Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20201123-Human4.0-published

20201123-Human4.0-published

Published by pawnin.chaiyabat, 2020-11-24 18:29:17

Description: 20201123-Human4.0-published

Search

Read the Text Version

HUMAN 4.0 ช นิ น ท ร เ พ็ ญ สู ต ร



Human 4.0 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนินทร เพ็ญสูตร ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม แผนงานคนไทย 4.0 สนับสนุนโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พฤศจิกายน 2563

เลขท่ีสัญญา 2562/ 6 - 24 Human 4.0 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนินทร เพ็ญสูตร คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม แผนงานคนไทย 4.0 สนับสนุนโดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

คำนำ ความสำคญั ของการเรียนรดู้ ้านการเป็นพลเมือง ถือเปน็ การเรยี นรู้ทรี่ ฐั ทัว่ โลกตา่ งให้ความสำคัญเป็นอยา่ งยง่ิ เพราะ เป็นการเรยี นรู้ท่ใี ช้ในการผลติ เยาวชนในรูปแบบตามทรี่ ฐั ต้องการ ไมว่ า่ รฐั น้ันจะมกี ารปกครองในรปู แบบใดก็ตาม ผเู้ ขียนมคี วามเชื่อวา่ การต้ังคำถาม การถกเถียง ท่ามกลางผคู้ นจำนวนหนงึ่ จะทำให้เราได้รับฟังความ คิดเห็นจากผูอ้ ืน่ มากข้ึน และโลกของเราก็กำลงั เปิดมากขึน้ ในขณะทีร่ บั ฟัง แน่นอนวา่ เราจะมีโอกาสในการ แสดงออกดว้ ยเช่นกนั ในสมัยที่ผ้เู ขียนเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทป่ี ระเทศสหรัฐอเมริกาเม่ือปี ค.ศ. 2002 - 2003 จำ ไดว้ ่า ในขณะท่ีกำลังนั่งเรียนวิชาภาษาองั กฤษอยนู่ ัน้ คณุ ครูได้ถามวา่ เราชอบแตง่ ตัวด้วยเสื้อผา้ สอี ะไร มีนักเรียน ผวิ สีคนหน่ึงรีบยกมอื ตอบวา่ “เพราะว่าฉนั เปน็ คนผวิ สี (African American) ฉันจึงต้องใส่เสอ้ื สสี ดๆ เพอ่ื ให้หน้าตา ของฉันดเู ด่นข้นึ มา” และแทบจะทนั ใดนั้นเอง มีนักเรียนหญิงอีกคนหนงึ่ ยกมอื ขน้ึ คณุ ครไู ดใ้ หโ้ อกาสเธอพูดต่อจาก เพ่ือน และเธอเองก็เป็นคนผวิ สเี ช่นกนั เธอบอกวา่ “ทำไมเราตอ้ งใส่เสื้อสสี ดๆ เพ่ือใหเ้ ราดเู ด่นล่ะ ทำไมการใส่เสอ้ื สี ดำสำหรับพวกเรามนั ถงึ ดแู ย่ และทำไมเวลาเราพูดถึงสดี ำ มนั รสู้ ึกเหมือนกับว่าสดี ำคือตัวแทนแห่งความช่ัวช้า และ สที ี่ดตี ้องเป็นสที ี่สดใส เช่น สขี าว และทำไมความขาวมนั ถึงเปน็ ตวั แทนของความดี ฉันคือคนผิวสี แตฉ่ ันไม่เช่อื วา่ ใส่ เสอ้ื สสี ดแล้วจะทำใหฉ้ ันดดู ขี ึ้น ไมว่ า่ เสื้อสอี ะไร ฉนั กส็ ามารถดดู ไี ด้ในรูปแบบที่ฉันเปน็ ” ทั้งห้องเรยี นเงยี บงันหลังจากคำตอบ รวมท้ังผเู้ ขียน แต่ผู้เขียนคดิ วา่ ณ ขณะนั้นเราตา่ งได้รบั คำตอบจากใน ใจทอ่ี ยู่กน้ บ้งึ ความคิดของเพือ่ นคนนเ้ี รยี บร้อยแลว้ แด่ Mr. Netter และ Class of 2004, Tara High School

สารบญั หน้า บทท่ี 1 ความหมาย นิยาม และแนวคิดเก่ยี วกบั การเปน็ พลเมอื ง 1 - ความหมาย – นิยาม ของความเป็นพลเมือง และแนวคดิ เก่ียวกับความเปน็ พลเมือง 1 - การได้มาซงึ่ ความเปน็ พลเมือง 5 - สรปุ 11 - คำถามท้ายบท 11 - กิจกรรม 11 - บทความเร่ือง Human Cyborg 4.0 12 - บทความเรื่อง การลี้ภยั : ทำไมเขาถึงเลอื กทจี่ ะหนี? 14 - บทความเร่ือง Memori สตาร์ทอัพด้านความตาย 16 - บทความเร่ือง โลกหลังยุค 4.0 18 บทที่ 2 การสรา้ งความตระหนักถงึ ปญั หารอบตัวทั้งในระดบั ท้องถน่ิ ประเทศ และนานาชาติ 20 - ปัญหารอบตัว– ปญั หาระดบั ท้องถ่นิ 21 - ปัญหาระดบั ประเทศ 32 - ปญั หาระดบั นานาชาติ 38 - สรุป 49 - คำถามทา้ ยบท 50 - กจิ กรรม 51 - บทความเรื่อง วา่ ดว้ ย Social Enterprise อยากจะเป็นกบั เขาตอ้ งสร้างรายได้ 53 - บทความเรื่อง #ความนา่ จะเรียน ไปเรยี นทำ Social Enterprise กนั เถอะ 55 - บทความเร่ือง ตปู้ นั สุขกับแรงจงู ใจในการบริจาค? 57 - บทความเรื่อง The People’s Supermarket 59 เม่อื คนไทยได้ร่วมเปน็ เจ้าของรา้ นซูเปอร์มารเ์ ก็ตในลอนดอน 61 - บทความเร่ือง Poverty, Inc. เม่อื เราถกู ฆ่าด้วยความสงสาร 63 - บทความเร่ือง เรายังโชคดีกวา่ คนเปน็ พนั ลา้ นบนโลก: คณุ ค่าของเงิน 175 บาท

- บทความเรื่อง Eatable City: เมืองกนิ ได้ หนา้ - บทความเรื่อง เร่ืองราวของ Olio สตาร์ทอัพกโู้ ลกผา่ นการกิน - บทความเรื่อง Green School: โลกสเี ขียวในบาหลี 65 - บทความเร่ือง Lush: งามอย่างสายกรนี 67 - บทความเรื่อง Hackathon เร็วกวา่ ไดพ้ ร้างาม 69 71 - บทความเรื่อง มหาวทิ ยาลัย จะไปทางไหนต่อ? 72 75 บทที่ 3 การเป็นพลเมืองกับการเรียนรแู้ ละการดำรงตนในพหุวัฒนธรรมและความหลากหลายทางสังคม 77 - ความหมายของคำวา่ พหวุ ัฒนธรรม 78 - ความยุตธิ รรมและการไม่เลอื กปฏบิ ัติ 79 - ความหลากหลายทางวัฒนธรรม 83 - ความหลากหลายทางศาสนา 86 - ความหลากหลายทางชนชาติ 90 - ความหลากหลายทางเพศ 93 - สรปุ 98 - คำถามทา้ ยบท 99 - กิจกรรม 100 - บทความเรื่อง ปี 2020 แลว้ ทำไมเรายังเหยียดสีผวิ กนั อยู่? 101 - บทความเรื่อง โครงการ Host Family สำหรบั นักศึกษาต่างชาติในสหราชอาณาจักร 104 - บทความเร่ือง Dignity Kitchen ครวั สรา้ งศกั ด์ศิ รีของคนสิงคโปร์ 106 - บทความเร่ือง Her เรารกั กันแบบไม่มตี ัวตนได้ไหม? 108 - บทความเร่ือง Mumbai Dabbawalas: อาหารกลางวันจากบา้ น สง่ ตรงถึงมอื คุณ 110 - บทความเรื่อง หัวเราะทัง้ น้ำตาไปกับวันจมูกแดง 112 - บทความเรื่อง เทยี่ วฟรี นอนฟรี ชวี ิตดีดีในยุคดจิ ิทัล 114 - บทความเรื่อง เดินทางไปดาวอังคารด้วยต๋ัวเท่ยี วเดียว 116

บทที่ 4 การสร้างทัศนคติเชงิ บวกเพื่อการแกไ้ ขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี หน้า - ทศั นคติเชงิ บวก 118 - ความรุนแรง - การแก้ไขปัญหาความขดั แย้งดว้ ยสนั ตวิ ิธี 119 - สรปุ 122 - คำถามทา้ ยบท 124 - กจิ กรรม 127 - บทความเร่ือง GoFundMe 127 - บทความเร่ือง Terrace House: เมอ่ื เรียลลติ ้ีโชวส์ ามารถฆ่าคนได้? 128 - บทความเร่ือง เมอื่ Podcast ทวงความยตุ ิธรรม / เพราะเขาอาจไมใ่ ชฆ่ าตกร? 129 131 134 บทท่ี 5 การแสดงออกทางการเมืองภายใต้กฎหมาย ระเบียบ และค่านยิ มของชุมชนและสงั คม 136 - พลเมือง 1.0 และ พลเมือง 2.0 137 - ความหมายของการมีส่วนรว่ มทางการเมอื ง 140 - การมีสว่ นร่วมทางการเมืองแบบออฟไลน์ 141 - การมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองในรปู แบบออนไลน์ 143 - การมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองทั้งแบบออฟไลนแ์ ละออนไลน์ 145 - ระดบั การมสี ว่ นร่วมทางการเมอื ง 146 - สรปุ 148 - คำถามทา้ ยบท 148 - กจิ กรรม 149 - บทความเรื่อง Democracy Voucher Program: คูปองประชาธิปไตยจากซีแอตเทิล 150 - บทความเร่ือง ศาสตราจารย์และนายกเทศมนตรีสตเิ ฟ่อื งแห่งเมืองโบโกตา 152 บทสรุป 154

แนวคำตอบทา้ ยบท หนา้ - แนวคำตอบท้ายบท : คำถามท้ายบทที่ 1 - แนวคำตอบทา้ ยบท : คำถามท้ายบทที่ 2 157 - แนวคำตอบทา้ ยบท : คำถามท้ายบทท่ี 3 159 - แนวคำตอบท้ายบท : คำถามท้ายบทที่ 4 163 - แนวคำตอบท้ายบท : คำถามท้ายบทท่ี 5 168 170 บรรณานกุ รม 172

สารบญั รูปภาพและตาราง หนา้ 28 รูปภาพท่ี 1: รปู ภาพของรถจักรยานยนตท์ ่จี อดบนทางเดินเท้า 28 รปู ภาพท่ี 2: รปู ภาพของรถจักรยานยนต์ท่ีจอดรถในบริเวณพ้ืนท่จี อดรถสำหรบั คนพิการ 45 รปู ภาพที่ 3: รปู ภาพของสลัมใน Kibera, กรุงไนโรบี ประเทศเคนยา 45 รูปภาพท่ี 4: รปู ภาพของสลัมในกรงุ มานลิ า, ประเทศฟลิ ปิ ปินส์ 84 รูปภาพท่ี 5: รูปภาพวฒั นธรรมการแต่งกาย 85 รูปภาพที่ 6: ภาพของ China Town ในเมือง Newcastle, ประเทศอังกฤษ 85 รูปภาพที่ 7: วฒั นธรรมอาหารในกรงุ อิสตนั บูล, ประเทศตรุ กี 89 รปู ภาพท่ี 8: ภาพหญิงสวม Hijab 89 รปู ภาพท่ี 9: ภาพหญงิ สวม Burka 91 รูปภาพท่ี 10: ภาพการสูญเสียพืน้ ท่ขี องชาวปาเลสไตนต์ ้ังแต่ ค.ศ. 1947 จนถึงปัจจบุ ัน 125 รปู ภาพที่ 11: ภาพกลุ่มชาวเยอรมนั ยนื ประท้วงหนา้ สถานทูตเกาหลี 138 รปู ภาพท่ี 12: ภาพชายชาวเยอรมนั ผตู้ ่อต้านฮิตเลอร์ 139 รปู ภาพท่ี 13: ภาพครูชาวเยอรมนั ถูก SA และ SS ทำการลงโทษ

สารบัญตาราง หนา้ 29 ตารางที่ 1: สถิตขิ องอุบตั ิเหตุการจราจรในประเทศไทย ปี 2007 – 2012 29 ตารางท่ี 2: สถิติของการเสยี ชวี ิตจากอุบตั ิเหตจุ ราจรต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2554 – 2559 33 ตารางที่ 3: ประเภทของสทิ ธิและสวสั ดิการของผู้สูงอายุ 93 ตารางที่ 4: ประเภทของเพศ

1 บทที่ 1 ความหมาย นิยาม และแนวคดิ เกี่ยวกับการเปน็ พลเมือง หวั ข้อ • ความหมาย - นิยาม ของความเป็นพลเมือง • แนวคดิ เกี่ยวกบั ความเปน็ พลเมอื ง วตั ถุประสงค์ • นักศกึ ษาสามารถเข้าใจถึงความหมายของความเปน็ พลเมืองในเบื้องต้นได้ • นักศกึ ษาสามารถเขา้ ใจในแนวคิดที่เกย่ี วข้องกับความเป็นพลเมอื ง เกร่ินนำ ในบทแรกของการเรียนวชิ าการเปน็ พลเมือง เราจะมาทำความเข้าใจกับความหมาย – นิยามของความเปน็ พลเมอื ง ทั้งน้ี คำว่าพลเมือง ย่อมจะมีความหมายท่แี ตกต่างจากคำวา่ ประชากร ซ่ึงเม่ือมกี ารอธบิ ายถึงประชากร มกั จะเป็นการอธบิ ายในลักษณะของสถิติ เช่น จำนวนประชากรที่อาศัยอยูใ่ นประเทศไทย จำนวนของประชากร ผู้สงู อายใุ นประเทศญี่ป่นุ แต่เมือ่ เราพูดถึงคำวา่ พลเมอื ง จะพบวา่ คำว่าพลเมืองมีขอบเขตท่แี คบมากกว่าคำวา่ ประชากร นน่ั เป็นเพราะวา่ ไมใ่ ชป่ ระชากรทุกคนท่จี ะได้รับสิทธิในการเปน็ พลเมอื ง นอกจากการเรยี นรู้ถึงความหมายของพลเมือง ในบทน้ีจะพดู ถงึ กฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ งกับความเป็นพลเมือง โดยตรง เชน่ การท่บี ุคคลคนหนง่ึ จะไดร้ ับมาซ่งึ ความเปน็ พลเมือง ต้องมีคณุ สมบตั หิ รือต้องผ่านเง่ือนไขใดบา้ ง ท้ังนี้ บริบททเ่ี ราจะศึกษากันในบทท่ี 1 จะเป็นการเปรยี บเทยี บถงึ กฎหมาย ข้อบัญญัติในการให้สทิ ธิการเปน็ พลเมืองที่ แตกต่างกันในแตล่ ะประเทศ อกี ประเด็นทส่ี ำคัญ คือ พัฒนาการของคำวา่ พลเมืองต้ังแตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จุบัน ถือเป็นประเด็นท่ีควรมี การศกึ ษา เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจถึงวิวฒั นาการของสทิ ธิ และการเปลีย่ นแปลงของมุมมองของรฐั ชนช้ันนำ ท่มี ตี ่อพลเมือง ความหมาย – นยิ าม ของความเปน็ พลเมือง และแนวคิดเกย่ี วกับความเปน็ พลเมือง คำว่า “ความเปน็ พลเมือง” หรือ “Citizenship” ตามคำจำกัดความของ T.H. Marshall (1950: 32) สามารถ ถกู แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ส่วนหลกั ด้วยกนั ได้แก่ บริบทของความเปน็ พลเมืองท่เี กย่ี วกบั พลเมอื ง (Civic), บริบทของ

2 ความเป็นพลเมืองที่เกย่ี วกับการเมอื ง (Political), และบรบิ ทของความเปน็ พลเมืองทเี่ กี่ยวกับสงั คม (Social) การ เป็นพลเมือง คือ การเปน็ สมาชิกในสงั คมเตม็ รูปแบบ ท่ีพงึ มสี ทิ ธิและความรับผิดชอบในด้านพลเมอื ง, ดา้ นการเมือง, และดา้ นสงั คม (Marshall, 1950; 1975; 1981 as cited in Yuval-Davis, 1991: 59) Hague & Harrop (2013:15) ไดน้ ยิ ามความหมายของพลเมืองเพิ่มเติมวา่ พลเมืองคือ สมาชิกเต็มรูปแบบของรฐั ท่มี ศี ักด์แิ ละ สิทธิในการได้รบั สถานภาพสมาชกิ ทเ่ี ท่าเทยี มกันภายใตส้ ังคมทางการเมืองของรัฐ ท้งั นี้ Hague & Harrop ไดร้ ะบุ ถงึ สถานภาพของความเปน็ พลเมอื งนั้นขน้ึ อยู่กับรัฐเป็นสำคญั โดยการเป็นพลเมืองน้นั จะมีหลกั ฐานเอกสารทยี่ นื ยัน ถงึ ความเปน็ พลเมืองของรฐั เช่น บตั รประจำตัวประชาชน หรือ พาสปอร์ต (Hague & Harrop, 2013:15) บรบิ ทของความเปน็ พลเมืองที่เก่ียวกับพลเมอื ง นยิ ามความหมายของความเป็นพลเมอื งกอปรดว้ ย เสรีภาพ ส่วนบุคคลและสิทธขิ ั้นพื้นฐานสว่ นบคุ คล กลา่ วคอื พลเมืองยอ่ มได้รับเสรีภาพและสทิ ธิขน้ั พน้ื ฐานส่วนบคุ คล ทงั้ นี้ ในภาษาไทย คำว่า สทิ ธิ และ เสรภี าพ มักเป็นคำที่มีการใช้คเู่ คียงกนั ไป จนอาจทำใหเ้ ข้าใจไดว้ ่า สิทธิ และ เสรีภาพ ตา่ งกม็ ีความหมายเหมอื นกัน อย่างไรก็ตาม พงษพ์ ิลยั วรรณราช ไดต้ ้ังข้อสังเกตไว้ว่า สิทธิ และเสรภี าพมี ความหมายที่แตกต่างกันหากพจิ ารณาจากนยิ ามความหมายทีร่ ะบุไว้ในรฐั ธรรมนญู (พงษ์พลิ ัย วรรณราช, ม.ป.ป.) จากการพิจารณาความหมายของสทิ ธแิ ละเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 พบว่า ตาม รฐั ธรรมนูญหมวดที่ 3 ว่าด้วย สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย สามารถแบ่งการใช้คำศัพท์ “สิทธ”ิ และ “เสรีภาพ” ออกเปน็ 2 กรณีหลกั คอื 1.) การเลือกใชค้ ำว่าสทิ ธแิ ละเสรีภาพร่วมกนั เช่น ในมาตราที่ 25 ระบุว่า “สิทธิและเสรีภาพของปวงชน ชาวไทย นอกจากท่ีบัญญัตคิ มุ้ ครองไวเ้ ปน็ การเฉพาะในรัฐธรรมนญู แลว้ การใดท่มี ไิ ดห้ ้ามหรอื จำกัดไวใ้ น รัฐธรรมนญู หรือในกฎหมายอื่น บคุ คลย่อมมีสทิ ธิและเสรีภาพทีจ่ ะทำการนน้ั ได้และไดร้ บั ความคุ้มครองตาม รฐั ธรรมนญู …” มาตราที่ 27 ระบวุ ่า “บุคคลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย มีสทิ ธิและเสรีภาพและไดร้ บั ความคุม้ ครอง ตามกฎหมายเท่าเทียมกนั ” และ มาตราที่ 28 ระบวุ ่า “บคุ คลย่อมมีสทิ ธิและเสรีภาพในชวี ิตและรา่ งกาย” (รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐, 2561: 7-8) 2.) การเลอื กใชค้ ำวา่ สทิ ธิ และ เสรภี าพ แยกออกจากกัน เช่น ในกรณขี องการเลือกใชค้ ำว่าสิทธิ ใน รัฐธรรมนูญ ถูกระบุไวใ้ นมาตรา 32 “บคุ คลย่อมมีสทิ ธิในความเปน็ อยูส่ ว่ นตวั เกยี รตยิ ศ ชอื่ เสยี ง และครอบครวั ” มาตรา 37 “บุคคลย่อมมีสิทธิในทรัพย์สนิ และการสบื มรดก” และในกรณีของการเลือกใชค้ ำวา่ เสรภี าพใน รฐั ธรรมนญู ถูกระบุไว้ในมาตรา 31 “บคุ คลยอ่ มมเี สรีภาพบริบรู ณใ์ นการถือศาสนาและยอ่ มมีเสรภี าพในการปฏิบัติ

