร ยาว 45 เมตร โดยช้นั ล่างเป็นห้องโถงโล่ง อนุญาตให้ใชเ้ ปน็ พืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านของกล่มุ ทอผา้ หมู่ 5 บ้านเนินธมั มงั สว่ นช้นั บนประกอบด้วย หอ้ งส่วนพระองค์ (ห้องทรงงาน) ห้องผูต้ ดิ ตามชาย หอ้ งผู้ติดตามหญงิ และห้องโถงโล่ง โดยจัดเจ้าหน้าท่ีจากกองพันทหารช่างที่ 402 เพ่ือท�ำหน้าท่ีอ�ำนวยการ ประสานงาน ก�ำกับดูแล และตดิ ตามผลการปฏบิ ตั งิ านของสมาชกิ ซงึ่ จะตอ้ งดำ� เนนิ การควบคไู่ ปดว้ ยกนั กบั โครงการพฒั นาพนื้ ทลี่ มุ่ นา้ํ ปากพนงั เปน็ ผลทำ� ให้ราษฎรมีฐานะความเป็นอยทู่ ีด่ ีขึน้ อกี ทั้งยงั เป็นการเผยแพรง่ านด้านศิลปาชพี ใหแ้ พร่หลายต่อไป เอกสารประกอบการเรียน 165 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
5) ผลติ ภณั ฑจ์ ากกระจูด อ�ำเภอชะอวด ผลิตภัณฑ์จากกระจูดเป็นวัสดุจากธรรมชาติ ที่มีความเหนียวและนุ่ม เมื่อน�ำมาจักสาน เป็นผลิตภัณฑ์ จะช่วยในการระบายความร้อน ซึ่งคนในชุมชนสมัยก่อนได้น�ำกระจูดมาสานเป็นเส่ือส�ำหรับปูนอน แสดงถึง วิถีชีวิตท้องถิ่นอย่างหน่ึงของคนภาคใต้ ซึ่งแต่เดิมชาวบ้านนิยมใช้ สื่อกระจูด ปูนอนเพราะลักษณะ ของภูมิอากาศของภาคใต้ร้อนข้ึน คนในสมัยก่อนจึงได้น�ำเอากระจูดที่มีอยู่ตามธรรมชาติจากป่าพรุมาปรับใช้ ใหเ้ ข้ากับวิถชี ีวติ ของคนในท้องถิ่น ดงั นน้ั คนในชุมชนรอบปา่ พรุควนเคร็ง ผลติ ภัณฑ์จากกระจูด จากภูมิปัญญาด้ังเดิมมีการสานกระจูดเฉพาะ เส่ือ และกระสอบ เท่านั้นเพื่อใช้ในการปูนอน และตากข้าวเปลือก และใช้กระสอบส�ำหรับใส่ข้าวสาร หรือเกลือ และของใช้อย่างอ่ืนภายในครัวเรือน และของใช้ ในครวั เรอื น ปจั จบุ นั ผลติ กณั ฑจ์ กั สานจากลำ� ตน้ กระจดู ไดพ้ ฒั นารปู แบบจากสาดจดู และสอบจดู ใหเ้ ปน็ ผลติ กณั ฑใ์ หม่ ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางและเหมาะสมกับยุคสมัยมากขึ้น เช่น หมวก กระเป๋า รองเท้าแตะใส่ในบ้าน ชุดรองจาน ชุดปูโต๊ะอาหาร เครื่องตกแต่งบ้าน เป็นต้น ทั้งน้ี ผลิตภัณฑ์จากกระจูด เป็นผลิตกัณฑ์ที่ผลิตด้วยมือ จากภูมิปัญญาท้องถิ่น น�ำมาผลิตเป็นของใช้ได้หลายรูปแบบตามสมัยนิยม และมีสวยงามเหมาะแก่การใช้สอย และเปน็ ของฝาก 6) ประตูระบายน�ำ้ อุทกวภิ าชประสทิ ธ์ิ ในอดีตลุ่มน�้ำปากพนัง เป็นพ้ืนที่ท่ีอุดมสมบูรณ์ในภาคใต้ จากหลักฐานที่พบเห็นคือโรงสีไฟ โรงสขี า้ วโบราณทพี่ บหลายแหง่ รมิ แมน่ า้ํ ปากพนงั ดว้ ยพนื้ ทล่ี มุ่ นาํ้ แหง่ นก้ี วา้ งใหญค่ รอบคลมุ ถงึ 10 อำ� เภอใน 3 จงั หวดั ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา ท�ำให้ระบบนิเวศมีความหลากหลาย ท้ังป่าต้นน้ํา ป่าพรุ ป่าชายเลน และพ้ืนทีช่ ายฝัง่ แตเ่ มอ่ื การพฒั นาทางเศรษฐกจิ เข้ามา ทำ� ใหพ้ ้ืนที่ ปา่ ต้นนา้ํ ถูกท�ำลาย จากเดมิ ทร่ี ะบบ นํ้าจืดและน้ําเค็มผลักดันตามธรรมชาติ ก็แปรเปล่ียนเพราะนํ้าจืดจากป่าต้นนํ้าไหลลงสู่แม่นํ้าปากพนังน้อยลง 166 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
นาํ้ เคม็ จงึ ทะลักไกลกวา่ ร้อยกโิ ลเมตร ไม่เพยี งปญั หานํา้ เคม็ แตด่ ้วยภมู ิประเทศทเี่ ป็นแอง่ กระทะ ทำ� ใหเ้ กดิ นา้ํ ทว่ ม ขังเป็นเวลายาวนาน ชาวนาผลิตข้าวได้น้อยลง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงทราบถึงปัญหา จงึ มพี ระราชดำ� รใิ หก้ รมชลประทานกอ่ สรา้ งประตรู ะบายนาํ้ อทุ กวภิ าชประสทิ ธ์ิ เพอ่ื แยกนา้ํ เคม็ และนาํ้ จดื ออกจากกนั และแบ่งโซนน้ําจืด นํ้าเค็ม เพ่ือให้ชาวบ้านท่ีต้องการเลี้ยงกุ้งอยู่ในโซนน้ําเค็ม ส่วนชาวบ้านท่ีต้องการปลูกข้าว อยใู่ นโซนนํา้ จืด ปัญหาความขดั แย้งทเุ ลาลง ส่วนพืน้ ทีพ่ รุกม็ ีราษฎรที่อาสาดูแลป่าพรตุ ามรับสั่งของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว นอกจากน้ีพระองค์ยังได้ให้หน่วยงานชลประทานช่วยควบคุมระดับนํ้าในพรุไม่ให้แห้ง จนเกิดไฟป่า และรกั ษาระดบั น�ำ้ ไม่ใหท้ ว่ มขังเพ่ือให้ราษฎรปลูกขา้ วได้ ประตรู ะบายน้�ำอุทกวิภาชประสทิ ธ์ิ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานแนวทางแกไ้ ขและพฒั นาพน้ื ทลี่ มุ่ นา้ํ ปากพนงั ทงั้ ระบบ ถึง 13 ครั้ง ตงั้ แตป่ ี 2521 โดยครง้ั สำ� คัญทส่ี ุด เมือ่ ปี 2536 ทรงมีพระราชดำ� รใิ ห้ก่อสรา้ งประตูระบายนำ�้ ปากพนัง หรือประตรู ะบายนาํ้ อทุ กวิภาชประสิทธิ์ เพ่ือบรหิ ารจัดการน้าํ ทงั้ หมด พระราชด�ำริดงั กล่าว ประสบความส�ำเร็จมาก ถือเป็นกุญแจแรกในการพลิกพื้นลุ่มน้ําปากพนัง และท�ำให้เกิดการพัฒนาต่อเน่ือง มาโดยตลอด อันค�ำว่า “อทุ กวิภาชประสทิ ธ์ิ” มีความหมายวา่ ประตรู ะบายน้ําทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ในการแยกน�้ำจดื น้ําเคม็ ซ่งึ พระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน เม่อื วันที่ 22 สิงหาคม 2542 เอกสารประกอบการเรยี น 167 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
กิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 12 แหล่งทอ่ งเท่ียวในจังหวดั นครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ีทุกข้อ 1. ให้เขียนค�ำขวัญส่งเสริมการท่องเท่ียวประจ�ำจังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมอธิบายความหมาย พอเป็นสงั เขป ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 2. ให้เขียนค�ำขวัญส่งเสริมการท่องเที่ยวประจ�ำอ�ำเภอท่ีตนเองอาศัยอยู่ พร้อมอธิบายความหมาย พอเป็นสงั เขป ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 3. ใหร้ ะบแุ หลง่ ทอ่ งเทย่ี วแตล่ ะประเภทมาอยา่ งละ 3 แหง่ พรอ้ มบอกสถานทต่ี งั้ พอสงั เขป 3.1 ประเภทภเู ขาและนำ้� ตก ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 3.2 ประเภทสถานที่ ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 3.3 ประเภทชายทะเล ชายหาด ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 3.4 ประเภทความเชอื่ (คตชิ นวทิ ยา) ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 4. ใหอ้ ธบิ าย/ระบคุ ณุ คา่ และประโยชน์ของแหลง่ ท่องเทยี่ ว มาพอสังเขป ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. ……………….........................…………………………………………………………………………………………………………………….. 168 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 13โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำ�รใิ นจงั หวดั นครศรธี รรมราช โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ เปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ เยย่ี มราษฎรทวั่ ประเทศในทกุ ภมู ภิ าค ทรงสดบั รบั ฟงั ทกุ ขส์ ขุ ของประชาชน แลว้ ทรงแสวงหาวธิ กี ารทจี่ ะแกป้ ญั หาความเดอื ดรอ้ นของพสกนกิ รใหจ้ งได้ และจากการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เยยี่ มเยยี นราษฎร ดงั กลา่ ว ทำ� ใหท้ รงพบวา่ คนชนบทสว่ นใหญข่ องประเทศ ทย่ี งั ชว่ ยตวั เองไมไ่ ดม้ จี ำ� นวนไมน่ อ้ ย การชว่ ยเหลอื ประชาชน ให้ “พออยู่ พอกนิ ” จงึ เปน็ พระราชประสงคท์ จ่ี ะพระราชทานพระบรมราชานเุ คราะหแ์ กพ่ สกนกิ รในชว่ งตน้ ทรงวเิ คราะห์ วา่ หากเขาพงึ่ ตนเองไดแ้ ลว้ กจ็ ะมสี ว่ นชว่ ยเหลอื เสรมิ สรา้ งประเทศชาติ โดยสว่ นรวมไดใ้ นทส่ี ดุ โครงการอนั เนอื่ งมาจาก พระราชดำ� รจิ งึ เนน้ หลกั การพงึ่ ตวั เอง ดงั พระราชดำ� รสั ตอนหนง่ึ วา่ “...เราจะชว่ ยเหลอื เขา ใหเ้ ขาสามารถชว่ ยเหลอื ตวั เองได.