3 หรอื ประกอบพิธกี รรมตามหลักศาสนาของตน...”1 มาตรา 34 “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ การ พดู การเขียน การพมิ พ์ การโฆษณา และการส่ือความหมายโดยวธิ อี ื่น การจำกดั เสรีภาพดังกล่าวจะทำมิได้ เวน้ แต่ โดยอาศยั อำนาจตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายทตี่ ราขนึ้ เฉพาะเพ่ือรักษาความมัน่ คงของรัฐ...” (รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐, 2561: 9-10) จากกรณีการเลอื กใชค้ ำว่า สทิ ธิ และ เสรภี าพ แยกออกจากกนั พบว่า คำวา่ สทิ ธิตามทใ่ี ชใ้ นรัฐธรรมนญู คือ สิ่งทีพ่ งึ มีเป็นลักษณะเฉพาะส่วนบคุ คล เช่น ช่ือเสียงสว่ นบคุ คล เกียรตยิ ศส่วนบุคคล ไม่มบี ุคคลอน่ื ใดสามารถขอ โอนใช้ชือ่ เสียงของเราไปเป็นของเขาได้ เชน่ เดียวกนั กับการมสี ทิ ธิในทรัพยส์ ินและการสบื มรดก ไมม่ บี คุ คลอนื่ ใด สามารถมสี ทิ ธิในทรพั ย์สนิ ของเราได้ และไม่มีบคุ คลใดสามารถรับมรดกแทนเราได้ หากเราไม่ยินยอม ในสว่ นของความหมายของคำว่าเสรภี าพน้ัน ไม่ไดเ้ ปน็ ไปในลักษณะเฉพาะสว่ นบคุ คล กล่าวคอื ไม่วา่ ใครก็ สามารถมีเสรภี าพในการนบั ถือศาสนาได้ และภายใตร้ ัฐธรรมนูญเดยี วกนั น้ี ไม่วา่ ใครกส็ ามารถเปลีย่ นการนับถือ จากศาสนาพทุ ธไปยังศาสนาอ่ืนได้ หรือ แมก้ ระทั่งเปลย่ี นจากศาสนาพทุ ธ ไปเปน็ ศาสนาคริสต์ และกลบั มานับถือ ศาสนาพุทธอีกคร้ัง ก็ยอ่ มสามารถทำได้ และไม่วา่ ใครก็สามารถมีเสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ในทส่ี าธารณะได้ บรบิ ทของความเป็นพลเมืองทเ่ี กี่ยวกับการเมือง นิยามความหมายของความเป็นพลเมอื งกอปรด้วย สิทธิ ในการมสี ว่ นร่วมทางการเมือง กลา่ วคือ พลเมืองจะมสี ิทธใิ นการมสี ว่ นร่วมทางการเมือง ในประเด็นของการมสี ่วน รว่ มทางการเมืองน้ี พลเมืองสามารถมสี ่วนรว่ มทางการเมืองในแบบ passive หรอื ผตู้ อบรับ และแบบ active หรือ ผู้มสี ่วนร่วม ท้ังน้ี นิยามของพลเมอื งที่มีสว่ นร่วมทางการเมอื งแบบ passive หมายถึง การมีส่วนร่วมทางการเมือง ตามกจิ กรรมทภี่ าครัฐไดจ้ ดั ให้มีส่วนร่วมอย่างเปน็ ทางการ โดยผู้มีส่วนรว่ มทางการเมอื งแบบ passive จะไม่ได้ แสดงออกซึ่งความคิดเห็นใดนอกเหนือไปจากการทำตามข้อแนะนำของภาครัฐ เช่น การใชส้ ทิ ธิของตนไป ลงคะแนนเลือกตั้ง ทัง้ นี้ ผู้ไปใชส้ ิทธิในการเลอื กตง้ั เพยี งแต่ตอ้ งเดนิ ทางไปทหี่ นว่ ยเลือกตั้งและทำการเลือกตั้งตาม กฎ กติกาท่ภี าครัฐไดร้ ะบุไว้ เช่น กากบาทลงในบัตรเลือกต้ัง หรือ ใส่หมายเลขผสู้ มัครท่ีตนเองต้องการลงไปในบัตร เลอื กต้ัง ผู้มีส่วนร่วมทางการเมืองแบบ passive จะไม่ได้มีส่วนรว่ มทางการเมืองที่อยู่นอกเหนือไปจากการใชส้ ทิ ธทิ ี่ พงึ มีของตนเอง สำหรับผู้มสี ่วนร่วมทางการเมืองแบบ active จะเปน็ ผู้มสี ว่ นร่วมทางการเมืองที่มคี วามกระตือรอื รน้ มากกวา่ ผมู้ สี ว่ นร่วมทางการเมืองแบบ passive อยา่ งเหน็ ได้ชัด โดยการเข้าไปมีสว่ นร่วมทางการเมอื งแบบพลเมอื ง 1 ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ในมาตราที่ 31 มกี ารใชค้ ำวา่ “ถือศาสนา” แทนคำวา่ “นบั ถอื ศาสนา”

4 แบบ active ไม่ได้เกดิ เพยี งจากการทำตามกิจกรรมทภ่ี าครฐั จดั ใหแ้ ตเ่ พยี งเท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึงกจิ กรรมทาง การเมืองที่พลเมืองแบบ active จดั ขึ้นเอง หรือไปเข้าร่วมทำกิจกรรมกับหนว่ ยงานภาคเอกชน NGOs เข้าร่วม กิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐ ทีอ่ ย่นู อกเหนอื ไปจากกจิ กรรมทีจ่ ัดขน้ึ อยา่ งเป็นประจำ ยกตวั อยา่ งเชน่ พลเมือง active เข้าร่วมกจิ กรรมทางการเมอื งผา่ นการเดนิ ประท้วงเรยี กรอ้ งให้ภาครฐั ขึน้ ค่าแรง จัดต้งั กล่มุ ผลประโยชน์ของ ตนเองและเรยี กร้องให้มสี มาชกิ มาเข้าร่วม เช่น กลุ่มรณรงค์การแตง่ งานเพศเดียวกนั แบบเสรี โดยมีเป้าประสงค์คอื ให้ภาครัฐเปลีย่ นแปลงขอ้ บัญญตั ิทางกฎหมาย เข้ารว่ มทำกจิ กรรมทางการเมืองกับกล่มุ NGOs เชน่ รณรงค์ให้ ยกเลกิ การสร้างเขื่อนร่วมกับกลุม่ Green Peace เข้ารว่ มประชมุ กับรัฐบาลในฐานะตัวแทนประชาชน การเขา้ ไป เป็นส่วนหนง่ึ ของกระบวนการเลอื กต้งั โดยเข้าไปเป็นผสู้ มัครรับเลอื กตั้ง ตรวจสอบการทำงานของรฐั บาลท้องถิน่ ผ่านการขอพิจารณางบประมาณรฐั บาลทอ้ งถิน่ ท่มี ีการใช้ในแต่ละปีงบประมาณ บรบิ ทของความเปน็ พลเมอื งท่เี กี่ยวกับสังคม นยิ ามความหมายของความเปน็ พลเมืองกอปรดว้ ย สทิ ธิใน การไดร้ ับสวัสดิการจากภาครัฐ ท้งั สวัสดิการทางด้าน เศรษฐกิจ การรักษาความปลอดภัย การศกึ ษา และ สงั คม ใน บรบิ ทของความเปน็ พลเมืองทีเ่ ก่ียวกบั สงั คม Marshall (1950: 30) ให้ความเหน็ เอาไวว้ ่า มคี วามหมายทีค่ รอบคลมุ อย่างกวา้ งขวาง ไมเ่ ฉพาะในประเดน็ ของการมีสิทธใิ นการไดร้ ับสวสั ดกิ ารจากภาครัฐในทกุ ด้าน แต่ยังครอบคลมุ ไป ถึง สทิ ธใิ นการใชช้ วี ติ ตามมาตรฐานทว่ั ไปของสังคม สิทธใิ นการแสดงออกตามขนบธรรมเนยี มวัฒนธรรมประเพณี ของตนเองแก่สงั คม ในบรบิ ทของความเปน็ พลเมืองทเี่ ก่ยี วกับสังคม บทความเร่ือง คุณภาพแห่งชีวติ ปฏิทนิ แหง่ ความหวงั จาก ครรภ์มารดาถงึ เชงิ ตะกอน โดย ปว๋ ย อ๊งึ ภากรณ์ ได้เขียนถึงสทิ ธิทางสังคมที่พึงมีในอุดมคตขิ องประชาชนไทย ตัวอย่างส่วนหน่งึ ของบทความน้ี ไดแ้ ก่ “...บา้ นเมืองที่ผมอาศยั อยู่ จะต้องมีขื่อมีแป ไมม่ กี ารข่มขู่ กดข่ี หรอื ประทุษร้ายกนั ... ผมตอ้ งการสขุ ภาพอนามยั อนั ดี และรัฐบาลจะต้องใหบ้ ริการปอ้ งกนั โรคแก่ผมอยา่ งฟรีกับ บรกิ ารการแพทย์ รักษาพยาบาลอยา่ งถกู อยา่ งดี เจบ็ ป่วยเม่อื ใด หาหมอหาพยาบาลได้สะดวก... เมือ่ จะตาย ก็ขออย่าใหต้ ายอยา่ งโงๆ่ อยา่ งบา้ ๆ คือ ตายในสงครามทคี่ นอนื่ ก่อใหเ้ กดิ ข้นึ ตายใน สงครามกลางเมือง ตายเพราะอุบตั ิเหตรุ ถยนต์ ตายเพราะน้ำหรอื อากาศเปน็ พษิ หรือตายเพราะ การเมอื งเป็นพิษ...ผมตอ้ งการโอกาสที่มสี ่วนในสังคมรอบตัว ผมต้องการมสี ่วนในการวนิ จิ ฉยั โชคชะตาทางการเมืองเศรษฐกจิ และสังคมของชาต.ิ .” (ป๋วย อ๊ึงภากรณ์, 2530)

5 จะเหน็ ไดว้ า่ จากงานเขียนของป๋วย (2530) เนน้ การเขียนถึงสิทธอิ ันพงึ มีของพลเมืองในบรบิ ททางสังคม เป็นหลกั โดยเปน็ การกล่าวถึงสวัสดิการทางสังคมขั้นพ้นื ฐานทีภ่ าครัฐควรจะให้แกพ่ ลเมอื ง เชน่ สทิ ธิในการไดร้ บั การบรกิ ารทางการแพทย์ สทิ ธิในการได้รบั การรกั ษาความปลอดภัยในทรัพย์สนิ และชีวิต ในงานเขียนของป๋วย ได้ กลา่ วไวอ้ ย่างชัดเจนวา่ ไม่เพยี งแต่การรอรับสทิ ธทิ ี่พงึ ได้รับจากภาครฐั แต่เพียงเทา่ นน้ั พลเมืองยงั มหี นา้ ทค่ี วาม รับผิดชอบในการเสยี ภาษีให้แก่รัฐ เพอื่ ให้รฐั นำเอาภาษีไปใช้ให้เกดิ ประโยชนแ์ กส่ งั คม โดยสรุปแลว้ การเป็นพลเมืองประกอบไปดว้ ย 3 ส่วนหลกั คือ บรบิ ทความเป็นพลเมืองทเี่ ก่ยี วกบั สทิ ธิ พลเมอื ง สทิ ธิทางการเมือง และสทิ ธทิ างสังคม ท้ังนี้ เราสามารถทำความเขา้ ใจถงึ สิทธิพลเมืองขัน้ พนื้ ฐานได้ผา่ น ทางรัฐธรรมนูญ ในสว่ นของสิทธิทางการเมือง สามารถแบ่ง พลเมืองออกได้เป็น 2 รปู แบบหลัก คือพลเมอื งแบบ passive และ พลเมืองแบบ active โดยการแบ่งประเภทของพลเมือง ผใู้ ชส้ ทิ ธทิ างการเมือง แบง่ จากความ กระตือรือรน้ ทางการมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองของพลเมืองแต่ละบคุ คล ในสว่ นของสิทธิทางสงั คม มีระดับในการ ครอบคลุมสทิ ธทิ ก่ี วา้ ง ไดแ้ ก่ การได้รบั สวัสดิการทางเศรษฐกิจและสังคมจากภาครัฐ และสิทธใิ นการใชช้ วี ิตตาม มาตรฐานของสงั คม จากความหมายของ Marshall (1950) ได้ระบถุ งึ ความเป็นพลเมอื งไว้อย่างกวา้ งๆ คอื ไม่ได้พูด ถงึ การเป็นพลเมืองภายใต้รัฐ ในขณะที่ Hague และ Harrop (2013) ไดเ้ นน้ ไปทกี่ ารเป็นพลเมืองของรฐั คือ หาก ปราศจากการรบั รองโดยรัฐ บคุ คลนั้นๆย่อมไมม่ ีสทิ ธิในการเป็นพลเมอื งของรฐั และไม่มีสิทธิทจ่ี ะไดร้ ับสวสั ดิการ หรอื ผลประโยชน์จากรฐั ไดเ้ ทียบเทา่ กบั บุคคลที่ดำรงสถานะพลเมืองของรฐั การไดม้ าซงึ่ ความเปน็ พลเมือง การกำเนดิ ขึ้นของการได้สิทธิมาซง่ึ ความเป็นพลเมืองเริ่มต้นในนครรัฐกรีกโบราณ พลเมอื งของนครรัฐ เอเธนส์ ประกอบไปด้วย ผชู้ ายชาวเอเธนส์ ไมม่ ีการนบั รวมเอาสตรแี ละทาสเปน็ พลเมือง สาเหตุเพราะสตรีและทาส ไม่มสี ทิ ธิในการเข้าร่วมประชุมในสภา ไม่มีสิทธใิ นการโหวต และ ไมม่ ีสทิ ธิในการเป็นทหาร (Che, 2017: 97-98) ทง้ั น้ี การถูกจำกัดสทิ ธิในการแสดงออกทางการเมอื งส่งผลให้ สตรีและทาส ไม่ถูกนับสถานะให้เป็นพลเมืองเต็ม รูปแบบของนครรัฐ ในสมัยจกั รวรรดโิ รมนั สังคมไดถ้ ูกแบ่งออกเป็นชนชัน้ อย่างชัดเจน ได้แก่ สงั คมชนชั้นบน และสงั คมชนช้นั ล่าง ทัง้ นี้ บคุ คลทจ่ี ัดอยูใ่ นสังคมชนชัน้ บน ไดแ้ ก่ “จักรพรรดิ, สมาชกิ สภาสูง, ทหาร, เจา้ หนา้ ทฝ่ี ่ายปกครอง, ผู้ พิพากษา, สมาชกิ สภาเมือง, และ นักบวช” (Knapp, 2011: 5) สงั คมชนชัน้ ลา่ งคือ บุคคลอื่นๆท่ีไมไ่ ด้ถกู จดั อยใู่ น สังคมชนชั้นบน การจัดบคุ คลตามสถานะทางสงั คมเศรษฐกิจพบว่า มชี นชัน้ บนอยู่เพยี ง ประมาณร้อยละ 0.5

6 ในขณะท่ี ประมาณร้อยละ 99.5 จดั เป็นชนชัน้ ล่าง (Knapp, 2011: 5-6) บทบาทของสตรีโรมัน มีสถานะไมต่ ่างจาก สตรเี อเธนส์ คอื มหี นา้ ทด่ี แู ลความเรียบร้อยภายในเคหสถานของตน และไม่มบี ทบาทอื่นใดในทางการเมือง โดยมี ความเชอ่ื ว่า พระเจา้ ได้จดั สรรแบง่ หนา้ ท่ขี องผู้ชายและผู้หญิงให้แยกออกจากกัน โดยผหู้ ญิงมีหน้าทีภ่ ายในบ้าน ในขณะทีผ่ ู้ชายมหี น้าที่ความรับผิดชอบนอกบ้านท้ังหมด (Chrysostorm as cited in Knapp, 2011: 53) ตามหลกั กฎหมาย พบว่า สามารถแบง่ การได้รบั รองสัญชาตขิ องบุคคลจากรัฐตามการกำเนดิ ออกเปน็ 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1. Jus soli หมายถงึ การเกดิ ภายในดนิ แดนของประเทศหน่ึงๆ ในรปู แบบ jus soli บุคคลยอ่ มไดส้ ัญชาตโิ ดย ยึดหลักดินแดนที่เกิดเปน็ สำคัญ (Scott, 1930: 58) 2. Jus sanguinis หมายถึง การสืบสนั ดานโลหิต ในรูปแบบ jus sanguinis บุคคลยอ่ มได้สัญชาติผา่ นการ สบื สายโลหติ (Scott, 1930: 58) ท้ังนี้ การไดร้ ับสญั ชาติในรัฐใดรฐั หนง่ึ อาจใช้หลกั jus soli เป็นหลกั หรือ ใช้ jus sanguinis เปน็ หลกั หรือ ใช้ทงั้ jus soli และ jus sanguinis ในประเทศฝรั่งเศส การได้รับสทิ ธใิ นการเป็นพลเมอื งยึดหลกั jus soli โดยเด็กท่เี กิดในประเทศฝรัง่ เศสจะ ไดส้ ทิ ธใิ นการเป็นพลเมืองฝร่ังเศสถึงแม้จะไม่มบี ดิ ามารดา หรือ บิดามารดาเป็นบุคคลไร้สญั ชาติ หรือ เกิดใน ประเทศฝรั่งเศสโดยมีบดิ าหรือมารดาอย่างน้อยคนใดคนหนึ่งเกดิ ในฝร่ังเศสจะไดร้ บั สิทธิในการเปน็ พลเมืองฝรง่ั เศส (The Law Library of Congress, 2012: 1) กรณีของประเทศเยอรมนี การได้รบั สทิ ธใิ นการเป็นพลเมืองยึดหลัก jus sanguinis เป็นหลกั กรณีทีจ่ ะ ได้รบั สทิ ธิความเปน็ พลเมืองเยอรมัน บุตรจะต้องเกดิ จากผปู้ กครองที่เปน็ เยอรมัน สำหรบั กรณีอนื่ ๆ เด็กจะไดร้ บั สทิ ธิในการเป็นพลเมอื งเยอรมันตอ่ เม่ือ บิดาหรอื มารดามีถิ่นที่พกั อาศัยประจำอย่ใู นประเทศเยอรมนีเปน็ ระยะเวลา อยา่ งน้อย 8 ปี นอกจากนี้ บิดาหรือมารดาจะต้องมีใบอนญุ าตให้สามารถอยู่อาศยั ในเยอรมนหี รือประเทศใน สหภาพยโุ รปแบบถาวร หรอื เปน็ พลเมอื งของประเทศสมาชกิ สหภาพยโุ รป (The Law Library of Congress, 2012: 1-2) กรณขี องประเทศกรซี การได้รับสิทธิในการเปน็ พลเมืองยึดทัง้ หลกั jus soli และ jus sanguinis โดย เดก็ จะได้รับสิทธใิ นการเปน็ พลเมืองประเทศกรซี เม่ือ 1.) มบี ิดาหรอื มารดาเป็นคนกรีก (ยึดหลกั jus sanguinis) 2.) เด็ก เกิดในกรีซโดยบิดาหรอื มารดาเกดิ ในประเทศกรีซและอาศัยอย่เู ป็นการถาวรในประเทศกรีซ หรอื เดก็ เกดิ ใน

7 ประเทศกรซี โดยไม่ได้ถอื สัญชาติอืน่ ใด หรอื เด็กถือกำเนิดในกรีซโดยไม่มีสญั ชาติ (ยึดหลัก jus soli) (The Law Library of Congress, 2012: 2) นอกเหนือไปจากการได้มาซ่งึ เปน็ พลเมืองโดยการเกิดแลว้ บุคคลย่อมสามารถเปน็ พลเมืองของรฐั ใดรัฐ หนง่ึ ผา่ นเงอื่ นไขอนื่ ๆ เชน่ 1. การแปลงสัญชาติ หรอื การโอนสญั ชาติ (Naturalization) Naturalization คอื กระบวนการท่ีภาครฐั ได้มอบสัญชาติใหแ้ ก่พลเมอื งต่างชาติ หรือ มอบสญั ชาติ ให้กบั บคุ คลท่แี ตเ่ ดิมไมไ่ ด้รบั สญั ชาติของรฐั นนั้ ๆมาตั้งแต่กำเนิด โดยการมอบสญั ชาตใิ หจ้ ะกระทำ ตอ่ เม่ือบุคคลดังกลา่ วมีคุณสมบตั ิครบตามข้อกำหนดของรฐั 2 โดยปกตแิ ลว้ Naturalization จะเกดิ ข้ึน หลงั จากทพ่ี ลเมืองต่างชาตไิ ด้อยู่อาศยั ในรฐั จนได้รบั สทิ ธิให้เป็น Permanent Resident หรือ สทิ ธิ สามารถอยู่อาศัยภายในรฐั ได้อยา่ งถาวร แตย่ ังไม่ได้รับสิทธเิ ทยี บเทา่ พลเมอื ง หลังจากการได้ดำรง สทิ ธิ Permanent Resident มาจนครบระยะเวลาทก่ี ำหนด บคุ คลดงั กลา่ วมสี ทิ ธิในการขอสัญชาติ เปน็ พลเมืองของรัฐได้ 2. การแต่งงาน (Marriage) การแตง่ งาน ถือเป็นอีกวิธีการหน่ึงทีส่ ามารถให้บุคคลมสี ิทธใิ นการไดร้ ับสัญชาติตามคู่สมรส ในทาง ปฏิบัติ มีบคุ คลตา่ งชาติสมรสเพอ่ื ให้ไดม้ าซ่งึ สัญชาติ เกิดเปน็ ธรุ กิจรับจ้างสมรสโดยสามารถเลือกคู่ สมรสผา่ นนายหนา้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา หากพบวา่ มกี ารสมรสหลอกเพื่อให้ได้มาซ่ึงสิทธิในการ อย่อู าศยั ในประเทศ จะต้องถูกดำเนนิ คดี และท่ผี ่านมามีเหตุการณท์ ี่มีผู้ถกู ดำเนนิ คดีจากการรบั จา้ ง อำนวยความสะดวกในการสมรสหลอกให้แก่ผู้ทต่ี อ้ งการเขา้ มายงั ประเทศ (Cai, 2016) 3. การลงทนุ ซื้อความเป็นพลเมือง (Citizenship by Investment) ในบางกรณี รัฐบาลต้องการสร้างรายได้ให้แก่รฐั โดยการย่ืนขอ้ เสนอใหแ้ ก่กล่มุ ผู้มีทรัพย์สนิ สูงจากท่ัว โลกเขา้ มาถือสญั ชาติ โดยการถือสัญชาติอน่ื อาจก่อให้เกิดประโยชน์ในหลากหลายด้าน เช่น ประโยชน์ ทางดา้ นภาษี ประโยชนท์ างด้านความปลอดภัย ประโยชน์ในด้านการลงทุน ในปี 2017 มปี ระเทศ มากกวา่ 24 ประเทศท่ยี ่นื ข้อเสนอให้พลเมืองตา่ งชาตลิ งทุนในรฐั ผ่านทางการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ พันธบัตรรฐั บาล การลงทนุ ในธุรกจิ แลกกับการกรุยทางไปสกู่ ารเป็นพลเมืองของรัฐ (AP News, May 16, 2017) ขอ้ มูลจาก World Economic Forum พบว่า ในบางกรณีเมือ่ มีการลงทุน การซือ้ ความเปน็ พลเมือง ผลู้ งทนุ จะต้องอยู่อาศัยในรฐั ตามระยะเวลาท่ีกำหนด และจะยงั ไม่ได้รบั สิทธิ 2 อา้ งจากนยิ าม Naturalization ของ U.S. Citizenship and Immigration Services

8 การเป็นพลเมืองจนกว่าจะถึงระยะเวลาที่ภาครัฐไดก้ ำหนดไว้ เชน่ ในประเทศ Antigua and Barbuda ผลู้ งทนุ จะต้องลงทนุ เปน็ จำนวน 250,000 เหรยี ญสหรฐั และจะต้องเขา้ อยู่อาศยั ใน Antigua and Barbuda เปน็ ระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 5 วนั ในทกุ 5 ปี ขอ้ ดคี อื ผ้ลู งทุนสามารถได้รบั สิทธใิ นการเปน็ พลเมืองได้ทนั ที ในขณะท่ปี ระเทศ ฝรง่ั เศส ผูล้ งทุนจะต้องลงทนุ เป็นจำนวนเงนิ สงู ถงึ 10 ลา้ นยโู ร และ จะต้องใช้ระยะเวลาถงึ 5 ปี กวา่ จะไดร้ ับสทิ ธิในการเปน็ พลเมอื ง (Myers, 2016) ถึงแมว้ ่าการซอ้ื ความเป็นพลเมืองจะสง่ ผลดใี นแง่ของการสรา้ งกระแสรายได้ให้กบั ภาครัฐ และส่งผลดี ตอ่ ผทู้ ี่ต้องการได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี ความปลอดภัย โอกาสในการลงทนุ อยา่ งไรกต็ าม ประเดน็ การซ้อื สทิ ธิความเป็นพลเมือง ถือเป็นท่ีถกเถยี งในแงข่ องความเหมาะสม ในกรณีของประเทศ Malta พลเมอื งของประเทศราวรอ้ ยละ 53 ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลทีจ่ ะมอบสทิ ธิในความเป็นพลเมือง ให้กับนกั ลงทนุ ต่างชาติ (Meltzer, 2013) นอกจากประเด็นเรื่องความเหมาะสมแลว้ ยงั ต้องตัง้ คำถาม เรื่องความมั่นคงของรัฐอีกด้วย เพราะนกั ลงทนุ ทซ่ี ้ือสิทธใิ นความเปน็ พลเมอื งอาจเปน็ ผูก้ ระทำผิด กฎหมายจากรัฐอ่นื เชน่ ฟอกเงนิ ยา้ ยทรัพย์สนิ ทไี่ ด้มาจากการคอร์รัปชนั หรือ ทรัพย์สินทไ่ี ด้มาจาก การทำธุรกรรมท่ผี ดิ กฎหมาย อน่ึง รฐั ย่อมจะมีพลเมืองของรฐั และบคุ คลท่ีไม่ใชพ่ ลเมืองของรฐั อาศยั อยู่ ท้ังน้ีบุคคลที่อาศัยอยภู่ ายในรฐั ยงั สามารถถูกแบ่งย่อยออกเป็นหลายประเภท ได้แก่ • Economic Migrant (ผ้อู พยพทางด้านเศรษฐกิจ) – บคุ คลทย่ี า้ ยถิ่นฐานออกจากประเทศบา้ น เกดิ ของตนเองดว้ ยเหตผุ ลทางเศรษฐกิจ ผู้อพยพในรปู แบบนีไ้ มน่ ับวา่ เป็นผู้ล้ีภยั เพราะ สามารถเดินทางกลับไปยงั ประเทศของตนเองได้อย่างปราศจากความหวาดกลวั แต่ท่ีอพยพไป ยังประเทศอ่ืน เพราะความต้องการให้ชีวิตไดร้ บั โอกาสที่ดีขึน้ (Amnesty International, 2017) • Alien3 (คนต่างดา้ ว) – บุคคลที่ไมใ่ ช่พลเมืองของรัฐทต่ี นเองพำนักอยู่ (Internal Revenue Service – IRS, n.d.) 3 องิ คำอธิบายตาม Alien ท่เี ข้ามาในสหรฐั อเมรกิ า

9 • Undocumented Alien4 (คนตา่ งดา้ วท่ไี ร้เอกสารอธบิ าย) – บคุ คลทเ่ี ข้ามายงั รฐั อ่นื โดยไม่มี เอกสารแสดงตวั ตนและไมไ่ ด้รบั อนุญาตให้เข้ามายังรฐั หรอื บุคคลท่เี ข้ามายงั รัฐอยา่ งถูกต้อง ตามกฎหมายแตอ่ าศยั อยู่ในรัฐจนเกนิ กำหนดวซี ่า (Internal Revenue Service – IRS, n.d.) • Expat (คนต่างดา้ ว) – ไม่มีคำแปลอยา่ งเป็นทางการของ expat ทั้งน้ี expat ถอื เปน็ บคุ คลท่ี ไม่ได้อยู่ในบ้านเกดิ เมืองนอนของตนเองและอาศยั ทำมาหากนิ อยู่ในประเทศอ่นื ซงึ่ อนั ที่จรงิ แลว้ มีความหมายไม่ตา่ งจาก migrant worker อยา่ งไรก็ตาม expat ถือเป็นเหมือน slang ใน ภาษาองั กฤษ ทีห่ มายความถึง บุคคลผู้มีการศึกษาสงู มีฐานะดี ทำงานวชิ าชีพในตา่ งประเทศ (ไมใ่ ชง่ านประเภทใชแ้ รงงาน) (Nash, 2017) • Asylum Seeker (ผู้แสวงหาทลี่ ้ีภัย) – บุคคลทีต่ ้องการการคุ้มครองในระดับนานาชาติ ท้ังน้ี ผขู้ อลภี้ ยั อาจยังไม่ได้รับสถานะเป็นผลู้ ภี้ ัย ผู้แสวงหาทลี่ ีภ้ ัยอาจทำเร่ืองไปถึงยังรัฐอ่นื เพ่ือขอล้ี ภยั แต่จะยังไม่ได้รบั การตอบรบั ให้สามารถลี้ภยั อย่างเป็นทางการจากรัฐ (Amnesty International, 2017) • Refugee (ผลู้ ภ้ี ัย) – บคุ คลท่ีเดนิ ทางหนีออกจากประเทศบา้ นเกิดของตนเองและไม่ยินยอมท่ี จะกลบั ไปยังประเทศบา้ นเกดิ ของตนเอง เพราะความกลวั ในการถูกลงโทษ อันเน่ืองมาจาก เชอ้ื ชาติ, ศาสนา, การเป็นสมาชิกของกลมุ่ , หรอื เพราะเหตผุ ลทางความคดิ ทางการเมือง (Amnesty International, 2017)5 • Stateless Person (คนไรส้ ญั ชาติ) – บคุ คลผไู้ ม่ได้รบั การยอมรับใหม้ สี ถานะเป็นพลเมืองของ รัฐใดอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย (Amnesty International, 2017) การได้มาซ่ึงความเปน็ พลเมืองสามารถกระทำไดห้ ลายวิธกี าร โดยวธิ กี ารปกตคิ ือ การได้มาซง่ึ ความเปน็ พลเมอื งจากการสบื สันดานโลหิต หรือ จากสถานทท่ี ี่เราเกิด หรอื กระบวนการได้มาซ่ึงความเป็นพลเมืองผ่านการ โอนสญั ชาติ, แต่งงาน, หรอื แม้กระทั่งการซือ้ ความเป็นพลเมอื ง ทงั้ น้ี ยงั มบี ุคคลท่ีไม่ได้อยูใ่ นสถานะพลเมืองของรฐั เช่น คนต่างด้าว ผู้ลี้ภัย ฯลฯ ซ่ึงจะมีคำนิยามของบคุ คลในแตล่ ะประเภทแตกตา่ งกันออกไป 4 อิงคำอธบิ ายตาม Undocumented Alien ท่ีเขา้ มาในสหรฐั อเมรกิ า 5 สามารถอา่ นบทความเร่ือง การลีภ้ ยั : ทำไมเขาถงึ เลือกที่จะหนี? เพ่มิ เติมท้ายบท

10 สถานะพลเมืองของมนุษยใ์ นศตวรรษท่ี 21 และโลกอนาคต ในปี ค.ศ. 2017 ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ได้ทำการมอบความเป็นพลเมืองใหแ้ ก่ห่นุ ยนตท์ ี่มชี ื่อว่า โซเฟยี (Sophia) ในประเด็นนก้ี ่อให้เกดิ ความท้าทายในจริยธรรมและปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence - A.I.) ทั้งนใ้ี นปัจจบุ นั ยังมีข้อถกเถียงกนั ถงึ ความปลอดภัยของการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ ปรากฏการณ์การให้ ความเป็นพลเมืองแกป่ ญั ญาประดษิ ฐโ์ ซเฟียก่อให้เกดิ ประเด็นทีจ่ ะต้องพฒั นาในดา้ นกฎหมายท่เี ก่ียวข้องกับ พลเมืองในอนาคต (Chikhale and Gohad, 2018: 107) ในซาอุดีอาระเบยี ยังคงมปี ระเดน็ ความท้าทายทางด้าน สิทธมิ นษุ ยชน เช่น ประเด็นของสทิ ธสิ ตรใี นรัฐ ปี 2017 สตรชี าวซาอดุ ีอาระเบยี เรม่ิ ไดร้ ับสทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ การ ใหบ้ ริการจากภาครัฐในด้านการศึกษาและการสาธาณสขุ โดยไมต่ ้องได้รบั การอนมุ ัติจากผปู้ กครองของสตรผี ู้นั้น กอ่ น (Chikhale and Gohad, 2018: 107) นน่ั แปลวา่ สิทธกิ ารเป็นพลเมืองของโซเฟีย เกิดขึน้ พร้อม ๆ กับการที่ สตรีไดร้ ับอนญุ าตให้ทำธรุ กรรมในบางกรณีดว้ ยตนเอง โดยไมต่ ้องได้รับการยินยอมจากบุคคลอื่น เพอื่ รบั มือกับความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ในปี 2019 รฐั บาล องค์กรเอกชน และพลเมือง ในประเทศ เดนมาร์ก มผี ูเ้ ช่ยี วชาญทางด้านสิทธแิ ละจริยธรรม, กฎหมาย, สังคมศาสตร์, วฒั นธรรม, การเมือง, และ เศรษฐกจิ เขา้ ร่วมใหค้ วามเห็นถึงประเด็นการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดษิ ฐใ์ นกรณีต่าง ๆ เช่น การแก้ไขปญั หาประชาธปิ ไตย การสรา้ งความยตุ ธิ รรมของระบบตุลาการ การยนิ ยอมการให้ข้อมูลผา่ นระบบออนไลน์ของพลเมือง การเคล่ือนการ ลงทนุ ไปยงั การลงทุนปจั จยั พ้ืนฐานของปญั ญาประดิษฐ์ ฯลฯ (Danish Board of Technology, 2019) นอกเหนือจากประเด็นระหว่างปัญญาประดิษฐ์ พฒั นาการ และสทิ ธมิ นุษยชนแลว้ ประเดน็ ที่เป็นอกี ขอ้ ถกเถยี งกนั คือ สทิ ธิมนุษยชนและจริยธรรมของ “มนุษย์เครื่องจักร” (Human Cyborg) กลา่ วคือ เม่ือมนุษย์มี ชน้ิ ส่วนของรา่ งกายทม่ี ไิ ด้เป็นชนิ้ สว่ นทางธรรมชาติ การปกปอ้ งด้านสทิ ธิ ควรเปน็ ไปในทศิ ทางใด ข้อถกเถียง เบอ้ื งต้นในประเด็นน้ีคอื มนุษย์ควรมีสิทธใิ นร่างกายของตนเองมากหรอื น้อยขนาดไหน และการใชส้ ทิ ธิของการเปน็ Human Cyborg เพ่อื ความไดเ้ ปรยี บในการแข่งขันกับมนุษยท์ ่ไี ม่ได้มีสว่ นประกอบทางร่างกายดว้ ยเคร่ืองจักร ควร มีขอ้ ตกลงทางด้านกฎหมายหรือสทิ ธิพนื้ ฐานอย่างไร6 6 สามารถอา่ นบทความเรอ่ื ง Human Cyborg 4.0 เพม่ิ เติมท้ายบท

11 สรปุ นิยามของคำวา่ พลเมอื ง มีความหมายท่ีครอบคลุมทั้งดา้ น บริบททางด้านพลเมือง ในประเด็นเร่ืองสทิ ธิ เสรีภาพส่วนบคุ คล บรบิ ททางด้านการเมือง ครอบคลมุ ในประเดน็ ของการมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองของพลเมือง โดย แบง่ พลเมืองออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ พลเมอื งแบบ active และ พลเมืองแบบ passive บรบิ ททางด้านสงั คม ครอบคลุมในประเด็นทกี่ วา้ ง เก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั สทิ ธิในการเขา้ ถงึ สวัสดิการของภาครฐั สทิ ธใิ นด้านเศรษฐกจิ และ สังคม ในยุคสมยั นครรัฐเอเธนสโ์ บราณ บุคคลท่ีไดร้ บั สทิ ธิให้เป็นพลเมือง คือ ผู้ชายชาวเอเธนส์ สิทธิของสตรถี ูก จำกัด รวมไปถึงสิทธขิ องทาสก็ถูกจำกดั ลงเชน่ เดยี วกัน มาถงึ ในปจั จบุ นั พลเมืองถูกแบ่งออกโดยการกำเนดิ ตาม หลักกฎหมายของรฐั ซง่ึ แยกออกเปน็ 2 ประการ คือ jus sanguinis และ jus soli โดย jus sanguinis จะเปน็ การ ถือเอาหลักการสืบสายโลหติ ในขณะที่ jus soli ถือเอาหลกั ดินแดนเป็นสำคัญ นอกเหนือจากสทิ ธิท่ีไดม้ าโดยการ กำเนดิ แล้ว ในปจั จบุ ัน บุคคลสามารถไดร้ บั สทิ ธิในการเปน็ พลเมอื งไดโ้ ดยกระบวนการ naturalization, การ แตง่ งาน, และ การขอซือ้ ความเป็นพลเมือง คำถามทา้ ยบท 1. สทิ ธิ และ เสรภี าพมคี วามแตกต่างกนั อย่างไร 2. การได้มาซ่ึงความเปน็ พลเมืองในปัจจบุ ัน มีวธิ กี ารใดบ้าง 3. จงบอกข้อแตกตา่ งระหวา่ ง jus sanguinis และ jus soli 4. ความเปน็ พลเมืองถูกแบง่ ออกเปน็ 3 บรบิ ท ได้แก่ บริบททางความเปน็ พลเมือง บริบททางการเมือง และ บรบิ ททางสงั คม อธิบายถงึ ความเป็นพลเมืองในแต่ละบริบท 5. การใหส้ ทิ ธใิ นการลงทนุ ซื้อความเปน็ พลเมือง ถูกต้องหรือไม่ เพราะอะไร? กิจกรรม ให้นักศึกษาแสดงบทบาทสมมติของการเปน็ พลเมอื งในชาติต่างๆ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี สหราชอาณาจกั ร และ ไทย นอกจากการแสดงตนว่าเปน็ พลเมือง ให้นักศกึ ษาแสดงอีก 1 บทบาท นั่นคือ บทบาทการเปน็ บคุ คลต่าง ดา้ วท่กี ำลงั จะขอ permanent residency บทบาทของบคุ คลตา่ งด้าวทีต่ อ้ งการจะซื้อความเปน็ พลเมือง และ บทบาทของพลเมืองทีร่ ฐั เสนอขายความเปน็ พลเมอื งให้แก่บคุ คลภายนอก นกั ศึกษา 1 คน จะได้แสดงท้งั 2 บทบาท (จะเปน็ การแสดงบทบาทสมมตแิ บบเด่ยี ว หรือ กลมุ่ กไ็ ด้ ในลกั ษณะเดยี วกัน)

12 Human Cyborg 4.0 มนษุ ย์มีสิทธใิ นรา่ งกายของตนเองมากแค่ไหน คำถามน้เี ปน็ คำถามเชิงปรชั ญา เปน็ คำถามที่ซ่อนถึงวิธีความคิด เบ้อื งหลังท่ีทำใหผ้ ลของความคดิ นั้นตีความออกมาผา่ นกระบวนการนโยบายสาธารณะของรัฐ หากเราคิดว่า เรา เป็นเจา้ ของร่างกายของเราแต่เพียงผู้เดียว แสดงวา่ เรามีสทิ ธทิ ่ีจะใช้ร่างกายของเราตราบเท่าทเ่ี รามีความต้องการ โดยไมไ่ ด้ไปละเมดิ ในสิทธิของผูอ้ ื่น เช่น เรามสี ทิ ธทิ จ่ี ะเจาะหู สกั ตามรา่ งกายและใบหน้า แต่เราไม่มีสิทธทิ ี่จะไปยืน ปัสสาวะหรือขีดเขียนกำแพงในสถานทสี่ าธารณะหรือเคหสถานของผ้อู ื่น ทว่า หากเราลองเพิ่มข้อคำถามที่ไปผูกกบั ศลี ธรรมจรรยา คำตอบท่ีว่าเรามสี ทิ ธิในร่างกายของเราทุก ประการ อาจเรม่ิ มีขอ้ ขดั แย้งมที ้งั คนทเ่ี หน็ ด้วยและไมเ่ หน็ ดว้ ย เชน่ หากวา่ เราเป็นเจ้าของในรา่ งกายของเราทุก ประการ เราสามารถออกกฎหมายทำแท้งเสรี เพราะถือเป็นสิทธขิ องสตรใี นฐานะเจ้าของร่างกายในการตดั สินใจท่ี จะมีหรอื ไม่มีบตุ ร ข้อความเบื้องตน้ ทำให้เราพอจะเหน็ ได้ว่า ประเด็นในการตีความสามารถถกู แบ่งออกไดเ้ ปน็ 1. สตรผี ูน้ ้ันเปน็ เจา้ ของร่างกายและเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบในการกระทำทเ่ี กดิ ข้นึ กบั ตนเอง ย่อมสามารถทำ แท้งได้ 2. สตรีผู้น้นั มไิ ดเ้ ป็นเจา้ ของรา่ งกายโดยสมบรู ณ์ เพราะเมื่อตัง้ ครรภ์ ใหถ้ ือวา่ ทารกในครรภ์ มีสิทธใิ นการ ท่ีจะมีชวี ติ เพราะร่างกายในครรภ์เป็นรา่ งกายของทารก มารดาย่อมไมม่ ีสิทธิในการทำแท้ง จะเห็นได้จากประเดน็ เบอื้ งต้นที่คาบโยงเก่ียวข้องกับศลี ธรรมว่า รฐั แต่ละรฐั มีวิธกี ารคดิ ในประเดน็ ทางด้าน สิทธมิ นุษยชนที่แตกต่างกัน บางรฐั มีการผ่อนปรนใหม้ ารดาสามารถทำแท้งไดใ้ นกรณีท่บี ตุ รในครรภ์มคี วามพกิ าร หรอื กรณีมารดาอาจมีความเสีย่ งทางด้านสขุ ภาพและชวี ติ หากยงั คงอุ้มครรภ์ตอ่ ไป บางรัฐเปิดโอกาสใหม้ ารดามี สิทธใิ นการทำแท้งเสรไี ด้ เพราะบตุ รในครรภ์ถือเป็นสทิ ธิโดยชอบของผู้เปน็ มารดา ในขณะท่บี างรฐั หา้ มมิให้มารดา ทำแทง้ ไม่วา่ ในกรณใี ด ๆ สำหรับกรณีของการเปิดโอกาสใหม้ ารดาทำแทง้ เสรี นน่ั หมายความวา่ มารดามีสิทธใิ น รา่ งกายของตนเองทุกประการ ส่วนในกรณีของการห้ามมิให้ทำแท้ง หรือ การห้ามมิให้ทำแท้งแตง่ ดเวน้ เฉพาะ เงือ่ นไขบางอยา่ ง ในสองกรณีนี้ แสดงว่า มารดาไม่มีสทิ ธิในรา่ งกายของตนเองโดยสมบูรณ์ แตส่ ทิ ธิในร่างกายของ มารดากลายเปน็ สิทธขิ องรัฐโดยชอบ? นยิ ามของ cyborg แบบที่เข้าใจง่าย คอื ส่วนหนง่ึ เป็นรา่ งกายมนุษย์ (part human) และอกี สว่ นเปน็ เคร่ืองจักร/ อุปกรณ์/ หรือเครื่องกล (part machine) (Swartz & Watermeyer, 2008, p. 189) ดังนน้ั human cyborg คือมนุษย์ผูม้ ีรา่ งกายทปี่ ระกอบไปด้วยช้นิ สว่ นของอปุ กรณ์อนื่ ใดท่ีมิไดเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของรา่ งกายโดยกำเนดิ มีข้อถกเถยี งมากมายในประเดน็ ทวี่ ่า เราจะสามารถนบั ได้อยา่ งไรว่าอะไรคือ cyborg และอะไรที่ไม่ใช่ cyborg ใน บางกรณนี ักวชิ าการบางส่วนนับวา่ ผูพ้ ิการทางสายตาที่ต้องใช้ไมเ้ ท้าเปน็ อปุ กรณ์ชว่ ยในการเดนิ ถือเป็น cyborg ใน