้ ..” ซงึ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช มโี ครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ รวมทง้ั หมด จำ� นวน 66 โครงการใหญ่ 12 โครงการยอ่ ย ซงึ่ สามารถจำ� แนกโครงการพฒั นาออกเปน็ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย เรอื่ งท่ี 1 โครงการพัฒนาด้านแหล่งน�้ำ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยโครงการพัฒนาด้านแหล่งน้�ำจังหวัดนครศรีธรรมราช มีตัวอย่าง โครงการ 1. ฝายคลองสงั ขอ์ นั เน่อื งมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลทา่ ยาง อ�ำเภอท่งุ ใหญ่ ฝายคลองสังข์อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลท่ายาง อ�ำเภอทุ่งใหญ่ อยู่ในพื้นที่ ต�ำบลท่ายาง อำ� เภอทุ่งใหญ่ จังหวดั นครศรีธรรมราช เป็นฝายระบบทดนำ้� ส่งเขา้ พน้ื ทเี่ พาะปลูกของเกษตรกร ซงึ่ ในฤดแู ลง้ ไดร้ ับ ผลกระทบจากต้นทุนนำ้� ไม่เพียงพอ ทำ� ให้ไม่สามารถส่งน�้ำเข้าระบบแปลงพืน้ ท่เี พาะปลกู โดยเฉพาะในฤดแู ลง้ บางปี นำ�้ ในคลองสงั ขไ์ มม่ ี ไหลขาดเปน็ ชว่ ง ๆ สว่ นในฤดฝู น นำ้� จะเออ่ ลน้ คลองสงั ข์ ไหลบา่ ทว่ มพน้ื ทเ่ี พาะปลกู และตวั เมอื ง เขตเทศบาลต�ำบลท่ายาง ท�ำให้ราษฎรได้รับความเสียหายเป็นอันมาก ทุกปีก่อนท่ีน�้ำจะระบายสู่แม่น�้ำตาปีต่อไป และมีโรงสูบน้�ำของการประปาส่วนภูมิภาคหน่วยจันดี เขตอ�ำเภอทุ่งใหญ่ ซ่ึงโรงสูบน�้ำท่ีต้ังห่างจากตัวฝายไปทาง ด้านเหนือน�้ำประมาณ 700 เมตร โดยสูบน�้ำผลิตประปาใช้ในการอุปโภคและบริโภคในเขตเทศบาลต�ำบลท่ายาง และหมู่บ้านข้างเคียงประมาณวันละ 1,300 ม.3 /วัน โดยเฉพาะในฤดูแล้งทางโครงการฝายคลองสังข์มีน�้ำ จ�ำนวนจ�ำกัดอยู่แล้ว ไม่สามารถส่งน้�ำช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกได้ จากสภาพปัญหาดังกล่าว นายฉลอง เทพจินดา ราษฎรต�ำบลท่ายาง อ�ำเภอทุ่งใหญ่ ได้ยื่นหนังสือถวายฎีกาต่อพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในคราวทเี่ สด็จเยีย่ มราษฎรทอ่ี �ำเภอทงุ่ ใหญ่ ขอพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณ ชว่ ยเรง่ รดั พฒั นาทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม ใหแ้ กร่ าษฎร อำ� เภอทงุ่ ใหญ่ ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รงเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทอดพระเนตร บรเิ วณพน้ื ทลี่ มุ่ นำ้� คลองสงั ข์ และทรงเยี่ยมราษฎรในพ้นื ที่ อ�ำเภอทุง่ ใหญ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช เมอื่ วนั ที่ 18 กันยายน 2523 ได้มีพระราชด�ำริ ให้กรมชลประทานด�ำเนินการโครงการและก่อสร้างโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำคลองสังข์ ในเขตอ�ำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเร่งด่วน เพ่ือจัดหาน้�ำให้แก่พ้ืนท่ีเพาะปลูกในเขตอ�ำเภอทุ่งใหญ่ ซึ่งมีพ้ืนท่ีเพาะปลูก ประมาณ 70,000 ไร่ มอี าณาเขตในพ้นื ทีอ่ �ำเภอทุง่ ใหญ่ อยูป่ ระมาณเสน้ รุ้งท่ี 8-11 เสน้ แวงท่ี 99-22-11 ตะวนั ตก ให้สามารถท�ำการเพาะปลกู ได้ตลอดปี รวมทัง้ การเลยี้ งสัตวด์ ว้ ย เอกสารประกอบการเรยี น 169 รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
วตั ถุประสงค์ของโครงการ เพื่อช่วยเหลือพ้ืนที่เขตเพาะปลูกต�ำบลท่ายาง ต�ำบลทุ่งสงและต�ำบลบางรูป ครอบคลุมพ้ืนท่ีจ�ำนวน 14 หมบู่ า้ น เปน็ พนื้ ทโ่ี ครงการ 17,000 ไร่ พนื้ ทสี่ ง่ นำ้� 11,200 ไร่ ใหส้ ามารถใชเ้ ปน็ พน้ื ทที่ ำ� การเกษตรไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ หวั สบู น�ำ้ เพอ่ื ผลิตนำ้� ประปา สภาพบริเวณหวั งานฝายคลองสงั ข์ อนั เนื่องมาจากพระราชด�ำริ สภาพระบบคลองสง่ น�ำ้ (คลองดนิ ) สภาพระบบคลองส่งนำ้� (คลองดาดคอนกรตี ) สถานสี ูบน้ำ� ประปาสว่ นภูมภิ าคหน่วยจันดี 170 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนท่คี ลองสงั ข์ ที่มา : http://km.rdpb.go.th/Project/View/7772 2. ฝายคลองวังหบี (วงั ฉอ้ นาง) อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ (บา้ นวังฉ้อนาง) ฝายคลองวังหีบ (วงั ฉอ้ นาง) อันเนือ่ งมาจากพระราชดำ� ริ (บา้ นวังฉ้อนาง) ตัง้ อย่ตู ำ� บล นาหลวงเสน อำ� เภอทงุ่ สง เมอื่ ปี พ.ศ. 2533 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทอดพระเนตร สภาพภูมิประเทศบริเวณที่จะสร้างอ่างเก็บน�้ำกะลูแป ต�ำบลเตราะบอน อ�ำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี พระองคไ์ ดพ้ ระราชทานพระราชดำ� รเิ กยี่ วกบั งานชลประทานในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ ทง้ั ไดท้ รงรบั สงั่ ใหก้ รมชลประทานพจิ ารณา วางโครงการและก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำปิดกั้นคลองวังหีบ และอ่างเก็บน�้ำสาขาด้วย ท่ีบริเวณบ้านนาหลวงเสน และบ้านนาประดิษฐ์ ตลอดจนฝายทดน�ำ้ ต่าง ๆ ในเขต อำ� เภอทุ่งสง จงั หวดั นครศรธี รรมราช ตามที่ราษฎรไดก้ ราบ บังคมทูลพระราชทาน และเม่ือวันท่ี 18 ธันวาคม 2561 คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้พิจารณาอนุมัติโครงการวังหีบ อันเน่ืองมาจากพระราชดำ� ริ จ.นครศรีธรรมราช ตามท่ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ และมอบหมายให้หน่วย งานทเ่ี กยี่ วขอ้ งดำ� เนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั แกไ้ ขและลดผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม และแผนปฏบิ ตั กิ ารตดิ ตาม ตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อม ตามท่ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมชลประทาน) เสนออยา่ งเครง่ ครัด เอกสารประกอบการเรยี น 171 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการวังหีบ 1) เพือ่ ใช้เปน็ แหล่งเกบ็ กกั น�้ำไวเ้ พื่อการเพาะปลกู ทง้ั ในฤดฝู นและฤดแู ลง้ 2) เพอื่ ใชเ้ ปน็ แหลง่ กกั เกบ็ นำ้� สำ� หรบั การอปุ โภค-บรโิ ภคของราษฎรและสตั วเ์ ลย้ี งทอี่ าศยั อยบู่ รเิ วณ พ้นื ท่โี ครงการและใกลเ้ คียง 3) เพ่ือใช้เป็นแหล่งเพาะขยายพันธุ์สัตว์น�้ำจืดให้ราษฎรได้ใช้บริโภค และมีรายได้เสริมจากการจับ สตั ว์น้�ำ 4) เพ่ือช่วยบรรเทาอุทกภัยท่ีจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูน�้ำหลาก ซึ่งท�ำให้เกิดน้�ำท่วมพ้ืนท่ีเกษตรกรรม บรเิ วณทา้ ยอ่างเกบ็ น�้ำ 5) ใชเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว หรอื เปน็ แหลง่ พกั ผอ่ นหยอ่ นใจของราษฎรทอี่ าศยั บรเิ วณใกลเ้ คยี งกบั พน้ื ที่ โครงการ ผลประโยชนข์ องโครงการวงั หบี พื้นที่รบั ประโยชน์ (เพอื่ การเกษตร) มีพืน้ ท่ี 13,014 ไร่ ซง่ึ ครอบคลุม 24 หมบู่ า้ น ใน 4 ตำ� บล คือ ต�ำบลนาหลวงเสน ตำ� บลหนองหงส์ ตำ� บลควนกรด และต�ำบลนาไมไ้ ผ่ หมบู่ า้ นรบั ประโยชน์ (เพอื่ การอปุ โภคบรโิ ภค) ครอบคลมุ 20 หมบู่ า้ น ใน 3 ตำ� บล คอื ตำ� บลนาหลวงเสน ต�ำบลหนองหงส์ และต�ำบลนาไม้ไผ่ 172 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนที่โครงการอา่ งเกบ็ น�ำ้ วังหีบ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ท่ีมา : http://www.rid.go.th/royalproject/index.php?option=com_content&view=article&id=671%3A2017-11- 23-03-15-32&catid=66%3A2009-05-04-07-29-58&Itemid=9 เอกสารประกอบการเรยี น 173 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