13 ขณะเดยี วกันผู้ที่สวมแว่นตา หรอื ผูพ้ ิการทางการได้ยินที่ต้องใช้เครอื่ งฟังเสยี งก็สามารถถูกนบั ได้วา่ เป็นมนุษย์ cyborg ด้วยเชน่ กัน (Bateson, 1972 as cited in Warwick, 2003, p. 131) ตวั อย่างในเบ้ืองต้นถือเป็นมนุษย์ cyborg ผมู้ คี วามจำเป็นทีจ่ ะตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ในการชว่ ยเหลอื เพื่อการดำรงชีวติ ประจำวนั ในขณะเดียวกัน อปุ กรณ์ที่ ไมไ่ ด้มีความจำเปน็ ในการดำรงชีวติ แต่มนษุ ยเ์ ลอื กทจี่ ะสวมใส่ เชน่ อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ที่สามารถสวมใส่ได้ ผูท้ ีใ่ ช้ อุปกรณ์เหล่านี้อาจถอื ไดว้ ่าเป็นมนุษย์ cyborg ดว้ ยเช่นกัน (Pentland, 1998 as cited in Warwick, 2003, p. 131) ประเด็นท่เี กิดเปน็ ข้อถกเถียงว่าเราจะนับอย่างไรถึงความเป็นมนษุ ย์ในกรณีของ human cyborg ถือเปน็ ข้อคำถามในประเด็นทางจรยิ ธรรม ตวั อย่างของกรณีทีเ่ ปน็ ทวี่ ิพากษ์ ไดแ้ ก่ กรณีของนักกีฬาผู้พกิ ารชาวแอฟริกาใต้ Oscar Pistorius นกั กฬี ากรีฑาผู้พกิ ารทางขาผู้มขี าเทยี มทง้ั สองขา้ งทำมาจากคารบ์ อนไฟเบอร์ กรณีขาเทียมของ Oscar ก่อให้เกดิ ข้อถกเถยี งว่าเขาไดเ้ ปรียบในการเขา้ แข่งขันกฬี ามากกวา่ ผูพ้ ิการคนอืน่ ๆ หรือไม่ ทผี่ า่ นมา Oscar ได้ทำการแข่งขนั กีฬาทั้งในระดบั พาราลิมปิกและกีฬาโอลมิ ปิกและถือเป็นนักกีฬาผพู้ ิการทางขาโดยสมบูรณท์ งั้ สอง ขา้ งคนแรกที่ไดส้ ิทธิเข้าแขง่ ขันคดั เลอื กในกีฬาโอลิมปิก (USA Today, 2012) กรณขี อง Kevin Warwick ศาสตราจารยป์ ระจำมหาวิทยาลยั Reading สหราชอาณาจักร ได้ทำการฝงั ไม โครชปิ ไว้ในอวยั วะของรา่ งกายบรเิ วณแขน โดยคุณสมบัติของไมโครชิปสามารถทำใหเ้ ขาควบคมุ คอมพวิ เตอร์ ทำ การเปดิ ปิดไฟ หรือปรับเคร่ืองทำความร้อนจากระยะไกลได้ (The Medical Futurist, 22 June 2017) ในกรณีของ Pistorius ถอื เป็นการใชอ้ วัยวะเทยี มเพ่ือช่วยเหลือในการดำรงชวี ติ ประจำวนั สว่ นกรณีของ Warwick ถือเป็นการเปล่ียนแปลงตนเองให้เป็นมนุษย์ cyborg ด้วยความจงใจเพ่ืออำนวยความสะดวกในชวี ิต ใน อนาคต หากมีมนุษย์ผู้นิยมการทำใหต้ นเองเปน็ human cyborg มากขึน้ ประเด็นทางด้านกฎหมายที่เกยี่ วข้องกับ ปญั ญาประดิษฐ์จะต้องมีขอ้ รองรบั เพ่ือลดความไดเ้ ปรียบเสียเปรียบ ไม่วา่ จะเป็นกรณีการสมคั รเข้าทำงาน สมัคร เรียนต่อ ไปจนถึงสิทธใิ นการเปลย่ี นบตุ รของตนเองให้กลายเปน็ มนษุ ย์ cyborg ตามผปู้ กครอง สรุปว่า สทิ ธิในการทำแท้งเป็นของใคร มารดาหรือรัฐ และใครจะเปน็ ผไู้ ด้เปรยี บเสียเปรียบจากการ กลายเปน็ มนุษย์ cyborg ในอนาคต

14 การล้ีภัย: ทำไมเขาถึงเลือกท่ีจะหนี? บนโลกใบน้ียังมผี ูท้ ่ปี ระสงค์จะล้ภี ยั ออกจากบ้านเกดิ เมืองนอนของตนเองไปยังประเทศอื่นเปน็ จำนวนไมน่ อ้ ย สาเหตขุ องการประสงคจ์ ะขอลี้ภัยอาจมาจากเหตผุ ลทางการเมอื ง ชาติพนั ธ์ุ ศาสนา เพศสภาพ ฯลฯ ในปัจจบุ ัน ข้อมลู จาก The United Nations High Commissioner for Refugees (UNHCR) พบว่าในโลกใบนมี้ บี ุคคลพลดั ถิ่นมากถึง 70.8 ล้านคน หรือในจำนวนประชากรทุก ๆ 110 คน จะมผี ู้พลัดถ่ิน 1 คน โดยในจำนวนน้ีแบง่ ออกเป็น 41.3 ลา้ นคนเป็นบุคคลพลัดถ่ินในประเทศ (internally displaced people), 25.9 ล้านคนเป็นผ้ลู ้ีภัย (refugee), และ 3.5 ล้านคนเป็นผแู้ สวงหาทีล่ ี้ภยั (asylum – seeker) (BBC News, 24 September, 2019; UNHCR, n.d. [a]) นิยามของบคุ คลพลดั ถ่ินในประเทศ (internally displaced people) คอื ผูท้ ่ถี ูกบงั คับให้ย้ายถ่นิ ฐานของ ตนเองอันเนอ่ื งมาจากความขัดแย้งหรือการถกู ฟ้องร้อง – ดำเนนิ คดี โดยลกั ษณะการย้ายถ่นิ ฐานจะเปน็ การยา้ ยถิ่น ฐานภายในประเทศเดมิ เชน่ ยา้ ยถนิ่ ฐานข้ามจงั หวดั (UNHCR Teaching About Refugees, 2017) ผู้ล้ีภยั (refugee) คือ บุคคลผู้ที่หนีจากสภาวะสงคราม, ความรุนแรง, ความขัดแย้ง, หรอื การถกู ฟ้องร้อง – ดำเนนิ คดี ความแตกต่างระหว่างบคุ คลพลดั ถิ่นในประเทศกับผลู้ ี้ภยั คอื ผู้ล้ภี ยั ทำการล้ีภยั ไปยังรัฐอื่น มีการขา้ มเขต ดินแดนของรฐั เดมิ ออกไปเพ่ือแสวงหาความปลอดภัย โดยในสถานะของผู้ลภี้ ัยจะไดร้ บั การคมุ้ ครองภายใต้กฎหมาย ระหวา่ งประเทศ (UNHCR, n.d. [b]) ผแู้ สวงหาทล่ี ภ้ี ัย (asylum – seeker) คอื ผูท้ ่ีทำการขอลี้ภัย แต่กระบวนการขอล้ภี ยั นน้ั ยังอยู่ในระหว่าง การพจิ ารณา/ ยังไม่ไดร้ ับการตอบรับการพจิ ารณา โดยในทุก ๆ ปีจะมผี คู้ นราว 1 ลา้ นคนจากทั่วโลกแสวงหาทล่ี ภี้ ยั (UNHCR, n.d. [c]) จากตัวเลขสถติ ขิ อง UNHCR พบว่ากว่าร้อยละ 57 ของผลู้ ้ีภยั มาจากสามประเทศหลกั ได้แก่ ซีเรีย (6.7 ลา้ นคน), อฟั กานสิ ถาน (2.7 ล้านคน), และ เซาทซ์ ดู าน (2.3 ล้านคน) ในส่วนของประเทศทใ่ี ห้การรองรับผลู้ ้ีภยั มาก ท่ีสดุ 5 ลำดับแรกได้แก่ ตุรกี (3.7 ล้านคน), ปากสี ถาน (1.4 ล้านคน), ยกู ันดา (1.2 ล้านคน), ซดู าน และ เยอรมนี (ประเทศละ 1.1 ล้านคน) โดยในบรรดาจำนวนผลู้ ภ้ี ยั ทง้ั หมด กวา่ ร้อยละ 80 ล้ีภัยไปยังประเทศเพอื่ นบ้าน (UNHCR, n.d. [a]) ในปี 2018 มีคนกว่า 35,000 คนท่ถี ูกบังคับให้ต้องยา้ ยถ่นิ ฐานออกจากที่พกั อาศยั ของตนเองในทุก ๆ วัน หากเปรยี บเทียบต้ังแต่ปี 1995 – 2015 จะพบวา่ จำนวนของผพู้ ลัดถน่ิ เพมิ่ มากขน้ึ ถงึ 3 เท่า สาเหตุท่ีทำใหผ้ ู้พลัดถนิ่

15 มปี ริมาณเพิม่ ข้นึ เช่นนี้ เป็นเพราะสงครามและความขดั แยง้ ทเ่ี หน็ ได้อย่างชัดเจนคือสงครามกลางเมืองของประเทศ ซเี รยี ทีส่ ง่ ผลใหต้ วั เลขของผู้ลีภ้ ัยเพิม่ สูงขน้ึ อย่างมีนัยยะสำคัญ (BBC News, 24 September, 2019) ในส่วนของประเทศไทยถอื ว่ายัง “...มไิ ดเ้ ปน็ ภาคสี มาชกิ กับอนสุ ัญญาวา่ ดว้ ยสถานภาพผู้ลีภ้ ัยปี พ.ศ. 2494 และพิธีสารปี พ.ศ. 2510 อีกทัง้ ยังไม่มกี ฎหมายท่ียอมรบั การเข้ามาของผู้ขอล้ีภัย ดังนัน้ ผู้ลภ้ี ยั ต้องปฏิบัตติ าม กฎหมายการตรวจคนเขา้ เมืองด่ังเชน่ ชาวต่างชาติอื่น ๆ และภายใต้บริบทดังกล่าว ผู้ลภ้ี ยั สามารถถูกจับกุม กักกนั และเนรเทศออกนอกประเทศได้” อย่างไรกต็ ามประเทศไทยไดท้ ำการใหค้ วามช่วยเหลอื ผลู้ ภ้ี ยั ชาวพมา่ จำนวนราว 90,000 คน โดยให้อาศยั อยู่ในคา่ ยผลู้ ี้ภัยซง่ึ มอี ยู่ 9 แหง่ ในประเทศ (UNHCR, n.d. [d]) ในสว่ นของบุคคลสัญชาตไิ ทย ถึงแม้ประเทศไทยไม่ไดป้ ระสบกบั ปญั หาของสงครามกลางเมอื ง มิได้มกี าร กดี กันทางด้านศาสนา เพศสภาพ และในประเด็นเหลา่ นี้ พลเมอื งไทยไดร้ บั ความคุม้ ครองผ่านรัฐธรรมนูญทางสิทธิ เสรภี าพขัน้ พื้นฐานอย่แู ล้ว (รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย, 2560) อยา่ งไรกต็ ามเป็นที่นา่ สงั เกตวา่ หลงั จาก เหตุการณ์รฐั ประหารปี 2557 ท่ผี ่านมา ได้ปรากฏว่าบคุ คลสญั ชาติไทยจำนวนราว 100 คน ไดท้ ำการขอลีภ้ ยั ไปยงั ประเทศอน่ื (BBC News, ม.ป.ป.) ในจำนวนนไ้ี ด้แบง่ ผู้ลภ้ี ยั ออกเปน็ สองกลมุ่ ได้แก่ ผลู้ ภ้ี ยั ในประเทศเพ่ือนบา้ น เชน่ กัมพูชา และ ผูล้ ภี้ ยั ในประเทศอน่ื ๆ โดยผลู้ ้ภี ัยมีท้งั นักวิชาการ นกั ศกึ ษา บณั ฑิต นกั กิจกรรมทางการเมือง และ แม้กระท่ังนักดนตรี (BBC News, ม.ป.ป.) เราหวงั วา่ บทความนี้จะทำให้ทกุ ท่านเข้าใจในนยิ ามของผลู้ ี้ภัย ผู้แสวงหาท่ีล้ภี ัย และบุคคลพลดั ถ่ิน ภายในประเทศมากยิ่งขน้ึ สุดท้ายนเี้ ราขอเป็นส่วนหนง่ึ ในการเปน็ กระบอกเสยี งและสนบั สนนุ ใหร้ ัฐบาลไทยทำการ ปกปอ้ งชวี ิตของพลเมืองไทย ไมว่ า่ เขาหรือเธอจะอาศัยอยู่ในรฐั ไทยหรือไมก่ ็ตาม #Saveวนั เฉลมิ

16 Memori สตาร์ทอพั ดา้ นความตาย จะเป็นอยา่ งไรถ้าหากความตายของเรายังมีคุณคา่ ส่งไปถึงคนรุ่นหลัง Memori สตารท์ อัพด้านความตายจาก ประเทศบรูไนจะทำหนา้ ที่ในการเปน็ ผ้ดู แู ลและจดั การบริการหลงั การขายเม่ือความตายมาถึงผใู้ ช้บริการ Queenie Chong ชาวบรไู นเช้ือสายจนี กอ่ ตั้ง Memori ในปี 2018 Chong เป็นผู้หญงิ ทม่ี ีสว่ นในการ สนบั สนุนใหว้ งการสตาร์ทอัพในประเทศบรไู นเติบโต โดยเธอเป็นหน่ึงในผู้ก่อตัง้ Startup Brunei องคก์ รท่ีให้การ ชว่ ยเหลือสตารท์ อัพผา่ นระบบการใหค้ ำปรึกษาและการอบรมความรู้ด้านการทำธุรกิจ (Cordon, 2019; Startup Brunei, n.d.)7 Memori คอื สตาร์ทอพั ท่ตี ้องการเปล่ียนแปลงแนวความคดิ ของคนในสังคมเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ที่คิด ว่าการพูดเรื่องความตายถือเป็นส่งิ ต้องหา้ ม Memori ทำหน้าทีใ่ นการให้คำปรึกษาและเตรียมความพรอ้ มสำหรับ การตาย ผลิตภัณฑ์หลักของบรษิ ัทในปจั จบุ ัน คือพนิ ยั กรรมออนไลน์ ผู้ใชบ้ รกิ ารสามารถเขียนพนิ ยั กรรม โดยท่ีไม่ ต้องมีทนายมาเกี่ยวขอ้ งในกระบวนการ การเขียนพินยั กรรมผ่านระบบ Memori จะเปน็ การเขยี นพนิ ัยกรรม ออนไลน์ แตจ่ ะต้องมีการเซ็นรบั รองพนิ ยั กรรมเพ่ือยนื ยนั ในสว่ นของรายละเอียดของพินัยกรรม เชน่ ผ้ใู ชบ้ รกิ ารมี ทรพั ยส์ มบตั ิอะไรบ้าง ตอ้ งการแบง่ มรดกของตนใหแ้ กใ่ คร เปน็ จำนวนเท่าใด ฯลฯ จะเข้าไปอย่ใู นระบบออนไลน์ ของบริษัท นอกจากผลิตภณั ฑพ์ นิ ัยกรรมออนไลนแ์ ล้ว Memori ยังมผี ลิตภัณฑ์ทเี่ รยี กวา่ “Vault” หรือการจดั เกบ็ เอกสารสำคัญอน่ื ๆ นอกเหนือไปจากตวั พินยั กรรม เชน่ ประวตั ทิ างการแพทย์ และผ้ใู ช้บรกิ ารสามารถทำการ บันทึกข้อความเพ่ือบอกลาแก่คนรจู้ ัก โดยการบันทึกข้อความสามารถทำได้ทัง้ ในรูปแบบของเสยี ง ภาพ หรือ วดิ ีโอ (Cordon, 2019; Memori, n.d. [a], [b]) ปจั จบุ ัน Memori ไดร้ ับทุนสนับสนนุ จำนวน 100,000 เหรยี ญสหรฐั และวางแผนท่ีจะขยายการใหบ้ ริการ ไปยังประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ (Wong, 2018; Cordon, 2019) ในอนาคต Chong วางแผนให้ Memori เป็น บริษทั ที่ให้บริการในทุก ๆ ด้านทเี่ กีย่ วข้องกบั ความตาย เชน่ บริการจดั การงานศพแบบครบวงจร การสง่ั ดอกไม้ ออนไลนเ์ พ่ือแสดงความเสียใจตอ่ ผู้ทีจ่ ากไป ฯลฯ ข้อคำนงึ ในการทำสตาร์ทอพั ในบรูไนผา่ นความคิดเห็นของ Chong คือการทตี่ ลาดของประเทศบรูไน มีขนาดเล็กเกินไป การขยายฐานการให้บริการไปยังต่างประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้ ถือเป็นเรื่องจำเป็นอยา่ งยิ่งสำหรับสตารท์ อัพในประเทศทมี่ ปี ระชากรจำนวนไมม่ าก ดว้ ยเหตผุ ล 7 ผ้เู ขียนเข้าร่วมโครงการ YSEALI Regional Workshop ณ ประเทศอินโดนีเซียร่วมกบั Queenie Chong ระหวา่ งวันท่ี 24 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ บาหลี ประเทศอนิ โดนเี ซีย ในระหวา่ งการเขา้ ร่วมกจิ กรรมได้มีการสมั ภาษณ์ Queenie Chong ในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกบั Memori

17 เดยี วกัน เมอ่ื มีฐานการให้บรกิ ารขนาดเล็ก จึงยงั ไม่มีผู้ลงทนุ ในสตารท์ อัพบรูไนเป็นจำนวนมากนัก Chong จึงเลือก ทำการระดมทนุ จากนักลงทุนหลากหลายประเทศท้ังจากประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์8 ในอนาคต เราอาจจะได้เห็นการขยายฐานการใหบ้ ริการ Memori มายังประเทศไทย และความหวังของผู้ กอ่ ต้งั บริษทั ท่ีอยากจะทำใหเ้ ร่ืองต้องห้ามในการพดู คุย กลายเป็นเรื่องธรรมดาสามัญ อาจจะขยับเข้าใกล้ความเป็น จริงมากขึ้น 8 ผ้เู ขยี นเข้าร่วมโครงการ YSEALI Regional Workshop ณ ประเทศอินโดนีเซยี รว่ มกบั Queenie Chong ระหวา่ งวนั ท่ี 24 – 28 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเซยี ในระหวา่ งการเขา้ รว่ มกจิ กรรมได้มกี ารสัมภาษณ์ Queenie Chong ในประเดน็ ที่เกี่ยวข้องกบั Memori

18 โลกหลังยุค 4.0 ในปัจจุบัน เรากำลังอยู่ในโลกยคุ 4.0 ท่ีเต็มไปด้วยการพัฒนาทางเทคโนโลยี และการกา้ วข้ามผา่ นเศรษฐกจิ ทเี่ น้น อุตสาหกรรมหนักในรูปแบบของยคุ 3.0 จะเห็นไดว้ ่าหลงั จากยคุ รุ่งเรืองของอุตสาหกรรมหนัก ในปี ค.ศ. 2019 บรษิ ทั ทีม่ ีแบรนด์ท่ีมีมลู ค่าสงู ทีส่ ุดในโลก 5 อนั ดับแรก ล้วนเปน็ บรษิ ทั ทางด้านเทคโนโลยีท้ังสน้ิ ได้แก่ อนั ดบั ที่ 1 Apple, อันดบั ที่ 2 Google, อันดบั ท่ี 3 Microsoft, อันดับท่ี 4 Amazon, และอนั ดบั ท่ี 5 Facebook กลายเปน็ วา่ แบรนดใ์ นบริษทั ของกลุ่มอตุ สาหกรรมหนักที่มมี ูลค่าสูงสดุ คือ Toyota ติดอยู่ในอันดับที่ 9 (Forbes, n.d.) คำวา่ อุตสาหกรรม 4.0 มีท่ีมาจากประเทศเยอรมนี ซึ่งเปน็ หนึง่ ในนโยบายของรฐั บาลเยอรมนี “Industrie 4.0” ทเี่ กิดขน้ึ ในปี ค.ศ. 2014 นิยามความหมายของอุตสาหกรรม 4.0 คอื การปฏิวัตทิ างเทคโนโลยีจากระบบสมอง กลฝังตวั สู่ระบบไซเบอร์ - กายภาพ (“technological evolution from embedded system to cyber- physical system”) ในอตุ สาหกรรมแบบ 4.0 จะเหน็ การเปล่ียนผ่านทางการใชเ้ ทคโนโลยใี นกระบวนการผลติ มี การใชป้ ระโยชน์จากอนิ เทอร์เน็ตแหง่ สรรพส่งิ (Internet of Things – IOT) นอกจากนยี้ งั มีการพฒั นาการใช้ ปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) โดยในปี 2018 เยอรมนีมีการประกาศยทุ ธศาสตร์ “AI Made in Germany” (Bundesministerium für Bildung und Forschung (BMBF), 2018; The Federal Government, 2018 as cited in Fukuda, 2020, p. 2) ในปี ค.ศ. 2016 รัฐบาลญป่ี ุ่นไดม้ กี ารประกาศนโยบาย “Society 5.0” หรือ “สงั คม 5.0” สังคม 5.0 คือ “ข้อมูลทางสังคมทสี่ ร้างความเจรญิ รงุ่ เรืองให้แก่สงั คมทมี่ ีมนุษย์เป็นจุดศนู ย์กลาง” (Fukuyama, 2018, p. 47, 49) ในภาพรวม จุดม่งุ หมายของสังคม 5.0 คือการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของมนุษยด์ ว้ ยการใช้ผลิตผลจากอตุ สาหกรรม 4.0 โดยอตุ สาหกรรม 4.0 เป็นการมงุ่ ประเด็นไปที่การพัฒนาทางเทคโนโลยีและผลผลิตทเี่ กดิ จากการพัฒนาน้นั แต่ สังคม 5.0 จะเน้นไปทีม่ นุษย์ (Ferreira & Serpa, 2018) โดยสภาพสังคมของ 5.0 ในแบบทีค่ วรจะเป็น มลี ักษณะ ดังต่อไปน้ี (Harayama, 2017, p. 10; Costa, 2018 as cited in Ferreira & Serpa, 2018) 1. ความตอ้ งการของมนษุ ย์ไมว่ ่าจะเปน็ ในดา้ นการบรกิ ารหรือผลิตภัณฑ์ ไดร้ ับการตอบสนอง 2. มนุษย์สามารถไดร้ บั การบรกิ ารท่มี มี าตรฐานขนั้ สงู และใช้ชีวติ อยู่ได้อยา่ งสบาย 3. ปฏิวตั ิสงั คมท่ีเราเคยคุ้นชิน พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและการอาศัยอยู่ในชุมชนท้ังทีบ่ ้านและท่ีทำงาน ในอนาคต ประเทศต่าง ๆ ย่อมจะมีความตื่นตัวในการพัฒนาและสรา้ งสังคมเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0

19 เฉกเชน่ เดยี วกนั กับประเทศญี่ปุ่น จะเหน็ ไดว้ ่าหากนโยบายของประเทศใดท่ีริเร่ิมทำและประสบความสำเร็จ จะ ส่งผลให้ประเทศอื่น ๆ เกดิ การลอกเลียนแบบนโยบายและนำเอามาปรับใช้กับประเทศของตนเอง ดังเชน่ กรณีของ ประเทศไทยทนี่ ำเอา Industrie 4.0 ของเยอรมนแี ล้วมาปรับเปน็ นโยบาย Thailand 4.0 (ประเทศไทย 4.0) ถึงแม้ว่าวันนี้จะยงั ไมเ่ ห็นภาพของการเปลีย่ นแปลงอันเกิดจากนโยบายสงั คม 5.0 อยา่ งชัดเจน เพราะยงั อยูใ่ นระยะ เริม่ ตน้ แต่เมือ่ ใดท่ีนโยบายมีแนวโน้มทจ่ี ะประสบความสำเร็จ เชอื่ วา่ ญี่ปุน่ จะกลายเปน็ ตน้ แบบแหง่ การพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ของมนุษยใ์ ห้กับประเทศอน่ื ๆ ทว่ั โลก

20 บทที่ 2 การสร้างความตระหนักถึงปัญหารอบตัวทั้งในระดับท้องถ่นิ ประเทศ และนานาชาติ หัวข้อ • ปญั หารอบตวั – ปัญหาระดับท้องถ่ิน การเงนิ สว่ นบุคคล, ความรบั ผดิ ชอบของตนเองตอ่ สงั คม – การ บริโภคแอลกอฮอล์ - การเคารพกฎจราจร - การจัดการกับขยะและผลกระทบท่มี ีตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม • ปัญหาระดบั ประเทศ – สังคมผสู้ งู อายุ, การทุจริต – คอร์รัปชนั • ปัญหาระดบั นานาชาติ – Sustainable Development Goals (SDGs) วัตถุประสงค์ • นักศกึ ษาเขา้ ใจและสามารถอธิบายถึงปญั หาท่เี กดิ จากตนเองได้ สามารถแก้ไขหรือปอ้ งกันปญั หาทเ่ี กดิ จาก ตนเองในเบ้ืองต้นได้ • นักศึกษาเข้าใจและสามารถอธิบายถึงปญั หาในระดับท้องถ่ินและเรียนรทู้ ่ีจะไมส่ ร้างปญั หาให้กบั ท้องถ่นิ • นกั ศึกษาเข้าใจและสามารถอธบิ ายถงึ ปัญหาระดับประเทศและเรยี นรทู้ จ่ี ะไมส่ รา้ งปญั หาใหก้ บั ประเทศ • นักศกึ ษาเขา้ ใจและสามารถอธบิ ายถงึ ปัญหาระดบั นานาชาติ เรียนรู้ในพหุวัฒนธรรม เกร่นิ นำ ปญั หาที่เกดิ ข้ึนบนโลกใบน้ีมีอยมู่ ากมาย ในบทที่ 2 นี้ นักศึกษาจะไดเ้ รยี นรู้ถงึ ปัญหาที่เกิดขน้ึ ใกล้ตัวทส่ี ุดท่ี สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อตัวนักศึกษาเอง เช่น ปัญหาด้านการเงนิ ส่วนบุคคล ซึ่งเปน็ ปญั หาท่คี นไทยควรมีการเรียนรู้ อยา่ งจรงิ จงั เพราะปญั หาส่วนบคุ คลน้นั จะส่งผลกระทบในวงกว้างออกไปสูส่ ังคม ประเทศชาติ และกลายเปน็ ปญั หาระดบั โลกไปในท่สี ุด นอกจากประเด็นทางดา้ นการเงินแล้ว ความรับผดิ ชอบของตนเองต่อสงั คม ถือเปน็ สิง่ ที่ นกั ศึกษาจะไดเ้ รยี นรูถ้ ึงผลกระทบของตนเองทีม่ ีต่อสังคม ในบทนี้ มกี ารนำเอาสถิตทิ ี่เกย่ี วกบั ปญั หาการจราจร แอลกอฮอล์ และขยะ ของประเทศไทยมาเปิดเผยให้เหน็ ว่า จากบุคคล 1 คน สบู่ คุ คลราว 67 ลา้ นคน สามารถสง่ ผล กระทบอยา่ งไรต่อประเทศชาติและโลกใบน้ี คำถามท่นี กั ศึกษาจะต้องตอบให้ได้ในการเรียนรูบ้ ทท่ี 2 คือ ตัวเราได้ เคยสร้างปัญหาให้กบั สงั คมหรือไม่ เช่น การขดี เขยี นหนังสือของห้องสมุด การไมเ่ คารพกฎจราจรในมหาวทิ ยาลยั ฯลฯ

21 นอกจากการเรียนรู้ถงึ ปัญหารอบตัวเรา ในบทที่ 2 นกั ศกึ ษาจะได้เรียนรู้ถึงปัญหาในระดับประเทศ ได้แก่ การเกดิ ขน้ึ ของสงั คมผสู้ ูงอายุ ปญั หาด้านการทจุ ริต คอร์รัปชนั ในประเทศไทย ทั้งน้ี นักศกึ ษาอาจทราบดีวา่ ยงั มี ปัญหาในระดบั ประเทศอีกหลายกรณีทเี่ ราอาจไม่ได้นำมาพูดถงึ ในบทท่ี 2 แต่เราจะไดม้ าเรียนรอู้ ย่างครอบคลุมใน ทกุ ประเด็นในส่วนของปัญหาระดบั นานาชาติ นักศึกษาจะได้เรียนรถู้ งึ SDG Goals ขององคก์ ารสหประชาชาติ และ ได้เรียนรู้จากสถติ วิ ่า โลกเราในปจั จบุ ัน ยงั คงมีปัญหาใดที่สง่ ผลกระทบต่อคนจำนวนมากอกี บ้าง ทง้ั นี้ นักศึกษาจะ ไดท้ ำการทดลองกิจกรรมท่ีจะช่วยลดปญั หาในระดับโลกผ่านวิธีการท่ีคล้ายกับการทำสตาร์ทอัพ ปญั หารอบตัว– ปัญหาระดบั ท้องถ่นิ การเงนิ สว่ นบคุ คล (Personal Finance) การเรยี นการสอนเร่ืองการเงินส่วนบุคคลในประเทศไทย ไม่ไดถ้ ูกคัดเลือกใหเ้ ปน็ วชิ าบงั คบั วชิ าทมี่ ีการเรยี น การสอนที่ใกล้เคยี งกบั การเงนิ ส่วนบุคคลมากทส่ี ุดคอื วิชาเศรษฐศาสตร์ อยา่ งไรก็ตาม เราจำเป็นอยา่ งยิ่งท่ีจะต้อง เรียนรู้เรื่องการเงนิ ส่วนบคุ คลในเบ้ืองต้น เพราะอะไรเราถงึ ต้องเรยี นรู้เรอ่ื งการเงนิ สว่ นบคุ คล? คำตอบกค็ ือ ในปี พ.ศ. 25599 ประเทศไทยมีหนี้ครัวเรือน คดิ เปน็ ตอ่ GDP สูงถึง 71.2 เปอร์เซ็นต์ ถือว่าเปน็ ประเทศท่ีมีหนค้ี รัวเรือนสูงเป็นอนั ดบั ต้นๆของเอเชีย โดยทุก 1 ใน 3 ของคนไทยเปน็ หนใ้ี นระบบ (Sommarat, Atchana, Krislert, & Bhumjai, 2017: 2, 5) การเรียนรูเ้ รื่อง การเงนิ ส่วนบุคคลจะชว่ ยให้เราเรียนร้ถู งึ วิธีการจดั การเงนิ การออม การลงทุน การกระจายความเส่ียง การทบี่ ุคคล กลายเป็นหน้ี หากว่าหน้ีนนั้ เป็นหน้เี สีย ยอ่ มจะสง่ ผลกระทบในเชงิ ลบตอ่ ประเทศชาติ เชน่ เมือ่ ครอบครวั เปน็ หนี้ อาจก่อให้เกิดความเครียด บั่นทอนสขุ ภาพจิต ส่งผลลบตอ่ ประสิทธภิ าพในการทำงาน ทำให้ผลงานของบรษิ ัทหรือ องค์กรถกู ผลติ ออกมาได้คุณภาพท่ตี กตำ่ ลง ปญั หาทเี่ กิดจากความเครียดยังส่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพกาย เป็นการเพิ่ม ภาระในการใช้จ่ายไปกับคา่ รักษาพยาบาล จะเหน็ ไดว้ า่ ปัญหาหน่ึงอาจส่งผลกระทบนำไปสปู่ ัญหาอน่ื ซ่ึงจะส่งผล กระทบในแง่ลบโดยรวมทง้ั ในระยะส้ัน และ ระยะยาวได้ ในประเทศสหรฐั อเมริกา นกั ศกึ ษาแพทย์ที่ใชว้ ิธกี ารก้ยู ืมเพื่อเป็นค่าเล่าเรียน มีหน้ีเฉล่ียเมื่อศึกษาจบอย่ทู ่ีคน ละ 190,000 เหรียญสหรัฐ สิ่งทเี่ กดิ ขึน้ คือ ย่ิงนักศึกษาแพทย์มีหนี้มากเท่าไหร่ ยง่ิ มแี นวโนม้ ในการเขา้ ศึกษาแพทย์ เฉพาะทางในสาขาที่ทำเงินสูงข้นึ แพทย์ท่ีมหี นี้มากมักจะมีคณุ ภาพชวี ิตท่ตี ำ่ ทำงานหนัก และมีความพึงพอใจใน การแบง่ เวลาชวี ิตอยู่ในระดบั ต่ำ (Youngclaus & Fresne, 2013; AAMC Data Book, 2016; Grayson, Newton, 9 ไตรมาสท่ี 3 ของปี พ.ศ. 2559

22 & Thompson, 2012; West, Shanafelt, & Kolars, 2011 as cited in Lynch, Best, Gutierrez, & Daily, 2018: 11) จากตัวอยา่ งสถานการณห์ นี้ของนักศึกษาแพทย์ในสหรฐั อเมริกาพบว่า การเปน็ หนส้ี ง่ ผลใหเ้ กดิ การ เปลี่ยนแปลงในชีวิตเป็นวงจร ในความเปน็ จริง นักศึกษาแพทยอ์ าจไมไ่ ด้มคี วามสนใจในการศึกษาสาขาเฉพาะทางท่ี เรยี น แต่จำเปน็ ต้องศึกษาในสาขาดงั กลา่ วเพราะคา่ ตอบแทนทส่ี งู เสน้ แบ่งความยากจน หรือ Poverty Line ถกู กำหนดโดย World Bank (ธนาคารโลก) เพื่อเปน็ การวดั ว่า ประชากรบนโลกยงั อย่ใู นสภาวะของความยากจนเป็นจำนวนประมาณเทา่ ไหร่ เส้นแบ่งความยากจนในปี ค.ศ. 2015 มีมลู คา่ เทา่ กับ $1.90 (ต่อวัน) หากบุคคลใดมรี ายได้น้อยกว่าวันละ $1.90 ถอื ว่าเปน็ บคุ คลยากจน เส้นแบ่ง ความยากจนมีการเปลี่ยนแปลงตามราคาค่าใชจ้ า่ ยทเ่ี พม่ิ ข้ึน ต้ังแตค่ ่าอาหาร ค่าทพ่ี ักอาศัย ไปจนถึงค่าเสื้อผ้า ในปี 2008 เสน้ แบง่ ความยากจนจะอยู่ที่ $1.25 พบวา่ หากใชห้ ลกั เกณฑเ์ สน้ แบ่งความยากจนที่ $1.90 จะมีคนยากจน อยูบ่ นโลกใบนปี้ ระมาณ 900 ล้านคนในปี 2012 (The World Bank, 2015) ในปี พ.ศ. 2560 คนไทยจำนวนประมาณ 14 ล้านคน ลงทะเบยี นเปน็ ผ้มู รี ายได้น้อย หรอื ในอกี ชื่อหน่ึง เรียกวา่ ทะเบียนคนจน โดยมีผู้ผ่านเกณฑ์การไดร้ ับสวัสดิการจากภาครฐั จำนวนท้ังสน้ิ ประมาณ 11.4 ลา้ นคน (ไทยรฐั ออนไลน์ [ก], 15 กนั ยายน, 2560) เกณฑ์ในการมสี ิทธิได้รบั สิทธจิ ากสวสั ดิการแห่งรฐั เพราะเป็นคนจน พจิ ารณา จาก 5 ข้อ ได้แก่ 1. เปน็ ผูม้ ีสัญชาติไทย 2. อายไุ ม่ต่ำกว่า 18 ปี 3. มีรายได้ท้ังปีไม่เกิน 100,000 บาท 4. ครอบครองทรัพยส์ ินทางการเงนิ ไม่เกนิ 100,000 บาท 5. ไมเ่ ปน็ เจา้ ของทรัพยส์ นิ ประเภทอสังหาริมทรัพย์ หรอื หากเปน็ เจ้าของอสงั หารมิ ทรัพย์จะต้องเป็นเจา้ ของ บ้านขนาดไม่เกิน 25 ตารางวา เจา้ ของห้องชุดไมเ่ กิน 35 ตารางเมตร ในกรณีที่ใช้พ้ืนท่ีท้ังอยอู่ าศัยและทำ การเกษตรจะต้องมีพ้นื ท่ีหา้ มเกนิ 10 ไร่ โดยพน้ื ทส่ี ำหรับอยอู่ าศัยเองมีไมเ่ กิน 1 ไร่ และกรณีใชเ้ พ่ือ การเกษตรจะต้องมีพืน้ ทห่ี า้ มเกิน 10 ไร่ และเปน็ พ้ืนที่ท่ไี ม่ได้ทำการเกษตรไมเ่ กิน 1 ไร่ (TCIJ, 9 มนี าคม 2560) อน่ึง โครงการสวสั ดิการแห่งรัฐ เป็นโครงการท่เี รม่ิ มีมาต้ังแต่ พ.ศ. 2560 โดยผ้มู ีรายได้น้อยจะได้รบั บัตรผู้มี รายไดน้ ้อย หรือบตั รคนจน เมอื่ ผา่ นคุณสมบตั ิ บัตรเหลา่ นีส้ ามารถนำไปใช้เป็นส่วนลดค่าใช้จ่ายประเภทครวั เรือน

23 ได้แก่ สทิ ธใิ นการใชบ้ ัตรแทนเงินสดมลู ค่า 300 บาททุกเดือน กรณมี รี ายไดต้ ่ำกวา่ ปีละ 30,000 บาท และ 200 บาท ทุกเดือนกรณีมรี ายไดส้ ูงกวา่ 30,000 บาทต่อปี โดยสามารถซอ้ื สินค้าและประเภทของสินคา้ จากรา้ นธงฟ้าประชา รัฐและรา้ นคา้ ตามกระทรวงพาณชิ ยก์ ำหนด รวมไปถงึ สิทธใิ นการซือ้ กา๊ ซหุงต้ม 45 บาทในทุก 3 เดือน ตามร้านค้า ทก่ี ำหนดโดยกระทรวงพลังงาน และคา่ ใชจ้ า่ ยประเภทการเดนิ ทาง ได้แก่ สทิ ธิในการใช้บตั รคนจนแทนมลู ค่า รถไฟฟา้ รถไฟ และรถโดยสารสาธารณะ เดือนละ 500 บาทในแต่ละประเภท (ไทยรฐั ออนไลน์ [ข], 21 กนั ยายน, 2560) จากการกำหนดผู้มรี ายไดน้ ้อย หรือ คนจนของรัฐไทยในปี พ.ศ. 2560 พบว่า รัฐไทยใชม้ าตรฐานคา่ ความ ยากจนสงู กว่าเสน้ poverty line ตามมาตรฐานสากลมาก คือ โดยเฉล่ียต่อวัน ผู้ท่ีมรี ายไดต้ อ่ ปีเทา่ กับ 100,000 บาทจะมีรายรบั วนั ละประมาณ 273 บาท ซึ่งสูงกวา่ เส้น poverty line ท่ปี ระมาณ 60 บาท ถงึ 4.5 เท่า การที่มีคน เข้ามาลงทะเบยี นสงู ถึง 14 ล้านคนเศษ แสดงใหเ้ หน็ วา่ คนไทยจำนวนเกนิ กวา่ ร้อยละ 2010 เห็นว่าตวั เองมปี ัญหา ทางการเงิน หรืออย่างน้อยยินดีทจี่ ะได้รับการชว่ ยเหลอื จากภาครัฐ ในระยะยาว เราไม่สามารถจะบอกได้วา่ รัฐบาลไทยยงั จะคงไว้ซึง่ นโยบายสวสั ดกิ ารแห่งรัฐเพอ่ื ช่วยเหลือคนจน เพราะเม่อื เราคิดในอัตราข้ันต่ำ บคุ คลจะได้รับการช่วยเหลอื จากโครงการน้ีถงึ เดือนละ 1,715 บาท คดิ จากราคาค่า โดยสารรถท้ัง 3 ประเภท ประเภทละ 500 บาท รวมเปน็ 1,500 บาท บวกกบั คา่ ใชจ้ ่ายข้ันตำ่ 200 บาทต่อเดือน และค่าก๊าซหงุ ต้มท่ีราคาเฉลี่ยเดือนละ 15 บาท และหากคนจำนวน 11.4 ล้านคนทีผ่ า่ นเกณฑ์ได้รับสิทธินี้เลือกใช้ สทิ ธิทุกเดือน รัฐจะต้องแบกรับภาระไปทั้งสิ้นเดือนละประมาณ 1.9 หม่ืนลา้ นบาทหรือปีละกวา่ 2.3 แสนลา้ นบาท (เฉล่ยี ใกล้เคียงกับงบประมาณประจำปีของกระทรวงการคลังในปี พ.ศ. 2562 ท่ี 2.38 แสนลา้ นบาท)11 แม้ในกรณี ท่บี ุคคลท้ังหมดเลือกใช้สิทธิโดยสารรถเพยี ง 1 ประเภทท่ี 500 บาท รัฐกจ็ ะต้องแบกรับภาระถงึ ปลี ะ 9.7 หมน่ื ล้าน บาท โดยงบประมาณภาครัฐ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มมี ูลคา่ ท้งั สิน้ 3 ลา้ นลา้ นบาท คา่ ใชจ้ ่ายมูลคา่ 2.3 แสนลา้ นบาท และ 9.7 หมื่นล้านบาท คดิ เป็น ร้อยละ 7 และ ร้อยละ 3 ของงบประมาณภาครัฐทงั้ ปี 2562 ตามลำดับ (สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2561: 77) 10 คดิ จากการประมาณการจำนวนประชากรไทย ในปี พ.ศ. 2561 ท่ี 67 ลา้ นคน 11 ขอ้ มูลเปรยี บเทียบจากงบประมาณภาครัฐ ปี พ.ศ. 2562 เข้าถึงขอ้ มูลจาก http://budget.parliament.go.th/bbebook62/FILEROOM/CABILIBRARY62/DRAWER01/GENERAL/DATA0000/00000501.PDF

24 วธิ ีการทจ่ี ะสอนใหเ้ ราทำความเขา้ ใจเรื่องการเงินส่วนบุคคล คือ การทดลองเขียนบญั ชรี ายรับและรายจ่าย โดย กระบวนการคอื การเขยี นรายจา่ ยทกุ วัน และเม่ือเราเห็นคา่ ใชจ้ ่ายของเราแลว้ เราจะสามารถจำแนกรายจ่าย ออกเป็น 3 ประเภทดว้ ยกันไดแ้ ก่ 1. รายจา่ ยประจำ คือ รายจา่ ยทเ่ี ราสามารถรู้ไดล้ ว่ งหน้าว่าจะตอ้ งมกี ารชำระเปน็ รายเดือน เชน่ คา่ ผอ่ นรถ คา่ ผอ่ นบา้ น ค่าสัญญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ค่าโทรศัพทร์ ายเดอื น ค่าสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน คา่ ประกนั ชีวิต ฯลฯ 2. รายจา่ ยฉกุ เฉิน เช่น รายจ่ายทีเ่ กิดจากการประสบอบุ ัติภัย การถกู ปล้น การเจบ็ ปว่ ย 3. รายจา่ ยพิเศษ เชน่ รายจา่ ยค่าทำบญุ ค่าซองแต่งงาน ค่าซองงานศพ คา่ สังสรรค์ ทงั้ น้ี คา่ ใช้จ่ายที่เราสามารถคำนวณลว่ งหนา้ เป็นรายปีได้ง่ายทีส่ ดุ คือ รายจา่ ยประจำ ดงั นน้ั ควรเร่ิมจากการ คำนวณรายจา่ ยรายปีอยา่ งคร่าวๆ เพ่ือเปรยี บเทยี บกับรายรับรายปี จากการบนั ทึกรายจา่ ยท่แี ท้จรงิ จะเหน็ ไดว้ ่า ในแตล่ ะปี มีค่าใช้จา่ ยจำนวนมากทีเ่ ราไม่ไดค้ าดคิด ดงั น้นั เราควรจะมเี งนิ เก็บส่วนหน่ึงไว้เพ่ือสำรองจา่ ยฉุกเฉิน ตง้ั แต่ 1-6 เดือนของรายรับรายเดอื นของเรา การออมเงนิ เปน็ อกี ภารกจิ ทสี่ ำคัญ เพ่ือทำใหเ้ ราบรรลุเปา้ หมายในการประสบความสำเรจ็ ทางการเงิน การ ออมเงนิ นน้ั ทำได้ 2 วธิ ีคือ 1. ใช้เงนิ รายรับในแตล่ ะเดือน เหลือเงินเท่าไหร่ แลว้ คอ่ ยออมเงิน 2. เมือ่ มีรายรบั เข้ามา ใหท้ ำการออมเงนิ ทนั ที แล้วค่อยเอาเงินท่เี หลอื ไปใช้จา่ ย นักศกึ ษาสามารถออมเงินผ่านทง้ั 2 วธิ กี าร แต่อยา่ งไรกต็ าม วิธกี ารที่ 2 คอื ออมเงินทนั ที จะทำให้เราสามารถ จดั การการเงินเราได้ดีกว่าการออมในวธิ ที ่ี 1 ดงั นั้น วธิ กี ารทแี่ นะนำใหน้ ักศึกษาออมเงิน คือ วิธกี ารออมเงินเปน็ ราย เดอื นก่อนแล้วค่อยใช้เงนิ ท่ีเหลอื หลงั จากการออมแล้ว โดยอาจเร่ิมจากจำนวนเงินที่ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ของรายรบั และ เพ่มิ ขนึ้ ไปเร่ือยๆ เมื่อมรี ายรับมากขน้ึ นอกจากการออมแลว้ นักศึกษาควรเรียนรใู้ นการลงทุน เพอื่ เพม่ิ พนู เงนิ ออมของเราให้มมี ากข้ึน คำถามคือ ทำไมเราต้องเรียนรู้เร่ืองการลงทุน? น่ันเป็นว่าเพราะวา่ หากเราเก็บเงนิ ไวใ้ นธนาคาร ณ ปี พ.ศ. 2561 พบวา่ อัตรา ดอกเบ้ียที่เราจะไดร้ บั จากธนาคารพาณิชย์อยทู่ ่ีประมาณร้อยละ 0.5-1.7 (ธนาคารแหง่ ประเทศไทย, 2561) อย่างไร กต็ าม สงิ่ ทเ่ี ราจะตอ้ งคำนึงเมื่อเราฝากเงินต้นของเราไวใ้ นธนาคารคือ อัตราเงนิ เฟ้อ ซ่ึงหมายความวา่ มลู ค่าของเงิน ของเราจะถดถอยลงไปในแต่ละปี เชน่ เมอ่ื 15 ปที แี่ ล้ว เราสามารถซ้ือกว๋ ยเตย๋ี วได้ราคาชามละ 20-25 บาท แต่ใน ปัจจบุ นั ปี พ.ศ. 2561 เราตอ้ งซื้อกว๋ ยเต๋ียวถงึ ชามละ 30-35 บาท ในปี ค.ศ. 2018 อัตราเงนิ เฟ้อของประเทศใน