3. โครงการพัฒนาพื้นทลี่ ุม่ น้ำ� ปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ทีต่ ัง้ โครงการ หมทู่ ่ี 5 ตำ� บลหลู ่อง อำ� เภอปากพนัง จังหวดั นครศรธี รรมราช พระราชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ได้พระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาพื้นท่ีลุ่มน้�ำปากพนัง เพ่ือช่วยเหลือราษฎร หลายครงั้ ดังน้ี - ครงั้ แรก เมอื่ เดือนธันวาคม 2531 หลงั จากเกิดน้ำ� ท่วมใหญ่เมอื่ เดือนพฤศจกิ ายน - ครั้งต่อมาเมอ่ื วนั ท่ี 9 และ 11 ตุลาคม 2535 ณ สถานีสูบนำ้� โคกกแู ว ต�ำบลพรอ่ น อำ� เภอตากใบ จงั หวัดนราธวิ าส และสถานีสบู นำ้� บา้ นตอหลงั อ�ำเภอตากใบ จังหวดั นราธิวาส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (รัชกาลที่ 9) ได้พระราชทานพระราชดำ� ริ ใหก้ รมชลประทานพจิ ารณา ก่อสร้างประตูระบายน้�ำปากพนัง ท่ีอ�ำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อป้องกันน�้ำเค็มรุกล้�ำและเก็บกัก นำ้� จดื พรอ้ มกบั การกอ่ สรา้ งระบบคลองระบายนำ�้ เพอ่ื บรรเทาปญั หานำ�้ ทว่ ม และระบบกระจายนำ้� เพอ่ื การเพาะปลกู ในพ้ืนทลี่ ุ่มน้ำ� ปากพนงั - ครง้ั สำ� คัญทสี่ ดุ เมอื่ วันท่ี 2 ตลุ าคม 2536 ได้พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ ณะกรรมการ บริหารโครงการพัฒนาลุ่มน้�ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริเข้าเฝ้าฯ ณ พระต�ำหนักทักษิณราชนิเวศน์ ได้พระราชทานพระราชด�ำริเพิ่มเติมความว่า “...ท�ำประตูน้�ำท่ีปากแม่น้�ำห่างจากตัวอ�ำเภอปากพนัง ประมาณ 3 กิโลเมตร ก็พิจารณาว่าจะแก้ปัญหาทั้งหมด ซึ่งหมายความว่าเป็นกุญแจส�ำคัญของโครงการ ฯ จะแก้ไขปัญหา ตั้งแต่น้�ำแล้ง น�้ำท่วม น้�ำเค็มและสามารถที่จะให้ประชาชน มีน�้ำบริโภคและน้�ำท�ำการเกษตร... แม้ว่าประตูน้�ำ อันเดียวน้ีจะไม่แก้ไขปัญหาท้ังหมด ซ่ึงจะต้องสร้างหรือท�ำโครงการต่อเนื่อง หากแต่ว่าเป็นจุดเร่ิมต้นของการแก้ไข ปญั หาท้งั หมด จากอันนจ้ี ะทำ� อะไร ๆ ได้ทกุ อย่าง และแยกออกมาเป็นโครงการฯ...” 174 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
แนวทางการแกไ้ ขปญั หาตามแนวพระราชด�ำริ สามารถสรุปไดด้ งั น้ี 1. เร่งด�ำเนินการก่อสร้างประตูระบายน�้ำปากพนังให้แล้วเสร็จโดยเร็วเพราะเป็นจุดเร่ิมต้น และเปน็ งานหลักในการแกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนนำ้� จืดเพ่อื การเกษตรและการอปุ โภคบริโภค 2. การแกไ้ ขปญั หานำ้� ทว่ มในพืน้ ทท่ี ำ� กนิ ขอบราษฎร ควรดำ� เนินการดังน้ี 2.1 ขุดคลองระบายน�้ำฉุกเฉินพร้อมก่อสร้างอาคารควบคุมปากคลอง เพื่อระบายน�้ำจากแม่น้�ำ ปากพนังออกทะเลทีก่ รณเี กิดอทุ กภัย 2.2 ขุดขยายคลองทา่ พญาพรอ้ มก่อสร้างประตรู ะบายน้ำ� รมิ ทะเลเพื่อระบายนำ�้ ออกอกี ทางหนึ่ง 2.3 ขุดลอกคลองบ้านกลาง คลองปากพนัง คลองหน้าโกฏิ พร้อมก่อสร้างประตูระบายน้�ำเสือร้อง (ก่อสรา้ งบริเวณบา้ นเสือหึง) และประตูระบายน�ำ้ หน้าโกฏิ เพื่อระบายน้�ำลงทะเลให้เรว็ ขนึ้ 2.4 ขดุ คลองระบายนำ้� ชะอวด-แพรกเมอื ง พรอ้ มกอ่ สรา้ งประตรู ะบายนำ�้ เพอื่ ชว่ ยระบายนำ้� ออกจาก พน้ื ท่ีโครงการฯ ลงสทู่ ะเลกรณีเกดิ อุทกภยั 3. ก�ำหนดแนวเขตให้ชัดเจนและเหมาะสมเพื่อแยกพ้ืนที่น�้ำจืดและพื้นท่ีน้�ำเค็มออกจากกันให้แน่นอน โดยกำ� หนดใหท้ ศิ ตะวนั ออกของคลองปากพนงั (คลองหวั ไทร) เปน็ พนื้ ทน่ี ำ�้ เคม็ โดยมอบใหก้ รมประมงกอ่ สรา้ งอาคาร บังคับนำ้� จดั ระบบชลประทานน�้ำเค็ม ทัง้ นใี้ หก้ รมชลประทาน กรมประมง ตลอดจนผ้เู กีย่ วขอ้ งร่วมกนั พจิ ารณาหา แนวเขตให้เหมาะสมท่ีสดุ 4. พื้นท่ีทางทิศตะวันตกของลุ่มน�้ำปากพนังเป็นเทือกเขาสูง ให้พิจารณาวางโครงการและก่อสร้าง อา่ งเกบ็ น�ำ้ หรอื ฝายทดนำ�้ เพ่อื ช่วยเหลอื พืน้ ท่ีการเกษตรเพือ่ การอปุ โภคบริโภค และช่วยบรรเทาอุทกภัย ในพนื้ ที่ ตอนล่าง ประโยชน์ของโครงการ 1. ป้องกันการรกุ ล้ำ� ของน้ำ� เค็มเข้าไปท�ำลายพ้ืนท่กี ารเกษตร 2. เก็บกักน้ำ� จืดไว้ในลำ� น้ำ� ปากพนังและล�ำน�้ำสาขาได้ประมาณ 70 ล้าน ลบ.ม. เพอ่ื การอุปโภคบรโิ ภค และการเพาะปลูกบรเิ วณสองฝั่งล�ำน�ำ้ ประมาณ 521,500 ไรใ่ นฤดูฝน และประมาณ 240,700 ไรใ่ นฤดแู ลง้ 3. คลองระบายน�้ำชว่ ยบรรเทาอุทกภยั เนื่องจากสามารถระบายน้�ำลงสู่ทะเลได้สะดวกและรวดเร็วขนึ้ 4. ขจัดปญั หาขดั แยง้ ระหว่างเกษตรนากุ้งและเกษตรกรนาข้าว เน่ืองจากมกี ารแบง่ เขตของการใชพ้ ้นื ที่ อย่างชัดเจน 5. ลดปญั หาการอพยพยา้ ยถนิ่ ฐานไปท�ำกินในถิน่ อ่นื 6. แมน่ ้�ำปากพนังและล�ำน้�ำสาขา เปน็ แหลง่ เพาะเล้ยี งและขยายพันธ์สุ ัตวน์ �้ำจืดไดเ้ ป็นอยา่ งดี 7. เพม่ิ พนู ผลผลติ การเกษตรหลากหลายและครบวงจร ทงั้ ทางดา้ นการเพาะปลกู การประมง ปศสุ ตั ว์ ฯลฯ ตลอดจนการพฒั นาอุตสาหกรรม 8. ยกระดบั มาตรฐานการครองชพี และความเปน็ อย่ขู องราษฎร 9. ฟน้ื ฟสู ภาพนเิ วศวทิ ยาใหก้ ลับคนื สู่สมดลุ 10. ลดปัญหาการน้ำ� เปรย้ี วและดินเปรยี้ ว เอกสารประกอบการเรยี น 175 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
โรงสีเก่าในสมยั รัชกาลท่ี 5 176 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
เรอ่ื งที่ 2 โครงการพฒั นาด้านสง่ิ แวดลอ้ ม โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ในจงั หวดั นครศรธี รรมราชโครงการพฒั นาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม จงั หวดั นครศรธี รรมราช มตี วั อยา่ งโครงการ ดงั นี้ 1. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าพรุควนเคร็ง (จัดท�ำฝายนํ้าล้นชั่วคราว) ต�ำบลเคร็ง อ�ำเภอชะอวด เม่อื วนั ท่ี 16 พฤศจิกายน 2545 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั เสด็จพระราชดำ� เนนิ ทอดพระเนตร โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกยี รติฯ ของบรษิ ัท ปตท.จำ� กัด (มหาชน) ในการนไี้ ดพ้ ระราชทานพระราชดำ� รกิ บั นายสวุ ทิ ย์ คณุ กติ ติ รองนายกรฐั มนตรี และคณะ ทอี่ ำ� เภอปราณบรุ ี จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ความสรปุ วา่ “ใหพ้ จิ ารณา ด�ำเนินการควบคุมระดับน�้ำในพรุควนเคร็งและพรุต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้เคียงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมเพ่ือไม่ให้เกิด ไฟไหมพ้ ร”ุ ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ 1. สามารถปอ้ งกนั และชะลอความรนุ แรงของการเกดิ ไฟปา่ ในพน้ื ทป่ี า่ พรคุ วนเครง็ เนอ้ื ที่ 109,656 ไร่ 2. สามารถช่วยลดผลกระทบจากปัญหาด้านไฟป่า ส่งผลให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมและประชาชน ในพนื้ ที่มคี ณุ ภาพชีวิตทดี่ ขี นึ้ ทีม่ า : http://km.rdpb.go.th/Project/View/7814 เอกสารประกอบการเรยี น 177 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
2. กอ่ สรา้ งฝายชะลอการไหลของนา้ํ ในพนื้ ทปี่ า่ พรุ ต�ำบลสวนหลวง อ�ำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าพรุควนเคร็ง (จัดท�ำฝายน�้ำล้นช่ัวคราว) ต�ำบลสวนหลวง อ�ำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวัดนครศรีธรรมราช เมอื่ วนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2545 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระเนตรโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ในการน้ีได้พระราชทานพระราชด�ำริกับนายสุวิทย์ คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรีและคณะท่ีอ�ำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ความสรุปว่า “ให้พิจารณาด�ำเนินการควบคุมระดับน้�ำในพรุควนเคร็งและพรุต่าง ๆ ท่ีอยู่ ใกล้เคยี งให้อยู่ในระดบั ที่เหมาะสมเพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ไฟไหมพ้ ร”ุ ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ ก่อให้เกิดประโยชน์แกร่ าษฎรจ�ำนวน 40 หมู่บ้าน 57,820 ครัวเรอื น 207,853 คน ไดม้ ีคณุ ภาพชวี ิต ที่ดีข้ึน และช่วยลดมลภาวะด้านควันไฟที่เกิดจากไฟป่าส่งผลให้สิ่งแวดล้อมมีสภาพท่ีดีข้ึน อีกท้ังช่วยอนุรักษ์ และปอ้ งกนั ดแู ลรกั ษาระบบนิเวศน์ในพ้นื ทีป่ ่าพรุควนเครง็ ใหค้ งความอุดมสมบูรณ์ต่อไป ทีม่ า : http://ourkingthai.com/pages/manu3-1.php?gid=6&pid=63&id=1696 178 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
เรื่องที่ 3 โครงการพัฒนาด้านสง่ เสริมอาชพี โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในจงั หวัดนครศรีธรรมราช โดยโครงการพฒั นาดา้ นสง่ เสรมิ อาชพี จังหวัดนครศรีธรรมราช มจี �ำนวน 1 โครงการ คอื 1. สง่ เสริมศิลปาชพี บ้านตรอกแค ต�ำบลขอนหาด อ�ำเภอชะอวด สถานท่ตี ้งั : หมู่ที่ 4 ตำ� บลขอนหาด อำ� เภอชะอวด จงั หวัดนครศรธี รรมราช เม่ือวันจันทร์ท่ี 7 ตุลาคม พ.ศ.2536 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้เสด็จฯ ทรงเยี่ยม ราษฎรในพื้นท่ีบ้านเนินธัมมัง ต�ำบลแม่เจ้าอยู่หัว อ�ำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีพระราชเสาวนีย์ ให้จัดตั้งโครงการศิลปาชีพบ้านเนินธัมมังขึ้น เพื่อส่งเสริม งานศิลปาชีพในพื้นท่ีและหมู่บ้านใกล้เคียง ได้ริเร่ิมจัดตั้ง กลุ่มทอผ้าเพ่ือเป็นอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ให้กับราษฎร และเพ่ืออนุรักษ์งานศิลปาชีพท้องถิ่นให้คงอยู่ ต่อมาได้มี พระราชเสาวนีย์ให้ก่อสร้างศาลาศิลปาชีพหลังใหม่ ในหมู่ท่ี 4 บ้านตรอกแค ต�ำบลขอนหาด อ�ำเภอชะอวด เพื่อฟื้นฟูการทอผ้าพ้ืนเมืองในภาคใต้ท่ีมีลักษณะเฉพาะ ของภาคใตอ้ ยู่เดิม ผลการด�ำเนนิ งาน มลู นธิ สิ ง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี และกองทพั ภาคท่ี 4 ไดร้ ว่ มกนั ดำ� เนนิ งานสนองพระราชดำ� ริ โดยกองพนั ทหาร ชา่ งที่ 402 คา่ ยอภยั บริรักษ์ ตำ� บลชุมพล กง่ิ อ�ำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพทั ลุง ได้ด�ำเนนิ การกอ่ สรา้ งอาคารศลิ ปาชีพ ตามพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ พร้อมถังเก็บน้�ำ ห้องน้�ำ แล้วเสร็จในปี 2539 และทางมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพได้ส่งเสริมให้สมาชิกทอผ้าไหม เพื่อให้เป็นเอกลักษณ์เมืองนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะผา้ ยกทองซง่ึ เปน็ ผ้าทีม่ ีความงดงาม และมีชือ่ เสยี งในอดตี และ เปิดใช้อาคารเมอื่ วนั ที่ 2 ตุลาคม 2542 เมื่อสมาชิกลุ่มทอผ้าสมัครเข้าร่วมโครงการศูนย์ศิลปาชีพบ้านตรอกแคแล้ว ได้มีการจัดส่งครูจากกองศิลปาชีพ สวนจติ รลดา และพระตำ� หนกั ทักษณิ ราชเวศน์มาเป็นวทิ ยากรฝกึ สอน พรอ้ มจัดอปุ กรณ์ฝึกอบรม ท่ีมา : http://km.rdpb.go.th/Project/View/8531 เอกสารประกอบการเรียน 179 รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ การดำ� เนนิ งานของกลุม่ ทอผ้า แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 สง่ ผา้ ทอให้กองศิลปาชพี สวนจติ รลดา โดยกองศิลปาชีพฯ จัดสง่ ฝ้ายมาแจกจา่ ยใหแ้ ก่ สมาชิกปีละประมาณ 2 - 3 ครั้ง เมื่อทอตามลายท่ีก�ำหนดแล้วเสร็จ ชุดประสานงานจะเป็นผู้รวบรวมผลิตภัณฑ์ ทงั้ หมดไปยงั กองศิลปาชพี ฯโดยมสี มาชิกเม่อื ทอผา้ ไดป้ ระมาณ 70-80 เมตร จะไดร้ บั ค่าตอบแทนเมตรละ 50 บาท ทำ� ให้สมาชกิ มีรายได้เฉลยี่ คนละ 3,500 - 4,000 บาท ประเภทที่ 2 เม่ือสมาชิกมีเวลาว่างจากการทอผ้ากองศิลปาชีพฯ แล้ว ได้รวมตัวเป็นสมาชิก กลุ่มทอผ้าเพื่อการจ�ำหน่าย โดยสมาชิกร่วมลงหุ้นซื้อไหมประดิษฐ์จากต�ำบลเกาะยอ จังหวัดสงขลา และยังได้รับ การสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลขอนหาด เพ่ือทอจ�ำหน่ายในเขตพ้ืนที่และจังหวัดใกล้เคียงราคา หลาละ 150 - 200 บาท สามารถสร้างรายไดเ้ พ่มิ ข้นึ เฉลี่ยคนละ 3,000 - 3,500 บาท ตอ่ เดอื น เรอ่ื งท่ี 4 โครงการพัฒนาด้านสวสั ดิการสงั คม/การศึกษา โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ� ริ ในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท่ี 9) ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม/การศึกษา จงั หวดั นครศรธี รรมราช มีตวั อย่างโครงการ ดังนี้ 1. โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาวงั โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาวัง ต้ังอยู่หมู่ท่ี 12 ต�ำบลหินตก อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ ดว้ ยสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานสิง่ ของแกค่ รู ตชด. ผูแ้ ทนนกั เรียน และพนั ธไุ์ มผ้ ลแกผ่ แู้ ทนชาวบ้าน และพระราชทานพระราชวโรกาสใหน้ ักเรยี นที่จบการศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 จากโรงเรยี น และไดร้ บั คดั เลอื กใหเ้ ปน็ นกั เรยี นในพระราชานเุ คราะหฯ์ เฝา้ ทลู ละอองพระบาท ทอดพระเนตรโครงการฝกึ อาชพี หอ้ งแสดงผลงานของนกั เรยี น การสาธติ การเรยี นการสอน หอ้ งเรยี น ชัน้ อนบุ าล หอ้ งสมดุ เรอื นพยาบาล หอ้ งเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ โครงการเกษตรเพ่อื อาหารกลางวนั กจิ กรรมสหกรณ์ นกั เรยี น การจัดทำ� อาหารเล้ียงนกั เรียน และห้องครัว ทรงเยยี่ มราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับเสด็จ รวมทั้งหนว่ ยแพทย์พระราชทาน และทรงรบั ผปู้ ว่ ยไว้เป็นคนไข้ ในพระราชานุเคราะห์ พร้อมกันนี้ได้พระราชทานเงินให้แก่โรงพยาบาลท่ีมาร่วมออกหน่วย เพื่อสมทบกองทุน สงเคราะหค์ นไขย้ ากจนในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี และทรงตดิ ตามการดำ� เนนิ งานโครงการ จดั การและส่งต่อผู้ปว่ ยในพระราชานุเคราะห์ฯ ที่จัดท�ำขึ้นเพ่ือช่วยเหลือคนไขใ้ ห้ไดร้ บั การรักษาอย่างตอ่ เนื่อง โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนบา้ นเขาวงั สงั กดั กองบญั ชาการตำ� รวจตระเวนชายแดนพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบ ของกองกำ� กบั การตำ� รวจตระเวนชายแดนท่ี 42 จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปดิ ทำ� การสอนตงั้ แต่ พ.ศ. 2539 โดยเปดิ สอน ตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับประถมศึกษา ปัจจุบันมีนักเรียน 81 คน เป็นชาย 42 คน หญิง 39 คน และมีครตู ำ� รวจตระเวนชายแดน 9 นาย 180 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
2. โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบา้ นควนมีชัย โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนบา้ นควนมชี ยั ตงั้ อยทู่ บี่ า้ นควนมชี ยั หมทู่ ี่ 8 ตำ� บลวงั อา่ ง อำ� เภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช เปิดเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2527 สังกัดกองร้อยต�ำรวจตระเวนชายแดนท่ี 422 กองก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดนท่ี 42 กองบังคับการ ต�ำรวจตระเวนชายแดนภาค 4 พื้นท่ีต้ังโรงเรียนเดิมเป็นที่ รกร้าง ห่างไกลและทุรกันดาร เดิมชื่อใสหญ้าคา เร่ิมมี ชาวบา้ นมาอาศยั ทำ� กนิ มากขนึ้ เดก็ ๆ กห็ า่ งไกลจากโรงเรยี น จึงมีการคิดริเริ่มสร้างโรงเรียน โดยมีนายเนียม สงทิพย์ และ นายเปรม รัตนมณี ซึ่งเป็นผู้น�ำชุมชนได้เดินทางไป รอ้ งขอตอ่ พ.ต.อ.สเุ ทพ สขุ สงวน ผกู้ ำ� กบั การตำ� รวจตระเวน ชายแดน เขต 8 ให้เปิดโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บ้านควนมีชัย โดยชาวบ้านบริจาคท่ีดิน จ�ำนวน 25 ไร่ อาคารหลงั แรกเปน็ อาคารเรยี นชวั่ คราว ขนาด 6 X 8 เมตร จำ� นวน 1 หลงั และเปดิ โรงเรยี นเมอ่ื วนั ที่ 23 สงิ หาคม 2527 เป็นปีแรกมีครู 3 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 จำ� นวน 14 คน โดยมี ส.ต.ท.สุวทิ ย์ หนูคลา้ ย เปน็ ครใู หญ่ ปี พ.ศ. 2528 วทิ ยาลยั ครูนครศรธี รรมราช (มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช) ร่วมกับกองก�ำกับ การต�ำรวจตระเวนชายแดน เขต 8 ไดส้ ร้างอาคาร ขนาด 8 X 32 เมตร เปน็ อาคารคอนกรีตคร่ึงไม้ อีก 1 หลงั ปี พ.ศ. 2529 ทางกองกำ� กบั การตำ� รวจตระเวนชายแดนไดแ้ ตง่ ตงั้ จ.ส.ต.ประจำ� ชว่ ยนาสงั ข์ เปน็ ครใู หญ่ และในปเี ดยี วกันนโี้ รงเรยี นไดข้ ยายชนั้ เรียนถงึ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปี พ.ศ. 2531 กองกำ� กับการต�ำรวจตระเวนชายแดนได้แต่งต้ัง จ.ส.ต.สมบรู ณ์ เพชรชำ� ลิ เปน็ ครใู หญ่ จนถึงปี พ.ศ.2532 ปี พ.ศ. 2532 - 2538 กองก�ำกับตระเวนชายแดนท่ี 42 ได้แต่ต้ัง ส.ต.อ.ธรานุชิต ไชยเดช โดย พ.ต.อ.พยอม ทิพย์มณี ผู้ก�ำกับการต�ำรวจตระเวนชายแดน ให้เป็นครูใหญ่โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บ้านควนมชี ัย ไดด้ �ำเนินการสรา้ งอาคารเรยี นมติ รมวลชน จนแลว้ เสรจ็ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2535 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จเย่ียม โรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดนบา้ นควนมชี ยั พระองคท์ รงปลกู “ตน้ ทำ� มงั ” จำ� นวน 1 ตน้ และทรงตรสั วา่ “ใหพ้ ฒั นา โรงเรยี นใหก้ า้ วหนา้ ย่ิง ๆ ขน้ึ ไป” และสรา้ งอาคารห้องเด็กอนบุ าล หอ้ งพยาบาล บ้านพักหอ้ งแถว คอกไก่ บอ่ ปลา ดกุ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานก่อสร้างฝายกัน้ น�้ำบรเิ วณหลังโรงเรยี น สร้างโดยชลประทานและได้ทรงปลูกไม้ผลกระท้อน ร่วมปลูกสวนป่ากับชุมชนในบริเวณพื้นที่ของโรงเรียนต�ำรวจ ตระเวนชายแดนบา้ นควนมชี ัย ปี พ.ศ. 2539 - 2540 กองกำ� กบั การตำ� รวจตระเวนชายแดนไดแ้ ตง่ ตงั้ ร.ต.ต.วรี ชยั สาระคำ� เปน็ ครใู หญ่ ปี พ.ศ. 2541 - 2553 ร.ต.ต.สมคดิ เจรญิ ฤทธ์ิ เป็นครใู หญ่ เอกสารประกอบการเรยี น 181 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
ปี พ.ศ. 2544 กองก�ำกับการตำ� รวจตระเวนชายแดน ได้แตง่ ต้ัง ร.ต.ต.สมพงษ์ ทองสขุ เปน็ ครูใหญ่ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านควนมีชัย และในปีน้ีทางมูลนิธิมิตรมวลชนร่วมกับคณะผู้ปกครองและครู ได้บรจิ าคเงินร่วมกนั สร้างอาคารโรงอาหาร ขนาด 8 x 20 เมตร 1 หลัง วันท่ี 9 ตุลาคม 2544 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเสด็จเยย่ี มโรงเรยี น ต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านควนมีชัย เป็นครง้ั ท่ี 2 ปี พ.ศ. 2545 กองกำ� กบั การตำ� รวจตระเวนชายแดน ไดแ้ ตง่ ตงั้ ร.ต.ท.สะอาด สงั ขท์ องจนี เปน็ ครใู หญ่ โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านควนมีชัย และในปีน้ี คุณสมศักด์ิ เมธา ได้บริจาคเงินสร้างอาคารขนาด 6 x 8 เมตร จำ� นวน 3 หลงั จำ� นวนเงนิ 360,000 บาท วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน พ.ศ.2550 สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 3 ไดย้ า้ ยและแตง่ ตงั้ ให้ นายสมศกั ดิ์ ศรอี ทุ ยั ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นวงั หอน มาดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน บ้านควนมีชัย วันที่ 19 ตุลาคม 2550 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเสดจ็ เย่ยี มโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบา้ นควนมชี ัย เปน็ ครั้งที่ 3 วนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2550 กองบญั ชาการตำ� รวจตระเวนชายแดน ไดโ้ อนโรงเรยี นตำ� รวจตระเวนชายแดน บา้ นควนมชี ยั ใหไ้ ปสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานสำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 3 กระทรวงศึกษาธกิ าร วันที่ 12 มกราคม 2553 ส�ำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 3 ไดย้ ้ายและแต่งตั้งให้ นายจรูญ เมืองเสน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยโส มาด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงเรียนตระเวนชายแดน บา้ นควน มชี ยั แทน นายสมศักด์ิ ศรอี ทุ ัย ซึ่งย้ายไปดำ� รงตำ� แหนง่ ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นบ้านดา่ น วันท่ี 15 ธันวาคม 2554 โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านควนมีชัย ว่างต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนเน่ืองจาก นายจรูญ เมืองเสน ย้ายไปดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบ้านพรุบัว และสำ� นักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 แต่งตั้งให้ นายถัด อินทร์นาค ครูช�ำนาญการโรงเรียนต�ำรวจ ตระเวนชายแดนบา้ นควนมีชัย รกั ษาราชการแทนผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดนบ้านควนมีชยั วันที่ 1 ธันวาคม 2557 ส�ำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 แต่งต้ังให้ ดาบตำ� รวจธรานชุ ติ ไชยเดช ครูชำ� นาญการพเิ ศษ โรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดนบ้านควนมชี ยั รกั ษาราชการแทน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบา้ นควนมีชยั จนถึงวนั ที่ 21 ธันวาคม 2559 สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชทาน เงินส่วนพระองค์ จ�ำนวน 1,000,000 บาท เพ่ือสร้างอาคารห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นอาคารห้องสมุดช้ันเดียว ขนาด 8 × 16 เมตร โดยเรมิ่ กอ่ สรา้ งเมอื่ วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2558 แลว้ เสรจ็ เมอ่ื วนั ที่ 11 มกราคม 2559 กอ่ สรา้ งโดยกองพนั ทหารชา่ งที่ 5 กองพลทหารราบที่ 5 คา่ ยเทพสตรศี รีสุนทรและประชานในพื้นที่ วันที่ 22 ธันวาคม 2559 ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครศรีธรรมราชได้แต่งตั้งให้ นางบุณยวรีย์ เศวตวงศส์ กลุ มาด�ำรงตำ� แหน่งผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบา้ นควนมีชัย จนถึงปัจจุบนั วันพุธท่ี 16 มกราคม 2562 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงตรวจเย่ียมการด�ำเนินงานของโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บ้านควนมีชยั หมูท่ ี่ 8 ตำ� บลวงั อ่าง อ�ำเภอชะอวด จังหวดั นครศรีธรรมราช การนนี้ ายลลติ ถนอมสิงห์ รองเลขาธกิ าร กปร. ตลอดจนขา้ ราชการที่เกี่ยวข้องเฝ้าฯ รบั เสด็จ 182 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
ท่มี า:https://data.boppobec.info/web/index_view_history.php?School_ID=1080210850&page=history เรื่องท่ี 5 โครงการพฒั นาด้านแบบบูรณาการและโครงการพฒั นาดา้ นอ่นื ๆ จังหวัดนครศรีธรรมราช “โครงการพัฒนาพืน้ ทีล่ ุ่มนำ้� ปากพนงั อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำ ริ” ความเปน็ มา ด้วยลุ่มน�้ำปากพนัง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ครอบคลุมพื้นท่ีรวม 13 อ�ำเภอ คือ พ้ืนที่ทั้งหมดของอ�ำเภอปากพนัง อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ พ้ืนท่ีบางส่วนของอ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพระพรหม และอ�ำเภอเมือง นครศรธี รรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช รวมทง้ั พ้นื ท่บี างส่วนของอำ� เภอควนขนนุ อ�ำเภอปา่ พะยอม จงั หวัดพทั ลุง และอ�ำเภอระโนด จงั หวดั สงขลา รวมพืน้ ท่ปี ระมาณ 1.9 ลา้ นไร่ เป็นพื้นท่ีนากวา่ 500,000 ไร่ มีประชากรประมาณ 600,000 คน เดิมลุ่มน้�ำแห่งน้ีเคยเป็นพ้ืนท่ีลุ่มที่มีความอุดมสมบูรณ์ ประชาชนประกอบอาชีพท�ำนา โดยอาศัยน้�ำ จากแมน่ ำ้� ปากพนงั ตอ่ มาเมอ่ื มปี ระชากรเพม่ิ ขนึ้ ทำ� ใหค้ วามตอ้ งการใชน้ ำ�้ มปี รมิ าณมากขน้ึ ดว้ ย แตป่ า่ ไม้ ตน้ นำ�้ ลำ� ธาร ลดจ�ำนวนลง ท�ำให้ปริมาณน้�ำท่ีไหลลงแม่น�้ำปากพนังและล�ำน�้ำสาขาในช่วงฤดูแล้งลดลงด้วย จากเดิมมีน้�ำจืด ใชป้ ีละ 8 - 9 เดอื น ลดลงเหลอื ปีละ 3 เดือนเทา่ นั้น และเนื่องจากลักษณะของแม่น�้ำปากพนังมีระดับท้องน�้ำอยู่ต่�ำกว่าระดับน�้ำทะเลและมีความลาดชันน้อย เมื่อน�้ำจืดทางด้านต้นน�้ำมีปริมาณน้อย ท�ำให้น�้ำเค็มสามารถรุกล�้ำเข้าไปในแม่น�้ำปากพนังและล�ำน�้ำสาขา เปน็ ระยะทางเกือบ 100 กิโลเมตร นอกจากน้ีตอนใต้ของล่มุ น�ำ้ ปากพนังยังมี “พรคุ วนเครง็ ” ซึง่ เป็นพน้ื ทลี่ มุ่ ขนาด ใหญ่ ประมาณ 200,000 ไร่ มนี ำ้� ทว่ มขงั ตลอดปี มสี ารไพไรทอ์ ยใู่ นชนั้ ดนิ ทำ� ใหด้ นิ มสี ภาพเปน็ กรด มปี ญั หานำ�้ เปรยี้ ว ราษฎรไม่สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรได้ รวมท้ังมีน�้ำเน่าเสียจากการท�ำนากุ้งไหลลงในล�ำน้�ำต่าง ๆ จนไมส่ ามารถน�ำไปใชใ้ นการเพาะปลูกได้ กลายเป็นขอ้ ขัดแย้งระหว่างชาวนาข้าวกบั ชาวนากงุ้ เอกสารประกอบการเรยี น 183 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
ปัญหาอุทกภัยจะเกิดข้ึนในฤดูฝนเน่ืองมีปริมาณฝนตกมาก แต่พื้นท่ีลุ่มน�้ำเป็นพ้ืนท่ีลุ่มราบแบน มีความลาดชันน้อย เม่อื เกดิ ช่วงน้ำ� ทะเลหนนุ สงู ทำ� ให้ระบายน้�ำออกสู่ทะเลได้ยาก เกดิ น�ำ้ ท่วมท�ำความเสียหายให้ แกพ่ ้ืนท่เี พาะปลูกและพน้ื ทีช่ ุมชนเมอื งเป็นบริเวณกวา้ ง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ 9) ไดพ้ ระราชทานพระราชดำ� รเิ กยี่ วกบั การแกไ้ ขปญั หาและการพฒั นาพน้ื ทล่ี มุ่ นำ้� ปากพนงั เพอื่ ชว่ ยเหลอื ราษฎรครง้ั แรก เมื่อเดอื นธันวาคม 2531 หลงั จากเกิดนำ�้ ทว่ มใหญใ่ นเดือนพฤศจิกายน คร้งั ตอ่ มาเม่ือวันที่ 9 และ 11 ตลุ าคม 2535 ณ สถานสี ูบน�ำ้ บ้านโคกกแู ว ต�ำบลพร่อน อ�ำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และสถานสี บู น้ำ� บ้านตอหลัง อำ� เภอตากใบ จงั หวดั นราธวิ าส พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 9 ไดพ้ ระราชทานพระราชดำ� ริ ใหก้ รมชลประทานพจิ ารณา กอ่ สรา้ งประตูระบายนำ�้ ปากพนงั ทีอ่ ำ� เภอปากพนัง จังหวดั นครศรธี รรมราช เพื่อป้องกนั น้�ำเคม็ รกุ ลำ�้ และเกบ็ กักน้ำ� จืด พร้อมกับการก่อสร้างระบบคลองระบายน้�ำเพ่ือบรรเทาปัญหาน้�ำท่วม และระบบกระจายน�้ำเพ่ือการเพาะปลูก ในพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนัง และคร้ังส�ำคัญที่สุดเม่ือวันท่ี 2 ตุลาคม 2536 ได้โปรด ให้คณะกรรมการบริหารโครงการ พฒั นาพ้ืนที่ลุ่มนำ�้ ปากพนงั อันเน่อื งมาจากพระราชด�ำริเขา้ เฝา้ ฯ ณ พระต�ำหนักทักษิณราชนเิ วศน์ ได้พระราชทาน พระราชด�ำริเพ่ิมเติมว่า “....ท�ำประตูน้�ำท่ีปากแม่น�้ำห่างจากอ�ำเภอปากพนัง ประมาณ 3 กิโลเมตร ก็พิจารณาว่า จะแก้ปัญหาท้ังหมด ซึ่งหมายความว่า เป็นกุญแจส�ำคัญของโครงการฯ จะแก้ไขปัญหาท้ังน�้ำแล้ง น้�ำท่วม น้�ำเค็ม และสามารถที่จะให้ประชาชนมีน�้ำบริโภคและน้�ำท�ำการเกษตร...แม้ว่าประตูน้�ำอันเดียวน้ีจะไม่แก้ไขปัญหาทั้งหมด ซงึ่ จะตอ้ งสรา้ งหรอื ทำ� โครงการตอ่ เนอื่ ง หากแตว่ า่ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการแกไ้ ขปญั หาทงั้ หมด จากอนั นี้ จะทำ� อะไร ๆ ไดท้ ุกอย่าง และแยกออกมาเป็นโครงการ ๆ.......” วัตถุประสงค์ กรมชลประทานด�ำเนินงานก่อสร้างโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้�ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มีวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีส�ำคญั เพอื่ แก้ไขและบรรเทาปญั หาในเรอ่ื งน�ำ้ ทเ่ี กดิ ข้นึ หลายประการ ดังน้ี 1. เพอื่ ปอ้ งกนั การรกุ ตวั ของนำ้� เคม็ ไมใ่ หไ้ หลเขา้ แมน่ ำ้� ปากพนงั และลำ� นำ้� สาขาในชว่ งฤดแู ลง้ ซงึ่ เกดิ จาก การสรา้ งประตูระบายน�้ำอุทกวภิ าชประสิทธิ และประตูระบายน�้ำอ่ืน ๆ ซ่ึงท�ำหน้าควบคุมและปอ้ งกันไมใ่ ห้นำ้� เค็ม รุกตัวเข้ามา จึงท�ำให้น้�ำในแม่นำ�้ ปากพนังช่วงเหนือประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสิทธิเป็นน�้ำจืดที่สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้ 2. เป็นแหล่งเก็บกักน�้ำจืดในช่วงฤดูฝนเพ่ือช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้�ำโดย สามารถจัดสรรให้ ใช้ในการอุปโภคบริโภค การเกษตรกรรมและเป็นแหล่งน้�ำดิบส�ำหรับผลิตน้�ำประปา รวมถึงการใช้น�้ำด้านอ่ืนๆ ในเขตพ้ืนที่โครงการ 3. สง่ น�้ำใหก้ บั พื้นท่ีเพาะปลกู สองฝง่ั ล�ำน้�ำประมาณ 521,500 ไร่ ในฤดฝู น และ 240,000 ไร่ ในฤดแู ลง้ 4. เพอ่ื บรรเทาปญั หาอทุ กภยั ในชว่ งฤดฝู นใหก้ บั พน้ื ทกี่ ารเกษตรและในบรเิ วณชมุ ชนเมอื ง โดยการพฒั นา สร้างแหล่งเก็บกักน้�ำบริเวณต้นน�้ำ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการก่อสร้างคลองระบายน�้ำสายต่าง ๆ จะสามารถช่วย ใหก้ ารระบายน้ำ� ในพ้ืนท่ีตา่ ง ๆ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพสูงขึน้ 5. เพื่อปรับปรุงระบบชลประทานเดิมและพัฒนาระบบชลประทานใหม่ให้สอดคล้องกับความต้องการ และปริมาณนำ้� จากแหล่งน�้ำจดื ทมี่ เี พิม่ มากขึน้ ท�ำใหส้ ามารถส่งน้ำ� ให้พ้ืนท่เี พาะปลูกไดม้ ากขนึ้ ดว้ ย 6. ขจัดปัญหาความขัดแย้งระหว่างเกษตรกรนากุ้งและเกษตรกรนาข้าว เนื่องจากมีการแบ่งเขตการใช้ พน้ื ทีอ่ ยา่ งชดั เจน 184 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
7. ลดปัญหาการอพยพย้ายถ่ินฐานไปท�ำมาหากินในทอ้ งถิ่นอ่นื 8. ท่ีส�ำคัญเพื่อปรับปรุงฐานะความเป็นอยู่ เศรษฐกิจและสังคมของราษฎรในพื้นที่ลุ่มน�้ำปากพนังให้ดี ข้ึน โดยมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยท่ีสดุ 9. ฟืน้ ฟสู ภาพนิเวศวิทยาให้กลับคืนส่ดู ุลยภาพ แนวทางการแก้ไขปญั หาตามแนวพระราชด�ำริ สรุปได้ดงั นี้ 1. เร่งด�ำเนินการก่อสร้างประตูระบายนำ�้ ปากพนังให้แล้วเสร็จโดยเร็วเพราะเป็นจุดเร่ิมต้นและเป็นงาน หลกั ในการแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนำ้� จืดเพื่อการเกษตรและการอปุ โภคบริโภค 2. การแก้ไขปัญหานำ้� ท่วมในพืน้ ทท่ี �ำกินของราษฎร ควรด�ำเนนิ การ ดงั น้ี 2.1 ขุดคลองระบายน�้ำฉุกเฉินพร้อมก่อสร้างอาคารควบคุมปากคลอง เพื่อระบายน้�ำจากแม่น้�ำ ปากพนังออกทะเลท่ีบริเวณหนา้ ประตรู ะบายนำ�้ ปากพนงั กรณเี กดิ อทุ กภยั 2.2 ขุดขยายคลองท่าพญาพรอ้ มกอ่ สร้างประตรู ะบายน�้ำรมิ ทะเล เพือ่ ระบายน้ำ� ออกอกี ทางหนง่ึ 2.3 ขุดลอกคลองบ้านกลาง คลองปากพนัง คลองหน้าโกฎิ พร้อมก่อสร้างประตูระบายน้�ำเสือร้อง (ก่อสรา้ งบรเิ วณบ้านเสอื หงึ ) และประตรู ะบายน�ำ้ หนา้ โกฎิ เพ่อื ระบายนำ�้ ลงทะเลให้เรว็ ข้ึน 2.4 ขุดคลองระบายน�้ำชะอวด-แพรกเมือง พร้อมก่อสร้างประตูระบายน้�ำ เพื่อช่วยระบายน้�ำ ออกจากพื้นท่โี ครงการฯ ลงสทู่ ะเล กรณเี กิดอทุ กภัยตามความเหมาะสม 3. ก�ำหนดแนวเขตให้ชัดเจนและเหมาะสม เพ่ือแยกพื้นท่ีน้�ำจืดและพื้นท่ีน้�ำเค็มออกจากกันให้แน่นอน โดยกำ� หนดใหท้ ศิ ตะวนั ออกของคลองปากพนงั (คลองหวั ไทร) เปน็ พน้ื ทน่ี ำ�้ เคม็ โดยมอบใหก้ รมประมงกอ่ สรา้ งอาคาร บังคับน�ำ้ จดั ระบบชลประทานน�้ำเค็ม ทัง้ นี้ ให้ กรมชลประทาน กรมประมง ตลอดจนผเู้ ก่ยี วขอ้ งรว่ มกันพจิ ารณา หาแนวเขตใหเ้ หมาะสมท่สี ดุ 4. พื้นท่ีทางทิศตะวันตกของลุ่มน�้ำปากพนังเป็นเทือกเขาสูง ให้พิจารณาวางโครงการและก่อสร้าง อ่างเก็บน�้ำหรือฝายทดน�้ำ เพื่อช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรเพ่ือการอุปโภคบริโภค และช่วยบรรเทาอุทกภัยในพ้ืนที่ ตอนลา่ ง ลักษณะโครงการ ในส่วนแผนงานกอ่ สรา้ งดา้ นชลประทานซง่ึ กรมชลประทานเป็นผูด้ �ำเนินการ ประกอบด้วย งานก่อสร้าง ประตูระบายน�้ำปากพนังและอาคารประกอบ งานก่อสร้างระบบระบายน�้ำ งานก่อสร้างคันแบ่งเขตน้�ำจืด-น�้ำเค็ม งานกอ่ สร้างระบบสง่ นำ�้ มีรายละเอียดลกั ษณะโครงการ ดงั น้ี งานก่อสรา้ งประตูระบายน�้ำอุทกวิภาชประสทิ ธ(ิ ปากพนัง) และอาคารประกอบ ประตูระบายน้�ำอุทกวิภาชประสิทธิ เป็นประตูน้�ำป้องกันน�้ำเค็ม สร้างที่บ้านบางปี้ ต�ำบลหูล่อง อ�ำเภอปากพนัง จงั หวดั นครศรีธรรมราช เปน็ อาคารคอนกรตี เสริมเหลก็ มีช่องระบายน�ำ้ รวม 10 ชอ่ ง ประกอบด้วย บานประตเู ดยี่ วสงู 9.0 เมตร กวา้ ง 20.0 เมตร จำ� นวน 6 ชอ่ ง บานระบายคู่ ความสงู บานบน 3.5 เมตร ความสงู บานลา่ ง 5.50 เมตร กว้าง 20.0 เมตร จำ� นวน 4 บาน สามารถระบายนำ�้ ได้ 1,426 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วินาที เพื่อปอ้ งกันน�ำ้ เคม็ รุกล้�ำพื้นท่ีเกษตรกรรมและเก็บน้�ำจืดไว้ในแม่น�้ำปากพนังและคลองสาขา เพ่ือการเกษตรและรักษาระดับน�้ำ ในแมน่ ้ำ� ปากพนงั ใหเ้ หนือชั้นสารไพไรทเ์ พอ่ื ป้องกนั น้�ำเปร้ยี ว เอกสารประกอบการเรยี น 185 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
ประตรู ะบายน�ำ้ ปากพนงั สว่ นประกอบของประตรู ะบายน�้ำ ไดแ้ ก่ ประตูระบายน้ำ� บนั ไดปลาและทางปลาลอด ซ่งึ อยูท่ ัง้ สองขา้ งของอาคารประตรู ะบายน�้ำ ส�ำหรบั ให้วงจรชวี ติ ของสตั วน์ ำ้� เป็นไปอย่างธรรมชาติ ประตูเรอื สญั จร กว้าง 6.0 เมตร ส�ำหรับให้เรอื และพาหนะทางน้�ำตา่ ง ๆ ผา่ นไปมาได้ ทำ� นบดนิ ปดิ กน้ั ล�ำน�้ำเดมิ ยาว 222 เมตร ระบบโทรมาตรอัตโนมัติ จ�ำนวน 31 แห่ง ส�ำหรับตรวจวัดสถานการณ์ของน�้ำในแม่น้�ำปากพนัง และลำ� น้�ำสาขา ซง่ึ จะใช้เปน็ ข้อมลู ในการจัดสรรการใชน้ ำ้� และบรรเทาอุทกภยั งานกอ่ สรา้ งระบบระบายนำ�้ ท�ำหนา้ ที่ระบายน้ำ� และป้องกันน�้ำเคม็ โดยก่อสร้างคลองระบายนำ้� เพ่ิมเตมิ พร้อมประตรู ะบายน้�ำ 3 แห่ง และขดุ ลอกขยายคลองเดมิ พรอ้ มกอ่ สรา้ งประตรู ะบายนำ้� 1 แหง่ รวม 4 แห่ง ประกอบดว้ ย คลองชะอวด-แพรกเมือง ขนาดก้นคลองกว้าง 150 เมตร ลึก 5 เมตร ยาวประมาณ 27 กิโลเมตร พร้อมกอ่ สร้างประตรู ะบายน�้ำ สามารถระบายนำ้� ได้ 540 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และคนั กันทรายยาว 300 เมตร คลองปากพนงั (หนา้ โกฎิ) ขนาดกน้ คลองกว้าง 100 เมตร ลึก 3.5 เมตร ยาวประมาณ 7.5 กิโลเมตร พร้อมก่อสร้างประตรู ะบายนำ้� คลองปากพนงั (เสอื หงึ ) สามารถระบายน้ำ� ได้ 350 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วินาที คลองบางโด-ทา่ พญา ขนาดกน้ คลองกวา้ ง 20 เมตร ลกึ 3 เมตร ยาวประมาณ 16 กโิ ลเมตร พรอ้ มกอ่ สรา้ ง ประตูระบายนำ�้ สามารถระบายน้�ำได้ 130 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วินาที คลองระบายนำ้� ฉกุ เฉนิ ขนาดกน้ คลองกวา้ ง 56 เมตร ลกึ 3.5 เมตรยาวประมาณ 5 กโิ ลเมตร พรอ้ มกอ่ สรา้ ง ประตูระบายน้�ำ สามารถระบายนำ้� ได้ 210 ลกู บาศก์เมตรต่อวินาที งานก่อสร้างคนั แบ่งเขตนำ้� จดื - นำ้� เคม็ เพื่อแบ่งพ้ืนที่ใช้ประโยชน์จากการพัฒนาให้ชัดเจน ย่ังยืน และประหยัด จึงใช้แนวถนนเดิมของ รพช. เป็นส่วนใหญ่ ห่างจากชายทะเลประมาณ 3 - 5 กิโลเมตร ทางด้านทิศตะวันออกเลียบถนนชายฝั่งทะเล และ ด้านทิศตะวันออก เฉียงเหนือของอ่าวปากพนัง เป็นระยะทางยาวประมาณ 91.5 กิโลเมตร ส่วนอาคารบังคับน�้ำ ตามแนวคันก้ันน้�ำ จ�ำนวน 23 แห่ง ด�ำเนินการโดยกรมชลประทาน โดยคันแบ่งดังกล่าว ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ประกาศใช้เปน็ กฎหมายเมอื่ วนั ที่ 12 เมษายน 2542 งานกอ่ สรา้ งระบบสง่ น้�ำ ปรับปรุงระบบชลประทานของโครงการสง่ นำ้� และบำ� รุงรกั ษาปากพนงั รวมพืน้ ที่ 480,000 ไร่ แบ่งเป็น ระบบส่งน้�ำแบบสูบน�้ำด้วยเครื่องสูบน�้ำขนาดเล็กของเกษตรกรเองในพื้นท่ี 439,100 ไร่ และระบบส่งน้�ำ ด้วยเคร่ืองสบู น�้ำขนาดใหญใ่ นเขตพ้ืนทีโ่ ครงการ รวม 2 แหง่ โดยกรมชลประทาน 40,900 ไร่ ก่อสร้างระบบชลประทานท้ายฝายไม้เสียบส่วนขยาย โดยก่อสร้างคลองส่งน้�ำและคลองระบายน้�ำขยาย ต่อจากระบบชลประทานฝายไม้เสียบเดมิ ทม่ี ี 35,000 ไร่ อีกจำ� นวน 24,000 ไร่ รวมเป็น 59,000 ไร่ 186 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
ประโยชนข์ องโครงการ 1. ปอ้ งกันการรุกล้�ำของน้�ำเค็มเข้าไปทำ� ลายพ้นื ทก่ี ารเกษตร 2. เก็บกักน้�ำจืดไว้ในล�ำน้�ำปากพนังและล�ำน้�ำสาขา ประมาณ 70 ล้านลูกบาศก์เมตร เพ่ือการอุปโภค บรโิ ภคและการเพาะปลกู บรเิ วณสองฝ่งั ล�ำน�้ำ ประมาณ 521,500 ไรใ่ นฤดฝู น และประมาณ 240,000 ไรใ่ นฤดูแล้ง 3. คลองระบายน�้ำช่วยลดพ้ืนที่ที่เคยเกิดอุทกภัย เนื่องจากสามารถระบายน�้ำลงสู่ทะเลได้สะดวก และรวดเรว็ ขนึ้ 4. ขจัดปัญหาระหว่างเกษตรกรนากุ้งและเกษตรกรนาข้าว เน่ืองจากมีการแบ่งเขตของการใช้พ้ืนที่ อย่างชดั เจน 5. ลดปัญหาการอพยพย้ายถ่ินฐานไปท�ำกินในถ่ินอน่ื 6. แมน่ ้�ำปากพนงั และล�ำนำ�้ สาขาจะกลายเปน็ แหล่งเพาะเลย้ี งและขยายพันธุส์ ัตวน์ �้ำจดื ไดเ้ ปน็ อย่างดี 7. เพมิ่ พนู ผลผลติ การเกษตรหลากหลายและครบวงจรทงั้ ทางดา้ นการเพาะปลกู การประมง ปศสุ ตั ว์ ฯลฯ ตลอดจนการพัฒนาอตุ สาหกรรม 8. ยกระดับมาตรฐานการครองชีพและความเปน็ อยขู่ องราษฎร 9. ฟน้ื ฟูสภาพนเิ วศวทิ ยาใหก้ ลบั คืนสดู่ ุลยภาพ 10. ลดปัญหาการเกิดน้ำ� เปร้ยี วและดนิ เปร้ียว ทมี่ า : http://web.rid.go.th/lproject/const/project/completed%20project/pakpanang/pakpanang.html เอกสารประกอบการเรียน 187 รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
กิจกรรมหนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 13 โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำรใิ นจังหวัดนครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามตอ่ ไปน้ีทุกข้อ 1. จงยกตัวอยา่ งโครงการพัฒนาด้านแหล่งน�ำ้ จงั หวัดนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 2 โครงการ ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… 2. จงยกตวั อยา่ งโครงการพัฒนาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม จงั หวัดนครศรธี รรมราช จ�ำนวน 2 โครงการ ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… 3. จงยกตวั อยา่ งโครงการพฒั นาด้านส่งเสริมอาชีพ จงั หวัดนครศรีธรรมราช จ�ำนวน 2 โครงการ ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… ………………………………………….......................……………………………………………………………………………………………… 188 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 14สถานการณแ์ ละการป้องกนั ปัญหาในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดท่ีมีประชากรมากที่สุดในภาคใต้ มีขนาดพ้ืนท่ีใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้รองจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็นจังหวัดแห่งการท่องเที่ยว ดังน้ันสถาการณ์และการป้องกันปัญหา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จึงมีความจ�ำเป็นในการพัฒนาเป็นอย่างมาก ข้อมูลทางด้านสภาพปัญหาสังคมในพ้ืนท่ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช จงึ เปน็ พนื้ ฐานในการดำ� เนนิ งานเพอื่ ใหก้ ารแกไ้ ขปญั หาสงั คมสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาสงั คม ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช การเรยี นรสู้ ภาพปญั หา ระดบั ความรนุ แรง การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั ถงึ สถานการณ์ ปญั หาในจงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ ทเี่ ราจะตอ้ งเรยี นรู้ เพอื่ ใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ นไมใ่ หเ้ ปน็ ตน้ เหตขุ องปญั หา ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชมุ ชน สงั คม และจงั หวดั นครศรธี รรมราช จะเปน็ การสง่ ผลใหจ้ งั หวดั นครศรธี รรมราชดำ� รงอยอู่ ยา่ งสงบสขุ เหมาะกบั การเปน็ เมอื งแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ตอ่ ไป เรือ่ งท่ี 1 ปญั หาขยะมูลฝอย จังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นจังหวัด ท่ีเต็มไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวด้านศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน และแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ซงึ่ สรา้ งรายไดใ้ หจ้ งั หวดั นบั หมน่ื ลา้ นบาทตอ่ ปี แตป่ จั จบุ นั จงั หวดั นครศรธี รรมราช ก�ำลังประสบปัญหาเร่ืองขยะมูลฝอย ซึ่งควรได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน เพ่ือไม่ให้ส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยว ของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ในอนาคตสถานการณด์ า้ นขยะในปี พ.ศ.2559 จงั หวดั นครศรธี รรมราช มอี งคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ (อปท.) ทมี่ กี ารใหบ้ รกิ ารจดั เกบ็ ขยะ จำ� นวน 177 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 63.6 จาก อปท. ทง้ั หมด 184 แหง่ ในจ�ำนวนนี้มี 34 แห่ง ที่มีสถานท่ีก�ำจัดขยะแต่มี อปท. เพียง 7 แห่ง ที่มีการก�ำจัดขยะถูกหลักสุขาภิบาล ส�ำหรับสถานการณ์ปริมาณขยะที่เกิดข้ึนในปี 2559 พบว่ามีจ�ำนวน 368,388 ตัน (ส�ำนักงานสถิติ จังหวัดนครศรีธรรมราช : 2559) ปริมาณขยะทเี่ กดิ ข้ึนในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ตงั้ แตป่ ี 2556 - 2559 ทม่ี า : ส�ำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัดนครศรธี รรมราช เอกสารประกอบการเรยี น 189 รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค23000123 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ที่มา : ส�ำนักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มจังหวดั นครศรีธรรมราช จัดท�ำโดย : สำ� นกั งานสถิติจังหวดั นครศรีธรรมราช 190 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
การปอ้ งกนั และแนวทางในการลดขยะมูลฝอย การป้องกันและแนวทางในการลดปัญหาขยะมูลฝอย ในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นการป้องกันและ ควบคุมการเพ่มิ ขึน้ ของปริมาณขยะมูลฝอย ซึ่งมองวา่ สาระส�ำคัญของการป้องกนั และแนวทางในการลดขยะมลู ฝอย ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จะต้องมีการด�ำเนินการใน ๒ ระดับ คือ ระดับครัวเรือน และระดับชุมชน โดยเน้นกระบวนการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมในชวี ติ ประจำ� วนั ของประชากรในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ระดับครัวเรือน เน้นกระบวนการบริหารจัดการขยะ โดยการน�ำหลักการจัดการขยะ 5R การลดการใช้ (Reduce) ใชซ้ ำ้� (Reuse) การรไี ซเคลิ (Recycle) การซอ่ มแซม (Repair) การหลกี เลย่ี งการใช้ (Reject) สรปุ รายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ลดการใช้ (Reduce) 1.1 ลดการขนขยะเขา้ บา้ นไมว่ า่ จะเปน็ ถงุ พลาสตกิ ถงุ กระดาษ กระดาษหอ่ ของ โฟม หรอื หนงั สอื พมิ พ์ เปน็ ตน้ 1.2 ใชผ้ ลติ ภณั ฑช์ นดิ เตมิ เชน่ นำ�้ ยาลา้ งจาน นำ�้ ยาปรบั ผา้ นมุ่ เครอ่ื งสำ� อาง สบเู่ หลว ถา่ นชนดิ ชารจ์ ได้ นำ�้ ยารีดผ้า น�ำ้ ยาท�ำความสะอาด ฯลฯ 1.3 ลดปริมาณขยะมลู ฝอยอนั ตรายในบ้าน หลีกเลีย่ งการใช้สารเคมีภายในบา้ น เช่น ยากำ� จดั แมลง หรือน�้ำยาท�ำความสะอาดต่าง ๆ ควรจะหันไปใช้วิธีการทางธรรมชาติ อาทิ ใช้เปลือกส้มแห้งน�ำมาเผาไล่ยุงหรือ ใช้ผลมะนาวเพื่อดบั กล่นิ ภายในห้องน้ำ� 1.4 พยายามหลีกเลี่ยงการใช้โฟมและพลาสติกซึ่งก�ำจัดยาก โดยใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าในการจับจ่าย ซื้อของใช้ป่นิ โตใสอ่ าหาร 2. ใช้ซ�้ำ (Reuse) 2.1 น�ำสิ่งของที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เช่น ถุงพลาสติกที่ไม่เปื้อนก็ให้เก็บไว้ใช้ใส่ของอีกคร้ังหน่ึง หรอื ใชเ้ ป็นถุงขยะในบ้าน 2.2 น�ำสิ่งของมาดัดแปลงให้ใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น การน�ำยางรถยนต์มาท�ำเก้าอี้ขวดพลาสติก กส็ ามารถนำ� มาดดั แปลงเป็นทใ่ี ส่ของ แจกนั การน�ำเศษผา้ มาท�ำเปลนอน เปน็ ต้น 2.3 การใช้กระดาษท้ังสองหนา้ 3. การรไี ซเคลิ (Recycle) การแปรสภาพและหมุนเวียนน�ำกลับมาใช้ได้ใหม่ โดยน�ำไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกคร้ัง เปน็ การน�ำวสั ดทุ ี่สามารถนำ� กลบั มาใช้ใหม่ได้ เชน่ กระดาษแกว้ พลาสตกิ เหล็ก อลูมิเนียม มาแปรรูปโดยกรรมวธิ ี ตา่ ง ๆ นอกจากจะเปน็ การลดปรมิ าณขยะมลู ฝอยแลว้ ยงั เปน็ การลดการใชพ้ ลงั งานและลดมลพษิ ทเ่ี กดิ กบั สงิ่ แวดลอ้ ม ซ่งึ เราสามารถท�ำไดโ้ ดย 3.1 คัดแยกขยะไซเคิลแต่ละประเภท ได้แก่ แกว้ กระดาษ พลาสตกิ โลหะ อโลหะ 3.2 นำ� ไปขาย / บรจิ าค / น�ำเข้าธนาคารขยะ / กจิ กรรมขยะแลกไข่ 3.3 ขยะเหลา่ น้กี ็จะเข้าสกู่ ระบวนการรไี ซเคลิ 4. การซ่อมแซม (Repair) เปน็ การซอ่ มแซมแกไ้ ขสิง่ ของต่าง ๆ ใหส้ ามารถใช้งานตอ่ ได้ 5. การหลีกเลี่ยงการใช้ (Reject) การหลกี เลี่ยงการใชส้ ิง่ ทีก่ ่อให้เกดิ มลพษิ เอกสารประกอบการเรยี น 191 รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค23000123 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219