25 เอเชียและแปซิฟิก อยู่ที่ 3.4 เปอรเ์ ซ็นต์ ในส่วนของประเทศทีม่ ีอัตราเงินเฟ้อมากทสี่ ดุ คือ ประเทศในทวปี แอฟรกิ า คอื อยู่ที่ 11.8 เปอรเ์ ซ็นต์ ในขณะที่อตั ราเงนิ เฟ้อตำ่ สดุ เกิดขึน้ ที่ทวีปยโุ รป ในอตั รา 2.1 เปอรเ์ ซ็นต์ (World Economic Outlook as cited in International Monetary Fund (IMF), 2018) จากข้อมูลเชงิ สถติ ิ พบวา่ หาก เราฝากเงินไวใ้ นธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย เราจะขาดทุนในทันที เพราะคา่ เงนิ เฟ้อมีอตั ราท่ีมากกว่าเงินฝาก นอกเหนือไปจากประเด็นของเงนิ เฟ้อแล้ว เรายงั จะต้องพิจารณาถงึ สภาวะทางเศรษฐกิจทอี่ าจเกิดความผันผวนได้ ตลอดเวลา เช่น ในปี 2017-2018 มูลคา่ ของเงินสกลุ Lira ซ่งึ เป็นสกลุ เงินของประเทศตุรกีตกลงไปถึงประมาณ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยเหตุการณ์ทง้ั หมดเกดิ ขึ้นในระยะเวลา 1 ปี เท่าน้นั (Collinson & Davies, 2018) นนั่ แปลวา่ หาก เราฝากเงินไว้ในธนาคารในประเทศตุรกีโดยไม่ไดล้ งทนุ อะไรเลย เงินของเราจะมีมูลค่าลดลงไปถึงครงึ่ หน่งึ ถา้ เช่นนนั้ เราสามารถลงทุนในด้านใดบา้ ง? วิธีการมีหลากหลายต้งั แต่การลงทุนในตราสารหน้ี เช่น พันธบตั ร รฐั บาลและหุ้นกู้ โดยการลงทุนในตราสารหนี้จะมีอตั ราดอกเบีย้ และอายุของตราสารหน้ีกำหนดไว้ และสามารถซ้ือ ขายเปลย่ี นมือได้ (ตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย, ม.ป.ป.) การลงทุนในตราสารทุน (หนุ้ ) การลงทุนในเงินสกลุ ดจิ ทิ ลั เชน่ Bitcoin Ethereum การลงทุนในทองคำและแรป่ ระเภทอื่นๆ การลงทนุ ในอัตราแลกเปล่ยี นคา่ เงนิ (Forex) โดยแต่ละการลงทุนจะมีความเส่ียงทีแ่ ตกต่างกนั ออกไป ทั้งน้ี สง่ิ ทเี่ ส่ยี งท่สี ดุ ก็คือ การท่ีเราไมเ่ ส่ยี งอะไรเลย โดยสรปุ แลว้ บคุ คลควรมคี วามรู้เบือ้ งตน้ ทางการเงนิ เรม่ิ ตงั้ แต่การรบั รใู้ นรายรบั รายจ่ายของตนเอง ไปจนถึง การลงทนุ เบ้ืองต้น นอกจากการเรยี นรใู้ นข้างต้นจะเป็นประโยชน์ต่อตนเองโดยตรงแล้ว ยงั เปน็ ประโยชน์แก่ ประเทศชาติ เพราะเราไมต่ ้องพงึ่ พิงหรอื ผลกั ภาระของตนเองใหไ้ ปตกอยู่กับรัฐ ความรับผดิ ชอบของตนเองต่อสังคม เม่อื พูดถึงความรับผดิ ชอบต่อสงั คม เรามักนึกถึงความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมขององค์กรธรุ กจิ หรือทีม่ ีชอ่ื เรยี กเปน็ ทางการวา่ ความรับผิดชอบตอ่ สังคมของกจิ การ (Corporate Social Responsibility: CSR) โดย ความหมายของ CSR คือ “การประกอบกิจการ ดว้ ยความดแู ลใส่ใจต่อผู้มีส่วนได้เสีย เศรษฐกิจ สังคม และ สงิ่ แวดล้อมอย่างมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณตลอดจนมธี รรมาภิบาลเป็นเคร่ืองกำกบั ให้การดำเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ เป็นไปดว้ ยความซื่อสัตย์ สุจริต โปรง่ ใสและยตุ ธิ รรม...” (คณะกรรมการกลมุ่ ความร่วมมือทาง วิชาการเพ่อื พัฒนามาตรฐานการเรยี นการสอนและการวิจยั ด้านบริหารธรุ กจิ แห่งประเทศไทย, 2555: 11) อยา่ งไรก็ตาม ไม่ใช่เพยี งแต่องค์กรธุรกิจทจี่ ะต้องมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม เราในฐานะบุคคลตา่ งกม็ สี ่วน ในการสรา้ งความรับผิดชอบต่อสงั คมเชน่ เดยี วกัน ทง้ั น้ีความรบั ผดิ ชอบของตนเองต่อสงั คม หมายความถึง “การ

26 ดำรงชีวติ โดยเอาใจใส่ต่อบุคคลท่ีเราปฏิสมั พันธ์ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม โดยการดำรงชีวิตประจำวันจะต้อง คำนงึ ถงึ ผลทางเศรษฐกจิ สังคม และสง่ิ แวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นจากตัวเรา”12 ในประเด็นความรับผิดชอบของตนเองต่อสงั คม จะยกตัวอย่างกรณีศกึ ษาทเ่ี กิดขนึ้ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั เพื่อใหน้ ักศึกษาไดเ้ ข้าใจถงึ ผลกระทบท่ีอาจเกิดขน้ึ จากการกระทำของเรา กรณศี ึกษาตัวอย่าง ได้แก่ การบริโภค แอลกอฮอล์ การเคารพกฎจราจร การจดั การกับขยะและผลกระทบทม่ี ีต่อส่ิงแวดลอ้ ม การบริโภคแอลกอฮอล์ จากผลการประมาณการเชงิ สถติ ิของ World Health Organization ในปี ค.ศ. 2016 พบว่า ประชากรไทยผมู้ ีอายุต้ังแต่ 15 ปีขน้ึ ไป บริโภคแอลกอฮอลเ์ ฉลย่ี คนละ 8.3 ลติ รตอ่ ปี ถอื วา่ เป็นสถติ ิทีส่ งู เป็น อันดบั ท่ี 2 ของภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ โดยคนไทยนิยมบริโภคเหลา้ สูงสุด ตามมาด้วยเบยี ร์ และ ไวน์ ตามลำดบั สำหรบั ประเทศท่ีบรโิ ภคแอลกอฮอลเ์ ปน็ อนั ดบั 1 ของ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ คอื ลาว ประชากรลาว บรโิ ภคแอลกอฮอลเ์ ฉลี่ยคนละ 10.4 ลติ รต่อปี ในขณะทปี่ ระเทศทมี่ ีอตั ราการบริโภคแอลกอฮอลต์ ่ำ เปน็ ประเทศที่ ประกอบไปดว้ ยประชากรที่นับถอื ศาสนาอิสลามเปน็ หลัก ไดแ้ ก่ บรไู น (0.4 ลิตรต่อป)ี , อินโดนเี ซยี (0.8 ลิตรต่อป)ี , และมาเลเซีย (0.9 ลิตรตอ่ ปี) (World Health Organization, 2018) ตวั เลขการบริโภคแอลกอฮอล์ท่ียกตัวอย่าง มา ถงึ แมจ้ ะถูกแบง่ ออกอย่างชัดเจน วา่ ผลทางการนับถือศาสนา (อิสลาม) สง่ ผลอยา่ งชัดเจนตอ่ พฤติกรรมการ บรโิ ภคแอลกอฮอล์ อยา่ งไรก็ตาม ตวั เลขการบริโภคแอลกอฮอล์ของประชากรสงิ คโปร์ ถอื วา่ ต่ำกวา่ ประเทศไทย มากกว่า 4 เท่า คือ อยู่ที่เพียง 2 ลติ รต่อคนต่อปี น่นั แสดงว่าเราสามารถควบคุมการด่ืมแอลกอฮอลไ์ ด้ ในส่วนของ ภาครฐั สามารถขึน้ ภาษแี อลกอฮอล์เพื่อใหป้ ริมาณการบริโภคแอลกอฮอลล์ ดลง คำถามคอื รฐั ไทยไมไ่ ดม้ กี ารจัดการกบั ปญั หาพฤตกิ รรมการบรโิ ภคแอลกอฮอล์ของคนไทยจริงหรือ? ความจริง คือ บริษทั ที่ขายแอลกอฮอลใ์ นประเทศไทย ไมส่ ามารถจดทะเบียนบรษิ ัทเพื่อระดมทุนจากประชาชนในตลาดหนุ้ ได้ อย่างไรกต็ ามบรษิ ัทมหาชนสามารถไประดมทุนยงั ตลาดหุ้นในตา่ งประเทศ เช่น ประเทศสงิ คโปร์ จาก พระราชบญั ญัติควบคุมเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พบว่า มีข้อจำกัดเกิดข้นึ มากมายภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ิ นี้ท่ีจะชว่ ยให้การเข้าถึงแอลกอฮอลเ์ ป็นไปไดย้ ากข้นึ เชน่ หา้ มรา้ นคา้ ขายแอลกอฮอลแ์ ก่บคุ คลที่อายตุ ่ำกวา่ 20 ปี ห้ามขายเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ผ่านเครื่องขายอตั โนมัติ ห้ามขายเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลใ์ นบริเวณสถานที่ปฏบิ ัติ ศาสนกจิ สถานศกึ ษา สถานทร่ี าชการ สวนสาธารณะ (พระราชบัญญตั ิควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑, 2551) นอกจากนยี้ งั ห้ามมิใหม้ ีการโฆษณาขายแอลกอฮอล์ทางตรง และจำกัดอายผุ ู้มสี ทิ ธิบรโิ ภคแอลกอฮอลท์ ่ี 12 ใช้คำนยิ ามของ CSR จาก คณะกรรมการกลมุ่ ความร่วมมอื ทางวชิ าการเพอ่ื พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนและการวิจยั ดา้ นบริหารธุรกิจแหง่ ประเทศไทย, 2555 มาปรับใช้ใหเ้ ข้ากบั บริบทของความรบั ผิดชอบของตนเองตอ่ สังคม

27 ตง้ั แต่ 18 ปขี ้ึนไป อย่างไรกต็ าม สิง่ ที่รัฐไทยควรจะปรับปรุงเพม่ิ เติมในประเดน็ ทเี่ ก่ียวกบั แอลกอฮอลค์ ือ ภาษี แอลกอฮอลแ์ ละการจัดระเบียบพ้นื ทกี่ ารขายแอลกอฮอล์ (Treerutkuarkul, 2017) จากข้อมลู ท่เี กย่ี วข้องกบั ทาง กฎหมาย พบว่า รฐั ไทยได้มีการจัดการและตัง้ ขอ้ กำหนดกฎเกณฑ์กับการขายแอลกอฮอลใ์ นเบ้ืองตน้ นน่ั แสดงว่า ปญั หาของการบริโภคแอลกอฮอล์ สว่ นหนึง่ ยอ่ มต้องเกดิ จาก พฤติกรรมส่วนบุคคล โฆษณา “จน เครยี ด กินเหลา้ ” ในปี 2548 โดย สำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) (หนังสอื พิมพบ์ ้านเมือง, ม.ป.ป. อา้ งถงึ ใน สำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.), 2555) ถือ เป็นโฆษณารณรงค์ใหป้ ระชาชนงดการบริโภคเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ท่ปี ระสบความสำเร็จในดา้ นการประชาสมั พนั ธ์ เปน็ อยา่ งยิง่ อย่างไรก็ตาม ภาพลกั ษณ์ท่ี สสส. พยายามสื่อในโฆษณาน้ี คือ ผู้บรโิ ภคแอลกอฮอลเ์ ป็นคนยากจน คำถาม คอื ผูบ้ ริโภคแอลกอฮอล์ มักปรากฏอยู่ในหมู่ของคนยากจนจรงิ หรอื ไม่?13 จากผลการวิจัยทีไ่ ด้จดั ทำขน้ึ เพื่อสำรวจพฤติกรรมการบริโภคแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั เปิด จำนวน 87,151 ราย ท่มี ีอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี ้นึ ไป พบวา่ ร้อยละ 65 ของนักศึกษาบริโภคแอลกอฮอล์เปน็ ประจำ นกั ศกึ ษาเพียงรอ้ ยละ 26 ที่ไมบ่ รโิ ภคแอลกอฮอล์ โดยผหู้ ญงิ บริโภคแอลกอฮอล์เป็นจำนวนนอ้ ยกว่าผ้ชู ายอย่างมี นยั ยะสำคญั (Wakabayashi et al., 2015) จากข้อมลู เชิงสถิติ จะพบว่า แม้กระทง่ั บุคคลผู้มกี ารศกึ ษาใน ระดับอดุ มศึกษา ยังมพี ฤตกิ รรมการบริโภคแอลกอฮอลเ์ ป็นประจำมากกวา่ ผูไ้ ม่บริโภคแอลกอฮอล์ถงึ 2.5 เทา่ ขอ้ เสียของการบริโภคแอลกอฮอล์ โดยปราศจากความรบั ผดิ ชอบ ไดแ้ ก่ กรณขี องการเมาแลว้ ขบั ในชว่ ง เทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2561 มีคดีทเี่ กิดขึ้นจากการเมาแล้วขับมากถึง 6,030 คดี (กรมคุมประพฤติ อ้างถงึ ใน ไทยรัฐ ออนไลน์, 8 มกราคม 2561) ในประเด็นของการบริโภคแอลกอฮอล์ ไมไ่ ด้มกี ารห้ามนกั ศึกษาไมใ่ ห้บรโิ ภคแอลกอฮอล์อย่างส้ินเชงิ อย่างไรก็ ตาม เราควรเรยี นรทู้ จี่ ะเปน็ ผ้บู ริโภคที่มคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเอง เช่น ไมเ่ สพติดการบริโภคแอลกอฮอล์จนอาจ กอ่ ให้เกดิ อนั ตรายแก่ผ้อู น่ื เช่น กรณีของการเมาแลว้ ขบั การกอ่ เหตุทะเลาะววิ าท ทำรา้ ยร่างกาย เป็นตน้ 13 สำนกั งานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ไดจ้ ดั ทำโฆษณาเพอ่ื รณรงคใ์ หป้ ระชาชนงดการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์เป็นจำนวนมาก โดย ไมไ่ ด้เสนอเพียงแตผ่ ูบ้ รโิ ภคที่ยากจนเพยี งด้านเดยี ว สามารถเขา้ ถงึ โฆษณาได้ท่ี https://www.youtube.com/watch?v=wYyGNtePSDI

28 การเคารพกฎจราจร การเคารพกฎจราจร ถือเปน็ ความรบั ผิดชอบส่วนบคุ คล ที่สง่ ผลกระทบต่อผู้ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการจราจรส่วนรวม ต้ังแต่ ผูเ้ ดนิ บนทางเท้า ผู้ใช้รถยนตส์ ่วนบคุ คล-รถบรกิ ารสาธารณะ ตลอดจนเจา้ หน้าที่ท่มี สี ว่ นเก่ียวขอ้ งในงานด้าน จราจร คนไทยเคารพกฎเกณฑก์ ารจราจรมากเพียงใด? จากสถติ ทิ ่ีปรากฏในปี 2015 พบว่า คนไทยมีอตั ราการสวม หมวกนริ ภยั ในช่วงเวลาขบั ขี่จกั รยานยนต์ต่ำเป็นลำดับท่ี 6 จาก 7 ประเทศอาเซียนทีส่ ามารถเก็บข้อมูลได้ (ไทย เวียดนาม กมั พูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ และเมียนมา) คือ มีผสู้ วมใสห่ มวกนริ ภัยเพียงร้อยละ 52 ในกรณี ของคนขบั และเพยี งรอ้ ยละ 20 ของคนโดยสาร โดยประเทศที่มีสถติ ใิ นการสวมหมวกนิรภัยที่ดที ี่สุด คือ ประเทศ มาเลเซยี คอื คนขับร้อยละ 97 และผ้โู ดยสารร้อยละ 89 ท่ีสวมหมวกนริ ภยั (World Health Organization, 2016: 61) รปู ภาพที่ 1 (ภาพซ้าย): รูปภาพของรถจกั รยานยนตท์ จ่ี อดบนทางเดินเทา้ ทั้งๆทมี่ ีขอ้ ความหา้ มจอด และจะมีการปรบั เปน็ เงินสงู สุดไม่เกนิ 5,000 บาทตาม กฎหมาย, ผเู้ ขยี นถ่ายภาพน้ีทอ่ี ำเภอเมือง จังหวดั เชยี งใหม่ พ.ศ. 2561 ; รปู ภาพท่ี 2 (ภาพขวา): รปู ภาพของรถจกั รยานยนต์ทจ่ี อดรถในบริเวณพืน้ ทจี่ อด รถสำหรับคนพิการ (แต่คนขบั ไม่ไดม้ คี วามพิการทางร่างกายแตอ่ ยา่ งใด), ผเู้ ขยี นถ่ายภาพน้ีทอี่ ำเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม่ พ.ศ. 2561

29 สำหรบั สถิตขิ องอุบตั ิเหตุการจราจรในประเทศไทย พบว่าในชว่ งปี 2007 – 2012 จำนวนอบุ ัตเิ หตมุ ีอตั ราที่ ลดลงในทุกปีดงั จะเห็นได้จากแผนภาพตารางที่ 1 ปี จำนวนอุบตั เิ หตุ จำนวนผูบ้ าดเจบ็ จำนวนผเู้ สียชีวติ 12,492 2007 101,752 142,738 11,561 10,717 2008 88,721 146,955 10,742 9,910* 2009 84,806 113,048 8,746* 2010 74,379 113,862 2011 68,269 104,725 2012 61,197 110,777 ตารางที่ 1: สถติ ิของอุบตั เิ หตุการจราจรในประเทศไทย ปี 2007 – 2012 ทีม่ า: Royal Thai Police, 2012 as cited in World Health Organization, 2016 *ตวั เลขผเู้ สยี ชวี ิตไมต่ รงกันกับขอ้ มูลจากสำนกั ขา่ วอิศรา, 31 ธันวาคม, 2560 เพราะในตารางน้เี ป็นขอ้ มลู จากสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาตเิ พยี งอยา่ งเดยี ว แตถ่ า้ มาดูสถิติของการเสียชีวิตจากอุบตั ิเหตุจราจรต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2554 – 2559 (ค.ศ. 2011 – 2016) พบวา่ ตวั เลขคลาดเคลอื่ นจากขอ้ มลู ท่ีได้มาจากสำนักงานตำรวจแหง่ ชาติถงึ เกือบ 2.4 เท่าในปี 2554 และ 2.6 เท่าในปี 2555 ดังตารางภาพท่ี 2 ปี จำนวนผ้เู สยี ชีวติ 2554 23,390* 2555 22,841* 2556 22,438 2557 21,429 2558 19,479 2559 22,356 ตารางท่ี 2: สถิติของการเสียชวี ติ จากอุบตั ิเหตุจราจรตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2554 – 2559 ทมี่ า: สำนักขา่ วอศิ รา, 31 ธันวาคม, 2560

30 * ในตารางขอ้ มลู นี้เป็นข้อมูลทร่ี วบรวมมาจาก 3 แหลง่ ขอ้ มูลไดแ้ ก่ สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ ข้อมูลใบ มรณบัตร และบริษัทกลางคมุ้ ครองผ้ปู ระสบภยั จากรถ และดว้ ยสถติ ใิ นตารางภาพที่ 2 พบว่าจากสถติ ินี้ ส่งผลให้ประเทศไทยได้กลายเป็นประเทศที่มีอัตรา ผ้เู สียชวี ิตจากอุบตั ิเหตุการจราจรเป็นอันดับท่ี 1 ของโลก และสูญเสียมลู ค่าทางเศรษฐกิจมากกวา่ 5 แสนลา้ นบาท จากอบุ ตั ิเหตุ (สำนกั ข่าวอิศรา, 31 ธันวาคม 2560) ในปี 2013 สาเหตสุ ว่ นใหญข่ องอบุ ัติเหตุในประเทศไทยเกิดมาจากการขบั รถเรว็ ร้อยละ 12.6 ตามมาด้วย การเปลยี่ นเลนกะทนั หนั ร้อยละ 12.2 การขบั รถในระยะกระชน้ั ชดิ กบั รถขน้ั หน้าเกนิ ไป ร้อยละ 9.6 และ อุบตั เิ หตจุ ากการเมาแลว้ ขบั ร้อยละ 6.9 นอกจากนี้ ชว่ งปี 2006 - 2013 สาเหตหุ ลักของการเกดิ อบุ ัติเหตุมาจาก ผูใ้ ช้ถนนเองถึงร้อยละ 63.9 (Royal Thai Police, 2013 as cited in World Health Organization, 2016: 10 – 11) ทง้ั นี้ ประเทศไทยมีจำนวนรถทีจ่ ดทะเบยี นกับกรมขนสง่ ทางบกสูงถึงกวา่ 38 ล้านคนั โดยเป็น รถจักรยานยนต์ 20.5 ลา้ นคัน รถยนตส์ ว่ นบคุ คล 9.2 ลา้ นคัน และรถประจำทาง 1.4 แสนคนั (กรมการขนส่งทาง บก, 2561)14 ซง่ึ เม่ือนับวา่ ประชากรไทยมีจำนวน 67 ล้านคน แสดงว่าในทกุ ๆ 1.7 คน จะมคี นที่ครอบครองรถ 1 คัน จากข้อมูลเชิงสถติ ิ แสดงให้เห็นวา่ คนใชถ้ นนในประเทศไทยส่วนหนึ่งยงั คงขบั รถดว้ ยความประมาท ไม่ เคารพในกฎหมายและกฎจราจร ขบั รถโดยไมค่ ำนึงถึงผู้ใช้ถนนรว่ ม นั่นคอื การขาดความรบั ผดิ ชอบต่อสว่ นรวม ทั้งนี้ เมือ่ เราใช้คำวา่ คนใช้ถนนในประเทศไทยส่วนหน่ึง แต่ส่วนหน่ึงที่ไดก้ ล่าวถึง กลับสง่ ผลให้อุบัตเิ หตบุ นท้อง ถนนเกิดข้ึนในประเทศไทยมากที่สุดในโลก ทัง้ นเี้ มื่อนักศึกษาไดท้ ราบถงึ สถติ กิ ารเกิดอุบัติเหตใุ นประเทศไทยแลว้ นักศึกษาควรเรยี นร้ทู จ่ี ะเคารพกฎ จราจร ขบั ขย่ี านพาหนะด้วยความปลอดภัย และคำนึงถึงผรู้ ่วมใชท้ ้องถนนรายอื่นๆ การจัดการกบั ขยะและผลกระทบที่มตี ่อส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาอีกประการหน่งึ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ตนเองแต่สง่ ผลกระทบต่อการจดั การในระดบั ท้องถิ่นและ ประเทศชาติ คือ ปัญหาขยะและผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม จากสถติ โิ ดยการเกบ็ ข้อมูลจากองคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ พบวา่ ตงั้ แต่ปี 2556 – 2559 ปริมาณขยะทเี่ กดิ ขึ้นในประเทศไทยมปี ริมาณเพิ่มข้ึนทุกปี โดยตวั เลขตัง้ แต่ ปี 2556 เป็นตน้ มา ขยะเกดิ ขึ้นถึงปีละมากกวา่ 26 ล้านต้น และในปี 2559 ตัวเลขเพิ่มสงู ขน้ึ เป็น 27 ลา้ นตัน โดย เฉลีย่ แล้ว ประชากร 1 คนจะสามารถสรา้ งขยะได้สูงถงึ 1.14 กิโลกรัมตอ่ วนั โดยมีขยะที่ถูกนำมาใชป้ ระโยชน์ได้ 14 ข้อมูลวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561

31 เพียงรอ้ ยละ 21 และขยะได้ถกู กำจดั อยา่ งถูกต้องร้อยละ 35 (สำนักจดั การกากของเสียและสารอันตราย กรม ควบคุมมลพษิ , 2560: 4) ขยะคือสิ่งของที่บุคคลไม่ต้องการใช้ ไม่เห็นประโยชน์ หรอื คณุ คา่ ขยะจงึ ถอื เป็นส่วนเกินสำหรับบคุ คลนัน้ ๆ ขยะบางประเภท ใช้ระยะเวลายาวนานในการย่อยสลาย เช่น พลาสติก ใชเ้ วลาในการยอ่ ยสลายยาวนานถงึ 450 ปี กระป๋องอะลมู ิเนียม ใช้ระยะเวลาในการยอ่ ยสลายนานถึง 80-100 ปี แม้กระท่งั รองเท้าหนงั ยงั ต้องใช้ระยะเวลาท่ี ยาวนานถงึ 25-40 ปใี นการย่อยสลาย (กรมควบคมุ มลพษิ , ม.ป.ป.) วธิ กี ารลดขยะและกำจัดขยะอย่างถูกวธิ ี ตามนิยามของกรมควบคุมมลพิษ (ม.ป.ป.) สามารถกระทำโดย วธิ ีการ 7 R ได้แก่ • Refuse – การปฏเิ สธไมใ่ ชส้ ง่ิ ของทจี่ ะก่อให้เกดิ มลพษิ หรือสิง่ ของทยี่ อ่ ยสลายได้ยาก เชน่ การปฏิเสธการ ใช้กลอ่ งโฟม • Refill – การเลอื กใชส้ นิ ค้าท่สี ามารถเตมิ ได้ เชน่ แทนท่จี ะซื้อขวดสบทู่ กุ คร้ัง เราสามารถซอื้ เฉพาะน้ำสบทู่ ี่ มขี ายเป็นถุงแทนการซื้อขวดใหม่ ในปัจจุบัน มีรา้ นรับเติมสบู่ แชมพู โดยผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถนำเอาภาชนะ ของตนเองมาเตมิ ผลติ ภัณฑ์เหล่านีไ้ ดท้ รี่ ้าน ในกรณีของประเทศไทยมรี ้าน Refill Station ทีใ่ หบ้ ริการเตมิ ผลติ ภณั ฑ์ทห่ี ลากหลาย ตงั้ อย่บู ริเวณ BTS อ่อนนุช กรงุ เทพฯ • Return – คนื ผลติ ภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ การคนื ขวดน้ำอดั ลม ขวดเบยี ร์ • Repair – แทนท่จี ะซือ้ สนิ คา้ ใหม่ เราสามารถสง่ สนิ ค้าซ่อมได้ เชน่ รองเทา้ เครื่องใช้ไฟฟ้า ปัญหาหนงึ่ ท่ี เกิดขึน้ คือ การรับประกันผลิตภัณฑส์ นิ ค้าในปัจจบุ ันมักมีอายุทส่ี น้ั เชน่ ระยะเวลาในการครอบคลมุ ประกนั 1 ปี ทำใหผ้ ูบ้ ริโภคเลอื กทีจ่ ะซ้ือสนิ คา้ ใหม่ทดแทนการซอ่ ม • Reuse – การใชซ้ ำ้ เชน่ เมือ่ กระปุกใส่แยมหมดลง แทนที่เราจะทิง้ ขวดแยม เราสามารถนำขวดแยมไปล้าง และใชป้ ระโยชน์ เชน่ เปน็ ที่เกบ็ น้ำมันเหลอื ใช้ • Recycle – การรีไซเคลิ จะเกิดข้ึนเม่ือ เราเหน็ วา่ สง่ิ ของนัน้ ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่เราแล้ว จำเป็นท่ี จะต้องทงิ้ การรไี ซเคิลท่ีถูกต้อง คอื การแยกขยะทจ่ี ะท้งิ ออกเปน็ ประเภท เช่น ขยะอันตราย ขยะเปียก ขยะแห้ง ออกจากกัน

32 • Reduce – การลดการใช้ขยะดว้ ยการลดการบริโภค ซ่ึงจะส่งผลให้เราสร้างขยะน้อยลง อนึง่ ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่มี ีการปล่อยขยะพลาสตกิ ลงไปในท้องทะเลมากทสี่ ุดเป็นลำดับท่ี 5 ของโลก (Ocean Conservancy & McKinsey Center for Business and Environment, 2017) ดงั นน้ั ประเด็นการ จัดการขยะถือเปน็ ประเด็นเรง่ ดว่ นทีป่ ระเทศไทยทัง้ ภาครฐั ภาคเอกชน และบุคคล ควรตระหนกั ในปญั หาและแก้ไข ปญั หารว่ มกนั ทง้ั น้ีสถติ ิการใชถ้ ุงพลาสติกของคนไทยต่อวันสงู ถงึ 8 ใบ (Styllis, 2018) วธิ กี ารในการบงั คับลดการ ใช้พลาสติก คือ การคดิ ราคาถุงพลาสติกต่อใบ หรือ งดการแจกถงุ พลาสตกิ แกล่ กู ค้า อย่างไรก็ตาม บคุ คลควรมี จติ สำนกึ ในการลดการใช้ถงุ พลาสติก และไมใ่ ช้ถุงพลาสติกประเภท ใช้คร้ังเดียวแล้วทง้ิ แต่ควรมีการนำกลบั มาใช้ ซำ้ ปัญหาระดบั ประเทศ ในแต่ละประเทศ ตา่ งมปี ัญหามากมายหลายประการท่ีตอ้ งไดร้ ับการแก้ไข ท้งั ประเดน็ ท่ีเรง่ ด่วนและ ประเดน็ ท่ีไมเ่ รง่ ด่วน ประเด็นท่ีส่งผลกระทบตอ่ คนจำนวนมาก ประเด็นทีส่ ง่ ผลกระทบต่อคนจำนวนน้อย การจดั เรียงลำดับความสำคัญของปัญหาระดับประเทศน้นั เปน็ หน้าทีท่ ่ีสำคัญของภาครัฐ ในบทนจ้ี ะขอยกตวั อย่างปัญหาที่ ประเทศไทยกำลังเผชญิ 2 ปัญหาด้วยกนั คือ สงั คมผสู้ ูงอายุ และ การทจุ รติ คอรร์ ัปชัน สังคมผู้สูงอายุ สถติ ิผสู้ ูงอายใุ นประเทศไทยปี 2560 อยู่ทีร่ ้อยละ 15 ของจำนวนประชากรทัง้ หมด (กรมกจิ การผูส้ ูงอายุ, 2560) ซ่ึงถือว่าประเทศไทยไดเ้ ขา้ สสู่ ังคมผ้สู ูงอายุเปน็ ท่เี รยี บร้อย โดยนิยามของคำวา่ สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) คือ สงั คมท่ีมปี ระชากรอายุ 60 ปีข้ึนไปมากกว่าร้อยละ 10 หรือ ประชากรที่มีอายุ 65 ปีข้ึนไป มากกวา่ ร้อยละ 7 ของจำนวนประชากรท้งั ประเทศ สงั คมผู้สูงอายโุ ดยสมบูรณ์ (Aged Society) คือ สังคมท่มี ปี ระชากรอายุ 60 ปขี ึ้นไปมากกวา่ รอ้ ยละ 20 หรอื ประชากรที่มีอายุ 65 ปีขนึ้ ไปมากกว่ารอ้ ยละ 14 ของจำนวนประชากรท้ัง ประเทศ และ สงั คมผสู้ งู อายุระดบั สุดยอด Super-Aged Society คอื สังคมที่มีประชากรผมู้ ีอายตุ ้ังแต่ 65 ปีขน้ึ ไป มากกวา่ ร้อยละ 20 ของจำนวนประชากรทง้ั ประเทศ (ชมพูนทุ พรหมภกั ดิ์, 2556: 1, 3) สังคม Aging Society ในปจั จบุ ันมอี ยใู่ นร้อยละ 60 ของประเทศทวั่ โลก (O’Connor, 2014) มสี ังคมทอ่ี ยู่ ในระดบั Super-Aged Society แลว้ ถงึ 3 ประเทศ ได้แก่ ญีป่ นุ่ เยอรมนี และ อติ าลี และในปี 2020 จะมีสงั คม Super-Aged Society เพ่มิ เป็น 13 ประเทศ และ 34 ประเทศ ในปี 2030 (O’Connor, 2014) ในปี 2017 มี ผสู้ งู อายปุ ระมาณ 962 ล้านคนทวั่ โลก หรอื รอ้ ยละ 13 ของประชากรโลก (United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division, 2017)

33 จะเห็นได้ว่าสังคมผสู้ งู อายุไม่ได้เกดิ ขึน้ เฉพาะในประเทศไทย แต่เกดิ ขึ้นกบั ประเทศทวั่ โลก โดยเฉพาะใน ยุโรปและเอเชยี ทีม่ ีฐานเศรษฐกิจดี การเกิดข้นึ ของสงั คมผสู้ งู อายยุ ่อมส่งผลกระทบต่อการเจรญิ เตบิ โตทาง เศรษฐกจิ ประการหนง่ึ เป็นเพราะไม่ไดม้ ีการคาดหวังวา่ ผู้สงู อายุตอ้ งทำงานหรอื สามารถมสี ว่ นในการเพิ่มมลู ค่าทาง เศรษฐกจิ มากไดเ้ ทยี บเท่ากับสมยั ยังเปน็ ประชากรในวัยทำงาน นอกจากประเด็นทางดา้ นเศรษฐกิจ ประเด็น ทางด้านสังคม เชน่ การดแู ลผสู้ งู อายุ สวสั ดกิ ารเพือ่ ผสู้ ูงอายุถือเปน็ ประเด็นท่ีทั้งภาครฐั จะต้องทำการพิจารณา เพื่อให้ประชากรโดยรวมยังได้รบั สวสั ดิการทดี่ ีโดยไม่กระทบต่อระบบเศรษฐกิจเกนิ จำเป็น ประเทศไทยยงั จะต้องมีการจัดระบบเพื่อเตรยี มตวั ดแู ลประชากรผ้สู งู อายุ ท่ีผา่ นมา รัฐให้สิทธิและ สวัสดิการให้แก่สูงอายใุ นเบื้องตน้ ได้แก่ ประเภทของสิทธิ สทิ ธแิ ละสวัสดกิ าร 1. การแพทย์และสาธารณสขุ • จัดช่องทางพเิ ศษเพ่อื ผู้สูงอายโุ ดยเฉพาะ เพอ่ื การรับบริการท่ีรวดเร็ว 2. การศกึ ษา ศาสนา ขอ้ มลู • สทิ ธใิ นการเรยี นรใู้ นศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ ุมชน หลกั สูตรการศึกษาทจี่ ดั ทำเพอื่ 3. การประกอบอาชพี – การ ผู้สงู อายุ ฝกึ อาชพี • ให้คำปรกึ ษาและจดั ทำขอ้ มลู เกย่ี วกบั งานเพอ่ื ผู้สูงอายโุ ดยเฉพาะ 4. การพฒั นาตน การมสี ว่ น • สนบั สนนุ ชมรมผสู้ ูงอายุ กิจกรรมสันทนาการ กิจกรรมภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ รว่ มในสังคม • จดั สภาพแวดลอ้ ม บรกิ ารพาหนะแก่ผสู้ งู อายุ 5. อำนวยความสะดวกในความ ปลอดภัย • ไดร้ บั สิทธิจ่ายเพียงครึ่งราคาจากการเดินทางด้วยกจิ การขนสง่ ของภาครัฐ เช่น รถไฟฟา้ ใต้ดนิ (MRT) แอรพ์ อรต์ เรล ลิงค์ (ARL) รถโดยสารประจำทาง 6. ลดหย่อนคา่ โดยสาร ขสมก. เรอื ดว่ น ฯลฯ 7. ยกเวน้ ค่าชมสถานท่ขี องรฐั • สิทธเิ ขา้ ชมพิพิธภณั ฑ์ อุทยาน และอืน่ ๆ โดยไมต่ อ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่าย 8. ชว่ ยเหลอื ผสู้ งู อายทุ ไ่ี ดร้ บั • ให้การชว่ ยเหลือผสู้ ูงอายจุ ากการถูกทารุณกรรม แสวงหาประโยชน์ ถูก อนั ตราย ทอดทงิ้ โดยกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ 9. การให้คำแนะนำทางคดี • ให้การชว่ ยเหลอื ผสู้ ูงอายจุ ากการถกู ทารุณกรรม แสวงหาประโยชน์ ถกู 10. ชว่ ยเหลือด้านทีพ่ กั อาศัย ทอดทงิ้ โดยกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ เครือ่ งนุ่งห่ม • มีกระบวนการจัดท่ีพกั อาศยั อาหาร เครอ่ื งนงุ่ ห่มให้ผสู้ ูงอายโุ ดยกระทรวง 11. เบย้ี ยังชีพ การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ • ใหเ้ บยี้ ยงั ชพี แกผ่ ้สู ูงอายทุ ไ่ี มไ่ ดร้ ับสิทธิอื่นใดจากภาครฐั เป็นประจำ

34 • อายุ 60 – 69 ปี ไดร้ ับเบ้ยี เล้ยี งเดอื นละ 600 บาท • อายุ 70 – 79 ปี ไดร้ ับเบีย้ เลี้ยงเดอื นละ 700 บาท • อายุ 80 – 89 ปี ได้รบั เบีย้ เลยี้ งเดอื นละ 800 บาท • อายุ 90 ปขี ึน้ ไป ได้รบั เบยี้ เลีย้ งเดอื นละ 1,000 บาท ตารางที่ 3: ประเภทของสทิ ธแิ ละสวัสดกิ ารของผู้สงู อายุ ข้อมูลจาก: กรมกจิ การผู้สูงอายุ, ม.ป.ป. จะเหน็ ได้ว่าสิทธทิ ีป่ ระชาชนไทยผู้สูงอายจุ ะได้รบั เป็นเบี้ยยังชีพ สูงสดุ เพียงเดือนละ 1,000 บาท หรอื วัน ละ 33 บาท ซึ่งต่ำกวา่ เสน้ แบ่งความยากจน ในกรณีของผูเ้ กษยี ณอายุซ่ึงเป็นขา้ ราชการ พนกั งานองค์กรเอกชน หรือผทู้ เี่ ราเรยี กว่าเปน็ แรงงานในระบบ ยงั มสี ิทธทิ ี่จะได้รับสวัสดิการและสทิ ธิตามที่ตน้ สงั กัดท่ีทำงานมอบให้ แต่ ปัญหาประการหน่งึ ของประเทศไทยคือ จำนวนแรงงานนอกระบบมจี ำนวนมากกว่าแรงงานในระบบ ซึง่ หมายความ วา่ ประชากรแรงงานนอกระบบอาจไมไ่ ด้มีหลกั ประกันทางดา้ นการเงินหลังการเกษียณ โดยตวั เลขของแรงงานนอก ระบบในปี พ.ศ. 2560 อยู่ท่ี 20.8 ล้านคน (ร้อยละ 55 ) ในขณะทแ่ี รงงานในระบบมจี ำนวนทัง้ สิ้น 16.9 ลา้ นคน (ร้อยละ 44.8) เทา่ กบั วา่ แรงงานไทยทั้งในและนอกระบบมีจำนวนรวมกันทงั้ สนิ้ 37.7 ล้านคนจากจำนวนประชากร ประมาณ 67 ล้านคน แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดบั ประถมศึกษาหรอื ตำ่ กวา่ ถึงรอ้ ยละ 60.5 ในขณะทีแ่ รงงานนอกระบบมีการศกึ ษาถึงขั้นอุดมศึกษาเพียง ร้อยละ 9.5 หรือ 2 ลา้ นคน (สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ, 2560) จากสถิตขิ องแรงงานในระบบ – นอกระบบ จะทำให้เราเหน็ ภาพของคุณภาพชวี ติ หลงั วัยเกษยี ณของ ผู้สูงอายุ ทีส่ ว่ นใหญ่แลว้ จะต้องพ่ึงพิงตนเองและภาครฐั ในการใหก้ ารชว่ ยเหลือ ทง้ั นี้ นอกเหนือจากการพจิ ารณา ดา้ นสิทธแิ ละสวัสดกิ ารการใหค้ วามช่วยเหลือแก่ผูส้ งู อายจุ ากภาครัฐแลว้ ความพร้อมของการรองรบั ผู้สงู อายใุ น ดา้ นอนื่ เชน่ การแพทย์, จำนวนเตียงคนไข้, จำนวนแพทย์ พยาบาล, บุคลากรทางการแพทย์, และสถานท่ีพักอาศยั ทเี่ หมาะสมแกผ่ ู้สงู อายุ ถือเป็นประเดน็ ที่จะตอ้ งนำมาพจิ ารณาเปน็ ยทุ ธศาสตร์ของการเจรญิ เตบิ โตของรฐั จำนวน บุคลากรทางการแพทย์ ไดแ้ ก่ แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร ภายใตส้ ังกัดกระทรวงสาธารณสุข มจี ำนวน รวมกนั ทั้งหมดเพียง 120,821 คน โดยจังหวดั ทม่ี สี ถติ ิจำนวนแพทยต์ ่อประชากรต่ำทส่ี ุด คือ จงั หวัดบึงกาฬ มี จำนวนแพทย์ 1 คนต่อประชากร 5,906 คน ในขณะทส่ี ถิตทิ ่ีดที สี่ ุด คอื กรงุ เทพฯ มีจำนวนแพทย์ 1 คนต่อประชากร 716 คน (กระทรวงสาธารณสุข, 2558 อา้ งถงึ ใน สำนักงานพฒั นาระบบข้อมูลขา่ วสารสุขภาพ, 2560: 100) ในสว่ น ของจำนวนเตียงตอ่ ประชากร มีเตียงในโรงพยาบาลภาครัฐทงั้ ส้ิน 134,453 เตียง หรือ 1 เตยี งสำหรับคนไขท้ ุกๆ 465 คน (กระทรวงสาธารณสุข, ม.ป.ป. อ้างถงึ ในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, ม.ป.ป.) สำหรบั ประเด็นบา้ นพกั ผสู้ ูงอายุ ในปจั จุบัน บา้ นพกั ผ้สู งู อายุทีจ่ ดั บรกิ ารใหโ้ ดยรฐั ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการของ

35 ผสู้ งู อายุ ดงั จะเห็นได้จากข่าวท่ปี รากฏว่าตอ้ งมีการจองควิ เพอ่ื รอเข้าบา้ นพักผู้สงู อายุเป็นจำนวนมาก (มติชน ออนไลน์, 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2561) ในส่วนของภาคเอกชน มีธุรกิจท่เี กดิ ขน้ึ เพือ่ การดูแลผ้สู งู อายุโดยภาคเอกชน ประมาณ 800 ราย (TCIJ, 12 พฤศจิกายน, 2560) ซง่ึ ในอนาคตธุรกิจเพ่ือผูส้ ูงอายยุ งั สามารถเตบิ โตอีกได้มาก เพื่อ รองรับการเปล่ยี นแปลงของสภาพทางสังคมท่ีมอี ตั ราการเกิดตำ่ ลง และมีอัตราการมชี วี ิตท่ยี นื ยาวขึ้น จะเหน็ ได้ว่า ความพร้อมของภาครฐั ในการจดั การเพ่ือผสู้ ูงอายุ ยงั จะต้องมีการปรบั ปรุงในหลายด้าน ท้งั ดา้ นสวสั ดิการทีผ่ สู้ ูงอายุควรได้รับตามความเหมาะสมแก่การดำรงชีวติ หลงั การเกษียณ การเพิ่มการผลติ บคุ ลากร ทางการแพทย์ การกระจายบคุ ลากรทางการแพทย์ในประเทศไทยเพื่อลดความเหลือ่ มล้ำในการเข้าถงึ บรกิ ารทาง การแพทย์ ทัง้ นี้ จะเห็นไดว้ ่า หากประชากรมวี นิ ยั ทางการเงนิ มกี ารเกบ็ ออมเงนิ – ลงทุนทางการเงนิ จะช่วยลด ภาระของรฐั ไปได้ในจำนวนหนง่ึ นอกจากนี้ การเพ่ิมขึ้นของจำนวนผู้สงู อายุในแต่ละปี สง่ ผลให้ธุรกจิ เพอื่ ผสู้ ูงอายุ สามารถเติบโตได้อีกมาก การทจุ รติ – คอรร์ ัปชัน การทุจรติ และคอรร์ ปั ชนั ถือเป็นปญั หาระดบั ชาติของประเทศไทย ตามคำนิยามของสำนกั งานราช บณั ฑิตยสภา (2555) ทุจรติ หมายถึง “ประพฤตชิ ่วั ประพฤติไมด่ ี ไม่ซ่อื ตรง โกง คดโกง ฉอ้ โกง โดยใชอ้ บุ ายหรือ เลห่ เ์ หล่ยี มหลอกลวงเพ่ือใหไ้ ด้สง่ิ ทต่ี อ้ งการ” (บทวทิ ยุรายการ รู้ รัก ภาษาไทย, 2555 อ้างถงึ ใน สำนักงานราช บณั ฑิตยสภา, 2555) สว่ นนยิ ามของคำวา่ คอร์รปั ชนั ตามคำนยิ ามของ Merriam - Webster คอื “ความไม่ซือ่ สัตย์ หรอื การกระทำผิดกฎหมาย โดยเฉพาะการกระทำท่เี กดิ จากผูม้ ีอำนาจ ได้แก่ ขา้ ราชการ” (Merriam - Webster n.d.) ทัง้ นี้ การรบั สินบนถอื เปน็ การคอร์รปั ชัน เม่อื เราเปรียบเทยี บในนิยามของทจุ รติ และคอร์รัปชัน พบว่า ทจุ รติ เปน็ คำทใี่ ชส้ ำหรบั บคุ คลท่ัวไปที่ประพฤตมิ ิชอบ แต่การใช้คำว่าคอรร์ ปั ชนั มกั หมายถึงการกระทำผิดในฐานะของผู้ ทำงานที่อยู่ในภาครฐั ในเบือ้ งตน้ การคอร์รปั ชนั ถือเปน็ ปัญหาภายในประเทศทสี่ ่งผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกจิ ในประเทศ เคนยา และ ซาอรี ์ การคอร์รัปชนั คิดเปน็ มูลค่ามหาศาลเมื่อเปรียบเทยี บกบั Gross National Product (GNP) หรอื ผลติ ภัณฑ์ประชาชาติมวลรวมของประเทศ (Shleifer & Vishny, 1993: 599) นักวิชาการบางส่วนมองวา่ การคอร์ รปั ชนั ยังคงมีผลดีอยู่บ้าง นน่ั คือ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ เหตุผลเพราะ การทเ่ี จ้าพนกั งานรบั เงินสนิ บนมาจาก บุคคลหนงึ่ จะส่งผลใหบ้ ุคคลผู้นน้ั ไดร้ ับบรกิ ารท่รี วดเร็วยงิ่ ขน้ึ คอื ลดั ข้ามขนั้ ตอนของระบบราชการท่ีอาจมีความ ล่าชา้ ประการถัดมา เจ้าพนักงานรฐั เองเมื่อไดร้ ับสินบนมาจะทำงานหนักขึ้น โดยเฉพาะกรณีของการได้รบั สินบนใน แตล่ ะชิ้นงาน ยง่ิ ทำงานเสรจ็ ส้ินมากขน้ึ ย่ิงจะมีรายรับจากสินบนเพมิ่ ขึน้ (Leff, 1964; Huntington, 1968 as cited in Mauro, 1995: 681) อยา่ งไรก็ตาม Shleifer & Vishny, 1993 มองว่าการคอร์รปั ชนั ส่งผลกระทบเชิงลบโดยตรง

36 ตอ่ พัฒนาการทางเศรษฐกิจ (Shleifer & Vishny, 1993 as cited in Mauro, 1995: 682) การคอรร์ ปั ชันส่งผล กระทบตอ่ รายรบั ของภาครฐั (Shleifer & Vishny 1993; Hindriks, Keen, and Muthoo 1999 as cited in Gupta, Davoodi, and Tiongson, 2001: 111) คือ แทนที่ภาครัฐจะไดร้ บั รายไดโ้ ดยตรง กลายเป็นรายไดส้ ่วนหน่ึง ถูกใช้ไปกบั สนิ บน การคอรร์ ัปชันสง่ ผลต่อการลดลงของการลงทุนในทรพั ยากรมนุษย์ (Ehrlich and Lui 1999 as cited in Gupta, Davoodi, and Tiongson, 2001: 111) และอนั ที่จริงแล้วการคอร์รัปชันสง่ ผลตอ่ ผลการ ดำเนินงานของภาครฐั และการบริการในเชงิ ลบ (Bearse, Glomm, and Janeba 2000 as cited in Gupta, Davoodi, and Tiongson, 2001: 111) ส่งิ ท่ีนา่ สนใจอีกประการทีเ่ ก่ยี วกับการคอรร์ ัปชนั คือ รัฐบาลที่คอรร์ ปั ชนั และไม่มคี วามม่ันคง มีการใช้จ่าย งบประมาณภาครฐั ในประเดน็ การศึกษาน้อยกวา่ รฐั บาลท่ีมีความมั่นคงและไม่คอร์รัปชัน (Mauro, 1995: 706) และยง่ิ มีการรบั ร้วู ่ามีคอรร์ ัปชันมากเท่าไหร่ ย่งิ มีผลเชิงลบตอ่ การลงทนุ และเศรษฐกิจของประเทศมากยิ่งข้นึ (Mauro, 1995; World Bank as cited in Treisman, 2000) จากการศกึ ษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศใน ประเด็นเรื่องการรบั สนิ บน พบว่า หากประเทศใดที่มรี ะบบการตรวจสอบขา้ ราชการอย่างกวดขนั เข้มแข็ง เช่น Komitet Gosudarstvennoy Bezopasnosti (KGB) ในสหภาพโซเวยี ต การรับสนิ บนโดยท่ไี ม่มใี ครสามารถจับผดิ ได้ มีโอกาสเกิดข้นึ ไดย้ าก นอกจากนี้หากในประเทศนั้นๆ มีผู้นำเปน็ จำนวนนอ้ ย พฤตกิ รรมเบย่ี งเบนของผรู้ บั สนิ บน มักถูกจบั ได้ เช่นเดียวกับการท่ีอยใู่ นสงั คมท่ีไมม่ ีความหลากหลายและมีความใกล้ชิดกัน เชน่ ในประเทศเอเชยี ตะวนั ออก พฤติกรรมเบย่ี งเบนที่ส่อเค้าวา่ บุคคลผนู้ ้ันรับสินบนยอ่ มจะเป็นทีร่ บั ทราบในหมู่เพื่อนฝูงและเครอื ญาติ จนในทส่ี ดุ เรอ่ื งราวของบุคคลผู้นน้ั จะถกู ตแี ผ่ออกไปในวงกวา้ ง (Shleifer & Vishny, 1993) คำถามท่วี า่ ลกั ษณะการปกครอง – ศาสนา – กายภาพ แบบใดท่ีทำใหป้ ระเทศมกี ารคอร์รปั ชันมากหรือ น้อย เป็นท่ีน่าสนใจศึกษาสำหรับนกั วชิ าการ โดยเฉพาะการศกึ ษาในเชงิ เปรยี บเทยี บ ในกรณีของสหราชอาณาจกั ร และบรรดาอดีตเมืองข้ึน พบวา่ ประชากรภายใต้ร่มเงาของอังกฤษ คุน้ ชินกบั การถูกบงั คบั ใช้กฎหมายอยา่ งเทา่ เทียมกนั ความเข้มแข็งของวัฒนธรรมการใช้กฎหมายนส้ี ่งผลใหบ้ คุ คลไม่กระทำการคอร์รปั ชัน หรือ อยา่ งน้อย มอง ว่าการกระทำผิดกฎหมายเป็นเรอื่ งท่ีไมส่ มควร ซึง่ วัฒนธรรมเหล่านี้เปน็ ผลทไี่ ด้รับมาโดยตรงจากการเปน็ ประเทศ อาณานิคม ประการถดั มาที่มีผลตอ่ การคอรร์ ปั ชันคือ การนบั ถือศาสนาครสิ ต์นิกายโปรแตสแตนต์ ในสังคมที่มี ปริมาณประชากรนบั ถือโปรแตสแตนตม์ าก ส่งผลดีตอ่ การท่ีรัฐจะมีอัตราการคอร์รปั ชนั ท่ีตำ่ ในประเด็นของการ ครอบครองทรัพยากรทางธรรมชาติ ประเทศที่มีทรพั ยากรทางธรรมชาตมิ าก เช่น นำ้ มัน โลหะ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะมี อัตราการคอร์รัปชันมากกวา่ ประเทศท่มี ีทรัพยากรทางธรรมชาติทน่ี ้อยกว่า ประเทศที่มีการพฒั นาทางเศรษฐกิจท่ดี ี มแี นวโน้มทีจ่ ะมีการคอรร์ ัปชันนอ้ ยกว่าประเทศทีย่ ากจน การพฒั นาทางเศรษฐกจิ ลดการคอร์รปั ชัน ประเทศทใ่ี ช้

37 ระบอบสหพันธรัฐมแี นวโน้มที่จะมกี ารคอร์รปั ชันมากกวา่ และประเทศท่ีมีประชาธปิ ไตยท่ีมนั่ คง คือต้ังแต่ 1950s เป็นต้นมา มกี ารคอรร์ ปั ชันน้อยกวา่ ประเทศทมี่ ลี กั ษณะไปในทางตรงขา้ ม (Treisman, 2000) ถ้าเรานำเอาผลการวจิ ัยของ Triesman (2000) มาเปรียบเทียบกบั บริบทของประเทศไทย เราจะพบว่า ประเทศไทยไม่ไดม้ ีการปกครองแบบสหพันธรัฐ ไมไ่ ด้มที รัพยากรที่มีค่ามาก เชน่ น้ำมัน ทองคำ และอื่นๆ แตใ่ นข้อ ทเี่ หลอื ถือเป็นข้อเสียเปรยี บของไทย เช่น ความเป็นประชาธปิ ไตยทีม่ ่ันคง การนบั ถือคริสตโ์ ปรแตสแตนต์ และ วฒั นธรรมภายในอาณานิคม ดงั น้ัน แปลว่า ประเทศไทยมีแนวโน้มท่จี ะเปน็ ประเทศทม่ี ีการคอรร์ ัปชนั มากกว่าไม่ม?ี จาก Corruption Perceptions Index 2017 พบวา่ ประเทศทีม่ ีอัตราการคอรร์ ปั ชันมาก ได้แก่ ประเทศ ในทวีปเอเชยี ทวีปแอฟริกา และ ละตนิ อเมริกา โดย Corruption Perceptions Index จะมีการให้คะแนนในแต่ ละประเทศ สำหรับประเทศทีม่ ีคะแนนสงู แสดงว่ามีอัตราการเกิดคอรร์ ปั ชนั นอ้ ย ยิ่งตวั เลขสงู ถอื วา่ ยิ่งดี โดยในปี 2017 ประเทศที่มคี ะแนนสงู ท่ีสดุ 5 ลำดับแรกได้แก่ นิวซีแลนด์ (89 คะแนน), เดนมาร์ก (88 คะแนน), ฟินแลนด์* (85 คะแนน), นอรเ์ วย์* (85 คะแนน), และสวสิ เซอรแ์ ลนด์* (85 คะแนน)15 สำหรบั ประเทศท่ีมีคะแนนต่ำสดุ 5 ลำดบั แรกได้แก่ โซมาเลีย (9 คะแนน), เซาท์ซูดาน (12 คะแนน), ซเี รีย (14 คะแนน), อัฟกานสิ ถาน (15 คะแนน), และเยเมน (16 คะแนน) ในส่วนของประเทศไทย ไดค้ ะแนน 37/100 คะแนน อยู่ในลำดับที่ 96 จาก 180 ประเทศ โดยได้คะแนนเปน็ ลำดบั ที่ 4 ของอาเซียนร่วมกับประเทศอนิ โดนเี ซยี ท่ีมคี ะแนนเทา่ กนั (Transparency International, 2018) การดำเนนิ การในการลดการคอร์รัปชัน ถงึ แมจ้ ะมีกระบวนการใชว้ ิธีการทางกฎหมายเพื่อยุติการคอร์รปั ชัน พบวา่ ยงั คงมีปัจจยั อน่ื ๆ ทีจ่ ะชว่ ยลดการคอร์รัปชนั จาก Transparency International (2016) พบวา่ มี 5 กระบวนการในการลดอัตราการคอรร์ ัปชนั ไดแ้ ก่ o การหยดุ การไมต่ ้องรับโทษ (End impunity) ในกรณีนหี้ มายถงึ การบงั คับใชก้ ฎหมาย เพือ่ มใิ ห้ ผกู้ ระทำผดิ ไมต่ ้องรบั โทษ o ปฏิรูประบบราชการและการจัดการด้านการเงนิ (Reform public administration and finance management) ความหมายในกรณีนหี้ มายถึงการพฒั นาการจดั การดา้ นการเงนิ และ พัฒนาความเขม้ แขง็ ของฝ่ายตรวจสอบภายใน 15 * ทัง้ สามประเทศได้คะแนนเท่ากัน ดำรงอยู่ในอนั ดับท่ี 3 ร่วม

38 o สนบั สนนุ ความโปรง่ ใสและการเข้าถงึ ขอ้ มูล (Promote transparency and access information) รัฐทป่ี ระสบความสำเรจ็ ในการลดอตั ราการคอร์รัปชนั มกั มกี ารสนบั สนนุ การ เปิดเผยการทำงานของภาครัฐ เปดิ เสรีภาพให้แกส่ ่ือและการเข้าถงึ ข้อมลู o ใหอ้ ำนาจแก่ประชาชน (Empower citizens) การให้อำนาจแก่ประชาชนในการตรวจสอบการ ทำงานของภาครัฐจะก่อให้เกิดผลเชงิ บวกอย่างยัง่ ยนื ต่อการสรา้ งความไว้วางใจร่วมกันระหว่าง ภาครัฐและประชาชน ตวั อย่างของการตรวจสอบโดยภาคประชาชนไดม้ สี ว่ นช่วยแบง่ เบาภาระ ของภาครฐั ในกระบวนการทำงาน เช่น การตรวจสอบการกระทำความผิดในช่วงการเลือกต้ังโดย ประชาชน o ปิดชอ่ งโหวใ่ นระดบั นานาชาติ (Close international loopholes) การอดุ ชอ่ งโหวใ่ นระดบั นานาชาติ จะสง่ ผลให้ผูก้ ระทำการคอรร์ ปั ชันไม่สามารถเคลอ่ื นยา้ ยหรือทำการฟอกเงนิ ยัง ต่างประเทศ อันจะเปน็ ช่องโหวใ่ นการติดตามการเคล่ือนไหวทางการเงิน จากการเรียนรูเ้ ร่ืองการคอร์รัปชนั ในเบ้ืองตน้ คำถามคอื นโยบายสามารถถกู คอรร์ ัปชนั ไดห้ รือไม่ จน กลายเป็นนโยบายท่ีเอ้ือประโยชน์ตอ่ พวกพ้อง? คำถามในประเดน็ นี้เป็นส่งิ ท่ีนักศึกษาควรจะนำไปคดิ และพจิ ารณา ถึงผลกระทบของนโยบายทผี่ ่านมาของรัฐบาลไทยที่มีผลโดยตรงต่อตัวนกั ศึกษาและสงั คมรอบขา้ ง ปญั หาระดับนานาชาติ ในปี ค.ศ. 2015 องค์การสหประชาชาติ (United Nations – UN) ไดต้ ้ังเปา้ หมายทีเ่ รียกว่า Sustainable Development Goals (SDGs) หรือ เป้าหมายการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ซง่ึ มีอยดู่ ้วยกนั 17 ประการ16 ได้แก่ 1. No Poverty – ไม่มีความยากจน 2. Zero Hunger – ไม่มีความหิวโหย 3. Good Health and Well-being – การมสี ขุ ภาพและความเป็นอยู่ที่ดี 4. Quality Education – คุณภาพการศกึ ษา 5. Gender Equality – ความเทา่ เทียมกันทางเพศ 6. Clean Water and Sanitation – น้ำด่มื สะอาดและสขุ อนามยั 7. Affordable and Clean Energy – พลังงานสะอาดในราคาท่ีเออ้ื มถึงได้ 8. Decent Work and Economic Growth – งานทเ่ี หมาะสมและการเติบโตทางเศรษฐกจิ 16 เข้าถงึ ข้อมลู จาก UN ประเทศไทย https://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/

39 9. Industry, Innovation, and Infrastructure – อตุ สาหกรรม, นวตั กรรม, และโครงสร้างพน้ื ฐาน 10. Reduced Inequalities – ลดความไม่เทา่ เทยี มกนั 11. Sustainable Cities and Communities – เมอื งและสงั คมยัง่ ยืน 12. Responsible Consumption and Production – การบรโิ ภคและการผลิตอยา่ งมีความรบั ผิดชอบ 13. Climate Action – การเคลือ่ นไหวในประเดน็ ท่ีเกีย่ วกับภูมิอากาศ 14. Life Below Water – ชีวิตใต้ผนื นำ้ 15. Life On Land – ชีวิตบนผืนดนิ 16. Peace, Justice and Strong Institutions – ความสงบสุข และความยุตธิ รรม รวมไปถงึ องค์กรเข้มแข็ง 17. Partnerships for the Goals – สร้างความรว่ มเม่ือเพื่อบรรลเุ ปา้ หมาย (UN ประเทศไทย, ม.ป.ป.[ก]) เปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ่งั ยืน ถือเปน็ เปา้ หมายทีอ่ งคก์ ารสหประชาชาติตงั้ ไวจ้ นถึง ค.ศ. 2030 โดยเปน็ เป้าหมาย ทมี่ อี ายุ 15 ปนี ับตั้งแต่ ค.ศ. 2015 เปน็ ตน้ มา; ประเด็นทีห่ นง่ึ No Poverty - การขจัดปญั หาความยากจน องค์การสหประชาชาติเล็งเห็นว่า การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ ของประเทศขนาดใหญ่ เชน่ จนี และอนิ เดียสง่ ผลใหป้ ระชากรก้าวขา้ มผ่านความยากจน (UN ประเทศ ไทย, ม.ป.ป.[ข]) โดยนบั ตงั้ แตป่ ี 1980 เป็นต้นมาประชากรจนี กว่า 800 ลา้ นคน ได้หลดุ พ้นออกจากความยากจน และนบั ตง้ั แต่ปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา มีประชากรกว่า 1.1 พันล้านคนท่ีหลดุ พ้นจากสภาวะความยากจน ในปัจจุบัน ประชากรในประเทศเอเชียตะวนั ออกเพยี งร้อยละ 9 ยงั อย่ใู นสภาวะความยากจน (Sanchez, 2017) อยา่ งไรกต็ าม ความเหล่ือมลำ้ ยงั คงมีอยู่ในสังคม ปัญหาของการไดร้ ับเงนิ บำนาญหลังเกษยี ณอายุ ปญั หาของการได้รับการ ช่วยเหลือจากภาครัฐของคนพิการและผู้ว่างงาน รวมไปถึงการได้รบั สทิ ธขิ องมารดาหลังการคลอดบุตรยงั คงเป็น ปญั หาทกี่ ่อให้เกิดความเหล่ือมล้ำกนั ในสังคม ปัญหาอีกประการหนึง่ ทีอ่ งค์การสหประชาชาตใิ หค้ วามใส่ใจคอื ปญั หาที่เกดิ จากภัยพบิ ัติ ซ่งึ จะสง่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ใหแ้ ก่รัฐ โดยเฉพาะผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ กบั ประเทศทีม่ ี รายได้ประชากรปานกลาง-ตำ่ และประเทศที่มรี ายได้ประชากรตำ่ (United Nations, 2017: 2-3) ประเดน็ ทีส่ อง Zero Hunger - การขจัดปญั หาความหิวโหย ชว่ งปี 2000-2002 ประมาณการณว์ า่ มีประชากร ทีข่ าดสารอาหารอยู่ถึง 930 ลา้ นคน หรอื ร้อยละ 15 ของประชากรโลก ในทศวรรษถัดมาช่วงปี 2014-2016 พบว่า ประชากรที่ขาดสารอาหารมปี ริมาณทีล่ ดลงแต่ถือว่ายังมปี ระชากรที่ขาดสารอาหารอยู่เป็นจำนวนมาก คอื 793 ลา้ นคน หรือ ร้อยละ 11 ของประชากรโลก วิธีการแก้ไขคือ การเพ่มิ การลงทุนและการให้การชว่ ยเหลือทางด้าน การเงินเพื่อส่งเสริมการเพ่ิมปรมิ าณของผลิตผลด้านการเกษตร (United Nations, 2017: 3-4)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook